การควบคุมภายในตามแนวคิด COSO : กรณีศึกษาโรงสีข้าว บริษัท ข้าวรัชมงคล จำกัด

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาปั ญหาพิเศษ

การควบคุมภายในตามแนวคิด COSO : กรณีศกึ ษาโรงสีข้าว บริ ษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด Internal control based on the COSO : A Case Study of Rachamongkol Rice Co.,Ltd.

โดย นางสาว ขวัญชนก นางสาว พิชญา นางสาว แพรวพรรณ นางสาว ภัควณิช นางสาว วัชราภร

ฮะหวัง มยานนท์ พลนาค มลิพนั ธุ์ ธรรมผุย

รายงานผลการศึกษานี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555



การควบคุมภายในตามแนวคิด COSOL:Lกรณีศกึ ษาโรงสีข้าว บริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัดL Internal control based on the COSOL:LA Case Study of Rachamongkol Rice Co.,Ltd.

โดย นางสาว ขวัญชนก นางสาว พิชญา นางสาว แพรวพรรณ นางสาว ภัควณิช นางสาว วัชราภร

ฮะหวัง มยานนท์ พลนาค มลิพนั ธุ์ ธรรมผุย

5230110112 5230110627 5230110643 5230110660 5230110775

ปั ญหาพิเศษฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตรบริ หารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2555


(1)

บทคัดย่ อ ชื่อเรื่ อง : ชื่อผู้จดั ทา :

ปี การศึกษา : อาจารย์ที่ปรึกษา :

การควบคุม ภายในตามแนวคิ ด COSOL: บริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด นางสาวขวัญชนก ฮะหวัง นางสาวพิชญา มยานนท์ นางสาวแพรวพรรณ พลนาค นางสาวภัควณิช มลิพนั ธุ์ นางสาววัชราภร ธรรมผุย 2555 อาจารย์พีรญา พงษ์ปรสุวรรณ์

กรณี ศึ ก ษาโรงสี ข้ าว

ในการศึก ษาเรื่ อ ง “การควบคุม ภานในตามแนวคิด COSO: กรณี ศึก ษาโรงสี ข้ า ว บริ ษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด ” มีวตั ถุประสงค์ที่จะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมภายในของโรงสีข้าว แนวทางในการแก้ ปัญหาการควบคุมภายใน และประสิทธิภาพของการควบคุมภายในของบริ ษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด ใช้ วิธีการศึกษาโดยการสัมภาษณ์ผ้ บู ริ หารและพนักงานที่มีส่วนเกี่ยวข้ องกับ การควบคุมภายในที่บริ ษัทใช้ แล้ วนามาทาการวิเคราะห์กับ องค์ประกอบการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบตามแนวคิด COSO ผลการศึก ษากรณี ศึก ษาดัง กล่าวสามารถสรุ ปได้ ว่า การควบคุม ภายในของบริ ษั ท มี ประสิทธิภาพครอบคลุมทุกองค์ประกอบตามแนวคิดการควบคุมภายในของ COSO แยกตาม 5 องค์ประกอบตามแนวคิด COSO พบว่า ด้ านแรก สภาพแวดล้ อมการควบคุม บริ ษัทมีข้อบังคับ และกฎระเบียบต่างๆในการบริ หารงานเดียวกับโตโยต้ า ซึ่งโดยรวมบริ ษัทมีการปฏิบตั ิงานด้ าน สภาพแวดล้ อมการควบคุมอยูใ่ นระดับดี คือ มีการปลูกฝั งให้ พนักงานมีจริ ยธรรมและความซื่อสัตย์ และมีการควบคุมโดยใช้ มาตรฐานเดียวกับบริ ษั ทแม่ ด้ านที่สองการประเมินความเสี่ยงของบริ ษัท ในแต่ละเหตุการณ์โดยรวมมีโอกาสและระดับความรุนแรงของความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ คือ ความเสี่ยงจากการใช้ งานเครื่ องจักร, ความเสี่ยงจากการเกิดอัคคีภยั และความเสี่ยงจากการ ทุจ ริ ต หรื อยักยอกทรั พ ย์ แต่ความเสี่ ยงจากการขาดแคลนพนักงานนัน้ อยู่ในระดับปานกลาง บริษัทได้ จดั การกับความเสี่ยงโดยใช้ วิธีการลดผลกระทบของความเสี่ยงด้ วยการใช้ แผนสารอง คือ การให้ ผ้ บู ริ หารเข้ ามาดูแลแทน ด้ านที่สาม กิจกรรมการควบคุมของบริ ษัทโดยรวมอยู่ในระดับดี


(2)

โดยทางบริ ษัทได้ มีการกาหนดหลักเกณฑ์การอนุมตั ิ การควบคุมความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน การสอบทานงาน การดูแลป้องกันทรัพย์สิน การบริ หารทรัพยากรบุคคล การควบคุมระบบ สารสนเทศ การบันทึกรายการ และการแบ่งแยกหน้ าที่พนักงานในแต่ละฝ่ าย ยกเว้ นการปฏิบตั ิงาน ของพนักงานบัญชีที่ทาหน้ าที่ทงบั ั ้ ญชีและการเงินที่ใช้ บคุ คลเดียวกัน แต่มีการควบคุมทดแทนจาก ผู้บริหารที่เข้ ามาดูแลอย่างใกล้ ชิด ด้ านที่สี่ สารสนเทศและการสื่อสาร บริ ษัท ใช้ ข้อมูลสารสนเทศที่ เหมาะสมและทันเวลาในการบริ หารและปฏิ บัติ ง าน ซึ่งส่วนใหญ่มี ความถูกต้ องและเชื่อถื อได้ มีการใช้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการสื่อสารเพื่อให้ ครอบคลุมทัว่ ทังบริ ้ ษัท และสนับสนุน การพัฒนาระบบสารสนเทศที่จาเป็ น เพื่อให้ สามารถนาข้ อมูลไปใช้ ได้ สะดวกและเกิดประโยชน์ตอ่ บริ ษัท ด้ านสุดท้ าย การติดตามและประเมินผลของบริ ษัทโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี ผู้บริ หารมี การติ ด ตามผลการปฏิ บัติ ง านของพนัก งานอย่ า งต่อ เนื่ อ ง โดยใช้ เ ทคโนโลยี ที่ ทัน สมัย และ มอบหมายให้ ผ้ ูจัดการเป็ นผู้ควบคุม รั บผิดชอบการทางานของพนักงาน หากพบปั ญหาที่ เป็ น สาระสาคัญจะจัดทารายงานต่อผู้บริหาร เพื่อพิจารณาสัง่ การแก้ ไขภายในระยะเวลาที่เหมาะสม แม้ ว่าในปั จจุบนั หลายประเทศทั่วโลก กาลังประสบปั ญหาวิกฤตการณ์ อาหารที่มีราคา สูงขึ ้น ซึ่งรวมถึงข้ าวที่เป็ นอาหารหลักของคนไทย และประเทศไทยก็ เป็ นผู้ส่งออกที่สาคัญด้ วย โรงสีข้าวส่วนใหญ่ก็ได้ รับผลกระทบจากโครงการรับจานาข้ าวของรัฐบาลที่ส่งผลทาให้ ต้นทุนการ รับซื ้อข้ าวเปลือกจากชาวนาสูงขึ ้น แต่บริ ษัทไม่ได้ รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่มนั่ คงทาง อาหารที่รุนแรงและมีแนวโน้ มที่จะเพิ่มขึ ้นในปั จจุบนั เนื่องจากบริ ษัทมีการดาเนินงานตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ไม่มงุ่ หวังผลกาไร และมีการคัดเลือกพันธุ์ข้าวเปลือกจากแหล่งผลิตที่มีคณ ุ ภาพ ของประเทศ โดยมีการติดต่อซือ้ ขายกับกลุ่มสหกรณ์ การเกษตรหรื อเกษตรกรโดยตรง เพื่อขจัด ปั ญหาการกดราคาข้ าวเปลือกจากพ่อค้ าคนกลาง และที่ส าคัญบริ ษัทมีการควบคุมภายในที่ มี ประสิ ทธิ ภ าพดี มีการควบคุม การบริ หารงานจากผู้บริ หารอย่ างครอบคลุม ทั่วทุกแผนก ทาให้ บริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด ไม่ได้ รับผลกระทบจากวิกฤตอาหารที่หลายประเทศทัว่ โลกกาลังประสบ อยูใ่ นปั จจุบนั


(3)

กิตติกรรมประกาศ ในการศึกษาปั ญ หาพิ เ ศษ เรื่ อง การควบคุม ภายในตามแนวคิด COSO:Lกรณี ศึกษา โรงสี ข้ า ว บริ ษั ท ข้ า วรั ช มงคล จ ากั ด ในครั ง้ นี ้ สามารถประสบความส าเร็ จ ลุล่ ว งไปได้ ด้ ว ยดี อั น เนื่ อง มาจากการไ ด้ รั บความอนุ เ คราะห์ ความกรุ ณา และไ ด้ รั บการสนั บ สนุ น จากอาจารย์พีรญา พงษ์ ปรสุวรรณ์ ที่มอบความรู้ ในการศึกษาปั ญหาพิเศษและให้ คาแนะนาที่ เป็ นประโยชน์ ใ นการศึก ษาปั ญ หาพิ เ ศษฉบับ นี ้ ตลอดทัง้ ให้ ค วามเมตตาและเสี ย สละเวลา แก่คณะผู้จดั ทามาโดยตลอด จนทาให้ ปัญหาพิเศษฉบับนี ้สาเร็จลุลว่ งไปได้ ด้วยดี ขอขอบพระคุณ บริ ษั ท ข้ า วรั ช มงคล จ ากัด ที่ เ อื อ้ เฟื ้อ เสี ยสละเวลาอันมี ค่า ในการให้ สัมภาษณ์ประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานจริ งของพนักงานภายในโรงสีข้าว ขอขอบคุณห้ องสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชาที่เป็ นแหล่ง รวบรวม หนัง สื อ วารสาร บทความ วิทยานิพนธ์ ที่มีประโยชน์ตอ่ การศึกษา รวมทังสื ้ ่อทางอินเทอร์ เน็ตที่ให้ ทางคณะผู้จดั ทาได้ ใช้ เป็ น แนวทางในการศึกษาปั ญหาพิเศษ ตลอดจนสมาชิกในกลุ่ม เพื่อนร่ วมรุ่ นที่ให้ ความร่ วมมือและ ความช่วยเหลือในทุกๆ เรื่ อง อีกทังคอยเป็ ้ นกาลังใจให้ ทางคณะผู้จดั ทาตลอดมา สุดท้ ายนี ้ทางคณะผู้จดั ทาขอขอบพระคุณและระลึกอยู่เสมอว่าจะไม่มีความสาเร็ จใด ๆ ในชีวิตของคณะผู้จดั ทา หากปราศจากความรัก ความเข้ าใจ และกาลังใจจากคุณพ่อคุณแม่ที่ให้ การสนับสนุนการศึกษาของคณะผู้จดั ทาตลอดมา ขอขอบคุณคณาจารย์สาขาการบัญชีบริ หาร ทุกท่านที่คอยอบรม สัง่ สอนและฝึ กฝน ให้ ความรู้ทางด้ านบัญชี และขอขอบคุณสถาบันการศึกษา อันทรงเกียรติที่มอบโอกาสในการศึกษาหาความรู้แก่คณะผู้จดั ทา คณะผู้จดั ทาหวังว่าปั ญหาพิเศษฉบับนี ้ จะเป็ นประโยชน์สาหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องและ ผู้ที่ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับองค์ประกอบการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO ได้ ใช้ เป็ น แนวทางในการศึกษา หากมีข้อผิดพลาดประการใด ทางคณะผู้จดั ทาต้ องขออภัยมา ณ ที่นี ้ด้ วย คณะผู้จดั ทา มกราคม 2556


(4)

สารบัญ หน้ า บทคัดย่อ

(1)

กิตติกรรมประกาศ

(3)

สารบัญ

(4)

สารบัญภาพ

(6)

สารบัญแผนภูมิ

(7)

บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ วิธีการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา นิยามศัพท์ บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวข้ อง แนวคิดความไม่มนั่ คงทางอาหาร แนวคิดการควบคุมภายใน งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง

1 2 2 3 3 3

5 42 78


(5)

สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที่ 3 ข้ อมูลกรณีศกึ ษา ประวัตคิ วามเป็ นมา โครงสร้ างองค์กร ระบบการปฏิบตั งิ านของบริษัท

93 97 98

บทที่ 4 ผลการศึกษา สภาพแวดล้ อมของการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การติดตามและประเมินผล

111 113 115 118 120

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ข้ อเสนอแนะกรณีศกึ ษา ข้ อเสนอแนะในการศึกษาครัง้ ต่อไป

122 124 124

เอกสารอ้ างอิง ภาคผนวก ภาคผนวก ก ประมวลภาพการเยี่ยมชมการปฏิบตั งิ านของโรงสีข้าว ภาคผนวก ข เครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้ อมูล


(6)

สารบัญภาพ หน้ า ภาพที่ 1. โรงสีข้าวบริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด 2. กระบวนการสีข้าวจนถึงการเก็บข้ าวสารที่คลังสินค้ า

94 104


(7)

สารบัญแผนภูมิ หน้ า แผนภูมิท่ ี 1. โครงสร้ างองค์กร บริ ษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด

97


บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ ปั จจุบนั นี ้ราคาอาหารสูงขึ ้นเป็ นประวัตกิ ารณ์ทาให้ บางประเทศเริ่ มขาดแคลน อาหารหลัก (Food-deficit) ต้ องนาเข้ าอาหารและโภคภัณฑ์เป็ นจ านวนมาก ขณะเดียวกันหลายๆ ประเทศ ถึ ง กั บ ต้ องวางมาตรการห้ ามส่ ง ออก และมี ก ารเรี ย กเก็ บ ภาษี ส่ ง ออกทั ง้ ข้ าวและอาหาร ปั ญหาวิกฤตการณ์อาหารโลกครัง้ นี ้ นับเป็ นปั ญหาระดับ โลกที่คกุ คามทังทางสั ้ งคม และการเมือง ไปทั่ว จนเป็ นเหตุใ ห้ ผ้ ูนาของโลกถกเถี ย งกันในเวที การประชุม สุดยอด “เรื่ อ งความปลอดภัย ด้ า นอาหารของโลก” ที่ ส านัก งานใหญ่ ข ององค์ ก ารอาหารและเกษตรแห่ ง สหประชาชาติ ณ กรุงโรม ประเทศอิตาลี ถึงวิธีจดั การกับเรื่ องที่ราคาอาหารแพงขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ทังนี ้ เ้ พื่อหาวิธี ปรั บปรุ งด้ านการจัดหาอาหารให้ ประชากรโลกผู้อดอยากและหิวโหย โดยเฉพาะข้ าวที่ ถือเป็ น อาหารหลักของคนทัว่ โลก ประเทศไทยก็ถือเป็ นประเทศหนึ่งที่มีการส่งออกข้ าวเป็ นอันดับต้ นๆของ โลก ซึง่ จากการที่ราคาข้ าวของไทยสูงขึ ้นนัน้ ส่งผลให้ ลกู ค้ าในต่างประเทศสัง่ ซื ้อข้ าวจากไทยลดลง มากกว่าครึ่ ง และหันไปซื ้อข้ าวจากอินเดียและเวียดนามแทน สืบเนื่องจากนโยบายรับจานาข้ าว ของรัฐบาลที่ส่งผลให้ ผ้ สู ่งออกข้ าวของไทยต้ องปรับเปลี่ยนบทบาทไปเป็ นบริ ษัทเทรดดิ ้งที่ออกไป ทาหน้ าที่หาตลาดและส่งออกข้ าวให้ เพื่อนบ้ านแทน อุตสาหกรรมข้ าวของประเทศไทยนับว่ามีความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศซึ่งอุตสาหกรรมข้ าวประกอบด้ วยการผลิตข้ าวอุตสาหกรรมแปรรู ปข้ าว และอุตสาหกรรม ต่อเนื่องที่ใช้ ผลิตภัณฑ์จากการแปรรู ป โรงสีข้าวจึงถือเป็ นอุตสาหกรรมแปรรู ปข้ าวเปลือกที่สาคัญ ซึง่ ก่อนที่จะส่งข้ าวสารออกไปขายนันจะต้ ้ องผ่านกระบวนการแปรรูปคือการนาข้ าวเปลือกมาสีเป็ น ข้ า วสารดัง นัน้ ประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห ารงาน รวมถึ ง การควบคุม ภายในของโรงสี ข้ า ว จึง มี ความสาคัญต่อองค์กรอย่างยิ่ง เพราะถ้ าหากโรงสีข้าวมีการควบคุมภายในที่ดีก็อาจจะมีผลทาให้ ต้ นทุนราคาข้ าวต่าลง อีกทังส่ ้ งผลให้ ผลการปฏิบตั งิ านมีประสิทธิภาพ การควบคุม ภายในถูกน ามาช่ วยในการบริ หารงาน และเป็ นกลไกพื น้ ฐานส าคัญ ของ กระบวนการกากับดูแลกิจกรรมต่างๆ ในองค์กรเนื่องจากการควบคุมภายในเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยใน


2

การป้องกันและรักษาทรัพย์สิน ช่วยในการตรวจพบการทุจริ ตและข้ อผิดพลาดทาให้ การ ดาเนินงานเป็ นไปอย่างมีระเบียบ บรรลุวตั ถุประสงค์ตามนโยบายของผู้บริ หาร และลดความเสี่ยง ขององค์กรให้ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ จึงจาเป็ นต้ องได้ รับความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายภายในองค์กร ซึง่ จะทาให้ การควบคุมภายในนันพั ้ ฒนาไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น ดังนัน้ การศึกษาในครัง้ นี จ้ ึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการควบคุมภายในและแนวทางใน การแก้ ไขปั ญหาการควบคุมภายใน เป็ นเหตุให้ ผ้ จู ดั ทาสนใจที่จะศึกษาถึง “ปั ญหาและอุปสรรค ของการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO กรณีศกึ ษา บริ ษัทข้ าวรัชมงคล จากัด” เพื่อสร้ างความ เข้ าใจถึงหลักการและวิธีการปฏิบตั ิแก่ทุกคนในองค์กรรวมถึงทาให้ ผ้ ูบริ หารเกิดการยอมรับและ ตระหนักถึงความสาคัญ และนาการควบคุมภายในตามแนวคิด COSOมาปฏิบตั ิใช้ ในองค์กรได้ อย่างถูกต้ องเหมาะสม วัตถุประสงค์ ของกำรศึกษำ 1. เพื่อศึกษาการควบคุมภายในของบริ ษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด 2. เพื่อศึกษาแนวทางในการแก้ ปัญหาการควบคุมภายในของบริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด 3. เพื่อประเมินประสิทธิภาพของการควบคุมภายในของบริ ษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด ประโยชน์ ท่ คี ำดว่ ำจะได้ รับจำกกำรศึกษำ 1. เพื่อทราบถึงกระบวนการควบคุมภายในของบริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด 2. เพื่อให้ ทราบถึงการควบคุมภายในของบริ ษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด และนาไปสู่การ แก้ ไขและปรับปรุงเพื่อให้ การควบคุมภายในเกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ ้น 3. เพื่อประเมินการควบคุมภายใน และนาข้ อสรุ ปที่ ได้ มาเสนอแนะเพื่อปรับปรุ งและ พัฒนาการควบคุมภายในของบริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด


3

4. เพื่อให้ ผ้ ทู ี่สนใจได้ นาความรู้ จากการศึกษานี ้ไปใช้ เป็ นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับ การควบคุมภายในของโรงสีข้าวต่อไป วิธีกำรศึกษำ การศึกษาข้ อมูลโดยใช้ ระดับปฐมภูมิ (Primary Level) เป็ นข้ อมูลที่เก็บรวบรวมจาก การสัมภาษณ์ผ้ บู ริหาร การสอบถามจากพนักงานของโรงสีข้าว อีกทังการสั ้ งเกตกระบวนการ และ ขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน การศึกษาข้ อมูลโดยใช้ ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Level) เป็ นข้ อมูลในการศึกษาค้ นคว้ า และเก็บรวบรวมมาจากหนังสือ เว็บไซด์ และข้ อมูลการวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง ขอบเขตของกำรศึกษำ ในการศึ ก ษาครั ง้ นี จ้ ะท าการศึ ก ษาเรื่ อ ง “การควบคุม ภายในตามแนวคิ ด COSO กรณี ศึกษาบริ ษัท ข้ าวรั ช มงคล จ ากัด ” ซึ่ง จะศึกษากระบวนการควบคุม ภายในของโรงสี ข้า ว ทัง้ หมด ตัง้ แต่โครงสร้ างขององค์ กร นโยบายการบริ หารงาน การกาหนดอานาจหน้ า ที่ ความ รับผิดชอบ ความเสี่ยงจากการควบคุมภายใน กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การ ติดตามและการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน นิยำมศัพท์ กำรควบคุมภำยในตำมแนวคิด COSO หมายถึง กระบวนการที่ผ้ กู ากับดูแลฝ่ ายบริ หาร และบุคลากร โดยร่วมมือกับผู้ตรวจสอบภายในขององค์กรในโรงสีข้าวซึ่งกาหนดให้ มีขึ ้นเพื่อความ มัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดาเนินการจะบรรลุวตั ถุประสงค์ในประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของการปฏิบตั ิงานความเชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินในบัญชี และการปฏิบตั ิตามกฎหมาย หรื อกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ อง โรงสีข้ำว หมายถึง สถานที่สีข้าวเปลือกให้ เป็ นข้ าวสารด้ วยเครื่ องจักร


4

อุ ต สำหกรรมข้ ำ วไทย หมายถึง อุต สาหกรรมการผลิต การแปรรู ปจากข้ าวเปลื อ ก เป็ นข้ าวสาร ซึ่ ง ผลิ ต ในประเทศไทย โดยมี ก ารจั ด จ าหน่ า ยทั ง้ ในประเทศและส่ ง ออก ไปยังต่างประเทศ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) หมายถึง คณะกรรมการร่วมของสถาบันวิชาชีพ 5 สถาบัน ในประเทศสหรัฐอเมริ กา ได้ แก่ สถาบันผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งสหรัฐอเมริ กา (AICPA) สถาบันผู้ตรวจสอบภายใน สากล (Institute of Internal Auditors หรื อ IIA) สถาบันผู้บริ หารการเงิน (Financial Executives Institute หรื อ FEI) สมาคมนักบัญชีแห่งสหรัฐอเมริ กา (American Accounting Association หรื อ AAA) และสถาบันนักบัญชีเพื่อการบริ หาร (Institute of Management Accountants หรื อ IMA)


บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวข้ อง การศึกษาปั ญหาพิเศษ เรื่ อง การควบคุมภายในตามแนวคิด COSO: กรณีศกึ ษาโรงสีข้าว บริ ษัท ข้ าวรัช มงคล จากัด ผู้ศึกษาได้ ศึกษาค้ นคว้ าเอกสาร ตารา งานวิจัยและบทความต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการควบคุมภายใน เพื่อที่จะนามาสนับสนุนการศึกษา ได้ แก่ 1. แนวคิดความไม่มนั่ คงทางอาหาร 2. แนวคิดการควบคุมภายใน 3. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง แนวคิดความไม่ ม่ ันคงทางอาหาร พระราชบัญญัตอิ าหาร พ.ศ.2522 เนื่ อ งจากอาหารมี ค วามส าคั ญ กั บ การด ารงชี วิ ต อยู่ ข องมนุ ษ ย์ พระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 ขึ น้ ไว้ โดยค าแนะน าและยิ น ยอมของสภานิ ติ บัญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ ท าหน้ าที่ รั ฐ สภา เพื่อสร้ างความมัน่ คงทางอาหารของประเทศไทยมีรายละเอียดดังนี ้ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติฉบับนี ้ได้ ให้ ความหมายว่า “อาหาร” หมายถึง ของกิน หรื อ เครื่ องค ้าจุนชีวิต ได้ แก่ 1. วัตถุทกุ ชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรื อนาเข้ าสู่ร่างกายไม่ว่าวิธีใดๆ หรื อในรูปลักษณะใดๆ แต่ไ ม่รวมถึ ง ยา วัต ถุออกฤทธิ์ ต่อจิ ตและประสาท หรื อยาเสพติดให้ โทษตามกฎหมายว่าด้ ว ย การนันแล้ ้ วแต่กรณี


6

2. วัตถุที่ม่งุ หมายสาหรับใช้ หรื อใช้ เป็ นส่วนผสมในการผลิตอาหารรวมถึงวัตถุเจือปน อาหาร สี และเครื่ องปรุงแต่งกลิ่นรส มาตรา 6 เพื่ อ ประโยชน์ แ ก่ ก ารควบคุ ม อาหาร ให้ รั ฐ มนตรี มี อ านาจประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา 1. กาหนดอาหารควบคุมเฉพาะ 2. กาหนดคุณภาพหรื อมาตรฐานของอาหารควบคุมเฉพาะตามชื่อ ประเภท ชนิด หรื อ ลัก ษณะของอาหารนัน้ ๆ ที่ ผ ลิ ต เพื่ อ จ าหน่า ย น าเข้ า เพื่ อ จ าหน่ า ย หรื อ ที่ จ าหน่า ย ตลอดจน หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้ าเพื่อจาหน่าย หรื อจาหน่าย 3. กาหนดคุณภาพหรื อมาตรฐานของอาหารที่มิใช่เป็ นอาหารตามข้ อ 1 และจะกาหนด หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้ าเพื่อจาหน่าย หรื อจาหน่าย ด้ วยหรื อไม่ ก็ได้ 4. ก าหนดอัต ราส่ว นของวัต ถุที่ ใ ช้ เ ป็ นส่ว นผสมอาหารตามชื่ อ ประเภท ชนิ ด หรื อ ลักษณะของอาหารที่ผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้ าเพื่อจาหน่าย หรื อที่จาหน่ายรวมทัง้ การใช้ สีและ เครื่ องปรุงแต่งกลิ่นรส 5. กาหนดหลักเกณฑ์ เงื่ อนไข และวิธีการใช้ วัตถุเจือ ปนในอาหาร การใช้ วัตถุกันเสีย และวิธีป้องกันการเสีย การเจือสี หรื อวัตถุอื่นในอาหารที่ผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้ าเพื่อจาหน่าย หรื อ ที่จาหน่าย 6. กาหนดคุณภาพหรื อมาตรฐานของภาชนะบรรจุและการใช้ ภาชนะบรรจุ ตลอดจน การห้ ามใช้ วตั ถุใดเป็ นภาชนะบรรจุอาหารด้ วย


7

7. กาหนดวิธี การผลิ ต เครื่ องมื อเครื่ องใช้ ในการผลิต และการเก็ บรั กษาอาหารเพื่ อ ป้ องกั น มิ ใ ห้ อาหารที่ ผ ลิ ต เพื่ อ จ าหน่ า ย น าเข้ าเพื่ อ จ าหน่ า ย หรื อ ที่ จ าหน่ า ย เป็ นอาหาร ไม่บริ สทุ ธิ์ตามพระราชบัญญัตนิ ี ้ 8. กาหนดอาหารที่ห้ามผลิต นาเข้ า หรื อจาหน่าย 9. ก าหนดหลัก เกณฑ์ เงื่ อ นไข และวิ ธี ก ารในการตรวจ การเก็ บ ตัว อย่ า ง การยึ ด การอายัด และการตรวจวิเคราะห์ทางวิชาการ รวมทังเอกสารอ้ ้ างอิง 10. ก าหนดประเภทและชนิ ด อาหารที่ ผ ลิ ต เพื่ อ จ าหน่ า ย น าเข้ าเพื่ อ จ าหน่ า ย หรื อ ที่จาหน่าย ซึง่ จะต้ องมีฉลากข้ อความในฉลากเงื่อนไข และวิธีการแสดงฉลาก ตลอดจนหลักเกณฑ์ และวิธีการโฆษณาในฉลาก การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต มาตรา 14 ห้ ามมิ ให้ ผ้ ูใดตัง้ โรงงานผลิตอาหารเพื่ อจ าหน่าย เว้ นแต่ไ ด้ รับใบอนุญาต จากผู้อนุญ าต การขออนุญ าตและการอนุญาตให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธี การ และเงื่ อนไข ที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา 15 ห้ า มมิ ใ ห้ ผ้ ูใ ดน าเข้ าซึ่ ง อาหารเพื่ อ จ าหน่ า ย เว้ น แต่ จ ะได้ รั บ ใบอนุญ าต จากผู้อนุญ าต การขออนุญ าตและการอนุญาตให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธี การ และเงื่ อนไข ที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา 16 บทบัญญัตมิ าตรา 14 และมาตรา 15 ไม่ให้ ใช้ บงั คับแก่ 1. การผลิตอาหารหรื อนาเข้ าซึ่งอาหารเฉพาะคราว ซึ่งได้ รับใบอนุญาตเฉพาะคราวจาก ผู้อนุญาต 2. การผลิ ต อาหารหรื อน าเข้ าหรื อส่ ง ออกซึ่ ง อาหาร เพื่ อ เป็ นตั ว อย่ า งส าหรั บ การขึ ้นทะเบียนตารับอาหารหรื อเพื่อพิจารณาในการสัง่ ซื ้อ


8

ผู้ที่ไ ด้ รั บการยกเว้ น ตามข้ อ 1 และ 2 ต้ องปฏิ บัติต ามหลักเกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไข ที่กาหนดในกฎกระทรวง การควบคุมอาหาร มาตรา 25 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดผลิต นาเข้ าเพื่อจาหน่าย หรื อจาหน่าย ซึง่ อาหารดังต่อไปนี ้ 1. อาหารไม่บริ สทุ ธิ์ 2. อาหารปลอม 3. อาหารผิดมาตรฐาน 4. อาหารอื่นที่รัฐมนตรี กาหนด มาตรา 26 อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ให้ ถือว่าเป็ นอาหารไม่บริ สทุ ธิ์ 1. อาหารที่มีสิ่งที่นา่ จะเป็ นอันตรายแก่สขุ ภาพเจือปนอยู่ด้วย 2. อาหารที่มีสารหรื อวัตถุเคมีเจือปนอยูใ่ นอัตราที่อาจเป็ นเหตุให้ คณ ุ ภาพของอาหารนัน้ ลดลง เว้ นแต่การเจือปนเป็ นการจาเป็ นต่อกรรมวิธีผลิต การผลิต และได้ รับอนุญาตจากพนักงาน เจ้ าหน้ าที่แล้ ว 3. อาหารที่ได้ ผลิต บรรจุ หรื อเก็บรักษาไว้ โดยไม่ถกู สุขลักษณะ 4. อาหารที่ผลิตจากสัตว์ที่เป็ นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้ 5. อาหารที่มีภาชนะบรรจุประกอบด้ วยวัตถุน่าจะเป็ นอันตรายแก่สขุ ภาพ


9

มาตรา 27 อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ให้ ถือว่าเป็ นอาหารปลอม 1. อาหารที่ ไ ด้ สั บ เปลี่ ย นใช้ วั ต ถุ อื่ น แทนบางส่ ว น หรื อคั ด แยกวั ต ถุ ที่ มี คุ ณ ค่ า ออกเสียทังหมดหรื ้ อบางส่วน และจาหน่ายเป็ นอาหารแท้ อย่างนัน้ หรื อใช้ ชื่ออาหารแท้ นนั ้ 2. วัตถุหรื ออาหารที่ผลิตขึ ้นเทียมอาหารอย่างใดอย่างหนึ่ง และจาหน่ายเป็ นอาหารแท้ อย่างนัน้ 3. อาหารที่ได้ ผสมหรื อปรุ งแต่งด้ วยวิธีใดๆ โดยประสงค์จะปกปิ ดซ่อนเร้ นความชารุ ด บกพร่องหรื อความด้ อยคุณภาพของอาหารนัน้ 4. อาหารที่มีฉลากเพื่อลวงหรื อพยายามลวงผู้ซื ้อให้ เข้ าใจผิดในเรื่ องคุณภาพปริ มาณ ประโยชน์ หรื อลักษณะพิเศษอย่างอื่น หรื อในเรื่ องสถานที่และประเทศที่ผลิต 5. อาหารที่ผลิตขึ ้นไม่ถกู ต้ องตามคุณภาพหรื อมาตรฐานที่รัฐมนตรี ประกาศ มาตรา 28 อาหารผิดมาตรฐาน ได้ แก่ อาหารที่ไม่ถูกต้ องตามคุณภาพหรื อมาตรฐาน ที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดตามมาตรา 6(2) หรื อ 3 แต่ไม่ถึงขนาดดังที่กาหนดไว้ ในมาตรา 27(5) มาตรา 29 อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ ให้ ถือว่าเป็ นอาหารตามมาตรา 25(4) 1. ไม่ปลอดภัยในการบริโภค หรื อ 2. มีสรรพคุณไม่เป็ นที่เชื่อถือ หรื อ 3. มีคณ ุ ค่าหรื อคุณประโยชน์ตอ่ ร่างกายในระดับที่ไม่เหมาะสม


10

การพักใช้ ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต มาตรา 46 เมื่อปรากฏต่อผู้อนุญาตว่าผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัตินี ้ กฎกระทรวงหรื อประกาศซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี ้ หรื อในกรณี ที่ปรากฏผลจากการตรวจ พิสจู น์วา่ อาหารซึง่ ผลิตโดยผู้รับอนุญาตผู้ใดเป็ นอาหารไม่บริ สทุ ธิ์ตามมาตรา 26 เป็ นอาหารปลอม ตามมาตรา 27 เป็ นอาหารที่ผิดมาตรฐานตามมาตรา 28 เป็ นอาหารหรื อภาชนะบรรจุที่น่าจะเป็ น อันตรายต่อสุขภาพหรื อผิดอนามัยของประชาชน ผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ มีอานาจสัง่ พักใช้ ใบอนุญาตได้ โดยมีกาหนดครัง้ ละไม่เกินหนึง่ ร้ อยยี่สิบวัน หรื อในกรณีที่มีการฟ้อง ผู้รั บ อนุญ าตต่อ ศาลว่ า ได้ ก ระท าความผิ ด ตามพระราชบัญ ญั ติ นี ้ จะสั่ง พัก ใช้ ใ บอนุญ าตไว้ รอคาพิพากษาอันถึงที่สดุ ก็ได้ ในกรณี ที่ มี ค าพิ พ ากษาของศาลอั น ถึ ง ที่ สุ ด ผู้ รั บ อนุ ญ าตผู้ ใดได้ กระท าความผิ ด ตามมาตรา 26 หรื อ มาตรา 27 ผู้ อนุ ญ าตโดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการมี อ านาจ สัง่ เพิกถอนใบอนุญาตได้ ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพักใช้ ใบอนุญาตหรื อเพิกถอนใบอนุญาตมีสิทธิ อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่ทราบคาสั่ง รัฐมนตรี มีอานาจสัง่ ให้ ยกอุทธรณ์ หรื อแก้ ไขคาสัง่ ของผู้อนุญาตให้ เป็ นคุณแก่ผ้ อู ทุ ธรณ์ได้ คาวินิจฉัยของรัฐมนตรี ให้ เป็ นที่สดุ การอุ ท ธรณ์ ค าสั่ ง ต่ อ รั ฐ มนตรี ตามวรรคสี่ ไ ม่ เ ป็ นการทุ เ ลาการบั ง คั บ ตามค าสั่ ง พักใช้ ใบอนุญาตหรื อคาสัง่ เพิกถอนใบอนุญาต ให้ ถือว่าการผลิตนาหรื อสัง่ เข้ ามาในราชอาณาจักร เพื่อจาหน่ายซึง่ อาหารควบคุมเฉพาะในระหว่างถูกสัง่ พักใช้ ใบอนุญาตหรื อถูกเพิกถอนใบอนุ ญาต เป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 14 วรรคหนึง่ หรื อมาตรา 15 วรรคหนึง่ แล้ วแต่กรณี พระราชบัญญัตคิ ณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ. 2551 เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติฉบับนี ้ คือ โดยที่มีกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับอาหาร อยู่หลายฉบับ และอยู่ในอานาจหน้ าที่ ของหลายหน่วยงานในกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ แต่มี ลักษณะของการปฏิบตั งิ านเกี่ยวกับอาหารในมิตทิ ี่แตกต่างกันในขอบเขตจากัด ขาดการบูรณาการ ขาดความเป็ นเอกภาพ และประสิ ท ธิ ภ าพในการกากับดูแ ล การด าเนิ นงานในห่ว งโซ่อ าหาร ทังด้ ้ านคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค การส่งเสริ มและสนับสนุน การค้ าและอุตสาหกรรมเกี่ยวกับอาหารทังภายในและระหว่ ้ างประเทศประกอบกับยังขาดนโยบาย


11

และยุ ท ธศาสตร์ เ กี่ ย วกั บ ความมั่น คงด้ า นอาหารทัง้ ในยามปกติ แ ละยามฉุก เฉิ น ตลอดจน การป้ องกัน การใช้ อ าหารในการก่ อ การร้ าย รวมทัง้ การให้ การศึ ก ษาด้ า นอาหารให้ ทัน ต่ อ สถานการณ์ของสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว สมควรให้ มีกฎหมายว่าด้ วยคณะกรรมการ อาหารแห่งชาติเพื่อเป็ นองค์กรหลักและกลไกของประเทศในการกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ ที่ เ กี่ ย วกั บ อาหารทุ ก มิ ติ ดั ง กล่ า วเบื อ้ งต้ น โดยครอบคลุ ม ห่ ว งโซ่ อ าหารอย่ า งมี เ อกภาพ และประสิ ท ธิ ภ าพในลั ก ษณะบู ร ณาการของหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อง จึ ง จ าเป็ นต้ องตรา พระราชบัญญัตนิ ี ้ พระบาทสมเด็จพระปรมิ นทรมหาภูมิพ ลอดุลยเดช มี พระบรมราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ประกาศว่าโดยที่เป็ นการสมควรมีกฎหมายว่าด้ วยคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรี ภาพของบุคคล ซึ่ง มาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 41 และมาตรา 43 ของรั ฐ ธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัตใิ ห้ กระทาได้ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติขึ ้นไว้ โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ ดังต่อไปนี ้ตาม มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตนิ ี ้ “อาหาร” หมายความว่า อาหารตามกฎหมายว่าด้ วยอาหาร “คุณภาพอาหาร” หมายความว่า อาหารที่มีคณ ุ ลักษณะทางกายภาพและส่วนประกอบ ที่พงึ จะมีรวมถึงมีคณ ุ ค่าทางโภชนาการที่เหมาะสม “ความปลอดภัยด้ านอาหาร” หมายความว่า การจัดการให้ อาหาร และสินค้ าเกษตร ที่นามาเป็ นอาหารบริ โภคสาหรั บมนุษย์มีความปลอดภัย โดยไม่มีลกั ษณะเป็ นอาหารไม่บริ สุทธิ์ ตามกฎหมายว่าด้ วยอาหาร และตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้ อง รวมทัง้ อาหารที่มีลกั ษณะอย่างใด อย่างหนึง่ ดังต่อไปนี ้ด้ วย 1. อาหารที่มีจลุ ินทรี ย์ก่อโรคหรื อสิ่งที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพเจือปนอยู่


12

2. อาหารที่มีสารหรื อวัตถุเคมีเจือปนอยู่ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้ องในปริ มาณที่อาจเป็ น เหตุให้ เกิดอันตราย หรื อสามารถสะสมในร่างกายที่ก่อให้ เกิดโรค หรื อผลกระทบต่อสุขภาพ 3. ที่ได้ ผลิต ปรุง ประกอบ บรรจุ ขนส่งหรื อมีการเก็บรักษาไว้ โดยไม่ถกู สุขลักษณะ 4. อาหารที่ผลิตจากสัตว์ หรื อผลผลิตจากสัตว์ที่เป็ นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้ 5. อาหารที่ผลิต ปรุง ประกอบจากสัตว์และพืช หรื อผลผลิตจากสัตว์และพืชที่มีสารเคมี อันตราย เภสัชเคมีภณ ั ฑ์ หรื อยาปฏิชีวนะตกค้ างในปริมาณที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ 6. อาหารที่มีภาชนะบรรจุประกอบด้ วยวัตถุที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ “ความมั่ นคงด้ า นอาหาร” หมายความว่า การเข้ าถึงอาหารที่มี อย่างเพียงพอสาหรั บ การบริ โ ภคของประชาชนในประเทศ อาหารมี ค วามปลอดภัย และมี คุณ ค่า ทางโภชนาการ เหมาะสมตามความต้ องการตามวัยเพื่อการมีสุขภาวะที่ดี รวมทังการมี ้ ระบบการผลิตที่เกือ้ หนุน รักษาความสมดุลของระบบนิเวศวิทยาและความคงอยู่ของฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติ ของประเทศ ทัง้ ในภาวะปกติหรื อเกิดภัยพิบตั ิสาธารณภัยหรื อการก่อการร้ ายอันเกี่ ยวเนื่องจาก อาหาร มาตรา 12 ในภาวะที่ เ กิ ด ภัย พิ บัติ สาธารณภัย หรื อ การก่ อ การร้ ายอัน เกี่ ย วเนื่ อ ง จากอาหารอั น เป็ นภั ย ที่ ร้ ายแรงและฉุ ก เฉิ น อย่ า งยิ่ ง ให้ นายกรั ฐ มนตรี โดยค าแนะน า ของคณะกรรมการและโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มีอานาจประกาศกาหนดให้ เขตพื ้นที่ ใดเป็ นเขตพืน้ ที่ที่จาเป็ นต้ องสงวนไว้ เพื่อประโยชน์ด้านความมั่นคงด้ านอาหารเป็ นการชัว่ คราว รวมทังหลั ้ กเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการใช้ ประโยชน์ในเขตพื ้นที่ดงั กล่าว ทังนี ้ ้ ต้ องมีแผนที่ แสดงแนวเขตพื ้นที่ที่จาเป็ นต้ องสงวนไว้ นนแนบท้ ั้ ายประกาศด้ วย ในการออกประกาศตามวรรคหนึ่ ง ให้ ด าเนิ น การเพี ย งเท่ า ที่ จ าเป็ น เพื่ อ บรรลุต าม วัตถุประสงค์ โดยกระทบกระเทือนสิทธิ ของเจ้ าของ ผู้ครอบครอง หรื อผู้ใช้ ประโยชน์ในเขตพื ้นที่ ดังกล่าวน้ อยที่สดุ


13

ประกาศตามวรรคหนึ่ ง ให้ ใ ช้ บัง คับ ได้ ไ ม่ เ กิ น หนึ่ง ปี นับ แต่วัน ที่ ป ระกาศมี ผ ลใช้ บัง คับ และอาจขยายได้ อีกครัง้ ละไม่เกินหนึ่งปี ในกรณี ที่ภัยร้ ายแรงและฉุกเฉิ นอย่างยิ่งนัน้ ยังคงมีอยู่ และให้ ปิดไว้ ณ สถานที่ดงั ต่อไปนี ้ 1. ที่ทาการของหน่วยงานตามมาตรา 15 วรรคสาม 2. ศาลาว่าการกรุ ง เทพมหานคร ส านักงานเขต และที่ ทาการแขวง หรื อศาลากลาง จังหวัด ที่วา่ การอาเภอหรื อกิ่งอาเภอ ที่ทาการกานัน และที่ทาการผู้ใหญ่บ้านแห่งท้ องที่ที่เขตพื ้นที่ ที่จาเป็ นต้ องสงวนไว้ นนตั ั ้ งอยู ้ แ่ ล้ วแต่กรณี 3. ที่ดนิ กรุงเทพมหานคร และสานักงานที่ดนิ กรุงเทพมหานคร สาขา หรื อสานักงานที่ดิน จังหวัด สาขา และสานักงานที่ดนิ อาเภอแห่งท้ องที่ที่เขตพื ้นที่ที่จาเป็ นต้ องสงวนไว้ นนตั ั ้ งอยู ้ ่แล้ วแต่ กรณี มาตรา 13 ในเขตพื น้ ที่ ใ ดที่ ไ ด้ มี ป ระกาศก าหนดตามมาตรา 12 ห้ ามบุ ค คลใดใช้ ประโยชน์หรื อกระทาการใดๆ ในเขตพื ้นที่นนผิ ั ้ ดไปจากหรื อขัดกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กาหนดไว้ ในประกาศดังกล่าว มาตรา 14 ผู้ใ ดฝ่ าฝื นมาตรา 13 ต้ อ งระวางโทษจ าคุกไม่เ กิ น สองปี หรื อ ปรั บไม่เ กิ น สี่หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั ้ บ ความสาคัญของความมั่นคงทางอาหาร ความส าคัญ ในระดับ สากล อาหารเป็ นปั จ จัยที่ ส าคัญ ส าหรั บมนุษ ย์ ใ นการดารงชี วิ ต อยู่ เป็ นพลังงานให้ มนุษย์ ใช้ ประกอบกิจกรรมเพื่อดาเนินชีวิตประจาวันต่างๆ ทัง้ ยังมีส่วนช่วย สร้ างความคิด พัฒ นาสติปัญ ญาของมนุษ ย์ เพื่ อสนองความต้ องการความเจริ ญก้ า วหน้ าอื่ น ๆ ในอดีตวิถีชีวิตของคนไทยทังในเมื ้ องและชนบทมีชีวิตอยูบ่ นผืนดินอันอุดมสมบูรณ์ มีการหาอาหาร และน า้ จากธรรมชาติ มี พื น้ ที่ เ พื่ อ การเพาะปลูก พื ช ผัก สวนครั ว ไว้ เ พื่ อ อยู่เ พื่ อ กิ น ครอบครั ว มีการประกอบอาหารและถนอมอาหารภายในครัวเรื อน แต่การพัฒนาประเทศที่เน้ นการเติบโต ทางเศรษฐกิจได้ ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกๆด้ านอย่างรวดเร็ ว มีการนาทรัพยากรธรรมชาติ


14

มาใช้ อย่างฟุ่ มเฟื อยเพื่อให้ เศรษฐกิจเติบโต สังคมไทยจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพการดาเนิน ชี วิ ต จากการพึ่ง พาตนเอง เพาะปลูก ตามธรรมชาติ เ พื่ อ บริ โ ภคในครั ว เรื อ นเป็ นหลัก มาเป็ น การผลิ ต เพื่ อ การค้ า ที่ ต้ อ งพึ่ง พิ ง ปั จ จัย การผลิ ต ทัง้ ด้ า นเงิ น ทุน เทคโนโลยี พลัง งานเชื อ้ เพลิ ง และระบบตลาด เพื่อให้ เกิดการซื ้อขายอาหารเพื่อการบริ โภคมากขึ ้น ทาให้ เศรษฐกิจโลกได้ เข้ ามา มีบทบาท ดังจะเห็นได้ จากวิกฤตการณ์ข้าวขาดแคลนของโลก และสถานการณ์ปัญหาราคาน ้ามัน ที่ส่งผลกระทบไปในทุกภาคส่วนทังภาคอุ ้ ตสาหกรรม เกษตรกรรม การขนส่งต่างมีผลทาให้ ราคา สิ น ค้ า เพื่ อ การอุป โภคบริ โ ภคทั่ว ประเทศต่า งปรั บ ตัว สูง ขึ น้ ตามไปด้ ว ย ราคาอาหารทัง้ ปลี ก และส่งแพงขึน้ เป็ นเงาตามตัว ค่าครองชี พของประชาชนปรับตัวสูง ขึน้ และมีแนวโน้ มจะสูงขึน้ เรื่ อยๆ ในอนาคต อันเนื่องมาจากปั จจัยหลายประการ ทังจากราคาน ้ ้ามันที่ผนั ผวน ความไม่มนั่ คง ของสถานการณ์ ก ารเมื อ ง และภาวะเศรษฐกิ จ โลกถดถอย สิ่ง เหล่า นี ไ้ ด้ ก่อ ให้ เ กิ ดผลกระทบ ต่อความมั่นคงของประชาชน โดยเฉพาะความมั่นคงด้ านอาหาร (Food Security) ซึ่ง ถื อว่า เป็ นปั จจัยพื ้นฐานหลักที่สาคัญ เพราะถ้ าในชีวิตประจาวันการหาอาหารเพื่อประทังชีวิตเป็ นเรื่ อง ที่ยากลาบากแล้ ว ยังเป็ นสิ่งที่แสดงให้ เห็นว่าการดาเนินชีวิตจะต้ องประสบความยากลาบากมาก ขึ ้นไปอีก ดังที่โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program : UNDP) ได้ เ น้ นยา้ ว่า ประชาชนต้ องสามารถที่ จะดูแลตนเอง ตอบสนองความต้ องการพืน้ ฐาน ที่สาคัญของตน และสามารถเลีย้ งชีพตนเองได้ เนื่องจากคนจนหรื อผู้มีรายได้ น้อยเป็ นผู้ที่ได้ รับ ความเดือดร้ อนจากสถานการณ์นี ้มากกว่าคนในกลุ่มอื่น โดยเฉพาะคนจนในเมืองต้ องเผชิญกับ ความยากลาบากเพิ่มขึ ้นอีกจากความเสี่ยงที่รายได้ ของครอบครัวลดลง รายจ่ายและภาระหนี ้สิน ของครอบครัวที่เพิ่มขึ ้น เนื่องจากระดับการบริ โภคอาหารมีความสัมพันธ์ กบั ความยากจนที่ไม่ใช่ เรื่ องปริ ม าณอาหารเพี ย งอย่างเดี ยว แต่หมายความว่าเมื่ อเกิ ดวิกฤตราคาอาหารแพง คนจน จะเป็ นกลุ่มแรกๆที่จ ะได้ รับความเดือดร้ อนอย่างหนัก เนื่องจากไม่มี เงิ นที่จ ะซื อ้ อาหาร เพราะ รายได้ อาจจะไม่เพิ่มขึ ้นหรื อเพิ่มขึ ้นอย่างจากัด นอกจากนี ้ปั ญหาการเข้ าถึงอาหารของผู้บริ โภค ในชุมชนเมืองต้ องพึ่งพาระบบตลาด เช่น ตลาดสด ร้ านอาหาร หาบเร่ แผงลอย ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต ซึ่ ง ไม่ ส ามารถควบคุ ม ชนิ ด คุ ณ ภาพ ความปลอดภั ย และราคาของอาหารได้ ด้ ว ยตนเอง ซึง่ สิ่งเหล่านี ้ชี ้ให้ เห็นถึงความไม่มนั่ คงทางอาหารได้ ชดั เจน ความมั่นคงทางอาหาร (Food Security) เป็ นประเด็นหนึ่งที่องค์การระหว่างประเทศ ทั่ว โลกให้ ค วามสนใจ ซึ่ง องค์ ก ารสหประชาชาติไ ด้ ท าการพยากรณ์ ใ นปี 1993 ว่า ในปี 2020 จะมีประชากรโลกถึง 8 พันล้ านคน ร้ อยละ 93 ของจานวนประชากรที่เพิ่มขึ ้นจะเกิดในประเทศ


15

ที่กาลังพัฒนา โลกจะถูกท้ าทายให้ ผลิตอาหารให้ เพียงพอกับจานวนประชากรที่จะเพิ่มขึน้ ปี ละ 90 ล้ านคน ความสามารถในการผลิ ต อาหารจะต้ อ งเพิ่ ม ขึ น้ ในอัต ราที่ สู ง กว่ า การเพิ่ ม ขึ น้ ของประชากร เพื่อตอบสนองความต้ องการที่เพิ่มขึน้ เนื่องจากการมีรายได้ เพิ่มขึน้ การขยายตัว ของเมือง และรู ปแบบการดารงชีวิตที่เปลี่ยนไป องค์การสหประชาชาติ ถื อว่าการได้ รับอาหาร อย่างพอเพี ยงนัน้ เป็ นสิ ทธิ ส ากลของมวลมนุษย์ และเป็ นความรั บผิดชอบร่ วมกัน ทุกคนมีสิทธิ ที่ จ ะได้ ด ารงชี พ ตามระดับ มาตรฐานที่ พ อเพี ย งต่อ สุข ภาพและความเป็ นอยู่ที่ ดี ข องตนเอง และครอบครัว ซึง่ รวมถึงการได้ รับอาหารด้ วย ทาให้ เกิดการประชุมสุดยอดว่าด้ วยเรื่ องความมัน่ คง ด้ านอาหาร ซึ่งจัดขึ ้น ณ กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อ วันที่ 3 - 5 มิถนุ ายน 2551 ได้ จดั ทาปฏิญญา ว่าด้ วยความมัน่ คงด้ านอาหาร (Declaration on World Food Security) เพื่อให้ เกิดสภาวะความ มั่น คงด้ า นอาหาร ที่ เ พี ย งพอและสามารถรองรั บความต้ องการของประชากรที่ หิว โหย โดยมี มาตรการทัง้ ระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว เน้ น เพิ่ม การให้ ค วามช่ว ยเหลื อ ด้ า นอาหาร การเตรี ยมการเพาะปลูก การเสริ ม สร้ างความสามารถของประชาชนในการรั บ มื อกับปั ญหา การแก้ ไขปั ญหาการบิดเบือนตลาดและข้ อจากัดด้ านการค้ าระหว่างประเทศ การมีโครงข่ายรองรับ ทางสังคม และการเสริ มสร้ างระบบการผลิต และเพิ่มการสนับสนุนการลงทุน วิจัยและพัฒนา การบริ หารจัดการนา้ และที่ดิน การจัดหาแหล่งเงินระหว่างประเทศเพื่อระดมทุนและจัดการกับ ปั ญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเชื ้อเพลิงชีวภาพ สถานการณ์ ความไม่ ม่ ันคงทางอาหารของไทย ความมัน่ คงทางอาหารของประเทศไทยในปั จจุบนั ตามปกติแล้ วประเทศไทยแทบไม่เจอ ภาวะความขาดแคลนทางอาหาร เนื่องจากความแข็งแกร่งในภาคการผลิตอาหารภายในประเทศ อาหารตามธรรมชาติที่ประชาชนสามารถเข้ าถึง ได้ และความสามารถในการนาเข้ าอาหารที่ มี ไม่เพียงพอภายในประเทศ แต่จากการเพิ่มขึ ้นของราคานา้ มันหลังปี 2540 ทาให้ รัฐบาลไทย พยายามหาพลังงานทางเลือกแทนน ้ามันซึ่งพืชที่สามารถนามาผลิตเป็ นพลังงานแทนน ้ามันได้ เช่ น ข้ าวโพด อ้ อย มั น ส าปะหลั ง และน า้ มั น ปาล์ ม นอกจากนี ย้ ั ง มี ก ารประมาณการ ว่าความต้ องการเชือ้ เพลิงชีวภาพเหล่านี จ้ ะเพิ่มสู งขึน้ อีกมากส่งผลให้ เกษตรกรจานวนไม่น้อย หันไปปลูกพืชพลังงานทดแทนพืชอาหารเดิม เช่น ในภาคใต้ ซึ่งเป็ นพื ้นที่ปลูกปาล์มน ้ามันส่วนใหญ่ ของประเทศอยู่ แ ล้ วท าให้ เกิ ด การบุ ก รุ กพื น้ ที่ ชุ่ ม น า้ และปลู ก ปาล์ ม น า้ มั น ในนาข้ าว ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ เกษตรกรบางส่วนเริ่ มปลูกมันสาปะหลังภายหลังจากการเก็บเกี่ยว จากเดิมที่เคยปล่อยดินให้ พกั ฟื น้


16

กระแสความนิ ย มพื ช พลัง งานอาจส่ ง ผลต่อ ความมั่น คงทางอาหารของประเทศได้ โดยประเทศไทยซึ่งเป็ นประเทศผลิตอาหารสาคัญก็อาจตกเป็ นเป้าหมายของการเข้ ามาแย่งยึด ที่ ดิ น และครอบครองระบบเกษตรกรรมและอาหารในรู ป แบบต่า งๆ รวมถึ ง เกิ ด จากปั ญ หา เชิงนโยบายของรัฐระบบเกษตรกรรม และยังเผชิญกับสถานการณ์ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติที่รุนแรง และมีจานวนครัง้ มากขึ ้นเรื่ อยๆ แม้ ว่ า ประเทศไทยจะมี อ าหารเพี ย งพอแต่ เ มื่ อ ลงรายละเอี ย ดในระดับ ตัว บุ ค คล หรื อครัวเรื อนแล้ วประชากรมากกว่าหนึ่งในสามและส่วนมากอยู่ในเขตชนบท มีความเสี่ยงต่างๆ ที่จะส่งผลให้ เกิดความไม่มั่นคงทางอาหารโดยทั่วไปกลุ่มเสี่ยงนีก้ ็คือคนจนที่ มีระดับรายได้ ต่า หรื อไม่ก็มีคา่ ใช้ จา่ ยด้ านอาหารสูง ในระดับ บุ ค คลและครั ว เรื อ น เกษตรกรรมยั่ ง ยื น สามารถสร้ างความหลากหลาย ของพืชพันธุ์ในแปลง สร้ างความมัน่ คงทางอาหารให้ ดีขึ ้น และยังช่วยสร้ างเกราะคุ้มกันต่อราคา ตลาดและสภาพอากาศที่แปรปรวนมากกว่าการปลูกพืช เชิ ง เดี่ยวรวมถึง ยัง ลดต้ นทุนการผลิต และภาวะหนี ส้ ิ น อี ก ด้ ว ย ในภาวะที่ ก ารแข่ ง ขัน ในตลาดสู ง ขึ น้ จากการเปิ ดเสรี ท างการค้ า เกษตรกรรมยัง่ ยืนสามารถเป็ นทางเลือกของเกษตรกรรายย่อยและครอบครัวได้ สาหรับการผลิต และบริโภคอาหารของครัวเรื อนเมื่อประเทศมีการพัฒนามากขึ ้น ในฐานะที่ไทยเป็ นประเทศผู้ผลิต อาหารดัง นัน้ รั ฐ บาลควรที่ จ ะสนใจแก้ ปัญหาการใช้ ประโยชน์ จ ากดิน ทรั พ ยากรทะเล อากาศ และทรัพยากรอื่นๆที่มากเกินไปและส่งเสริ มสนับสนุนวิถีการผลิตและการบริ โภค และเกษตรกรรม ที่ยงั่ ยืน สาเหตุความไม่ ม่ ันคงทางอาหารของประเทศไทย นวลน้ อ ย ตรี รั ต น์ (2551) กล่า วว่ า หลัง จากราคาพลัง งานได้ เ พิ่ ม ขึ น้ อย่ า งต่อ เนื่ อ ง มาเป็ นเวลาหลายปี ตอนนี โ้ ลกกาลัง เผชิ ญกับปั ญหาใหม่ ที่อาจจะรุ นแรงมากกว่า คือ ปั ญหา ราคาอาหารที่เพิ่มขึ ้นอย่างมากมาย และอาจจะถึงขันขาดแคลนอาหาร ้ ทาให้ ต้องหันกลับมาพูด กันถึงเรื่ องความมัน่ คงทางอาหารอีกครัง้ หนึ่ง หลังจากที่การพูดถึงเรื่ องความมัน่ คงทางอาหาร ได้ ห่างหายไปเป็ นเวลานาน


17

สาเหตุที่ทาให้ ปัญหานี ้กลับมาทวีความสาคัญมาจากปั จจัยต่างๆ จานวนมาก เริ่ มตังแต่ ้ เป็ นผลมาจากการเพิ่มขึ ้นของราคานา้ มันอย่างต่อเนื่องและรุ นแรง มีผลทาให้ มีการเปลี่ยนพื ้นที่ เพาะปลูกพื ช อาหารไปเป็ นพื ช พลัง งานเพิ่ม ขึน้ เพราะพื ช พลัง งานเหล่า นัน้ มี ราคาเพิ่ ม สูง ขึน้ ขณะเดี ย วกั น ราคาพลั ง งานที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ น้ ก็ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ต้ นทุ น ในการผลิ ต ของสิ น ค้ า ทางด้ านเกษตรและอุตสาหกรรม การเปลี่ ย นแปลงภาวะภูมิ อ ากาศ หรื อ ที่ เ รี ย กกัน สัน้ ๆ ว่า “โลกร้ อน” ซึ่ง มี ผ ลกระทบ ต่ อ สภาพภู มิ อ ากาศ ทั ง้ ฝนแล้ ง และอุ ท กภั ย พายุ ต่ า งๆสารพั ด ซึ่ ง กระทบต่ อ ผลผลิ ต ทางการเกษตร ซึ่ง แม้ ว่ า จะมี ก ารพัฒ นาเทคโนโลยี ท างการเกษตรเพิ่ ม มากขึ น้ แต่ก็ ยัง ต้ อ ง พึง่ ธรรมชาติเป็ นด้ านหลัก การสูญเสียพื ้นที่เพาะปลูกให้ กบั การพัฒนาเมืองและภาคอุตสาหกรรม ทาให้ พื ้นที่การเพาะปลูกลดลง การเติบโตของประชากรโลก ตลอดจนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อย่างมากของประเทศที่มีประชากรรวมกันเกือบครึ่ งโลก อย่างจีนและอินเดีย ปั จจัยเหล่านี ้ล้ วนมี ส่วนส่งผลให้ ราคาอาหารเพิ่มขึ ้นเป็ นอย่างมาก ผลกระทบที่ มี ต่อ ประเทศไทย ซึ่ง เป็ นประเทศที่ ผ ลิต อาหารที่ ส าคัญแห่ง หนึ่ง ของโลก มีหลายระดับ ในแง่ของผู้ผลิตเอง ดูเหมือนว่าจะได้ ประโยชน์เพิ่มขึ ้น เพราะสามารถขายผลผลิตได้ ในราคาที่สงู ขึ ้น แต่ก็ขึ ้นอยูก่ บั ว่าผลประโยชน์เหล่านันไปตกอยู ้ ่กบั ใคร ตกอยู่กบั เกษตรกรมากน้ อย เพียงใด ตกอยูก่ บั พ่อค้ าคนกลาง และผู้ที่ทาการส่งออกเป็ นจานวนเท่าใด ส่วนในด้ านผู้บริ โภคได้ รับความเดือดร้ อ นอย่างแน่นอน แต่จะมากน้ อยแค่ไหนอาจจะต้ อง ขึ ้นอยูว่ า่ มีฐานะทางเศรษฐกิจอย่างไร คนจนย่อมต้ องเดือดร้ อนหนัก เพราะรายได้ อาจจะไม่เพิ่มขึ ้น หรื อเพิ่มขึ ้นอย่างจากัด ถ้ าดูจากการขึ ้นค่าจ้ างขันต ้ ่าที่ผา่ นมา จะเห็นได้ ว่าขึ ้นน้ อยกว่าดัชนีเงินเฟ้อ ที่เพิ่มขึ ้น ซึง่ ก็แสดงว่ารายได้ ที่แท้ จริงของคนกลุม่ นี ้ลดลง ส าหรั บบางประเทศ โดยเฉพาะประเทศยากจนที่ ต้ องซื อ้ อาหารจากประเทศอื่ น ได้ รั บ ผลกระทบหนักหน่วงรุ นแรงทีเดียว เช่น คนยากจนชาวเฮติจานวนหนึ่งไม่มีเงินที่จะซื ้ออาหารที่มี ราคาสูงรับประทานได้ ต้ องหันมาบริโภคคุกกี ้ที่ทามาจากดินเพื่อประทังความหิวโหย


18

ประเทศไทยเมื่อหลายปี ก่อนก็เคยเผชิญกับปั ญหานี ้มาก่อน เมื่อเด็กเล็กๆ ในครอบครัว ที่ ย ากจนไม่ มี อ ะไรจะกิ น ก็ กิ น ดิ น แทน น ามาสู่ โ รคภั ย สารพั ด หรื อ การประท้ วง จลาจล ในอีกหลายๆประเทศที่มีฐานะยากจนที่เกี่ยวเนื่องกับวิกฤตทางด้ านอาหาร ข้ อสรุ ป ร่ ว มกั น ว่ า ระดับ การบริ โ ภคอาหารมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ความยากจนไม่ ใ ช่ เรื่ องปริ มาณอาหารเพียงอย่างเดียว นัน่ หมายความว่า เมื่อเกิดวิกฤตราคาอาหารแพงขึ ้น คนจน ก็จ ะเป็ นกลุ่มแรกๆ ที่ จ ะได้ รับความเดือดร้ อนอย่างหนัก เพราะแม้ ในช่วงที่โลกไม่ไ ด้ เผชิ ญกับ ปั ญหาวิกฤตทางด้ านอาหารเหมือนปั จจุบนั ประชากรจานวนไม่น้อยกว่า 800 ล้ านคน อยู่ในภาวะ อดอยาก และหิวโหย และประเด็นปั ญหาไม่ไ ด้ อยู่ที่ไม่มีอาหารพอที่จะเลี ้ยงคนทังโลกได้ ้ แต่อยู่ที่ คนยากจนเหล่านันไม่ ้ มีเงินที่จะซื ้ออาหาร ทังนี ้ ้ เป็ นผลมาจากการที่โลกไม่สามารถจะกระจายผล ของการพัฒนาไปสู่ประชากรโลกได้ อย่างทัว่ ถึง มีการกระจุกอยู่ในมื อของคนกลุ่มหนึ่งที่สามารถ สะสมความมัง่ คัง่ ไว้ ได้ ความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีกลายเป็ นเครื่ องมือของประเทศพัฒนาแล้ ว ที่ จ ะดู ด ทรั พ ยากรโลกมาอยู่ มาใช้ อย่ า งฟุ่ มเฟื อยในประเทศของตนเอง และเมื่ อ วิ ก ฤต ทางด้ านอาหารมาเยือน จานวนผู้คนที่อดอยากหิวโหยจะเพิ่มขึ ้นอย่างมากมาย ปั ญหาเสถียรภาพ ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมก็จะตามมา ปวรรัตน์ พรรธนประเทศ (2555) กล่าวถึง สาเหตุของความไม่มนั่ คงทางอาหาร ดังนี ้ 1. ปั ญหาความเสื่อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร 1.1 การลดลงของพื ้นที่ป่าไม้ 1.2 การเสื่อมโทรมของดิน 1.3 ปั ญหาของทรัพยากรน ้า 2. ปั ญหาของระบบการผลิตอาหารที่ไม่ยงั่ ยืน 2.1 ปั ญหาพันธุกรรมในการผลิตอาหาร


19

2.2 การพึง่ พาปุ๋ยและสารเคมีการเกษตร 2.3 การลดลงของเกษตรกรรายย่ อ ยและการขยายตัว ของธุ ร กิ จ การเกษตร ขนาดใหญ่ 3. ปั ญหาโครงสร้ างของที่ดนิ ทากินและสิทธิในการเข้ าถึงทรัพยากร 4. บทบาทของค้ าปลีกขนาดใหญ่และโมเดิร์นเทรดที่มีบทบาทมากขึ ้นในระบบกระจาย อาหาร 5. การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิตอาหาร 6. ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้ าและการตกลงระหว่างประเทศต่อระบบอาหาร 7. ปั ญหาสุขภาวะที่เกิดจากระบบอาหาร 8. การแผ่ขยายของอาณานิคมทางอาหาร 9. วัฒนธรรมอาหารต่างชาติครอบงาวัฒนธรรมอาหารท้ องถิ่น 10. การขาดนโยบายเกี่ยวกับความมัน่ คงทางอาหาร ผลกระทบของวิกฤตการณ์ อาหาร ผลจากวิกฤตอาหารที่สะท้ อนให้ เห็นชัดเจนที่สดุ คือ การเกิดเหตุการณ์จลาจลอย่างรุนแรง ขึ น้ ในประเทศเฮติ เนื่ อ งจากขาดแคลนอาหารและราคาอาหารที่ แ พงลิ บ ลิ่ ว จนก่ อ ให้ เ กิ ด การประท้ วงเพื่อโค่นล้ มรัฐบาลเฮติ ถึงขันต้ ้ องปรับเปลี่ยนนายกรัฐมนตรี เพื่อแก้ ปัญหาปากท้ อง ให้ แก่ ป ระชาชน นอกจากนี ย้ ัง มี เ หตุจ ลาจลที่ เ กิ ด ขึ น้ ในทวี ป แอฟริ ก าและประเทศอื่ น ๆอี ก ตามที่ปรากฏในสื่อต่างๆ


20

ทุกครัง้ ที่มีวิกฤตราคาพลังงานเกิดขึ ้น วิกฤตด้ านราคาอาหารก็จะเกิดตามมาเป็ นวัฏจักร เนื่องจากการเคลื่อนย้ ายของธุรกิจพลังงานเข้ ามาแย่งวัตถุดิบไปจากพืชอาหารเพื่อเอาไปผลิต พลังงานส่งผลให้ ราคาอาหารเพิ่มสูงขึ ้น ปั จจุ บั น ภาวะราคาอาหารที่ แ พงสู ง ขึ น้ หรื อที่ เ รี ยกว่ า “ภาวะราคาอาหารเฟ้ อ” (Food Inflation) พุ่ง ขึน้ เป็ นประวัติการณ์ จ ะเห็นได้ ว่า ดัช นี เฉลี่ ยราคาอาหารขององค์การ อาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ ในช่วงมี นาคม 2551 เท่ากับ 220 โดยเมื่ อเที ยบกับ ช่วงเดือนมีนาคมของปี ก่อนๆ เพิ่มขึ ้นถึงร้ อยละ 57 โดยดัชนีอาหารเพิ่มขึ ้นทุกกลุ่มตังแต่ ้ ช่วงต้ นปี 2551 ซึง่ สาเหตุหลักมาจากความไม่สมดุลระหว่างผลผลิตและความต้ องการใช้ ที่แตกต่างกัน ราคาอาหารที่แพงสูงขึ ้นและคาดว่าจะยังคงอยู่ในเกณฑ์สูงอย่างต่อเนื่อง เกิดจากปั จจัย สาคัญที่ผลผลิตมีแนวโน้ มลดลงสวนทางกับความต้ องการบริ โภคที่มีแนวโน้ มสูงขึ ้น และเกิดจาก ปั จจัยแทรกซ้ อนหลายๆปั จจัยภายใต้ กระแสโลกาภิวตั น์ คือ 1. การเก็งกาไรและสภาวะเงินดอลลาร์ ของสหรัฐอเมริกาที่ตกต่า 2. นโยบายเรื่ องการส่งเสริมพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 3. สภาวะโลกร้ อนที่สง่ ผลให้ สภาพอากาศแปรปรวน 4. ราคาน ้ามันที่แพงขึ ้นและดูจะต่อเนื่องยาวนาน จนต้ องหันไปใช้ ไบโอดีเซลทดแทน 5. การบริโภคสินค้ าที่เพิ่มขึ ้นมากของบรรดากลุม่ ประเทศตลาดใหม่ วิ ก ฤต การ ณ์ อา หาร ในวั น นี ม้ า จาก ปั ญห าภ า คกา รเกษ ตรที่ ถู ก ป รั บเ ปลี่ ย น จากการเพาะปลู ก เพื่ อ การส่ ง ออกมาแทนการเพาะปลู ก เพื่ อ การบริ โ ภคภายในประเทศ การเปลี่ ย นมาเป็ นอุต สาหกรรมการเกษตรขนาดใหญ่ ที่ ป ลูก พื ช เชิ ง เดี่ ย ว ต้ อ งสิ น้ เปลื อ งปุ๋ย ยาฆ่าแมลง และแหล่งน ้า เบียดเบียนวิถีเกษตรเพื่อชุมชนสู่ภาค “ธุรกิจการเกษตร” อย่างไร้ เหตุผล นอกจากจะไม่บรรเทาความอดอยากแล้ ว ยังทาให้ ประชาชนหลายล้ านคนในประเทศที่ส่งออก


21

อาหาร เช่น ประเทศอินเดีย ประชากร 1 ใน 5 ต้ องอดมื ้อกินมือ้ แม้ แต่เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี อี ก 48% ยัง ต้ อ งประสบภาวะทุ พ โภชนาการ และในประเทศโคลัม เบี ย ประชากรถึ ง 13% ก็ประสบภาวะนี ้เช่นกัน แนวทางแก้ ไ ขปั ญ หาเร่ ง ด่ว นอี ก ทางหนึ่ง ก็ คื อ การประชุม สุด ยอดของสหประชาชาติ ว่าด้ วย “วิกฤตอาหาร” ที่จดั ขึ ้น ณ กรุ งโรม ประเทศอิตาลี ผู้นาของโลกได้ ให้ คามัน่ ว่า จะลด อุปสรรคทางการค้ าและจะส่งเสริ มการผลิตภาคการเกษตรให้ มากขึ ้น เพื่อสู้กบั วิกฤตการณ์อาหาร ที่ทาให้ เกิดภาวะอดอยากและนาไปสู่การก่อความไม่สงบรุนแรงในหลายประเทศทัว่ โลก ที่ประชุม ได้ ผา่ นความเห็นชอบในปฏิญญาร่วมกันที่จะแก้ ปัญหาวิกฤตอาหารแพง และส่งเสริ มการลงทุนใน ภาคการเกษตรให้ ม ากยิ่ง ขึน้ ตลอดจนสร้ างความสมดุลในประเด็นปั ญหาที่ มี การถกเถี ยงกัน ในเรื่ องของเชื ้อเพลิงชีวภาพ และการเรี ยกร้ องให้ ช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยในประเทศยากจนที่มี ความต้ องการเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และอาหารสัตว์ในช่วงฤดูกาลเพาะปลูก ซึ่งเชื่อว่าจะช่วยบรรเทา วิกฤตอาหารที่โลกกาลังเผชิญอยู่ได้ อย่างไรก็ตามองค์การสหประชาชาติเคยจัดการประชุมสุ ด ยอดอาหารโลกมาแล้ วเมื่อปี ค.ศ.1996 เพื่อสร้ างอธิปไตยทางอาหาร โดยมีวตั ถุประสงค์ให้ เน้ น การบริ โภคภายในประเทศ การคุ้มครองปกป้องสิทธิมนุษยชน และสร้ างหลักประกันให้ ประชาคม โลกเข้ าถึงอาหารที่ปลอดภัยมีคณ ุ ค่าและเหมาะสมทางวัฒนธรรม วิกฤตการณ์ อาหารโลกไม่ใช่ ปัญหาระยะสัน้ ๆ เพราะประชาคมโลกต่างให้ ความสนใจ และตระหนักถึง ประเด็นปั ญ หาเหล่านี ด้ ้ วยความวิตกกัง วล บ้ างก็ วิเคราะห์ ว่าเกิ ดจากการน า เอาพลังงานทดแทน (Biofuel) มาใช้ ทาให้ ธัญพืช (Grains) ลดปริ มาณลงและเกิดการขาดแคลน อยูต่ ลอดเวลา เช่น บรรดาประเทศในแถบทะเลทรายซาฮารา เป็ นต้ น ปั ญหานี ้ คือ ปั ญหาฉุกเฉินที่ต้องการการแก้ ไข แต่อุปสรรคสาคัญอยู่ที่ เงินทุนช่วยเหลือ ด้ านการวิจยั ที่มีงบประมาณน้ อยมาก การพัฒนาด้ านการเกษตรดูเหมือนจะถูกละเลย การบริ หาร จัดการก็เป็ นไปภายใต้ กรอบของกระบวนการโลกาภิวตั น์ เนื่องจากนานาประเทศหันมาพึ่ งการค้ า มากกว่าการพึง่ พาตนเอง ผลกระทบจากการใช้ พลังงานทดแทนที่เห็นได้ ชดั ก็คือ กรณีของประเทศ สหรัฐอเมริ กาที่ใช้ พืน้ ที่เพื่อพลังงานทดแทนมากขึน้ ทาให้ พืน้ ที่ปลูกข้ าวโพดเพื่อเป็ นอาหารคน และสัตว์กว่า 30% ถูกแปรเปลี่ยนไป จากกรณี ดงั กล่าวย่อมส่งผลกระทบกับแหล่งผลิตอาหาร แน่นอน เนื่องจากสหรัฐอเมริกาเป็ นแหล่งผลิตอาหารที่สาคัญของโลก


22

แม้ แต่ในยุโรปเองก็ยงั สนับสนุนนโยบายด้ านการผลิต เอทานอล โดยกาหนดให้ มีส่วนผสม ของเอทานอลอย่ า งน้ อย 10% ดัง นั น้ พื น้ ที่ เ พาะปลู ก อาหารเพื่ อ บริ โ ภค จึ ง กลายมาเป็ น การปลู ก ปาล์ ม น า้ มั น อ้ อย ข้ าวโพด มั น ส าปะหลั ง เพื่ อ เป็ นพลั ง งานทดแทน เช่ น กั น องค์ ก ารอาหารโลกแห่ ง สหประชาชาติ (WFP) ได้ ตั ง้ ชื่ อ วิ ก ฤตการณ์ นี ว้ ่ า เป็ น “Silent Tsunami” หรื อ “สึนามิเงียบ” ซึ่งเป็ นเรื่ องที่เกิดขึ ้นโดยไม่ได้ เตรี ยมการรับมือไว้ ก่อน นับว่าท้ าทายความสามารถของผู้ที่เกี่ยวข้ องในการวางนโยบายเพื่อความอยู่รอดของประชาคม โลกเป็ นอย่างยิ่ง จากนี ้ไปประชาคมโลกคงต้ องจับตามองอย่างใกล้ ชิดว่า องค์กรต่างๆ ระดับโลก จะใช้ มาตรการและยุทธศาสตร์ ใดเพื่อแก้ ไขวิกฤตการณ์นี ้ ส าหรั บ ประเทศไทย ซึ่ ง เป็ นที่ รั บ รู้ ของประชาคมโลกว่ า อุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ ว ยพื ช พัน ธุ์ ธัญ ญาหาร เพราะเป็ นผู้ผ ลิ ต และผู้ส่ง ออกสิน ค้ าภาคเกษตรรายใหญ่ ของโลก ย่อ มหนี ไ ม่พ้ น กับผลกระทบด้ านราคาอาหารแพง ผู้ที่ไ ด้ รั บผลกระทบมากที่ สุดคงไม่พ้ นประชาชนผู้ยากจน รวมไปถึ ง ชนชั น้ กลาง ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ นความจ าเป็ นอย่ า งยิ่ ง ที่ รั ฐ บาลต้ องก าหนดมาตรการ เพื่อวางนโยบายและดาเนินการอย่างถูกต้ อง เพื่อป้องกันความเดือดร้ อนจากราคาอาหารที่แพง สูง ขึน้ แต่ไ ม่ส อดรั บ กับรายได้ ของประชาชน โดยเฉพาะนโยบายเศรษฐกิ จ ในระดับ รากหญ้ า ขณะนี ค้ งต้ องเน้ นที่ความสาคัญของการบริ หารจัดการ เพื่อปรั บปรุ งประสิทธิ ภ าพและรักษาไว้ ซึ่งความมัน่ คงทางอาหาร (Food Security) ของประเทศ เพื่อส่งเสริ มผู้ที่เป็ นเกษตรกรและผู้ผลิต ให้ ได้ รับผลประโยชน์จากภาคการตลาด ส่วนผู้บริ โภคทังหลายก็ ้ ต้องเข้ าถึงอาหาร ทังโอกาสและ ้ การกระจายรายได้ ที่เพิ่มขึ ้นเช่นกัน แต่ถึงอย่างไรก็ตามน่าจะเป็ นโอกาสที่ดีของประเทศไทยมากกว่า ที่ได้ เกิด “วิกฤตการณ์ อาหารโลก” เนื่องจากเป็ นประเทศผู้ผลิตอาหารส่งออกที่สาคัญของโลก มีปริ มาณอาหารเพียงพอ ทังการบริ ้ โภคภายในประเทศ และส่งออกได้ พร้ อมๆ กั น อีกทังยั ้ งมีพื ้นที่นิเวศอันอุดมสมบูรณ์ด้วย สัตว์เลี ้ยงที่เป็ นอาหารมากมายนานาชนิด “ข้ าว” ซึ่งนับว่าเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้ างรายได้ และแปรวิกฤตให้ เป็ นโอกาสได้ ภายใต้ แผนพัฒนาด้ านศักยภาพของความเป็ นแหล่งอาหารโลก เพื่อรองรับแนวโน้ มทางการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เพราะอาหารก็คือทรัพยากรที่มีความสาคัญ มากขึ ้นทุกๆวัน


23

รั ฐ บาลควรกาหนดนโยบายพัฒ นาประเทศที่ เ ป็ นระบบ เพื่ อท าให้ ก ลายเป็ นประเทศ เกษตรกรรมที่มีเอกภาพ เน้ นการเพิ่มผลผลิตด้ วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ขยายพื ้นที่ภาคการเกษตร ควบคูก่ บั การบริหารจัดการน ้า และร่วมกันส่งเสริ มทุกภาคส่วน โดยเน้ นการจัดแบ่งพื ้นที่เพาะปลูก พืช ธัญญาหารให้ มากกว่าพื ้นที่ปลูกพืชพลังงานทดแทน แม้ ไทยจะเป็ นผู้นาเข้ าด้ านพลังงานสุทธิ แต่ก็ควรให้ ความสาคัญกับการปลูกพืชพลังงานทดแทนเสมอกัน ทังนี ้ ้เนื่องมาจากสาเหตุปัจจัย จากความเคลื่อนไหวของราคาน ้ามันทัว่ โลกที่ยงั ไม่หยุดนิ่ง การปลูกพืชพลังงานทดแทน เช่น อ้ อยและมันสาปะหลังสามารถนามาผลิตเป็ นเอทานอล ได้ อย่างพอเพียง เนื่องจากพื ้นที่สาหรับการเกษตรมีเป็ นจานวนมาก เมื่ อ วิ ก ฤตการณ์ พ ลัง งานแผ่ข ยายไปทั่ว โลก นโยบายด้ า นการผลิ ต เอทานอลจึง เป็ น นโยบายในระยะยาวที่ต้องจัดให้ เป็ นวาระแห่งชาติ เพื่อเตรี ยมการแก้ ไขและป้องกันไปพร้ อมๆ กับการแก้ ไขวิกฤตการณ์พลังงานและวิกฤตการณ์อาหาร ประเทศไทยมีพื ้นที่ภาคการเกษตรถึง 7 ล้ านไร่เศษ ดังนันนั ้ บเป็ นความจาเป็ นที่ต้องจัดสรรงบประมาณสู่การพัฒนาที่ยงั่ ยืน ภาครัฐควร ส่ง เสริ ม และมีม าตรการให้ ก้ ูยืม ในอัตราดอกเบีย้ ขัน้ ต่า เพิ่ม ศักยภาพด้ วยเทคโนโลยี สมัยใหม่ วางแผนจัดการทรัพยากรนา้ จากัดและควบคุมราคาปุ๋ย ตลอดจนช่วยลดรายจ่ายให้ เกษตร กร ในทุกๆ ด้ าน อันจะเป็ นการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ได้ ภายใต้ นโยบายที่เข้ มแข็ง อ้ อยที่นามาผลิตเป็ นน ้าตาลใช้ บริ โภคภายในประเทศ นอกจากนันยั ้ งสามารถส่งออกได้ เป็ นส่วนใหญ่ เพราะมีพืน้ ที่ปลูกอ้ อยที่ไม่กระทบต่อพืน้ ที่นา ในภาคอีสานก็ปลูกพืชพลังงานได้ มากกว่าภาคอื่นๆ อาศัยบรรดาผู้ประกอบการเป็ นผู้ส่งเสริ ม โดยแบ่งแยกสัดส่วนให้ ชดั เจน ผู้ผลิต นา้ ตาลจะไม่เ กี่ ย วข้ อ งกับโรงงานผลิต เอทานอล การอาศัย ความร่ วมมื อจากทุกภาคส่วนนัน้ ต้ องจัดสัมมนาขึ ้น เพื่อระดมสมองและสรรพกาลังต่างๆ ทาการวิเคราะห์ค้นคว้ า วิจยั อันจะนาไปสู่ ผลทางการแก้ ไขที่มีทงประสิ ั้ ทธิภาพและประสิทธิผล จะเห็นได้ ว่าต้ องใช้ ทุนจากกระทรวงการคลังจานวนถึง 25,000 ล้ านบาท เพื่อลดต้ นทุน ด้ านผลผลิตอย่างเต็มที่ นอกจากนี ้ยังอาศัยความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ทางภาคเกษตร สร้ างความมัน่ ใจให้ แก่ประเทศที่เป็ นพันธมิตรทางการค้ า โดยยึดหลักความเป็ นธรรมกับทุกฝ่ าย ทังผู ้ ้ ที่รับผลประโยชน์และผู้ที่เสียผลประโยชน์


24

แม้ ในหลายประเทศทัว่ โลกจะตกอยู่ในสถานการณ์ที่ลาบาก โดยไม่สามารถจะคาดเดาได้ ว่าอนาคตข้ างหน้ านันจะเป็ ้ นอย่างไร แต่สาหรับประเทศไทยคงต้ องเปลี่ยนวิกฤตให้ เป็ นโอกาส เช่น ไม่ ค วรจ ากั ด การส่ ง ออก ไม่ บิ ด เบื อ นราคาตลาด แสวงหาพั น ธมิ ต รที่ เ ป็ นประเทศผู้ ผลิ ต ภาคการเกษตรเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และการตลาดซึ่งกันและกัน แม้ ว่าวิกฤตการณ์อาหารทาให้ เกษตรกรไทยได้ รับผลประโยชน์มากขึ ้นก็ตาม แต่ในขณะเดียวกันผลกระทบยังคงตกอยู่กบั คนจน ในเมือง เพราะยังคงต้ องจ่ายค่าอาหารในราคาที่สูงขึ ้นถึง 43% และในที่ประชุมสหประชาชาติ ว่า ด้ ว ยการค้ า และการพัฒ นา (อัง ค์ ถัด ) ที่ ก รุ ง อัก กรา สาธารณรั ฐ กานา ยัง แสดงความเห็ น เช่น เดี ย วกัน ว่า ในระยะยาวนัน้ การเจรจาเปิ ดตลาดการค้ า นับ เป็ นสิ่ ง ส าคัญ ที่ สุด ส่ง ผลให้ บรรดาเกษตรกรมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดีขึ ้น เพราะราคาพืชผลทางการเกษตรจะได้ ราคาดีตามผลผลิต ที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ ้น นับว่าเป็ นผลประโยชน์ที่ดีแก่ประเทศไทยทังสิ ้ ้น นับว่าเป็ นความโชคดีที่เป็ นประเทศส่งออกอาหารสุทธิที่สาคัญของโลก จึงได้ รับผลกระทบ จากวิกฤตการณ์อาหารน้ อยมากเมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศอื่นๆ อีกหลายประเทศ การบริ โภค ภายในประเทศจึ ง ไม่ ต้ อ งเผชิ ญ กับ ภาวะขาดแคลน และยัง ได้ รั บ อานิ ส งส์ จ ากราคาสิ น ค้ า ภาคเกษตรที่ สูง ขึน้ ด้ วย เพราะอาหารไม่ใช่เพี ยงโภคภัณฑ์ แต่อาหารเป็ นหัวใจของการอยู่รอด ของประชากรโลก ปั ญหาที่เกิดขึน้ ไม่ได้ เกิดขึ ้น ณ ที่หนึ่งที่ใด หากแต่กลายเป็ นปั ญหาใหญ่ทาง สังคม และการเมืองที่แผ่ขยายไปทัว่ โลก การพัฒนาอย่ างยั่งยืน สภาโลกว่าด้ วยสิ่ ง แวดล้ อมกับการพัฒ นาได้ ให้ ความหมายของการพัฒ นาแบบยั่ง ยื น ว่า “การพัฒนาแบบยัง่ ยืน หมายถึง การพัฒนาที่สนองตอบต่อความต้ องการของคนในรุ่นปั จจุบนั โดยไม่ก ระทบกระเทื อ นความสามารถของคนรุ่ น ต่อ ไปในการที่ จ ะสนองตอบความต้ อ งการ ของตนเอง” (Sustainable development is development which meets the needs of the present generation without compromising the ability of future generations to meet their own needs.) การพัฒนาแบบยัง่ ยืนตามความหมายดังกล่าวประกอบด้ วยแนวคิดอย่ างน้ อย 3 ประการ คือ ประการแรกเป็ นแนวคิดเกี่ยวกับความต้ องการของมนุษย์ ประการที่สองเป็ นแนวคิดเกี่ยวกับ ขีดจากัด และประการที่สามเป็ นแนวคิดเกี่ยวกับความยุตธิ รรมในสังคม


25

1. การพัฒนาแบบยัง่ ยืนคานึงถึงแนวคิดเกี่ยวกับความต้ องการของมนุษย์ซึ่งอาจเป็ น ความต้ องการพื ้นฐานในการดารงชีวิต เช่น อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค การมีงาน ทา และความต้ องการที่จะมีมาตรฐานความเป็ นอยู่ที่ดีกว่าเดิม ความต้ องการทัง้ 2 ประการนัน้ ล้ วนต้ องอาศัยการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม โดยทัว่ ไปคนรวยกับคนจน มีความต้ องการที่แตกต่างกัน แต่ทงคนรวยและคนจนก็ ั้ มีความต้ องการพื ้นฐานซึ่งเป็ นความจาเป็ น ในการด ารงชี วิ ต เหมื อ นๆกั น ไม่ แ ตกต่ า งกั น คนที่ ร่ ารวยกว่ า ย่ อ มต้ องการด ารงชี วิ ต อยู่ อย่ า งมี ม าตรฐานความเป็ นอยู่ ที่ สู ง มี สิ่ ง อ านวยความสะดวกสบายมากมาย นอกเหนื อ จากสิ่ ง ที่ จ าเป็ นต่อ การครองชี พ คนจนก็ เ ช่น เดี ย วกัน เมื่ อ ได้ รั บ การสนองตอบความต้ อ งการ ขัน้ พื น้ ฐานแล้ ว ก็ มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะพัฒ นาตนเองหรื อ ได้ รั บ การพัฒ นาให้ มี ม าตรฐานการด ารงชี วิ ต ที่สงู ขึ ้นกว่าขันความจ ้ าเป็ นพื ้นฐาน 2. เกี่ยวกับขีดจากัดของสิ่งแวดล้ อม สิ่งแวดล้ อมจะทาหน้ าที่อย่างน้ อย 2 ประการคือ 2.1 เป็ นผู้ให้ ทรัพยากรแก่กระบวนการพัฒนา 2.2 เป็ นที่รองรับของเสียจากกระบวนการพัฒนา ระบบสภาพแวดล้ อมมีขีดจากัด ในการให้ ทรัพยากร และมีขีดจากัดในการรองรับของเสีย ในกระบวนการพัฒ นาย่ อ มจะต้ อ งน าเอาทรั พ ยากรสิ่ ง แวดล้ อ มมาใช้ ป ระโยชน์ แ ละ เมื่อมีการพัฒนาจะต้ องมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมทางกายและชีวภาพเกิดขึ ้นมากบ้ างน้ อยบ้ าง แล้ วแต่ระดับเทคโนโลยีที่ใช้ แล้ วแต่อตั ราและปริ มาณการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อม แล้ ว แต่ค วามสามารถในการบริ ห ารจัด การกั บ ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อม ที่ อ าจเกิ ด ขึ น้ การพัฒ นาแบบยั่ง ยื น จะต้ อ งไม่ ก ระทบต่ อ ความสามารถของคนรุ่ น ต่ อ ๆไป ที่จะมาจัดใช้ ประโยชน์จะต้ องไม่เกินศักยภาพที่ระบบนิเวศนันจะท ้ าให้ งอกงามและฟื น้ ฟูขึ ้นมาใหม่ ได้ ไม่เกินขอบขีดความสามารถที่ระบบนิเวศจะรองรับได้ จะต้ องไม่เกินขีดสมดุลของธรรมชาติ 3. เกี่ยวกับความยุตธิ รรมในสังคมเพราะการพัฒนาโดยทัว่ ไปเป็ นการปรับปรุงเปลี่ยนให้ สภาพเศรษฐกิ จ และสังคมดีขึน้ มีคุณภาพชี วิตดีขึน้ แนวทางการพัฒนาแบบยั่ง ยืนมี หลักการ ใช้ ป ระโยชน์ ท รั พ ยากรในปริ ม าณเท่ า ที่ ฟื้น ฟู เ กิ ด ใหม่ ไ ด้ ค วามยั่ง ยื น นัน้ ไม่ อ าจมั่น คงอยู่ไ ด้


26

หากปราศจากนโยบายการพัฒนาที่คานึงถึงปั จจัยทางสังคม – วัฒนธรรมเข้ ามาพิจารณาด้ วย อาทิ โอกาสของการเข้ าถึ ง และได้ ใ ช้ ทรั พ ยากรอย่ า งเท่ า เที ย มกั น การกระจายการลงทุ น และผลประโยชน์ ต อบแทนที่ เ กิ ด ขึ น้ จากการพัฒ นาอย่ า งเหมาะสม การพัฒ นาแบบยั่ง ยื น จึงต้ องคานึงถึงหลักความยุติธรรมระหว่างชนรุ่ นปั จจุบนั กับชนรุ่ นต่อๆไป (Intergenerational Equity) และหลักการความยุตธิ รรมระหว่างชนรุ่นเดียวกัน (Intergenerational Equity) ตามหลั ก การความยุ ติ ธ รรมระหว่ า งชนรุ่ น ปั จจุ บัน กั บ ชนรุ่ น ต่ อ ไป ชนรุ่ น ปั จจุ บัน มี ภ าระหน้ าที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ คนรุ่ น ต่ อ ไปในการที่ จ ะต้ องมอบมรดกทา งธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อมในปริ มาณ และคุณภาพที่ไม่ด้อยไปกว่ายุคปั จจุบนั การทาลายความสุขสมบูรณ์ ของชนรุ่นหลังนับว่าเป็ นสิ่งที่ไม่ยตุ ธิ รรมอย่างยิ่ง ส่วนหลักความยุตธิ รรมระหว่างคนรุ่นเดียวกันจะต้ องมุ่งไปที่การแก้ ไขปั ญหาความยากจน และการสนองความต้ อ งการของประชากรผู้ย ากไร้ ด้ อ ยโอกาสเพื่ อ ลดความไม่ เ ท่า เที ย มกัน การที่จะให้ คนยากจนชื่นชมกับธรรมชาติรักษาสภาพแวดล้ อมทังๆที ้ ่ปากท้ องยังหิวอยู่เป็ นเรื่ องที่ ขัด ต่ อ ความรู้ สึ ก ฝื นต่ อ ความต้ องการตามธรรมชาติ เมื่ อ ใดที่ ส ามารถพั ฒ นาให้ หลุ ด พ้ น จากวงจรแห่งความชัว่ ร้ าย (โง่ เจ็บ จน) คนยากจนก็จะมีโอกาสใช้ ทรัพยากรและสภาพแวดล้ อมใน ลักษณะที่ยงั่ ยืนได้ การพัฒ นาแบบยั่ง ยื น สนับ สนุน ค่า นิ ย มที่ มี ก ารส่ง เสริ ม ให้ มี ม าตรฐานในการบริ โ ภค ทรัพยากรที่ไม่ฟุ่มเฟื อยที่อยู่ในขอบขีดความสามารถของระบบนิเวศที่จะรองรับได้ ตามคากล่าว ของมหาตมะคานธี ที่ ว่ า “โลกนี ม้ ี ท รั พ ยากรเพี ย งพอส าหรั บ สนองความต้ อ งการของมนุษ ย์ แต่มีไม่เพี ยงพอสาหรับความโลภของมนุษย์ ” มนุษย์ จึง ต้ องเปลี่ยนแปลงให้ มีค่านิยมแบบใหม่ เศรษฐศาสตร์ ที่เน้ นเรื่ อง “ยิ่งมากยิ่งดี” (The Economics of More and More) จะต้ องกลายเป็ น เศรษฐศาสตร์ ของความพอดี (The Economics of Enough) ซึ่ง ตรงกับหลักธรรมของ พระพุทธศาสนาในเรื่ อง มัตตัญญุตา คือ ความเป็ นผู้ร้ ูจกั ประมาณคือความพอเหมาะพอดี การพัฒนาแบบยัง่ ยืนจะต้ องคานึงถึงประโยชน์ของประชาชนเป็ นใหญ่หรื อมีประชาชน เป็ นศูน ย์ ก ลาง (People Centered Development) การพัฒ นาที่ มี ครอบครั ว เป็ นรากฐาน (Family – Based Development) เพราะประชาชนส่วนใหญ่ควรจะได้ รับผลการพัฒนาอย่างทัว่ ถึง


27

และเป็ นธรรม การพัฒนาจึงจะยัง่ ยืนโดยที่ครอบครัวและชุมชนเป็ นรากฐานที่สาคัญของสังคม จึงควรพัฒนาครอบครัวและชุมชนให้ มนั่ คงเพื่อให้ เกิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืน ลาพังการพัฒนาโดยรัฐบาลฝ่ ายเดียวโดยที่ประชาชนไม่มีส่วนร่ วมด้ วยจะไม่ทาให้ เกิด การพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดยที่ประชาชนเป็ นผู้รับผลประโยชน์ของการพัฒนา รู้ปัญหาและความต้ องการ ของตน การพัฒนาที่ยงั่ ยืนจึงต้ องส่งเสริ มการมีส่วนร่ วมของประชาชน (People Participation) และส่ ง เสริ ม บทบาทของภาคเอกชนในการพัฒ นาภาคเอกชนประกอบด้ ว ย องค์ ก รเอกชน (Non-Government Organization หรื อ NGO) องค์กรธุรกิจ (Business Organization) และ องค์กรประชาชน (People Organization) ดังนันภาครั ้ ฐบาลองค์กรเอกชนและองค์กรธุรกิจควรจะ ร่วมกันส่งเสริมองค์กรประชาชนให้ สามารถดาเนินงานอย่างเข้ มแข็งและมีประสิทธิภาพ การพั ฒ นาแบบยั่ ง ยื น จะต้ องเป็ นการพั ฒ นาที่ ส มดุ ล โดยมี ก ารพั ฒ นาที่ ส มดุ ล และผสมผสานในด้ า นต่า งๆไม่ จ าเป็ นต้ อ งพัฒ นาที่ เ น้ น หนัก ไปในด้ า นเศรษฐกิ จ จนเกิ น ไป เพราะลาพังการพัฒนาด้ านเศรษฐกิจและความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงด้ านเดียวไม่อาจ จะบรรลุถึงการพัฒนาแบบยั่ง ยืนได้ ไม่อาจจะรักษาคุณภาพของสิ่งแวดล้ อมและคุณภาพชีวิต ของประชาชนได้ จาเป็ นต้ องมีการพัฒนาด้ านอื่นควบคู่ไปด้ วย โดยเฉพาะการพัฒนาด้ านสังคม และการพัฒนาด้ านวัฒนธรรมและจิตใจ มี ผ้ ู กล่ า วว่ า สาเหตุ ที่ ส าคั ญ ของปั ญหาสิ่ ง แวดล้ อม คื อ พฤติ ก รรมของมนุ ษ ย์ (Human Behavior) เช่น การเห็นแก่ความสะดวกสบาย ความเห็นแก่ตัว ความเห็นแก่ไ ด้ การขาดความรั บผิ ดชอบ การขาดจิ ตที่ ส านึกต่อ ส่วนรวมจึง มี คากล่าวว่า “ตัวเราเองเป็ นศัต รู ที่ร้ายแรงที่สุดของเรา” (We are own worst enemy) เพื่อให้ เกิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืนจึงต้ อง มีการเร่งรัดการพัฒนาด้ านวัฒนธรรมและจิตใจเพื่อให้ เกิดความสมดุลระหว่างความเจริ ญก้ าวหน้ า ด้ านเศรษฐกิจและด้ านจิตใจเกิดความมัง่ คัง่ ทางจิตใจ (Spiritual Wealth) ให้ สมดุลกับความมัง่ คัง่ ทางวัตถุ (Material Wealth)


28

นโยบายการพัฒนาอย่ างยั่งยืน การพัฒ นาที่ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด ผลที่ ยั่ง ยื น ยาวนานจะต้ อ งไม่ ก่ อ ให้ เกิ ด ความเสื่ อ มโทรม แก่ คุ ณ ภาพของสิ่ ง แวดล้ อมและต้ องกระท าอย่ า งจริ ง จั ง การพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ ของสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมมีดงั นี ้ 1. การควบคุม การเพิ่ ม ประชากร การเพิ่ ม ประชากรท าให้ เกิ ด การใช้ ทรั พ ยากร อย่ า งกว้ า งขวางต้ อ งมี ก ารผลิ ต อาหารเพิ่ ม ขึ น้ ต้ อ งการที่ อ ยู่อ าศัย น า้ ดื่ ม น า้ ใช้ เ พิ่ ม ขึ น้ ฯลฯ ความต้ อ งการที่ เ พิ่ ม ขึ น้ เหล่ า นี ไ้ ด้ ก่ อ ให้ เกิ ด การร่ อ ยหรอขาดแคลนทรั พ ยากร เกิ ด สารพิ ษ ในสิ่งแวดล้ อม และทาให้ ธรรมชาติหรื อสิ่งแวดล้ อมขาดความสมดุลในที่สดุ การหยุดยังการเติ ้ บโต หรื อ การหยุดยัง้ การเพิ่ม ประชากรมนุษ ย์ จ ะช่ว ยลดความเสื่ อ มโทรมของสิ่ ง แวดล้ อม และลด ปริมาณการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติลง 2. การพื น้ ฟูส ภาพแวดล้ อม สภาพแวดล้ อมและทรั พ ยากรธรรมชาติที่อยู่ในสภาพ เสื่อมโทรม เช่น ป่ าไม้ แหล่งน ้า การพังทลายของหน้ าดินจะต้ องได้ รับการป้องกันมิให้ เกิดสภาพ เสื่อมโทรมขึ ้นต่อไปและจะต้ องฟื น้ ฟูพฒ ั นาปลูกป่ าขุดลอกหาแหล่งน ้าการใช้ ที่ดินเพื่อกิจการต่างๆ ต้ องเหมาะสมกับสภาพพื ้นที่ เป็ นต้ น 3. การป้องกันกาจัดสารพิษ สารพิษที่แพร่กระจายในอากาศแหล่งน ้าและที่อยู่ในวงจร อาหารจะต้ อ งก าจัด ออกไปโดยการป้ องกัน ควบคุม การใช้ ส ารพิ ษ เหล่ า นัน้ ทัง้ ในการเกษตร อุตสาหกรรม และในบ้ านเรื อน มีแหล่งรวบรวมจัดการและขจัดสารพิษเหล่านันมิ ้ ให้ แพร่ กระจาย ออกไป 4. การวางแผนการใช้ ที่ ดินและน า้ ที่ ดิน ที่ มี อ ยู่ทั่ว ประเทศทัง้ ในชนบทและในเมื อ ง จะต้ องมีการจัดสรรการใช้ ให้ เหมาะสมกับสมรรถนะของดินไม่ว่าจะเพื่อประโยชน์ทางเกษตรกรรม หรื ออุตสาหกรรมการใช้ เป็ นชุมชนที่อยู่อาศัยและการใช้ เพื่ อการสาธารณูปโภคจะต้ องเป็ นไป อย่างสอดคล้ องเหมาะสม และให้ ประโยชน์สูง สุดนา้ ที่ ใช้ ทัง้ เพื่ อการเกษตรอุตสาหกรรมและ อุปโภคจะต้ องมีการวางแผนการใช้ ให้ เกิ ดความเป็ นธรรมพอเหมาะแก่ฤดูกาล และเหมาะกับ


29

วัต ถุ ป ระสงค์ ข องการใช้ ทัง้ ป้ องกัน มิ ใ ห้ มี ก ารแพร่ ก ระจายสารพิ ษ หรื อ ป้ องกั น น า้ เสี ย มิ ใ ห้ แพร่กระจายไปสูแ่ หล่งน ้าธรรมชาติ 5. การประหยัดการใช้ ทรัพยากร การใช้ ทรัพยากรทุกชนิดไม่ว่าจะเป็ นน ้า ไฟฟ้าหรื อ พลังงานอื่นๆ การกินและการใช้ เครื่ องใช้ ในชีวิตประจาวันทุกชนิดจะต้ องเป็ นไปอย่างประหยัด และใช้ ประโยชน์ให้ ได้ นานคุ้มค่ามากที่สดุ 6. การพัฒ นาเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสม เทคโนโลยี ที่ จ ะน ามาใช้ ทัง้ ในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การสื่อสารคมนาคม และในครัวเรื อนจะต้ องเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและไม่ส่งผล กระทบต่อคุณ ภาพสิ่ งแวดล้ อมทัง้ จะต้ องมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิ ภ าพในการแก้ ไ ข และฟื น้ ฟูสภาพแวดล้ อมได้ ด้วย 7. ค่ า นิ ย มและวั ฒ นธรรมที่ เ หมาะสม ค่ า นิ ย มและวั ฒ นธรรมที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การดารงชีวิตและการใช้ ปัจจัยในการดารงชีวิตจะต้ องเป็ นไปอย่างพอเหมาะกับกาลังการผลิต ที่เ กิ ดขึน้ ในระบบนิเ วศ การโฆษณาประชาสัม พันธ์ ที่ก่อให้ เกิ ดค่านิยมฟุ่ มเฟื อยควรถื อว่าเป็ น การมุง่ ทาลายการดารงอยูข่ องมนุษยชาติโดยส่วนรวม 8. การควบคุมอาวุธสงคราม อาวุธที่ใช้ ทาสงครามและเพื่อประโยชน์ในการทาลายล้ าง จะต้ อ งถู ก ควบคุม จ ากั ด การสร้ าง การใช้ และการซื อ้ ขายกัน เพื่ อ ป้ องกั น การข่ ม ขู่รุ ก ราน การได้ เปรี ยบในการใช้ ทรัพยากรและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมที่เกิดขึ ้นจากการใช้ อาวุธสงคราม เหล่านัน้ 9. การให้ การศึ ก ษา การให้ การศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สิ่ ง แวดล้ อมทรั พ ยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี หรื อวิชาการด้ านอื่นๆ จะต้ องผสมผสานกันอย่างถูกต้ อง และเป็ นไปเพื่อการดารงชีวิตที่มีคณ ุ ภาพก่อให้ เกิดสติปัญญา ก่อให้ เกิดความรู้ความเข้ าใจในชีวิต และธรรมชาติโดยรอบตัวอย่างถ่องแท้ และก่อให้ เกิดทักษะที่จาเป็ นแก่การดารงชีวิตที่แท้ จริง


30

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็ นที่จะต้ อง มี ร ะบบภู มิ ค้ ุม กัน ในตัว ที่ ดี พ อสมควรต่อ การมี ผ ลกระทบใดๆ อัน เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลง ทังภายนอกและภายใน ้ ทังนี ้ ้จะต้ องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกัน จะต้ องเสริมสร้ างพื ้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้ าหน้ าที่ ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจ ในทุกระดับให้ มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สจุ ริ ตและให้ มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชี วิต ด้ วยความอดทน ความเพี ย ร มี ส ติ ปั ญญา และความรอบคอบ เพื่ อ ให้ สมดุ ล และพร้ อม ต่อ การรองรั บ การเปลี่ ย นแปลงอย่า งรวดเร็ ว และกว้ า งขวาง ทัง้ ด้ า นวัต ถุ สัง คม สิ่ง แวดล้ อ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็ นอย่างดี หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพั ฒ นาตามหลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง คื อ การพั ฒ นาที่ ตั ง้ อยู่ บ นพื น้ ฐานของ ทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึง ถึง ความพอประมาณ ความมี เหตุผล การสร้ าง ภูมิ ค้ ุม กัน ที่ ดี ใ นตัว ตลอดจนใช้ ค วามรู้ ความรอบคอบ และคุณ ธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี ้ 1. กรอบแนวคิ ด เป็ นปรั ชญาที่ ชี แ้ นะแนวทาง การด ารง อยู่ แ ละปฏิ บั ติ ต น ในทางที่ควรจะเป็ นโดยมีพื ้นฐานมาจากวิถีชีวิตดังเดิ ้ มของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ ได้ ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้ นการรอดพ้ น จากภัย และวิกฤตเพื่อความมัน่ คง และความยัง่ ยืนของการพัฒนา 2. คุณ ลัก ษณะ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งสามารถน ามาประยุก ต์ ใ ช้ กับ การปฏิ บัติ ต นได้ ในทุกระดับ โดยเน้ นการปฏิบตั บิ นทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขันตอน ้ 3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้ องประกอบด้ วย 3 คุณลักษณะ พร้ อมๆกัน ดังนี ้


31

3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไ ม่น้อยเกิ นไปและไม่ม ากเกิ นไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ 3.2 ความมีเ หตุผ ล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ ยวกับระดับของความพอเพี ยงนัน้ จะต้ องเป็ นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้ อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่า จะเกิดขึ ้นจากการกระทานันๆอย่ ้ างรอบคอบ 3.3 การมีภูมิค้ มุ กันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้ พร้ อมรับผลกระทบและ การเปลี่ ย นแปลงด้ า นต่า งๆที่ จ ะเกิ ด ขึน้ โดยค านึ ง ถึ ง ความเป็ นไปได้ ข องสถานการณ์ ต่า งๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ ้นในอนาคตทังใกล้ ้ และไกล เงื่อนไขการตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆให้ อยูใ่ นระดับพอเพียงนัน้ ต้ องอาศัยทัง้ ความรู้ และคุณธรรมเป็ นพื ้นฐาน กล่าวคือ 1. เงื่ อ นไขความรู้ ประกอบด้ วย ความรอบรู้ เกี่ ย วกั บ วิ ช าการต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อง อย่างรอบด้ าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้ เหล่านัน้ มาพิจารณาให้ เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ การวางแผน และความระมัดระวังในขันปฏิ ้ บตั ิ 2. เงื่ อนไขคุณ ธรรม ที่ จ ะต้ อ งเสริ ม สร้ างประกอบด้ ว ย มี ความตระหนักในคุณ ธรรม ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ความอดทน ความเพี ย ร และใช้ สติ ปั ญญาในการด าเนิ น ชี วิ ต แนวทางปฏิ บัติ ห รื อ ผลที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ จากการน าปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง มาประยุก ต์ ใ ช้ คื อ การพัฒ นาที่ ส มดุล และยั่ง ยื น พร้ อมรั บ ต่อ การเปลี่ ย นแปลงในทุก ด้ า น ทังด้ ้ านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้ อม ความรู้และเทคโนโลยี แนวทางการประยุกต์ ใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล ระดับชุมชน และระดับประเทศ มีแนวทางดังนี ้


32

1. ระดับบุคคล 1.1 รู้จกั “พอ” ไม่เบียดเบียนผู้อื่น 1.2 พยายามพัฒนาทักษะ ความรู้ ความเข้ มแข็งของตนเอง 1.3 ยึดทางสายกลาง พอใจกับชีวิตที่พอเพียง 2. ระดับชุมชน 2.1 รวมกลุม่ ใช้ ภมู ิปัญญาของชุมชน 2.2 เอื ้อเฟื อ้ กัน 2.3 พัฒนาเครื อข่ายความร่วมมือ 3. ระดับประเทศ 3.1 ชุมชนร่วมมือกัน 3.2 วางระบบเศรษฐกิจแบบพึง่ ตนเอง 3.3 พัฒนาเศรษฐกิจแบบค่อยเป็ นค่อยไป 3.4 เติบโตจากข้ างใน แนวทางการปฏิบัตติ ามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1. แนวทางการปฏิบตั ติ ามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีดงั นี ้


33

1.1 ยึดหลักสามพอ พออยู่ พอกิน พอใช้ 1.2 ประหยัด 1.3 ประกอบอาชีพสุจริต 1.4 เน้ นหาข้ าวหาปลาก่อนหาเงินหาทอง 1.5 ทามาหากินก่อน ทามาค้ าขาย 1.6 ใช้ ภมู ิปัญญาพื ้นบ้ าน ที่ดนิ คืนทุนสังคม 1.7 ตังสติ ้ มนั่ คง ทางานอย่างรู้ตวั ไม่ประมาท 1.8 ใช้ ปัญญา ใช้ ความรู้แท้ 1.9 รักษาสุขภาพให้ แข็งแรงทังกายและใจ ้ 2. แนวทางการประกอบอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.1 ทางานอย่างผู้ร้ ู ใช้ ปัญญาทางานอย่างมืออาชีพ 2.2 อดทนมุง่ มัน่ ยึดธรรมะและความถูกต้ อง 2.3 อ่อนน้ อมถ่อมตน เรี ยบง่าย ประหยัด 2.4 มุง่ ประโยชน์ของคนส่วนใหญ่เป็ นสาคัญ 2.5 รับฟั งความคิดเห็นของผู้อื่น


34

2.6 ตังใจ ้ ขยันหมัน่ เพียร 2.7 สุจริต กตัญญู 2.8 พึง่ ตนเอง ส่งเสริมคนดี และคนเก่ง 2.9 รักประชาชน (ผู้รับบริการ) 2.10 เอื ้อเฟื อ้ ซึง่ กันและกัน สรุ ป ได้ ว่ า ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมี ค วามส าคัญ อย่ า งมากในการพัฒ นาคนได้ ทั ง้ การพั ฒ นาระดับ บุ ค คล ระดับ ชุ ม ชน และระดับ ประเทศชาติ โดยยึ ด หลั ก 3 ห่ ว ง คื อ ความพอประมาณ ความมี เ หตุ ผ ล และการมี ภู มิ ค้ ุม กั น ที่ ดี 2 เงื่ อ นไข คื อ เงื่ อ นไขความรู้ และเงื่ อ นไขคุ ณ ธรรม ซึ่ ง ถ้ าน าไปปฏิ บัติ อ ย่ า งจริ ง จัง แล้ วทุ ก คนในชาติ ห รื อ ในระดับ โลก จะเป็ นบุ ค คลที่ มี จิ ต สาธารณะที่ ม องเห็ น ประโยชน์ ต่ อ ส่ ว นรวมเป็ นที่ ตัง้ และจะน ามาซึ่ ง ความสงบสุขของคนในสังคม ที่มาและความสาคัญหลักการพึ่งพาตนเอง คณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ การประสานงานโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ (2554: 12) ได้ กล่าวถึงที่มาและความสาคัญของการพึง่ พาตนเอง ดังนี ้ การพึ่ ง พาตนเองได้ ข องประชาชนในภาคเกษตรนับ เป็ นเรื่ อ งที่ ส าคัญ ยิ่ ง เกษตรกร จะมีงานทา มีรายได้ และสามารถพึ่งพาตนเองได้ ในระยะยาวตามหลักการ “ทฤษฎีใหม่” ซึ่งเป็ น การทาการเกษตรที่มี กิจ กรรมหลากหลาย สามารถปรับตัวและยื ดหยุ่นได้ ตามสภาพแวดล้ อม ที่เหมาะสมในแต่ละพืน้ ที่ เป็ นแนวพระราชดาริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวที่พระราชทาน เป็ นแนวคิด และแนวทางในการดารงชี วิต โดยเป็ นแนวทางดาเนินการที่นาไปสู่ความสามารถ ในการพึง่ ตนเองในระดับต่างๆ อย่างเป็ นขันเป็ ้ นตอน บนพื ้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อลด ความเสี่ ย งในการเปลี่ ย นแปลงของปั จ จัย ต่า งๆ และความผัน แปรของธรรมชาติ ทฤษฎี ใ หม่ เป็ นระบบความคิ ด เกี่ ย วกับ กระบวนการพัฒ นาที่ ไ ม่ เ คยมี ผ้ ูใ ดคิ ด มาก่ อ นและแตกต่า งจาก


35

แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการที่เคยมีมาก่อนทังสิ ้ ้น พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ได้ พระราชดารัสไว้ ดังนี ้ “ฉะนันจึ ้ งทาทฤษฎีใหม่เพื่อที่จะให้ ประชาชนมีโอกาสทาการเกษตรกรรมให้ พอกิน ถ้ าน ้ามี พอดี ใ นปี ไหนก็ จ ะสามารถที่ จ ะประกอบการเกษตร หรื อ ปลูก ข้ า วที่ เ รี ย กว่า นาปี ได้ ถ้ า ต่อ ไป ในหน้ าแล้ ง น ้ามีน้อยก็สามารถที่จะใช้ น ้า ที่กกั ไว้ ในสระเก็บน ้าในแต่ละแปลงมาทาการเพาะปลูก แม้ แต่ข้าวก็ยงั ปลูกได้ ไม่ต้องไปเบียดเบียนชลประทานระบบใหญ่เพราะมีของตัวเอง แต่ก็อาจจะ ปลูกผักหรื อเลี ย้ งปลา หรื อทาอะไรอื่ นๆก็ ไ ด้ ทฤษฎี ใหม่นีม้ ี ไ ว้ ส าหรั บ ป้องกันความขาดแคลน ในยามปกติก็จะทาให้ ร่ ารวยมากขึน้ ในยามที่มีอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื ้นตัวได้ เร็ ว โดยไม่ต้อง ให้ ราชการไปช่วยมากเกินไป ถ้ าประชาชนมีโอกาสพึง่ ตนเองได้ อย่างดี” วิทยา อธิปอนันต์และคณะ (2543: 5) ได้ อธิบายถึงที่มาและความสาคัญของหลักการ พึง่ พาตนเอง ซึง่ สอดคล้ องกับที่มาและความสาคัญข้ างต้ นว่าหลักการพึ่งพาตนเองนันเนื ้ ่องมาจาก แนวพระราชดารั สของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ทรงต้ องการให้ เกษตรกรไทยเน้ นการพึ่งพา ตนเอง โดยเกษตรกรจะใช้ ความรู้ความสามารถ ในการบริหารจัดการที่ดิน โดยเฉพาะแหล่งน ้าและ กิจกรรมการเกษตรได้ อย่างเหมาะสม สอดคล้ องกับสภาพพื ้นที่ และความต้ องการของเกษตรกร เอง ด้ วยการนาเรื่ องทฤษฏีใหม่เข้ ามาเป็ นพื ้นฐานในการพึ่งพาตนเอง โดยนาฐานการผลิตความ พอเพี ยงมาปรั บใช้ ในไร่ นาของตนเอง โดยเริ่ มจากการผลิตจะต้ อง ทาในลักษณะพึ่งพาอาศัย ทรั พ ยากรในไร่ นาและทรั พ ยากรธรรมชาติเป็ นส่วนใหญ่ ให้ มี ความหลากหลายของกิ จ กรรม การเกษตรในไร่ นา มี กิจ กรรมเกื อ้ กูลกัน กิ จกรรมเสริ ม รายได้ ใช้ แรงงานในครอบครั ว ทางาน อย่ า งเต็ ม ที่ ลดต้ น ทุ น ในการผลิ ต ตลอดจนการผสมผสานกิ จ กรรมการปลู ก พื ช เลี ย้ งสัต ว์ และประมง ในไร่นาให้ เกิดประโยชน์สงู สุด ลินด์ซีย์ ฟาลวีย์ (2549: 339 – 341) ได้ กล่าวถึงที่มาและความสาคัญของหลักการพึ่งพา ตนเองซึ่งคล้ ายคลึงกับที่มาและความสาคัญข้ างต้ นว่า สิ่งที่เรี ยกว่าแนวเกษตรทางเลือกนัน้ คือ ทางเลือกที่ตา่ งไปจากหลักการทัว่ ไปของนักวิทยาศาสตร์ การเกษตร เกษตรกรรายย่อยซึ่งครัง้ หนึ่ง รู้ จกั หรื อปฏิบตั ิเทคนิคต่างๆเหล่านี ้ และปั จจุบนั นีผ้ ้ เู ชี่ยวชาญนามาจัดแจงใหม่ เทคนิคดังกล่าว สามารถให้ ผลผลิตสูงกว่าโดยใช้ ปัจจัยการผลิตจากภายนอกน้ อย ซึ่งช่วยให้ เกษตรกรรายย่อย สามารถมี ส่ว นร่ ว มในเกษตรเชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ สามารถทาให้ เ กิ ด คุณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ก ว่า ในระบบ


36

การผลิตแบบพึ่งตนเอง สิ่ งสาคัญในการพิจ ารณาเกษตรทางเลือกนี ้ ทาให้ เกษตรกรรายย่อ ยมี โอกาสมากขึ ้น โอกาสทางเลือกผลผลิตที่ดี และการเข้ าถึงโครงการพื ้นฐานทางสังคมเป็ นสิ่งสาคัญ ในการลงทุนชนบท ซึง่ ทาให้ เกิดการพัฒนาที่แท้ จริงและสร้ างความมัน่ คงทางการเมืองของประเทศ โดยทางเลื อ กที่ แ ตกต่ า งไปจากการเกษตรเชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ น ามาพิ จ ารณาในกรอบบริ บท ของศาสนา และด้ านสัง คมรวมทัง้ ความเป็ นมาในบทต่อไป บทสรุ ปเกี่ ยวกับระบบที่ นามาใช้ ในประเทศไทยได้ กล่าวถึงตอนนี ้ ให้ เห็นผลกระทบต่อการเกษตรรายย่อย ระบบเกษตรที่ใช้ ปัจจัย การผลิตต่าและคานึงถึงระบบนิเวศวิทยาของการผลิตอาหาร ซึ่งคานึงถึงความสาคัญของคุณค่า ของมนุษ ย์ รวมทัง้ การพึ่ ง ตนเอง และวิ ถี ชี วิ ต ที่ ถูก สุข ลัก ษณะรวมทัง้ โภชนาการ ในขณะที่ สร้ างรายได้ ให้ เกษตรกร ถูกนาเข้ าจากต่างประเทศในหลายๆรูปแบบ วัฒนเกษตร (Permaculture) ยังคงเป็ นระบบที่ไม่ค่อยเข้ าใจว่าแตกต่างจากระบบเกษตร ผสมผสานและยากที่ จ ะแยกออกของไทย ในขณะที่ ร ะบบเกษตรผสมผสานพื ช - สัต ว์ น า้ ซึ่งใช้ สารเคมีน้อย ได้ รับความสนใจจากเกษตรกรและนักส่งเสริ มของไทย เช่นเดียวกับแนวคิด ของระบบการทาฟาร์ มอินทรี ย์ การทาฟาร์ มอินทรี ย์ต้องการทักษะการจัดการและการตลาดรวมทัง้ ทุน ทาให้ ระบบนี ้ยังไม่แพร่หลายในประเทศไทย เมื่อเทียบกับประเทศอื่น อาทิ ญี่ปนุ่ ระบบการผลิ ต เพื่ อ ครอบครั ว ซึ่ ง ปราศจากปั จจั ย การผลิ ต ภายนอก อั น พิ จ ารณา หลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสืบเนื่องจากปรัชญาของความพอเพียงนัน้ ได้ เน้ นวิธีการใช้ พืน้ ที่ดิน ของเกษตรกรรายย่อย ความร่ วมมือกันในการเจรจาต่อรอง การร่วมกันใช้ เงินทุน และการต่อรอง กับกลุ่มภายนอก รวมทังเจ้ ้ าหน้ าที่ของทางรัฐบาลและผลประโยชน์ทางการค้ า รวมเป็ นส่วนหนึ่ง ของแนวทางดัง กล่ า ว พระราชด าริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่หัว ที่ ก ล่ า วว่ า การป่ าไม้ แบบชาวบ้ านมีส่วนร่ วมเป็ นวิธีเดียวที่จะช่วยให้ มีคนประสบความสาเร็ จ ช่วยให้ แง่คิดทางสังคม ในการเกษตรที่ถกู ลืมได้ รับการยอมรับอย่างเด่นชัด ผู้ที่นา่ เป็ นห่วงในเชิงความคิดนี ้อยู่ในกลุ่มธุรกิจ การเกษตรและข้ าราชการ การพึง่ พาตนเองเป็ นหลักการสาคัญของการเกษตรไทยเสมอมาในระดับเกษตรกรรายย่อย และคงเป็ นเช่นนี ต้ ่อไป หลักการนีอ้ าจได้ รับทุนสนับสนุนมากขึน้ เพื่อขยายความคิดไปสู่สัง คม แนวกว้ าง หากพิจารณาในเชิงปรัชญาชีวิต หลักการนี ้น่านับถือตลอดกาล สาหรับภาคเกษตรนัน้ หลักการนี ไ้ ม่เ พี ยงแต่เ หมาะแก่กาล แต่ยัง ให้ การพิจารณาอย่างสมเหตุสมผลแก่ระบบเกษตร


37

รายย่อยแบบดังเดิ ้ ม ในยุควัตถุนิยมหลักการนีอ้ าจถูกตีค่าต่า เว้ นแต่ผ้ ูนับถื อจะได้ แสดงให้ เห็น ประโยชน์อย่างกว้ างขวาง ดังเช่นได้ มงุ่ มัน่ ในประเทศไทย หลักการนี ้ได้ รับความนิยมในระดับสากล เพราะเชื่ อ ว่ า วิ ธี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไขแบบระบบเกษตรกรรายย่ อ ยเป็ นทางออกให้ กั บ เกษตร เชิ ง พาณิ ช ย์ ความเชื่ อ มโยงระหว่ า งเกษตรสองระบบจะช่ ว ยให้ ระบบเกษตรรายย่ อ ยลด การถูกผลักดันออกชายขอบ หลักการพึ่งพาตนเอง คณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ การประสานงานโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ (2554: 21) ได้ ให้ หลักการพึง่ พาตนเองตามแนวพระราชดาริ ดังนี ้ 1. ด้ านจิ ตใจ ทาตนให้ เป็ นที่ พึ่ง ตนเอง มีจิ ตส านึกที่ ดี สร้ างสรรค์ให้ ตนเองและชาติ โดยรวม มีจิตใจเอื ้ออาทร ประนีประนอม เห็นประโยชน์สว่ นรวมเป็ นสาคัญ 2. ด้ านสังคม แต่ละชุมชนต้ องช่วยเหลือเกื ้อกูลกัน เชื่อมโยงเครื อข่ายชุมชนให้ แข็งแรง และเป็ นอิสระ 3. ด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม ให้ ใช้ และจัดการอย่างชาญฉลาด พร้ อมทัง้ หาทางเพิ่มมูลค่าอยูบ่ นพื ้นฐานของความยัง่ ยืน 4. ด้ านเทคโนโลยี สภาพแวดล้ อมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว เทคโนโลยีใหม่ที่เข้ า มามีทงดี ั ้ และไม่ดี จึงต้ องรู้จกั แยกแยะบนพื ้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้ านและเลือกใช้ ให้ สอดคล้ อง กับความต้ องการตามสภาพแวดล้ อม และควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญา 5. ด้ านเศรษฐกิจ เดิมนักพัฒนามุ่งที่จะเพิ่มรายได้ และไม่ม่งุ ที่จะลดรายจ่ายในภาวะ เศรษฐกิจเช่นเวลานี ้ จึงต้ องปรับทิศทางการพัฒนาใหม่ คือ ต้ องมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็ นสาคัญ โดยยึดหลักพออยูพ่ อกิน


38

วิทยา อธิ ปอนันต์ และคณะ (2543: 8-9) ได้ ให้ หลักการพึ่งพาตนเอง 5 ประการ ซึง่ สอดคล้ องกับหลักการข้ างต้ น ดังนี ้ 1. ความพอดีด้านจิตใจ ประกอบด้ วย 1.1 มีจิตใจเข้ มแข็งพึง่ ตนเองได้ 1.2 มีจิตสานึกที่ดี 1.3 มองโลกอย่างสร้ างสรรค์ 1.4 เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ 1.5 ประนีประนอม 1.6 นึกถึงผลประโยชน์สว่ นรวมเป็ นที่ตงั ้ 2. ความพอดีด้านสังคม ประกอบด้ วย 2.1 ช่วยเหลือเกื ้อกูลกัน 2.2 เชื่อมโยงเครื อข่าย 2.3 สร้ างความเข้ มแข็งให้ ครอบครัวและชุมชน 2.4 รู้รักสามัคคี 3. ความพอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม ประกอบด้ วย


39

3.1 รู้จกั ใช้ และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ 3.2 เลือกใช้ ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้ เกิดความยัง่ ยืนสูงสุด 3.3 ระวังไม่ให้ กิจกรรมกระทบสิ่งแวดล้ อม - ขยะ 3.4 น ้าเน่าเสีย ฯลฯ 3.5 ฟื น้ ฟูพฒ ั นาทรัพยากร 4. ความพอดีด้านเทคโนโลยี ประกอบด้ วย 4.1 รู้จกั ใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้ องต่อความต้ องการ และสภาพแวดล้ อม 4.2 พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้ านก่อน 4.3 ก่อให้ เกิดประโยชน์กบั คนหมูม่ าก 5. ความพอดีด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้ วย 5.1 มุง่ ลดรายจ่าย 5.2 ยึดหลักพออยูพ่ อกินพอใช้ 5.3 ไม่ใช้ จา่ ยเกินตัวเกินฐานะที่หามาได้ 5.4 หารายได้ เพิ่มอย่างค่อยเป็ นค่อยไป 5.5 หลีกเลี่ยงการก่อหนี ้โดยไม่มีผลตอบแทนที่ค้ มุ ค่า


40

5.6 บริหารความเสี่ยงอย่างเข้ มงวด ทังนี ้ ้การประยุกต์ใช้ แนวทางพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียงจะประสบผลสาเร็ จได้ จะต้ อง ปฏิบตั ติ ามขันตอนต่ ้ างๆ 3 ขันตอน ้ คือ 1. การพึ่งตนเอง คือ ประชาชนแต่ละคนต้ องเข้ าใจในหลักการของแนวทางดังกล่า ว ประพฤติปฏิบตั ไิ ด้ 2. การพึ่ง พากันเอง กล่าวคือ เมื่ อทุกคนปฏิ บัติตามแนวทางเศรษฐกิ จ พอเพี ยงแล้ ว ต้ องมารวมกันเป็ นกลุม่ เป็ นองค์กร เป็ นชุมชนเพื่อก้ าวเข้ าสูข่ นตอน ั้ 3. การเติบโตอย่างมัน่ คงสมบูรณ์ มูลนิธิชัยพัฒนา (2547: 1-3) ได้ ให้ หลักการพึ่งพาตนเองซึ่งสอดคล้ องกันกับหลักการ ข้ า งต้ น ว่า หลัก การพึ่ ง พาตนเองนัน้ หัน กลับ มายึด เส้ น ทางสายกลาง (มัช ฌิ ม าปฏิ ป ทา) ในการดารงชีวิตให้ สามารถพึง่ ตนเองได้ โดยใช้ หลักการพึง่ ตนเอง 5 ประการคือ 1. ด้ านจิ ตใจ ตนให้ เ ป็ นที่ พึ่ง ของตนเองมี จิ ตใจที่ เข้ ม แข็ง มี จิ ตส านึก ที่ ดี สร้ างสรรค์ ให้ ตนเองและชาติ มี จิ ต ใจเอื อ้ อาทร ประนี ป ระนอม ซื่ อ สัต ย์ สุจ ริ ต เห็ น ประโยชน์ ส่ ว นรวม เป็ นที่ตงั ้ ดังกระแสพระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั เกี่ยวกับการพัฒนาคนความว่า “บุคคลต้ องมี รากฐานทางจิตใจที่ ดี คือ ความหนักแน่นมั่นคงในสุจ ริ ตธรรมและความ มุ่งมัน่ ที่จะปฏิบตั ิหน้ าที่ให้ จนสาเร็ จ ทังต้ ้ องมีกุศโลบายหรื อวิธีการอันแยบยลในการปฏิบตั ิงาน ประกอบพร้ อมด้ วย จึงจะสัมฤทธิ์ผลแน่นอนและบังเกิดประโยชน์อนั ยัง่ ยืนแก่ตนเองและแผ่นดิน” 2. ด้ านสัง คม แต่ละชุมชนต้ องช่วยเหลือเกื อ้ กูล กันเชื่ อมโยงกันเป็ นเครื อข่ายชุม ชน ที่แข็งแรงเป็ นอิสระ ดังกระแสพระราชดารัสความว่า “เพื่อให้ งานรุดหน้ าไปพร้ อมเพรี ยงกันไม่ลดหลัน่ จึงขอให้ ทกุ คนพยายามทางานในหน้ าที่ อย่างเต็มที่ และให้ มีการประชาสัมพันธ์กนั ให้ ดีเพื่อให้ งานทังหมดเป็ ้ นงานที่เกื ้อหนุนสนับสนุนกัน”


41

3. ด้ านทรั พ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ ใช้ แ ละจัดการอย่างฉลาดพร้ อมทัง้ การเพิ่มมูลค่า โดยให้ ยึดหลักการของความยัง่ ยืนและเกิดประโยชน์สงู สุด ดังกระแสพระราชดารัส ความว่า “ถ้ ารักษาสิ่งแวดล้ อมให้ เหมาะสมนึกว่าอยู่ได้ อีกหลายร้ อยปี ถึงเวลานันลู ้ กหลานของเรา ก็อาจหาวิธีแก้ ปัญหาต่อไปเป็ นเรื่ องของเขาไม่ใช่เรื่ องของเรา แต่เราก็ทาได้ ได้ รักษาสิ่งแวดล้ อม ไว้ ให้ พอสมควร” 4. ด้ านเทคโนโลยี จากสภาพแวดล้ อมที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ วเทคโนโลยีเข้ ามาใหม่มีทงั ้ ดีและไม่ดีจึง ต้ องแยกแยะบนพื น้ ฐานของภูมิ ปัญญาชาวบ้ านและเลื อกใช้ เฉพาะที่ สอดคล้ อ ง กับ ความต้ อ งการของสภาพแวดล้ อ มภู มิ ป ระเทศสัง คมไทยและควรพัฒ นาเทคโนโลยี จ าก ภูมิปัญญา ดังกระแสพระราชดารัสความว่า “การเสริ มสร้ าง สิ่ ง ที่ ช าวบ้ านชาวชนบทขาดแคลน และต้ องการคื อ ความรู้ ในด้ านเกษตรกรรมโดยใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็ นสิ่งที่เหมาะสม” “การใช้ เ ทคโนโลยี อ ย่างใหญ่ โ ตเต็ม รู ป หรื อ เต็ม ขนาดในงานอาชี พ หลัก ของประเทศ ย่อมจะมีปัญหา” 5. ด้ านเศรษฐกิ จ แต่ เ ดิ ม นั ก พั ฒ นามั ก มุ่ ง ที่ ก ารเพิ่ ม รายได้ และไม่ มี ก ารมุ่ ง ที่การลดรายจ่ายในเวลาเช่นนีจ้ ะต้ องปรับทิศทางใหม่ คือจะต้ องมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็ นสาคัญ และยึ ด หลัก พออยู่ พ อกิ น พอใช้ และสามารถอยู่ ไ ด้ ด้ ว ยตนเองในระดับ เบื อ้ งต้ น ดัง กระแส พระราชดารัสความว่า “การที่ต้องการให้ ทุกคนพยายามที่จ ะหาความรู้ และสร้ างตนเองให้ มั่นคงนีเ้ พื่อตนเอง เพื่อที่จะให้ ตวั เองมีความเป็ นอยู่ที่ก้าวหน้ าที่มีความสุขพอมีพอกินเป็ นขันหนึ ้ ่งและขันต่ ้ อไปก็คือ ให้ มีเกียรติวา่ ยืนได้ ด้วยตนเอง” “หากพวกเราร่วมมือร่วมใจกันทาสักเศษหนึ่งส่วนสี่ประเทศชาติของเรา ก็สามารถรอดพ้ น จากวิกฤตได้ ”


42

แนวคิดการควบคุมภายใน ในการประกอบธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็ นกิจการประเภทหรื อขนาดใดก็ตาม ผู้ประกอบการย่อม ที่จะมุง่ หวังที่จะให้ กิจการบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายที่ตงไว้ ั ้ และมีความเติบโตอย่างต่อเนื่อง ความเสี่ ยงภัยหรื อโอกาสที่ กิจ การจะประสบกับสิ่ง ที่ ไม่พึง ปรารถนา อาจจะเกิ ดขึน้ ได้ ทุกเวลา ผู้บริ หารหรื อเจ้ าของกิจการจึงต้ องพยายามที่จะหลีกเลี่ยงหรื อลดระดับความเสี่ย งภัยลงให้ น้อย ที่สดุ เท่าที่จะสามารถทาได้ กิจการขนาดเล็กที่มีกิจกรรมการดาเนินงานไม่มากนัก เจ้ าของหรื อผู้บริ หารอาจดาเนิน กิจการนันด้ ้ วยตนเองเพียงคนเดียวก็สามารถควบคุมดูแลได้ อย่างทัว่ ถึง และสามารถบริ หารงาน ทุก อย่า งให้ เ ป็ นไปตามเป้าหมายและนโยบายที่ ก าหนดไว้ แต่เ มื่ อเศรษฐกิ จ ขยายตัว ออกไป ขนาดของกิจการก็ขยายตัวตามไปด้ วย ภาระหน้ าที่และความรับผิดชอบในการดาเนินธุรกิจนันๆ ้ ก็ มี ม ากขึ น้ เป็ นเงาตามตัว จนถึ ง จุด ใดจุด หนึ่ง ที่ บุค คลใดบุค คลหนึ่ง เพี ย งผู้เ ดี ย วไม่ ส ามารถ ที่จะควบคุม หรื อบริ หารกิจการนันได้ ้ อย่างมีประสิทธิภาพตรงตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ กิ จการ จึงจาเป็ นต้ องสร้ างระบบขึ ้นมาช่วยในการควบคุมภายในแทนการพึ่งพาตัวบุคคล เพื่อให้ กิจการ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่ได้ กาหนดไว้ ความหมายของการควบคุมภายใน สุชาย ยังประสิทธ์ กุล (2555: 1) ได้ ให้ ความหมายว่า การควบคุมภายใน หมายถึง นโยบายและวิ ธี ก ารปฏิ บัติ ซึ่ ง ผู้บ ริ ห ารของกิ จ การก าหนดขึ น้ เพื่ อ ช่ว ยให้ บ รรลุวัต ถุป ระสงค์ ของผู้บริหารที่จะให้ เกิดความมัน่ ใจเท่าที่จะสามารถทาได้ วา่ 1. การดาเนินธุรกิจเป็ นไปอย่างมีระเบียบและมีประสิทธิภาพซึ่งรวมถึงการปฏิบตั ิตาม นโยบายของผู้บริหาร 2. การป้องกันสินทรัพย์ 3. การป้องกันและการตรวจพบทุจริตและข้ อผิดพลาด


43

4. ความถู ก ต้ อ งและครบถ้ วนของการบัน ทึ ก รายการบัญ ชี แ ละการจั ด ท าข้ อมู ล ทางการเงินที่เชื่อถือได้ อย่างทันเวลา สุรีย์ วงศ์วณิช (2552: 85) ได้ ให้ ความหมายของการควบคุมภายในสอดคล้ องกับ ความหมายข้ างต้ น ว่า การควบคุม ภายใน หมายถึง นโยบายและวิธี การปฏิ บัติ ซึ่ง ผู้บริ หาร ของกิ จ การก าหนดขึ น้ เพื่ อ ช่ ว ยให้ บรรลุ วัต ถุ ป ระสงค์ ข องผู้บ ริ ห ารที่ จ ะให้ เกิ ด ความมั่น ใจ เท่า ที่ จ ะสามารถท าได้ ว่า การด าเนิ น ธุ ร กิ จ เป็ นไปอย่า งมี ร ะบบระเบี ย บและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ง รวมถึ ง การปฏิ บัติต ามนโยบายของผู้บ ริ ห าร การป้ องกัน รั ก ษาทรั พ ย์ สิ น การป้ องกัน และ การตรวจพบทุจริ ตและข้ อผิดพลาด ความถูกต้ องและครบถ้ วนของการบันทึกบัญชี และการจัดทา ข้ อมูลทางการเงินที่เชื่ อถื อได้ อย่างทันเวลา นอกเหนือจากเรื่ องที่ เกี่ ยวข้ องโดยตรงกับงานของ ระบบบัญชีแล้ วการควบคุมภายในยังครอบคลุมถึงการดาเนินงานต่างๆ จันทนา สาขากร, นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร (2550: 3) ได้ อ้างถึง คานิยามของการควบคุมภายในตามแนวของ The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission หรื อ COSO ว่า การควบคุมภายใน คือ กระบวนการปฏิบตั ิงาน ที่ ถูก ก าหนดร่ ว มกัน โดยคณะกรรมการผู้บ ริ ห าร ตลอดจนพนัก งานขององค์ ก รทุก ระดับ ชัน้ เพื่อให้ เกิดความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผลว่า วิธีการหรื อการปฏิบตั ิงานตามที่กาหนดไว้ จะทาให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุม ซึ่ง คล้ ายกับอุษณา ภัทรมนตรี (2552:2) ได้ ให้ ความหมาย การควบคุม ภายใน คือ กระบวนการปฏิ บัติง านที่ มี ผ ลต่อทุกคนตัง้ แต่คณะกรรมการองค์การ ฝ่ ายบริ หารทุ ก ระดั บ และพนั ก งานทุ ก คนในองค์ ก าร สร้ างขึ น้ เพื่ อ สร้ างความมั่ น ใจ อย่างสมเหตุสมผลเกี่ยวกับการบรรลุวตั ถุประสงค์ 3 ด้ าน ต่อไปนี ้ 1. ประสิทธิภาพประสิทธิผลของการปฏิบตั งิ าน (O Objective) 2. ความเชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินการบัญชี (F Objective) 3. การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ อง (C Objective)


44

วัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน สุรีย์ วงศ์วณิช (2552: 89) ได้ อ้างถึงวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในตามแนวคิด ของ COSO เพื่อให้ เกิดความมัน่ ใจในเรื่ องต่างๆ ดังต่อไปนี ้ 1. ด้ า นการด าเนิ น งาน (Operations) มุ่ง หมายให้ ก ารปฏิ บัติง านเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ และประสิทธิผล ด้ วยการกากับการใช้ ทรัพยากรทุกประเภทขององค์กรทัง้ คน เงิน เวลา ทรัพย์สิน วัส ดุ เครื่ องมื อ เครื่ อ งใช้ ให้ เ ป็ นไปอย่า งมี ป ระสิ ทธิ ภ าพโดยประหยัด ได้ ผ ลคุ้ม ค่า และบรรลุ เป้าหมายที่ผ้ บู ริหารขององค์กรกาหนดไว้ 2. ด้ า นการรายงานทางการเงิ น (Financial Reportings) รายงานทางการเงิ น ไม่ว่าจะเป็ นรายงานทัง้ ที่ ใช้ ภ ายในและภายนอกองค์กรจะต้ อ งมี ความเชื่ อถื อได้ แ ละทันเวลา เพื่ อ ให้ เ ป็ นรายงานที่ นาเสนอข้ อ สนเทศที่ มี คุณภาพเหมาะสมส าหรั บการนาไปใช้ เ ป็ นข้ อ มูล ประกอบการพิจารณาและการตัดสินใจทางธุ รกิจ ของนักบริ หาร เจ้ าหนี ้ ผู้ถือหุ้นและนักลงทุน โดยทัว่ ไป 3. ด้ านการปฏิบตั งิ านให้ เป็ นไปตามกฎ ระเบียบ และนโยบายที่เกี่ยวข้ อง (Compliance with Applicable Laws and Regulations) การปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ หรื อระเบียบ โครงการ หรื อ แผนงานมติ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ผู้บ ริ ห าร หรื อ องค์ ก รบริ ห ารอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับ การปฏิ บัติ ง าน หรื อ เกี่ ย วข้ อ งกับ การด าเนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ ป้ องกัน ไม่ใ ห้ เ กิ ด ผลเสี ย หายใดๆ จากการละเว้ นปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นไปตามกฎระเบียบเหล่านัน้ จันทนา สาขากร, นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร (2550: 4) ได้ อ้างถึง วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ดังนี ้ 1. ความมี ประสิ ทธิ ภ าพและประสิท ธิ ผลของการดาเนิ นงาน (Effectiveness and Efficiency of Operation: O) เป็ นวัตถุประสงค์ที่ม่งุ เน้ นให้ ใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและ บรรลุเ ป้ าหมายที่ กาหนดไว้ ขององค์กร การดาเนิ นงานที่ มี ประสิท ธิ ภ าพและประสิท ธิ ผลย่อ ม หมายถึง มีการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีการดูแลรักษาทรัพย์สินให้ พร้ อมที่จะใช้ งานได้ อยู่เสมอ


45

มี ก ารป้ องกั น มิ ใ ห้ เกิ ด การสู ญ เสี ย หรื อ สู ญ หาย ดัง นั น้ เมื่ อ การด าเนิ น งานมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และประสิทธิผลจึงส่งผลให้ เกิดการป้องกันดูแลรักษาทรัพย์สินขององค์กรไปพร้ อมกัน 2. ความเชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงิน (Reliability of Financial Reporting: F) ความเชื่อถื อได้ ของรายงานทางการเงิ นเป็ นสิ่งส าคัญยิ่ง ต่อผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็ นบุคคลภายในหรื อ บุคคลภายนอกองค์กรก็ตาม ผู้ใช้ ควรได้ ข้อมูลที่ถูกต้ องเพื่อใช้ ในการตัดสินใจและการวางแผน ในอนาคต ผู้ล งทุน เจ้ าหนี ้ ลูก ค้ า นักวิเ คราะห์ และหน่ว ยงานราชการ ซึ่ง เป็ นบุ ค คลภายนอก องค์กรจะใช้ ข้อ มูล จากงบการเงิ น ซึ่ง เป็ นส่วนหนึ่ง ของรายงานทางการเงิ นขององค์กร ดัง นัน้ ผู้บ ริ ห ารจึง มี ห น้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่น ใจได้ ว่า งบการเงิ น นัน้ ให้ ข้ อ มูล ที่มีคณ ุ ภาพ และเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปหรื อมาตรฐานรายงานทางการเงิน 3. การปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้ อกาหนด กฎ ระเบียบ และข้ อบังคับ (Compliance with Laws and Regulations: C) เพื่อป้องกันมิให้ เกิดความเสียหายใดๆ จากการละเว้ นไม่ปฏิบตั ิ หรื อ ปฏิ บัติผิ ดกฎหมาย และข้ อก าหนดที่ เกี่ ยวข้ อ งกับ องค์ก ร ตลอดจนกฎ ระเบีย บและข้ อบัง คับ ขององค์กรเอง อุษณา ภัทรมนตรี (2552: 3) ได้ อ้างถึงสถาบันผู้ตรวจสอบภายใน ซึ่ง คล้ ายคลึงกับ แนวคิ ด ข้ างต้ นว่ า ได้ เพิ่ ม วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการควบคุ ม ภายในอี ก 1 ด้ านเป็ น 4 ด้ าน คื อ ด้ านการดูแลรักษาความปลอดภัยของทรัพย์สิน ตามมาตรฐานการตรวจสอบสมัยใหม่ ผู้ตรวจสอบ ภายในต้ องประเมินการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมที่เกี่ยวข้ องกับ 1. ความน่าเชื่อถือ (Reliability) และความถูกต้ องครบถ้ วน (Integrity) ของสารสนเทศ ทางการเงินและการดาเนินงาน 2. ประสิทธิผลและประสิทธิ ภาพของการดาเนินงาน (Effective and Efficiency of Operation) 3. การดูแลรักษาความปลอดภัยของทรัพย์สิน (Safeguarding of Asset)


46

4. การปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบข้ อบังคับ และสัญญา (Compliance with laws, Regulations and Contracts) องค์ ประกอบของการควบคุมภายใน จัน ทนา สาขากร, นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรี จั่น เพชร (2550: 5) ได้ กล่าวถึง องค์ประกอบของการควบคุมภายในแต่ละอย่างอธิบายได้ พอสังเขป ดังนี ้ 1. สภาพแวดล้ อ มการควบคุม เป็ นแกนหลัก ขององค์ ป ระกอบอื่ น เน้ น ที่ จิ ต ส านึ ก และคุณ ภาพของคน ซึ่งเป็ นหัวใจของแต่ละกิ จกรรม ถ้ าองค์กรมีบุคลากรที่ ดีย่อมเป็ นพืน้ ฐาน และก า ลั ง ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ดสิ่ ง ดี ๆ ขึ น้ ใ นอง ค์ ก รไ ด้ แ ต่ ถ้ าระ บบทุ ก อ ย่ า ง ใน อง ค์ ก ร ดี เพียงแต่มีบุคคลากรที่ไม่ดี ไม่เหมาะสม ระบบที่มีอยู่อาจล้ มเหลวและส่งผลให้ เกิดการล่มสลาย ขององค์ ก รได้ ในที่ สุ ด ดั ง นั น้ สภาพแวดล้ อมของการควบคุ ม ที่ ดี จึ ง เป็ นเรื่ องเกี่ ย วกั บ การสร้ างความตระหนักให้ บคุ คลเกิด จิตสานึกที่ดีในการปฏิบตั ติ ามความรับผิดชอบ และการสร้ าง บรรยากาศการควบคุม ที่ ดี โ ดยผู้ บริ ห ารระดับ สู ง โดยปั จ จัย ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ สภาพแวดล้ อม การควบคุม คือ 1.1 ความซื่อสัตย์และจริ ยธรรม (Integrity and Ethical Value) ความซื่อสัตย์ และจริ ยธรรมเป็ นเรื่ องของจิตสานึกและคุณภาพของคนที่เป็ นนามธรรม มองเห็นได้ ยาก แต่ก็ สามารถนามาแสดงให้ เห็นได้ โดยผู้บริ หารจะต้ องทาตนให้ เป็ นตัวอย่างอย่างสม่าเสมอทัง้ โดย คาพูดและการกระทา มี การกาหนดเป็ นนโยบายและข้ อก าหนดทางจริ ยธรรมไว้ อย่างชัดเจน รวมถึงมีข้อห้ ามพนักงานไม่ให้ ปฏิบตั ิ อันจะถือว่าอยู่ในสถานะที่ขาดความซื่อสัตย์และจริ ยธรรม พร้ อมทังมี ้ การแจ้ งให้ พนักงานทุกคนทราบและเข้ าใจในหลักการที่กาหนดไว้ 1.2 ความรู้ ทักษะและความสามารถ (Commitment and Competent) ความรู้ ทักษะ และความสามารถของบุคลากรเป็ นสิ่งจาเป็ นต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร มิใช่แต่บคุ ลากรไม่มีความรู้ ทักษะและความสามารถจะเป็ นอันตราย ถ้ าบุค ลากรมีความรู้ ทักษะ และความสามารถมากเกิ น ไปไม่ เ หมาะสมกั บ หน้ าที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบก็ อ าจมี ผ ลกระทบ ต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้ เช่นกัน ดังนันองค์ ้ กรต้ องกาหนดระดับความรู้ ทักษะที่จาเป็ น และความสามารถที่เหมาะสมสาหรับแต่ละงานไว้ อย่างชัดเจน เพื่อใช้ เป็ นเกณฑ์ในการพิจารณา


47

บรรจุแต่งตังให้ ้ เหมาะสมกับตาแหน่งหน้ าที่ความรับผิดชอบ โดยการจัดทาคาบรรยายลักษณะงาน หรื อข้ อกาหนดคุณลักษณะงาน (Job Description) ทุกตาแหน่งไว้ อย่างชัดเจน 1.3 การมี ส่วนร่ วมของคณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการการตรวจสอบ (Board of Director and Audit Committee Participation) คณะกรรมการตรวจสอบ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจะต้ อ งเป็ นอิ ส ระจากผู้บ ริ ห าร เป็ นผู้ต รวจสอบการปฏิ บัติง านของผู้บ ริ ห าร ซึ่งเป็ นผู้มีหน้ าที่รับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้ มีระบบการควบคุมภายในที่ดีในองค์กร ดังนัน้ คณะกรรมการบริ ห ารและคณะกรรมการตรวจสอบ จึ ง เป็ นตัว จัก รส าคัญ ของบรรยากาศ การควบคุม โดยเฉพาะการส่ง เสริ ม ให้ ก ารตรวจสอบภายในและการตรวจสอบบัญ ชี เ ป็ นไป อย่างอิสระและปฏิบตั งิ านได้ ตามมาตรฐานวิชาชีพ 1.4 ปรัชญา และรูปแบบการทางานของผู้บริ หาร (Management Philosophy and Operation Style) ปรั ช ญา และรู ปแบบการทางานของผู้บริ หารย่อมมี ผ ลกระทบที่ ส าคัญ ต่อระบบการควบคุมภายในขององค์กร เพราะผู้บริ หารมีหน้ าที่โดยตรงในการกาหนดนโยบาย จัดให้ มี มาตรการและวิธี การควบคุม ความแตกต่างในทัศนคติและวิธี การทางานของผู้บริ หาร จะเป็ นตัวกาหนดระดับความเสี่ ยงที่ยอมรับได้ ในองค์กร อันนาไปสู่รูปแบบการควบคุม ภายใน ที่ จัดให้ มี ขึน้ ผู้บริ หารบางคนเป็ นผู้อนุรักษ์ นิยม บางคนกล้ าได้ กล้ าเสี ย กล้ าเสี่ ยง และระดับ ของความกล้ าก็แตกต่างกันไป จึงทาให้ ระดับการควบคุมแตกต่างกันไปด้ วย 1.5 โครงสร้ างการจัดองค์กร (Organization Chart) การจัดโครงสร้ างองค์กร ที่เหมาะสมกับขนาดและการดาเนินงานขององค์กรเป็ นพืน้ ฐานสาคัญที่เอือ้ อานวยให้ ผ้ ูบริ หาร สามารถวางแผน สั่งการ และควบคุมการปฏิบตั ิง านได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพและมีประสิทธิ ผล การจัดโครงสร้ างองค์ กรนอกจากจะเป็ นการจัดแบ่ง สายงานตามหน้ าที่ แ ละความรั บผิ ดชอบ ของแต่ละหน่วยงานแล้ ว ยังเป็ นตัวกาหนดระดับความรู้และความสามารถของบุคคลในองค์กร 1.6 การมอบอานาจและความรับผิดชอบ (Assignment of Authority and Responsibility) บุค ลากรทุก คนที่ ป ฏิ บัติ ห น้ า ที่ ต่า งๆ จะต้ อ งเข้ า ใจอย่ า งชัด เจนถึ ง กรอบ และขอบเขตของอานาจและความรับผิดชอบของตน ต้ องทราบด้ วยว่างานของตนมีความสัมพันธ์ กับงานของผู้อื่นอย่างไร เพื่ อป้องกันไม่ให้ เกิดความซา้ ซ้ อนในการปฏิ บัติง านหรื อมี การละเว้ น


48

การปฏิบตั งิ านในงานใดงานหนึ่ง ฝ่ ายบริ หารอาจใช้ วิธีจดั ทาคาบรรยายลักษณะงานของพนักงาน ในแต่ละระดับไว้ อย่างชัดเจน เพื่อให้ พนักงานใช้ เป็ นแนวทางอ้ างอิงในการปฏิบตั ิงาน สาหรับงาน ที่ มี ค วามซั บ ซ้ อน หรื องานที่ ต้ องใช้ เทคโนโลยี ร ะดั บ สู ง หรื อลงทุ น ด้ วยเงิ น จ านวนมาก อาจต้ องมี การจัดทาคู่มื อระบบงาน (System Documentation) ไว้ ด้วย ส่วนการมอบอานาจ จะต้ องให้ เหมาะสมกับหน้ าที่และความรับผิดชอบในแต่ละตาแหน่ง 1.7 นโยบายและวิธีบริ หารงานด้ านทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากคนถื อเป็ นปั จจัย สาคัญ ที่สุดต่อการปฏิบัติงานในทุกด้ าน ประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลของการควบคุมภายใน จะถูกกระทบอย่างมากด้ วยพฤติกรรม และอุปนิสัยของบุคลากรในองค์กร การกาหนดนโยบาย และวิธีปฏิบตั ใิ นส่วนที่เกี่ยวกับการบริหารงานด้ านทรัพยากรมนุษย์ ตัง้ แต่การคัดเลือกบุคลากรเข้ า ทางาน การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน การฝึ กอบรม การพัฒนาความรู้ ของพนักงาน การเลื่อน ตาแหน่ง การกาหนดค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่น เพื่อให้ ได้ บคุ ลากรที่มีความรู้ ความสามารถ เหมาะสมกับตาแหน่งหน้ าที่ และเพื่อสามารถรักษาไว้ ซงึ่ บุคลากรที่มีคณ ุ ภาพ 2. การประเมินความเสี่ยง เป็ นการประเมินเพื่อให้ ทราบว่า องค์กรมีความเสี่ยงอย่างไร และความเสี่ ยงนัน้ ๆอยู่ในกิ จ กรรมหรื อขัน้ ตอนใดของงาน มี ผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของ องค์กรมากน้ อยเพียงใด เพื่อนามาพิจารณากาหนดแนวทางที่จาเป็ นต้ องใช้ เพื่อให้ เกิดความมัน่ ใจ อย่างสมเหตุส มผลว่าความผิ ดพลาดหรื อ ความเสี ยหายจะไม่เกิ ดขึน้ หรื อหากเกิ ดขึน้ ก็ จ ะอยู่ ในระดับ ที่ ไ ม่เ ป็ นอัน ตราย หรื อ ไม่เ ป็ นอุป สรรคต่อ ความส าเร็ จ ตามวัต ถุป ระสงค์ ข ององค์ ก ร โดยองค์ ก รทุกองค์ ก รไม่ว่า จะประกอบในธุ ร กิ จ ประเภทใด เป็ นธุ ร กิ จ ขนาดกลาง ขนาด ย่อ ม หรื อขนาดใหญ่ก็ตาม นอกจากจะต้ องเผชิญกับความเสี่ยงตามรูปแบบของธุรกิจแล้ วยังต้ องเผชิญ กับความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ ้นได้ ตลอดเวลา อาจเป็ นการเปลี่ยนแปลงจากฝ่ ายบริ หารองค์กร หรื อจากฝ่ ายบริ หารประเทศ หรื ออาจเป็ นการเปลี่ยนแปลงจากสภาพเศรษฐกิจ สัง คม กฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับของทางราชการที่เกี่ ยวข้ อง ผู้บริ หารจึงจาเป็ นจะต้ องได้ รับข้ อมูล ความเสี่ยง ที่ ถูก ต้ อ งตรงกับ สภาพที่ เ ป็ นอยู่จ ริ ง ในทุก ขณะ เพื่ อ น ามาก าหนดมาตรการหรื อ ปรั บ เปลี่ ย น เพื่ อ เสริ ม สร้ างการควบคุ ม ภายในให้ สอดคล้ องและเหมาะสมกั บ สถานการณ์ ดั ง นั น้ องค์กรจึงจาเป็ นต้ องทาการประเมินความเสี่ยงและต้ องกระทาอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ


49

ปั จจัยสาคัญในการประเมินความเสี่ยง คือ ผู้ประเมินจะต้ องเข้ าใจวัตถุประสงค์ขององค์กร โดยถ่องแท้ องค์กรต้ องมีการกาหนดวัตถุประสงค์อย่างชัดเจนขึน้ ก่อน โดยทั่วไปวัตถุประสงค์ ขององค์กรแบ่งเป็ น 2 ระดับ คือ 1. วัตถุประสงค์ระดับกิ จ การโดยรวม (Entity-Wide Level Objectives) เป็ นวัตถุ ประสงค์การดาเนินงานในภาพรวมขององค์กร 2. วัตถุประสงค์ระดับกิจกรรม (Activity-Level Objectives) เป็ นวัตถุประสงค์เฉพาะ ของการดาเนินงานทางธุ รกิ จ ในแต่ละกิ จ กรรมภายในองค์กร ซึ่ง ต้ องสอดคล้ องและสนับสนุน วัตถุประสงค์ระดับองค์กรโดยรวม ขันตอนในการประเมิ ้ นความเสี่ยง คือ 2.1 การระบุปัจ จัยความเสี่ ยง การเข้ าใจว่าองค์กรมี ความเสี่ ยงหรื อไม่ จะไม่มี ประโยชน์เพียงพอ ถ้ าไม่สามารถระบุได้ ว่าความเสี่ยงนันๆ ้ มีสาเหตุจากปั จจัยอะไร เนื่องจากปั จจัย ความเสี่ ย งแต่ล ะชนิ ด มี ผ ลกระทบไม่ เ ท่ า เที ย มกัน ปั จ จัย ความเสี่ ย งบางชนิ ด มี ผ ลกระทบ ต่อวัตถุประสงค์ในระดับกิจกรรมโดยรวม ในขณะที่บางชนิดมีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ระดับ กิจกรรมเท่านัน้ นอกจากนี ้ปั จจัยบางอย่างจะมีผลกระทบเพียงระยะสัน้ แต่ปัจจัยบางอย่าง ส่งผล กระทบในระยะยาว และปั จจัยบางชนิดมีผลกระทบทังในระยะสั ้ นแล้ ้ วส่งผลต่อเนื่องไปจนถึงระยะ ยาว ดังนัน้ จึงต้ องทาความเข้ าใจและสามารถระบุ ได้ ว่า ความเสี่ยงนัน้ ๆ มีสาเหตุมาจากปั จจัย อะไร เป็ นปั จจัยที่เกิดขึ ้นภายในองค์กร หรื อเป็ นปั จจัยภายนอก 2.2 การวิเคราะห์ความเสี่ยง เมื่อสามารถระบุปัจจัยความเสี่ยงได้ แล้ ว ขันต่ ้ อไปคือ การนาปั จจัยความเสี่ยงนันมาวิ ้ เคราะห์ว่ามีผลกระทบต่อองค์กรแค่ไหน เพียงใด โดยการกาหนด ระดับความส าคัญ ของความเสี ย หายที่ จ ะเกิ ด จากความเสี่ ย งและโอกาสที่ จ ะเกิ ด ความเสี่ ย ง ดังกล่าวว่ามีหรื อไม่ ถ้ ามี มีมากหรื อน้ อยเพียงใด เพื่อนามาพิจารณาหาวิธีที่จะรับมือหรื อจัดการ กับความเสี่ยงที่มีสาระสาคัญและมีโอกาสที่จะเกิดขึ ้นสูง สาหรับเทคนิคในการวิเคราะห์ความเสี่ยง มีหลายวิธีจ ะต้ องเลือกใช้ ให้ เ หมาะสม เพราะบางครั ง้ ผลกระทบของความเสี่ ยงที่ มีต่อองค์กร หรื อโอกาสที่ จ ะเกิ ด ความเสี่ ย งอาจไม่ ส ามารถวั ด ได้ เป็ นตัว เลข จึ ง ต้ องใช้ วิ ธี วิ เ คราะห์ โดยการประเมินเป็ นระดับ เช่น สูงมาก สูง ปานกลาง น้ อย หรื อน้ อยมาก


50

2.3 การบริ ห ารความเสี่ ย ง เป็ นการก าหนดแนวทางที่ จ ะรั บ มื อ หรื อ จัด การกับ ความเสี่ยงที่มีสาระสาคัญ มีโอกาสที่จะเกิดสูงอย่างเหมาะสม โดยทัว่ ไปแล้ วความเสี่ยงที่เกิดจาก ปั จ จัย ภายใน จะใช้ วิ ธี ก ารจัด การควบคุม ภายใน กรณี เ ป็ นความเสี่ ย งจากปั จ จัย ภายนอก จะใช้ วิธีการบริหารความเสี่ยง 3. กิ จ กรรมการควบคุม เป็ นนโยบาย มาตรการ และวิธี การดาเนินงานต่างๆ ที่ ฝ่ าย บริ หารนามาใช้ เพื่ อให้ เ กิดความมั่นใจว่ามาตรการต่างๆ ที่กาหนดขึน้ สามารถลด หรื อควบคุม ความเสี่ยงและได้ รับการตอบสนองและปฏิบตั ติ าม กิจกรรมการควบคุมประกอบด้ วย 3.1 การกาหนดนโยบายและแผนงาน (Policies and Plans) ฝ่ ายบริ หาร จะกาหนดนโยบาย จัดทาแผนงาน และจัดทางบประมาณ เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน เป็ นเครื่ องมือในการควบคุม ติดตามและประเมินผล ทังนี ้ ้โดยมีการกาหนดผลงานที่คาดหมายไว้ อย่างชัดเจนทัง้ ในรู ปจานวนผลงาน และระยะเวลาปฏิบตั ิงานตามแผนงานดังกล่าว เพื่อให้ เกิด ความชัดเจน 3.2 การสอบทานโดยผู้บริ หาร (Management Review) เป็ นกิจกรรมการควบคุม ที่ผ้ บู ริ หารเป็ นผู้กระทา โดยผู้บริ หารระดับสูงจะใช้ วิธีวิเคราะห์เปรี ยบเที ยบผลการปฏิบตั ิงานจริ ง กับแผนงานงบประมาณที่ได้ จดั ทาไว้ ล่วงหน้ า เพื่อให้ เห็นภาพรวมของการดาเนินงานว่ามีปัญหา ใหญ่ๆในด้ านใด เพื่อนามาพิจารณาแก้ ไขและเตรี ยมรับสถานการณ์ ในอนาคตได้ ส่วนผู้ บริ หาร ระดับกลางก็ใช้ วิธี สอบทานรายงานผลการปฏิบตั ิงานของพนักงานในสายบังคับบัญชาของตน ว่า การปฏิ บัติง านเป็ นไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณ ตลอดจนวิธีปฏิ บัติงานจริ ง เป็ นไปตามระเบียบ ข้ อบังคับที่กาหนด ซึ่งการสอบทานของผู้บริ หารระดับกลางจะกระทาบ่อยครัง้ เพียงใด ขึ ้นอยูก่ บั ลักษณะของความเสี่ยง 3.3 การประมวลผลข้ อมูล (Information Processing) การประมวลผลข้ อมูลในที่นี ้ จะครอบคลุมทังข้ ้ อมูลทางการบัญชี การเงินและข้ อมูลอื่นที่จาเป็ นสาหรับประกอบการตัดสินใจ ทางการบริ หาร ซึ่ง ต้ อ งการข้ อ มูล ที่ มี ค วามถูก ต้ อง สมบูร ณ์ กะทัด รั ด มี เ นื อ้ หาที่ เกี่ ย วข้ อ งกับ การตัดสินใจและต้ องได้ ทนั เวลาที่ต้องการ ดังนัน้ การควบคุมการประเมินผลข้ อมูล จึงต้ องเริ่ มจาก


51

การอนุมตั ริ ายการ การบันทึกรายการ การสอบยันข้ อมูลระหว่างกัน การเก็บรักษาและการควบคุม ข้ อมูลที่สาคัญ การออกแบบและการใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยในการประเมินผลข้ อมูล 3.4 การควบคุมทางกายภาพ (Physical Control) คือ การดูแลรักษาและป้องกัน ทรั พ ย์ สินที่ มี ตวั ตนจากการถูกทาลายหรื อสูญหาย และมีสภาพพร้ อมเสมอส าหรับการใช้ ง าน กิ จ กรรมการควบคุม จึ ง รวมถึ ง วิ ธี ที่ ใ ช้ เ พื่ อ ป้ องกั น ค้ น หา แก้ ไขและสนับ สนุน เช่ น การจัด ให้ มี ส ถานที่ จั ด เก็ บ อย่ า งปลอดภั ย เหมาะสม และมี เ วรยามรั ก ษาการณ์ การตรวจนั บ การเปรี ยบเทียบจานวนจริงกับทะเบียนหรื อหลักฐานทางการบัญชี การทาประกันภัย 3.5 การแบ่งแยกหน้ าที่ (Segregation of Duties) เป็ นการแบ่งแยกหน้ าที่ระหว่าง บุคคลหรื อหน่วยงาน โดยการจัดให้ มีการสอบยันความถูกต้ องระหว่างกัน ไม่ให้ บุคคลคนเดียว ปฏิบตั ิงานตังแต่ ้ ต้นจนจบ เพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อข้ อผิดพลาด และการทุจริ ต หรื อการกระทา ที่ ไ ม่ เ หมาะสม ควรใช้ ในกรณี ที่ ง านมี ค วามเสี่ ย งต่ อ ข้ อผิ ด พลาดหรื อเสี ย หายได้ ง่ า ย โดยการแยกหน้ าที่การอนุมตั ิ การจดบันทึก การเก็บรักษา และการสอบทานออกจากกัน 3.6 ดัชนีวัดผลการดาเนินงาน (Performance Indicators) เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ บ่งบอกให้ ทราบว่าสภาวะขององค์กรเป็ นอย่างไร อยู่ในระดับที่น่าพอใจหรื อไม่ ควรให้ ความสนใจ ในเรื่ องใดเป็ นพิเศษ เพื่อนามาพิจารณาสัง่ การแก้ ไขปั ญหาได้ ทนั กาล ดัชนีวดั ผลการดาเนินการ ที่ นิ ย มใช้ มั ก อยู่ ใ นรู ป ของอั ต ราส่ ว นต่ า งๆ ที่ แ สดงความสั ม พั น ธ์ ข องข้ อมู ล ทางการเงิ น หรื อการดาเนินงานอย่างหนึง่ กับข้ อมูลอีกอย่างหนึง่ 3.7 การจัดทาเอกสารหลักฐาน (Documentation) เป็ นการควบคุมโดยกาหนดให้ กิจกรรมหรื อระบบงานที่มีความสาคัญ ต้ องจัดทาเอกสารไว้ เป็ นหลักฐาน ซึ่งเอกสารทาหน้ าที่ เป็ นตัว ส่ง ผ่า นข้ อ มูล ในองค์ ก ร และระหว่า งองค์ ก ร เป็ นหลัก ฐานที่ ใ ช้ อ้ า งอิ ง ตรวจสอบหรื อ เป็ นแนวทางให้ ปฏิบตั งิ านได้ อย่างถูกต้ อง 3.8 การตรวจสอบการปฏิบตั ิงานอย่างเป็ นอิสระ (Independent Checks on Performance) การตรวจสอบการปฏิบตั งิ านอย่างเป็ นอิสระหรื อการตรวจสอบภายใน เป็ นวิธีหนึ่ง


52

ในกิจกรรมการควบคุม โดยผู้ทาหน้ าที่ตรวจสอบจะต้ องเป็ นอิสระจากกลุ่มผู้รับผิดชอบงาน หรื อ ผู้ปฏิบตั งิ านนัน้ ๆ 4. สารสนเทศและการสื่ อ สาร สารสนเทศเป็ นสิ่ ง จ าเป็ นส าหรั บ การบริ ห ารงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปั จจุบนั ซึง่ เป็ นยุคที่ผ้ ไู ด้ ข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็วและถูกต้ องจะสามารถช่วงชิง โอกาสได้ ก่อนผู้อื่น ข้ อมูลสารสนเทศหมายรวมถึงข้ อมูลข่าวสารทางการเงิน และข้ อมูลที่เกี่ยวกับ การดาเนิ นการอื่ นๆ ที่ ม าจากทัง้ แหล่ง ข้ อมูลภายใน และแหล่ง ข้ อมูลภายนอกองค์กร ข้ อมูล สารสนเทศมีความสาคัญต่อการปฏิบตั ิงานของผู้บริ หารและผู้ปฏิบตั ิงานในทุกระดับ ผู้บริ หารใช้ ข้ อมูล สารสนเทศในการพิจ ารณาสั่ง การ และวางแผน ส่วนผู้ปฏิ บัติง านใช้ เป็ นเครื่ องมื อชี น้ า ในการปฏิ บัติ ง านตามหน้ าที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ ส่ ว นการสื่ อ สาร หมายความรวมถึ ง การสื่อสารกับบุคคลหรื อหน่วยงานทังภายนอกและภายในองค์ ้ กร ข้ อมูลสารสนเทศจะมีประโยชน์ เมื่อองค์กรมีระบบการสื่อสารที่สามารถส่งถึงผู้สมควรได้ รับและสามารถนาข้ อมูลไปใช้ ประโยชน์ได้ การสื่ อ สารที่ ดี ต้ องเป็ นการสื่ อ สารสองทาง คื อ มี ก ารรั บ และส่ ง ข้ อมู ล แบบโต้ ตอบกั น ได้ การติดต่อสื่ อสารทัง้ ภายในและภายนอกองค์กรควรมี การประเมินเป็ นระยะๆอย่างสม่าเสมอ เพื่อทราบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการสื่อสารที่องค์กรใช้ อยู่ 5. การติด ตามและประเมิ น ผล ไม่มี ก ารควบคุม ภายในขององค์ ก รใดองค์ ก รหนึ่ ง จะสมบูรณ์แบบและเหมาะสมตลอดกาล เนื่ องจากสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปทังในองค์ ้ กรเอง และสภาวะแวดล้ อมภายนอก แม้ แต่ ก ารควบคุม ที่ เ พิ่ ง ก าหนดขึ น้ และใช้ ถื อ ปฏิ บัติ ก็ ต าม จึ ง จ าเป็ นต้ องมี ร ะบบการติ ด ตามและประเมิ น ผล เพื่ อ ช่ ว ยให้ ผู้ บริ หารมี ค วามมั่ น ใจ อย่างสมเหตุส มผลอยู่ตลอดเวลาว่าการควบคุม ภายในยังมี ประสิทธิ ภาพอยู่ โดยการติดตาม จะใช้ ส าหรั บ มาตรการหรื อ ระบบที่ อ ยู่ร ะหว่ า งการออกแบบหรื อ อยู่ร ะหว่ า งการปฏิ บัติ ง าน (Ongoing Monitoring) ส่วนการประเมินผล (Evaluation) จะใช้ สาหรับมาตรการหรื อการควบคุม ภายในที่ใช้ ไปแล้ วเป็ นระยะเวลาหนึ่ง ซึ่ง สมควรที่จ ะได้ รับการประเมิ นว่ายังมีความเหมาะสม หรื อไม่เพียงใด สุรีย์ วงศ์วณิช (2552: 90-94) ได้ อ้างถึงองค์ประกอบการควบคุมภายในตามแนวคิด ของ COSO ซึง่ สอดคล้ องกับแนวคิดข้ างต้ น ดังนี ้


53

1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม (Control Environment) หมายถึง หลายๆปั จจัยที่ร่วมกัน ส่ ง ผลให้ เกิ ด มี ม าตรการหรื อ วิ ธี ก ารควบคุม ในองค์ ก ร หรื อ ท าให้ บุ ค ลากรให้ ความส าคัญ กั บ การควบคุ ม มากขึ น้ โดยส่ ง เสริ มให้ ทุ ก คนในองค์ ก รตระหนั ก ถึ ง ความจ าเป็ นของ การควบคุมภายใน เกิดจิตสานึกที่ดีในการปฏิบตั ิงานตามความรับผิดชอบ โดยสภาพแวดล้ อม การควบคุม ประกอบด้ วยปั จจัยต่างๆ ดังนี ้ 1.1 ความซื่อสัตย์สุจริ ตและความมีจริ ยธรรม (Integrity and Ethical Values) ผู้บริหารต้ องสื่อสารให้ ได้ วา่ การปฏิบตั งิ านด้ วยความซื่อสัตย์และมีจริยธรรมเป็ นสิ่งสาคัญ 1.2 ปรัชญาและรูปแบบการบริ หารของฝ่ ายบริ หาร (Management’s Philosophy and Operating Styles) ทัศนคติและรู ปแบบการบริ หารของฝ่ ายบริ หารจะทาให้ มีการควบคุม ภายในที่ดีสามารถจะลดความเสี่ยงทางธุรกิจและทาให้ ธุรกิจประสบความสาเร็จได้ 1.3 โครงสร้ างขององค์ก ร (Organizational Structure) การก าหนดหน้ า ที่ ความรับผิดชอบควรคานึงถึงความรู้ และความสามารถของบุคคลเหล่านัน้ หลักการจัดโครงสร้ าง ขององค์กรที่ดีควรจัดให้ มีการแบ่งแยกหน้ าที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ด้ านออกจากกัน คือ 1.3.1 การอนุมตั หิ รื อให้ ความเห็นชอบ 1.3.2 การจดบันทึกข้ อมูล 1.3.3 การดูแลทรัพย์สินขององค์กร 1.4 การมอบหมายอานาจและภาระหน้ าที่ (Assignment of Authority and Responsibility) 1.5 นโยบายและการปฏิบตั ิทางด้ านทรัพยากรบุคคล (Human Resource Policy and Practices)


54

1.6 ความสามารถในหน้ าที่ของบุคลากร (Commitment to Competence) ผู้บริ หารต้ องกาหนดระดับของความรู้ ความสามารถที่จาเป็ นในการปฏิบตั ิงานในระดับ ต่างๆ ขององค์กร เพื่อใช้ เป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาบรรจุแต่งตังพนั ้ กงานให้ เหมาะสมกับหน้ าที่ คณะกรรมการบริ หารและคณะกรรมการตรวจสอบ (Board of Directors and Audit Committee) เป็ นปั จ จัย ส าคัญ ของสภาพแวดล้ อ มของการควบคุม และแนวทางการปฏิ บัติ ข องผู้บ ริ ห าร ซึง่ พิจารณาได้ จากความเป็ นอิสระของผู้บริหาร ประสบการณ์ คุณสมบัตเิ ฉพาะตัวของแต่ละบุคคล ที่ ส อดคล้ องกั บ ลั ก ษณะธุ ร กิ จ และหน้ าที่ ด าเนิ น งานอยู่ ใ นแต่ ล ะคณะกรรมการ และ ใช้ การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่มีความเป็ นอิสระในการติดตามประเมินผลการควบคุม ภายในและเป็ นเครื่ องมือของการบริหาร เพื่อให้ สภาพแวดล้ อมการควบคุมภายในมีคณ ุ ภาพที่ดี 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ความเสี่ยงมีผลกระทบต่อการดาเนิน ธุรกิจ ขององค์กร ความมั่นคงของสถานะทางการเงิน การรั กษาคุณภาพของสินค้ าและบริ การ ดังนันองค์ ้ กรจึงต้ องประเมินประเภทความเสี่ยงและระดับความเสี่ยง เพื่อกาหนดวิธีการควบคุม ภายในที่เหมาะสม 2.1 ระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Identification) 2.2 การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) วิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อให้ ทราบถึง ระดับความสาคัญของความเสี่ยง โอกาสหรื อความถี่ ที่ความเสี่ยงจะเกิดขึน้ และวิธีการบริ หาร ความเสี่ยง 2.3 การบริหารความเปลี่ยนแปลง (Managing Change) 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) หมายถึง นโยบายและมาตรการต่างๆ ที่ ฝ่ ายบริ ห ารน ามาใช้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่น ใจว่ า ค าสั่ง ต่า งๆที่ ฝ่ ายบริ ห ารก าหนดขึน้ เพื่ อ ลด หรื อ ควบคุม ความเสี่ ย งได้ รั บ การตอบสนองและการปฏิ บัติ ต าม เพื่ อ ให้ บ รรลุ วัต ถุป ระสงค์ ขององค์กร


55

4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) สารสนเทศ ที่เกี่ยวข้ องควรสื่อสารให้ กบั บุคคลที่เกี่ยวข้ องได้ ทราบในระยะเวลาที่เหมาะสม 5. การติดตามและประเมิ นผล (Monitoring) ระบบการควบคุม ภายในจ าเป็ นต้ อง มีการติดตามและประเมินผลเพื่อให้ ทราบถึงความมีประสิทธิ ผลของมาตรการและการควบคุม ภายในที่อาจเปลี่ยนแปลงได้ เสมอ สุชาย ยังประสิทธ์ กุล (2555: 2-4) ได้ กล่าวถึงองค์ประกอบของการควบคุมภายใน โดยแบ่งเป็ น 8 ด้ านใหญ่ ดังนี ้ 1. สภาพแวดล้ อมของการควบคุม หมายถึง ทัศนคติโดยรวม การตระหนักและการปฏิบตั ิ ของกรรมการและผู้บริ หารเกี่ ยวกับระบบการควบคุมภายในและความส าคัญของระบบควบคุม ภายในที่ มี ต่อกิ จ การ โดยสภาพแวดล้ อมเป็ นสิ่ ง ที่ จ ะก าหนดแนวทางหรื อสิ่ ง ที่ ชักจูง บุคลากร ขององค์กรให้ มาเกี่ ยวข้ องกับการควบคุมภายในและจะเป็ นรากฐานที่สาคัญต่อองค์ประกอบอื่นๆ ของการควบคุมภายใน ซึ่ ง ปั จ จัยที่ แสดงถึ ง สภาพแวดล้ อมการควบคุม ได้ แ ก่ ความซื่ อ สัต ย์ และจริ ย ธรรม ความรู้ ทัก ษะ และความสามารถ คณะกรรมการบริ ห ารหรื อ คณะกรรมการ ตรวจสอบ ปรัชญาการบริ หารและรูปแบบการปฏิบตั ิงาน โครงสร้ างของการจัดองค์กร วิธีการมอบ อานาจและความรับผิดชอบ นโยบายด้ านทรัพยากร 2. การกาหนดวัตถุประสงค์ ถูกกาหนดขึน้ มาก่อนที่ ผ้ ูบริ หารสามารถบ่ง ชี เ้ หตุการณ์ ที่อาจเป็ นไปได้ ที่จะกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ การบริ หารความเสี่ยง ทาให้ มั่นใจได้ ว่า ผู้บ ริ ห ารมี ก ระบวนการที่ จ ะก าหนดวัต ถุป ระสงค์ แ ละวัต ถุป ระสงค์ ที่ เ ลื อ กนัน้ สนับ สนุน และ สอดคล้ องกับพันธกิจขององค์กร และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ 3. การระบุ เ หตุก ารณ์ ฝ่ ายบริ ห ารควรระบุ เ หตุก ารณ์ ที่ เ ป็ นปั จ จัย เสี่ ย งทัง้ ภายใน และภายนอก ซึ่งมีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร โดยพิจารณาทัง้ ความเสี่ ยง และโอกาสที่จะเป็ นช่องทางย้ อนกลับไปสู่กระบวนการในการกาหนดกลยุทธ์และวัตถุประสงค์ของ ฝ่ ายผู้บริหาร


56

4. การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยงเป็ นเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่จะทาให้ กิจการไม่ บรรลุวตั ถุประสงค์ที่วางไว้ ดังนัน้ ในการควบคุมภายในจึงมีความจาเป็ นที่จะต้ องมีการประเมิน เพื่อให้ ทราบว่า กิจการมีความเสี่ยงในเรื่ องใดบ้ างหรื อมีความเสี่ยงในขันตอนใด ้ เพื่อกิจการจะได้ มี การก าหนดมาตรการควบคุม ที่ เ หมาะสมอย่า งต่อ เนื่ อ งและสม่ า เสมอ เพื่ อ ป้องกัน ไม่ใ ห้ เ กิ ด ความเสียหายต่อทรัพย์ สิน การประเมิ นความเสี่ยงมีขนั ้ ตอนที่ สาคัญ ดัง นี ้ การระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยงหรื อความเปลี่ยนแปลง 5. การตอบสนองความเสี่ ย ง ฝ่ ายบริ ห ารควรเลื อ กวิ ธี การตอบสนองต่อความเสี่ ย ง และพัฒ นากลยุท ธ์ การจัด การหรื อ แผนการปฏิ บัติก ารในการจัด การกับ ความเสี่ ยงที่ เหลื ออยู่ และเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนที่องค์กรยอมรับได้ 6. กิจกรรมการควบคุม นโยบายหรื อวิธีการปฏิบตั ิที่ฝ่ายบริ หารกาหนดขึ ้นและนาไปใช้ เพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของกิจการ ทาให้ ลดหรื อป้องกันความเสี่ยงหรื อข้ อผิดพลาดที่อาจจะ เกิดขึ ้น กิจกรรมการควบคุม เป็ นองค์ประกอบหนึ่งของการควบคุมภายในที่หน่วยงานต้ องจัดให้ มี ขึน้ เพื่ อ ลดความเสี่ ย งและท าให้ เ กิ ด ความคุ้ มค่า ตลอดจนให้ ฝ่ ายบริ ห ารเกิ ด ความมั่น ใจใน ประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่มีอยู่ 7. สารสนเทศและการสื่อ สาร (Information and Communication) สารสนเทศ ในการปฏิบตั ิงานของเจ้ าหน้ าที่ทงระดั ั ้ บผู้บริ หารและระดับผู้ปฏิบตั ิการ มีความจาเป็ นที่จะต้ องใช้ ข้ อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับรายการทางบัญชี หรื อทางการเงิน หรื อข้ อมูลสารสนเทศในด้ านอื่นๆ ทัง้ ภายในและภายนอกในการพิ จ ารณาสั่ง การหรื อ เป็ นเครื่ อ งชี น้ าในการปฏิ บัติ ง าน ส่ ว น การสื่อสารเป็ นการจัดระบบการส่งข้ อมูลสารสนเทศในเรื่ องที่ ไ ด้ จัดเตรี ยมไว้ อย่างดีให้ เฉพาะ แก่บคุ คลหรื อหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้ องหรื อควรต้ องได้ รับทราบข้ อมูลสารสนเทศแต่ละเรื่ องนัน่ ๆ เพื่อใช้ ประกอบในการตัดสินใจ 8. ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล (Monitoring) ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล เป็ นองค์ ป ระกอบหนึ่ง ในการควบคุม ภายใน เพื่ อ ให้ มั่น ใจว่ า การควบคุม ภายในของกิ จ การ มีประสิทธิผลอยู่ โดยการติดตามเป็ นการติดตามเพื่อพิจารณามาตรการหรื อการควบคุมภายใน ที่มี อยู่กาหนด ออกแบบ หรื ออยู่ระหว่างการดาเนินการ ส่วนการประเมิ นผลเป็ นการประเมิ น


57

มาตรการหรื อ การควบคุ ม ภายในที่ ไ ด้ ใช้ ไปแล้ วเป็ นระยะเวลาหนึ่ ง ว่ า ยั ง เหมาะสมกั บ สภาพแวดล้ อมต่างๆที่เปลี่ยนไปหรื อไม่ อุษณา ภัทรมนตรี (2552: 9-13) ได้ กล่าวถึงองค์ประกอบการควบคุมภายในด้ านรายงาน ทางการเงิน ซึ่งคล้ ายกันกับแนวคิดข้ างต้ น โดยมีองค์ประกอบการควบคุมภายในประกอบด้ วย 5 องค์ประกอบ 20 หลักการ ซึง่ สรุปให้ พอเข้ าใจ ดังนี ้ องค์ ประกอบที่ 1 สภาพแวดล้ อมการควบคุม (Control Environment) สภาพ แวด ล้ อม กา รคว บคุ ม เ ป็ นพื น้ ฐา นข อง อ ง ค์ ป ระ กอบ การ คว บคุ ม ภ าย ใน ด้ าน อื่ น ๆ และเป็ นการกาหนดบรรยากาศในการทางานขององค์กร ที่ เกี่ ยวกับการจัดการด้ านงบการเงิ น โดยมีปัจจัยต่างๆ ซึ่งส่งผลให้ เกิดมาตรการ หรื อวิธีการควบคุมขึ ้นภายในองค์กร และเพื่อส่งเสริ ม ให้ ทุกคนในองค์ กรตระหนัก ถึง ความจ าเป็ นของการควบคุม ภายในด้ านรายงานทางการเงิ น ซึ่ง ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ กมี ลัก ษณะเฉพาะที่ บุคลากรในองค์ กรจะมี ปฏิ สัม พันธ์ กับ ผู้บริ หารระดับ สูง อย่างใกล้ ชิดและมีอิทธิพลในการบริ หารจัดการประจาวันมาก ผู้บริ หารระดับสูงสามารถที่จะสร้ าง เสริ มค่านิยมพื ้นฐานขององค์กร และกาหนดทิศทางให้ กบั องค์กร ยิ่งไปกว่านัน้ การปฏิบตั ิงานกัน อย่างใกล้ ชิดยังทาให้ ผ้ บู ริ หารระดับสูงตระหนักได้ ถึงการเปลี่ยนแปลงที่จาเป็ นเกี่ยวกับพฤติกรรม ของบุคลากรโดยหลักการที่สาคัญของสภาพแวดล้ อมในการควบคุม มี 7 หลักการ ได้ แก่ หลักการที่ 1 ความซื่อสัตย์และความมีจริ ยธรรม (Integrity and Ethical Value) การแสดงออกของผู้บริหารระดับสูงเกี่ยวกับความซื่อสัตย์และความมีจริ ยธรรมในการดาเนินธุรกิจ ที่ ดีจ ะช่วยพัฒ นา สร้ างความเข้ าใจ และกาหนดมาตรฐานในการปฏิ บัติง าน ส าหรั บรายงาน ทางการเงินการบัญชี หลักการที่ 2 บทบาทของคณะกรรมการองค์กร (Board of Director) คณะกรรมการ ต้ องเข้ าใจและใช้ การกากับตรวจตราตามหน้ าที่ ความรั บผิดชอบเกี่ ยวกับรายงานทางการเงิ น การบัญชี และการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้ องกับความเชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินการบัญชี


58

หลักการที่ 3 ปรั ช ญาและรู ป แบบการปฏิ บัติ ง านของฝ่ ายบริ ห าร ( Management’s Philosophy and Operating Style) จะสนับสนุนประสิทธิ ผลของการควบคุม ภายใน ในด้ านการรายงานทางการเงินการบัญชี หลักการที่ 4 การจัด โครงสร้ างองค์ ก ร (Organization Structure) ประสิทธิผลของการควบคุมภายในด้ านการรายงานทางการเงินการบัญชี

จะสนับ สนุน

หลักการที่ 5 ความสามารถในการจัด ท ารายงานทางการเงิ น การบัญ ชี (Financial Reporting Competencies) บริ ษัทต้ องดารงไว้ ซึ่งความสามารถของบุคคลากรในการจัดทา รายงานทางการเงินการบัญชี และบทบาทในการกากับตรวจตรา หลักการที่ 6 การมอบอ านาจหน้ าที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ ( Authority and Responsibility) ฝ่ ายบริ หารและพนักงานต้ องได้ รับมอบหมายอานาจหน้ าที่และความรับผิดชอบ ในระดับ ที่ เ หมาะสม เพื่ อ จะที่ ท าให้ เ กิ ด ระบบการควบคุม ภายในด้ า นรายงานทางการเงิ น ที่มีประสิทธิผล หลักการที่ 7 มาตรฐานทรัพยากรบุคคล (Human Resource Standards) นโยบายและ วิ ธี ปฏิ บั ติ ด้ าน ทรั พ ยากรบุ ค คลต้ อง ออกแ บบและน าไ ป ปฏิ บั ติ เพื่ อที่ จะท าให้ เกิ ด การควบคุมภายในด้ านรายงานทางการเงินที่มีประสิทธิผล องค์ ป ระกอบที่ 2 การประเมิ นความเสี่ ยง (Risk Assessment) องค์ประกอบนี ้ เกี่ ย วข้ อ งกับ การกาหนดวัต ถุป ระสงค์ข องรายงานทางการเงิ น การบัญ ชี ใ ห้ ชัด เจน การเลื อ ก พิจ ารณารายการในรายงานทางการเงิ นที่ ส าคัญ ซึ่ง ถื อ เป็ นขัน้ แรกของกระบวนการประเมิ น ความเสี่ยงในการจัดการกับความเสี่ยงที่จะมีผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงิน การบัญชี ต้ องระบุพฤติกรรมที่จะนาไปสู่ความเสี่ยง เช่น ความผิดพลาดจากการบันทึกรายการ การบัน ทึก รายการที่ ไ ม่มี อ ยู่ห รื อ ไม่เ คยเกิ ด ขึน้ การบัน ทึก รายการผิ ด งวดหรื อ บัน ทึก จ านวน ไม่ถกู ต้ องหรื อการจัดประเภทรายการไม่ถกู ต้ อง ข้ อมูลสูญหายหรื อมีการแก้ ไขรายการที่เคยบันทึก ไว้ การได้ รับข้ อมูลที่มีการบิดเบือนทาให้ มีผลต่อความน่าเชื่อของการประมาณการ การบันทึก


59

รายการที่ไม่เหมาะสม เป็ นต้ น โดยหลักการสาคัญเกี่ยวกับการประเมินความเสี่ย งมี 3 หลักการ ได้ แก่ หลักการที่ 8 วัตถุประสงค์ของรายงานทางการเงินทางบัญชี (Financial Reporting Objectives) ผู้บริ หารจะต้ องระบุวตั ถุประสงค์ทางการเงินที่ชดั เจนเพียงพอ และเกณฑ์ที่สามารถ ใช้ บง่ ชี ้ความเสี่ยงเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงินทางบัญชี หลักการที่ 9 ความเสี่ ยงจากรายงานทางการเงิ น ทางบัญชี (Financial Reporting Risks) บริ ษัทต้ องระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงที่จะมีผลต่อวัตถุประสงค์ทางการเงินการบัญชี เพื่อเป็ นพื ้นฐานในการจัดการความเสี่ยง หลักการที่ 10 ความเสี่ ย งจากกรณี ก ารทุจ ริ ต (Fraud Risk) โอกาสที่ จ ะมี ข้ อ มูล ที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งเนื่องจากการทุจริ ต ต้ องได้ รับการพิจารณาที่ชดั เจนในการประเมินความเสี่ยง เพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ของรายงานทางการเงินทางบัญชี องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) กิจกรรมการควบคุม มี ห ลายประเภทและหลายระดับ ตามแต่ลัก ษณะของธุ ร กิ จ เพื่ อ ช่ ว ยในการลดความเสี่ ย ง และนาไปสู่การบรรลุตามวัตถุประสงค์ของรายงานการเงิ นการบัญชีที่กาหนดไว้ โดยกิ จกรรม ควบคุมของผู้บริ หารระดับสูงจะใช้ วิธีการเปรี ยบเทียบผลการปฏิบตั ิ งานจริ งกับงบประมาณที่ตงไว้ ั้ และกับข้ อมูลที่มีการพยากรณ์ไว้ ล่วงหน้ า นอกจากนัน้ ก็จะมีการตรวจสอบรายงานทางการเงิน การบั ญ ชี การใช้ ตั ว ชี ว้ ั ด ส าคั ญ การตรวจสอบรายการปกติ หรื อความบกพร่ องของ การควบคุมภายใน สาหรับกิจกรรมการควบคุมในระดับอื่นๆในองค์ กรจะเกี่ ยวข้ องกับกระบวน การควบคุ ม การประมวลผล ช่ อ งทางการสื่ อ สาร การใช้ เทคโนโลยี ที่ จ าเป็ นให้ บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ของการควบคุม การจัดทารายงานทางการเงินการบัญชี โดยหลักการที่สาคัญ ของกิจกรรมการควบคุมมี 4 หลักการ ได้ แก่ หลักการที่ 11 การบูรณาการกิจกรรมการควบคุมกับการประเมินความเสี่ยง (Integration Control Activity with Risk Assessment) กิจกรรมควบคุมควรบูรณาการในการระบุความเสี่ยง เพื่อให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการควบคุม การจัดทารายงานทางการเงินการบัญชี


60

หลักการที่ 12 การเลือกและพัฒนากิจกรรมควบคุม (Selection and Development of Control Activities) การเลือกและพัฒนากิจกรรมควบคุมต้ องพิจารณาต้ นทุนและศักยภาพที่จะลด ความเสี่ยง เพื่อให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการควบคุม การจัดทารายงานทางการเงินการบัญชี หลักการที่ 13 การกาหนดนโยบายและวิธีปฏิบตั ิ งาน (Policies and Procedures) นโยบายเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงินจะต้ องสร้ างและสื่อสารให้ ทราบไปทัว่ ทัง้ องค์การ รวมทังวิ ้ ธีปฏิบตั งิ านที่มาจากนโยบายของผู้บริ หารต้ องได้ รับการปฏิบตั จิ ริง หลักการที่ 14 เทคโนโลยี ส ารสนเทศ (Information Technology) การควบคุม ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต้องออกแบบไปปฏิบตั ิ เพื่อสนับสนุนความสาเร็ จของวัตถุประสงค์ ของรายงานทางการเงินการบัญชี องค์ ประกอบที่ 4 สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) ระบบสารสนเทศเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ ระบุ จัดการ ดาเนินการ และแยกประเภทข้ อมูล เพื่อสนับสนุน ความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ของรายงานทางการเงินการบัญชี โดยหลักการที่สาคัญของระบบ สารสนเทศและการสื่อสารมี 4 หลักการ ได้ แก่ หลักการที่ 15 สารสนเทศทางด้ านรายงานทางการเงินการบัญชี (Financial Reporting Information) สารสนเทศที่เกี่ ยวข้ องต้ องได้ รับการระบุ บันทึก และนาไปใช้ ในทุกระดับองค์การ และเผยแพร่ต้องทาในรูปแบบและกรอบเวลา เพื่อสนับสนุนความสาเร็ จของวัตถุประสงค์รายงาน ทางการเงินการบัญชี หลักการที่ 16 สารสนเทศทางด้ านควบคุมภายใน (Internal Control Information) สารสนเทศที่ใช้ เป็ นองค์ประกอบของการควบคุมต้ องได้ รับการระบุ บันทึกและแจกจ่ายในรูปแบบ และกรอบเวลาที่ จ ะช่ ว ยให้ บุ ค ลากรสามารถปฏิ บั ติ ง านของตนตามความรั บ ผิ ด ชอบ ด้ านการควบคุมภายใน


61

หลักการที่ 17 การสื่อสารภายใน (Internal Communication) การสื่อสารภายในจะช่วย และสนับสนุนความเข้ าใจ และการดาเนินการตามวัตถุประสงค์ กระบวนการและความรับผิดชอบ ของแต่ละคนเกี่ยวกับการควบคุมภายในทุกระดับองค์การ หลักการที่ 18 การสื่ อ สารภายนอก (External Communication) เรื่ อ งส าคัญ มี ผ ลกระทบที่ ส าคั ญ ต่ อ ความส าเร็ จ ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ร ายงานทางการเงิ น ควรสื่ อ สาร กับบุคคลภายนอก องค์ ประกอบที่ 5 การติ ด ตามผล (Monitoring) การควบคุ ม ภายในจะต้ อง มี ก ารติ ด ตามผล เพื่ อ ประเมิ น คุณ ภาพของการปฏิ บัติ ง าน ซึ่ง จะต้ อ งมี ก ารก าหนดกิ จ กรรม เพื่ อ การติด ตามผลอย่า งสม่ า เสมอ องค์ก ารที่ มี ก ารประเมิ น การควบคุม ภายในด้ า นรายงาน ทางการเงินตามแนวทางที่กาหนดไว้ ในกฎหมายซาร์ เบนส์ -อ็อกซ์ลีย์ มาตรา 404 จะต้ องพิจารณา องค์ ป ระกอบของการติ ด ตามผล โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การประเมิ น แต่ ล ะส่ ว นงานควรได้ รั บ การออกแบบ และวางแผนการประเมินผลการควบคุมภายใน เพื่อแก้ ไขให้ ประโยชน์ต่อกิจการ และทันสมัยอยูเ่ สมอ หลักการที่สาคัญของการติดตามผล ได้ แก่ หลักการที่ 19 กา ร ติ ด ตา ม ผ ล ระ ห ว่ า ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ กา ร ป ร ะเ มิ น ผ ล เป็ นครัง้ คราว (Ongoing and Separate Evaluation) การติดตามผลระหว่างการปฏิบตั ิงาน และการประเมิ นผลเป็ นครั ง้ คราว จะช่วยผู้บริ หารประเมิ นว่าการควบคุม ภายในด้ านรายงาน ทางการเงินที่มีอยูจ่ ริง และได้ ทาหน้ าที่อย่างที่กาหนดไว้ หลักการที่ 20 การรายงานข้ อบกพร่อง (Reporting Deficiencies) ความบกพร่องของ ระบบการควบคุมภายในต้ องได้ รับการระบุและสื่อสารอย่างทันกาลต่อบุคคลที่มีหน้ าที่รับผิดชอบ ในการแก้ ไข และต่อฝ่ ายการบริหารและต่อคณะกรรมการที่เหมาะสม หลักการพืน้ ฐานของระบบการควบคุมภายใน จันธนา สาขากร, นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร (2550: 13) ได้ กล่าวถึงหลักการพื ้นฐานของการควบคุมภายในเกี่ยวข้ องกับเรื่ องต่อไปนี ้


62

1. ความรับผิดชอบของผู้บริ หาร การจัดให้ มีการควบคุมภายในเป็ นความรับผิดชอบ ของผู้บริ หาร เพื่อช่วยให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ที่จะทาให้ เกิ ดความมั่นใจเท่าที่ จะสามารถทาได้ ว่า การดาเนินธุรกิจเป็ นไปอย่างมีระเบียบและมีประสิทธิภาพ 2. ความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผล ในการจัดให้ มีระบบการควบคุมภายในย่อมมีต้นทุน เกิดขึ ้น ผู้บริ หารควรมี ความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผลว่า ต้ นทุนของการควบคุมภายในต้ องไม่สูง กว่าประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับจากการจัดให้ มีระบบการควบคุมภายในนัน้ 3. ข้ อจ ากัดสื บเนื่องตามลักษณะของการควบคุม ภายใน การควบคุมภายในถึง แม้ จะมีการออกแบบไว้ อย่างดีแล้ วก็ตาม แต่ก็ไม่สามารถให้ ข้อสรุ ปแก่ผ้ บู ริ หารว่าระบบการควบคุม ภายในได้ บรรลุวัตถุประสงค์แล้ ว เนื่องจากการควบคุมภายในมีข้อจากัดสืบเนื่องภายในตัวเอง เช่ น โอกาสที่ จ ะเกิ ด ข้ อผิ ด พลาดจากบุ ค ลากร เนื่ อ งจากความไม่ ร ะมั ด ระวั ง พลั ง้ เผลอ การใช้ ดลุ ยพินิจผิดพลาด หรื อไม่เข้ าใจคาสัง่ โอกาสที่จะเกิดการหลีกเลี่ยงขันตอนของการควบคุ ้ ม ภายในโดยผู้บริ หาร หรื อโอกาสที่บุคคลซึ่งรับผิดชอบในการควบคุมภายในใช้ อานาจในทางที่ผิด เป็ นต้ น อุษณา ภัทรมนตรี (2552: 4) ได้ อ้างถึงหลักด้ านการควบคุมภายในของ COSO ซึ่ง สอดคล้ องกับหลักการข้ างต้ นมีดงั นี ้ 1. การควบคุมภายในเป็ น “กระบวนการ (Process)” หมายถึง สิ่งหรื อวิธีที่ต้องกระทา เพื่อให้ ได้ ผลลัพธ์ การควบคุมภายในไม่ใช่ผลลัพธ์สดุ ท้ าย (It is a means not an end) 2. การควบคุม ภายใน ไม่ใช่แต่เ พี ยงการก าหนดนโยบาย หรื อ ไม่ใช่คู่มื อ ปฏิ บัติง าน ที่วางไว้ บนหิ ้ง มีแบบฟอร์ มที่สวยงาม แต่เป็ นกระบวนการที่ทุกคนในองค์การต้ องร่ วมมือกันทา และมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 3. การควบคุม ให้ ความเชื่ อ มั่น อย่ า งสมเหตุส มผล (Reasonable Assurance) การควบคุมไม่สามารถให้ ความเชื่อมัน่ อย่างสมบูรณ์ (Absolute Assurance) ได้ เพราะการ ควบคุมมีข้อจากัดที่แฝงอยู่


63

4. เป็ นกระบวนการที่เกี่ยวข้ องกับความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ด้ านใดด้ านหนึ่งใน 3 ด้ าน หรื อหลายด้ านที่เกี่ยวข้ องกัน ได้ แก่ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ของการปฏิ บัติ ง าน (O Objective), ความเชื่ อ ถื อ ได้ ข องรายงานทางการเงิ น การบัญ ชี (F Objective) และการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ อง (C Objective) สุรีย์ วงศ์วณิช (2552: 88) ได้ กล่าวถึงหลักการควบคุม ภายในโดยทัว่ ไป ซึ่งคล้ ายคลึงกับ หลักการข้ างต้ น โดยประกอบด้ วย 1. มีการอนุมตั ริ ายการก่อนจะเกิดรายการ 2. จัดให้ มีการควบคุมทางกายภาพของทรัพย์สินและเอกสารต่างๆ 3. การจับคูแ่ ละเปรี ยบเทียบเอกสารของบริ ษัทกับเอกสารภายนอก เช่น ใบขอซื ้อ/ใบสัง่ ซื ้อ/ใบกากับภาษี/ใบรับภาษี 4. การตรวจสอบการคานวณเลขต่างๆ ให้ สอดคล้ องกับการลงบัญชี 5. การควบคุมเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการลงบัญชี 6. สรุปรายการบัญชีคมุ ยอดให้ มีความสมบูรณ์และถูกต้ อง 7. การทางบกระทบยอด เช่น เช็คสัง่ จ่าย/การเก็บเงินจากลูกหนี ้ 8. ตรวจสอบกับบุคคลที่สาม เช่น การรับรายงานจากธนาคาร


64

ประเภทของการควบคุมภายใน สุชาย ยังประสิทธ์กลุ (2555: 8-9) ได้ กล่าวถึงประเภทของการควบคุมภายใน ดังนี ้ 1. การควบคุมด้ านการบริหาร เป็ นมาตรการต่างๆที่ฝ่ายผู้บริ หารกาหนดรองรับกิจกรรม ต่างๆ ที่ เกิดขึน้ ในองค์กรเป็ นไปอย่างถูกต้ องและเชื่อถื อได้ การควบคุม ภายในด้ านการบริ หาร ที่สาคัญแบ่งออกเป็ น 3 เรื่ องใหญ่ ดังนี ้ 1.1 การจัด ผัง องค์ ก รและการแบ่ง แยกหน้ า ที่ เป็ นการที่ ฝ่ ายบริ ห ารจัด แบ่ง ผัง องค์กรรวมไปถึง การกาหนดโครงสร้ างอานาจ หน้ าที่และความรับผิดชอบ ตามลักษณะงาน ที่จะต้ องทา การแบ่งแยกหน้ าที่ อาจแบ่งได้ ดงั นี ้ 1.1.1 การแบ่ ง แยกหน้ าที่ การปฏิ บั ติ ง านออกจากหน้ าที่ ก ารบั น ทึ ก รายการบัญชี 1.1.2 การแบ่งแยกหน้ าที่ การดูแลรักษาทรัพย์สินออกจากหน้ าที่การบันทึก รายการ 1.1.3 การแบ่งแยกหน้ าที่การดูแลรักษาทรัพย์สินออกจากหน้ าที่การอนุมตั ิ รายการ 1.2 การจดบันทึกและการรายงาน ฝ่ ายบริ หารกาหนดให้ เจ้ าหน้ าที่ตามหน่วยงาน (ตามที่กาหนดในผังองค์กร) เมื่อมีการปฏิบตั ิงานตามที่ได้ รับมอบหมายจะต้ องทาการจดบันทึก รายการนัน้ ๆ ไว้ เพื่ อให้ ทราบได้ ว่าทาอะไรไว้ บ้าง โดยส่วนใหญ่มักให้ จ ดบันทึกลงแบบฟอร์ ม ที่กาหนดไว้ เพื่ อให้ ไ ด้ ข้อมูล ที่ ครบถ้ วนสามารถส่ง ผ่านข้ อมูลที่ เกิ ดขึน้ ไปยัง หน่วยงานอื่นๆ ได้ โดยอิ ส ระ และให้ หน่ ว ยงานอื่ น ๆ สามารถเตรี ยมการเพื่ อ รองรั บ รายการที่ จ ะเกิ ด ขึ น้ อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนฝ่ ายบริ หารใช้ รายงานเป็ นเครื่ องมือในการสื่อสารและใช้ เป็ นเครื่ องมือ ในการติดตามผลปฏิ บัติง านกับผู้ปฏิ บัติง านในองค์กร โดยกาหนดลักษณะของข้ อมูลความถี่ ของการรายงานตามความเหมาะสม


65

1.3 การตรวจสอบภายใน ฝ่ ายบริ หารกาหนดให้ มีหน่วยงานซึ่งมีความเป็ นอิสระ ทาการตรวจสอบเพื่อให้ มนั่ ใจว่าผลการปฏิบตั ิงาน ระบบการรายงานและการดูแลรักษาทรัพย์สิน เป็ นไปตามที่ฝ่ายบริหารกาหนด 2. การควบคุมด้ านบัญชี เป็ นการกาหนดวิธีการในรายละเอียดเพื่อให้ มีการปฏิบตั ิงาน การดูแลรักษาทรัพย์สินและการบันทึกรายการบัญชีเป็ นไปอย่างเหมาะสม เชื่อ ได้ ตามมาตรการ ควบคุมต่างๆที่ฝ่ายบริหารได้ กาหนดไว้ การควบคุมด้ านบัญชีที่สาคัญแบ่งออกเป็ น 3 เรื่ อง ดังนี ้ 2.1 การปฏิบตั ิงาน เป็ นการควบคุมภายใน ณ จุดที่เกิดรายการ ซึ่งอาจเป็ นเรื่ อง ที่ เ กี่ ยวกับการปฏิ บัติง านหรื อเอกสาร ลักษณะของการควบคุม จะเน้ น ในเรื่ อง ความครบถ้ ว น และความถูกต้ อง 2.2 การบันทึกรายการและการจัด ทาเอกสาร เป็ นการควบคุม ภายใน ณ จุด ที่ ลงบัญชี ซึง่ เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับการบันทึกรายการบัญชีและการจัดทาเอกสารต่างๆ 2.3 การดูแลรักษาทรัพย์สิน เป็ นการควบคุมภายในเรื่ องที่เกี่ยวกับการควบคุมดูแล ทรัพย์สิน อุษณา ภัทรมนตรี (2552: 3-4) ได้ กล่าวถึงประเภทของการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ซึ่งแตกต่างกันกับประเภทของการควบคุมที่ได้ กล่าวไว้ ข้างต้ น โดยแบ่งประเภทออกเป็ น 2 ประเภท เป็ นการควบคุมแบบทางการและไม่เป็ นทางการ โดยในการควบคุมสภาพแวดล้ อม ที่เพียงพอและมีประสิทธิผล COSO กล่าวว่าต้ องประกอบด้ วยการควบคุมทัง้ 2 ประเภท คือ 1. การควบคุมที่เป็ นทางการ (Hard Control or Formal Control) ได้ แก่ การควบคุม ที่มีการกาหนดเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรหรื อในการกระทาที่ชัดเจน ตัวอย่างเช่น การจัดทาเอกสาร นโยบายและคู่มือการปฏิบตั ิงาน การจัดทาการจัดโครงสร้ างองค์การ การตัดสินใจแบบรวมศูนย์ เป็ นต้ น


66

2. การควบคุมที่ไม่เป็ นทางการ (Soft Control or Informal Control) ได้ แก่ การควบคุม เชิ งพฤติกรรม โดยความสามารถ การรั บรู้ และจิตสานึกของบุคลากร ตัวอย่างเช่น ภาวะผู้นา วิสยั ทัศน์ ความไว้ ใจได้ ความเข้ าใจงานและการควบคุม เป็ นต้ น การประเมินการควบคุมที่เป็ นทางการ อาจประเมินจากวิธีการที่ออกแบบและกาหนดไว้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร แต่การประเมินผลการควบคุมที่ไม่เป็ นทางการ อาจต้ องใช้ วิธีการประเมิน ตนเอง (Self Assessment) เทคนิคการควบคุมภายใน จันธนา สาขากร, นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรี จนั่ เพชร (2550: 15) ได้ กล่าวถึงเทคนิคการควบคุมภายในที่พบเห็นกันบ่อยๆ มีดงั นี ้ 1. เทคนิคการควบคุมขันพื ้ ้นฐาน เช่น 1.1 การให้ หมายเลขเอกสารเรี ย งล าดั บ แก่ ร ายการที่ เ กิ ด ขึ น้ โดยเร็ ว ที่ สุ ด และมีการสอบทานภายหลังว่ารายการทุกรายการที่ใ ห้ หมายเลขไว้ ได้ รับการดาเนินการตังแต่ ้ ต้น จนจบครบทุกหมายเลข และในกรณีที่ต้องการให้ ความผิดพลาดในการให้ หมายเลขเกิดขึ ้นน้ อย ที่สดุ ควรใช้ วิธีพิมพ์เลขที่เอกสารเรี ยงลาดับไว้ ลว่ งหน้ า (Pre-numbering of Document) 1.2 การตรวจสอบเอกสารชนิดหนึง่ กับเอกสารอีกชนิดหนึง่ ในช่วงเวลาหนึง่ 1.3 การให้ มี ก ารอนุมัติ ก่ อ นด าเนิ น การ ซึ่ ง อาจแบ่ง เป็ นการอนุมัติทั่ว ไปและ การอนุมตั แิ ต่ละกรณี 1.4 การควบคุมการเคลื่อนย้ ายของทรัพย์สิน 1.5 การตรวจสอบการคานวณตัวเลข 1.6 การทาบัญชีหรื อทะเบียนคุม


67

1.7 การพิสจู น์ของจริง (Physical Verification) และกรรมสิทธิ์ของทรัพย์สิน 2. เทคนิคการควบคุมสนับสนุน เช่น 2.1 การแบ่งแยกหน้ าที่ความรับผิดชอบอย่างชัดเจนระหว่างหน่วยงานและบุคคล ตลอดจนการหมุนเวียนสับเปลี่ยนหน้ าที่ในระยะเวลาที่เหมาะสม 2.2 การดูแลรักษาทรัพย์สิน โดยการจากัดการเข้ าถึงทรัพย์สิน และการแบ่งแยก หน้ าที่การเก็บรักษาทรัพย์สินกับการบันทึกบัญชีทรัพย์สินออกจากกัน 2.3 การควบคุม ทบทวนงาน โดยก าหนดให้ มี ก ารควบคุม ดูแ ลการปฏิ บัติง าน โดยหัวหน้ าอย่างเพียงพอ มีการอนุมัติเอกสารขันสุ ้ ดท้ ายก่อนการดาเนินการ และการสอบทาน การปฏิบตั งิ านของผู้ใต้ บงั คับบัญชาที่ทาหน้ าที่ควบคุมขันพื ้ ้นฐาน 3. เทคนิคการควบคุมอื่น เช่น 3.1 การควบคุ ม คู่ หมายถึ ง การยอมให้ มี ก ารกระท าที่ ซ า้ ซ้ อนกั น เพื่ อ ให้ มีการควบคุมอย่างรัดกุมยิ่งขึ ้น ซึ่งมักใช้ กับกรณีการควบคุมการกระทาหากเกิดการผิดพลาดแล้ ว จะเสียหายเป็ นจานวนเงินสูง เช่น การกาหนดให้ มีผ้ ลู งนามในเช็คสัง่ จ่ายเงินของกิจการสองคน แทนที่จะเป็ นเพียงบุคคลเดียว 3.2 การเก็ บ รั ก ษาดู แ ลร่ วมกั น มั ก ใช้ กั บ ทรั พ ย์ สิ น ที่ มี มู ล ค่ า สู ง หรื อง่ า ย ต่อความสูญ เสี ยหาย เช่น เงินสดซึ่ง มักกาหนดให้ มี คณะกรรมการดูแลรั กษาเงิ น หรื อกาหนด ให้ มีผ้ รู ักษากุญแจตู้นิรภัยมากกว่า 1 คน โดยแยกเก็บรักษากุญแจกันคนละดอก แต่ต้ องใช้ กญ ุ แจ ทังสองดอกร่ ้ วมกันไขจึงจะสามารถเปิ ดตู้นิรภัยได้ 3.3 สิ ท ธิ ก ารลาพั ก ผ่ อ นของพนั ก งาน เป็ นเทคนิ ค การควบคุ ม ภายในที่ ใ ช้ เพื่ อ ให้ พ นัก งานได้ ซ่อ มแซมฟื ้น ฟูสุข ภาพกายและใจ และในขณะเดี ย วกันก็ ใ ช้ เ ป็ นเครื่ อ งมื อ สอบทานการทางานของพนักงานผู้ลาพักนัน้


68

3.4 กิ จ กรรมภายนอกของพนักงาน เป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ กิจ การใช้ เพื่ อให้ ไ ด้ ใ กล้ ชิ ด และทราบคุ ณ สมบัติ แ ละบุ ค ลิ ก ที่ แ ท้ จริ ง ของพนั ก งานในการที่ จ ะบรรจุ แ ต่ ง ตั ง้ พนั ก งาน ที่มีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมกับตาแหน่ง สุชาย ยังประสิทธ์กลุ (2555: 10-12) ได้ กล่าวถึงเทคนิคการควบคุมภายใน ซึ่งสอดคล้ อง กับแนวคิดข้ างต้ น ดังนี ้ 1. การควบคุม การปฏิ บตั ิง านสองฝ่ าย การปฏิบัติงานของผู้หนึ่ง จะถูกสอบทานโดย บุค คลอี ก ผู้หนึ่ง และรั บ ผิ ด ชอบร่ ว มกัน โดยรายการนัน้ ๆเกิ ด ขึน้ จากบุค คลที่ ไ ด้ รับ มอบหมาย และมีการบันทึกรายการถูกต้ อง ครบถ้ วน 2. การดูแลรั กษาทรั พ ย์ สินร่ วมกัน การดูแลรั กษาทรั พ ย์ สินต่างๆจะอยู่ในความดูแล ของบุคคลตังแต่ ้ สองคนหรื อสองฝ่ ายขึ ้นไป และรับผิดชอบร่วมกัน 3. การให้ ลาดับที่เอกสารล่วงหน้ า การควบคุมการใช้ เอกสารเพื่อสะดวกในตรวจทาน ภายหลัง โดยการกาหนดเลขที่ล่วงหน้ าเอกสาร กาหนดให้ มีการใช้ เอกสารตามลาดับ กาหนดให้ มี การติดตามสืบหาเอกสารของลาดับที่หายไป กรณีที่มีการยกเลิกเอกสารต้ องกาหนดให้ มีการเก็บ รักษาเอกสารที่ยกเลิกและคูฉ่ บับให้ ครบถ้ วน 4. การเปรี ย บเที ยบเอกสาร เป็ นการกาหนดให้ มี การเปรี ย บเที ยบยอดหรื อรายการ ตามเอกสารชนิดหนึง่ กับยอดหรื อรายการจากเอกสารอีกชนิดหนึง่ 5. การพิสูจ น์ยอด กาหนดให้ หน่วยงานต่างๆมี การสอบยันยอดที่มี ความสัมพันธ์ กัน กาหนดให้ มี การรายงานพิสูจน์ ยอดหรื อมี หน่วยงานที่ คอยตรวจสอบว่าที่ ไ ด้ จั ดทามี ผลถูกต้ อง ตรงกัน กรณี ที่มี รายงานผลพิสูจ น์ ยอดไม่ถูกต้ อ ง ต้ องกาหนดให้ มี การติดตามหาสาเหตุ และ ขออนุมตั เิ พื่อแก้ ไขรายการที่ผิดพลาด 6. การกระทบยอดบัญ ชี คุ ม ยอดกั บ บั ญ ชี ย่ อ ย เป็ นการก าหนดให้ มี ก ารจั ด ท า รายละเอียดของบัญชียอ่ ยต่างๆ และทาการเปรี ยบเทียบกับยอดบัญชีคมุ ยอดว่าตรงกันหรื อไม่


69

7. การตรวจนับทรั พ ย์ สิ น เป็ นการกาหนดให้ มี การตรวจนับรายการทรั พ ย์ สินต่างๆ เพื่ อนามาเปรี ยบเที ยบกับยอดบัญชี อย่างสม่ าเสมอ ซึ่ง ต้ องมั่นใจว่าระบบการควบคุม ภายใน ด้ านบัญชีที่เกี่ ยวกับการจัดทาเอกสารและบันทึกรายการบัญชีมี ระบบที่รัดกุมเชื่ อถื อได้ เพราะ ผลการตรวจนับ ที่ ไ ด้ จ ะต้ อ งน ามาเปรี ย บเที ย บกั บ ยอดตามบัญ ชี หากยอดตามบัญ ชี ข าด ความน่าเชื่อถือผลการตรวจนับที่ได้ ก็ไม่สามารถพิสจู น์ความถูกต้ องครบถ้ วนได้ 8. การดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์ สิ น การดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์ สิ น ควรก าหนดให้ ครอบคลุ ม ในเรื่ องต่างๆดังนี ้ 8.1 จากัดสิทธิ์ในการจับต้ องทรัพย์สิน โดยไม่ให้ ผ้ ทู ี่ไม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องมาจับต้ อง ทรัพย์สิน 8.2 กาหนดให้ มีผ้ คู วบคุมดูแลและรับผิดชอบทรัพย์สินโดยเฉพาะ 8.3 ก าหนดให้ มี ก ารควบคุม การจัด ท าและเก็ บ รั ก ษาเอกสารเกี่ ย วกับ การรั บ การเบิกจ่ายทรัพย์สินโดยผู้อื่นที่ไม่ใช่ผ้ ทู ี่เก็บรักษาทรัพย์สิน 8.4 กาหนดให้ มี ก ารอนุมัติก ารใช้ การเบิก จ่า ย การท าลาย หรื อ การจ าหน่า ย ทรัพย์สิน 8.5 ก าหนดให้ มี ก ารตรวจนั บ ทรั พ ย์ สิ น เพื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ยอดตามบัญ ชี อย่างสม่าเสมอ 9. การอนุมตั ิรายการ กาหนดให้ มีการอนุมตั ิก่อนการดาเนินการของรายการที่เกี่ยวกับ การปฏิบตั ิงานการจัดทาเอกสารและบันทึกรายการบัญชีการเปลี่ยนแปลงต่อทรัพย์สิน โดยการ อนุมัติรายการเป็ นเทคนิคเพื่ อให้ เกิดความเชื่ อมั่นหรื อเชื่อถื อได้ ของรายการนัน้ ว่า รายการนัน้ เกิดขึ ้นจริง และเป็ นรายการเพื่อประโยชน์ของกิจการ


70

อุษณา ภัทรมนตรี (2552: 24-29) ได้ ให้ ความหมายเกี่ ยวกับเทคนิคของการควบคุม ภายใน ซึง่ สอดคล้ องกันกับเทคนิคที่ได้ กล่าวมาแล้ วดังนี ้ การควบคุมขันพื ้ น้ ฐาน หมายถึง การควบคุมขัน้ ต่าที่กิจการควรมี หรื อเป็ นการควบคุม ที่ มี หรื อเป็ นการควบคุ ม ที่ มี ผ ลกระทบกว้ างต่ อ องค์ ก ร หรื อต่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ โ ดยรวม เป็ นการควบคุมขันเริ ้ ่ มต้ น เมื่อกิจการประเมินความเสี่ยงแล้ ว หากพบความเสี่ยงใดที่สงู กว่าระดับ ที่ ย อมรั บได้ ผู้บ ริ ห ารต้ อ งพิ จ ารณาเพิ่ม วิ ธี ก ารจัด การความเสี่ ย งหรื อ เพิ่ ม กิ จ กรรมควบคุม ให้ เหมาะสม การกาหนดว่าการควบคุมใดเป็ นการควบคุมขัน้ พื น้ ฐาน ต้ องพิจารณาจากผู้บริ หาร คณะกรรมการ ผู้เชี่ยวชาญ ตัวอย่างการควบคุมขันพื ้ ้นฐาน เช่น 1. การกาหนดรายงานผลงานตามหน้ าที่ความรับผิดชอบ 1.1 การปฏิบตั ิงานสมัยใหม่ เน้ นการปฏิบตั ิงานที่มีเจ้ าของ (Owner) ผู้รับผิดชอบ เพียงคนเดียว ซึ่งผู้รับผิดชอบนันควรรายงานผลการปฏิ ้ บตั ิงานตามหน้ าที่ความรับผิดชอบของตน ต่อผู้บริหารอย่างสม่าเสมอ 1.2 รายงานดัง กล่ า วได้ รั บ การสอบทานให้ มั่น ใจว่ า ได้ ร ายงานอย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้ วน เชื่อถือได้ และเป็ นไปตามรูปแบบวิธีการที่กาหนด 1.3 ควรใช้ เป็ นตัววัดผลงานการประเมินติดตามผลการปฏิบตั งิ านจริง 2. การกาหนดอานาจและระดับในการอนุมตั ิ 2.1 อานาจในการอนุมัติหรื อความเห็ นชอบในการปฏิ บัติง านตามระดับ ต่า งๆ ควรมอบหมายให้ มีผ้ รู ับผิดชอบอย่างเหมาะสม 2.2 มีการสอบทานและรายงาน เพื่ อประเมิ นว่าไม่มีการใช้ อานาจเกิ นขอบเขต ที่ได้ รับอนุมตั ิ


71

3. การสอบทานรายงานด้ านรายได้ และค่าใช้ จา่ ยที่สาคัญ 3.1 รายได้ และค่าใช้ จ่ายที่ ส าคัญขององค์การต้ องมี การรายงานและสอบทาน ความถูกต้ อง โดยอาจขอคายื นยันและการสุ่ม ตรวจสอบเปรี ยบเทียบกับแผนงานและเอกสาร หลักฐาน ซึ่ง ควรมี อ ย่างที่ ถูกต้ องครบถ้ ว น มาจากแหล่ง ที่ มี น า้ หนัก น่าเชื่ อถื อ ทราบที่ ม าที่ ไ ป ของเอกสารหลักฐาน หากเป็ นเอกสารหลักฐานที่ได้ จากแหล่งที่น่าสงสัย ควรมีการควบคุมติดตาม เป็ นพิเศษ 3.2 มีการสอบทานให้ มนั่ ใจว่าการรับ -จ่ายเงินเป็ นไปตามระเบียบวิธีการที่กาหนด การรับ-จ่ายเงินควรผ่านระบบที่ปลอดภัย เช่น ผ่านระบบธนาคาร 3.3 มี ก ารเก็ บ รั ก ษาเงิ น และจัด การการเงิ น ให้ ป ลอดภัย การแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ผู้ทารายงานออกจากผู้อนุมตั ิ และหรื อผู้ปฏิบตั ิงาน รวมทังมี ้ การยืนยันยอดและการสุ่มตรวจนับ แบบไม่แจ้ งล่วงหน้ าเป็ นบางครัง้ 4. การสอบทานเอกสารการจัดซื ้อ 4.1 การจัดซื ้อเป็ นกิจกรรมสาคัญที่ควรได้ รับการควบคุมเป็ นพิเศษ การออกแบบ เอกสารการจัดซื ้อ เช่น ใบสัง่ ซื ้อ ใบตรวจรับ ให้ สามารถควบคุมและอ้ างอิงกับเอกสารจากภายนอก เช่น ใบอินวอยซ์จากผู้ขาย เป็ นต้ น 4.2 ผู้ บริ ห ารควรก าหนดผู้ มี ห น้ าที่ ใ นการสอบทานเอกสาร และการพิ สู จ น์ ความถูก ต้ อ งของการอนุมัติ จ านวนที่ ไ ด้ รั บ ราคา ระยะการจ่ า ยเงิ น ฯลฯ ให้ เ ป็ นคนละคน กับผู้จดั ซื ้อ 4.3 การจ่ายเงินต้ องจ่ายจากเอกสารอินวอยซ์ต้นฉบับและประทับตรา "จ่ายแล้ ว" 4.4 หากเหมาะสมการจ่ายเงินงวดสุดท้ ายควรตรวจสอบให้ มนั่ ใจในความครบถ้ วน ของสินค้ าและบริการที่ได้ รับตามเงื่อนไขสัญญา


72

4.5 ควรกาหนดให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องลงนามยืนยันในเอกสารที่เกี่ยวข้ อง เช่น การลงนาม รับ-จ่ายทันทีเมื่อเกิดรายการ และจัดเก็บเอกสารให้ สะดวกต่อการพิสูจน์และยืนยันกับรายงาน ที่เกี่ยวข้ อง 5. การสอบทานกระบวนการจัดซื ้อและการจัดการสินค้ า 5.1 ควรมี ห ลัก การในการแบ่ง แยกหน้ า ที่ ใ นการอนุมัติ การจัด ซื อ้ การจัด เก็ บ และการเบิ ก จ่ า ยสิ น ค้ าและวัต ถุ ดิ บ รวมทั ง้ มั่ น ใจว่ า มี ก ารบัน ทึ ก บัญ ชี ใ นงานที่ เ กี่ ย วข้ อง อย่างถูกต้ องทันกาล 5.2 องค์การควรจากัดผู้มีอานาจอนุมตั กิ ารจัดซื ้อรวมทังก ้ าหนดขอบเขตและระดับ วงเงิ น โดยควรจัด ท าบัญ ชี ร ายชื่ อ ผู้มี อ านาจและระดับ การอนุมัติ บัญ ชี ดัง กล่า วต้ อ งจัด ท า ให้ เป็ นปั จจุบนั และมีการสอบทานเป็ นระยะ หากผู้ใดลาออกหรื อโอนย้ าย ต้ องมีการเปลี่ยนแปลง บัญชีรายชื่อดังกล่าวทันที 5.3 การจัดซือ้ ควรกาหนดให้ มีวิ ธีการคัดเลือกให้ จัดซือ้ ได้ ในราคาจานวนเท่าใด และหากเป็ นสินค้ าใหม่ควรมีการสอบทานคุณภาพสินค้ าก่อนการอนุมตั ิ 5.4 สินค้ าควรจัดเก็บในที่ปลอดภัย การเข้ าถึง สินค้ า วัตถุดิบ ควรจากัดเฉพาะ ผู้มีหน้ าที่เกี่ยวข้ อง และควรมีการสอบทานการเข้ าออกของสถานที่ดงั กล่าว 5.5 ควรมี ก ารจัด ประเภทการควบคุม และการบัน ทึ ก บัญ ชี ต ามความส าคัญ หากเหมาะสม สินค้ าที่มีความสาคัญควรมีการควบคุมและบันทึกบัญชีแบบต่อเนื่อง 5.6 ควรมีรายงานวิเคราะห์สินค้ าและอัตราหมุนเวียน สินค้ าใดที่หมุนเวียนช้ าควร ได้ รับการจัดการจาหน่ายเป็ นกรณี พิเศษ การควบคุมการทาลายและจาหน่ายสินค้ าโดยบุคคล อิสระ เพื่อให้ แน่ใจว่าทาลายจริ ง ไม่ให้ แฝงสินค้ าสภาพดีเพื่อประโยชน์ส่วนตัว รวมทังการควบคุ ้ ม การนาส่งรายได้ ที่เกิดขึ ้น


73

6. การควบคุมวัตถุดบิ และบริ การให้ คสู่ ญ ั ญาหรื อสาขา 6.1 การจัดส่งวัตถุดิบและบริ การไปให้ ค่สู ญ ั ญาหรื อสาขา ควรควบคุมการปฏิบตั ิ ตามเงื่อนไขสัญญาอย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการถูกปรับหรื อเสียความพึงพอใจ 6.2 มีการบันทึก การยืนยันการรับ-ส่ง เป็ นระยะๆ และจัดทารายงานระหว่างกาล เกี่ยวกับจานวน ราคาก่อนสัญญาจะสิ ้นสุด 7. การควบคุมและบริหารสัญญา 7.1 รู ป แบบและข้ อความของสัญ ญาควรก าหนดอย่ า งระมัด ระวัง รอบคอบ จากผู้เชี่ยวชาญ การประกาศความประสงค์ตรงสัญญา ควรกระทาอย่างเปิ ดเผย ประกอบด้ วย เงื่ อ นไขสั ญ ญา คุ ณ ลั ก ษณะของสิ่ ง ที่ ต้ องการ เกณฑ์ ใ นการคั ด เลื อ กผู้ ชนะตามสั ญ ญา โดยควรมีผ้ ยู ื่นความจานงอย่างน้ อย 3 รายการที่ไม่เกี่ยวข้ องกัน 7.2 องค์ ก ารไม่ ค วรด าเนิ น การใดๆ จนกว่ า มี ก ารลงนามในสั ญ ญา ยกเว้ น เรื่ องเร่งด่วนและได้ รับอนุมตั ิจากผู้บริ หาร หากเป็ นไปได้ ควรมีการแต่งตังเจ้ ้ าหน้ าที่เพื่อรับผิดชอบ การปฏิบตั ติ ามสัญญาตังแต่ ้ ต้นจนจบ 7.3 สัญ ญาการซ่อมแซมและบารุ ง รั ก ษาทั่วไปที่ มี ร ะยะสัญญายาว เจ้ า หน้ า ที่ ที่เกี่ยวข้ องกับการติดตามผลการปฏิบตั งิ านตามสัญญาไม่ควรเป็ นผู้เลือกคูส่ ญ ั ญา 7.4 ควรมีวิธี ปฏิบัติงานในการตรวจรั บมอบงานตามสัญญา จ านวนงานที่เสร็ จ ควรเป็ นไปตามระยะเวลาตามสัญญา และสอบทานจานวนงานที่เสร็ จและเงื่ อนไขการชาระเงิน กับ เอกสารอิ น วอยซ์ ที่ เ รี ย กเก็ บ พนัก งานที่ ต รวจรั บ งานงวดสุด ท้ า ยไม่ ค วรเป็ นบุค คลเดี ย ว กับผู้เริ่มต้ น 7.5 ผู้ล งนามการจ่า ยเงิ นควรไปตรวจงานเป็ นระยะๆ เพื่ อพิสูจ น์ ความถูก ต้ อ ง ของงวดงานและงวดเงิน


74

7.6 สัญ ญาระยะสัน้ ส าหรั บ งานที่ เ กิ ด ซ า้ ๆ ควรเปลี่ ย นเป็ นสัญ ญาระยะยาว ที่มีการแข่งขันคัดเลือกคูส่ ญ ั ญา 8. การควบคุมอาคาร เครื่ องมือ และอุปกรณ์ 8.1 องค์ ก ารควรก าหนดประเภทและราคาที่ ค วรบัน ทึ ก บัญ ชี เ ป็ นทรั พ ย์ สิ น การจัด ประเภททรั พ ย์ สิ น ตามความส าคัญ และมู ล ค่า มี ก ารจัด ท าทะเบี ย นบัญ ชี ทรั พ ย์ สิ น แสดงวันเดือนปี เลขทะเบียน สถานที่จดั เก็บ 8.2 องค์ ก ารควรก าหนดให้ มี ก ารตรวจนับ ทรั พ ย์ สิ น และสิ น ทรั พ ย์ ที่ เ คลื่ อ นที่ ได้ เป็ นระยะ 8.3 องค์ การใช้ หลักการแบ่ง เเยกหน้ า ที่ ระหว่างผู้ดูแ ลรั กษาทรั พ ย์ สินออกจาก ผู้บันทึกทะเบียนบัญ ชี รวมทัง้ ทรัพ ย์ สินที่มี ราคาแพงหรื อมี สภาพคล่อง ควรมีการควบคุมและ การดูแลรักษาเป็ นพิเศษ การกาหนดผู้มีหน้ าที่ดแู ลรักษาซ่อมแซมตามกาหนดเวลา 8.4 การแยกทรั พ ย์ สิ น ที่ ร อจ าหน่ า ยออกจากทรั พ ย์ สิ น ใช้ งาน การควบคุ ม การจาหน่ายทรัพย์สินและการนาส่งรายได้ 8.5 การประกั น ภั ย ทรั พ ย์ สิ น ตามผลการประเมิ น ความเสี่ ย งในจ านวน ที่จะลดผลกระทบที่ค้ มุ ค่า 9. การควบคุมการจ่ายเงินเดือน 9.1 การทางานล่วงเวลาและงานพิเศษต้ องได้ รับการอนุมตั ิ 9.2 การแบ่งแยกหน้ าที่ของผู้บนั ทึก ประมวลผลแยกจากผู้อนุมตั ิ 9.3 มีการสุม่ สอบทานบัญชีการจ่ายเงินเป็ นระยะให้ ตรงกับจานวนผู้ปฏิบตั งิ านจริง


75

9.4 ควรมีวิธีการจ่ายเงินเดือนที่ปลอดภัย เช่น การจ่ายผ่านระบบธนาคาร 10. การควบคุมการบริหารด้ านภาษีอากร 10.1 ฝ่ ายบริ ห ารควรวางแผนการบริ ห ารภาษี อ ากร ให้ เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด หรื อการปฏิบตั ติ ามประมวลรัษฎากร เพื่อไม่ต้องถูกปรับหรื อเสียชื่อเสียง 10.2 ภาษีหกั ณ ที่จา่ ย การสอบทานจานวนที่หกั และการนาส่ง 10.3 การสอบทานกระทบยอดภาษี ซื ้อ ภาษี ขายกับยอดซือ้ ยอดขาย ภาษี เงินได้ นิตบิ คุ คล ควรมีการสอบทานเอกสารที่เกี่ยวข้ องว่าเป็ นไปตามรูปแบบที่กาหนด 11. การจัดสภาพแวดล้ อมการควบคุมของระบบคอมพิวเตอร์ 11.1 ในกรณี ที่องค์การประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ ต้ องมีการจัดสภาพแวดล้ อม การควบคุ ม และมี วิ ธี การควบคุ ม ด้ านคอมพิ ว เตอร์ และการรั ก ษาความปลอดภั ย ระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นพิเศษ 11.2 การก าหนดระดับ อนุ ญ าตการเข้ าถึ ง ระบบและสารสนเทศแบบจ ากั ด เฉพาะเจาะจง และมาตรฐานความจาเป็ น 11.3 การสร้ างระบบร่ องรอย (Audit Trail) การบันทึกทะเบียนผู้เข้ าสู่ระบบ และระบบงานอัตโนมัติ 11.4 มีการควบคุมการใช้ รหัสผ่าน การห้ ามใช้ รหัสผ่านร่วมกัน มีการเปลี่ยนแปลง รหัส ผ่านเป็ นระยะ หากมี การเปลี่ ย นแปลงหน้ าที่ ข องผู้ที่ ไ ด้ รั บอนุมัติ จ ะต้ องเปลี่ ย นหรื อ ระงับ การใช้ รหัสผ่านเดิมทันที 11.5 การควบคุมการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงระบบงานอย่างมีมาตรฐาน


76

11.6 มี ก ารก าหนดการควบคุ ม ทั่ ว ไป และการควบคุ ม ระบบงานที่ ส าคั ญ รวมทังมี ้ การสอบทานการปฏิบตั ติ ามและความทันสมัยของการควบคุมอย่างต่อเนื่อง 11.7 การทาสาเนาแฟ้มคอมพิวเตอร์ เป็ นระยะ 11.8 การมีแผนป้องกันเหตุฉกุ เฉินและการหยุดชะงักทางธุรกิจ 11.9 การมีชุดคาสั่งอีดิต และโปรแกรมตรวจสอบในความถูกต้ องของการบันทึก การประมวลผล และข้ อมูลผลลัพธ์ ฯลฯ 12. การป้องกันและการควบคุมการทุจริ ต 12.1 ฝ่ ายบริ หารมีหน้ าที่รับผิดชอบที่จะกาหนดการควบคุมที่จะป้องกันและค้ นพบ การทุจริตสาคัญที่เกิดขึ ้นอย่างทันกาล รวมทังการทุ ้ จริตในการจัดทาบัญชีและงบการเงิน 12.2 ฝ่ ายบริ ห ารควรจัด ท านโยบายเกี่ ย วกับ ข้ อ ห้ า มเกี่ ย วกับ การทุจ ริ ต รวมทัง้ อธิ บายตัวชี ว้ ัดการทุจ ริ ต สัญ ญาณการทุจ ริ ตประเภทต่างๆ ให้ พ นักงานและผู้เกี่ ยวข้ องทราบ เพื่อสอดส่องไม่ให้ เกิดขึ ้น 12.3 การมี ช่ อ งทางการสื่ อ สาร การแจ้ งผู้ บริ ห ารที่ มี อ านาจเมื่ อ พบสัญ ญาณ หรื อสถานการณ์ ที่อาจเปิ ดโอกาสการทุจ ริ ต การประพฤติมิ ช อบ หรื อความเสี ยหายสิ น้ เปลื อง เพื่อการแก้ ไขสถานการณ์เหล่านันอย่ ้ างทันกาล 12.4 การปฏิ บตั ิตามระเบียบวิธีปฏิบัติงานต่างๆ ที่ กาหนดเป็ นลายลักษณ์ อักษร เพียงประการเดียวอาจไม่เพียงพอที่จะป้องกันการทุจริ ต การควบคุมอย่างไม่เป็ นทางการ เช่น การควบคุมจากจิตสานึก การสร้ างบรรยากาศจากระดับสูง รวมทังการสื ้ ่อสารและแสดงตัวอย่าง ให้ พนั ก งานทราบว่ า ฝ่ ายบริ ห ารจริ ง จั ง ในการก าจั ด การทุ จ ริ ต การประพฤติ มิ ช อบและ ความสิน้ เปลืองที่เกิดขึน้ ในองค์การ เช่น การลงโทษผู้กระทาผิด การให้ รางวัลผู้ประพฤติดีตาม จรรยาบรรณองค์การมีความสาคัญต่อเรื่ องดังกล่าว


77

ข้ อจากัดของการควบคุมภายใน จันทนา สาขากร, นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรี จนั่ เพชร (2550: 18) ได้ กล่าวถึงข้ อจากัดของการควบคุมภายในว่า การควบคุมภายในเพียงแต่ให้ ความมัน่ ใจพอสมควร ว่าวัตถุประสงค์ขององค์กรได้ บรรลุแล้ วหรื อไม่เท่านัน้ แต่ไม่อาจให้ หลักประกันว่าการบริ หารเป็ นไป อย่างมีประสิทธิภาพและมีการบันทึกบัญชีถูกต้ องสมบูรณ์ ตลอดจนการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด จะค้ นพบและป้องกันได้ ทังนี ้ ้เนื่องจากการควบคุมภายในมีข้อจากัด ดังนี ้ 1. ความต้ องการของฝ่ ายบริ หารทั่วๆ ไปจะให้ มี การควบคุมที่ค้ ุมค่าใช้ จ่าย กล่าวคือ ค่าใช้ จา่ ยในการควบคุมต้ องไม่สงู กว่าค่าเสียหายที่อาจเกิดขึ ้น 2. การควบคุมส่วนใหญ่มีไว้ สาหรับรายการ ซึง่ คาดว่าจะเกิดขึ ้นตามปกติ 3. ความผิ ด พลาดอาจเกิ ด จากความประมาทเลิ น เล่ อ ความไม่ เ อาใจใส่ การใช้ วิจารณญาณผิดพลาด หรื อความไม่เข้ าใจคาสัง่ ของบุคคลที่เกี่ยวข้ อง 4. ผู้ทจุ ริตอาจร่วมมือกับบุคคลภายนอกหรื อบุคคลภายในหลีกเลี่ยงการควบคุมที่มีอยู่ 5. ผู้รับผิดชอบอาจไม่ปฏิบตั ิตามการควบคุมภายใน หรื อมีการละเว้ นการปฏิบตั ิตาม ขันตอนที ้ ่ได้ กาหนดไว้ 6. วิธีการควบคุมภายในที่มีอยู่อาจไม่เพียงพอ หรื อไม่เหมาะสม เนื่องจากสถานการณ์ ได้ เปลี่ยนแปลงไป สุช าย ยัง ประสิ ท ธ์ กุล (2555: 19) ได้ ก ล่า วถึ ง ข้ อ จ ากัด ของการควบคุม ภายใน ซึ่ ง สอดคล้ องกั บ หลั ก การข้ างต้ นว่ า การควบคุ ม ภายในเป็ นสิ่ ง ที่ ถู ก สร้ างขึ น้ ในระดั บ ที่ ส มเหตุ ส มผล เพื่ อ ให้ เกิ ด ความเชื่ อ มั่ น ว่ า จะช่ ว ยป้ องกั น ความผิ ด พลาดเสี ย หาย และให้ การดาเนิน งานมี ประสิ ทธิ ภ าพเป็ นไปตามวัตถุป ระสงค์ ประสิทธิ ภ าพของการควบคุม ภายในขึ ้นอยู่กบั ปั จจัยต่างๆ โดยเฉพาะปั จจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้ อม ซึ่งอาจเป็ นสาเหตุที่ทาให้ การควบคุมภายในล้ มเหลวหรื อมีข้อจากัด เช่น


78

1. การใช้ อานาจของฝ่ ายบริหารสัง่ การให้ มีการปฏิบตั ติ า่ งไปจากกฎเกณฑ์ที่วางไว้ 2. ผู้ปฏิบัติง านละเว้ นหรื อไม่ปฏิบัติตามการควบคุม ภายในที่วางไว้ ซึ่ งอาจมีสาเหตุ เนื่องมาจากการที่สภาพการเปลี่ยนไป หรื อเกิดจากการไม่เข้ าใจของผู้ปฏิบตั งิ าน 3. การควบคุม โดยรวมออกแบบมาเพื่ อ รองรั บ กับ เหตุก ารณ์ ห รื อ รายการที่ เ กิ ด ขึ น้ ตามปกติ ซึง่ อาจไม่ครอบคลุมถึงเหตุการณ์หรื อรายการที่มีลกั ษณะพิเศษ 4. ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ กิ ด จากการควบคุ ม ภายใน ซึ่ ง อาจรวมถึ ง ต้ นทุ น ค่ า เสี ย โอกาส อาจไม่ ค้ ุ มค่ า กั บ การป้ องกั น ข้ อผิ ด พลาดเสี ย หายที่ จ ะเกิ ด ขึ น้ หรื อประโยชน์ ที่ จ ะได้ รั บ จากการควบคุมภายใน 5. กิ จ กรรมการควบคุม ภายในส่ว นใหญ่ มัก ก าหนดให้ ผ้ ูป ฏิ บัติง านต้ อ งปฏิ บัติแ ละ รายงานให้ ทราบถึงสิ่งที่ตนเองหรื อส่วนงานที่ดาเนินงานไว้ และให้ ผ้ ูปฏิบตั ิงานหรื อส่วนงานอื่น ท าการสอบทานงานซึ่ ง กั น และกั น ดัง นั น้ หากผู้ ปฏิ บัติ ง านร่ ว มกั น ละเว้ นหรื อหลี ก เลี่ ย ง การปฏิ บัติ ง านการรายงานตามที่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ก็ จ ะท าให้ ค วบคุม ภายในไม่ ส ามารถป้ องกัน ความเสี่ยงและข้ อผิดพลาดได้ งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง กุสมุ า โสเขียว (2549) การศึกษาเรื่ อง ผลกระทบของประสิทธิภาพการควบคุมภายในและ สภาพแวดล้ อมธุ รกิจ ที่ มีต่อคุณ ภาพข้ อมูลทางการบัญชี ของบริ ษัทจดทะเบียนในประเทศไทย สามารถสรุปผลได้ ดงั นี ้ 1. นั ก บั ญ ชี บ ริ ษั ท จดทะเบี ย น มี ค วามคิ ด เห็ น ด้ วยเกี่ ย วกั บ การมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ การควบคุมภายในโดยรวมและเป็ นรายด้ านทุกด้ าน อยู่ในระดับมาก เนื่องจากการควบคุมภายใน เป็ นปั จ จัยที่ ส าคัญ อย่างมากในการดาเนินธุ รกิ จ เป็ นเครื่ องมื อในการบริ หารงานของผู้บริ หาร เพื่อให้ การปฏิบตั ิงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตงไว้ ั ้ การควบคุมภายในเป็ นกระบวนการที่กาหนด ขึน้ ภายในแต่ล ะองค์ ก ร ซึ่ ง ถ้ าถูก สร้ างขึ น้ มาอย่ า งเหมาะสม ก็ จ ะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพใน การทางานขององค์กร ช่วยป้องกันการรั่วไหล ช่วยให้ องค์กรเห็นฐานะการเงินที่ถกู ต้ องเชื่อถือได้


79

2. นักบัญชีบริษัทจดทะเบียน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีสภาพแวดล้ อมธุรกิจโดยรวม ด้ า นเศรษฐกิ จ ด้ า นการเมื อ งและกฎหมาย ด้ า นต่ า งประเทศ อยู่ ใ นระดับ มาก เนื่ อ งจาก สภาพแวดล้ อมธุรกิจมีอิทธิพลต่อการดาเนินงาน ผู้บริ หารต้ องเข้ าใจธรรมชาติของสภาพแวดล้ อม ธุรกิจ ตลอดจนสามารถคาดการณ์แนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ ้นได้ อย่างถูกต้ อง แม่นยา เพื่ อ สร้ างโอกาสและเตรี ย มความพร้ อมส าหรั บ องค์ ก ร การที่ อ งค์ ก รสามารถปรั บ ตัว ได้ อย่างสอดคล้ องกับสภาพแวดล้ อมธุรกิจจะสามารถดารงอยูแ่ ละเจริญเติบโตในอนาคต 3. นักบัญชีบริ ษัทจดทะเบียนที่มีประเภทกลุ่มอุตสาหกรรมแตกต่างกัน มีความคิดเห็น เกี่ยวกับการมีประสิทธิภาพการควบคุมภายในโดยรวม ด้ านกิจกรรมการควบคุม ด้ านสารสนเทศ และการสื่อสาร ด้ านการติดตามและประเมินผลแตกต่างกัน เนื่องจากผู้บริ หารของอุตสาหกรรมแต่ ละประเภท มีความต้ องการให้ การบริ หารงานบรรลุตามเป้าหมาย ซึ่งลักษณะการปฏิบตั ิงานในแต่ ละอุ ต สาหกรรมมี ค วามแตกต่ า งกั น จึ ง มี ก ารก าหนดกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ขึ น้ มาเพื่ อ ควบคุ ม การดาเนินงานในองค์กร 4. นักบัญ ชีบริ ษัทจดทะเบียนที่ มีทุนจดทะเบียนแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ ยวกับ การมีประสิทธิภาพการควบคุมภายใน ด้ านสารสนเทศและการสื่อสารแตกต่างกัน เนื่องจากแต่ละ กลุ่ม อุตสาหกรรมมี ความซับซ้ อนของโครงสร้ างองค์กรในการดาเนินงานแตกต่างกัน ลักษณะ และประเภทของการสื่ อ สารจึ ง มี ค วามแตกต่ า งกั น ขึ น้ อยู่ กั บ รู ปแบบการด าเนิ น งาน ของอุตสาหกรรมนันๆ ้ 5. นัก บัญ ชี บ ริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ มี จ านวนพนัก งานแตกต่า งกัน มี ค วามคิ ด เห็ น ด้ ว ย เกี่ยวกับการมีประสิทธิภาพการควบคุมภายในโดยรวมและเป็ นรายด้ านทุกด้ านแตกต่างกัน ได้ แก่ ด้ านสภาพแวดล้ อมการควบคุ ม ด้ านการประเมิ น ความเสี่ ย ง ด้ านกิ จ กรรมการควบคุ ม ด้ านสารสนเทศและการสื่อสาร และด้ านการติดตามและประเมินผล เนื่องจาก บริ ษัทที่มีจานวน พนัก งานมากมี พ นัก งานปฏิ บัติ ห น้ า ที่ ต่า ง ๆ ในหน่ ว ยงานต้ อ งมี ก ารสอดส่ อ งดูแ ลอยู่เ สมอ มีการควบคุมที่เป็ นระบบ 6. นักบัญชีบริ ษัทจดทะเบียนที่มีประเภทกลุ่มอุตสาหกรรมแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้ วยเกี่ ยวกับการมี สภาพแวดล้ อมธุ รกิ จ ด้ านสังคมและวัฒนธรรม ด้ านเทคโนโลยี แตกต่างกัน


80

เนื่องจากลักษณะสังคมทางการทางาน ระดับความใกล้ ชิดของพนักงานมีในแต่ละองค์กรจะขึ ้นอยู่ กับ สภาพแวดล้ อ มของแต่ล ะองค์ ก ร และมี ร ะดับ การใช้ เ ทคโนโลยี แ ตกต่า งกัน ตามประเภท อุตสาหกรรม 7. นัก บัญ ชี บ ริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ มี จ านวนพนัก งานแตกต่า งกัน มี ค วามคิ ด เห็ น ด้ ว ย เกี่ยวกับการมีสภาพแวดล้ อมธุรกิจ ด้ านสังคมและวัฒนธรรมแตกต่างกัน เนื่องจาก ระดับชันของ ้ สัง คม การท างาน จะขึน้ อยู่กับ จ านวนพนัก งาน จ านวนพนัก งานมากสัง คมและวัฒ นธ รรม จะมีความซับซ้ อน 8. นักบัญชีบริ ษัทจดทะเบียนที่มีประเภทกลุ่มอุตสาหกรรมแตกต่างกัน มีความคิดเห็น ด้ วยเกี่ ยวกับการมี คุณ ภาพข้ อ มูลทางการบัญ ชี โดยรวม ด้ า นความเกี่ ย วข้ องกับการตัดสิ นใจ ด้ านความเชื่อถือได้ และด้ านการเปรี ยบเทียบกันได้ แตกต่างกันเนื่องจาก แต่ละกลุ่มอุตสาหกรรม ให้ ความสาคัญกับข้ อมูลที่จดั ทาและนาเสนอต่างกัน ถ้ ากลุ่มอุตสาหกรรมใดต้ องมีการปรับเปลี่ยน กลยุทธ์ให้ ทนั กับคูแ่ ข่งขันและสภาพแวดล้ อม จะต้ องการข้ อมูลที่ใช้ ในการตัดสินใจถูกต้ องในระดับ หนึง่ 9. ประสิ ท ธิ ภ าพการควบคุม ภายใน ด้ า นการประเมิ น ความเสี่ ย ง มี ค วามสัม พัน ธ์ และผลกระทบเชิงบวกกับคุณภาพข้ อมูลทางการบัญชี ด้ านความเข้ าใจได้ และด้ านความเกี่ยวข้ อง กับการตัดสินใจ เนื่องจาก การประเมินความเสี่ยงเป็ นเครื่ องมืออย่างหนึ่งที่ผ้ บู ริ หารใช้ ในปั จจุบั น เนื่ อ งจากเป็ นการค้ า ยุค การแข่ง ขัน เสรี ที่ มี ค วามเสี่ ยงสูง และต้ อ งการการเตรี ย มพร้ อมในทุก สถานการณ์ ทุกองค์กรไม่ว่าขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก และไม่ว่าจะอยู่ในธุรกิจประเภทใด ล้ วนต้ อง เผชิญกับความเสี่ยงทางธุรกิจรู ปแบบต่างๆ ทังจากปั ้ จจัยภายนอกและภายในองค์กร จึงมีความ จาเป็ นที่ ธุ รกิ จต้ องประเมิ นให้ ทราบว่ามี ความเสี่ยงอยู่อย่างไรและในเรื่ องหรื อขัน้ ตอนใด เพื่ อ กาหนดและนามาตรการที่ เหมาะสมและมีประสิทธิ ผลมาระวังในเรื่ องหรื อขัน้ ตอนเหล่านัน้ ใน กระแสความเปลี่ยนแปลงซึง่ เกิดขึ ้นได้ เสมอเช่นนี ้ทาให้ ความเสี่ยงเปลี่ยนแปลงตามไปด้ วยจึงทาให้ มีความจาเป็ นต้ องประเมินความเสี่ ยงอย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ เพื่ อให้ ผ้ ูบริ หารได้ รับทราบ ข้ อมูลความเสี่ยงที่ถกู ต้ องตรงตามสภาพที่เป็ นอยูจ่ ริง


81

10. ประสิทธิภาพการควบคุม ด้ านกิจกรรมการควบคุม มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิง บวกกับคุณภาพข้ อมูลทางการบัญชี ด้ านความเกี่ยวข้ องกั บการตัดสินใจ เนื่องจากกิจกรรมการ ควบคุมช่วยให้ องค์กรมัน่ ใจได้ ว่า นโยบายและกระบวนการเกี่ยวกับการควบคุมภายใน ที่ผ้ บู ริ หาร กาหนดขึ ้นนัน้ ได้ มีการนาไปปฏิบตั ิตามภายในองค์กรอย่างทัว่ ถึง นอกจากนี ้กิจกรรมการควบคุม ยัง ช่ ว ยสร้ างความมั่น ใจว่ า องค์ ก รมี กิ จ กรรมที่ เ หมาะสมในการลดความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ น้ ฝ่ ายบริ หารควรจัดให้ มีกิจ กรรมการควบคุม ในทุกหน้ าที่ และทุกระดับของการปฏิ บตั ิง านตาม ความจาเป็ นอย่างเหมาะสมรวมเป็ นส่วนหนึง่ ของการปฏิบตั งิ านปกติ 11. ประสิทธิภาพการควบคุมภายใน ด้ านสารสนเทศและการสื่อสาร มีความสัมพันธ์และ ผล กร ะท บเ ชิ ง บ วก กั บ คุ ณ ภ า พ ข้ อ มู ล ทา ง ก าร บั ญ ชี โด ยร วม ด้ าน ค วา มเ ชื่ อ ถื อ ไ ด้ ด้ านการเปรี ยบเที ยบกันได้ เนื่ องจาก ในการดาเนินงานองค์กรจ าเป็ นต้ องมี การสื่อสารข้ อมูล ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ ทังภายในและภายนอก ้ ต้ องเป็ นข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง น่าเชื่อถือ ทันเวลา สะดวกในการเข้ าถึงและปลอดภัย รวมทังมี ้ ระบบการสื่อสารที่ดี และเป็ นข้ อมูลที่องค์กรต้ องการ เพื่ อ ช่วยให้ ส ามารถบรรลุวัตถุป ระสงค์ ที่ ก าหนดผู้บ ริ ห ารระดับ ต่า งๆ จ าเป็ นต้ อ งได้ รับ ข้ อ มูล ทัง้ ด้ านการดาเนินงานและด้ านการเงินเพื่อพิจารณาว่าการดาเนินงานเป็ นไปตามแผนกลยุทธ์ และแผนการปฏิ บัติ ง าน และบรรลุ วัต ถุ ป ระสงค์ ใ นการใช้ ทรั พ ยากรอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และประสิทธิผล โดยเฉพาะข้ อมูลด้ านการเงินเป็ นที่ต้องการของผู้ใช้ ทงภายในและภายนอก ั้ ข้ อมูล เหล่ า นี เ้ ป็ นสิ่ ง จ าเป็ นเพื่ อ ใช้ จัด ท างบการเงิ น เพื่ อ รายงานต่อ บุค คลภายนอกและเป็ นข้ อ มูล ที่จาเป็ นต้ องใช้ จดั ทารายงานประจาวันเพื่อใช้ ตดั สินใจในการบริ หารงาน องค์กรจึงควรจัดให้ มี ข้ อมูลข่าวสารที่เ กี่ ยวข้ องและแจกจ่ายข้ อมูลในรู ปแบบที่เหมาะสมและทันเวลาให้ ฝ่ ายบริ หาร และบุคลากรซึ่งจาเป็ นต้ องใช้ ข้อมูลข่าวสารนัน้ เพื่อช่วยให้ ผ้ ูรับสามารถปฏิบตั ิหน้ าที่ของตนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ดีใหม่ อินทรพานิ ช ย์ (2550) ได้ ศึกษาเรื่ อง สภาพและปั ญ หาการดาเนิ นการควบคุม ภายในของโรงเรี ยน สัง กัดส านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาสกลนคร เขต 2 สภาพการดาเนินการ ควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ของโรงเรี ยน สังกัดสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2 เนื่องจากปั จจุบนั โรงเรี ยนมีภารกิจทังการจั ้ ดการศึกษาและมีการงานต่างๆที่เกี่ยวข้ องอยู่เป็ น อัน มาก การบริ ห ารจัด การมี ค วามสลับ ซั บ ซ้ อ นและมี ก ารเปลี่ ย นแปลงอยู่ต ลอดเวลาโอกาส ที่จะเกิดการทุจริ ต ผิดพลาดจึงมีได้ ง่าย ฝ่ ายบริ หารจึงต้ องมีการควบคุมการดาเนินงานให้ เป็ นไป


82

ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ โดยอาศัยการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO เพราะการควบคุม ภายในจะช่วยให้ ผ้ บู ริหารหรื อผู้นาองค์กรได้ ทราบความเคลื่อนไหว ผลการดาเนินงานและอุปสรรค ข้ อขัดแย้ งต่างๆ ดังนันประสิ ้ ทธิภาพการบริหารจึงสัมพันธ์กบั ระบบการควบคุมภายในที่ดี การบริ หารงานของโรงเรี ยนต่างๆ ผู้บริ หารโรงเรี ยนและคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื ้นฐาน ได้ มีการกากับดูแล รวมถึงการใช้ เทคนิคการควบคุมภายในเพื่อช่วยให้ การดาเนินงาน รวมถึงการใช้ ทรัพ ยากรเกิ ดประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผล อีกทัง้ หน่วยงานต้ นสังกัดสานักงาน เขตพื ้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2 ได้ มีการกากับ ติดตาม นิเทศให้ การดาเนินงานของโรงเรี ยน เป็ นไปตามระเบีย บกฎหมาย นโยบายและแนวปฏิ บัติ โดยการส่ง เสริ ม ทัง้ ด้ านข้ อมูลข่าวสาร ที่ถูกต้ องทันสมัย รวดเร็ ว น่าเชื่อถื อ อี กทัง้ การพัฒนาบุคลากรในโรงเรี ยนทุกระดับให้ มีความรู้ ความสามารถในการดาเนินงานให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของภารกิจ อีกทังโรงเรี ้ ยนได้ มีการนา มาตรฐานการควบคุมภายในไปใช้ เป็ นแนวทางทางจัดวางระบบการควบคุมภายในตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้ วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ซึ่ง เป็ นความรับผิดชอบของผู้บริ หารโรงเรี ยนที่จะต้ องจัดให้ มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมกับ บริบท ขนาด และความสลับซับซ้ อนของโครงสร้ างการบริ หาร และจะต้ องมีการติดตามประเมินผล การควบคุมภายใน แล้ วทาการปรั บปรุ งการควบคุมภายในให้ มี ประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผล เป็ นที่นา่ พอใจอยูเ่ สมอ ปั ญหาการดาเนินการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ของโรงเรี ยน สังกัดสานักงาน เขตพื น้ ที่ การศึกษาสกลนคร เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับน้ อย โดยด้ านการประเมิ นความเสี่ ยง ด้ านสภาพแวดล้ อมการควบคุม ด้ านการติดตามประเมิ นผล ด้ านสารสนเทศและการสื่ อสาร และด้ านกิจกรรมการควบคุม เนื่องจากสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2 ได้ มีการจัด อบรมให้ ความรู้ เรื่ อง การควบคุมภายใน ให้ กับผู้บริ หารโรงเรี ยนและผู้ที่เกี่ยวข้ อง ทาให้ ผ้ บู ริ หาร โรงเรี ยนมีความรู้ ความเข้ าใจในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน ทาให้ โรงเรี ยนมีการแต่งตังผู ้ ้ ตรวจสอบภายในโรงเรี ยน ซึ่งทาหน้ าที่ในการกากับ ติดตาม ควบคุมการบริ หารงบประมาณด้ านการเงินและพัสดุของโรงเรี ยนให้ เป็ นไปตามระเบียบ กฎหมาย และข้ อบั ง คั บ รวมทั ง้ ให้ เป็ นไปตามแผนและเป้ าหมายภารกิ จ ที่ ก าหนดไว้ อย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ทธิ ผ ล ถูกต้ อง โปร่ ง ใส อี กทัง้ ให้ ก ารนิเ ทศ แนะนา ช่ว ยเหลื อ


83

และเสนอแนะเกี่ ยวกั บการบริ หารงบประมาณอันจะก่อให้ เกิ ดประโยชน์ สูง สุดแก่ทางราชการ และบรรลุตามภารกิจของโรงเรี ยน ส่วนปั ญหาการดาเนินงานการควบคุมภายในตามแนว COSO ของผู้บริ หารโรงเรี ยน หัว หน้ า กลุ่ม บริ ห ารงบประมาณ และผู้ต รวจสอบภายในโรงเรี ย น สัง กัด ส านัก ง านเขตพื น้ ที่ การศึกษาสกลนคร เขต 2 ไม่มีความแตกต่างกัน เนื่องจากโรงเรี ยน สัง กัดส านักงานเขตพื น้ ที่ การศึกษาสกลนคร เขต 2 ได้ มีการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้ วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ซึ่งในกระบวนการ จัดวางระบบการควบคุมภายในของโรงเรี ยน บุคลากร กลุ่มงาน ได้ มีส่วนร่ วมในการดาเนินการ และร่ ว มรั บ ผิ ด ชอบในการควบคุม ภายในของโรงเรี ย น รวมทัง้ ผู้บ ริ ห าร หัว หน้ า กลุ่ม บริ ห าร งบประมาณ และผู้ตรวจสอบภายในโรงเรี ยน ต่างก็ปฏิบตั ิงานตามบทบาท อานาจหน้ าที่ และ ความรับผิดชอบ รวมทังอยู ้ ่ในระบบการควบคุมภายในเดียวกัน จึงทาให้ ผ้ บู ริ หารโรงเรี ยน หัวหน้ า กลุม่ บริหารงบประมาณ และผู้ตรวจสอบภายในโรงเรี ยน มองปั ญหาการดาเนินการควบคุมภายใน ไม่ตา่ งกัน ดีใหม่ อินทรพานิ ชย์ (2551) จากการศึกษาทาให้ ทราบถึงปั ญหาด้ านการจัดทาบัญชี และการควบคุมภายในของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในอาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ สรุปเป็ น 2 ด้ าน ดังนี ้ 1. ด้ านการจัดทาบัญ ชี พบว่า คณะกรรมการผู้จัดทาบัญชีไ ม่มีความรู้ ทางด้ านบัญชี จึงได้ จัดทาบัญชีตามความเข้ าใจของตน ซึ่งไม่ได้ เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี อีกทัง้ ยังขาด ประสบการณ์และการได้ เข้ ารับฝึ กอบรมในด้ านการจัดทาบัญชี 2. ด้ านการควบคุมภายใน พบว่า กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในอาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ให้ ความสาคัญกับด้ านสภาพแวดล้ อม โดยเฉพาะด้ านการมอบอานาจหน้ าที่และ ความรั บ ผิ ด ชอบ ส่วนการประเมิ นความเสี่ ยงจะให้ ความส าคัญในเรื่ อ งมาตรการติดตามหนี ้ จากการให้ ก้ ูเ งิ น เพราะถ้ า ระบบไม่มี ประสิท ธิ ภ าพอาจจะส่ง ผลกระทบต่อ กองทุนได้ ส าหรั บ ด้ านกิจกรรมควบคุมจะเน้ นไปที่การกาหนดขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการแต่ละระดับไว้ ให้ ชั ด เจน และมาตรการดูแ ลทรั พ ย์ สิ น ส่ ว นด้ า นสารสนเทศและการสื่ อ สาร จะเน้ นไปที่


84

การติด ต่อ สื่ อ สารกับ หน่ว ยงานที่ ก ากับ ดูแลหรื อที่ เ กี่ ย วข้ อง และด้ า นการติด ตามประเมิ น ผล จะให้ ความสาคัญกับการติดตามผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการอย่างต่อ เนื่องและสม่าเสมอ การลงนามรั บรองรั บผิ ดชอบของคณะกรรมการเมื่อเกิ ดข้ อผิดพลาด การติดตามแก้ ไ ขปั ญหา ที่ตรวจพบ และการปรึกษาหารื อเกี่ยวกับข้ อบกพร่อง โดยสรุปแล้ วปั ญหาอุปสรรคและความเสี่ยง ในการควบคุมภายในของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ไม่มีปัญหาเพราะส่วนใหญ่ให้ ความเห็น ว่าการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการภายในกองทุนมีการปฏิบตั ิงานด้ วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ สุจริต มีความเสียสละ และมีความไว้ ใจซึง่ กันละกัน ถิราวุฒิ ทองทรง (2550) สภาพและปั ญหาของระบบการควบคุมภายในศึกษากรณีบริ ษัท ไปรษณีย์ไทย โดยทาการศึกษาสภาพและปั ญหาของระบบการควบคุมภายในบริ ษัทไปรษณีย์ไทย จากัด มี 5 ด้ าน ได้ แก่ ด้ านสภาพแวดล้ อมของการควบคุม ด้ านประเมินความเสี่ยง ด้ านกิจกรรม ควบคุม ด้ านสารสนเทศและการสื่อสาร ด้ านการติดตามประเมินผล ทาให้ ทราบว่าพนักงานมี ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพแวดล้ อมการควบคุมแตกต่างกัน จานวน 2 ตัวแปร ได้ แก่ ตาแหน่งและ ด้ านการปฏิบตั งิ านสังกัด แต่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปั ญหาไม่แตกต่างกัน จากการศึกษาทาให้ ทราบว่าบริ ษัทมีการควบคุมภายในของบริ ษัทมีการสร้ างบรรยากาศ ของการควบคุม ให้ พ นัก งานมี ทัศ นคติที่ ดีต่อ การควบคุม ภายใน โดยส่ง เสริ ม ให้ พ นักงานเกิ ด จิ ต ส านึก ที่ ดี ใ นการปฏิ บัติง าน การรั บ ผิ ด ชอบ และตระหนัก ถึ ง ความจ าเป็ นถึ ง ความส าคัญ ของการควบคุม ภายใน และได้ มี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งจากปั จ จัย นอกและปั จ จัย ภายใน ที่ มี ผ ลกระทบต่อ การบรรลุวัต ถุป ระสงค์ แ ล้ ว จึ ง ได้ จัด ให้ มี กิ จ กรรมควบคุม ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่อป้องกันหรื อลดข้ อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ ้นได้ อีกทังมี ้ ระบบสารสนเทศอย่างเพียงพอต่อการใช้ และมี ก ารสื่ อ สารให้ พนัก งานทราบถึ ง โดยทั่ว กั น พร้ อมกั บ มี ก ารติ ด ตามประเมิ น ผลโดยมี การติดตามในระหว่างปฏิบตั ิงาน ซึ่งมีการประเมินผลจากการประเมินตนการควบคุมตนเอง และ การประเมินการควบคุมอย่างเป็ นอิสระ ธนา สุวรรณโชติ (2553) ได้ ทาการศึกษาความรู้และการปฏิบตั ิของครูเกี่ยวกับมาตรฐาน การควบคุมภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาระยอง ผลการวิจยั สรุปได้ ดงั นี ้


85

1. ความรู้ ของผู้ทาหน้ า ที่ เ กี่ ย วกับ มาตรฐานการควบคุม ภายในสถานศึก ษา พบว่า ความรู้ เกี่ ยวกับ มาตรฐานการควบคุม ภายในสถานศึก ษาอยู่ใ นระดับหนึ่ง แต่ไ ม่ชัด เจน ทัง้ นี ้ อาจเป็ นเพราะว่าครูมีหน้ าที่หลักในการจัดการเรี ยนการสอนให้ แก่นกั เรี ยน ดังนันครู ้ จึงไม่ สามารถ ศึกษากระบวนการควบคุมภายในได้ อย่างลึกซึ ้ง อีกทังอาจเป็ ้ นเพราะว่าครูที่รับผิดชอบงานด้ านนี ้ ขาดโอกาสในการเข้ ารับการอบรมสัม มนาในเรื่ องระบบควบคุมภายในที่ หน่วยงานต่างจัดขึน้ จึงทาให้ ไม่มีความรู้ในเรื่ องระบบควบคุมภายในเท่าที่ควร 2. ผลการวิเคราะห์ระดับปฏิบตั ิงานของครู ผ้ ูทาหน้ าที่เกี่ ยวกับมาตรฐานการควบคุม ภายในสถานศึกษาพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรี ยงตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้ อย 2 อันดับแรก คือ ด้ านกิจกรรมการควบคุม รองลงมาได้ แก่ ด้ านสภาพแวดล้ อมของการควบคุม การดาเนินงาน ตามมาตรฐานระบบควบคุม ภายในสถานศึก ษาในสัง กัด จึง ถื อ เป็ นนโยบายหลัก ที่ เ จ้ า หน้ า ที่ ตรวจสอบภายในจะต้ องดาเนินการตรวจสอบตามมาตรฐานระบบควบคุมภายในสถานศึกษา ส่ง ผลให้ ครู ผ้ ูรับผิดชอบการดาเนินงานควบคุมภายในสถานศึกษาสถานศึกษาต้ องรั บผิดชอบ ปฏิ บตั ิตามระเบียบของสานักงานตรวจเงิ นแผ่นดินซึ่งได้ กาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน สถานศึกษาไว้ ทงั ้ 5 ด้ าน ได้ แก่ สภาพแวดล้ อมของการควบคุม การประเมินความเสี่ยงกิจกรรม การควบคุม สารสนเทศและการสื่ อ สาร การติ ด ตามประเมิ น ผลโดยเฉพาะการด าเนิ น การ ของผู้บริหารสถานศึกษาจะต้ องมีการตรวจทานการควบคุมเป็ นระยะๆ เพื่อประเมิ นว่ามีการปฏิบตั ิ ตามวิธีการควบคุมจริง ปกรณ์ มนชน (2545) ได้ ท าการศึก ษางานวิ จัย เรื่ อ ง การวิ เ คราะห์ แ ละประเมิ น ประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายในด้ านสินค้ าคงเหลือ กรณีศกึ ษาบริ ษัท ธุรกิจกระดาษ จากัด สรุ ปว่า ปั ญหาที่เกิดขึน้ ในแต่ละฝ่ ายเป็ นสาเหตุให้ ระบบการควบคุมสินค้ ามีประสิทธิภาพลดลง ซึง่ มีดงั ต่อไปนี ้ ฝ่ ายจั ด ซื อ้ ปั ญหาที่ เ กิ ด ขึ น้ คื อ การท าเอกสารของฝ่ ายจั ด ซื อ้ มี ค วามล่ า ช้ า ในการปฏิบตั งิ านทาให้ ฝ่ายอื่นใช้ ข้อมูลไม่ทนั เวลา ฝ่ ายขาย ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึน้ คื อ การขอซื อ้ สิ น ค้ า ของฝ่ ายขายไม่ต รงกับ ความต้ อ งการ ของลูกค้ า มีการสื่อสารข้ อมูลไม่ตรงกัน


86

ฝ่ ายบัญ ชี ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึน้ คื อ การปฏิ บัติง านของฝ่ ายบัญ ชี มี ค วามล่า ช้ า เนื่ อ งจาก นโยบายของบริ ษัท ให้ ฝ่ายบัญชีจะต้ องรับปั ญหาที่เกิดขึ ้นภายในบริ ษัท แต่ภายใต้ นโยบายไม่ได้ ให้ อ านาจในการตัด สิ น ใจของฝ่ ายบัญ ชี จึ ง ท าให้ ปั ญ หาปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ น้ มี ก ารแก้ ไขล่ า ช้ า และจานวนเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายบัญชีไม่เพียงพอ ฝ่ ายคลังสินค้ า ปั ญหาที่เกิดขึ ้น คือ 1. การติดตามงานที่ผลิต ฝ่ ายการผลิตขาดการปฏิบตั ิงานในเรื่ องเอกสาร และการรับ สินค้ าสาเร็จรูปที่ผลิตเสร็จเข้ าคลังสินค้ าเก็บสินค้ าก่อนที่จะทาเอกสารใบรับผลผลิต 2. การขนส่ ง สิ น ค้ า ทางฝ่ ายขนส่ ง ขาดการเอาใจใส่ เ รื่ อ งเอกสาร ฝ่ ายขนส่ ง ค านึ ง เพียงการส่งสินค้ าให้ ทนั เวลา 3. การวางสิ น ค้ า ภายในคลัง สิ น ค้ า มี ก ารจัด วางยัง ขาดความเป็ นระเบี ย บยากต่อ การตรวจสอบ 4. การเอาใจใส่ในสินค้ าที่จัดเก็บในคลังสินค้ าคือบรรจุภัณฑ์สินค้ าที่บรรจุสินค้ าขาด การดูแลเกิดความชารุดทาให้ สินค้ าเสื่อมสภาพ ไพเราะ รั ตนวิ จิ ตร (2549) การศึก ษาเปรี ย บเที ยบการความควบคุม ภายในตามแนว COSO ด้ านองค์ประกอบสภาพแวดล้ อ มการควบคุม ในอุตสาหกรรมโรงแรมจัง หวัดชลบุรี เป็ นการศึก ษาเพื่ อ เปรี ยบเที ย บองค์ ป ระกอบของการควบคุม ภายในตามแนวคิด ของ COSO ด้ านองค์ประกอบสภาพแวดล้ อมการควบคุม ในอุตสาหกรรมโรงแรมจังหวัดชลบุรี และศึกษา เปรี ยบเที ยบการปฏิ บัติง านของพนักงานกับระบบการควบคุม ภายในจากแนวคิดของ COSO ด้ านองค์ประกอบสภาพแวดล้ อมการควบคุมของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดชลบุรี จาแนกตามหน้ าที่ และความรับผิดชอบ สามารถสรุปผลการศึกษาได้ ดงั นี ้ ธุรกิจโรงแรมในจังหวัดชลบุรี ตามขนาดต่างๆมีการปฏิบตั ิตามหลักการควบคุมภายใน ตามแนวคิดของ COSO ด้ านองค์ประกอบสภาพแวดล้ อมการควบคุมแตกต่างกัน และพนักงาน


87

ระดับปฏิบตั ิการมีหน้ าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิงานตามหลักการควบคุมภายในตาม แนวคิดของ COSO ด้ านองค์ประกอบสภาพแวดล้ อม การควบคุมไม่มีความแตกต่างกับพนักงาน ระดับบริหารโดยแยกเป็ นด้ านต่างๆได้ ดงั นี ้ ด้ านการมอบอานาจหน้ าที่ และความรับผิดชอบ โรงแรมขนาดใหญ่ พนักงานจะทราบ บทบาทหน้ า ที่ ข องตนจากเอกสารค าบรรยายลัก ษณะงาน และเอกสารค าบรรยายขัน้ ตอน การปฏิบตั ิงาน หรื อระเบียบวิธีปฏิบตั ิงานแบบมาตรฐาน ส่วนโรงแรมขนาดกลาง และขนาดเล็ก พนักงานไม่ค่อยให้ ความสนใจกับคาบรรยายลักษณะงาน โดยจะปฏิบตั ิงานตามคาสัง่ ผู้บริ หาร เป็ นหลัก ด้ า นการก าหนดเป้ าหมายและนโยบาย โรงแรมทุ ก ขนาดมี ก ารปรั บ ปรุ ง เป้ าหมาย และนโยบายให้ สอดคล้ องกั บ นโยบายหลั ก ของบริ ษั ท อยู่ เ สมอ แต่ โ รงแรมขนาดเล็ ก จะมี ก ารปรั บ ปรุ ง เป้ าหมายและนโยบายมากที่ สุ ด ส่ ว นการกระจายอ านาจตามลัก ษณะ การด าเนิ น งานเพื่ อ ให้ การบริ หารคล่ อ งตั ว พบว่ า โรงแรมขนาดกลางและขนาดใหญ่ เป็ นแบบกระจายอานาจมากกว่าขนาดเล็ก เพราะโรงแรมขนาดเล็กส่วนใหญ่เป็ นธุรกิจเจ้ าของ คนเดียวทาให้ การกระจายอานาจมีน้อย ด้ านความรู้ ทักษะ ความสามารถในการปฏิบตั ิงานที่ได้ รับมอบหมาย โรงแรมทุกขนาด มี ก ารจั ด ท าเป็ นเอกสารก าหนดคุ ณ สมบัติ ที่ ต้ องการในแต่ ล ะต าแหน่ ง งานอย่ า งชั ด เจน ส่วนการฝึ กอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความชานาญ พบว่าโรงแรมขนาดใหญ่มีอัตราส่วนสูงสุด เนื่องจากต้ องการรักษาคุณภาพของงานบริการและภาพลักษณ์ที่ดี จึงให้ ความสาคัญกับทรัพ ยากร บุคคลอย่างมาก ด้ านความซื่ อสัตย์ และจริ ยธรรม โรงแรมมี การปลูกจิ ตส านึกให้ แก่ พ นักงานอยู่เ สมอ เนื่องจากต้ องให้ บริการลูกค้ าทุกชนชาติ ทุกระดับชัน้ เพื่อให้ ได้ รับความไว้ วางใจจากลูกค้ า ด้ า นปรั ช ญาและรู ป แบบการทางานของผู้บริ หาร โรงแรมมี ทัศนคติที่ ดีแ ละสนับสนุน การปฏิบตั ิหน้ าที่เกี่ยวกับงานด้ านบัญชีการเงิน ให้ ความสาคัญต่อข้ อมูลการดาเนินงานสนับสนุน การปรับปรุงระบบข้ อมูลให้ ทนั ต่อเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ าให้ ทนั สมัยและทันต่อเวลา


88

โครงสร้ างการจัดองค์กร โรงแรมขนาดเล็กมีรูปแบบไม่ซบั ซ้ อน ทาให้ สามารถติดต่อสื่อสาร กับ ผู้บ ริ ห ารได้ ง่ า ยและรวดเร็ ว กว่า โรมแรมขนาดใหญ่ ซึ่ง มี โ ครงสร้ างองค์ ก รแบบขยายและ สายการบั ง คั บ บั ญ ชาที่ ซั บ ซ้ อนกว่ า การติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งผู้ บริ ห ารกั บ ผู้ ปฏิ บั ติ ง าน ต้ องมีการกลั่นกรองตามสายงานการบังคับบัญชา ทาให้ การเข้ าถึงผู้บริ หารระดับสูงได้ ช้าหรื อ ยากกว่า ไพโรจน์ ดารงศักดิ์ (2553) ได้ ทาการศึกษาปั ญหาการจัดระบบการควบคุม ภายใน ของสถานศึกษาขัน้ พื น้ ฐาน สัง กัดส านัก งานเขตพื น้ ที่ ก ารศึกษาสุรินทร์ เขต 1 เป็ นการศึกษา เพื่ อ ศึก ษาปั ญ หาการจัด การจัด ระบบการควบคุม ภายในของสถานศึก ษาขัน้ พื น้ ฐาน สัง กัด สานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1 และเพื่อเปรี ยบเทียบระดับปั ญหาการจัดการจัดระบบ การควบคุมภายในของสถานศึกษาขันพื ้ ้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1 พบว่าปั ญหาการจัดการจัดระบบการควบคุมภายในของสถานศึกษาขันพื ้ ้นฐาน สังกัดสานักงาน เขตพื ้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1 อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้ านพบว่าด้ านที่มีปัญหา มากที่ สุด คือ ด้ า นการติดตามและประเมิ นผล รองลงมาคื อ ด้ านสารสนเทศและการสื่ อสาร และด้ านที่มีปัญหาน้ อยที่สดุ คือ ด้ านสภาพแวดล้ อมของการควบคุม ปั ญหาการจัดการจัดระบบการควบคุมภายในของสถานศึกษาขันพื ้ ้นฐาน สังกัดสานักงาน เขตพื ้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ส่วนด้ านสภาพแวดล้ อมการควบคุม มีปัญหาในด้ านการกาหนด ปรัชญา และลักษณะการทางานของผู้บริ หารและบุคลากร ด้ านสภาพแวดล้ อมของการควบคุมใน สถานศึก ษามากที่ สุด รองลงมาคื อ ผู้บ ริ ห ารก ากับ ดูแ ลด้ า นสภาพแวดล้ อ มของการควบคุม อย่า งต่อ เนื่ อ ง และข้ อ ที่ มี ปั ญ หาน้ อ ยที่ สุด คื อ การจัด อบรมการควบคุม ภายในสถานศึก ษา ด้ า นสภาพแวดล้ อม ส่ ว นด้ า นการประเมิ น ความเสี่ ย ง พบว่ า ข้ อที่ มี ปั ญหามากที่ สุ ด คื อ ใช้ กระบวนการตัดสิ นใจในเรื่ องที่ ส าคัญ เพื่ อช่วยให้ โอกาสลดความเสี่ ยงลงได้ รองลงมา คือ ประเมินความเสี่ยงทังปั ้ จจัยภายในและปั จจัยภายนอก ที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ ของหน่ ว ยงานอย่ า งเพี ย งพอและเหมาะสม และข้ อ ที่ มี ปั ญ หาน้ อ ยที่ สุด คื อ ก าหนดกลยุท ธ์ ในการบริ ห ารความเสี่ ย ง ส่ว นด้ า นกิ จ กรรมการควบคุม พบว่ า ข้ อ ที่ มี ปั ญ หามากที่ สุด คื อ การกาหนดกิจกรรมการควบคุมอย่างเป็ นระบบและให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ รองลงมา คือ นาผลการจัดกิจกรรมการควบคุมมาวิเคราะห์และกาหนดการจัดกิจกรรมครัง้ ต่อไป และข้ อที่มี


89

ปั ญหาน้ อยที่สดุ คือ การปรับปรุงแผนและพัฒนาระบบกิจกรรมการควบคุมภายในได้ อย่างมีระบบ ส่ว นด้ า นสารสนเทศและการสื่ อ สาร พบว่า ข้ อ ที่ มี ปั ญ หามากที่ สุด คื อ การประชุม วางแผนการใช้ สารสนเทศร่ วมกับบุคลากรในสถานศึกษา รองลงมาคือ การปรับปรุ งสารสนเทศ และการสื่ อ สารให้ เ ป็ นปั จ จุบัน และข้ อ ที่ มี ปั ญ หาน้ อ ยที่ สุด คื อ การจัด ระบบการสื่ อ สารที่ ดี ทังภายในและภายนอกองค์ ้ กร ส่วนด้ านการติดตามและประเมินผล พบว่า ข้ อที่มีปัญหามากที่สดุ คือ การนาผลการติด ตามและประเมิ น ผลการจัดระบบควบคุม ภายในสถานศึก ษามาพัฒ นา กิ จ กรรมในครั ง้ ต่ อ ไป รองลงมาคื อ ติ ด ตามประเมิ น ผลตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารจั ด วาง การควบคุมภายในที่ ตงไว้ ั ้ และข้ อที่มี ปัญหาน้ อยที่ สุด คื อ การติดตามประเมิ นผล การจัด การ ควบคุมภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ปั ญหาการจัดการจัดระบบการควบคุมภายในของสถานศึกษาขันพื ้ ้นฐาน สังกัดสานักงาน เขตพื ้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้ านพบว่าด้ านที่มีปัญหา มากที่ สุด คื อ ด้ า นการติด ตามและประเมิ น ผล ทัง้ นี เ้ นื่ อ งจากผู้บ ริ ห ารและครู ข าดการจัด ให้ มีการติดตามประเมินเกี่ยวกับการจัดระบบการควบคุมภายใน หรื อการติดตามประเมินผลนันไม่ ้ ได้ กระทาอย่างต่อเนื่อง ขาดการเข้ มงวดในการติดตามประเมินผล จากที่ได้ รับการประเมินผล ไม่ได้ นาผลการประเมินผลมาวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ ไขในการจัดระบบการควบคุมภายใน ส่ ว นด้ า นสารสนเทศนัน้ ที่ เ ป็ นปั ญ หาเนื่ อ งจากผู้ บริ ห ารและครู ข าดความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ รวมถึงไม่ได้ จดั ให้ มีเครื่ องมือเครื่ องใช้ เทคโนโลยีและระบบงานที่ดี ซึ่งผู้บริ หาร และครู จ ะต้ องให้ ความส าคัญ กับบุค ลากรทุกคนที่ มี หน้ าที่ เกี่ ยวข้ องกับ การประมวลผลข้ อมูล สารสนเทศ อีกทังปฏิ ้ บตั ิตามระบบงานที่กาหนดไว้ อย่างสม่าเสมอและเคร่ งครัด นอกจากนี ้ต้ อง คานึงถึงการสื่อสารที่ดี ระบบสื่อสารที่ดีทงั ้ ภายในและภายนอกองค์กร ทุกคนในองค์กรควรใช้ และได้ รับการสื่อสารที่ดี ชัดเจน เพื่อไม่ให้ การปฏิบตั งิ านบกพร่อง ด้ านที่ มี ปัญ หาน้ อยที่ สุด คือ ด้ านสภาพแวดล้ อมการควบคุม อาจเป็ นเพราะผู้บริ หาร และครู มี ก ารสร้ างบรรยากาศของการควบคุม เพื่ อ ให้ เ กิ ด ทัศ นคติที่ ดี ต่อ การควบคุม ภายใน จิตสานึกที่ดีในการปฏิบตั ิงานในความรับผิดชอบ และตระหนักถึงความจาเป็ นและความสาคัญ ของการควบคุมภายใน รวมทัง้ การดารงรักษาไว้ ซึ่งสภาพแวดล้ อมของการควบคุมที่ดี จึงทาให้ การจัดระบบการควบคุมภายในนันมี ้ ประสิทธิภาพเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาหนดไว้


90

วิราภรณ์ พึ่งพิศ (2550) จากผลการศึกษาเรื่ อง ปั ญหาและอุปสรรคในพัฒนาระบบ การควบคุมภายในของบริ ษัทบูรพาอุตสาหกรรม จากัด พบว่า ตัวแปรด้ านปั จจัยสภาพแวดล้ อม ภายในองค์การและปั จจัยด้ านการรับรู้เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในมีความสัมพันธ์กบั ปั ญหา และอุปสรรคในพัฒนาระบบการควบคุมภายในของบริ ษัท บูรพาอุตสาหกรรม จากัด ดังนันจึ ้ งต้ อง มีการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในขององค์การ ดังนี ้ 1. ปั จจัยสภาพแวดภายในองค์การในเรื่ องวัฒนธรรมองค์การโครงสร้ างและระบบงาน ของหน่ ว ยงานมี ค วามสัม พัน ธ์ กั บ ปั ญ หาและอุ ป สรรคในพัฒ นาระบบการควบคุม ภายใน ที่ประกอบไปด้ วยด้ านสภาพแวดล้ อมของการควบคุม ด้ านการประเมินความเสี่ยง ด้ านกิจกรรม การควบคุม ด้ านสารสนเทศและการสื่ อสาร และด้ านการติดตามประเมิ นผล ซึ่ง ผู้บริ หารต้ อง ค านึง ถึ ง ปั จ จัย เหล่า นี เ้ ป็ นส่ว นหนึ่ง ในแก้ ไขและลดปั ญ หาและอุป สรรคในการพัฒ นาระบ บ การควบคุมภายในมาใช้ กบั องค์การ 2. ปั จจัยด้ านการรับรู้เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในเรื่ องการรับรู้เรื่ องระบบการควบคุม ภายในความเสี่ยงของการควบคุม และการประเมินผลมีความสัม พันธ์ กับปั ญหาและอุปสรรค ในพัฒนาระบบการควบคุมภายใน ที่มีองค์ประกอบ 5 ด้ านโดยการเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารและ การสร้ างความรู้ ความเข้ า ใจ และการรั บ รู้ ในเรื่ อ งระบบการควบคุม ภายในที่ ดี ข ององค์ ก าร ให้ กบั พนักงานขององค์การทุกระดับชันทราบ ้ ศุภ ชัย ลี ลิ ตธรรม (2550) ได้ ศึกษาเรื่ อง การศึกษาความเป็ นไปได้ ในการนาระบบ การควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มาใช้ กบั การบริหารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้ ) จังหวัดเพชรบุรี เป็ นการศึกษาเพื่อศึกษาระดับความเป็ นไปได้ ในการนาระบบการควบคุมภายใน ตามแนวทาง COSO มาใช้ กบั การบริ หารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยการศึกษาความรู้ความเข้ าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้ ) จังหวัดเพชรบุรี โดยทาการสัมภาษณ์ และการศึกษาเชิงเอกสาร พบว่า การไฟฟ้าส่วน ภูมิ ภ าคได้ มี แนวคิดการนาระบบการควบคุม ภายในมาใช้ ใ นการบริ หารงานด้ า นการควบคุม ความเสี่ยงต่างๆ ซึง่ เป็ นสาเหตุที่ทาให้ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบตั ิงานขององค์กร ไม่บรรลุเ ป้าหมายที่ ไ ด้ ตงั ้ ไว้ ดัง นัน้ การไฟฟ้ าส่วนภูมิ ภ าคจึง ได้ จัดตัง้ หน่วยงานภายในองค์กร เพื่อดูแลจัดวางระบบควบคุมภายในของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และให้ ความรู้ความเข้ าใจในระบบ


91

การควบคุมภายในแก่พนักงานและผู้บริ หารทัว่ ทังองค์ ้ กร การไฟฟ้าส่วนภูมิ ภาค เขต 1 (ภาคใต้ ) จังหวัดเพชรบุรี จึงได้ ดาเนินตามนโยบายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค แต่เนื่องจากระบบการควบคุม ภายในตามแนวทาง COSO เป็ นระบบการบริ หารแนวใหม่ ประกอบกับการให้ ความรู้ ความเข้ าใจ แก่พนักงานค่อนข้ างจากัด จึงเป็ นเหตุให้ พนักงานไม่ค่อยมีความเข้ าใจในระบบดังกล่าวมากนัก โดยจะเห็ น ว่ า ความรู้ ความเข้ า ใจในด้ า นแนวคิด ของการควบคุม ภายในและความรู้ เข้ า ใจ ในด้ านองค์ประกอบของการควบคุมภายในซึ่งเป็ นหัวใจหลักของแนวคิดการบริ หารงาน พนักงาน การไฟฟ้าจะตอบคาถามผิด ซึ่งหมายถึงพนักงานไม่มีความรู้ ความเข้ าใจในหลักการของแนวคิด ของการควบคุมภายใน และไม่มีความรู้ ความเข้ าใจในองค์ประกอบหลักของระบบการควบคุม ภายใน หรื อความรู้ ความเข้ าใจในเรื่ อง การควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ยังมีน้อย ดังนัน้ อาจท าให้ พ นัก งานมี ค วามเข้ า ใจในระบบดัง กล่า วไม่เ พี ย งพอ ท าให้ ไ ม่ส ามารถอธิ บ ายหรื อ ขยายความของระบบการควบคุม ภายในได้ ท าให้ เกิ ดความเข้ า ใจผิด หรื อเกิ ด อคติต่อระบบ การควบคุมภายใน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้ ) จังหวัดเพชรบุรีจึงควรมีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ให้ มากขึ ้น โดยการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ผ่านเว็บ ไซต์ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้ ) จังหวัด เพชรบุรี ผ่านทางระบบเอกสาร รวมทังให้ ้ มีการแจ้ งเวียนระเบียบงานควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ให้ หน่วยงานต่างๆ เพื่อกระตุ้นให้ บุคลากรได้ ตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็ น ในการจัดทาระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมได้ เป็ นอย่างดี การศึก ษาด้ า นการบริ ห ารมี ค วามสัม พัน ธ์ เ ชิ ง บวกอยู่ใ นระดับ สูง กับ ความเป็ นไปได้ ในการนาระบบการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มาใช้ กบั การบริ หารงานของการไฟฟ้าส่วน ภูมิ ภ าค เขต 1 (ภาคใต้ ) จัง หวัด เพชรบุรี เนื่ อ งจากการไฟฟ้ าส่ว นภูมิ ภ าคได้ มี การน าแนวคิด ด้ านการบริ หารงานด้ านใหม่ๆ เข้ ามาใช้ ในการบริ หารงานเสมอๆ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคมุ่งสู่ความเป็ นเลิศ และทาให้ ลูกค้ าผู้ใช้ ไฟฟ้าเกิดความพึงพอใจในสินค้ าและบริ การ ด้ วยเหตุดงั กล่าวจึงทาให้ พนักงานและหน่วยงานต่างๆ ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้ ) จัง หวัดเพชรบุรี มีการปรั บตัวเพื่ อรองรั บกับการนาแนวคิดการบริ หารนัน้ ๆ มาใช้ ไม่ว่าจะเป็ น การสนับสนุนของผู้บริ หาร การฝึ กอบรม การประสานงาน และงบประมาณ ที่การไฟฟ้าได้ กาหนด ขึน้ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ องกับการน าแนวคิดการบริ หารงาน ดัง นัน้ เมื่ อมี การนาแนวคิดการควบคุม ภายในตามแนวทาง COSO มาใช้ ใ นการบริ ห ารงานจึ ง ท าให้ มี ค วามเป็ นไปได้ อ ย่ า งสูง ที่ จ ะน าแนวคิด ดัง กล่ า วมาใช้ ใ นการบริ ห ารงานของการไฟฟ้ าส่ ว นภูมิ ภ าค เขต 1 (ภาคใต้ )


92

จัง หวัด เพชรบุรี โดยในการจัด วางระบบการควบคุม ภายในจะต้ อ งเป็ นความรั บ ผิ ด ชอบของ บุคลากรทุกคนในองค์กร โดยผู้บริ หารจะต้ องรับผิดชอบในการจัดวางระบบการควบคุมภายในที่ เหมาะสม ส่วนผู้ปฏิบตั งิ านต้ องรับผิดชอบในการปฏิบตั งิ านตามระบบการควบคุมภายในที่วางไว้


บทที่ 3 ข้ อมูลกรณีศึกษา ประวัตคิ วามเป็ นมา ในปี 2540 เป็ นปี เศรษฐกิจฟองสบู่แตก ทำให้ หลำยโรงงำนในประเทศไทยมีกำรปิ ดตัว ส่งผลให้ เกิดข่ำวลือที่ว่ำ โตโยต้ ำจะปลดพนักงำนและปิ ดโรงงำนเกตเวย์ เนื่องจำกบริ ษัทหยุดกำร ผลิต เพรำะยอดขำยตก เมื่อควำมทรำบถึงพระเนตรพระกรรณพระบำทสมเด็จพระเจ้ ำอยู่หวั จึง พระรำชทำนเช็คจำนวน 6 แสนบำทให้ กับบริ ษัทเพื่อเป็ นสวัสดิกำรแก่พนักงำนในช่วงเวลำที่เกิด วิกฤตเศรษฐกิ จ ซึ่ง ทำงบริ ษั ท มี ควำมซำบซึง้ ต่อพระมหำกรุ ณ ำธิ คุณจึง มี ควำมมุ่ง มั่น ที่ จ ะน ำ พระรำชทรัพย์ที่ พระรำชทำนส่ว นพระองค์นำมำช่วยเหลือสังคม และจึงเป็ นที่มำของกำรก่อตัง้ “โรงสีข้ำวรัชมงคล” พระบำทสมเด็จพระเจ้ ำอยูห่ วั ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ ำฯ ให้ ครอบครัวโตโยต้ ำได้ มีส่วนร่วม ในกำรดำเนินตำมรอยพระยุคลบำท โดยทรงมีพระรำชดำรัสให้ สร้ ำงโรงสีข้ำวขึ ้น ซึ่งจดทะเบียน ในนำม “บริ ษัท ข้ ำวรัชมงคล จำกัด” เมื่อวันที่ 28 ตุลำคม 2541 ด้ วยทุนจดทะเบียน 5 ล้ ำนบำท ถ้ วน จำแนกได้ ดงั นี ้ เงินพระรำชทำน 600,000 บำท คิดเป็ นหุ้น 12% บริ ษัท โตโยต้ ำ มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด 950,000 บำท คิดเป็ นหุ้น 19% ผู้แทนจำหน่ำยโตโยต้ ำ 90 รำย 2,250,000 บำท คิดเป็ นหุ้น 45% และบริ ษัทผู้ผลิตชิ ้นส่วน 12 บริ ษัท 1,200,000 บำท คิดเป็ นหุ้น 24% ซึง่ บริษัทเริ่มก่อสร้ ำงเมื่อวันที่ 20 ธันวำคม 2541 แล้ วเปิ ดดำเนินกำรเมื่อเดือนมิถนุ ำยน 2542 เป็ น ต้ นไป โดยมีพิธีเปิ ดอย่ำงเป็ นทำงกำรในวันพฤหัสบดีที่ 9 กันยำยน 2542 พระบำทสมเด็จ พระเจ้ ำอยู่หวั ทรงพระกรุ ณำโปรดเกล้ ำฯ ให้ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำ สยำมบรมรำชกุมำรี เสด็จ พระรำชด ำเนิ น แทนพระองค์ เ ป็ นประธำนประกอบพิ ธี เ ปิ ดด ำเนิ น กำรโรงสี ข้ ำ ว ซึ่ง กำร ดำเนินกำรยึดตำมแนวทำงโรงสีสวนจิตรลดำเป็ นหลัก โดยซื ้อข้ ำวเปลือกจำกเกษตรกรโดยตรงมำ สีและจำหน่ำยในรำคำที่เหมำะสมโดยมิได้ ม่งุ หวังกำรค้ ำเพื่อกำไร แต่ให้ ค้ มุ ทุนและสำมำรถดำรง อยูไ่ ด้ อย่ำงพอเพียง


94

ภาพที่ 1 โรงสีข้ำวบริ ษัท ข้ ำวรัชมงคล จำกัด ที่มา: www.toyota.co.th/rrc/.../The%20Rice%20Book01_optimize.pdf วิสัยทัศน์ 1. เป็ นบริ ษัทแกนนำของโตโยต้ ำ มอเตอร์ เอเชียแปซิฟิค และเครื อข่ำยโตโยต้ ำทัว่ โลก 2. เป็ นบริ ษัทที่ได้ รับกำรยอมรับและยกย่องที่สดุ ในประเทศไทย หลักการ 1. ปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่องโดยกำรท้ ำทำยและเปลี่ยนแปลง 2. เคำรพและยอมรับผู้อื่น 3. ยึดหลักควำมพึงพอใจของลูกค้ ำ 4. ทุม่ เทเพื่อมำตรฐำนสูงสุด 5. รับผิดชอบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้ อม


95

พันธกิจ 1. สร้ ำงควำมแข็งแกร่งในกำรปฏิบตั งิ ำน และส่งเสริ มให้ เกิดควำมร่วมมือระหว่ำงเอเชีย แปซิฟิก 2. บรรลุกำรเป็ นผู้นำในด้ ำนควำมพึงพอใจของลูกค้ ำ และด้ ำนสัดส่วนกำรตลำด 3. กำหนดให้ ควำมปลอดภัยเป็ นกิจกรรมที่สำคัญที่สดุ ของกิจกรรม ซึ่งเป็ นรำกฐำนของ บริษัท 4. สร้ ำงสังคมที่มีคณ ุ ภำพโดยกำรทำกิจกรรมที่มีคณ ุ ค่ำเพื่อสังคม วัตถุประสงค์ ของบริษัท 1. เพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือเกษตรกร 2. สร้ ำงผลิตภัณฑ์คณ ุ ภำพสูงแก่ลกู ค้ ำในรำคำที่เหมำะสม 3. ให้ เป็ นธุรกิจที่ยงั่ ยืนและพึง่ พำตนเองได้ โดยมิได้ มงุ่ หวังกำไร การดาเนินงาน บริษัท ข้ ำวรัชมงคล จำกัด เป็ นโรงสีข้ำวขนำดเล็ก ซึ่งบริ ษัท โตโยต้ ำ มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัดที่เป็ นบริษัทแม่จดั ตังขึ ้ ้นทำหน้ ำที่แตกต่ำงจำกธุรกิจรถยนต์อนั เป็ นธุรกิจหลักของโตโยต้ ำ แม้ ลักษณะของธุรกิจจะแตกต่ำงกัน แต่เจตจำนงกำรรับผิดชอบต่อสังคมเหมือนกัน โดยทำงบริ ษัทมี กำรรับซื ้อข้ ำวเปลือกจำกเกษตรกรและสหกรณ์กำรเกษตรชุมชนในรำคำที่เหมำะสม แล้ วจำหน่ำย ให้ ผ้ บู ริ โภคในรำคำที่ยตุ ิธรรม ซึ่งมิได้ หวังผลกำไรจำกกำรดำเนินงำน นอกจำกนี ้ผลพลอยได้ จำก กำรสีข้ำว อำทิ แกลบ รำ และปลำยข้ ำว จะนำไปจำหน่ำยให้ กบั เกษตรกรชุมชนในรำคำย่อมเยำ เพื่อให้ เป็ นไปตำมแนวพระรำชดำริ “เศรษฐกิจพอเพียง” และนอกเหนือไปจำกกำรประกอบกำร


96

บริษัทยังทำกิจกรรมเพื่อสังคมอย่ำงต่อเนื่อง โดยมุง่ ส่งเสริมสังคมให้ เป็ นสังคมที่ยงั่ ยืน อีกทังบริ ้ ษัท มีกำรดำเนินงำนที่ เ น้ นกำรบริ หำรจัดกำรและกำรลดต้ นทุนที่ ไ ม่จ ำเป็ นตำมหลักกำรผลิตแบบ โตโยต้ ำ บริ ษัทมีกำลังกำรผลิตข้ ำวสำรเต็มที่เดือนละ 600 ตัน ปั จจุบนั สำมำรถผลิตข้ ำวสำรเดือน ละ 250 ตัน หรื อประมำณ 250,000 กิโลกรัม ทำกำรตังแต่ ้ 08.00-17.00 น. ทุกวัน และสำมำรถ เพิ่มกำลังผลิตได้ อีกเพื่อรองรับปริ มำณควำมต้ องกำรของผู้บริ โภคในวงกว้ ำงมำกขึน้ แล้ วมีกำร ติดตังเครื ้ ่ องยิงแยกสีเพื่อควำมสะอำดและเพิ่มควำมใสของเมล็ดข้ ำว ซึ่งข้ ำวสำรที่บริ ษัทผลิต จำแนกออกเป็ น 3 ประเภท คือ ข้ ำวหอมมะลิ ข้ ำวกล้ องหอมมะลิ และข้ ำวขำว โดยวำงจำหน่ำยที่ Golden Place ทุกสำขำ และผู้แทนจำหน่ำยรถโตโยต้ ำ บริษัทมีกำรทำเกษตรแบบทฤษฎีใหม่ตำมแนวพระรำชดำริ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่ อ ให้ รอดพ้ นและสำมำรถด ำรงอยู่ ไ ด้ อย่ ำ งมั่ น คงและยั่ ง ยื น ภำยใต้ กระแสโลกำภิ วั ต น์ และควำมเปลี่ยนแปลงต่ำงๆ โดยทำงบริ ษัทได้ ทำไร่นำสวนผสม คือ ระบบกำรเกษตรที่เกษตรกร สำมำรถทำนำข้ ำว ปลูกพืชได้ หลำยชนิดรวมถึงกำรเลีย้ งสัตว์เพื่อเป็ นอำหำรและขำยเป็ นรำยได้ โดยเน้ นกำรใช้ ทรัพยำกรที่ดนิ ให้ มีประสิทธิภำพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด และมีกำรวำงแปลงปลูก พืชพรรณให้ เหมำะสมกับสภำพทำงกำยภำพของดิน โดยเฉพำะกำรนำวัสดุเหลือใช้ จำกผลิตผล อย่ำงหนึ่งไปเอื ้อประโยชน์อีกอย่ำงหนึ่งในไร่ นำแบบครบวงจร และกำรทำไร่ นำสวนผสมนี ม้ ีแหล่ง น ้ำเพียงพอตลอดทังปี ้ ซึ่งกำรปลูกพืชแต่ละชนิดมีกำรหมุนเวียนสับเปลี่ยนกันไป และเน้ นพืชผักที่ ปลอดสำรพิษโดยกำรใช้ ป๋ ยอิ ุ นทรี ย์ที่ทำขึ ้นเอง


97

โครงสร้ างองค์ กร ประธาน นำยมิทซึฮิโระ โซโนดะ Treasurer นำยฮิโรชิ นิชิดะ

ผู้ประสานงาน กรรมการผู้จัดการ นำยโมริโอะ โอวำกิ

ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการ นำยวุฒิกร สุริยะฉันทนำ

นนท์

ผู้อานวยการ นำยวิเชียร พวงภำคีศริ ิ

ฝ่ ายขายและการตลาด นำยนรินทร ธรรมชำติ

ฝ่ ายบัญชีและการเงิน นำงสำวเกศรำ

คณะทางาน 1. นำยศุภรัตน์ ศิริสวุ รรณำงกูร 2. นำยวิเชียร พวงภำคีศริ ิ 3. นำยณรงค์ชยั ศิริรัตน์มำนะวงศ์ 4. นำยบิณฑ์ สินรุ่งเรื อง 5. นำยธีรฉัตร พีชผล 6. นำยสมรรถ นำรำษฎร์ 7. นำยชูศกั ดิ์ เหยี่ยงสกุล 8. นำยธนพัฒน์ จิรกำลโสภำสกุล

ฝ่ ายผลิตและขนส่ ง นำยอร่ำม แก้ วโชติรุ่ง

แผนภูมิท่ ี 1 โครงสร้ ำงองค์กร บริ ษัท ข้ ำวรัชมงคล จำกัด ที่มา: www.toyota.co.th/rrc/.../The%20Rice%20Book01_optimize.pdf

ฝ่ ายบริหาร นำยนรินทร ธรรมชำติ


98

ระบบการปฏิบัตงิ านของบริษัท ระบบกำรปฏิบตั ิงำนของบริ ษัทแบ่งตำมโครงสร้ ำงกำรบริ หำรงำนเป็ นฝ่ ำยต่ำงๆ ซึ่งแต่ ละฝ่ ำยมีกำรปฏิบตั งิ ำน ดังต่อไปนี ้ 1. การปฏิบัตงิ านของฝ่ ายขายและการตลาด 1.1 กำหนดผู้รับผิดชอบกำกับดูแลกำรปฏิ บตั ิงำนให้ เป็ นไปตำมระเบียบและวิธี ปฏิบตั ทิ ี่วำงไว้ และมำตรกำรลงโทษแก่ผ้ กู ระทำผิด 1.2 กำรจัดอบรมควำมรู้และทักษะกำรขำยให้ แก่พนักงำนปี ละครัง้ 1.3 กำรศึกษำและปรั บ ปรุ ง แผนกำรขำยให้ เป็ นไปตำมนโยบำยและเป้ำหมำย ที่กำหนดโดยมีดงั นี ้ 1.3.1 กำรปรับตำแหน่งของผลิตภัณฑ์ โดยกำหนดตำแหน่งของผลิตภัณฑ์ ใหม่ให้ เป็ นแบบ Niche Market ที่เป็ นตลำดเฉพำะเจำะจงที่ม่งุ เน้ นลูกค้ ำกลุ่มโตโยต้ ำ ซึ่งได้ แก่ พนักงำน ผู้แทนจำหน่ำย และกลุม่ ผู้ผลิต 1.3.2 กำรปรับรำคำให้ เหมำะสม โดยตังรำคำขำยปลี ้ กให้ เป็ นรำคำระดับสูง เพื่อให้ สอดคล้ องกับกำรวำงตำแหน่งผลิตภัณฑ์ ซึ่งกำรขำยให้ กบั กลุ่มลูกค้ ำเป็ นรำคำขำยส่งที่ เป็ น รำคำที่สำมำรถแข่งขันกับรำคำตลำดได้ 1.3.3 กำรปรับด้ ำนกำรส่งเสริ มกำรขำยให้ เป็ นรูปแบบกำรนำเสนอกับลูกค้ ำ แต่ละกลุม่ และแต่ละรำย เน้ นจุดเด่นโดยส่งสินค้ ำให้ ถึงที่ทำงำน และมีกำรจัดกิจกรรมทดลองชิม 1.3.4 กำรปรั บช่องทำงกำรจัดจำหน่ำย โดยเน้ นกำรจ ำหน่ำยข้ ำวในกลุ่ม ลูกค้ ำ 4 กลุ่ม คือ กลุ่ม แรกคือ พนักงำน เน้ นกำรขำยผ่ำนร้ ำนอำหำรของสโมสรในแต่ละสถำนที่ ทำงำน กลุม่ ที่สองคือ ผู้แทนจำหน่ำย เน้ นกำรจัดทำกิจกรรมทดลองชิมข้ ำว แผ่นพับ และโปสเตอร์


99

ซึ่งทำให้ ผ้ ูแทนจำหน่ำยสำมำรถขำยข้ ำวให้ กับลูกค้ ำและพนักงำนของโตโยต้ ำเพื่อนำไปบริ โภค หรื อแจกในกิจกรรมโชว์รูม หรื อบริจำคเมื่อเกิดภัยพิบตั ติ ำ่ งๆ โดยเน้ นบรรจุภณ ั ฑ์ที่เป็ นสุญญำกำศ กลุ่มที่สำมคือ ผู้ผลิตชิ ้นส่วน เน้ นกำรหุงข้ ำวมื ้อกลำงวันเลี ้ยงพนักงำนเป็ นหลัก และกลุ่มสุดท้ ำย คือ ลูกค้ ำทัว่ ไป เน้ นเฉพำะกลุ่มที่เป็ นลูกค้ ำดังเดิ ้ มที่อยู่ในนิคมอุตสำหกรรม หรื อเส้ นทำงเดียวกับ กลุม่ ผู้ผลิตชิ ้นส่วนโตโยต้ ำ เพื่อประหยัดค่ำใช้ จำ่ ยในกำรจัดส่ง 1.4 กำรสำรวจควำมต้ องกำรของกลุ่มลูกค้ ำเป้ำหมำย และสภำวะทำงเศรษฐกิจ พร้ อมทังก ้ ำหนดกลยุทธ์ด้ำนกำรขำยให้ ชดั เจน 1.5 หำกฝ่ ำยขำยมี กำรของบประมำณที่ เ ป็ นหลักแสนหรื อ ล้ ำ นบำท เพื่ อ ใช้ ใ น กำรตลำดต้ องได้ รับกำรอนุมตั จิ ำกทำงโตโยต้ ำก่อน 1.6 กำรจัดทำทะเบียนประวัตลิ กู ค้ ำ 1.7 พนักงำนต้ องเขียนชื่อลูกค้ ำไว้ ที่ถุงหรื อกระสอบ เวลำลูกค้ ำมำรับสินค้ ำจะได้ สะดวกต่อกำรหยิบหรื อค้ นหำ และป้องกันคนแอบอ้ ำงเป็ นเจ้ ำของ กรณีมีคนมำรับสินค้ ำแต่ไม่มีชื่อ ปรำกฏอยูจ่ ะไม่ทำกำรส่งมอบสินค้ ำให้ แก่ผ้ นู นั ้ 1.8 บริ ษั ท มี ก ำรสื่ อ สำรกั บ บุ ค คลภำยนอก โดยกำรประชำสัม พัน ธ์ ข่ ำ วสำร และกิจกรรมต่ำงๆ ผ่ำนทำงอินเทอร์ เน็ต รวมถึงมีกำรประกวดข้ ำวและเปิ ดให้ เข้ ำเยี่ยมชมโรงสีข้ำว และมีกำรรับฟั งควำมคิดเห็นต่ำงๆจำกลูกค้ ำเพื่ อนำมำปรับปรุ งแก้ ไข โดยลูกค้ ำสำมำรถแสดง ควำมคิดเห็นหรื อข้ อร้ องเรี ยนต่ำงๆผ่ำนแบบฟอร์ มออนไลน์ หรื อติดต่อศูนย์ ลูกค้ ำสัมพันธ์ ได้ ที่ 0-2386-2000 หรื อ 1800-238444 ตลอด 24 ชัว่ โมง 2. การปฏิบัตงิ านของฝ่ ายผลิตและขนส่ ง 2.1 กำหนดผู้รับผิดชอบกำกับดูแลกำรปฏิบตั ิงำน มำตรกำรลงโทษแก่ผ้ กู ระทำผิด และกำหนดกำรแบ่งสำยงำนกำรผลิตให้ ชดั เจน รวมทังมี ้ ผ้ กู ำกับดูแลกำรปฏิบตั งิ ำน


100

2.2 จัดอบรมให้ กบั พนักงำนฝ่ ำยกำรผลิตและขนส่งปี ละครัง้ 2.3 กำรรับซือ้ ข้ ำวเปลือกมีกำรกำหนดคุณลักษณะให้ เป็ นไปตำมมำตรฐำนที่ถือ ปฏิบตั ิทั่วไป โดยต้ องเป็ นข้ ำวเปลือกที่ แห้ ง พร้ อมสี ควำมชืน้ ที่เหมำะสม ซึ่งมีเครื่ องตรวจสอบ คุณภำพก่อนรับซื ้อ 2.4 บริ ษัททำกำรคัดเลือกพันธุ์ข้ำวเปลือกจำกแหล่งผลิตที่มีคณ ุ ภำพของประเทศ โดยมี ก ำรติ ด ต่ อ ซื อ้ ขำยกับ กลุ่ม สหกรณ์ ก ำรเกษตรหรื อ เกษตรกรโดยตรง เพื่ อ ขจัด ปั ญ หำ กำรกดรำคำข้ ำวเปลื อ กจำกพ่ อ ค้ ำคนกลำง ซึ่ ง ข้ ำวหอมมะลิ รั บ มำจำกจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ และศรี ส ะเกษ ส่วนข้ ำวขำวทั่วไปรั บ มำจำกจัง หวัด ฉะเชิ ง เทรำหรื อ จัง หวัดใกล้ เ คี ยง อี ก ทัง้ มี กำรติดตังเครื ้ ่ องชัง่ น ้ำหนักขนำดใหญ่เพื่อตรวจรับข้ ำวเปลือก 2.5 บริษัทมีกำรพัฒนำกระบวนกำรผลิตโดยกำรติดตังถุ ้ งกรองฝุ่ นใหม่ เพื่อลดกำร เกิดฝุ่ นในกระบวนกำรผลิต ส่วนในเรื่ องของคุณภำพได้ มีกำรลงทุนซื ้อเครื่ องยิงเมล็ดดำ เพื่อให้ ได้ ข้ ำวที่ ขำวบริ สุทธิ์ ไม่มีสิ่งเจื อปน โดยต่อไปนีจ้ ะกล่ำวถึงกระบวนกำรสีข้ำวดัง แสดงในภำพที่ 2 ซึง่ มีดงั นี ้ 2.5.1 นำข้ ำวเปลือกที่รับซื ้อไปทำควำมสะอำดที่ห้อง PRE CLEAN โดย ข้ ำ วเปลื อ กที่ ไ หลออกมำจำกเครื่ อ งทำควำมสะอำดจะถูก กะพ้ อ ล ำเลี ย งตัก ไปเก็ บ ไว้ ใ นไซโล ข้ ำวเปลือกเพื่อรอกำรนำไปสีต่อไป ข้ ำวเปลือกในไซโลจะเก็บแยกเป็ นไปตำมแต่ละชนิด เช่น ถัง ข้ ำวหอมมะลิ ถังข้ ำวนำปี เมื่อทำกำรผลิตข้ ำวชนิดใดก็เปิ ดชนิดนัน้ ออกไปสี ซึ่งข้ ำวเปลือกที่เก็บไว้ ในถังไซโลจะถูกปล่อยลงสู่สำยพำนลำเลียง และไหลลงสู่กะพ้ ออีกครัง้ หนึ่ง เพื่อนำข้ ำวเปลือกไป เก็บไว้ ที่ถงั พักบนหลังเครื่ องกะเทำะเพื่อเตรี ยมกะเทำะเปลือก 2.5.2 ปล่อยข้ ำวเปลือกลงสู่เครื่ องกะเทำะ เมล็ดข้ ำวเปลือกจะไหลลงสู่แผ่น กระจำยข้ ำวเปลือก เพื่อให้ ข้ำวเปลือกกระจำยตัวเรี ยงลงสู่ลกู ยำงกะเทำะ หลังจำกข้ ำวเปลือกไหล ผ่ำนเครื่ องกะเทำะจะมีผลออกมำ 3 อย่ำง คือ


101

ก. แกลบหรื อเปลือกของข้ ำวเมื่อโดนบีบออกก็จะไหลลงสู่รำงแกลบ ไปหำโซ่ล ำเลี ย งและลงไปที่ ก ะพ้ อ เพื่ อ ตัก แกลบขึน้ ไปเก็ บ ในถัง ไซโลแกลบ เตรี ย มจ ำหน่ำ ย สำมำรถนำไปทำปุ๋ย เชื ้อเพลิง รองพื ้นเล้ ำเป็ ดหรื อเล้ ำไก่ได้ ข. ข้ ำวกล้ อง คือ ข้ ำวที่กะเทำะเปลือกออกแล้ วเป็ นข้ ำวสำรสีน ้ำตำล ค. ข้ ำวเปลื อกที่ กะเทำะไม่ออกเนื่ องจำกข้ ำวเปลื อ กจ ำนวนมำก ที่ไหลผ่ำนเครื่ องกะเทำะมีขนำดเมล็ดที่ไม่เท่ำกัน 2.5.3 ปล่ อ ยข้ ำวกล้ องและข้ ำวเปลื อ กที่ ก ะเทำะไม่ อ อกบำงส่ ว นลงสู่ เครื่ องแยกหิน ซึ่งเครื่ องแยกหิน ทำหน้ ำที่คดั เอำเมล็ดหินออกจำกข้ ำวกล้ องและข้ ำวเปลือกที่ยงั ไม่ กะเทำะ 2.5.4 ข้ ำวเปลือกที่ผำ่ นกำรคัดแยกเม็ดหินออกจะไหลลงสูก่ ะพ้ อเพื่อลำเลียง ขึ ้นไปเก็บไว้ ในถังพักหลังตะแกรงโยก แล้ วปล่อยข้ ำวเปลือกลงสู่ตะแกรงโยก ซึ่งตะแกรงโยกจะทำ หน้ ำที่คดั แยกข้ ำวเปลือกออกจำกข้ ำวกล้ อง ข้ ำวที่ไหลผ่ำนออกมำจำกตะแกรงโยก จะมีคณ ุ สมบัติ ดัง นี ้ แบบแรก ข้ ำ วกล้ อ งบริ สุท ธิ์ พ ร้ อมที่ จ ะไปสู่ก ระบวนกำรต่อ ไป แบบที่ ส อง ข้ ำ วกล้ อ งที่ มี ข้ ำ วเปลื อ กผสมอยู่ จ ะไหลลงสู่ถั ง พัก ด้ ำ นบนเพื่ อ กลับ ลงมำคัด ในรอบที่ 2 และแบบที่ ส ำม ข้ ำวเปลือกที่มีข้ำวกล้ องผสมอยู่บำงส่วนจะต้ องไหลลงสู่กะพ้ อเพื่อไปเก็บในถังพักข้ ำวเปลือก เพื่อ นำไปกะเทำะใหม่ 2.5.5 ข้ ำวกล้ องที่ได้ จำกกำรคัดแยกจะไหลลงสู่โซ่ลำเลียงแล้ วลงสู่กะพ้ อ เพื่อขึ ้นไปเก็ บไว้ ในถังพักเหนือเครื่ องขัดมัน เพื่อทำกำรขัดขำว ซึ่งกำรขัดขำว คือ กำรทำให้ ส่วน ฟิ ล์มที่ห่อหุ้มเมล็ดหลุดออกไปพร้ อมกับเนื ้อแป้งบำงส่วน แม้ กระทัง่ เยื่อเจริ ญ (จมูกข้ ำว) ก็หลุด ออกไปจำกขันตอนนี ้ ้ ส่วนที่หลุดออกไปจำกขันตอนนี ้ ้เรี ยกว่ำ “รำข้ ำว” 2.5.6 ข้ ำวเปลือกที่ไหลออกมำจำกเครื่ องขัดขำวก็จะไหลลงสู่กะพ้ อ และตัก ไปเก็บไว้ ในถังพักหลังเครื่ องขัดมัน เพื่อทำกำรตกแต่งข้ ำวสำรให้ เกิดควำมเงำสวย ซึ่งเอำข้ ำวสำรที่ ผ่ำนกำรขัดสีแล้ วมำทำกำรตกแต่งใหม่ โดยให้ เมล็ดข้ ำวมีรอยขีดข่วนน้ อยที่สุดหรื อเส้ นของข้ ำว


102

กล้ องตกค้ ำงอยูบ่ นตัวเมล็ดข้ ำวน้ อยที่สดุ โดยทัว่ ไปจะมีกำรขัดเงำกัน 2 เที่ยว ข้ ำวที่ผ่ำนกำรขัดเงำ แล้ วจะไหลลงกะพ้ อเพื่อนำไปเก็บไว้ ในถังเล็กๆ ก่อนลงสู่ตะแกรงเหลี่ยมอนำมัย ซึ่งตะแกรงเหลี่ยม อนำมัยจะทำหน้ ำที่คดั แยกขนำดของเมล็ดข้ ำวตำมที่กำหนดขนำดของตะแกรง โดยคัดแยกข้ ำว ออกเป็ นชนิดต่ำงๆ ดังต่อไปนี ้ ก. ต้ นข้ ำว คือ ข้ ำวที่เต็มเมล็ดไม่มีกำรแตกของเมล็ด ข. เมล็ดหักใหญ่ คือ ข้ ำวที่มีขนำดรองลงมำแต่ต้องเกินสำมส่วนสี่ ขึ ้นไป ส่วนใหญ่ใช้ ผสมกับต้ นข้ ำว ค. หักเล็ก คือ ข้ ำวที่ มี ขนำดต่ำกว่ำครึ่ งเมล็ดลงมำ แยกขำยเป็ น อำหำรสัตว์ ง. ปลำยข้ ำว คือ จมูกข้ ำวหรื อเมล็ดข้ ำวที่แตกออกมำเล็กๆ จะแยก ขำยเป็ นอำหำรสัตว์ 2.5.7 ข้ ำวสำรที่ผ่ำนกำรคัดขนำดเรี ยบร้ อยแล้ วที่เหลืออยู่ในระบบกำรผลิต คือ ต้ นข้ ำว แต่ในต้ นข้ ำวจะมีข้ำวเปลือกและเม็ดหินหลงเหลืออยู่บ้ำง จึงต้ องทำให้ สะอำดโดยกำร นำไปผ่ำนเครื่ องยิงเมล็ดดำเสร็จแล้ วก็จะได้ มำเป็ นต้ นข้ ำว 2.6 พนักงำนต้ องรำยงำนข้ อมูลกำรเบิกใช้ วตั ถุดิบในกำรผลิตเพื่อเปรี ยบเทียบกับ ทะเบี ย นคุม วัต ถุดิ บ โดยทุก ครั ง้ ที่ พ นัก งำนเบิ ก วัต ถุดิ บ มำใช้ ต้ อ งลงรำยกำรเบิ ก ในทะเบี ย น คุมวัตถุดบิ และทุกสิ ้นเดือนทะเบียนคุมวัสดุดงั กล่ำวต้ องนำส่งไปที่โตโยต้ ำเพื่อตรวจสอบอีกครัง้ 2.7 กำรจัด กำรผลิต ผลพลอยได้ จ ำกกำรผลิ ตสิ นค้ ำ ให้ เ หมำะสม จำหน่ำยให้ เกษตรกร

โดยน ำไป

2.8 กำรจัดให้ มีกำรตรวจสอบและบันทึกผลผลิตที่ได้ ในแต่ละช่วงกำรผลิต


103

2.9 กำรบรรจุข้ำวสำรซึง่ มีทงแบบถุ ั้ งสุญญำกำศที่สำมำรถป้องกันมอดได้ หรื อ แบบ กระสอบ โดยกำรบรรจุข้ำวต้ องใส่ไปมำกกว่ำ นำ้ หนัก ที่ ระบุไว้ เพื่ อป้องกันนำ้ หนักลดลงจำกที่ กำหนดไว้ เนื่องจำกข้ ำวสำรแห้ งลง ข้ ำวสำรที่บรรจุเรี ยบร้ อยต้ องนำไปเก็บไว้ ในคลังสินค้ ำ แยกตำม ชนิดของข้ ำวสำร โดยดูจำกสีถุงที่บรรจุซึ่งมีดงั นี ้ ข้ ำวสำรที่บรรจุในกระสอบสีเขียวเป็ นข้ ำวหอม มะลิ 80% และข้ ำวขำว 20% กระสอบสีเหลืองเป็ นข้ ำวหอมมะลิ 30% และข้ ำวขำว 70% กระสอบสี ฟ้ำเป็ นข้ ำวหอมมะลิ กระสอบสี ขำวเป็ นข้ ำวนำปี และกระสอบสี แดงเป็ นข้ ำวกล้ อง อีกทังที ้ ่กระสอบยังมีกำรระบุวนั ที่ ซึง่ วันที่นี ้คือวันที่บรรจุข้ำว 2.10 กำรควบคุมสินค้ ำคงเหลือโดยใช้ ระบบ FIFO (First in First Out) และควบคุม ปริ มำณสต๊ อกข้ ำวสำรไม่ให้ เ กิน 15 วัน ของยอดกำรขำย ส ำหรั บ กำรเก็ บข้ ำวสำรที่จ ำหน่ำย แบบล็อตใหญ่ไว้ ในคลังสินค้ ำ แต่สำหรับข้ ำวสำรที่จำหน่ำยเป็ นล็อตเล็กจะแยกเอำไว้ ต่ำงหำก ซึง่ วำงไว้ ที่ห้องที่บรรจุข้ำวไม่ได้ นำไปเก็บที่คลังสินค้ ำ 2.11 กำรทดสอบกำรสูญเสียน ้ำหนักของสินค้ ำ 2.12 กำหนดพนักงำนที่รับผิดชอบในกำรตรวจนับและรำยงำนสินค้ ำตำมระยะเวลำ ที่กำหนด 2.13 ชัง่ น ้ำหนักรถที่บรรทุกสินค้ ำก่อนขนส่ง 2.14 บริ ษัทจ้ ำงบุคคลภำยนอกขนส่ง สินค้ ำ กรณี พ นักงำนขนส่ง ไม่ว่ำงหรื อป่ วย และค่ำใช้ จำ่ ยถูกกว่ำขนส่งเอง


104

ภาพที่ 2 กระบวนกำรสีข้ำวจนถึงกำรเก็บข้ ำวสำรที่คลังสินค้ ำ ที่มา: www.toyota.co.th/rrc/.../The%20Rice%20Book01_ ptimize.pdf


3. การปฏิบัตงิ านของฝ่ ายบัญชีและการเงิน 3.1 กำรกำหนดนโยบำยกำรบัญชีเพื่อใช้ เป็ นแนวทำงในกำรจัดทำบัญชี 3.2 จัดให้ มีกำรฝึ กอบรมให้ ควำมรู้ด้ำนบัญชีและกำรเงินปี ละครัง้ 3.3 เอกสำรทำงบัญชีมีกำรเรี ยงลำดับเลขที่ 3.4 พนักงำนบัญชีมีหน้ ำที่รับผิดชอบทังบั ้ ญชีและกำรเงิน 3.5 ผู้บริหำรเข้ ำมำควบคุมดูแลฝ่ ำยบัญชีและกำรเงินอย่ำงใกล้ ชิด 3.6 จัดทำบัญชีให้ เป็ นไปตำมมำตรฐำนกำรบัญชี 3.7 กำรตรวจสอบควำมถูกต้ องในกำรบันทึกบัญชีและกำรผ่ำนรำยกำรไปบัญชี แยกประเภททัว่ ไป บัญชียอ่ ยและทะเบียนต่ำงอย่ำงๆสม่ำเสมอ 3.8 มีกำรจัดทำงบกำรเงินและแสดงรำยกำรตำมรู ปแบบที่ มำตรฐำนกำรบัญชี กำหนดโดยเปิ ดเผยข้ อมูลอย่ำงเพียงพอ 3.9 กำรจั ด ท ำทะเบี ย นคุ ม แต่ ล ะประเภทเป็ นปั จจุ บั น เช่ น ทะเบี ย นคุ ม ใบเสร็จรับเงิน ทะเบียนคุมใบกำกับสินค้ ำ ทะเบียนคุมวัตถุดิบ ทะเบียนคุมสินค้ ำคงเหลือ ทะเบียน คุมทรัพย์สิน เป็ นต้ น 3.10 บริ ษัทจัดทำทะเบียนทรัพย์สิน ซึ่งประกอบด้ วย รำยละเอียด หมำยเลขรหัส รำยกำร สถำนที่ใช้ หรื อสถำนที่เก็บรักษำ และรำคำของสินทรัพย์ 3.11 บริ ษัทจัดทำทะเบียนสินค้ ำคงเหลือ ซึ่งประกอบด้ วย รำยละเอียด หมำยเลข รหัสรำยกำร สถำนที่ใช้ หรื อสถำนที่เก็บรักษำ และรำคำ


3.12 พนักงำนบัญชีแยกส่งเอกสำรทำงบัญชีและกำรเงินไปยังโตโยต้ ำตำมฝ่ ำยที่ รับผิดชอบ เพื่อตรวจสอบกระทบยอดควำมถูกต้ องของยอดเงินในแต่ละวัน 3.13 กำหนดให้ มีกำรตรวจสอบยอดเงินกับหลักฐำนกำรรับเงินทุกครัง้ และเมื่อ มีกำรรับเงินสดต้ องนำฝำกเข้ ำธนำคำรทุกครัง้ ในแต่ละวัน โดยธนำคำรมำรับเงินที่บริษัท 3.14 มีกำรอนุมตั เิ บิกใช้ เอกสำรกำรเงินโดยผู้มีอำนำจ 3.15 กำรตรวจสอบกำรปฏิบตั ิงำนของพนักงำนเกี่ยวกับกำรบริ หำรและติดตำมทวง เงินจำกลูกหนี ้ให้ เป็ นไปตำมข้ อบังคับ 3.16 กำรจัดทำตำรำงเวลำกำรชำระหนีต้ ำมกำหนด และกำกับดูแลกำรชำระหนี ้ อย่ำงเคร่งครัด 3.17 หำกซือ้ ของจำกภำยนอก ถ้ ำเป็ นกำรจ่ำยเช็ค บริ ษัทจะเป็ นต้ องเสนอเช็คให้ โตโยต้ ำอนุมตั กิ ่อนทุกครัง้ ที่มีกำรเบิกจ่ำยเงิน แต่หำกเป็ นจ่ำยเงินสดซึ่งจำนวนไม่มำกทำงบริ ษัทมี เงินสดสำรองที่สำมำรถเบิกจ่ำยได้ 3.18 บริษัทต้ องทำรำยงำนผลกำรตรวจนับทรัพย์สินเปรี ยบเทียบยอดจำกกำรตรวจ นับกับทะเบียนคุมและบัญชีทรัพย์สิน 3.19 หำกทรั พ ย์ สิ น ใดหมดอำยุกำรใช้ ง ำนต้ องนำไปเก็ บไว้ ใ นสถำนที่ จัด เก็ บ รอ จนกว่ำที่ผ้ สู อบบัญชีบอกว่ำค่ำเสื่อมรำคำเท่ำกับศูนย์หรื อให้ ทำลำยได้ จงึ นำทรัพย์สินนันไปท ้ ำลำย 3.20 ผู้สอบบัญชีรับอนุญำตเข้ ำมำตรวจสอบที่บริษัทเป็ นประจำปี


4. การปฏิบัตงิ านของฝ่ ายบริหาร 4.1 กำรกำหนดนโยบำยกำรดำเนินงำนอย่ำงชัดเจน โดยมุ่งหวังให้ บริ ษัทเป็ นธุรกิจ ที่ยงั่ ยืนและพึง่ พำตนเองได้ มิได้ มงุ่ หวังกำไรและเป็ นไปตำมวัตถุประสงค์ที่กำหนดในข้ อบังคับ เพื่อ ใช้ เป็ นแนวทำงในกำรปฏิบตั ิงำน และกำหนดปรัชญำในกำรดำเนินงำนว่ำ “รัชมงคลมุ่งหวังเพื่อ สังคม” 4.2 กำรมอบหมำยหน้ ำที่และควำมรับผิดชอบให้ แก่ผ้ จู ัดกำรบริ ษัท ได้ แก่ ผู้ดแู ล ฝ่ ำยบริ ห ำร ฝ่ ำยขำยและกำรตลำด รวมทั ง้ พนั ก งำนคนอื่ น ๆ สำมำรถท ำงำนแทนกั น ได้ แต่พนักงำนในฝ่ ำยผลิตนันไม่ ้ สำมำรถทำหน้ ำที่แทนฝ่ ำยบัญชีและกำรเงินได้ 4.3 ทบทวนและปรับปรุ งแผนให้ ทันสมัย สอบทำนระบบงำนและประเมินควำม เสี่ยงอย่ำงสม่ำเสมอ 4.4 กำรบริ หำรงำนเน้ นกำรลดต้ นทุนและประหยัดค่ำใช้ จ่ำยที่ ไ ม่จ ำเป็ น ได้ แก่ กำรลดจำนวนสำเนำใบส่งของ ลดกำรจัดซื ้อข้ ำวเปลือกในต้ นฤดู กำรจัดซื ้อวัสดุอปุ กรณ์จำกผู้ขำย ที่เป็ นผู้ผลิตโดยตรงที่ดี เป็ นต้ น 4.5 กำหนดระบบคัดสรรพนักงำนเข้ ำมำทำงำนที่มำจำกกำรคัดสรรของโตโยต้ ำ 4.6 กำรจ่ำยเงินเดือนหรื อค่ำแรงให้ กับพนักงำนเกินมำตรฐำนขันต ้ ่ำ ที่ทำงรัฐบำล กำหนดไว้ และมีประกันอุบตั เิ หตุให้ กบั พนักงำนทุกคน 4.7 กำรเข้ ำมำทำงำนในแต่ละวันของพนักงำนต้ องตอกบัตรเข้ ำทำงำนทุกครัง้ 4.8 จัดอบรมด้ ำนทักษะควำมรู้ และจริยธรรมแก่พนักงำนปี ละครัง้


4.9 ผู้บริ หำรมีนโยบำยในกำรดูแลพนักงำนแบบเสมือนหนึ่งเป็ นคนในครอบครัว เดียวกัน โดยเข้ ำมำพบปะพนักงำน เพื่อเป็ นกำรดูแลเอำใจใส่ และเป็ นขวัญกำลังใจให้ กบั พนักงำน ในกำรปฏิบตั หิ น้ ำที่ 4.10 จัดให้ มี กำรสอบถำมและรั บฟั งควำมคิดเห็น ต่ำงๆจำกพนักงำน เพื่อ นำมำ ปรับปรุงแก้ ไข 4.11 ทรัพยำกรที่มีอยู่ภำยในองค์กรได้ รับกำรจัดสรรให้ กับกระบวนกำรดำเนินงำน ทังหมด ้ รวมถึงทรัพยำกรที่มีกำรใช้ ประโยชน์น้อยจะได้ รับกำรแก้ ไขปรับปรุงให้ ดีขึ ้น 4.12 ผู้จดั กำรติดตำมผลในระหว่ำงกำรปฏิบตั งิ ำนของพนักงำน โดยกำรติดตังกล้ ้ อง วงจรปิ ดไว้ ทกุ จุดที่สำคัญ ซึง่ กล้ องวงจรปิ ดเชื่อมต่อไปยังโทรศัพท์มือถือของผู้จดั กำรของบริษัท 4.13 กำรดูแลป้องกันไฟไหม้ ที่เกิดจำกแกลบ โดยโตโยต้ ำจะส่งพนักงำนเข้ ำมำดูแล ทุกเดือน 4.14 คณะกรรมกำรบริ ษัทมีกำรกำกับดูแลและติดตำมหน้ ำที่ควำมรับผิดชอบของ บุคลำกร 4.15 ผู้บริ หำรต้ องเปรี ยบเทียบผลกำรดำเนินงำนจริ งกับแผนงบประมำณว่ำเป็ นไป ตำมแผนที่ตงไว้ ั ้ หรื อไม่ หำกผลกำรดำเนินงำนไม่ตรงกับแผนงบประมำณที่ตงไว้ ั ้ ต้องติ ดตำมหำ สำเหตุ และด ำเนิ นกำรแก้ ไ ขในระยะเวลำที่ เหมำะสม เช่น แผนงบประมำณเงิ นสด หำกกำร ปฏิบตั ิงำนจริ งกับแผนงบประมำณมีควำมแตกต่ำงกันมำก ผู้บริ หำรต้ องทำกำรตรวจสอบช่วง ระยะเวลำ 3 เดือนก่อนทำกำรปิ ดงบกำรเงิน หำกคำดว่ำผลกำรปฏิบตั ิงำนจริ ง เกินกว่ำงบประมำณ ที่ ตัง้ ไว้ ต้ อ งท ำกำรตัด ส่ ว นที่ ไ ม่ จ ำเป็ นออก หรื อหำกคำดว่ ำ ผลกำรปฏิ บัติ ง ำนจริ ง น้ อยกว่ ำ งบประมำณที่ตงไว้ ั ้ ทำงผู้บริ หำรต้ องทำกำรใช้ งบประมำณบำงส่วนเพิ่มขึ ้น อย่ำงเช่น กำรส่งเสริ ม กำรขำย กำรนำข้ ำวสำรไปบริ จำค หรื อกำรซ่อมบำรุ งเครื่ องจักรขนำดใหญ่ แทน โดยต้ องได้ รับ ควำมยินยอมจำกทำงผู้บริ หำรระดับสูง จำกโตโยต้ ำ เพื่ อให้ ผลกำรปฏิ บตั ิงำนจริ งใกล้ เคียงกับ งบประมำณที่ได้ ตงไว้ ั้


4.16 บริษัทได้ จดั ให้ มีกำรตรวจสอบกำรปฏิบตั ิตำมกำรควบคุมภำยในที่วำงไว้ อย่ำง สม่ ำ เสมอ เมื่ อ มี ก ำรตรวจพบข้ อบกพร่ อ งที่ เ ป็ นสำระส ำคัญ ผู้ จัด กำรต้ อ งท ำกำรรำยงำน ต่อผู้บริหำรเพื่อพิจำรณำสัง่ กำรแก้ ไขภำยในระยะเวลำอันควร 4.17 หำกเกิ ด ปั ญ หำหรื อ จุด อ่อ นของกำรควบคุม ภำยใน ทำงผู้จัดกำรต้ อ งแจ้ ง พนักงำนให้ ทรำบ โดยกำรจัดประชุมเดือนละ 1 ครัง้ เพื่อบอกกล่ำวถึงสำเหตุ และแจ้ งแนวทำง กำรแก้ ไขปั ญหำที่เกิดขึ ้น หลังจำกนันผู ้ ้ จดั กำรต้ องติดตำมผลกำรทำงำนของพนักงำน หำกปั ญหำ ยัง มี แ นวโน้ ม ว่ำ ยัง ไม่เ ป็ นไปตำมแผนที่ ตัง้ ไว้ ต้ อ งท ำกำรปรั บ ปรุ ง แนวทำงแก้ ไ ขปั ญ หำต่อ ไป โดยผู้จดั กำรต้ องรำยงำนควำมคืบหน้ ำในกำรปรับปรุงปั ญหำ หรื อข้ อบกพร่องที่เกิดขึ ้นต่อผู้บริหำร 4.18 กำรค ำนวณและเปรี ย บเที ย บต้ น ทุ น ของกำรด ำเนิ น งำนกับ ผลผลิ ต ว่ ำ มี ประสิทธิ ภำพหรื อไม่ และเปรี ยบเทียบผลกับองค์กรอื่ นที่มีลักษณะกำรดำเนินงำนเช่นเดียวกัน หำกพบว่ำผลกำรดำเนินงำนกับผลผลิตมี ประสิทธิภำพน้ อยกว่ำองค์ก รอื่นต้ องจัดทำรำยงำนต่อ ผู้บริหำร และทำกำรปรับปรุงแก้ ไขต่อไป 4.19 บริ ษั ท ต้ อ งประเมิ น ผลกำรปฏิ บัติง ำนของพนัก งำน โดยพิจ ำรณำจำกกำร ประเมินปั จจัยที่ มีผ ลต่อควำมส ำเร็ จ ของงำน และระบุอย่ำงชัดเจนในส่วนพนักงำนที่ มีผลกำร ปฏิบตั งิ ำนดี และส่วนที่ต้องมีกำรปรับปรุงแก้ ไข เพื่อให้ พนักงำนนำผลที่ได้ ไปพัฒนำตนเองต่อไป 4.20 บริ ษัทต้ องทำกำรประเมินผลควำมเพียงพอและประสิทธิผลของกำรควบคุม ภำยใน และประเมินกำรบรรลุตำมวัตถุประสงค์ขององค์กรในลักษณะกำรประเมินกำรควบคุมด้ วย ตนเอง และกำรประเมินกำรควบคุมอย่ำงเป็ นอิสระอย่ำงน้ อยปี ละหนึง่ ครัง้ 4.21 บริษัทได้ มีกำรกำหนดให้ ผ้ บู ริ หำรต้ องรำยงำนต่อผู้กำกับดูแลทันที ในกรณีที่มี กำรทุจริ ตหรื อสงสัยว่ำมีกำรทุจริ ต มีกำรไม่ปฏิบตั ิตำมกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ และมีกำรกระทำอื่น ที่อำจมีผลกระทบต่อองค์กรอย่ำงมีนยั สำคัญ 4.22 บริษัทมีกำรจ้ ำงผู้พฒ ั นำซอฟต์แวร์ โปรแกรมบริ หำรโรงสีข้ำว เพื่อมำอบรมและ อัพเดทโปรแกรมให้ ทกุ ปี


4.23 กำหนดขอบเขตและวิธีกำรเข้ ำถึงข้ อมูล โดยต้ องมีรหัสผ่ำนในกำรเข้ ำ อีกทังมี ้ กำรใช้ ซอฟต์แวร์ เข้ ามาควบคุมเกี่ยวกับการทาธุรกรรมทางการเงิน และมีการควบคุมให้ พนักงาน บางส่วนที่เกี่ยวข้ องเท่านันที ้ ่สามารถเข้ าถึงข้ อมูลสารสนเทศที่สาคัญได้ 4.24 บริ ษั ท วำงแผนกำรซ่อ มบ ำรุ ง เครื่ อ งจัก รไว้ ล่ว งหน้ ำ เมื่ อ ถึ ง เวลำซ่อ มทำง โตโยต้ ำจะส่งพนักงำนมำทำงบประมำณ และนำเสนอข้ อมูล ส่งไปให้ ผ้ บู ริ หำรทำงโตโยต้ ำเพื่อทำ กำรอนุมตั ซิ อ่ ม 4.25 หำกเครื่ องจักรมีปัญหำขัดข้ องทำงโตโยต้ ำจะส่งช่ำงซ่อมมำในทันที 4.26 เมื่อถึงเวลำต้ องซื ้อเครื่ องจักรใหม่ พนักงำนโตโยต้ ำจะเข้ ำมำที่โรงสี เพื่อทำกำร ประเมินแล้ วทำงบประมำณและข้ อมูลนำเสนอส่งไปให้ ผ้ บู ริหำรทำงโตโยต้ ำเพื่อทำกำรอนุมตั ซิ ื ้อ 4.27 บริษัทมีกำรกำหนดมำตรกำรรักษำควำมปลอดภัยให้ พนักงำนทุกฝ่ ำย รวมทัง้ สินทรัพย์ของบริษัท ได้ แก่ กำรเตรี ยมอุปกรณ์เครื่ องดับเพลิงไว้ ภำยในโรงสีข้ำ ว มอบคูม่ ือวิธีกำรใช้ งำนเครื่ องจักรให้ พนักงำนศึกษำ กำรจัดวำงเครื่ องจักรอย่ำงเป็ นระเบียบ กำรติดตังกล้ ้ องวงจรปิ ด เป็ นต้ น 4.28 กำรจัดสร้ ำงสำนักงำนสำหรับทำงำนและห้ องประชุมใหม่ และกำรทำประกัน อัคคีภยั ให้ กบั โรงสีข้ำว



บทที่ 4 ผลการศึกษา จากกรณีศกึ ษา บริ ษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด พบว่ามี การปฏิบตั ิงานตามการควบคุมภายใน แนวคิด COSO มีทงหมด ั้ 5 องค์ประกอบดังต่อไปนี ้ 1.L สภาพแวดล้ อมของการควบคุม (Control Environment) 2.L การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 3.L กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) 4.L สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) 5.L การติดตามและประเมินผล (Monitoring) สภาพแวดล้ อมของการควบคุม ในการด าเนิน การเกี่ ย วกับสภาพแวดล้ อ มของการควบคุม ฝ่ ายบริ หาร และบุค ลากร ของบริ ษัทมีการสร้ างบรรยากาศของการควบคุม เพื่ อให้ เกิ ดทัศนคติที่ดีต่อการควบคุมภายใน โดยส่งเสริ มให้ บุคลากรทุกคนเกิดจิตสานึกที่ดีต่อการปฏิบตั ิงานในแต่ละความรับผิดชอบของตน และตระหนักถึงความสาคัญของการควบคุมภายใน รวมทังรั้ กษาสภาพแวดล้ อมการควบคุมที่ดีไว้ สภาพแวดล้ อมของการควบคุม มี หลักการที่ส าคัญของสภาพแวดล้ อมในการควบคุม 7 หลักการ ได้ แก่ หลักการที่L1Lความซื่อสัตย์ และจริยธรรมL(Integrity and Ethical Value) บริ ษัท มีการปลูกฝั ง ให้ บุคลากรทุกคนมี ความซื่ อสัตย์ และมี จ ริ ยธรรมในการปฏิ บัติง านให้ เหมื อนกับ โตโยต้ า โดยการควบคุม และจัด อบรมอยู่เ สมอ และเนื่ อ งจากบริ ษั ท มี ก ารดูแ ลซึ่ง กัน และกัน


112

เสมือนหนึ่ง เป็ นคนในครอบครั วเดียวกัน และแต่ละคนทางานร่ วมกันมาเป็ นเวลานาน รวมถึง มีจานวนพนักงานเพียงไม่กี่คนทาให้ ทกุ คนรู้จกั กันเป็ นอย่างดี หลักการที่L 2 บทบาทของคณะกรรมการองค์ กร (Board of Director) คณะกรรมการบริ ษัทมีการกากับดูแลและติดตามหน้ าที่ความรับผิดชอบของบุคลากร โดยการติด กล้ องวงจรปิ ด ซึ่งสามารถเชื่อมโยงเข้ ากับโทรศัพท์มือถือเพื่อดูการปฏิบตั ิงานของพนักงานได้ ตลอดเวลา และมีการประชุมพนักงานเดือนละครัง้ เพื่อพูดคุยถึงข้ อผิดพลาดในการปฏิบตั ิงาน เพื่อสร้ างความเข้ าใจกับพนักงาน หลักการที่ 3 ปรั ชญาและรู ปแบบการปฏิบัติงานของฝ่ ายบริ หาร (Management’s Philosophy and Operating Style) มีปรัชญาในการดาเนินงานว่า “รัชมงคลมุ่งหวังเพื่อสังคม” โดยผู้จัด การมี รู ป แบบการปฏิ บัติง านที่ เ ป็ นกัน เองและดูแ ลซึ่ง กันและกัน รั บ ฟั ง ข้ อเสนอแนะ และความคิดเห็นต่างๆของบุคคลากร ทาให้ การปฏิ บัติง านเป็ นไปอย่างมี ประสิทธิ ผล รวมทัง้ เอื ้ออานวยต่อสังคมรอบข้ าง เช่น มีการส่งข้ าวไปบริ จาคเมื่อเกิดภั ยพิบตั ิตา่ งๆ หรื อมีการแจกข้ าว กับผู้ซื ้อรถใหม่ นอกจากนีย้ งั ส่งเสริ มการดาเนินงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง อีกทังจ ้ าหน่าย ผลผลิตที่ให้ แก่พนักงานและผู้ที่สนใจในราคาถูก หลักการที่ 4 การจั ดโครงสร้ างองค์ ก าร(Organization Structure)Lบริ ษัทมีการจัด โครงสร้ างองค์กรอย่างชัดเจน โดยแบ่งเป็ นฝ่ ายขายและการตลาด ฝ่ ายบริ หาร ฝ่ ายบัญชีและ การเงิน และฝ่ ายผลิตและขนส่ง หลักการที่ 5 การมอบหมายอานาจหน้ าที่และความรั บผิดชอบ (Authority and Responsibility) บริ ษัทมีการมอบหมายหน้ าที่และความรับผิ ดชอบให้ แก่ผ้ ูจดั การบริ ษัท ได้ แก่ ผู้ดูแลฝ่ ายบริ หาร ฝ่ ายขายและการตลาด รวมทัง้ พนักงานคนอื่ นๆ สามารถทางานแทนกันได้ แสดงให้ เห็นว่าพนักงานแต่ละคนมีความรู้ในทุกฝ่ ายซึ่งเป็ นสิ่งที่ดี อย่างไรก็ตามพนักงานในฝ่ าย ผลิตนันไม่ ้ สามารถทาหน้ าที่แทนฝ่ ายบัญชีและการเงินได้ หลักการที่ 6 มาตรฐานทรั พยากรบุคคลL(Human Resource Standards) โดยทาง โตโยต้ าดาเนินการพิจารณาคัดเลือกพนักงานและฝึ กอบรมพนักงาน ทาให้ พนักงานมี มาตรฐาน เดียวกันทังหมดในการก ้ ากับดูแล


113

หลักการที่ 7 ความสามารถในหน้ าที่ของบุคลากร(Commitment to Competence) พนัก งานทุก คนมี ห น้ าที่ หลักอย่างชัด เจนตามหน้ าที่ ลัก ษณะงาน เช่น การควบคุม เครื่ องจัก ร การบรรจุ ข้ าว เป็ นต้ น แต่ ก็ ส ามารถท างานแทนกั น ได้ หากฝ่ ายนัน้ ขาดคนมาปฏิ บัติ ง าน เช่น ลาป่ วย เป็ นต้ น แผนกอื่นก็สามารถทาหน้ าที่แทนได้ จากกรณี ศึ ก ษาการควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท พบว่ า ผลการปฏิ บัติ ง านทางด้ าน สภาพแวดล้ อมของการควบคุม อยู่ในเกณฑ์ที่ดี เพราะมีการควบคุมที่ครอบคลุมทัง้ 7 หลักการ ตามแนวคิด COSO การประเมินความเสี่ยง การประเมิ น ความเสี่ ย งถื อ เป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ ส าคัญ อย่ า งหนึ่ ง ที่ ท าให้ อ งค์ ก รทราบถึ ง ความเสี่ยงที่กาลังจะเผชิญล่วงหน้ า และเพื่อลดผลกระทบความเสียหายที่จะเกิดขึ ้นได้ ซึ่งสามารถ สรุปตามหลักการที่สาคัญของกิจกรรมการประเมินความเสี่ยงได้ 3 หลักการ ได้ แก่ หลักการที่ 8 วัตถุประสงค์ ของรายงานทางการเงินทางบัญชี L(Financial Reporting Objectives) บริ ษัทมีวัตถุประสงค์ของรายงานทางการเงิน โดยทาตามมาตรฐานการบัญชีและ จัดทาเป็ นข้ อมูลให้ แก่บคุ คลภายนอกเพื่อใช้ ในการตัดสินใจ หลักการที่ 9 ความเสี่ยงจากรายงานทางการเงินทางบัญชี L(Financial Reporting Risks) เนื่องจากบริษัทมีโครงสร้ างองค์กร โดยฝ่ ายบัญชีและการเงินเป็ นฝ่ ายเดียวกัน ที่กาหนดให้ พนักงานบัญชีต้องทาหน้ าที่ทงบั ั ้ ญชีและการเงิน ความเสี่ยงอาจจะเกิดขึ ้นจากการที่พนักงานบัญชี มีการทุจริ ตแบบ Lapping คือ พนักงานยักยอกเงินโดยนาส่งเงินให้ บริ ษัทน้ อยกว่าที่ได้ รับจาก ลูกค้ า ซึ่งอาจปลอมแปลงเอกสารทางการบัญชี โดยเฉพาะกรณี ที่เป็ นเงินสด ส่งผลให้ รายงาน ทางการเงินที่ต้องเสนอต่อผู้บริ หารและบุคคลภายนอกแสดงข้ อมูลที่ขัดต่อข้ อเท็จจริ ง อย่างไร ก็ตาม บริ ษัทมีการควบคุมทดแทนโดยผู้บริ หารจากโตโยต้ าเข้ ามาตรวจสอบดูแลฝ่ ายบัญชีและ การเงินเป็ นประจา หลักการที่ 10 ความเสี่ยงจากกรณีการทุจริต (Fraud Risk) บริ ษัทอาจมีความเสี่ยง จากการทุจริ ตโดยการกักตุนสินค้ าและการยักยอกสินค้ าหรื อวัตถุดิบภายในโรงสีข้าว หรื ออาจมี


114

การยักยอกสินค้ าระหว่างการขนส่งให้ ลูกค้ า แต่บริ ษัทมีการควคุมทดแทนโดยมีการชัง่ น ้าหนัก สินค้ าทุกครัง้ ก่อนการขนส่ง การประเมินความเสี่ยงของบริษัทที่อาจจะเกิดขึ ้นนอกเหนือจากที่กล่าวไว้ ข้างต้ นมีดงั นี ้ 1. ความเสี่ ย งจากการขาดแคลนบุค ลากรในการท างาน เนื่ อ งจากการตรวจสอบ การควบคุมภายใน บริษัทมีพนักงานทาบัญชีเพียงคนเดียว ซึง่ พนักงานบัญชียงั ต้ องรับผิดชอบงาน ในด้ านอื่นๆ อีกด้ วยเช่นกัน อาทิเช่น การสุ่มตรวจน ้าหนักข้ าวเปลือก การรับข้ าวเปลือกจากพ่อค้ า คนกลาง และการจัดจาหน่ายข้ าวสารให้ ลูกค้ าทัว่ ไป เป็ นต้ น โดยถือว่าเป็ นภาระหน้ าที่เกือบ ทังหมดของงานในโรงสี ้ ถ้ ามองในมุมมองของทักษะการทางานถือว่าเป็ นเรื่ องที่ดีที่พนักงานคน เดียวนันสามารถท ้ างานในหลายฝ่ ายได้ แต่ถ้าหากกิจการมีพนักงานแค่คนเดียวหรื อมีพนักงาน น้ อยจะกลายเป็ นความเสี่ยงในทันที หากพนักงานคนดังกล่าวนันอาจเกิ ้ ดเจ็บไข้ ได้ ป่วย หรื อติด ธุระส่วนตัวด่วนจึง ต้ องลางานในทันที ก็ จะทาให้ กิจ การนัน้ ต้ องหยุดชะงัก การดาเนินงานใน บางส่วนหรื อเกือบทังหมดได้ ้ เพราะขาดบุคลากรคนสาคัญไปอีกทัง้ พนักงานฝ่ ายบัญชีสามารถ ช่วยงานฝ่ ายอื่นๆได้ แต่พนักงานในฝ่ ายอื่นๆไม่สามารถมาช่วยงานฝ่ ายบัญชีได้ จึงเป็ นความเสี่ยง ที่อาจจะเกิดขึ ้นได้ โดยโอกาสที่จะเกิดการขาดแคลนพนักงานในการทางาน มีโอกาสเกิดขึ ้นได้ มาก และมีระดับความรุนแรงของความเสี่ยงอยู่ในระดับเล็กน้ อย เนื่องจากบริ ษัทจัดตังขึ ้ ้นตามพระราช ดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและพนักงานใน กลุม่ โตโยต้ า ดังนันกิ ้ จการจึงไม่ได้ ดาเนินการเพื่อการค้ าหรื อหากาไรแต่อย่างใด อีกทัง้ กิจการมีการ ควบคุมภายในที่ ดี สามารถจัดการกับจานวนสินค้ าให้ พอดีกับความต้ องการได้ หรื อแม้ กระทั่ง สามารถควบคุมจานวนลูกค้ าที่เป็ นทัง้ กลุ่มพนักงานโตโยต้ าเอง หรื อกลุ่มลูกค้ าทั่วไปได้ เช่นกัน พนักงานจึงสามารถทางานโดยการกาหนดการผลิต การจัดจาหน่ายได้ ลว่ งหน้ า 2.L ความเสี่ยงจากการใช้ งานเครื่ องจักรในกระบวนการสีข้าว เนื่องจากเป็ นเครื่ องจักร ขนาดใหญ่ และถู ก ติ ด ตัง้ ในบริ เ วณที่ ใ กล้ เคี ย งกัน อาจเกิ ด อุ บัติ เ หตุไ ด้ จ ากความประมาท โดยโอกาสที่พนักงานในฝ่ ายผลิตจะได้ รับอันตรายจากเครื่ องจักรหรื ออันตรายจากการตกหล่นของ เครื่ องมือต่างๆ มีโอกาสเกิดขึ ้นน้ อย และมีระดับความรุนแรงของความเสี่ยงอยู่ในระดับปานกลาง เนื่ องจากทางโตโยต้ าจะส่ง ช่างซ่อมบารุ ง เครื่ องจักรมาดูแล และตรวจสภาพความพร้ อมของ เครื่ องจักรเป็ นประจา หรื อในกรณีที่มีปัญหาขัดข้ องก็จะมาซ่อมแซมในทันที


115

3.L ความเสี่ยงจากการเกิดอัคคีภยั ในภายในโรงสีข้าว ซึ่งอาจเกิดจากการไหม้ ของแกลบ โดยโอกาสที่จะเกิดอัคคีภยั ในโรงสีข้าวมีโอกาสเกิดขึ ้นน้ อย และมีระดับความรุนแรงของความเสี่ยง อยู่ในระดับต่า เนื่องจากภายในโรงสีไม่คอ่ ยมีวตั ถุดิบ เช่น ข้ าวเปลือก รา แกลบ เป็ นต้ น เหลือทิ ้ง ในโรงสี เพราะจะมีการจัดสรรให้ เกิดประโยชน์ เช่น รา ก็จาหน่ายให้ เกษตรกรเอาไปเป็ นอาหารของ สุกร หรื อเอาไปทาน ้ามันราข้ าว วิธีจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึน้ บริ ษั ท จัด การกับ ความเสี่ ย งจากการขาดแคลนพนัก งานโดยใช้ วิ ธี ก ารลดผลกระทบ โดยมีแผนป้องกันในกรณีเหตุฉกุ เฉิน ความเสี่ยงจากการใช้ งานเครื่ องจักรและความเสี่ยงจากการ เกิดอัคคีภัยภายในโรงสีข้าวนัน้ โดยทางบริ ษัทใช้ วิธีการโอนหรื อกระจายความเสี่ยงด้ วยการทา ประกันอัคคีภยั ให้ กบั โรงสีข้าว และมีประกันอุบตั เิ หตุเป็ นสวัสดิการให้ กบั พนักงานทุกคน การประเมิ นความเสี่ ยงสามารถสรุ ปผลได้ ว่า ในภาพรวมของบริ ษัทมี โอกาสที่ จ ะเกิ ด ความเสี่ยงน้ อย และมีระดับความรุนแรงของความเสียหายอยูใ่ นระดับที่สามารถยอมรับได้ กิจกรรมการควบคุม กิจกรรมการควบคุมมีหลายประเภทและหลายระดับตามแต่ลกั ษณะของธุรกิจ ซึ่งบริ ษัท จัด เป็ นธุ ร กิ จ โรงสี ข้ า ว โดยสามารถสรุ ป ตามหลัก การที่ ส าคัญ ของกิ จ กรรมการควบคุม ได้ 4 หลักการ ได้ แก่ หลั ก การที่ 11 การบู ร ณาการกิ จ กรรมการควบคุ ม กั บ การประเมิ น ความเสี่ ย ง (Integration Control Activity with Risk Assessment) บริ ษัทได้ มีการระบุความเสี่ยงที่จะเกิดขึ ้น จากการปฏิบตั งิ านพร้ อมกับเตรี ยมแผนป้องกันไว้ ลว่ งหน้ า เพื่อรับมือกับความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ ้น ดังที่ได้ มีการเฝ้าระวังไฟไหม้ ที่อาจจะเกิดจากแกลบที่อยู่ข้างโรงสี โดยกาหนดให้ มีพนักงานเข้ ามา ตรวจสอบในแต่ละขัน้ ตอนความเสี่ยง ซึ่งเป็ นการป้องกันเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด อีกทังมี ้ การชั่ง น ้าหนักข้ าวเปลือกที่รับซื ้อมาจากเกษตรกร และรถที่บรรทุกก่อนนาไปส่งให้ กับลูกค้ า ซึ่งเป็ นการ ป้องกันไม่ให้ เกิดการยักยอกนาสินค้ าไปสับเปลี่ยนระหว่างทาง นอกจากนีบ้ ริ ษัทยังทาการจ้ าง บุคคลภายนอกขนส่งสินค้ า กรณี พนักงานขนส่งของบริ ษัทไม่ว่างหรื อป่ วย ซึ่งค่าใช้ จ่ายถูกกว่า


116

ขนส่งเอง และสินค้ าที่ขนส่งให้ ลูกค้ าแล้ ว บริ ษัทยังมีการเขียนชื่อลูกค้ าไว้ ที่ถุงหรื อกระสอบข้ าว เพื่อเป็ นการป้องกันคนแอบอ้ างเป็ นเจ้ าของ สาหรับการรับซื ้อข้ าวเปลือกมีการกาหนดคุณลักษณะ ให้ เ ป็ นตามมาตรฐาน โดยตรวจสอบคุณ ภาพก่ อ นรั บ ซื อ้ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ า วที่ มี คุณ ค่า ต่อ ลูก ค้ า การควบคุมปริ มาณสต๊ อกข้ าวสารไม่ให้ เกิน 15 วันของยอดการขาย ซึ่งทาให้ สินค้ าที่ส่งให้ ลูกค้ า เป็ นข้ าวที่ไม่ค้างสต๊ อกนาน และไม่มีปัญหาเรื่ องมอดและแมลง บริ ษัทยังมีการทดสอบการสูญเสีย นา้ หนักของสิ นค้ า เพื่อป้องกันไม่ให้ บริ ษัทเสี ยชื่ อเสียง เนื่องจากปริ มาณข้ าวที่ บรรจุในถุง หรื อ กระสอบไม่ตรงกับที่ระบุไว้ และกาหนดผู้รับผิดชอบเพื่ อกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน และมาตรการ ลงโทษแก่ผ้ ูกระทาผิด เพื่อป้องกันการทุจ ริ ตและไม่ให้ เกิดความเสี ยหายที่อาจเกิ ดขึน้ จากการ ปฏิบตั งิ าน การกาหนดให้ พนักงานบางส่วนที่เกี่ยวข้ องเท่านันที ้ ่สามารถเข้ าถึงสารสนเทศที่สาคัญ ได้ เพื่อป้องกันไม่ให้ ข้อมูลที่สาคัญรั่วไหล การกาหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยให้ พนักงาน ทุกฝ่ ายรวมทังสิ ้ นทรัพย์ของบริษัท โดยการวางแผนการซ่อมบารุงเครื่ องจักรไว้ ล่วงหน้ า การจัดวาง เครื่ องจักรอย่างเป็ นระบบพร้ อมคู่มือการใช้ การเตรี ยมอุปกรณ์ดบั เพลิง การติดตังวงจรปิ ้ ด การ พัฒ นากระบวนการผลิ ต การสร้ างส านักงานและห้ อ งประชุม ใหม่ เพื่ อป้ องกัน ไม่ให้ พ นักงาน บาดเจ็บจากการปฏิบตั งิ าน และภัยอันตรายต่างๆที่อาจจะเกิดขึ ้น รวมทังมี ้ การจ่ายเงินเดือนให้ กบั พนักงานเกินมาตรฐานของค่าแรงขันต ้ ่า การดูแลเอาใจใส่จากผู้บริหารโตโยต้ า และการจ้ างผู้ตรวจ สอบบัญชีเข้ ามาตรวจที่บริ ษัททุกครึ่ งปี ซึ่งเป็ นเครื่ องมืออย่างหนึ่งในการป้องกันไม่ให้ พนักงาน ทุจริตได้ หลักการที่ 12 การเลือกและพัฒนากิจกรรม (Selection and Development of Control Activities) บริ ษัทมีการเลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุมที่ช่วยในการลดความเสี่ยง และต้ นทุนที่ใช้ ในการควบคุม ไม่สูงมากนัก ดังที่ทางบริ ษัทได้ มีการลดจานวนสาเนาใบส่ง ของ ลดการซื อ้ ข้ า วเปลื อ กในต้ นฤดู ซื อ้ วัสดุอุปกรณ์ จ ากผู้ขายที่ เป็ นผู้ผลิต โดยตรงที่ ดี หรื อการส่ง พนักงานไปอบรมด้ านทักษะความรู้ และจริ ยธรรม เพื่อให้ พนักงานทางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ถึ ง แม้ ว่า จะต้ อ งเสี ย ค่า อบรมไป แต่ ก็ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ใ นอนาคตหรื อ ลดความเสี่ ย งใน การปฏิบตั งิ านได้ ซึง่ คุ้มต่อค่าใช้ จา่ ยที่เสียไป หลักการที่ 13 การกาหนดนโยบายและวิธี (Policies and Procedures) บริ ษัทมี นโยบายและวิธีปฏิบตั ิงานที่กาหนดขึ ้นให้ พนักงานปฏิบตั ิตาม ได้ แก่ นโยบายที่ให้ บริ ษัทเป็ นธุรกิจ ที่ยั่ง ยืนและพึ่งพาตนเองได้ โดยมิไ ด้ มุ่งหวังกาไร และการกาหนดนโยบายการบัญชี เพื่ อใช้ เป็ น


117

แนวทางในการจัดทาบัญชี ส่วนข้ อปฏิบตั ิงานที่กาหนดขึ ้น ดังเช่นที่กาหนดให้ พนักงานฝ่ ายบัญชี ทาหน้ าที่ทงั ้ บัญชีและการเงิน พร้ อมทัง้ มี การควบคุมจากผู้บริ หารที่เข้ ามาดูแลในส่วนของฝ่ าย บัญชีและการเงินอีกที หนึ่ง ซึ่งพนักงานบัญชีมีหน้ าที่ ต้องบันทึกบัญชี ตรวจสอบความถูกต้ องใน การบันทึกบัญชีและการผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภททัว่ ไป จัดทางบการเงินตามมาตรฐาน บัญชี เรี ยงเอกสารทางบัญชีตามลาดับเลขที่ จัดทาทะเบียนคุมแต่ละประเภทเป็ นปั จจุบนั ทาการ ตรวจนับ และรายงานสิ นค้ าตามระยะเวลาที่ ก าหนด จัดทารายงานผลการตรวจนับ ทรั พ ย์ สิ น เปรี ยบเทียบยอดจากการตรวจนับกับทะเบียนคุมและบัญชีทรัพย์สิน จัดทาทะเบียนทรัพย์สิน และ สินค้ าคงเหลือ ซึ่งประกอบด้ วย รายละเอียด หมายเลขรหัสรายการ สถานที่ใช้ หรื อสถานที่เก็บ รักษา และราคาของสินทรัพย์ ตรวจสอบยอดเงินกับหลักฐานการรับเงิน การรับเงินสดต้ องนาฝาก เข้ า ธนาคารทุก ครั ง้ ในแต่ล ะวัน การเบิ ก ใช้ เ อกสารการเงิ น ต้ อ งได้ รั บ อนุ มัติ จ ากผู้มี อ านาจ ตรวจสอบการติดตามลูกหนี ้พร้ อมทังจั ้ ดทาตารางเวลาชาระหนี ้ และการส่งเอกสารทางบัญชีและ การเงินไปยังโตโยต้ า โดยส่งให้ ตามฝ่ ายที่รับผิดชอบเพื่อตรวจสอบความถูกต้ อง นอกจากนี บ้ ริ ษัท ยังมีการจัดการผลิตผลพลอยได้ จากการผลิตสินค้ าให้ เหมาะสม การบรรจุข้าวต้ องใส่ไปมากกว่า น ้าหนักที่ระบุไว้ การจัดเก็บข้ าวแต่ละชนิดให้ เป็ นระเบียบตามที่ได้ กาหนด การทดสอบการสูญเสีย น ้าหนักของสินค้ า การควบคุมสินค้ าคงเหลือโดยใช้ ระบบ FIFO การจัดให้ มีการตรวจสอบและ บันทึกผลผลิตที่ได้ ในแต่ละช่วงการผลิต กาจัดการกับทรัพย์สินที่หมดอายุการใช้ งาน การกาหนด พนักงานที่รับผิดชอบในการตรวจนับและรายงานสินค้ าตามระยะเวลาที่กาหนด การจัดทารายงาน ข้ อมูลการเบิกใช้ วตั ถุดิบในการผลิต การชัง่ น ้าหนักข้ าวเปลือกที่รับซื ้อมาจากเกษตรกร และรถที่ บรรทุกสินค้ าก่อนขนส่ง พนักงานทุกคนต้ องตอกบัตรเข้ าทางานทุกครัง้ การเบิกงบประมาณทุก กรณีต้องได้ รับการอนุมตั ิจากโตโยต้ าก่อน การทาทะเบียนประวัติลกู ค้ า การสารวจความต้ องการ ของกลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย และสภาวะทางเศรษฐกิจ การทบทวนและปรับปรุงแผนให้ ทนั สมัย และ ประเมินความเสี่ยงอย่างสม่าเสมอ หลักการที่ 14 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) บริ ษัทมีการควบคุม ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการเข้ าดูข้อมูลสารสนเทศได้ จะต้ องมี รหัสผ่าน อีกทังยั ้ งมีการจ้ าง ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ มาอบรมพนักงานและอัพเดทโปรแกรมให้ ทุกปี อีกทัง้ นาซอฟต์แวร์ เข้ ามา ควบคุมเกี่ยวกับการทาธุรกรรมทางการเงิน


118

จากหลักการที่สาคัญของกิจกรรมควบคุมภายในทัง้ 4 หลักการ ถ้ ามองในภาพรวมถือว่า บริ ษั ท มี กิ จ กรรมควบคุม ภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เนื่ อ งจากบริ ษั ท มี ก ารวางแผนไว้ ล่ ว งหน้ า แล้ วจึงกาหนดกิจกรรมขึ ้นมาควบคุม ซึ่งเป็ นกิจกรรมที่ช่วยในการลดความเสี่ยง และต้ นทุนที่ใช้ ควบคุมไม่สงู มากนัก แต่หากมองลึกลงไปยังแต่ละฝ่ ายทาให้ พบว่า พนักงานทาบัญชีและการเงิน เป็ นบุคคลเดียวกันซึ่งขัดต่อหลักการควบคุมภายในที่ดี เพราะอาจเกิดการทุจริ ตขึ ้นได้ แต่ยงั มีการ ควบคุมทดแทนโดยผู้บริหารเข้ ามาดูแลอย่างใกล้ ชิด สารสนเทศและการสื่อสาร ระบบสารสนเทศเป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ร ะบุ จัด การ ด าเนิ น การ และแยกประเภทข้ อ มูล เพื่อสนับสนุนความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของรายงานทางการเงินการบัญชี โดยหลักการที่สาคัญ ของระบบสารสนเทศและการสื่อสารมี 4 หลักการ ได้ แก่ หลั ก การที่ 15 สารสนเทศทางด้ า นรายงานทางการเงิ น การบั ญ ชี (Financial Reporting Information) ผู้บริ หารบริ ษัท ได้ ให้ ความสาคัญกับการสารสนเทศด้ านรายงาน ทางการเงินการบัญชีบญ ั ชี และสารสนเทศเกี่ยวกับการดาเนินงานอื่นๆ เนื่องจากจาเป็ นต้ องใช้ ประกอบการตัดสินใจ อีกทังยั ้ งให้ ความสาคัญกับพนักงานทุกคนที่เกี่ยวข้ องกับการประมวลข้ อมูล สารสนเทศด้ านรายงานทางการเงินการบัญ ชี มีการฝึ กอบรมให้ ความรู้ด้านบัญชีและการเงิน และ จัดทาคูม่ ือการปฏิบตั ิงานด้ านการจ่ายเงินและรับเงินชีบญ ั ชี โดยพนักงานจะต้ องปฏิบตั ิงานตาม ระบบงานที่กาหนดไว้ ดังจะเห็นได้ จากการที่บริษัทได้ มีการจ้ างผู้พฒ ั นาซอฟต์แวร์ โปรแกรมบริ หาร โรงสี ข้าว เพื่ อมาสอนและอัพเดทโปรแกรมให้ ทุกปี สารสนเทศทางด้ านรายงานทางการเงิ น การบัญชีทงหมด ั้ จะถูกจัดส่งให้ กบั โตโยต้ าเพื่อนาไปบันทึกบัญชีและจัดทารายงานให้ เป็ นปั จจุบนั อีกทังพนั ้ กงานบัญชีจะต้ องจัดทารายงานทางการเงินทุกสิ ้นวันและสอบทานโดยผู้จดั การอีกครัง้ ก่อนส่งให้ โตโยต้ า หลักการที่ 16 สารสนเทศทางด้ านควบคุมภายใน (Internal Control Information) บริ ษัทมีการควบคุมเกี่ยวกับการกาหนดวิธีการในการปฏิบตั ิงาน การจัดโครงสร้ างและแบ่งแยก หน้ าที่ การควบคุมการใช้ ด้านซอฟต์แวร์ และการควบคุมเกี่ยวกับการสร้ างความมัน่ ใจว่าธุรกรรม ทุกรายการที่ เกี่ยวข้ องกับระบบงานคอมพิวเตอร์ ได้ รับการอนุมตั ิ มีการตรวจสอบและประมวลผล อย่างถูกต้ องภายในเวลาที่เหมาะสม ดังเห็นได้ จากการที่บริ ษัทให้ พนักงานรายงานข้ อมูลการเบิก


119

ใช้ วตั ถุดบิ ในการผลิต เพื่อเปรี ยบเทียบกับทะเบียนคุมวัตถุดบิ โดยทุกครัง้ ที่พนักงานเบิกวัตถุดิบมา ใช้ ต้องลงรายการเบิกในทะเบียนคุมวัตถุดบิ ทุกสิ ้นเดือนทะเบียนคุมวัสดุดงั กล่าวถูกส่งไปที่โตโยต้ า เพื่ อตรวจสอบอีกครั ง้ หนึ่ง และมี การควบคุม ให้ พ นักงานบางส่วนที่ เกี่ ยวข้ องเท่านัน้ ที่ สามารถ เข้ าถึงสารสนเทศที่สาคัญได้ หลักการที่ 17 การสื่อสารภายใน (Internal Communication) บริ ษัทมีการสื่อสาร ภายในบริ ษัทผ่านทาง Facebook และ E-mail โดยพนักงานที่เกี่ยวข้ องและมีอานาจหน้ าที่ได้ รับ ข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับตนอย่างครบถ้ วน และสามารถใช้ ประโยชน์จากข้ อมูลนันได้ ้ ทนั เวลา และมี การสื่อสารให้ กบั พนักงานทุกคนทราบถึงความสาคัญของมาตรการควบคุมภายในที่บริ ษัทจัดให้ มีขึน้ ดังเห็นได้ จากการที่บริ ษัทจัดให้ มีการประชุมพนักงานร่ วมกับผู้บริ หารเดือนละ 1 ครั ง้ เพื่ออภิปรายเกี่ ยวกับการปฏิบตั ิงานในด้ านต่างๆ อีกทัง้ ยังให้ พนักงานสามารถเสนอข้ อคิดเห็น หรื อ ข้ อ เสนอแนะในการปรั บ ปรุ ง การด าเนิ น งานของบริ ษั ท ได้ โดยจะรวบรวมปั ญ หาและ หาแนวทางแก้ ไขต่อไป หลักการที่ 18 การสื่อสารภายนอก (External Communication) บริ ษัทมีการสื่อสาร กับบุคคลภายนอกโดยการประชาสัมพันธ์ข่ าวสารและกิจกรรมต่างๆ ผ่านทางระบบอินเทอร์ เน็ตที่ www.toyota.co.th/rrc/index.php รวมถึง มีการประกวดข้ าวและเปิ ดให้ เข้ าเยี่ยมชมโรงสีข้าว พร้ อมทังมี ้ การรับฟั งความคิดเห็นต่างๆ จากลูกค้ า เพื่อนามาปรับปรุงแก้ ไข โดยลูกค้ านันสามารถ ้ แสดงความคิ ด เห็ น หรื อ ข้ อร้ องเรี ย นต่ า งๆ ได้ ผ่ า นแบบฟอร์ มออนไลน์ ท างอิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ www.toyota.co.th/contact.php หรื อ ติ ด ต่ อ ศู น ย์ ลู ก ค้ าสั ม พั น ธ์ ไ ด้ ที่ 0-2386-2000Lหรื อ 1800-238444 ตลอด 24 ชัว่ โมง จากหลักการที่สาคัญของสารสนเทศและการสื่อสารข้ างต้ นสรุ ปได้ ว่า บริ ษัทได้ มีระบบ สารสนเทศและการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยสารสนเทศนันผู ้ ้ บริ หารสามารถนาไปใช้ ใน การตัดสินใจได้ และพนักงานสามารถนาไปใช้ ในการปฏิ บตั ิงานได้ อย่างเหมาะสม อีกทัง้ ยัง มี เทคโนโลยี และระบบงานที่ ดี ท าให้ มี ก ารปฏิ บัติ ต ามระบบงานที่ ก าหนดไว้ อ ย่ า งสม่ า เสมอ และสามารถควบคุมการปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นไปตามระเบียบที่กาหนดไว้ ได้


120

การติดตามและประเมินผล การติดตามและประเมิน ผลการควบคุมภายในเพื่อประเมินคุณภาพของการปฏิบตั ิงาน ซึ่ง มี ก ารก าหนดกิ จ กรรมเพื่ อ การติด ตามผลอย่า งสม่ า เสมอ และพิ จ ารณาองค์ป ระกอบของ การติ ด ตามผล โดยเฉพาะการประเมิ น แต่ ล ะส่ ว นงานจะได้ รั บ การออกแบบและวางแผน การประเมิ นผลการควบคุม ภายใน เพื่ อ แก้ ไ ขให้ เกิ ดประโยชน์ ต่อ บริ ษั ท และทันสมัย อยู่เสมอ หลักการที่สาคัญของการติดตามผล ได้ แก่ หลั ก การที่ 19 การติ ด ตามผลระหว่ างการปฏิ บั ติ ง าน และการประเมิ น ผล เป็ นครั ง้ คราวL(Ongoing and Separate Evaluation) โดยที่ผ้ จู ดั การของบริ ษัทมีการติดตามผล ระหว่างการปฏิบตั งิ านของพนักงาน โดยการติดตังกล้ ้ องวงจรปิ ดไว้ ในจุดที่สาคัญ ซึ่งเชื่อมต่อไปยัง โทรศัพท์มือถือของผู้จดั การโดยตรง ทาให้ ผ้ จู ดั การสามารถติดตามการปฏิบตั ิงานของพนักงานได้ ตลอดเวลา ส่ ว นการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ผู้ บริ หารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน โดยการเปรี ย บเที ย บผลการด าเนิ น งานจริ ง กับ แผนงบประมาณว่า เป็ นไปตามที่ ตัง้ ไว้ ห รื อ ไม่ หรื อ แตกต่า งกัน มากน้ อยเพี ย งใด ซึ่ง หากมี ค วามแตกต่า งกัน มากต้ องติดตามหาสาเหตุแ ละ ดาเนินการแก้ ไขในระยะเวลาที่ เหมาะสม อีกทัง้ บริ ษัทยัง มีการประเมินผลการปฏิบัติง านของ พนัก งาน โดยการประเมิ น ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่อ ความส าเร็ จ ของงานและระบุอ ย่า งชัด เจนในส่ว น พนักงานที่มีผลการปฏิบตั ิงานดี และส่วนที่ต้องมีการปรับปรุงแก้ ไข เพื่อให้ พนักงานนาผลที่ได้ ไป พัฒนาตนเองต่อไป รวมถึงการประเมินผลความเพียงพอและประสิทธิผลของการควบคุมภายใน และประเมินการบรรลุตามวัตถุประสงค์ของบริ ษัทในลักษณะการประเมินการควบคุมด้ วยตนเอง และการประเมิ น การควบคุม อย่า งเป็ นอิ ส ระอย่า งน้ อ ยปี ละหนึ่ง ครั ง้ ซึ่ง การประเมิ น ต่า งๆนี ้ ช่วยผู้บริ หารประเมินว่าการควบคุมภายในด้ านรายงานทางการเงินที่มีอยู่จริ ง และได้ ทาหน้ าที่ อย่างที่กาหนดไว้ หลั ก การที่ 20 การรายงานข้ อ บกพร่ อง (Reporting Deficiencies) บริ ษั ท มี การตรวจสอบการปฏิ บัติตามการควบคุม ภายในที่ วางไว้ อย่างสม่ าเสมอ เมื่ อ มี ก ารตรวจพบ ข้ อบกพร่ องที่ เ ป็ นของการควบคุม ภายใน ทางผู้จัดการต้ องแจ้ ง พนักงานให้ ทราบ โดยการจัด การประชุมเดือนละ 1 ครัง้ เพื่อบอกกล่าวถึงสาเหตุ และแจ้ งแนวทางการแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึน้ หลังจากนันผู ้ ้ จดั การจะติดตามผลการทางานของพนักงาน หากปั ญหายังมีแนวโน้ มว่ายังไม่เป็ นไป ตามแผนที่ ตัง้ ไว้ ก็ จ ะท าการปรั บ ปรุ ง แนวทางแก้ ไขปั ญ หาต่ อ ไป โดยผู้ จัด การ ท ารายงาน


121

ความคืบหน้ าในการปรับปรุ ง ปั ญหาหรื อข้ อบกพร่ องที่ เกิดขึน้ ต่อผู้บริ หาร แต่หากในกรณี ที่มี การทุจริตหรื อสงสัยว่ามีการทุจริ ต มี การไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ข้ อบังคับ และมีการกระทาอื่นๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อบริ ษัทอย่างมีนยั สาคัญ บริ ษัทได้ มีการกาหนดให้ ผ้ บู ริ หารต้ องรายงานต่อผู้ กากับดูแลทันที การติ ด ตามและประเมิ น ผลสามารถสรุ ป ได้ ว่ า บริ ษั ท ได้ มี ก ารติ ด ตามผลระหว่ า ง การปฏิบตั งิ าน และมีการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน เพื่อติดตามผลในการปฏิบตั ิงานของพนักงาน อยู่เสมอ รวมถึงมี การรายงานข้ อบกพร่ องเมื่อเกิดปั ญหาที่มีนยั สาคัญต่อการควบคุมภายในและ ประสิทธิภาพการทางาน เพื่อแก้ ไขให้ เกิดประโยชน์ตอ่ บริษัท และทันสมัยอยูเ่ สมอ วิกฤตการณ์ ความไม่ ม่ ันคงทางอาหารกับบริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด ผลการศึกษาพบว่า บริ ษัทได้ ดาเนินการตามแนวทางของโรงสีสวนจิตรลดา ซึ่งมีการใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั เป็ นหลักในการดาเนินงานเพื่อให้ เกิดการพัฒนายัง่ ยืน ซึ่งโรงสีข้าวรัชมงคลจะมีการเกษตรแบบผสมผสานตามแนวพระราชดาริ โดยมีการปลูกผักสวนครัว และเลี ้ยงสัตว์ เช่น เป็ ด และไก่ เป็ นต้ น และเนื่องด้ วยโรงสีข้าวรัชมงคล นี ้ก่อตังขึ ้ ้นเพื่อเป็ นการช่วยเหลือให้ พนักงานมีงานทา และเป็ นการช่วยเหลือให้ พนักงานสามารถ ซือ้ ข้ าวในราคาที่ถูกกว่าท้ องตลาด โดยในส่วนการดาเนินงานไม่มีผลกระทบจากสถานการณ์ ความไม่มนั่ คงทางอาหารที่กาลังส่งผลต่อประเทศไทยในปั จจุบนั ซึง่ เกิดจากการที่ข้าวมีราคาสูงขึ ้น เนื่องจากมีการเก็งกาไรจากพ่อค้ าคนกลาง และมีการแทรกแซงจากรัฐบาล แต่ทางบริ ษัทไม่ได้ รับ ผลกระทบจากวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ ้น เพราะการซื ้อข้ าวเปลือกจากเกษตรกรโดยตรงมาสี ที่ไม่ผ่าน พ่อค้ าคนกลาง และจาหน่ายในราคาที่เหมาะสม โดยมิได้ ม่งุ หวังการค้ าเพื่อกาไร ซึ่งทาให้ ค้ มุ ทุน และสามารถดารงอยู่ได้ อย่างพอเพียง อีกทังโรงสี ้ ข้าวจะรับซื ้อข้ าวจากชาวนาและชุมชนใกล้ เคียง แล้ วมี ก ารนาผลพลอยได้ อย่า ง แกลบ รา และปลายข้ าว ไปจ าหน่ายให้ กับเกษตรกรในราคา ย่อมเยา เพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือเกษตรกร และให้ บริษัทเป็ นธุรกิจที่ยงั่ ยืนสามารถพึ่งพาตนเอง ได้ โดยมิได้ มงุ่ หวังผลกาไร เป็ นการทาครบวงจรของเศรษฐกิจพอเพียง


บทที่ 5 สรุ ปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา การศึ ก ษาเรื่ อง “การควบคุ ม ภายในตามแนวคิ ด COSO: กรณี ศึ ก ษาโรงสี ข้ าว บริ ษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด” โดยการนาผลการศึกษามาปรับปรุ งและพัฒนาการควบคุมภายใน เพื่อให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ในการพัฒนาการควบคุมภายในของบริ ษัท ซึ่งมีวตั ถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการควบคุมภายใน แนวทางในการแก้ ปัญหา และการประเมินประสิทธิภาพของการควบคุม ภายใน โดยเก็ บรวบรวมเชิ ง คุณ ภาพจากการสัม ภาษณ์ เชิ ง ลึกและแบบสอบถาม ซึ่ง สามารถ สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ได้ ดงั นี ้ สรุปผลการศึกษาการควบคุมภายในตามแนวคิดของ COSO ในแต่ละด้ านพบว่า .

1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม

การคัดเลือกพนักงานรวมทังข้ ้ อบังคับหรื อกฎระเบียบต่างๆ จะใช้ รูปแบบเดียวกับ โตโยต้ า ท าให้ มี ม าตรฐานเดี ย วกัน ในการควบคุม ดูแ ล โดยรวมแล้ ว บริ ษั ท มี ก ารปฏิ บัติ ง านทางด้ า น สภาพแวดล้ อมการควบคุมอยูใ่ นระดับดี ยกเว้ นฝ่ ายผลิตที่พนักงานฝ่ ายอื่นสามารถทางานแทนกัน ได้ แต่อย่างไรก็ตามบริษัทก็มีการควบคุมทางด้ านนี ้ โดยพนักงานฝ่ ายอื่นไม่สามารถทางานในฝ่ าย บัญชีได้ 2. การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยงจากการใช้ งานเครื่ องจักร ความเสี่ยงจากการเกิดอัคคีภัยภายใน โรงสี ความเสี่ยงจากการทุจริ ตหรื อการยักยอกทรัพย์ โดยรวมแล้ วมีโอกาสและระดับความรุ นแรง ของความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ ส ามารถยอมรับได้ แต่ความเสี่ ยงจากการขาดแคลนพนักงานนัน้ บริ ษั ท ใช้ วิ ธี ก ารลดผลกระทบ โดยมี แ ผนป้ องกั น ในกรณี ฉุก เฉิ น ไว้ ส าหรั บ สภาวะแวดล้ อ ม


123

ในปั จจุบนั ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ อย่างไรก็ตามความเสี่ยงดังกล่าวก็ได้ แสดงให้ เห็นถึงปั ญหา ของการควบคุมภายในของบริษัทในด้ านการบริหารบุคลากร 3. กิจกรรมการควบคุม กิจกรรมการควบคุมภายในของบริ ษัทโดยรวมถือว่าดี โดยทางบริ ษัทได้ จดั ให้ มีระบบการ ทางานในเรื่ องต่างๆไว้ อย่างรัดกุม ได้ แก่ หลักเกณฑ์การอนุมตั ิ การควบคุมความปลอดภัยในการ ปฏิบตั ิงาน การสอบทานงาน การดูแลป้องกันทรัพย์สิน การบริ หารทรัพยากรบุคคล การควบคุม ระบบสารสนเทศ การจัดทาเอกสารหลักฐาน การบันทึกรายการ และการแบ่งแยกหน้ าที่พนักงาน ในแต่ละฝ่ าย ยกเว้ นการปฏิบตั ิงานของพนักงานบัญชีที่ทาหน้ าที่ทงบั ั ้ ญชีและการเงิน ที่ใช้ บคุ คล เดี ย วกัน ซึ่ง ขัด ต่อ หลัก การควบคุม ภายในที่ ดี ที่ ก าหนดให้ แ บ่ง แยกความรั บ ผิ ด ชอบของ ผู้ปฏิบตั ิงานบัญชีและการเงินต้ องไม่เป็ นบุคคลเดียวกัน ทัง้ นีเ้ พื่อป้องกันไม่ให้ เกิดช่องทางการ ทุจริ ตจากพนักงานบัญชี แต่อย่างไรก็ยังมีการควบคุมทดแทน โดยที่ผ้ บู ริ หารเข้ ามาดูแลอย่าง ใกล้ ชิด 4. สารสนเทศและการสื่อสาร บริ ษัทได้ จัดให้ มี ข้อมูล สารสนเทศอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื่อให้ ฝ่ายบริ หารและ พนักงานของบริ ษัทได้ ใช้ ข้อมูลสารสนเทศที่เหมาะสมและทันเวลาในการบริ หารและปฏิบตั ิงาน ซึ่งข้ อมูลสารสนเทศส่วนใหญ่มีความถูกต้ องและเชื่อถือได้ มีการใช้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในการสื่อสารเพื่อให้ ครอบคลุมทัว่ ทังบริ ้ ษัททังจากล่ ้ างสู่บนและจากบนลงล่าง ทาให้ พนักงาน สามารถเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิ บตั ิงานไปยังผู้บริ หารได้ โดยตรง อีกทังบริ ้ ษัทยังให้ การ สนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศที่จาเป็ น เพื่อให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานสามารถนาข้ อมูลไป ใช้ ได้ สะดวก และเกิดประโยชน์ตอ่ บริษัทมากที่สดุ 5. การติดตามและประเมินผล การควบคุมภายในด้ านการติดตามและประเมินผล โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ดี เนื่องจาก ผู้บริหารมีการติดตามผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานอย่างต่อเนื่อง โดยการใช้ เทคโนโลยีที่ทนั สมัย


124

ในการติดตามใช้ แบบประเมินผลประสิทธิภาพการควบคุมภายใน และยังได้ มีการมอบหมายให้ ผู้จดั การที่เป็ นผู้รับผิดชอบควบคุมการทางานของพนักงาน หากมีการตรวจพบข้ อบกพร่ องที่เป็ น สาระสาคัญ ผู้จดั การจะทาการรายงานต่อผู้บริ หารเพื่อพิจารณาสัง่ การแก้ ไขภายในระยะเวลาอัน ควร อีกทังผู ้ ้ บริ หารดูผลการปฏิบตั ิงานจริ งเปรี ยบเทียบกับแผนงานที่ได้ มีการประมาณเอาไว้ และ หากผลการดาเนินงานกับแผนงานที่ประมาณไว้ มี ความแตกต่างกันมาก ทางผู้บริ หารจะทาการ ติดตามหาสาเหตุ และหาแนวทางแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึ ้นภายในระยะเวลาที่เหมาะสม จากการสัมภาษณ์ และการทาแบบประเมินของผู้จดั การและพนักงานเกี่ยวกับการควบคุม ภายในของบริ ษัท พบว่าการควบคุมภายในของบริ ษัท มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมทุกองค์ประกอบ ตามแนวคิดการควบคุมภายในของ COSO และบริ ษัทได้ ปฏิบตั ิงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ จัดตังขึ ้ ้นโดยไม่ได้ มงุ่ หวังผลกาไร ทาให้ บริษัทไม่ได้ รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่มนั่ คง ทางอาหารที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั ข้ อเสนอแนะกรณีศึกษา บริษัทควรแบ่งแยกหน้ าที่และความรับผิดชอบของพนักงานในแต่ละฝ่ ายให้ ชดั เจน ไม่ควร ให้ ตาแหน่งงานที่มีความสาคัญทางานซับซ้ อนกับงานที่เสี่ยงต่อการควบคุม เช่น พนักงานการเงิน และพนักงานบัญชี ไม่ควรเป็ นบุคคลเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตามบริ ษัทได้ มีการควบคุมจากโตโยต้ า โดยจะมีการส่งเอกสารทางการเงินและบัญชีให้ พนักงานของโตโยต้ า เพื่อตรวจสอบอีกครัง้ หนึ่ง และภายหลัง จากการที่ บ ริ ษั ท ได้ มี ก ารแก้ ไขปั ญ หาด้ า นการควบคุม ภายในที่ บ กพร่ อ งแล้ ว ควรทาการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการควบคุมภายใน หลังจากที่ได้ รับการแก้ ไข เพื่อนามาปรับปรุงการควบคุมภายในให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น ข้ อเสนอแนะในการศึกษาครัง้ ต่ อไป 1. ควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริ มาณในส่วนของการวิเคราะห์การประเมินความเสี่ยง เพื่อทาให้ ทราบถึงความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และยอมรับไม่ได้ และจะได้ เสนอแนวทางแก้ ไขต่อไป


125

2. ควรศึกษาความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการควบคุมภายในของบริ ษัท โดยแยก ตามฝ่ ายต่างๆ ซึง่ จะสะท้ อนถึงการควบคุมภายในในแต่ละฝ่ ายได้ ครอบคลุมยิ่งขึ ้น 3. ควรทาการศึกษาและเก็บรวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับการควบคุมภายในของอุต สาหกรรม โรงสีข้าวในภาพรวม และนามาเปรี ยบเทียบกับการควบคุมภายในของโรงสีข้าวที่ทาการศึกษา 4. การศึก ษาครั ง้ ต่อ ไปควรท าการศึก ษาเกี่ ย วกับ วิ ก ฤตการณ์ ใ นด้ า นอื่ น ๆเพิ่ ม เติ ม ที่อาจส่งผลกระทบต่อวิกฤตการณ์อาหารโลกได้ เช่น วิกฤตการณ์มลพิษทางสิ่งแวดล้ อมโลก และ วิกฤตการณ์เงินเฟ้อ เป็ นต้ น


เอกสารและสิ่งอ้ างอิง กุ สุ ม าLLโสเขี ย ว.LL2549.LLผลกระทบของประสิ ท ธิ ภ าพการควบคุ ม ภายในและ สภาพแวดล้ อม ธุ ร กิ จ ที่ มี ต่ อ คุ ณ ภาพข้ อมู ล ทางการบั ญ ชี .Lวิ ท ยนิ พ นธ์ ห ลัก สู ต ร ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. จันทนาLLสาขากร, นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ, และ ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร. ม.ป.ป.LLการควบคุม ภายในและการตรวจสอบภายใน. ม.ป.ท. ดีใหม่LLอินทรพานชย์ . 2550. สภาพและปั ญหาการดาเนินการควบคุมภายในโรงเรี ยน สั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษาสกลนคร เขต 2.LLวิ ท ยานิ พ นธ์ ก ารบริ ห าร การศึกษา, มหาวิทยาลัยรายภัฎสกลนคร. . 2551. ปั ญหาด้ า นการจั ด ท าบั ญ ชี แ ละการควบคุ ม ภายในของ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในอาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ .LLวิทยานิพนธ์ การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยรายภัฎสกลนคร. ถิราวุฒิLLทองทรง. 2547. สภาพและปั ญหาของระบบการควบคุมภายในศึกษากรณี บริ ษัทไปรษณีย์ไทย จากัด . วิทยานิพนธ์ บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ ทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ธนาLLสุวรรณโชติ . 2553. การศึ กษาความรู้ และการปฏิ บัติของครู เกี่ ยวกั บ มาตรฐาน การควบคุ ม ภายในสถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษาระยอง . วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา), มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี. นวลน้ อยLLตรี รัตน์. 2551. ความมั่นคงทางอาหาร. (ออนไลน์).LLค้ นเมื่อ 27 มกราคม 2556, จาก http://www.nidambe11.net


เอกสารและสิ่งอ้ างอิง (ต่ อ) ปกรณ์ LLมนชน. 2545. การวิเคราะห์ และประเมินประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายใน ด้ านสินค้ าคงเหลือ กรณีศึกษาบริ ษัท ธุรกิจกระดาษ จากัด .LLวิทยนิพนธ์ หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี, มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย. ปวรรัตน์LLพรรธนประเทศ. 2555. ความมั่นคงทางอาหาร. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อ 27 มกราคม 2556, จาก http://www.nutrition.anamai.moph.go.th ไพเราะLLรัตนวิจิตร. 2549. การศึกษาเปรี ยบเทียบการความควบคุมภายในตามแนว COSO ด้ า นองค์ ป ระกอบสภาพแวดล้ อ มการควบคุ ม ในอุ ตสาหกรรมโรงแรม จังหวัด ชลบุ รี .LLวิ ท ยนิ พ นธ์ ห ลัก สูต รปริ ญ ญาบัญ ชี ม หาบัณ ฑิ ต สาขาการบัญ ชี , มหาวิทยาลัยบูรพา. ไพโรจน์ ด ารงศัก ดิ์ . 2553. การศึ ก ษาปั ญหาการจั ด ระบบการควบคุ ม ภายในของ สถานศึ ก ษาขั ้น พื น้ ฐานสั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษาสุ ริ น ทร์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริ หารการศึกษา,LLมหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ . วิราภรณ์LLพึ่งพิศ. 2550. ปั ญหาและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการควบคุมภายในของ บริ ษัท บู รพาอุ ตสาหกรรม จากั ด. วิทยานิพนธ์ บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา การจัดการทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ศ จิ น ท ร์ LLป ร ะ ช า สั น ติ์ . LL2552.LLส ถ า น ก า ร ณ์ ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง อ า ห า ร ข อ ง ประเทศไทยภายหลั ง ปี L2540.LL(ออนไลน์ ) .LLค้ น เมื่ อ L20LมกราคมL2556,Lจาก http://www.sathai.org/story_thai/043-Food_security-_thai.pdf


เอกสารและสิ่งอ้ างอิง (ต่ อ) ศุภชัยLLลีลิตธรรม. 2550. การศึกษาความเป็ นไปได้ ในการนาระบบการควบคุมภายใน ตาม แนวทาง COSO มาใช้ กับการบริหารการไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้ ) จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สถาบัน สารสนเทศทรั พ ยากรน า้ และการเกษตร (องค์ ก ารมหาชน). มปป.LLหลั ก ปรั ช ญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง.LL(ออนไลน์ ).LLค้ นเมื่ อ L29 มกราคม 2556,Lจาก http://www.haii.or.th สานักงานมูลนิธิชยั พัฒนา.LL2550.LLเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ . (ออนไลน์).LL ค้ นเมื่อL15 LมกราคมL2556,Lจาก http://www.chaipat.or.th/chaipat/index.php/th/publication/sufficiency-economy. สานักส่งเสริ มและประมวลชน ส่วนส่งเสริ มการมีส่วนร่ วม.LL2555.LLวิกฤติการณ์ อาหารโลก เกร็ ด ความรู้ ทรั พ ยากรธรรมชาติ.LL(ออนไลน์ ) .LLค้ น เมื่ อ L20LมกราคมL2556,Lจาก http://intranet.dwr.go.th/bmpc/karkomru/feb%2055.pdf สุชายLLยังประสิทธ์กลุ . 2555. การสอบบัญชี. กรุงเทพมหานคร: ห้ างหุ้นส่วนจากัด ทีพีเอ็น เพรส. สุทธิ ดาLLศิริบุญหลง. 2552.LLการพัฒนาแบบยั่งยืน .LL(ออนไลน์).LLค้ นเมื่อL10LมกราคมL 2556,LจากLhttp://library.uru.ac.th/bookonline/books%5CCh8A.pdf สุรีย์LLวงศ์วณิช. ม.ป.ป. การควบคุมทางการบัญชี. ม.ป.ท. อาภรณ์ LLชีวะเกรี ยงไกร.LL2555.LLวิกฤติอาหารโลก.LL(ออนไลน์).LLค้ นเมื่อL 20LมกราคมL 2556,LจากLhttp://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/opinion/aporn


เอกสารและสิ่งอ้ างอิง (ต่ อ) อุษณาLLภัทรมนตรี . 2552. การตรวจสอบภายในสมัยใหม่ . กรุงเทพมหานคร: จามจุรี โปรดักท์.


ภาคผนวก ก ประมวลภาพการเยี่ยมชมการปฏิบัตงิ านของโรงสีข้าว


ภาคผนวก ข เครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้ อมูล


ภาพที่ 1 ข้ าวเปลือกก่อนผ่านกระบวนการสีข้าว

ภาพที่ 2 การทางานของเครื่ องจักร


ภาพที่ 3 คลังสินค้ า


ภาพที่ 4 แปลงผักบริเวณโรงสีข้าว

ภาพที่ 5 การเลี ้ยงสัตว์บริเวณโรงสีข้าว


ภาพที่ 6 ภาพผู้เยี่ยมชมและวิทยากร









Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.