ยุคปฏิวัติวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม.pdf

Page 1


ใบความรู้ที่ ๑๑ เอกสารประกอบการเรี ยน รายวิชาอารยธรรมโลก(ส๓๐๑๐๕) ภาคเรี ยนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ หน่วยที่ ๖ พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ เรื่ อง การปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ และอุตสาหกรรม ชื่อ........................................................... ม.๖/........... เลขที่.......... ผูส้ อน นางยุพา ชูเนตร์  ความหมายของการปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร์

การปฏิ ว ตั ิ ท างวิท ยาศาสตร์ คื อ การพัฒ นาความเจริ ญ ก้า วหน้ า ในวิ ท ยาการของโลก ตะวันตก ในคริ ส ต์ศ ตวรรษที่ ๑๗ มี การค้นคว้าแสวงหาข้อเท็จจริ งเกี่ ยวกับ ธรรมชาติ โลกและ จัก รวาล ท าให้ ค วามรู ้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ เจริ ญ รุ่ ง เรื อ ง เป็ นผลให้ ช าติ ต ะวัน ตกพัฒ นาความ เจริ ญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็ ว ปัจจัยที่ก่อให้ เกิดการปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร์

๑. การฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ ทาให้มนุษย์เชื่อมัน่ ในความสามารถของตน มีอิสระทางความคิด หลุดพ้นจากอิทธิพลการครอบงาของคริ สต์จกั ร และมุ่งมัน่ ที่จะเอาชนะธรรมชาติเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวติ และความเป็ นอยูข่ องตนให้ดีข้ ึน ๒. การพัฒนาเทคโนโลยีในดินแดนเยอรมันตอนใต้ โดยเฉพาะการประดิษฐ์เครื่ องพิมพ์ แบบใช้วธิ ีเรี ยงตัวอักษรขอกูเตนเบิร์กในปี ค.ศ.๑๔๔๘ ทาให้สามารถพิมพ์หนังสื อเผยแพร่ ความรู ้ ต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง ๓. การสารวจทางทะเลและการติดต่อกับโลกตะวันออก ตั้งแต่คริ สต์ศตวรรษ ที่ ๑๖ เป็ นต้น มาทาให้อารยธรรมความรู ้ต่างๆจากจีน อินเดีย อาหรับ และเปอร์ เชีย เผยแพร่ เข้ามาในสังคม ตะวันตกมากขึ้น แนวคิดของนักมนุ ษย์นิยมที่ให้ความสาคัญกับการใช้หลักเหตุผลในการแสวงหาความจริ ง และการฟื้ นฟูวทิ ยาการสมัยคลาสสิ กเป็ นปั จจัยสาคัญที่นาไปสู่ การปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ ในยุโรป การใช้หลักเหตุผลในการแสวงหาความจริ ง ความรู ้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติซ่ ึ งเป็ นที่ยอมรับกันมาตั้งแต่ตน้ คริ สต์ศกั ราชจนถึงปลายสมัย กลาง เช่ น การยอมรับว่าโลกเป็ นศูนย์กลางของจักรวาล และพระเจ้าเป็ นผูส้ ร้างโลก ล้วนเป็ นการ ยอมรั บ โดยไม่ มี ขอ้ โต้แย้งหรื อการพิ สู จน์ ใดๆ ต่ อมาเมื่ อมี การส่ งเสริ ม ให้ใช้หลัก เหตุ ผลในการ แสวงหาความจริ ง นักวิทยาศาสตร์ จึงเริ่ มตั้งข้อสงสัยต่อความจริ ง และเริ่ มศึกษาโดยวิธีการสังเกต รวบรวมข้อมูลและทดลอง ก่อนสรุ ปเป็ นองค์ความรู ้หรื อทฤษฎี วิธีการศึกษาดังกล่าวได้ชื่อว่าเป็ น “วิธี ก ารแบบวิท ยาศาสตร์ ” ซึ่ งเป็ นจุ ด เริ่ ม ต้น ของการปฏิ วตั ิ วิท ยาศาสตร์ เพราะท าให้ เกิ ดการ เปลี่ยนแปลงองค์ความรู ้และเกิดการศึกษาค้นคว้าต่อไปเพื่อให้ไดคาตอบที่เป็ นความจริ ง


๒ ความสาคัญของการปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร์

๑. ทาให้มนุษย์เชื่อมัน่ ในสติปัญญาและความสามารถของตน เชื่ อมัน่ ในความมีเหตุผล และ นาไปสู่ การแสวงหาความรู ้โดยไม่มีสิ้นสุ ด ๒. ก่อให้เกิดความรู ้และความเจริ ญก้าวหน้าในวิทยาการด้านต่าง ๆ และทาให้วทิ ยาศาสตร์ กลายเป็ นศาสตร์ที่มีความสาคัญ โดยเน้นศึกษาเรื่ องราวของธรรมชาติ ๓. ทาให้เกิดการค้นคว้าทดลองและแสวงหาความรู ้ดา้ นต่าง ๆ ซึ่ งนาไปสู่ การประดิษฐ์ คิดค้นสิ่ งใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง และเป็ นพื้นฐานของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในสมัยต่อมา ๔. ทาให้ชาวตะวันตกมีทศั นคติเป็ นนักคิด ชอบสังเกต ชอบซักถาม ชอบค้นคว้า ทดลอง เพื่อหาคาตอบ และนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดาเนินชี วติ การปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร์ ในยุคเริ่มต้ น

การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ ในยุคเริ่ มต้น เป็ นการค้นพบความรู ้ทางดาราศาสตร์ ทาให้เกิด คาอธิ บายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ซึ่ งเป็ นการท้าทายความเชื่ อดั้งเดิมของคริ สต์ ศาสนา สรุ ปได้ดงั นี้ ๑. การค้นพบทฤษฎีระบบสุ ริยะจักรวาลของนิโคลัส ( Nicholaus Copernicus ) ชาว โปแลนด์ ในต้นคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๗ สาระสาคัญ คือ ดวงอาทิตย์เป็ นศูนย์กลางของ จักรวาล โดยมีโลกและดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ โคจรโดยรอบ ทฤษฎีของโคเปอร์ นิคสั ขัดแย้งกับ หลักความเชื่อของคริ สต์จกั รอย่างมากที่เชื่อว่าโลกเป็ นศูนย์กลางของจักรวาล แม้จะถูกประณาม อย่างรุ นแรง แต่ถือว่าความคิดของโคเปอร์ นิคสั เป็ นจุดเริ่ มต้นของการปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ ทา ให้ชาวตะวันตกให้ความสนในเรื่ องราวลี้ลบั ของธรรมชาติ

นิโคลัส คอเปอร์นิคสั ที่มา : http://metricsyst.wordpress.com


๓ ๒. การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ ( Telescope ) ของกาลิเลโอ ( Galileo Galilei ) ชาวอิตาลีใน ปี ค.ศ.๑๖๐๙ ทาให้ความรู ้เรื่ องระบบสุ ริยจักรวาลชัดเจนยิง่ ขึ้น เช่น ได้เห็นจุดดับในดวงอาทิตย์ ได้สังเกตการเคลื่อนไหวของดวงดาว และได้เห็นพื้นขรุ ขระของดวงจันทร์ เป็ นต้น ๓. การค้นพบทฤษฎีการโคจรของดาวเคราะห์ ของโจฮันเนส เคปเลอร์ ( Johannes Kepler ) ชาวเยอรมัน ในช่างต้นคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๗ สรุ ปได้วา่ เส้นทางโคจรของดาวเคราะห์รอบดวง อาทิตย์เป็ นรู ปไข่หรื อรู ปวงรี มิใช่เป็ นวงกลมตามทฤษฎีของโคเปอร์นิคสั

กาลิเลโอ กาลิเลอี โยฮัน เคปเลอร์ ที่มา : http://metricsyst.wordpress.com การเสนอวิธีสร้างความรู้แบบวิทยาศาสตร์ ในช่วงกลางคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๗ มีนกั คณิ ตศาสตร์ ๒ คน ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับวิธี สร้างความรู้เพื่อการศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ สรุ ปได้ดงั นี้ ๑. เรอเนส์ เดส์การ์ตส์ ( Rene Descartes ) ชาวฝรั่งเศส และเซอร์ ฟรานซิส เบคอน ( Sir Francis Bacon ) ชาวอังกฤษ ได้ร่วมกันเสนอหลักการใช้เหตุผล วิธีการทางคณิ ตศาสตร์ และการ ค้นคว้าวิจยั มาใช้ตรวจสอบข้อเท็จจริ งและการแสวงหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ๒. ความคิดของเดส์การ์ตส์ เสนอว่าวิชาเรขาคณิ ตเป็ นหลักความจริ งสามารถนาไปใช้สืบค้น ข้อเท็จจริ งทางวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งได้รับความเชื่ อถือจากนักวิทยาศาสตร์ ในสมัยต่อมาเป็ นอย่าง มาก ๓. ความคิดของเบคอน เสนอแนวทางการค้นคว้าวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ “ วิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ ” เป็ นเครื่ องมือศึกษา ทาให้วทิ ยาศาสตร์ ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง


เรอเน เดสการ์ ต ที่มา : http://metricsyst.wordpress.com การจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์ แห่ งชาติ

๑. การเสนอทฤษฏีการศึกษาค้นคว้าด้วย “ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ” ทาให้เกิดความตื่นตัวใน หมู่ปัญญาชนของยุโรป มีการจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์ แห่งชาติข้ ึนในประเทศต่าง ๆ หลาย แห่ง ในช่วงปลายคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๗ เพื่อสนับสนุนงานวิจยั การประดิษฐ์อุปกรณ์เครื่ องมือ เครื่ องใช้ต่าง ๆ และแลกเปลี่ยนความรู ้ซ่ ึ งกันและกัน ทาให้วทิ ยาศาสตร์ เจริ ญก้าวหน้าโดย ลาดับ ๒. ความร่ วมมือระหว่างนักวิทยาศาสตร์ กบั นักประดิษฐ์นาไปสู่ การพัฒนาสิ่ งประดิษฐ์ ต่าง ๆ มากมาย ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ จึงเป็ นรากฐานของความเจริ ญ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ จึงมีผกู ้ ล่าวว่ากรปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ ในคริ สต์ ศตวรรษที่ 17 เป็ นยุคแห่งอัจฉริ ยะ ( The Age of Genius ) เพราะมีการค้นพบความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ ใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย การค้ นพบกฎแห่ งความโน้ มถ่ วงของนิวตัน

๑. การค้นพบความรู ้หรื อทฤษฎีใหม่ของ เซอร์ ไอแซค นิวตัน ( Sir Isaac Newton ) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ในตอนปลายคริ สต์สตวรรษที่ ๑๗ มี ๒ ทฤษฏี คือ กฎแรงดึงดูด ของจักรวาลและกฎแห่งความโน้มถ่วง ๒. ผลจากการค้นพบทฤษฏีท้ งั สองดังกล่าว ทาให้นกั วิทยาศาสตร์ สามารถอธิ บายได้วา่ เพราะเหตุใดโลกและดาวเคราะห์จึงหมุนรอบดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ จึงหมุนรอบโลกได้โดยไม่ หลุดจากวงโคจร และสาเหตุที่ทาให้วตั ถุต่าง ๆ ตกจากที่สูงลงสู่ พ้นื ดินโดยไม่หลุดลอยไปใน อวกาศ ๓. ความรู้ที่พบกลายเป็ นหลักของวิชากลศาสตร์ ทาให้นกั วิทยาศาสตร์เข้าในเรื่ องราวของ


๕ เอกภพสสาร พลังงาน เวลา และการเคลื่อนตัวของวัตถุในท้องฟ้ า โดยใช้ความรู้และวิธีการทาง คณิ ตศาสตร์ ช่วยค้นหาคาตอบ

เซอร์ไอแซค นิวตัน ที่มา : http://metricsyst.wordpress.com

ผลจากการปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ ในคริสต์ ศตวรรษที่ ๑๗

๑. การปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ เป็ นสาเหตุผลักดันให้เกิดการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในคริ สต์ศตวรรษ ที่ ๑๘ ทาให้ประเทศต่าง ๆ ในยุโรปพัฒนาความเจริ ญก้าวหน้าในด้านการผลิตจนกลายเป็ น ประเทศอุตสาหกรรมชั้นนาของโลก ๒. การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ ทาให้เกิด “ ยุคภูมิธรรม ” หรื อ “ ยุคแห่งการรู ้แจ้ง ” ทาให้ ชาวตะวันตกเชื่อมัน่ ในเหตุผล ความสามารถ และภูมิปัญญาของตนเชื่ อมัน่ ว่าโลกจะก้าวหน้า พัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง มีความมัน่ ใจว่าจะสามารถแสวงหาความรู ้ต่อไปไม่มีวนั สิ้ นสุ ด โดย อาศัยเหตุผลและสติปัญญาของตน ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ ทาให้สังคมยอมรับวิทยาการสมัยใหม่และทาให้การศึกษาวิทยาศาสตร์ ก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง เนื่องจากนักวิทยาศาสตร์ สมัยต่อมาได้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู ้เพิม่ เติมจาก ทฤษฎีที่นกั วิทยาศาสตร์ รุ่นแรกๆ ค้นคว้าไว้ นอกจากนี้การศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ ยงั ขยาย ออกไปหลายสาขา เช่น การแพทย์ ฟิ สิ กส์ เคมี ชีววิทยา ฯลฯ อนึ่ง ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ได้ ส่ งเสริ มให้มีการประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีหลากหลาย เช่น เครื่ องทุ่นแรงและเครื่ องจักรต่างๆ


๖ ส่ งผลให้เทคโนโลยีและสิ่ งประดิษฐ์ต่างๆ กลายเป็ นส่ วนหนึ่งในชีวติ ประจาวันของมนุษย์จนถึง ปัจจุบนั โดยสรุ ปการปฏิวตั ิวิทยาศาตร์ เป็ นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาความคิดและสติปัญญาของ มนุ ษ ย์และท าให้ สั งคมโลกก้าวสู่ ส มัย แห่ งความก้าวหน้าที่ มี ก ารศึ ก ษาค้น คว้าและพัฒ นาความ เจริ ญรุ่ งเรื องอย่างไม่หยุดยั้ง อนึ่ ง การที่ การปฏิ วตั ิ วิทยาศาสตร์ เริ่ มต้นจากดิ นแดนยุโรป จึงทาให้ ยุโรปมี ค วามก้า วหน้ าทางด้านวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ม ากกว่า ดิ น แดนอื่ น ๆ และเป็ นข้อ ได้เปรี ยบที่สาคัญของยุโรปกล่าวได้ว่าการปฏิ วตั ิวิทยาศาสตร์ นาไปสู่ การปฏิ วตั ิอุตสาหกรรม ใน คริ สต์ศตวรรษที่ ๑๘ ทาให้เกิ ด “ยุคภูมิธรรม” (The Enlightenment ) หรื อยุคแห่ งเหตุผล ( Age of Reason) ทาให้ชาวตะวันตกเชื่อมัน่ ในเหตุผล ความสามารถ และภูมิปัญญาของตน นักวิทยาศาสตร์คนสาคัญ ในการปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ ในคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๖-๑๘ มีการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์ ครั้งใหญ่มีการค้นคว้าทดลอง พิสูจน์ทฤษฎีต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ ในยุคนี้มีนกั วิทยาศาสตร์ ที่สาคัญ ๆ ได้แก่ นิโคลัส โคเพอร์นิคสั ( Nicholaus Copernicus ค.ศ. ๑๔๗๓-๑๕๔๓ ) เป็ นนักวิทยาศาสตร์ เชื้อสายโปแลนด์ ได้ให้ทฤษฎีเกี่ยวกับจักรวาลว่า ดวงอาทิตย์เป็ นศูนย์กลางของระบบสุ ริยะ โลก ไม่ใช่ศูนย์กลางของจักรวาล นับเป็ นการปฏิวตั ิทางดาราศาสตร์ ครั้งสาคัญ เพราะเป็ นการอ้างทฤษฎี ที่คา้ นกับความเชื่อเดิมเมื่อ ๑,๕๐๐ ปี มาแล้ว ซึ่งเสนอโดย โทเลอมี แอนเดรี ยส วีเซเลียส ( Andreas Vesalius ค.ศ. ๑๕๑๔-๑๕๖๓ ) นักกายวิภาคศาสตร์ผศู้ ึกษา จากศพคนจริ ง ๆ และคัดค้านคาสอนของเกเลน ทาให้คาสั่งสอนของเกเลนซึ่ งเชื่อกันมานานถึง ๑,๕๐๐ ปี ถูกล้มล้างไป การศึกษากายวิภาคของคนจากร่ างกายของคนจึงทาให้การพัฒนาด้าน การแพทย์เจริ ญก้าวหน้าเข้าสู่ ยคุ ปั จจุบนั มากขึ้น กาลิเลโอ ( Galileo Galilei ค.ศ. ๑๕๖๔-๑๖๔๒ ) เป็ นนักดาราศาสตร์ นักคณิ ตศาสตร์และนัก ฟิ สิ กส์ ชาวอิตาเลียน ผูม้ ีความคิดเห็นก้าวหน้าล้ ายุคมาก และไม่เห็นด้วยกับความเชื่ อด้าน วิทยาศาสตร์โบราณของอริ สโตเติล โทเลอมี และเกเลน ซึ่ งนักวิทยาศาสตร์ ท้ งั สามท่านนี้ได้มี อิทธิ พลต่อการพัฒนาของวิทยาศาสตร์ ดา้ นต่าง ๆ ยาวนานกว่าพันปี ทั้งสิ้ น ดังนั้น กาลิเลโอจึง ประสบปั ญหาในการเผยแพร่ ความรู ้ทางด้านวิทยาศาสตร์ อย่างมาก เพราะขัดแย้งกับคาสอนทาง ศาสนาอีกด้วยเป็ นผูท้ ี่ได้ชื่อว่า บิดาแห่งการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เขาค้นพบของแรงดึงดูดของ วัตถุของโลกในชั้นแรก และเป็ นผูป้ ระดิษฐ์กล้องดูดาว ที่สามารถส่ องดูการเคลื่อนไหวของดาวได้ เป็ นคนแรก


๗ โยฮัน เคปเลอร์ ( Johannes Kcpler ค.ศ. ๑๕๗๑-๑๖๓๐ ) เป็ นคนแรกที่วางรากฐานเกี่ยวกับการ เคลื่อนที่ของจักรวาล และอธิ บายวิถีการโคจรของดาวเคราะห์ท้ งั ๙ ดวง ปั จจุบนั ยังใช้กนั อยูเ่ รี ยกว่า กฎของเคปเลอร์ เขาสรุ ปว่า ดวงดาวต่าง ๆ โคจรเป็ นวงรี ไม่ใช่วงกลม โรเบิร์ต บอยล์ ( Robert Boyle ค.ศ. ๑๖๒๗-๑๖๙๒ ) บิดาแห่งวิชาเคมีและเป็ นคนแรกที่ ผลักดันให้เกิดวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ ซึ่ งมีการศึกษาทดลองประกอบกับการตั้งทฤษฎีโดยโจมตี แนวคิดของอริ สโตเติลที่กล่าวว่าสสารประกอบด้วยธาตุ ๔ ชนิด แต่บอยล์กลับกล่าวว่าสสาร ประกอบด้วยธาตุมากกว่านั้นมากมาย จอห์น เรย์ ( John Ray ค.ศ. ๑๖๒๗-๑๗๐๕ ) เป็ นผูเ้ ริ่ มงานด้านชีววิทยา จาแนกพืชพันธุ์ไม้ ต่าง ๆ เป็ นหมวดหมู่และตั้งชื่ อไว้ดว้ ย เขาจาแนกพืชต่างๆ กว่า ๑๘๖,๐๐๐ ชนิด ไว้เป็ นหมวดหมู่ จึง ได้รับสมญานามว่า บิดาแห่งวิชาพฤกษศาสตร์ เอนตัน แวน เลเวนฮุก ( Anton Van Leuwenhoek ค.ศ. ๑๖๓๒-๑๗๒๓ ) ได้พบวิธีฝนเนส์ และได้สร้างกล้องจุลทรรศน์ นาไปส่ องดูสิ่งมีชีวติ เล็ก ๆ แล้วสามารถได้รายละเอียดของสิ่ งมีชีวติ เล็กๆ นั้นได้ ข้อมูลของเขาทาให้ความรู ้เรื่ องจุลชีวนั กระจ่างขึ้นมาก กล้องจุลทรรศน์ของเขา สามารถขยายได้ถึง ๒๗๐ เท่า จึงได้รับสมญานามว่า บิดาแห่งโลกจุลชีวนั เซอร์ ไอแซก นิวตัน ( Sir Isaac Newton ค.ศ. ๑๖๔๒-๑๗๒๗ ) พบกฎแห่งความโน้มถ่วงซึ่ ง เป็ นกฎสากลอันดับแรก จึงได้รับสมญานามว่า บิดาของวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ และเป็ นผูศ้ ึกษาเรื่ อง แสง โดยเจาะช่องเล็ก ๆ ให้แสงส่ องเข้าไปในห้องมืด เมื่อเอาแท่งแก้วปริ ซึมวางไว้ให้แสงแดด ส่ งผ่าน แสงสี ขาวจะกระจายเป็ น ๗ สี คือ ม่วง คราม น้ าเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง พร้อมกับ อธิ บายถึงสาเหตุของการเกิดรุ ้งกินน้ า และ สรุ ปแรงดึงดูดของโลก จากการสังเกตลูกแอปเปิ้ ลตกลง พื้นดิน ไม่ลอยไปในอากาศ โดยเรี ยกกฎนี้วา่ "กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน" http://www.skb.ac.th/~skb/computor/ganjana/west_modern_data2.htm วันที่ ๔ สิ งหาคม ๒๕๕๖ การปฏิวตั ทิ างอุตสาหกรรม

หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงในวิธีการและระบบการผลิต จากการใช้แรงงานคนและสัตว์ รวมทั้งพลังงานจากธรรมชาติ มาเป็ นการใช้เครื่ องมือ และเครื่ องจักรแบบง่ายๆจนถึงแบบซับซ้อนที่ มีประสิ ทธิภาพรวดเร็ ว และมีกาลังสู ง จนเกิดเป็ นระบบโรงงาน แทนการผลิตในครัวเรื อนการนา เทคนิคใหม่ๆมาใช้ในการผลิต เกิดขึ้นที่ประเทศอังกฤษเป็ นประเทศแรก เมื่อต้นคริ สต์ศตวรรษที่


๑๘ และปรากฎผลอย่างเต็ม ที่ ในศตวรรษที่ ๑๙ ต่อจากนั้นได้ขยายไปยังประเทศต่างๆ ในยุโรป ตะวันตก อเมริ กา รุ สเซี ย และทัว่ โลกในเวลาต่อมาส่ วนใหญ่ประเทศในเอเชี ย แอฟริ กา และลาติน อเมริ กา เพิ่งมีการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในประเทศของตนอย่างจริ งจัง หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ การ พัฒนาอุตสาหกรรมได้เกิดขึ้นในประเทศอังกฤษเป็ นประเทศแรกเพราะมีปัจจัยประกอบคือ ๑. เครื่ องจักร เป็ นนวัตกรรมส าคัญ ที่ ท าให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงการผลิ ตแบบดั้งเดิ มเป็ นระบบ อุตสาหกรรมการประดิ ษฐ์คิดค้นเครื่ องจักรเป็ นผลสื บเนื่ องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีหลัง การปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ สิ่ งประดิษฐ์ที่ส่งผลให้เกิดอุตสาหกรรมทอผ้า ๒.วัตถุดิบ อังกฤษมีแหล่งวัตถุดิบที่สามารถรองรับการผลิตในระบบอุตสาหกรรมซึ่ งต้องใช้วตั ถุดิบ จ านวนมาก แหล่ ง ปลู ก ฝ้ ายที่ ส าคัญ ส าหรั บ โรงงานทอผ้า ในอัง กฤษคื อ มลรั ฐ ภาคใต้ข อง สหรัฐอเมริ กา อดีตอาณานิคมของอังกฤษในอเมริ กาเหนือ และอาณานิคมอินเดียของอังกฤษ ๓. ทุ น ความมั่ง คัง่ จากการค้าที่ ข ยายตัวอย่างกว้า งขวาง ประกอบกับ ความก้าวหน้ าของระบบ ธนาคารที่ ใ ห้ นั ก ลงทุ น กู้ ยื ม เงิ น ท าให้ น ายทุ น ชาวอัง กฤษจ านวนมากสนใจลงทุ น ประกอบ อุตสาหกรรมเพราะให้ผลตอบแทนจานวนมาก จึงส่ งผลให้อุตสาหกรรมในอังกฤษขยายตัว ๔. แรงงาน การเพิ่ ม ขึ้ น ของประชากรอัน เนื่ องมาจากความก้าวหน้าทางด้านสาธารณะสุ ข และ การแพทย์ประกอบกับข้อจากัดของพื้นที่เพาะปลูกทาให้เกษตรกรจานวนมากหลัง่ ไหลเข้าเมืองเพื่อ หางานทา และเป็ นแรงงานในภาคอุตสาหกรรมที่กาลังเติบโตและต้องการแรงงานจานวนมาก แต่ ได้ค่าแรงต่า ๕. ตลาด การขายตัวของประชากรในอังกฤษ ยุโรป และการจับจองอาณานิ คมของอังกฤษใน อเมริ ก าเหนื อและเอเชี ย ท าให้องั กฤษมี ตลาดรองรั บ สิ นค้าอุ ตสาหกรรมทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศ ซึ่ งส่ งเสริ มให้อุตสาหกรรมทอผ้าและอุตสาหกรรมอื่นๆ ขยายตัว ๖. นโยบายของรัฐบาล นโยบายของรัฐบาลอังกฤษ ทั้งนโยบายขยายอาณานิ คมในดิ นแดนต่างๆ และการสนับสนุ นระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิ ยมซึ่ งส่ งเสริ มให้มีการแข่งขันเสรี ตามทฤษฎีของเอดัม สมิธ (Adam Smith) นักเศรษฐศาสตร์ ชาวสกอตแลนด์ ล้วนเป็ นปั จจัยสาคัญที่ส่งผลต่อการปฏิ วตั ิ อุ ต สาหกรรมในประเทศอัง กฤษ เพราะท าให้ เกิ ด การขยายตลาด แหล่ ง ผลิ ต วัต ถุ ดิ บ และทุ น ประกอบการซึ่งเป็ นปัจจัยพื้นฐานของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ๗. มีระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย จึงทาให้มีเสถียรภาพทางการเมือง ๘. มีทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็ นต่องานอุตสาหกรรมอย่างสมบูรณ์ คือ เหล็กและถ่านหิ น


๙ ๙. มีกองทัพเรื อที่เข้มแข็งและเป็ นมหาอานาจทางทะเล ๑๐. ส่ งเสริ มความเจริ ญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ สาเหตุของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม  จานวนประชากรเพิ่มมากขึ้น ความต้องการสิ นค้ามีมากขึ้น ความก้า วหน้า ทางวิ ท ยาศาสตร์ จึ ง เกิ ด ความสนใจที่ จะประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้น เครื่ อ งมื อ ทาง วิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ในการอุตสาหกรรม  การสารวจทางทะเลและการแสวงหาอาณานิ คม ทาให้มีแหล่งวัตถุ ดิบและตลาดระบาย สิ นค้า เป็ นการกระตุน้ ให้การค้าขยายตัว จึงสนับสนุนให้คิดประดิษฐ์เครื่ องจักร ความมัน่ คงและเสรี ภาพทางการเมืองในยุโรป ทาให้พ่อค้า นายทุน และนักอุตสาหกรรม มีสิทธิ มีเสี ยงในการปกครองประเทศ การอุตสาหกรรมจึงได้รับการสนับสนุนให้เจริ ญก้าวหน้า การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมแบ่งออกเป็ น ๒ สมัย คือ ๑. การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรก ประมาณ ค.ศ.๑๗๖๐ - ๑๘๖๐ เรี ยกว่า “สมัยแห่ งพลังไอน้ า” เนื่ องจากมี ก ารค้นพบพลังไอน้ าและนาเครื่ องจักรไอน้ ามาใช้ในอุ ตสาหกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมทอผ้า ทั้งนี้ เป็ นเพราะอังกฤษมี แหล่ งถ่ านหิ นและเหล็ก ซึ่ งเป็ นเชื้ อเพลิ งและ วัต ถุ ดิ บ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ร วมทั้ ง มี ก ารประดิ ษ ฐ์ เครื่ องจัก รกลใหม่ ๆ ซึ่ งน ามาใช้ ใ นโรงงาน อุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง ๒. เครื่องจักรกลและอุตสาหกรรมทีส่ าคัญของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมระยะแรก มีดงั นี้ (๑) อุตสาหกรรมทอผ้า สิ่ งประดิษฐ์ในระยะแรก ๆ เป็ นเครื่ องจักรกลที่นามาใช้ในอุตสาหกรรม ทอผ้า เช่น - เครื่ องทอผ้า ที่เรี ยกว่า “กี่กระตุก” ของ จอห์น เคย์ (John Kay) - เครื่ องปั่ นด้าย “สปิ นนิ ง มูล” (Spinning Mule) ของแซมมวล ครอมป์ ตัน (SamuelCrompton) ปั่ นด้ายได้รวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพสู ง


๑๐

เครื่ องปั่ นด้าย สปิ นนิง เจนนี (Spinning Jenny) ที่มา : http://metricsyst.wordpress.com/ - เครื่ อ งทอผ้า ที่ เรี ย กว่ า หู ก ทอผ้า “พาเวอร์ ลู ม ” (Power Loom) ของเอ็ ด มัน ด์ คาร์ ต ไรท์ (Edmund Cartwright) ทาให้อุตสาหกรรมทอผ้าขยายตัวอย่างรวดเร็ ว (๒) เครื่ องจักรไอน้ า เป็ นผลงานของ เจมส์ วัตต์ (James Watt) นักประดิษฐ์ชาวสก็อต ในปี ค.ศ. ๑๗๘๖ เป็ นผลให้อุตสาหกรรมทอผ้าฝ้ ายของอังกฤษประสบความสาเร็ จอย่างงดงาม

เจมส์ วัตต์ (James Watt) ที่มา : http://www.thaigoodview.com (๓) อุ ตสาหกรรมเหล็ ก มี การนาเหล็กมาใช้ในอุ ตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะด้านการ คมนาคม เช่น ทารางรถไฟ ตูร้ ถสิ นค้าของรถไฟ ฯลฯ จึงมีผเู ้ รี ยกการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในช่วงแรก ว่า “การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมยุคเหล็ก” (Age of Iron) อุตสาหกรรมเหล็กและถ่ านหิน - Henry Cort คิดท้าถ่านหิ นให้บริ สุทธิ์ เรี ยกว่า “ถ่านโค้ก” - Abraham Derby ริ เริ่ มใช้ถ่านหิ นถลุงเหล็ก


๑๑ ๒. การปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่สอง ประมาณปี ค.ศ.๑๘๖๐-๑๙๑๔ มีการนาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในการผลิตภาคอุตสาหกรรมอย่างแท้จริ ง เป็ นยุคที่ใช้พลังงานเชื้ อเพลิ ง จากก๊าซธรรมชาติ น้ ามันปิ โตรเลี ยม และไฟฟ้ า (ส่ วนถ่านหิ นและเครื่ องจักรไอน้ าลดความสาคัญ ลง) อุตสาหกรรมที่สาคัญ คือ อุตสาหกรรมผลิตเครื่ องจักรกลที่ทาด้วยเหล็กกล้า (Steel) และ อุตสาหกรรมเคมี จึงมีผเู ้ รี ยกการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในช่วงที่สองนี้วา่ “การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมยุค เหล็กกล้า" (Age of Steel ) มีผลงานที่สาคัญคือ - การผลิตเหล็กกล้าแทนเหล็กธรรมดา - การใช้ก๊าซ ไฟฟ้ า และน้ ามันเป็ นพลังงานแทนถ่านหิ น ได้แก่ ผลงานของไม เคิล ฟาราเดย์ ผูป้ ระดิษฐ์ไดนาโม โธมัส เอดิสัน ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้ า - การนาเครื่ องจักรอัตโนมัติมาใช้ในวงการอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มผลผลิต - ความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมเคมี - การผลิตโลหะเบาและโลหะผสมเหล็ก - มีการพัฒนาการด้านการคมนาคมขนส่ ง เช่น การทาถนนโดยจอห์น แมคคาแดม รถไฟ (Rocket)โดยจอร์จ สเตปเฮนสัน และเรื อกลไฟ (Clermont) โดย โรเบิร์ต ฟุลตัน - ความก้า วหน้ าในวงการคมนาคมขนส่ ง และการสื่ อ สาร โดยมี ก ารประดิ ษ ฐ์ ยานพาหนะใหม่ๆ เช่นรถยนต์ เครื่ องบิน โยวิลเบอร์และออร์วิลล์ ไรท์ การขยายตัวในวงการสื่ อสาร โดย อเล็กซานเดอร์ แกรแฮม เบลล์ ประดิษฐ์เครื่ องโทรศัพท์ และ กูกิลโม มาร์ โคนี ประดิษฐ์วิทยุ โทรเลข - การขยายตัวขององค์การเงินทุนซึ่งสื บเนื่องมาจากการดาเนิ นงานธุ รกิจที่ออกมา ในรู ปบริ ษทั จึงท้าให้เกิดการ ระดมทุนซึ่งจาเป็ นกูย้ มื จากธนาคารและองค์การเงินทุนต่างๆ - แซมมวล คูนาร์ต สามารถเดินเรื อกลไฟข้ามมหาสมุทรแอตแลนติคได้ ในช่วงระยะที่ 2 นี้ เองที่การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมได้ขยายตัวจากอังกฤษและยุโรปตะวันตกเข้าไปยัง ยุโรปกลาง ยุโรตะวันออก สหรัฐอเมริ กา เอเชียตะวันออกไกล


๑๒

การใช้เครื่ องจักรแทนแรงงานคน ปัญหาการใช้แรงงานเด็ก ที่มา : http://www.skb.ac.th/ ความก้ าวหน้ าและการขยายตัวของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ๑. การค้นพบวิธีการผลิตเหล็กกล้า ในปี ค.ศ.๑๘๕๖ และการใช้พลังงานใหม่ ๆ แทนที่ ถ่านหิ น ได้แก่ พลังงานจากก๊าซ น้ ามันปิ โตรเลียม และไฟฟ้ า เป็ นผลให้อุตสาหกรรมของทวีปยุโรป ขยายตัวอย่างรวดเร็ วโดยเฉพาะเมื่อเหล็กกล้ามีราคาถูกลงทาให้อุตสาหกรรมหนัก เช่น การต่อเรื อ การคมนาคม และการผลิตเครื่ องจักรกลต่าง ๆ พัฒนาก้าวหน้ามากยิง่ ขึ้น ๒. การขยายตัวของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในทวีปยุโรป ในตอนปลายคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๙ มีประเทศในภาคพื้นยุโรปหลายประเทศประสบผลสาเร็ จในการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โดยเฉพาะเยอรมนีกลายเป็ นประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้าและเป็ นคู่แข่งที่สาคัญของอังกฤษ ๓. การเกิดประเทศผูน้ าด้านอุตสาหกรรมของโลก ก่อนสงครามโลก ครั้งที่ ๑(ค.ศ.๑๙๑๔๑๙๑๘) อังกฤษยังคงมีฐานะเป็ นประเทศผูน้ าทางด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมชั้นนาของโลก โดยเยอรมนีเป็ นประเทศที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงมากที่สุด จนกระทัง่ ในปี ค.ศ.๑๙๒๐ จึงเกิด ประเทศคู่แข่งสาคัญเพิม่ ขึ้น ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา สหภาพโซเวียต และญี่ปุ่น ๔. การเกิดระบบการบริ หารและการจัดการทางอุตสาหกรรม การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมทา ให้เกิดการบริ หารงานในระบบโรงงานที่มีประสิ ทธิ ภาพ เช่น มีการแบ่งงานกันทาเป็ นฝ่ ายหรื อ แผนก


๑๓ ผลของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญต่อประชาคมโลก ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ด้านเศรษฐกิจ - เกิดการผลิตในระบบโรงงาน - การผลิตสิ นค้ารวดเร็ ว และมีคุณภาพมาตรฐานเดียวกัน - เกิดการพึ่งพาทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ - เกิดความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจสิ นค้าเกษตร กาหนดผลผลิตไม่ได้ ในขณะที่สินค้า อุตสาหกรรมกาหนดได้ การพัฒนาอุตสาหกรรมทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญทางเศรษฐกิจทั้งในประเทศอุตสาหกรรม และดินแดนอื่น ดังนี้ ๑. ทาให้ประเทศอุตสาหกรรมเจริ ญรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจ กลายเป็ นมหาอานาจทางเศรษฐกิจ ของโลกที่มีอิทธิ พลในการผูกขาดการค้าและการผลิตวัตถุดิบในประเทศอื่น ๆ เช่ น อังกฤษเข้าไป ผูกขาดการผลิตใบชาในอินเดียและลังกา รวมทั้งการผลิดดีบุกและยางพาราในคาบสมุทรมลายู ส่ วน สหรัฐอเมริ กาก็ผกู ขาดการทาเหมืองแร่ ในละตินอเมริ กา เป็ นต้น ๒. ทาให้การค้าระหว่างประเทศขยายตัวอย่างกว้างขวาง ซึ่ งส่ งผลให้เศรษฐกิ จแบบทุนนิ ยม แพร่ หลายไปทัว่ โลก โดยเฉพาะระบบแข่งขันเสรี และระบบบริ โภคนิ ยมที่ ชาติตะวันตกนาเข้าไป เผยแพร่ ในดินแดนต่างๆ ทั้งประเทศเสรี และอาณานิคมของชาติตะวันตก ๓. ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบผลิตในดินแดนต่างๆ กล่าวคือ ระบบผลิตที่ใช้แรงงาน ฝี มือและสิ นค้าหัตถกรรมในประเทศอุตสาหกรรมถู กแทนที่ดว้ ยสิ นค้าอุตสาหกรรมที่มีตน้ ทุนต่า และราคาถูก ทาให้งานช่างฝี มือที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยกลางสู ญหายไป ส่ วนดินแดนอาณานิ คม และประเทศเกษตรกรรมอื่นๆ มีการผลิตในระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพา (ตลาดต่างประเทศ) มากขี้น เช่น การทาลายพื้นที่ป่าเพื่อปลูกใบชาในอินเดียและลังกา การขยายพื้นที่ทานาในประเทศไทยหลัง การทาสนธิ สัญญาเบาว์ริง และการทาป่ าไม้ในพม่าและดิ นแดนล้านนาของไทย ระบบเศรษฐกิ จ ดังกล่าวได้ทาลายระบบการผลิตแบบพึ่งตนเองของดินแดนเหล่านั้น ส่ งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติ ถูกทาลายอย่างรวดเร็ ว และมีผลกระทบต่อเนื่องจนถึงปั จจุบนั


๑๔ ๔. ทาให้มีการพัฒนาระบบการค้าที่ ก้าวหน้า เนื่ องจากการผลิ ตในระบบอุ ตสาหกรรมมี การ แข่งขันสู งและเสรี ดังนั้นนอกเหนือจากการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ล้ าหน้าคู่ต่อสู ้และการลดต้นทุน ให้ต่าที่สุดเพื่อให้มีโอกาสในการแข่งขันแล้ว ผูผ้ ลิตยังพัฒนาระบบการตลาด ซึ่ งรวมทั้งการขาย การประชาสัมพันธ์ และการบริ การเพื่อจูงใจลูกค้าด้วย ทาให้ระบบการตลาดกลายเป็ นองค์ประกอบ ที่สาคัญของระบบการค้าจนถึงปัจจุบนั ด้านการเมือง - คนชั้นกลาง(ประชาชน)เริ่ มมีเงินมากขึ้น และส่ งผลให้พวกนี้มีบทบาททางการเมือง - การต่อสู ้ของชนชั้นกรรมชีพ เพื่อเรี ยกร้องความเท่าเทียมในสังคม - การขยายตัวของลัทธิ จกั รวรรดินิยมยิง่ ผลิตมากยิ่งต้องการทั้งแรงงาน ทรัพยากรมากขึ้น เพื่อใช้ในการผลิต จึงมีการล่าอาณานิคมเกิดขึ้น เพื่อขยายอาณาเขต แรงงาน และทรัพยากรให้มาก ขึ้นความเจริ ญรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจทาให้ประเทศอุตสาหกรรมในยุโรปไม่หยุดยั้งแสวงหา ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วิธีที่นิยมกันมากที่สุดคือ การขยายอิทธิ พลทางการค้าโพ้นทะเลและการ จับจองอาณานิคม เพราะทาให้สามารถขยายแหล่งวัตถุดิบและตลาด เป็ นผลให้ประเทศ ยุโรปในคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๙ ขยายลัทธิ จกั รวรรดินิยมจับจองอาณานิ คมทั้งในเอเชี ย แอฟริ กา และ ออสเตรเลีย จนเกิดผลกระทบทางการเมืองอย่างกว้างขวาง ด้านสังคม - ประชากรเพิ่มขึ้น - การขยายตัวของสังคมเมือง (สลัมของผูใ้ ช้แรงงานนั้นมีจานวนมาก ทางรัฐบาลจึงสร้าง เฟลชให้พวกสลัมอยู่ เพื่อที่จะจัดระเบียบทางสังคมให้ดูเป็ นระเบียบยิง่ ขึ้น) - วิถีชีวติ ของมนุษย์สะดวกสบายขึ้น เพราะมีเครื่ องจักรมาทุ่นแรง - เกิดชนชั้นนายทุน (รวย) และกรรมชีพ (จน) การที่เมื องใหญ่ๆ เป็ นศูนย์รวมความเจริ ญทั้งหลาย ทาให้มีผูค้ นเข้ามาอยู่อาศัยและหางานทา จานวนมาก ส่ งผลให้เกิ ดความแออัด ปั ญหาคุ ณ ภาพของผูท้ ี่ อยู่ในชุ มชนแออัด ตลอดจนปั ญหา สังคมอื่นๆ เช่น ปั ญหาอาชญากรรม โสเภณี ขอทาน และคนจรจัด ความก้าวหน้าของระบบขนส่ งและคมนาคม ทาให้มนุ ษย์ในดิ นแดนต่างๆ มีโอกาสติดต่อกัน ได้ เปิ ดโลกทัศน์และเรี ยนรู ้ กนั มากขึ้ น อนึ่ ง ในปลายคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๙ อะเล็กซานเดอร์ แกรแฮม เบลล์ (Alexander Graham Bell) สามารถประดิษฐ์เครื่ องรับโทรศัพท์และระบบสัญญาณ


๑๕ โทรศัพท์ ทาให้ผคู ้ นที่อยู่ห่างไกลกันคนละซี กโลกสามารถสื่ อสารพูดคุยกันได้ นับเป็ นจุดเริ่ มต้น ของการสื่ อสารที่ไร้พรมแดน ในด้ านสติปัญญา ได้เกิดแนวความคิดที่แตกต่างกัน ๒ ลัทธิ คือ - ลัทธิ เสรี นิยม (Liberalism) ผูก้ ่อตั้งลัทธิ น้ ี คือ อดัม สมิธ เขาเน้นในเรื่ องการดาเนิ นงานธุ รกิ จ การค้าแบบเสรี (Laissez Faire) โดยรัฐบาลเข้าไปเกี่ยวข้องน้อยที่สุด - ลัทธิ สังคมนิ ยม (Socialism) ผูก้ ่ อตั้งลัทธิ น้ ี คือ คาร์ ลมาร์ กซ์ ซึ่ งเขาเน้นในการที่ให้รัฐบาล เป็ นเจ้าของกิจการสาคัญ เช่น เหมืองแร่ รถไฟ ส่ วนกิจการเล็กๆ ให้เอกชนดาเนิ นการเอง นักสังคม นิยมที่สาคัญนอกจากมาร์กซ์ ได้แก่ โรเบิร์ต โอเวน, ฟรี ดิช เองเกลส์

อดัม สมิธ ที่มา : http://writer.dek-d.com

คาร์ล มาร์กซ์ ที่มา : http://writer.dek-d.com

โดยสรุ ป การปฏิ วตั ิ อุ ตสาหกรรมไม่ เพี ย งแต่ น าการเปลี่ ย นแปลงทุ ก ด้า นมาสู่ ป ระเทศ อุตสาหกรรม แต่ยงั ส่ งผลกระทบใหญ่หลวงต่อประชาคมโลกด้วย **************************** อ้างอิง http://writer.dek-d.com http://www.thaigoodview.com




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.