ยุคภูมิธรรมและประชาธิปไตย

Page 1

ใบความรู้ที่ ๑๓


เอกสารประกอบการเรี ยน รายวิชาอารยธรรมโลก(ส๓๐๑๐๕) ภาคเรี ยนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ หน่วยที่ ๖ พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ เรื่ อง ยุคภูมิธรรม และ แนวคิดประชาธิปไตย ชื่อ........................................................... ม.๖/........... เลขที่.......... ผูส้ อน 

ยุคภูมิธรรม และ แนวคิดประชาธิปไตย การป ฏิ วั ติ วิ ท ยาศาส ตร์ ( Scientific Revolution) ที่ เริ่ ม ขึ้ น ใน สั งคม ตะวั น ตก ใน คริ สต์ศตวรรษที่ ๑๗ ไม่เพียงจะก่ อให้เกิ ดความเจริ ญก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคนิ คตลอดจน สิ่ งประดิษฐ์ที่เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชี วิตให้ดีข้ ึนเท่านั้น แต่ยงั นาไปสู่ การปฏิ วตั ิทาง ภูมิปั ญญา (Intellectual Revolution) ในคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๘ อีกด้วย วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และ การหลุดพ้นจากอานาจของคริ สต์ศาสนจักรทาให้ชาวตะวันตกกล้าใช้เหตุผลเพื่อแสดงความคิด เห็น ทางสังคมและการเมืองมากขึ้นและเชื่อมัน่ ว่าความมีเหตุผลสามารถเปลี่ยนแปลงชี วติ และสังคมให้ดี ขึ้นได้การแสดงความคิดเห็ นทางสังคมและการเมือง ตลอดจนการเรี ยกร้องสิ ทธิ เสรี ภาพในการมี ส่ วนร่ วมในการปกครองจึงเป็ นลักษณะเด่นประการหนึ่ งของคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๘พัฒนาการด้าน ต่างๆที่เกิดขึ้นในคริ สต์ศตวรรษนี้ จึงเปรี ยบเสมือนแสงสว่างที่ส่องนาทางให้โลกตะวันตกเป็ นสังคม ที่รุ่งโรจน์ในวิชาการต่างๆทาให้ผมู ้ ีความรู ้ มีสติปัญญาและความคิด ตลอดจนความสามารถได้รับ การยกย่องจากสังคมมากขึ้นและเป็ นพื้นฐานสาคัญที่ทาให้ชาติตะวันตกเข้าสู่ ความเจริ ญในยุคใหม่ ดังนั้นคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๘ จึงได้รับสมญานามว่าเป็ น ยุคแห่ งการใช้เหตุผล(The Age of Reason) หรื อ ยุคภูมิธรรม (The Age of Enlightenment) การปกครองโดยกษัตริย์ทรงภูมิธรรม การใช้สติปัญญาและความมีเหตุผลในการพัฒนาตนเองและสังคมสะท้อนให้เห็ นเด่นชัด ในรู ป แบบของการปกครอง การปกครองโดยกษัต ริ ย ์ ท รงภู มิ ธ รรม (Enlightened Despotism) นับเป็ นลักษณะการปกครองที่เด่นของคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๘ นี้ เพราะกษัตริ ยจ์ ะนาเอาแนวความคิดที่ จะใช้เหตุผล เป็ นหลักหรื ออุดมการณ์ ในการปกครองและบริ หารราชการแผ่นดิ น ทั้งนี้ โดยพัฒนา แนวความคิดเกี่ยวกับเทวสิ ทธิ์ แห่ งกษัตริ ย ์ (Divine Right of King) ว่าเมื่อกัตริ ยไ์ ด้รับอานาจในการ ปกครองแล้วก็เป็ นเหตุผลอันสมควรที่จะรงปฏิ บตั ิภารกิ จดังกล่าว ด้วยความรู ้สึกรับผิดชอบในการ ดูแลสวัสดิ การของผูอ้ ยู่ภายใต้ปกครอง และให้สิทธิ เสรี ภาพส่ วนบุคคลตามสถานภาพของบุคคล นั้น ๆ กษัต ริ ยท์ รงภู มิ ธ รรมจึ งถื อว่าพระองค์เป็ นผูร้ ั บ ใช้ป ระชาชนและรั ฐ แม้ว่าตามทฤษฎี ก าร ปกครองแบบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ ซึ่ งปฏิบตั ิกนั ในขณะนั้นจะถือว่ากษัตริ ยท์ รงอานาจเด็ดขาด แต่ พระองค์ก็จะทรงปกครองโดยคานึงถึงประโยชน์ของประชาชนและเป็ นบทบาทของผูป้ กครองใน


๒ ฐานะผูร้ ับผิดชอบต่อชี วิตความเป็ นอยูข่ องพลเมือง อุดมการณ์ ทางการเมืองที่กษัตริ ยท์ รงภูมิธรรม ทางยึดถื อ คื อ การเข้าควบคุ ม และส่ งเสริ มการอุ ตสาหกรรมและระบบเศรษฐกิ จของประเทศให้ เจริ ญก้าวหน้า เน้นความสาคัญของการศึกษาเพื่อให้พลเมืองอ่านออกเขียนได้ ให้เสรี ภาพในการนับ ถือศาสนา และ มีนโยบายส่ งเสริ มความเจริ ญทางศิลปวัฒนธรรม พระเจ้าเฟรเดอริ คมหาราช แห่งปรัสเซี ย (Frederick the Great,ครองราชย์ ค.ศ.๑๗๔๐ – ๑๗๘๖) ทรงเป็ นกษัตริ ยท์ ี่ได้รับ การยกย่องว่า เป็ นตัวอย่างที่ ดีของกษัตริ ยท์ รงภูมิ ธรรม ในรั ช สมัย ของพระองค์ ปรั ส เซี ย เจริ ญ ก้ า วหน้ า อย่ า งรวดเร็ ว และ สามารถพัฒนาประเทศจากการเป็ นรัฐเล็กๆ ในดินแดนเยอรมนี สู่ ความเป็ นชาติ มหาอานาจได้ จนในที่ สุดสามารถก้าวมาเป็ น พันธมิตรกับประเทศมหาอานาจอย่างอังกฤษในการทาสงคราม เจ็ด ปี (Seven Years War, ค.ศ.๑๗๕๖ – ๑๗๖๓) กับ ฝรั่ ง เศส สเปนและออสเตรี ยและเป็ นฝ่ ายที่มีชยั ชนะ พระเจ้าเฟรเดอริ คมหาราชทรงเชื่ อมัน่ ในความก้าวหน้า การใช้สติปัญญาและเหตุผลในการปกครอง พระองค์ทรง พระเจ้าเฟรเดอริ คมหาราชทรงได้รับ ส่ งเสริ ม การอุตสาหกรรมและการค้า ตลอดจนการกสิ กรรมเพื่อ ก าร ยก ย่ อ งว่ า เป็ น ตั ว อ ย่ า งที่ ดี เศรษฐกิจของประเทศมัน่ คงและเพื่อให้ประชาชนมีชีวติ ความเป็ น ของกษัตริ ยผ์ ทู้ รงภูมิธรรม ที่มา : http://th.wikipedia.org/ อยูท่ ี่ดีข้ ึนทรงปรับปรุ งระบบการเก็บภาษีอากร และให้ละเว้น การเก็บภาษีอากรในดินแดนที่ประสบความหายนะจากสงคราม นอกจากนี้ ยงั สนับสนุ นให้ชาวต่างชาติที่เป็ นช่างฝี มือ เข้ามาตั้งถิ่นฐานในปรัสเซี ย เพื่อช่วยแนะนา ปรับปรุ ง และพัฒนาการอุตสาหกรรมในปรัสเซียให้เจริ ญทัดเทียมอารยประเทศในยุโรปตะวันตก ในด้า นศาสนา พระองค์ท รงใช้ ห ลัก ขัน ติ ธ รรม (religious toleration) ในการให้ สิ ท ธิ เสรี ภาพแก่ ป ระชาชนในการเลื อกนับ ถื อศาสนาตามแต่ ศรั ท ธาของแต่ ละบุ ค คล อันได้แก่ ค ริ ส ต์ ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก และนิกายโปรแตสแตนท์ต่างๆ นอกจากนี้หลักขันติธรรมของพระองค์ ยังทรงใช้ค รอบคลุ ม ไปถึ งการนับ ถื อ และประกอบพิ ธี ก รรมทางศาสนาของชาวยิว อี ก ด้วย ซึ่ ง พระองค์ ท รงเชื่ อ ว่า การนับ ถื อ ศาสนาที่ แ ตกต่ า งกัน ไม่ ไ ด้เป็ นปั ญ หาต่ อ รั ฐ ตราบเท่ า ที่ ทุ ก คน ประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี และแสดงตนเป้ นผูร้ ักชาติก็ถือว่าได้ทาหน้าที่ของตนในฐานะพลเมืองที่ ดีแล้ว


๓ งานที่สาคัญอีกประการหนึ่ ง ที่สะท้อนให้เห็ นถึงหลักการของกษัตริ ยท์ รงภูมิธรรมในรัช สมัยของพระองค์ได้แก่ การจัดทาประมวลกฎหมาย ซึ่ งต่อมาทาให้กฎหมายปรัสเซี ยเป็ นแบบแผน กว่าเดิมทัว่ ราชอาณาจักรและเป็ นตัวอย่างที่ดีของกฎหมายที่ค่อนข้างให้ความทัดทียมกันสาหรับทุก ชนชั้น อย่างไรก็ดีพระองค์มิได้ทรงจัดการกับปั ญหาการแบ่งชนชั้นในสังคมแต่ประการใด ชนชั้น ขุนนางยังคงได้รับอภิสิทธิ์ ในการยกเว้นการจ่ายภาษีอากร ในขณะที่ชนชั้นชาวนาซางส่ วนใหญ่เป็ น เจ้าติดที่ดินต้องรับภาระหนักในการเสี ยภาษีอากร และถูกเกณฑ์เป็ นทหารประจากองทัพ ขาดสิ ทธิ เสรี ภ าพพื้ น ฐานและการด าเนิ น ชี วิ ต ต้อ งขึ้ นอยู่ ก ับ ขุ น นางเป็ นส่ ว นใหญ่ ส่ ว นนโยบายการ ต่างประเทศก็เป็ นการขยายพระราชอานาจและเข้ารุ กรานประเทศต่างๆ โดยปราศจาก เหตุผล ซึ่ ง ลักษณะดังกล่าวนี้ เป็ นความขัดแย้งประการหนึ่ งของอุดมการณ์ ทางการเมืองและการปฎิ รูปสังคม ของกษัตริ ยท์ รงภูมิธรรม ทั้งนี้ เพราะ พระองค์จะทรงใช้ เหตุผล หรื อ ความถูกต้องเหมาะสม กับสิ่ ง ที่พระองค์ทรงเห็นว่าเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นในการปรับปรุ งประเทศซึ่ งสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งและ รักษาอานาจทางการเมืองของพระองค์ไว้ได้เท่านั้น ดังนั้นจึงกล่าวกันว่า กษัตริ ยท์ รงภูมิธรรมก็ยงั คง พระราชอานาจอย่างสมบูรณ์ และเป็ นรู ปแบบสุ ดท้ายของระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ของยุโรป ก่อนที่จะพัฒนาเป็ นระบอบการปกครองแบบประชาธิ ปไตยในระยะเวลาต่อมา กษัตริ ยท์ รงภูมิธรรมที่ทรงมีพระชนมชี พร่ วมสมัยกับพระเจ้าเฟรเดอริ คมหาราชที่สาคัญๆ ได้แก่ พระเจ้าชาลส์ ที่ ๓ (Charles III, ครองราชย์ ค.ศ. ๑๗๓๘ – ๑๗๕๙) แห่ งสเปน จักรพรรดินีมา เรี ย เทเรว่า (Maria Theresa,ครองราชย์ ค.ศ. ๑๗๔๐ – ๑๗๘๐) แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิสิทธิ์ และ จักรพรรดิ นีแคทเธอรี นมหาราชิ นี (Catherine the Great, ครองราชย์ ค.ศ. ๑๗๖๒ – ๑๗๙๖) แห่ ง จักรวรรดิรัสเซีย เป็ นต้น การปกครองโดยกษัต ริ ย ์ท รงภู มิ ธ รรมเปิ ดโอกาสให้ พ ลเมื อ งโดยเฉพาะปั ญ ญาชนให้ สามารถแสดงความคิดเห็ นต่างๆ อย่างกว้างขวาง ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับเสรี ภาพและปั ญหาสิ ทธิ ความ เสมอภาคของพลเมื องตลอดจนรู ป แบบการปกครองที่ ป ระชาชนมี ส่ วนร่ วมด้วยและอื่ นๆ ของ ปั ญญาชนทาให้ยุโรปในคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๘ เป็ นยุคแห่ งการสร้ างสรรค์ทางภูมิปัญญา และเป็ น ที่ ม าของแนวคิ ด เกี่ ย วกับ ปรั ช ญาทางการเมื อ งที่ เป็ นรากฐานของแนวความคิ ด ประชาธิ ป ไตย สมัยใหม่ นักปรัชญาการเมืองแนวประชาธิปไตย นักคิดคนสาคัญที่วางรากฐานของปรัชญาการเมืองแนวประชาธิ ปไตยได้แก่ ทอมัส ฮอบส์ และจอห์น ล็อค ชาวอังกฤษ และกลุ่มนักปรัชญาเมธี หรื อ ฟิ โลซอฟ (Plilosophe) ของฝรั่งเศส


๔ นักปรัชญาอังกฤษ ๑. ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes,ค.ศ.๑๕๘๘-๑๖๗๙) นักปรั ชญาชาวอังกฤษมาจากครอบครัวชั้นกลาง บิ ดาเป็ น นัก บวช เขาจบการศึ ก ษาขั้น ปริ ญ ญาตรี จากมหาวิท ยาลัย ออกซฟอร์ ด เมื่ อ อายุ ๑๖ ปี ได้เป็ นครู ป ระจ าตระกู ล คา เวนดิช (Cavendish) ซึ่ งเป็ นตระกูลใหญ่มีบทบาทสาคัญทาง การเมือง และการศึกษา แนวความคิดด้านการเมืองปรากฏในหนังสื อ ลีไวอาทัน (Liviathan) เขากล่าวว่าก่อนที่มนุษย์จะรวมกันเป็ นสังคม การเมืองนั้น มนุษย์ต่างคนต่างอยูต่ ามสภาพธรรมชาติ ทุกคนมีสิทธเสรี ภาพสู งสุ ดใครจะทาอะไรก็ได้ตามความพอ ใจทุ ก คนล้ว นแต่ มี ค วามเห็ น แก่ ต ัว ต้อ งการให้ ต นได้รั บ ประโยชน์และความพอใจฝายเดียว จึงเกิดการเบียดเบียนแย่ง ทอมัส ฮอบส์ ชาวอังกฤษ ชิงกัน เกิดการต่อสู ้กนั หาความสงบสุ ขไม่ได้ มนุษย์ไม่ตอ้ ง ผูส้ นับสนุนการปกครองระบบกษัตริ ย ์ การภาวะยุง่ เหยิงวุน่ วายเช่นนี้ จึงหันหน้าเข้าหากันและตกลง ที่มา : http://th.wikipedia.org กันที่จะหาคนกลางมาทาหน้าที่ปกครอง เพื่อให้เกิดสังคมการ เมืองที่อยู่รวมกันอย่างสันติสุข โดยแต่ละคนยอมเสี ยสละอานาจสู งสุ ดของตนให้แก่ฝ่ายปกครอง ทั้งนี้ ประชาชนมีสิทธิ เลื อกการปกครองที่สอดคล้องกับความต้องการของคนส่ วนใหญ่ โดยมี ขอ้ ผูกมัดว่าทุกคนจะต้องเชื่ อฟั งผูป้ กครอง ซึ่ งจะเป็ นผูอ้ อกกฎหมายมาบังคับประชาชนต่อไป จะเห็ น ว่าแม้ฮอบส์ จะนิยมระบบกษัตริ ย ์ แต่ก็มีแนวความคิดว่าอานาจของกษัตริ ยไ์ ม่ใช่อานาจของเทวสิ ทธิ์ หรื ออานาจศักดิ์ สิ ทธิ์ แท้จริ งแล้วเป็ นอานาจที่ ประชาชนยินยอมพร้ อมใจมอบให้ ส่ วนทางศาสน จักรฮอบส์มีความเห็นว่าไม่ควรเข้ามายุง่ เกี่ยวกับการปกครองของรัฐ นอกจากนี้ฮอบส์ยงั โจมตีความเชื่อทางศาสนาของมนุษย์วา่ เป็ นเรื่ องไร้เหตุผล มนุษย์ควรมีชีวิต อยูด่ ว้ ยเหตุผลและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ไม่ควรอยูด่ ว้ ยความเชื่ องมงาย อย่างไรก็ตามฮอบส์ มิได้ ปฏิเสธพระเจ้า แต่ปฏิเสธพิธีกรรมและผูน้ าทางศาสนา


๕ ๒. จอห์ น ล็อค จอห์น ล็อค (John Locke, ค.ศ. ๑๖๓๒-๑๗๐๔) เป็ นบุตรนักกฎหมายที่มีฐานะ ครอบครัวของเขานับ ถือคริ สต์ศาสนานิกายพิวรี ตนั (Puritan)ที่เคร่ งครัดเขา สาเร็ จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ ด ต่อมา ศึกษาวิชาแพทยศาสตร์ และเป็ นทูต ต่อมาเป็ นแพทย์ ประจาตัวของเอิร์ลแห่ง ซาฟเบอรี่ หัวหน้าพรรควิก (Whig) ซึ่ งต่อต้านอานาจกษัตริ ยแ์ ละได้เป็ นรัฐบาล อยูใ่ นขณะนั้น อย่างไรก็ตามเมื่อเอิร์ลแห่ง ซาฟเบอรี่ หมดอานาจลง ล้อคต้องลี้ภยั ไปเนเธอร์ แลนด์ต้ งั แต่ ค.ศ. ๑๖๘๓ จนหลังเหตุการณ์การปฏิวตั ิอนั รุ่ งโรจน์ (The Glorious Revolution) ใน ค.ศ.๑๖๘๘ ซึ่ งถือว่า เป็ นการปฏิวตั ิประชาธิปไตยของอังกฤษ ล็อคจึง เดินทางกลับมาตุภูมิ ช่วงที่เกิดการปฎิวตั ิล็อคได้เขียนหนังสื อว่าด้วย ทฤษฎีการเมือง เพื่อให้เหตุผลสนับสนุนการปฏิวตั ิ ค.ศ.๑๖๘๘ ในการจากัดพระราชอานาจของกษัตริ ย ์ หนังสื อเรื่ องนี้คือ Two Treaties of Government (ค.ศ.๑๖๙๐) แนวคิดหลักของหนังสื อคือการเสนอทฤษฎี ที่วา่ รัฐบาลจัดตั้งโดยความยินยอมของประชาชน และต้อง รับผิดชอบต่อชีวติ ความเป็ นอยูข่ องประชาชน นอกจากนี้มีเรื่ อง A Letter Concerning Toleration : จดหมายเกี่ยวกับความจายอม (ค.ศ.๑๖๘๙ – ๑๖๙๒) ซึ่ งเป็ นเรื่ องว่าด้วยความยุติธรรม และความมี อิสรภาพอย่างทัดเทียมกันของมนุษย์และ Essay Concerning Toleration : เรี ยงความเกี่ยวกับความจา ยอม (ค.ศ. ๑๖๙๐) เป็ นเรื่ องเกี่ ยวกับความรู ้ของมนุ ษย์ ซึ่ งจะส่ งเสริ มสติปัญญาของมนุ ษย์ในการใช้ เหตุผลในการตัดสิ นปั ญหาต่างๆ แนวคิ ดทางการเมื องของล็อค สรุ ป ได้ว่า ประชาชนเป็ นที่ มาของอานาจทางการเมื องและมี อานาจในการจัดตั้งรัฐบาลขึ้นได้ รัฐและรัฐบาลจึงมีหน้าที่ปกครองโดยคานึงถึงประโยชน์และสิ ทธิ ธรรมชาติของประชาชนอันได้แก่ ชีวติ เสรี ภาพ และทรัพย์สิน รัฐบาลมีอานาจภายในขอบเขตที่


๖ ประชาชนมอบให้และจะใช้เฉพาะเพื่อผลประโยชน์ของประชาชนเท่านั้น รัฐต้องไม่เข้าแทรกแซง ในกิจการของปั จเจกชนนอกจากในกรณี ที่จาเป็ นจริ งๆเพื่อรักษาเสรี ภาพและทรัพย์สินของผูน้ ้ นั แนวคิ ดทางการเมืองดังกล่ าว จึ งเป็ นรากฐานความคิ ดของระบอบประชาธิ ปไตยสมัยใหม่ และมี อิทธิ พลต่อปั ญญาชนและนักปรัชญาเมธี ของยุโรปโดยเฉพาะกลุ่มนักฟิ โลซอฟ (Philosophes) ของ ฝรั่งเศส กลุ่มนักคิดฟิ โลซอฟ กลุ่มนักคิ ดฟิ โลซอฟของฝรั่งเศสเป็ นกลุ่มของปั ญญาชนที่มีการศึ กษาดี ซึ่ งเชื่ อมัน่ ในความมี เหตุ ผลและความก้าวหน้า กลุ่มนักคิ ดดังกล่ าวนี้ เป็ นปรัชญาฆราวาส ที่ พยายามโจมตีระบอบการ ปกครองแบบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ และระบบอภิสิทธิ์ ของสถาบันคริ สต์ศาสนาและชนชั้นของขุน นาง พวกเขาเรี ยกร้องความเสมอภาคของพลเมือง ภายใต้กฎหมายต้องการปฏิรูปการเมืองและสังคม เพื่อให้ประชาชนมี ส่วนร่ วม ในการบริ หารและปกครองประเทศ นักคิดคนสาคัญของกลุ่มนี้ ซ่ ึ งมี อิทธิ พลต่อการปฏิ วตั ิ ความเชื่ อขั้นพื้นฐาน เกี่ ยวกับสิ ทธิ และหน้าที่ ของประชาชน และอานาจรัฐ ได้แก่ มองเตสกิเออร์ วอลแตร์ และรุ สโซ ๓ . มองเตสกิเออร์ บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montes quier , ค.ศ. ๑๖๘๙-๑๗๗๕) หรื อ ชาร์ ล ลุ ยส์ เดอ เซ็ ก กอง ดาต์ ( Chales Louis de Secondat ) เป็ นขุ น นางฝรั่ ง เศสที่ ส าเร็ จ การศึ ก ษาวิ ช ากฎหมาย จากมหาวิ ท ยาลัย บอร์ โ ด (Bordeaux)เขาเคยดารงตาแหน่ งประธานสภาแห่ งเมือง บอร์ โด เป็ นเวลา ๑๒ ปี และต่อมาได้รับเลือกเป็ นราชบัณฑิตของ ราชบัณฑิ ตยสถานแห่ งฝรั่งเศส มองเตสกิ เออร์ นิยมเดิ นทาง ท่ องเที่ ย วประเทศต่ า งๆ ในยุโรป เพื่ อศึ ก ษาชี วิต ผูค้ นและ สถาบัน การปกครองของประเทศต่ า งๆ เขาประทับ ใจใน สถาบันการเมืองของอังกฤษมากและใช้ชีวิตในอังกฤษเกือบ ๓ ปี เมื่อกลับถึ งประเทศฝรั่งเศสมองเตสกิเออร์ ใช้เวลาส่ วน ใหญ่ศึกษา ค้นคว้าและเขียนหนังสื อเกี่ยวกับการปกครอง งานเขียนเล่มสาคัญของเขาซึ่ งใช้เวลาศึกษา ค้นคว้ากว่า ๒๐ ปี คือ เรื่ อง The Spirit of Laws


๗ แนวความคิดหลักของหนังสื อเรื่ อง The Spirit of Laws ( วิญญาณแห่ งกฎหมาย ) สรุ ปได้ ว่า กฎหมายที่ รั ฐ บาลแต่ ล ะสั ง คมบัญ ญัติ ข้ ึ น ต้อ งสอดคล้อ งกับ สภาพเงื่ อ นไข แต่ ล ะสั ง คม มี ความสัมพันธ์ กับ ดิน ฟ้ า อากาศ และลักษณะการดาเนินชีวติ ของพลเมือง ตลอดจนขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ระบอบการปกครองก็เช่ นเดี ยวกับกฎหมาย กล่ าวคือ ต้องสอดคล้องกับ ลักษณะภูมิประเทศ และเงื่ อนไขทางประวัติศาสตร์ ของแต่ละสังคม รู ปแบบการปกครองแบ่งได้ เป็ น 3 แบบ คื อ สาธารณรั ฐ ราชาธิ ป ไตย และเผด็ จการ แต่ ก ารปกครองแบบกษัต ริ ย ์ภ ายใต้ รัฐธรรมนู ญ เป็ นรู ปแบบการปกครองที่ดีที่สุด นอกจากนี้ อานาจการปกครอง ควรแยกออกเป็ น 3 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายนิติบญั ญัติ ฝ่ ายบริ หาร และ ฝ่ ายตุลาการ การแบ่งอานาจดังกล่าว เป็ นเสมือนการสร้าง ระบบตรวจสอบ และถ่ วงอานาจทางการปกครอง เพื่อป้ องกันมิให้ผปู ้ กครองคนใดคนหนึ่ ง หรื อ คณะผูป้ กครองชุ ดใดชุดหนึ่ งใช้อานาจและหน้าที่เกินไป หากอานาจทั้งสามรวมอยูใ่ นตัวผูป้ กครอง เพี ยงคนเดี ยว หรื อคณะผูป้ กครองคณะเดี ยวในสังคมใด สั งคมนั้นก็จะไม่ มีอิส รภาพ ฉะนั้นการ ตรวจสอบอานาจและคานอานาจ ( Check and balance system ) จะเป็ นการช่ วยไม่ ให้ผูป้ กครอง หรื อคณะผูป้ กครอง หรื อรัฐบาลใช้อานาจแบบเผด็จการได้ แนวคิ ดในทางการเมื องของมองเตสกิ เออร์ ใน The Spirit of Laws มี อิทธิ พลไม่น้อยต่อ สังคมตะวันตก รัฐธรรมนูญการปกครองประเทศของสหรัฐอเมริ กา ซึ่ งถือว่าเป็ นแม่แบบของระบบ การปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย ก็ใช้แนวคิดเรื่ องการแบ่งแยกอานาจ และระบบคานอานาจ ของมองเตสกิเออร์ เป็ นหลัก ๔. วอลแตร์ วอลแตร์ (Voltaire, ค.ศ. ๑๖๙๔ – ๑๗๗๘) มีชื่อจริ ง ว่า ฟรังซัวร์ มารี อารู เอาว์(Francois Marie Arouet) เป็ นนัก คิ ดนักเขี ยนที่ มี ชื่ อเสี ยงของฝรั่ งเศส เขาเกิ ดในครอบครั วชนชั้นกลางที่ มีฐานะดี สาเร็ จการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรี ยนของบาทหลวงคณะเจซู อิต ( Jesuit ) ต่อมาศึกษาต่อด้านอักษร ศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยปารี ส วอลแตร์ สร้างชื่ อเสี ยงให้แก่ตนเองด้วยการเป็ นนักเขียน และนักเสี ยดสี และวิพากษ์วิจารณ์ ระบบสังคม และสถาบันคริ สต์ศาสนา ด้วยนิ สัยไม่เกรงกลัวใครดังกล่าว เขาจึง ถู ก จับ กุ ม ขังใน คุ ก บาสติ ล ส์ (Bastiles) ๒ ครั้ ง แต่ ไ ด้รับ การปลดปล่ อยตัวโดยมี เงื่ อ นไขว่า เขา จะต้องเดินทางออกนอกประเทศ วอลแตร์ จึงใช้ชีวิตที่องั กฤษเป็ นเวลา ๓ ปี ระหว่าง ค.ศ.๑๗๒๖๑๗๒๙ ในขณะที่พานักอยู่ที่องั กฤษ วอลแตร์ มีโอกาสอ่านงานเขียนของเซอร์ ไอแซค นิ วตัน และ โดยเฉพาะ จอห์ น ล็อค ซึ่ งเขายกย่องว่าเป็ นนักปรัชญาที่ แท้จริ ง นอกจากนี้ เขายังมี โอกาสพบปะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ ปั ญญาชนอังกฤษ เขาประทับใจในระบอบการปกครองของอังกฤษมาก ต่อมาเมื่อ


๘ วอลแตร์ เดิ นทางกลับประเทศฝรั่ งเศส เขาตั้งใจจะใช้งานเขี ยนคัดค้านการปกครองแบบ เผด็จการ และต่อต้านความงมงายไร้ เหตุผลต่างๆ ตลอดจนเรี ยกร้องเสรี ภาพในการแสดงออก ซึ่ ง ความคิดเห็นทางด้านต่างๆ การที่ วอลแตร์ ไ ด้ไ ปอยู่ใ นประเทศอัง กฤษ ท าให้ เขามี โ อกาสเปรี ย บเที ย บบรรยากาศ ทางการเมื อ ง และทางศาสนาของประเทศอัง กฤษกับ ฝรั่ งเศส ในอัง กฤษนั้น ศาสนาขึ้ น อยู่ฝ่ าย บ้านเมืองในขณะที่ทางการเมืองพวกชนชั้นสู ง ซึ่ งเข้ามามีส่วนร่ วมในการปกครองก็ไม่มีปฏิกิริยาที่ รุ นแรงต่อแนวความคิดใหม่ๆและยังมีส่วนร่ วมในการส่ งเสริ มการค้า และถือว่าการค้าเป็ นอาชี พที่มี เกียรตินอกจากนี้ ไม่มีการบีบบังคับให้ประชาชนนับถือศาสนาใดศาสนาหนึ่ ง ประชาชนมีเสรี ภาพ ในการโต้แย้งเรื่ องที่เกี่ยวกับนโยบายการปกครอง การจับกุมคุมขังจะกระทาได้เมื่อมีหลักฐานที่แจ้ง ชัด และจะต้องได้รับคาพิพากษาจากผูพ้ ิพากษาที่ใช้กฎหมาย เป็ นหลักในการพิจารณาคดี ความคิดดังกล่าวของวอลแตร์ สะท้อนออกในหนังสื อ เรื่ อง The Philosophical Letters ( จดหมายปรัชญา) หรื อที่รู้จกั ในอีกชื่อว่า Letters on the English ( จดหมายเรื่ องเมืองอังกฤษ ) เนื้ อหาของ หนังสื อว่าด้วยความประทับใจของวอลแตร์ ต่อสิ่ งต่างๆ ใน อังกฤษและการโจมตีสถาบันและกฎระเบียบต่างๆ ที่ลา้ หลัง ของฝรั่งเศส นอกจากนี้วอลแตร์ ยงั เรี ยกร้องให้มีการปฏิรูป ประเทศฝรั่งเศสให้ทนั สมัยเหมือนอังกฤษ หนังสื อ The Philosophical Letters ได้พิมพ์เผยแพร่ ในฝรั่งเศส ใน ค.ศ. ๑๗๓๔ ซึ่ งมีผลให้เขาถูกทางการเนรเทศอีกครั้งแต่เขาได้ หลบหนีไปอยู่ ณ เมืองเล็กๆ แห่งหนึ่ง ตรงชายแดนมณฑล ลอว์เรนซ์ส่วนหนังสื อของเขา ก็ถูกศาลสู งแห่งปารี สสัง่ เผา ทาลาย อย่างไรก็ดีวอลแตร์ ก็ไม่ได้หยุดยั้ง งานเขียนผลงาน วอลแตร์ นักคิดและนักเขียนคัดค้านการ ปกครองแบบเผด็จการของฝรั่งเศส ต่อๆมาของเขา ได้แก่ เรื่ อง Elements of the Philosophy ที่มา : http://th.wikipedia.org of Newton , Essay on Universal History และเรื่ อง The Age of Louis XIV เป็ นต้น หลังปี ค.ศ. ๑๗๕๐ วอลแตร์ ได้ไปพานักอาศัยอยูใ่ นราชสานักปรัสเซี ยตามคาเชิ ญของ พระเจ้าเฟรเดอริ ค มหาราชอยูร่ ะยะหนึ่ง ข้อคิดเห็น ปรัชญาทางการเมืองและศาสนาของวอลแตร์ จึงมีอิทธิ พลไม่นอ้ ยต่อ ความคิดของพระ เจ้าเฟรเดอริ คมหาราช ในการพัฒนา และปฏิรูปปรัสเซียให้เข้าสู่ ยคุ ภูมิธรรม


๙ อย่างไรก็ดี แม้วอลแตร์ จะต่อต้านความอยุติธรรมในสังคมและการไร้ขนั ติธรรมทางศาสนา ตลอดจนระบบอภิ สิ ท ธิ์ ต่ างๆ แต่ ในด้านการเมื องเขาก็ไ ม่เคยแสดงความคิ ดเห็ นอย่างชัดเจนต่ อ รู ปแบบการปกครอง ที่เขาพึงพอใจ หรื อต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงสังคม และการเมื องอย่าง ถอนรากถอนโคนด้วยการปฏิวตั ิ อันรุ นแรง เขาคิดว่าการใช้เหตุผลและสติปัญญาสามารถจะแก้ไข ปั ญหาสังคมและการเมืองได้อย่างสันติ และปราศจากการนองเลือด ความสาคัญหรื อบทบาทของ วอลแตร์ ในฐานะนักคิด จึงอยู่ที่การต่อสู ้เพื่อให้มีเสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็ นต่างๆ มากกว่า ดังนั้นเขาจึงมักถูกวิจารณ์วา่ เป็ นนักคิดและนักวิจารณ์การเมืองที่ยงิ่ ใหญ่ของคริ สต์ศตวรรษ ที่ ๑๘ เท่านั้น แต่ไม่ใช่ นกั ทฤษฎี ทางการเมืองเช่นล็อคและมองเตสกิเออร์ วอลแตร์ ถึงแก่กรรมใน ค.ศ. ๑๗๗๘ ขณะอายุ ๘๔ ปี แต่ เสี ยงเรี ยกร้ องของเขาที่ ว่า Ecrasez I infame หรื อ Crush the infamous thing ( จงบดขยี้ความเลวทราม) ที่ปรากฏในงานเขียนต่างๆ ก็ยงั คงอยู่ในจิตสานึ กของ ปั ญญาชนตะวันตกต่อไปอี กเป็ น เวลานาน และมี อิทธิ พลทางความคิ ดที่ จะให้ปัญญาชนเหล่านั้น สร้างสังคมใหม่ตามแนวทางของเขา ศพของวอลแตร์ ได้รับการประกอบพิธีฝัง ณ กรุ งปารี ส ซึ่งเป็ น ศูนย์กลางทางปั ญญาของกลุ่ม ฟิ โลซอฟ พิธีฝังศพของเขาใหญ่โต และมีผมู ้ าร่ วมพิธีมากมายและมา จากประเทศต่างๆ ในยุโรป ประดุจหนึ่งว่าเขา เป็ นกษัตริ ยท์ ี่มีพระราชอานาจพระองค์หนึ่งของยุโรป ๕. รุ สโซ ซอง ชาคส์ รุ สโซ (Jean Jacques Rousseau,ค.ศ.๑๗๑๒๑๗๗๘) เชื้อสายฝรั่งเศส เกิดในครอบครัวพวกฮูเกอโนต์( Huegonots)ซึ่งเป็ นผูท้ ี่นบั ถือคริ สต์ศาสนานิกายโปรเตส แตนท์หวั รุ นแรงที่ล้ ีภยั ไปตั้งรกรากอยูใ่ นนครเจนี วา บิดา มารดาเป็ นคนยากจนรุ สโซกาพร้ามารดาเมื่ออายุ ได้เพียง ๙ วัน และต่อมาถูกบิดาทอดทิ้งให้อาศัยอยูก่ บั ญาติ รุ สโซจึงเติบโตขึ้นอย่างไร้การอบรมและต้องทา งานหนักหลากหลายอาชีพ อย่างไรก็ดีแม้เขาจะได้รับการ ศึกษาน้อย แต่เขาก็เป็ นคนมุมานะและพยายามศึกษา หาความรู้ดว้ ยตนเองจากห้องสมุด ในค.ศ.๑๗๔๙ เมื่อ อายุ ๓๗ ปี เขาส่ งความเรี ยงเข้าประกวดชิงรางวัลจาก รุ สโซ ผูเ้ ขียนตาราทางการเมือง ราชบัณฑิตยสถานแห่งเมืองดิจองและได้รับรางวัล เรื่ อง สัญญาประชาคม ชนะเลิศ รุ สโซจึงยึดอาชีพนักขียนและในเวลาอันสั้น ที่มา : http://th.www.google.co.th ก็กลายเป็ นนักเขียนคนสาคัญเขาเขียนหนังสื อหลายเล่ม


๑๐ โจมตีความฟอนเฟะของสังคม และการบริ หารที่ลม้ เหลวของรัฐบาล นอกจากนี้เขายังแสดงทัศนะ เกี่ยวกับระบบการศึกษา ปั ญหาความไม่เสมอภาคทางสังคมอันเป็ นผลจากสภาวะแวดล้อม เรื่ องการ ถือครองกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินและแนวทางการปกครองและอื่นๆ งานเขียนชิ้นเอกของเขาซึ่ งเป็ น ต าราทางการเมื อ งที่ ส าคัญ และมี อิ ท ธิ พ ลมากคื อ สั ญ ญาประชาคม (The Social Contract) ค.ศ. ๑๗๖๒ ว่าด้วยปรัชญาทางการเมืองด้านการปกครองและพันธสัญญาทางการเมืองระหว่างรัฐบาล และประชาชน งานเขียนเรื่ องนี้ทาให้รุสโซได้ชื่อว่าเป็ นผูว้ างรากฐานอานาจอธิ ปไตยของประชาชน แนวคิดหลักของรุ สโซในสัญญาประชาคม คือ มนุษย์ทุกคนเกิดมาเป็ นอิสระ แต่ต่อมาชนชั้นผู ้ มีอานาจได้ต้ งั ข้อตกลง ขึ้นมาโดยมีเป้ าหมายที่จะให้ความคุม้ ครองทรัพย์สินของพวกเขา นับแต่น้ นั เป็ นต้นมามนาย์ก็ไม่มีอิสระและต้องตกอยู่ใต้อานาจของผูป้ กครองตามข้อผูกพันนั้น รุ สโซเชื่ อว่า ถึงเวลาแล้วที่จะทาลายข้อผูกพันเหล่านั้น และจัดตั้งรู ปแบบของการปกครองขึ้นมาใหม่ โดยที่ให้ เจตจานงร่ วมของประชาชน (General will) เป็ นอานาจสู งสุ ด หรื อเห็ นว่าควรมีการจัดทา ข้อตกลง หรื อ สัญญาประชาคม ขึ้นโดยที่ให้ประชาชนได้เข้ามาพิจารณาตัดสิ นปั ญหาต่างๆร่ วมกัน เห็นถึง ประโยชน์ ส่ วนร่ วมกัน เห็ นถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่ วนตัว รัฐบาลควรปกครองประชาชน ให้ได้รับ ความยุติธรรม และอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุ ข แต่หากรั ฐบาลผิดสัญญาไม่อาจปกครอง ประชาชน ให้ได้รับสุ ขหรื อปกครองอย่างกดขี่ประชาชนก็มีสิทธิ์ ที่จะล้มล้างรัฐบาลได้ และจัดตั้ง รัฐบาลใหม่ข้ ึนปกครอง จะเห็ น ไดว่ า แนวความคิ ด ของนัก ปรั ช ญาดัง กล่ า ว เป็ นแนวความคิ ด ใหม่ ที่ มุ่ ง ปฎิ รู ป การเมือง และสังคมที่เต็มไปด้วยความเหลื อมล้ าระหว่างชนชั้นปกครองกับประชาชน นักปรัชญา เหล่านี้ มาจากชนชั้นกลางซึ่ งเป็ นชนชั้นรุ่ นใหม่ อันเกิ ดจากความก้าวหน้าทางเศรษฐกิ จการค้าของ ยุโรปที่ ก้าวเข้าสู่ ความเป็ นสมัยใหม่ในคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๕ ชนชั้นกลางเป็ นพวกสามัญชนแต่มี การศึกษาดี เป็ นนักวิชาการ นักกฎหมาย ครู พ่อค้า ช่างฝี มือ ฯลฯ ซึ่ งมีฐานะทางครอบครัวที่มนั่ คง ชนกลุ่มนี้จึงมีบทบาทสาคัญในการเรี ยกร้องการปกครองแบบประชาธิปไตย การปฏิวตั ิทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ อังกฤษเป็ นประเทศที่มีความก้าวหน้าในการเปลี่ยนแปลงอานาจของกษัตริ ยถ์ ูกลดลงก่อน ประเทศใด ตั้งแต่ ค.ศ. ๑๒๑๕ ในเมื่อขุนนางอังกฤษบีบให้พระเจ้าจอห์นที่ ๕ ให้ยอมรับในกฎบัตร แม็กนาร์ ตา ( Magna Charta Charter ) ซึ่ งจากัดอานาจของกษัตริ ยอ์ งั กฤษ เนื่องจากกษัตริ ยอ์ งั กฤษ ถูกกล่ าวหาว่า ใช้เงิ นแผ่นดิ นไปในทางที่ ฟุ่ มเฟื อยและก่ อสงคราม จากนั้นกษัตริ ยอ์ งั กฤษถู กลด อานาจลงเรื่ อยๆ จนถึง ค.ศ. ๑๖๘๘ มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติ ว่าด้วยสิ ทธิ ( Bill of Right ) ซึ่ง


๑๑ ให้อานาจรัฐสภาและให้ สิ ทธิ เสรี ภาพแก่ชาวอังกฤษ เหตุการณ์ครั้งนี้ เรี ยกว่า การปฏิวตั ิอนั รุ่ งโรจน์ ( The Glorious Revolution ) เป็ นการปฏิ วตั ิที่ไม่มีการเสี ยเลื อดเนื้ อ นับแต่น้ นั มารัฐสภาอังกฤษได้ ออกกฎหมายให้สิทธิ เสรี ภาพแก่ ชาวอังกฤษ ปฏิ รูป สังคมและการเมื องของอังกฤษ ก้าวหน้าไป ตามลาดับ จนถึ งปั จจุ บ นั อังกฤษได้รับ การยกย่อง ว่าเป็ นประเทศแม่ แบบของการปกครองแบบ ประชาธิ ป ไตย อัง กฤษไม่ มี รัฐธรรมนู ญ เป็ นลายลัก ษณ์ อกั ษร เหมื อ นประเทศอื่ น ๆ ดังนั้น การ ปกครองของอังกฤษ จึงยึดหลัก ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ที่เคยปกครองกันมา และยึดกฎหมายเป็ น หลักรัฐสภา อังกฤษประกอบด้วย ๒ สภา คือ สภาสามัญและสภาขุนนาง อานาจที่แท้จริ งอยูท่ ี่สภา สามัญ ซึ่ งสมาชิ กสภาได้รับการเลื อกตั้งมาจาก ประชาชน อยู่ในวาระ ๕ ปี นายกรัฐมนตรี มาจาก พรรคการเมืองที่คุมเสี ยงข้างมากในสภาสามัญและมีสิทธิ์ ที่จะยุบสภาได้ การปฏิวตั ิทางการเมืองการปกครองในสหรัฐอเมริกา ชาวอัง กฤษเป็ นประชากรในยุ โ รปที่ มี จ านวนมากที่ สุ ด ในการอพยพไปตั้ง รกรากใน สหรัฐอเมริ กา ในระยะแรกชาวอังกฤษจึงมีความผูกพันกับเมื องแม่ของตนด้วยการยอมรับนับถื อ กษัตริ ยอ์ งั กฤษเป็ นกษัตริ ยข์ องตน และรวมตัวกันปกครองตนเองในรู ปแบบอาณานิ คมขึ้นตรงต่อ อังกฤษแต่ อัง กฤษใช้นโยบายการค้าอย่างไม่ ยุติธ รรมกับ อาณานิ ค ม เนื่ องจากบริ เวณลุ่ ม แม่ น้ า มิสซิ สซิ ปปี นี้ เป็ นแหล่งเพาะปลูกใบชาที่สาคัญ อังกฤษใช้วิธีซ้ื อจากอาณานิ คมในราคาถูกมากแล้ว นาไปขายในยุโรปในราคาเพิ่มหลายเท่า ทาให้ชาวอาณานิ คมไม่พอใจ และประกอบกับการที่ชาว อเมริ ก ัน ได้รับ แนวคิ ด จาก นัก ปรั ช ญา คื อ จอห์ น ล็ อก ท าให้ เหตุ ก ารณ์ ลุ ก ลามใหญ่ ก่ อให้ ก าร ประท้วงชุ มนุ มงานเลี้ ยงน้ าชาที่ บอสตัน (Boston Tea Party) ที่ กรุ งบอสตัน อังกฤษจึงส่ งกาลังเข้า ปราบปราม ก่อให้เกิดการต่อต้านอย่างหนัก ฝรั่งเศสได้แอบส่ งกาลัง อาวุธเข้าช่วยเหลืออเมริ กา จน

จอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริ กา คนที่ ๑ ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki


๑๒ ในที่สุด ทาให้อเมริ กาสามารถประกาศอิสรภาพได้ในวันที่ ๔ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๗๗๖ ที่เมืองฟิ ลาเด เฟี ย (วอชิงตัน ดี.ซี. ในปั จจุบนั ) เกิดประธานาธิ บดีคนแรกของสหรัฐอเมริ กาคือ จอร์จ วอชิงตัน และการที่ฝรั่งเศสเข้าช่วยอเมริ กานี้ เอง ทาให้ทหารที่เข้ามาร่ วมรบในสงครามปฏิวตั ิอเมริ กา ได้ซึบ ซับแนวคิดและความต้องการอิสรภาพของชาวอเมริ กนั ทั้งมวลเข้าไว้ และกลายเป็ นพลังผลักดันที่ทา ให้เกิดการปฏิ วตั ิในฝรั่งเศสและประกอบกับสภาพการณ์ ในขณะนั้นฝรั่งเศสกาลังย่าแย่ดว้ ยสภาพ เศรษฐกิ จ สถาบันกษัตริ ยท์ ี่อ่อนแอ ทาให้ฝรั่งเศสเข้าสู่ การปฏิวตั ิฝรั่งเศสและกลายเป็ นแรงผลักดัน ให้เกิดการปฏิวตั ิไปทัว่ ยุโรปในเวลาต่อมา http://th.wikipedia.org/wik

การปฏิวตั ิฝรั่งเศส สาเหตุของการปฏิวตั ิฝรั่งเศส ค.ศ.๑๗๘๙ เหตุการณ์ปฏิวตั ิในฝรั่งเศส เมื่อปี ค.ศ.๑๗๘๙ หรื อที่เรี ยกว่า “การปฏิวตั ิใหญ่ฝรั่งเศส” เป็ น การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครองที่สาคัญ เพราะเป็ นการโค่นล้มอานาจการปกครองของ กษัตริ ยใ์ นระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ และสถาปนาการปกครองในระบอบรัฐธรรมนูญขึ้นแทน สาเหตุของการปฏิวตั ิใหญ่ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๗๘๙ สรุ ปได้ ๓ ประการ คือ ๑. ปั ญหาทางเศรษฐกิจ ฝรั่งเศสกาลังประสบภาวะฝื ดเคืองทางเศรษฐกิจ ซึ่ งเกิดจากการ ใช้จ่ายเพื่อการทาสงครามต่าง ๆ โดยเฉพาะในสงครามประกาศอิสรภาพของชาว อเมริ กนั ระหว่าง ค.ศ.๑๗๗๖ – ๑๗๘๑ เพื่อสนับสนุนให้ชาวอาณานิคมต่อสู ้กบั อังกฤษ ด้วยสาเหตุ ดงั กล่าว รัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ ที่ ๑๖ ( Louis XVI , ค.ศ. ๑๗๗๖-๑๗๙๒ ) จึงมี นโยบายจะเก็บ ภาษี อากรจากประชาชนเพื่อชดเชยรายจ่ายที่ ตอ้ งสู ญเสี ยไป จึงสร้ างความไม่ พอใจแก่ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ๒. ความเหลื่อมทางสังคม ฝรั่งเศสมีโครงสร้างทางสังคมแบบชนชั้น โดยฐานะของผูค้ น ในสังคมมีสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ ชนชั้นอภิสิทธิ์ และชนชั้นสามัญชน แต่ในทางปฏิบตั ิทางการจะแบ่ง ฐานะของพลเมืองออกเป็ น ๓ ชนชั้นหรื อ ๓ ฐานันดร ( Estates ) ได้แก่ ฐานันดรที่ ๑ คือ พระและนักบวชในคริ สต์ศาสนา และฐานันดรที่ ๒ คืน ขุนนางและชน ชั้น สู ง ทั้งสองฐานันดรเป็ นชนชั้นอภิ สิ ท ธิ์ มี จานวนประมาณร้ อยละ ๒ ของจานวนประชากร ทั้งหมด มีชีวติ ความเป็ นอยูส่ ะดวกสบายและหรู หรา ฐานันดรที่ ๓ คือ สามัญชน ส่ วนใหญ่เป็ นชาวนาที่ยากจนและถูกขูดรี ดภาษีอย่าง หนัก รวมทั้งพวกชนชั้นกลาง เช่น พ่อค้า ช่างฝี มือ และปัญญาชน ฯลฯ


๑๓ ๓. ความเสื่ อ มโทรมของระบอบการปกครองแบบเก่ า กษัต ริ ย ์ฝ รั่ ง เศสในระบอบ สมบู รณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ ทรงมี พ ระราชอ านาจเป็ นล้น พ้น ไม่ มี ข อบเขตจ ากัด และทรงอยู่เหนื อ กฎหมายของบ้านเมืองโดยเฉพาะในรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๖ มีหลายครั้งที่ทรงใช้อานาจโดย ไม่ฟังเสี ยงประชาชน ทรงไม่สนพระทัยการบริ หารบ้านเมือง อีกทั้งยังทรงอยู่ภายใต้อิทธิ พลของ พระนางมารี อังตัวเนตต์ ( Marie Antoinette ) พระราชิ นี ซึ่ งทรงนิ ยมใช้จ่ายในพระราชสานัก อย่างฟุ่ มเฟื อย จุดเริ่มต้ นของการปฏิวตั ิฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๗๘๙ ๑. การเปิ ดประชุ มรัฐสภา เมื่อรัฐบาลต้องการแก้ไขปั ญหาวิกฤติ ทางเศรษฐกิ จโดยเก็บ ภาษี อ ากรที่ ดิ น จากพลเมื อ งทุ ก ฐานัน ดร จึ ง ต้อ งเรี ย กประชุ ม รั ฐ สภา ที่ เรี ย กว่า “สภาฐานัน ดร แห่ งชาติ” ( Estates General ) ซึ่ งประกอบด้วยผูแ้ ทนของฐานันดรทั้ง ๓ ฐานันดร ในวันที่ ๕ พฤษภาคม ค.ศ.๑๗๘๙ ๒. ความขัดแย้งจากการประชุ มสภาฐานันดร เนื่ องจากผูแ้ ทนของแต่ละฐานันดรถูกจัด ให้แยกสถานที่ประชุม ทาให้ฐานันดรที่ ๓ (จานวน ๖๑๐ คน) ไม่พอใจและเรี ยกร้องให้เปิ ดประชุ ม ร่ วมกัน ทาให้การประชุมล่าช้าไปหลายสัปดาห์ ๓. ฐานันดรที่ ๓ แยกตัวออกมาจัดตั้งสมัชชาแห่ งชาติ ในที่สุดกลุ่มผูแ้ ทนส่ วนใหญ่ของ ฐานันดรที่ ๓ จึงแยกตัวออกจากสภาฐานันดรแห่ งชาติ และจัดตั้งเป็ น “สมัชชาแห่ งชาติ” ( National Assembly ) โดยอ้างว่าพวกตนเป็ นคนส่ วนใหญ่ของประเทศจึงมีสิทธิ ที่จะลงมติในเรื่ องการเก็บภาษี ได้ และได้กล่าวคาปฏิญญาที่จะร่ วมกันร่ างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศให้สาเร็ จ ๔. เหตุการณ์บุกทลายคุกบาสตีย ์ ( Bastille ) เมื่อมีข่าวว่ารัฐบาลของพระเจ้าหลุ ยส์ ที่ ๑๖ เตรี ยมใช้กาลังทหารเข้าสลายการประชุ มสมัชชาแห่ งชาติ ประชาชนชาวกรุ งปารี สจึงลุกฮือขึ้นจับ อาวุธเพื่อสนับสนุนกลุ่มสมัชชาแห่งชาติ และบุกเข้าทาลายคุกบาสตีย ์ เมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ค.ศ. 1789 ซึ่งเป็ นสถานที่คุมขังนักโทษทางการเมือง และเป็ นสัญลักษณ์แห่งการกดขี่ของการปกครอง ระบอบเก่า ๕. ความสาคัญของการบุกทาลายคุกบาสตีย ์ ถื อว่าเป็ นเหตุการณ์ ที่สาคัญที่สุดของการ ปฏิวตั ิฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๗๘๙ เพราะกษัตริ ย ์ ขุนนาง และชนชั้นสู ง ต้องยอมสละอานาจให้แก่สมัชชา แห่งชาติ และพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๖ ทรงยอมรับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและการปกครองครั้งนี้


๑๔

การทลายคุกบาสติน ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki

การยกเลิกอภิสิทธิ์ของขุนนางและประกาศสิ ทธิมนุษยชน ๑. การเรี ยกร้องของชาวนาในชนบท ข่าวการบุกทาลายคุกบาสตียแ์ ละเหตุการณ์ความไม่ สงบในกรุ งปารี ส ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.๑๗๘๙ ทาให้ชาวนาและสามัญชนในชนบทลุกฮือขึ้นก่อ การจลาจลทัว่ ประเทศมีการบุกทาลายทรัพย์สินของขุนนาง และเรี ยกร้อยให้ยกเลิกอภิสิทธิ์ ของชน ชั้นสู งเหล่านี้ ๒. การยกเลิกอภิสิทธิ์ ขนุ นางและชนชั้นสู ง โดยสมัชชาแห่งชาติได้ออก “พระราชกฤษฏี กาเดือนสิ งหาคม”ค.ศ.๑๗๘๙ เพื่อให้สถานการณ์กลับคืนสู่ ภาวะปกติและเกิดความสงบโดยเร็ ว สาระส าคัญ คือ การยกเลิ กระบบอภิ สิทธิ์ ต่าง ๆ ของสังคมระบอบเก่ า เช่ น ยกเลิ กระบบ ฟิ วดัลหรื อระบบอภิสิทธิ์ ในการถือครองที่ดินของพวกขุนนาง ยกเลิกการจ่ายภาษีบารุ งศาสนา และ กาหนดให้พลเมืองทุกคนมีความเสมอภาคเท่าเทียมกันในด้านต่าง ๆ เป็ นต้น ๓. การประกาศหลักสิ ทธิ มนุ ษยชนและพลเมือง ในเดือนสิ งหาคม ค.ศ.๑๗๘๙ โดยยึด หลักการสาคัญ ๓ ข้อ ซึ่ งเป็ นคาขวัญของการปฏิ วตั ิ ฝรั่งเศสครั้งนี้ ได้แก่ “เสรี ภาพ เสมอภาค และ ภราดรภาพ” และยังมีรายละเอียดอื่น ๆ อีก ๑๗ มาตรา ส่ วนใหญ่ เป็ นเรื่ องสิ ทธิ และเสรี ภาพส่ วน บุคคลและอานาจอธิปไตยของประชาชน ประกาศดังกล่าวเป็ นการย้ าถึ งข้อเรี ยกร้ องของกลุ่มสมัชชาแห่ งชาติ หรื อฐานันดรที่ ๓ ที่ ต้องการให้มนุษย์ทุกคนมีสิทธิ เสรี ภาพ และอิสรภาพในการดาเนิ นชีวิตโดยเท่าเทียมกัน และทุกคน ต้องเสี ยภาษีอากรตามสัดส่ วนของรายได้ที่ตนได้รับจริ ง

การเปลีย่ นแปลงเข้ าสู่ สมัย “สาธารณรัฐฝรั่งเศส สมัยที่ ๑” ๑. ฝรั่งเศสประกาศใช้รัฐธรรมนูญเป็ นหลักในการปกครองประเทศ เมื่อเดือน กันยายน


๑๕ ค.ศ.๑๗๙๑ โดยเปลี่ ยนรู ป แบบการปกครองจากระบอบสมบู รณาญาสิ ทธิ ราชย์ม าเป็ นระบอบ กษัตริ ยภ์ ายใต้รัฐธรรมนูญ ๒. ปั ญหาความยุ่งยากของรัฐบาลใหม่ภายใต้ระบอบรั ฐธรรมนู ญ เช่ น พระเจ้าหลุ ยส์ ที่ ๑๖ พยายามขอความช่วยเหลือจากประเทศออสเตรี ยเพื่อให้ได้พระราชอานาจคืนมา และบรรดาขุน นางที่สูญเสี ยผลประโยชน์หรื ออภิสิทธิ์ ต่าง ๆ พากันหลบหนี ออกนอกประเทศเพื่อหาทางโค่นล้ม รัฐบาล ๓. การยกเลิกระบอบกษัตริ ย ์ สภาคอนเวนชัน (Convention) เป็ นสภาที่ต้ งั ขึ้นใหม่เพื่อทา หน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ได้ลงมติยกเลิกการปกครองระบอบกษัตริ ยแ์ ละประกาศให้ฝรั่งเศส เข้าสู่ “สมัยสาธารณรัฐ สมัยที่ ๑” เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ค.ศ.๑๗๙๒ และลงมติให้ประหารชี วิต ประเจ้าหลุยส์ที่ ๑๖ และครอบครัวของพระองค์ ในวันที่ ๒๑ มกราคม ค.ศ.๑๗๙๓ school.obec.go.th/saod_rs/p007/p04.doc

พระเจ้าหลุยส์ที่16 ที่มา : http://www.pichao.byethost3.com

กล่าวได้วา่ แนวความคิดประชาธิ ปไตยของ ล็อค มองเตสกิเออร์ วอลแตร์ และรุ สโซ มีผล ในการปลุ กเร้าจิตสานึ ก ทางการเมืองของชาวตะวันตกเป็ นอันมาก และก่ อให้เกิ ดการต่อสู ้ เพื่อให้ ได้มาซึ่ งประชาธิ ปไตย ในประเทศต่างๆ อย่างต่อเนื่ องนับแต่ปลายคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๘ เป็ นต้นมา ซึ่ ง ถื อได้ว่าเป็ นจุ ดเริ่ ม ต้น ของศัก ราชใหม่ ข องระบบการเมื อ งที่ ป ระชาชนถื อว่าตนเป็ นเจ้าของ ประเทศ และต้อ งการมี ส่ ว นร่ ว มในการปกครองประเทศด้ว ย เหตุ ก ารณ์ ป ฎิ ว ตั ิ ท างการเมื อ ง โดยเฉพาะการปฏิ วตั ิฝรั่งเศส ค.ศ.๑๗๘๙ เป็ นแม่แบบให้ชาวตะวันตกร่ วมเรี ยกร้องสิ ทธิ เสรี ภาพ ทางการเมืองมากขึ้น แนวความคิดที่วา่ ระบอบประชาธิ ปไตยเป็ นการปกครอง ของประชาชน โดย


๑๖ ประชาชน และเพื่ อ ประชาชน (of the people ,by the people and for the people) จึ ง เป็ น หลักการทางทางการเมื องของผูใ้ ฝ่ ฝั นอุ ดมการณ์ แห่ งเสรี ภาพความเสมอภาคและภราดรภาพใน ประเทศต่างๆ ทัว่ โลกในคริ สต์ศตวรรษที่ ๒๐ นี้ดว้ ย

***************************** อ้างอิง แถมสุ ข นุ่มนนท์และคณะ หนังสื อเรี ยน ส605 สังคมศึกษาสมบูรณ์แบบ วัฒนาพานิช กรุ งเทพมหานคร http://th.wikipedia.org/wik http://www school.obec.go.th/saod_rs/p007/p04.doc http://www.pichao.byethost3.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.