การควบคุมภายในนำพาธุรกิจไทยสู่ความมั่นคงทางอาหาร

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาสัมมนา การควบคุมภายในนาพาธุรกิจไทยสูค่ วามมัน่ คงทางอาหาร INTERNAL CONTROL LEADS THAILAND BUSINESS TO FOOD SECURITY

รายงานผลการศึกษานี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


รายงานผลการศึกษารายวิชาสัมมนา การควบคุมภายในนาพาธุรกิจไทยสูค่ วามมัน่ คงทางอาหาร INTERNAL CONTROL LEADS THAILAND BUSINESS TO FOOD SECURITY

รายงานผลการศึกษานี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


สัมมนา

เรื่ อง

การควบคุมภายในนาพาธุรกิจไทยสูค่ วามมัน่ คงทางอาหาร INTERNAL CONTROL LEADS THAILAND BUSINESS TO FOOD SECURITY

ได้ รับการตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้ เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร เมื่อ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556

อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนา (อาจารย์พีรญา พงษ์ปรสุวรรณ์, บธ.ม.) อาจารย์ผ้ ปู ระสานงานรายวิชา (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ , บธ.ม.)


รายงานผลการศึกษารายวิชาสัมมนา การควบคุมภายในนาพาธุรกิจไทยสูค่ วามมัน่ คงทางอาหาร INTERNAL CONTROL LEADS THAILAND BUSINESS TO FOOD SECURITY

รายงานผลการศึกษานี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


(1)

คณะผู้จดั ทำ “การควบคุมภายในตามแนวคิด COSO กรณีศกึ ษา โรงสีขาว บริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด” 1. 2. 3. 4. 5.

นางสาวขวัญชนก นางสาวพิชญา นางสาวแพรวพรรณ นางสาวภัควณิช นางสาววัชราภร

ฮะหวัง มยานนท์ พลนาค มลิพนั ธุ์ ธรรมผุย

5230110112 5230110627 5230110643 5230110660 5230110775

“การควบคุมภายในตามแนว COSO ของ บริ ษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จากัด” 1. 2. 3. 4.

นางสาวจิตรานุช นางสาวธัชชา นางสาวลลิตภัทร นางสาววิมพ์วิภา

พรมกิตติยานนท์ สิงควะนิช พัดพา สุนทรวิริยะวงศ์

5230110155 5230110341 5230110741 5230110783

“การควบคุมภายในของสหกรณ์การเกษตร ด้ านธุรกิจรวบรวมผลผลิตสูก่ ารพัฒนาสินค้ าเกษตร และอาหารเพื่อการส่งออกจากวิกฤตการณ์อาหารโลก กรณีศกึ ษา สหกรณ์การเกษตรบ้ านลาด จากัด” 1. 2. 3. 4.

นางสาวประไพพร นางสาวสิริกร นางสาวอวัสดา นางสาวศศิธร

ลาภสมิทธิ์ พายัพวัฒนวงษ์ น้ อยไกรไพร พุม่ เข็ม

5230160373 5230160691 5230160870 5230161515


(2) “การควบคุมภายในกระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ ไรส์ กรณีศกึ ษา สหกรณ์โคนมบ้ านบึง จากัด ” 1. 2. 3. 4.

นางสาวปิ ยะมาศ นางสาวสุภาภรณ์ นางสาวณัฏฐิ มา นางสาวอุบลพรรณ

ปลัง่ กลาง แดงสีแก้ ว ดีชว่ ย ศุภสิทธิ์ธนะกุล

5230160446 5230160772 5230161124 5230161621

“การศึกษาระบบการควบคุมภายในด้ านการเงินและบัญชี กรณีศกึ ษา บริษัท บัณฑิตพิบลู ย์ทอง จากัด” 1. 2. 3. 4.

นายบุญหลง นายทวีศกั ดิ์ นางสาวจรรย์วรท นางสาวสุภาพร

เถียรประภากุล พันธุ์มณี เจตนา อุปการแก้ ว

51236487 51238913 5230100117 5230160764

“การศึกษาการบริหารความเสี่ยงของอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง กรณีศกึ ษา บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)” 1. 2. 3. 4.

นางสาวกฤตยพร นางสาวธัญชนก นางสาวรวิวรรณ นางสาวสวรส

บูชาชาติ สีหาโม้ จิตต์อนงค์ โรซาร์ พิทกั ษ์

5230110058 5230110350 5230110716 5230110864


(3)

กิตติกรรมประกำศ ในการประชุมสัมมนาวิชาการ เรื่ อง การควบคุมภายในนาพาธุรกิจไทยสู่ความมัน่ คงทาง อาหาร สามารถประสบความสาเร็ จลุล่วงไปได้ ด้วยดี เนื่องจากได้ รับความอนุเคราะห์ ความกรุณา และการสนับสนุนเป็ นอย่างดีจาก อาจารย์พีรญา พงษ์ ปรสุวรรณ์ ที่ได้ ให้ คาแนะนาที่เป็ นประโยชน์ ในการศึกษา ตลอดทังให้ ้ ความเมตตาและสละเวลาแก่คณะผู้จัดทามาโดยตลอด จนทาให้ การ สัมมนาครัง้ นี ้สาเร็จลุลว่ งได้ ดี ขอขอบพระคุณสาหรับผู้ที่มีส่วนเกี่ ยวข้ องทุกท่าน รวมทังแหล่ ้ งที่ศึกษาค้ นคว้ าข้ อมูล ต่างๆ อาทิเช่น หนังสือ วารสาร บทความ วิทยานิพนธ์ และสื่อ อินเตอร์ เน็ตที่ให้ คณะผู้จดั ทาได้ ใช้ เป็ นแนวทางในการศึกษาและจัดงานสัมมนาในครัง้ นีข้ ึ ้น ตลอดจนเพื่อนร่ วมกลุ่ม เพื่อนร่ วมรุ่ น ผู้เข้ าร่วมสัมมนาที่ให้ ความร่วมมือ ความช่วยเหลือในทุกเรื่ อง อีกทังยั ้ งคอยเป็ นกาลังใจให้ กบั คณะ ผู้จดั ทาตลอดมา สุดท้ ายนี ้ทางคณะผู้จดั ทาขอขอบพระคุณและระลึกเสมอว่าจะไม่มีความสาเร็ จใดๆ ใน ชีวิตของคณะผู้จัดทา หากปราศจากความรัก ความเข้ าใจ และกาลังใจจากบุคคลที่มี พระคุณที่ คอยให้ การสนับสนุนการศึกษาของคณะผู้จดั ทามาโดยตลอด ขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่าน และ สถาบันการศึกษาอันทรงเกียรติที่มอบโอกาสในการศึกษาแก่คณะผู้จดั ทา คณะผู้จดั ทาหวังว่าการสัมมนาครัง้ นี ้ คงมีประโยชน์เป็ นอย่างมากสาหรับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้ อง ตลอดจนผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการควบคุมภายใน และสามารถนาไปปรับใช้ กบั หน่วยงานได้ อย่างถูกต้ องตามหลักการควบคุมภายใน คณะผู้จดั ทา กุมภาพันธ์ 2556


(4)

บทคัดย่ อสรุ ปผลกำรสัมมนำเครื อข่ ำยควำมรู้ ในการจัดการสัมมนาวิชาการครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์ที่จะศึกษาผลกระทบจากวิกฤตการณ์ อาหารโลกที่ ส่ง ผลต่อธุ รกิ จ ต่างๆ ทัง้ ในรู ปแบบของบริ ษัทและรู ปแบบของสหกรณ์ การเกษตร รวมทัง้ ศึกษาระบบการควบคุมภายในตามแนว COSO ของธุรกิจ เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการ ปรั บปรุ ง และพัฒ นาระบบการควบคุมภายในให้ มีประสิทธิ ภาพมากขึน้ ภายใต้ สภาวะที่ มีการ แข่งขันรุ นแรงและภายใต้ วิกฤตการณ์อาหารโลกในปั จจุบนั ที่ส่งผลกระทบให้ กับประเทศและการ ดาเนินธุรกิจ โดยทาการศึกษาจากกรณีศกึ ษาทังหมด ้ 6 ธุรกิจ แบ่งเป็ นการดาเนินงานแบบบริ ษัท จากัด 4 บริ ษัท คือ บริ ษัท ข้ าวรัช-มงคล จากัดดาเนินงานเกี่ยวกับโรงสีข้าว บริ ษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จ ากัด ดาเนิน งานเกี่ ยวกับ การส่ง ออกข้ า วไปยัง ต่า งประเทศ บริ ษั ท บัณ ฑิต พิ บูล ย์ ท อง จ ากัด ดาเนินงานเกี่ยวกับการผลิตน ้าดื่ม และบริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)ดาเนินงาน เกี่ ยวกับอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง และเป็ นการดาเนินงานในรู ปแบบของสหกรณ์ อีก 2 สหกรณ์คือสหกรณ์การเกษตรบ้ านลาด จากัดและสหกรณ์โคนมบ้ านบึง จากัด ซึ่งทางคณะผู้จดั ทา ใช้ วิธีการศึกษาโดยการสัม ภาษณ์ ผ้ ูบริ หารและพนักงานที่ มีส่วนเกี่ ยวข้ องเกี่ ยวกับการควบคุม ภายในที่กิจการใช้ อีกทังยั ้ งมีการเข้ าไปศึกษาในระบบการผลิตและการดาเนินงานที่เกิดขึน้ จริ ง แล้ วนามาทาการวิเคราะห์กบั องค์ประกอบระบบการควบคุมภายในตามแนว COSO ผลการศึกษา พบว่าบริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัดมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมทุกองค์ประกอบตามแนวคิดการควบคุมภายในของ COSO และบริ ษัทได้ ปฏิบตั ิงาน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจัดตังขึ ้ ้นโดยไม่ได้ ม่งุ หวังผลกาไร ทาให้ บริ ษัทไม่ได้ รับผลกระทบ จากสถานการณ์ความไม่มนั่ คงทางอาหารที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั บริ ษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จากัดมีระบบ การควบบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพในทุกๆด้ านตามแนวคิดการควบคุมภายในของ COSO แต่ วิกฤตการณ์อาหารโลกที่กาลังเกิดขึ ้นส่งผลกระทบต่อบริษัท ทาให้ มีปริมาณการส่งออกข้ าวน้ อยลง รายได้ แ ละก าไรก็ ล ดลง แต่เ นื่ อ งด้ ว ยบริ ษัท มี ก ารควบคุม ภายในที่ ดี ทาให้ บ ริ ษั ท ยัง สามารถ ขับเคลื่อนไปได้ ในอนาคต บริ ษัท บัณฑิตพิบลู ย์ทอง จากัดใช้ แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับองค์ประกอบ การควบคุม ภายในด้ านการบัญชี และการเงิน 16 ประการ เป็ นกรอบในการศึกษาพบว่ามีการ ควบคุมภายในด้ านบัญชีและการเงินตามองค์ประกอบ บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด (มหาชน) ศึกษาการดาเนินงานการค้ าระหว่างประเทศ ศึกษาปั จจัยความเสี่ยงและการบริ หารความเสี่ยง และแนวทางการจัดการวิกฤตการณ์ทางอาหารสรุ ปได้ ว่าสามารถผลิตสินค้ าที่ตอบสนองความ


(5) ต้ องการของผู้บริ โภคภายในประเทศนัน้ ได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ และมีความได้ เปรี ยบทางด้ าน ปั จจัยการผลิต ซึ่งส่งผลให้ เป็ นการประหยัดต้ นทุนในการขนส่งวัตถุดิบ อุตสาหกรรมอาหารทะเล แช่แข็ง ได้ รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์อาหารอยู่ในระดับต่า เนื่องจากประเทศไทยมีลกั ษณะภูมิ ประเทศที่อดุ มไปด้ วยทรัพยากรธรรมชาติ และบริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด เป็ นผู้นาของ อุตสาหกรรมอาหารในประเทศ ประกอบกับบริ ษัท มีการบริ หารความเสี่ยงที่มีประสิทธิ ภาพสูง ดัง นัน้ ปั ญ หาวิกฤตการณ์ อาหารโลกไม่ส่ง ผลกระทบต่อการบริ หารความเสี่ ยง ส่วนในธุ รกิ จ ที่ ดาเนินงานแบบสหกรณ์ การเกษตรนัน้ พบว่า สหกรณ์ การเกษตรบ้ านลาด จากัดมี การควบคุม ภายในที่ ดี มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เนื่ อ งจากสหกรณ์ มี ก ารด าเนิ น งานการควบคุม ภายในครบทุ ก องค์ประกอบตรงตามแนวคิด COSO สมาชิกตามที่กาหนดไว้ ในระเบียบของสหกรณ์ จากวิกฤติ การอาหารที่เกิดขึ ้นนันส่ ้ งผลกระทบต่อสหกรณ์ ในระดับต่า อีกทังสหกรณ์ ้ ยงั มีระบบการควบคุม ภายในที่มีประสิทธิภาพถึงแม้ จะมีวิกฤติอาหารแต่สหกรณ์ก็สามารถที่จะขับเคลื่อนต่อไปได้ ทังยั ้ ง ถือว่าเป็ นโอกาสสาหรับสหกรณ์การเกษตรบ้ านลาด และสุดท้ ายคือสหกรณ์โคนมบ้ านบึง จากัดมี กระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ ไรส์ การควบคุมภายในด้ านสภาพแวดล้ อมการควบคุมของสหกรณ์ มีความเหมาะสมเพียงพอ วิกฤตการณ์อาหารที่เกิดขึ ้นทาให้ เกษตรกรผู้เลี ้ยงโคนมลดน้ อยลง ทาให้ ปริ มาณนา้ นมดิบที่สหกรณ์ ได้ รับมีจานวนลดน้ อยลง อย่างไรก็ตามวิกฤตการณ์ อาหารที่เกิดขึน้ ไม่ได้ ส่งผลกระทบต่อสหกรณ์ มากนัก การควบคุมภายในที่ดีและมีประสิทธิภาพตามทฤษฎีการ ควบคุมภายในตามแนวคิด COSO ทาให้ วา่ สหกรณ์จะจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให้ เพียงพอต่อความ ต้ องการของตลาดได้


(6)

คำนำ รายงานเล่มนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาสัมมนา ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขตศรี ราชา สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร ซึ่งได้ รวบรวมเกี่ยวกับเนื ้อหาของการควบคุมภายในและ การบริ หารความเสี่ยงของบริ ษัทกรณีศึกษา เช่น โรงสีข้าวรัชมงคล บริ ษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จากัด สหกรณ์การเกษตรบ้ านลาด จากัด สหกรณ์โคนมบ้ านบึง จากัด บริ ษัท บัณฑิตพิบูลย์ทอง จากัด (น ้าดื่ม) และบริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด(มหาชน) ภาพบรรยากาศของการสัมมนา สรุ ป ประมวลผลของความรู้ ที่ได้ ไปทาการศึกษาปั ญหาพิเศษเรื่ องการควบคุมภายในและการบริ หาร ความเสี่ยงซึง่ เป็ นเครื่ องมือหนึง่ ทางการบัญชีที่จะช่วยในการแก้ ไขปั ญหาวิกฤตอาหารโลกที่เกิดขึ ้น ในปั จจุบนั คณะผู้จดั ทาหวังว่ารายงานเล่มนี ้จะเป็ นส่วนช่วยให้ ผ้ ทู ี่สนใจ ตระหนักถึงสถานการณ์ วิกฤตอาหารโลกเพื่อที่หาวิธีทางแก้ ไขและเตรี ยมรับมือกับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ ้นในอนาคต หาก รายงานเล่มนี ้มีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จดั ทาขออภัยมา ณ ที่นี ้ด้ วย คณะผู้จดั ทา


(7)

สารบัญ หน้ า คณะผู้จดั ทำ กิตติกรรมประกำศ บทคัดย่อสรุปผลกำรสัมมนำเครื อข่ำยควำมรู้ คำนำ สำรบัญ สำรบัญตำรำง สำรบัญภำพ บทที่ 1 บทนา ที่มำและควำมสำคัญ วัตถุประสงค์กำรสัมมนำกลุม่ เครื อข่ำยควำมรู้ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้ รับ บทที่ 2 รายงานผลการศึกษาปั ญหาพิเศษในภาคสรุป เรื่ อง “กำรควบคุมภำยในตำมแนวคิด COSO กรณีศกึ ษำ โรงสีข้ำว บริษัท ข้ ำวรัชมงคลจำกัด” เรื่ อง “กำรควบคุมภำยในตำมแนว COSO ของ บริษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จำกัด” เรื่ อง “กำรควบคุมภำยในของสหกรณ์กำรเกษตร ด้ ำนธุรกิจรวมรวมผลผลิต สูก่ ำรพัฒนำสินค้ ำเกษตรและอำหำรเพื่อกำรส่งออกจำกวิกฤตกำรณ์อำหำรโลก กรณีศกึ ษำ สหกรณ์กำรเกษตรบ้ ำนลำด จำกัด” เรื่ อง “กำรควบคุมภำยในกระบวนกำรผลิตนมพำสเจอร์ ไรส์ กรณีศกึ ษำ สหกรณ์โคนมบ้ ำนบึง จำกัด” เรื่ อง “กำรศึกษำระบบกำรควบคุมภำยในด้ ำนกำรเงินและบัญชี กรณีศกึ ษำ บริษัท บัณฑิตพิบลู ย์ทอง จำกัด” เรื่ อง “กำรศึกษำกำรบริหำรควำมเสี่ยงของอุตสำหกรรมอำหำรทะเลแช่แข็ง กรณีศกึ ษำ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อำหำร จำกัด (มหำชน)”

(1) (3) (4) (6) (7) (9) (10)

1 2 3

4 7

11 15 17 20


(8)

สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที่ 3 สรุปผลการศึกษา สรุปผลกำรวิเครำะห์สงั เครำะห์เครื อข่ำยควำมรู้ตอ่ กำรจัดกำรวิกฤตปั ญหำ ควำมไม่มนั่ คงทำงด้ ำนอำหำร

25

บทที่ 4 ประมวลภาพงานสัมมนา ภำพบรรยำยงำนสัมมนำ บอร์ ดนิทรรศกำรของกลุม่ เครื อข่ำย กำรร่วมจัดนิทรรศกำรสัปดำห์วิชำกำรของกลุม่ เครื อข่ำย

30 35 36

บทที่ 5 สรุปผลการเข้ าร่ วมงานสัมมนาของกลุ่ม จำนวนผู้เข้ ำร่วม ผลกำรประเมินกำรเข้ ำร่วมสัมมนำทำงด้ ำนควำมรู้และควำมพึงพอใจ

39 40

บรรณานุกรม ภาคผนวก รำยชื่อผู้เข้ ำร่วมงำน


(9)

สารบัญตาราง ตารางที่ 5-1 5-2 5-3 5-4

หน้ า จำนวนผู้เข้ ำร่วมงำนจำแนกตำมเพศ จำนวนผู้เข้ ำร่วมงำนจำแนกตำมสำขำ จำนวนผู้เข้ ำร่วมงำนจำแนกตำมชันปี ้ ผลกำรประเมินกำรเข้ ำร่วมสัมมนำทำงด้ ำนควำมรู้และควำมพึงพอใจ

39 39 39 40


(10)

สารบัญภาพ ภาพที่ 4-1 4-2 4-3 4-4

4-5 4-6 4-7 4-8 4-9 4-10 4-11 4-12 4-13 4-14 4-15 4-16 4-17

หน้ า พิธีกรดำเนินงำน วิทยำกร หัวข้ อ “กำรควบคุมภำยใน ตำมแนวคิด COSO กรณีศกึ ษำโรงสีข้ำว บริษัท ข้ ำวรัชมงคล จำกัด” วิทยำกร หัวข้ อ “กำรประเมินผลกำรควบคุมภำยในของ COSO กรณีศกึ ษำ บริษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จำกัด” วิทยำกร หัวข้ อ “กำรควบคุมภำยในของสหกรณ์กำรเกษตรด้ ำนธุรกิจรวบรวม ผลิตผลสูก่ ำรพัฒนำสินค้ ำเกษตรและอำหำรเพื่อกำรส่งออกจำกวิกฤต อำหำรโลก กรณีศกึ ษำ สหกรณ์กำรเกษตรบ้ ำนลำด จำกัด” บรรยำกำศขณะพักเบรก เล่นเกมแจกของรำงวัล วิทยำกร หัวข้ อ “กำรควบคุมภำยในกระบวนกำรผลิตนมพำสเจอร์ ไรส์ กรณีศกึ ษำ สหกรณ์โคนมบ้ ำนบึง จำกัด” วิทยำกร หัวข้ อ “กำรศึกษำระบบกำรควบคุมภำยในด้ ำนกำรเงินและบัญชี กรณีศกึ ษำ บริษัท บัณฑิตพิบลู ย์ทอง จำกัด” วิทยำกร หัวข้ อ “กำรศึกษำกำรบริหำรควำมเสี่ยงของอุตสำหกรรมอำหำรทะเล แช่แข็ง กรณีศกึ ษำ บริ ษัท เจริญโภคภัณฑ์อำหำร จำกัด (มหำชน)” บรรยำกำศผู้เข้ ำร่วมฟั งสัมมนำ อำจำรย์และคณะผู้จดั ทำสัมมนำ บอร์ ดวิกฤตกำรณ์อำหำรโลกกับกำรควบคุมภำยใน (ด้ ำนหน้ ำ) บอร์ ดวิกฤตกำรณ์อำหำรโลกกับกำรควบคุมภำยใน (ด้ ำนหลัง) เชิญชวนบุคคลทัว่ ไป อำจำรย์ นิสิต และบุคลำกรเข้ ำร่วมงำน เป็ นผู้ชว่ ยและสนับสนุนพ่อค้ ำ – แม่ค้ำที่เข้ ำร่วมงำนสัมมนำ เป็ นผู้ชว่ ยและสนับสนุนพ่อค้ ำ – แม่ค้ำที่เข้ ำร่วมงำนสัมมนำ เป็ นผู้ชว่ ยและสนับสนุนพ่อค้ ำ – แม่ค้ำที่เข้ ำร่วมงำนสัมมนำ ประจำซุ้มงำนกิจกรรมในแต่ละซุ้ม

30 31 31

32 32 33 33 34 34 35 35 36 36 37 37 38 38


บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ ในขณะที่ ทั่วโลกกำลัง ประสบปั ญหำรำคำนำ้ มันที่ แพงขึน้ และทวี ควำมรุ นแรงอย่ำ ง ต่อเนื่อง วัตถุดิบที่ใช้ ในกำรผลิตอำหำรสำหรับคนและสัตว์มีรำคำพุ่งสูงขึ ้นโดยมิได้ คำดกำรณ์มำ ก่อนและนำไปสูก่ ำรเกิด “วิกฤตกำรณ์อำหำรโลก” หรื อที่เรี ยกว่ำ World Food Crisis ขึ ้น ก่อให้ เกิด กระแสควำมตึงเครี ยดไปทั่วโลก เนื่องจำกประชำคมโลกล้ มตำยด้ วยควำมอดอยำกและหิวโหย จำกรำคำอำหำรที่สงู ขึ ้นเป็ นประวัติกำรณ์ทำให้ บำงประเทศเริ่ มขำดแคลนอำหำรหลัก ต้ องนำเข้ ำ อำหำรและโภคภัณฑ์เป็ นจำนวนมำก ขณะเดียวกันหลำยๆ ประเทศถึงกับต้ องวำงมำตรกำรห้ ำม ส่ ง ออก และมี ก ำรเรี ย กเก็ บ ภำษี ส่ ง ออกทั ง้ ข้ ำวและอำหำร ส ำหรั บ ประเทศไทยกำรเกิ ด “วิกฤตกำรณ์อำหำร” นับเป็ นโอกำสสำคัญที่ไทยจะต้ องเริ่มตระหนักถึงบทบำทระดับโลก เนื่องจำก มีปริมำณอำหำรเพียงพอทังกำรบริ ้ โภคภำยในประเทศ และส่งออกได้ อีกทังเรำยั ้ งมีพื ้นที่นิเวศน์อนั อุดมสมบูรณ์ ทงั ้ พืชพันธุ์ธัญญำหำรและสัตว์ ซึ่งเป็ นแหล่งวัตถุดิบเพื่อผลิตอำหำรได้ มำกมำยที่ สำมำรถสร้ ำงรำยได้ และแปรวิกฤตให้ เป็ นโอกำสให้ ประเทศไทยได้ ในกำรดำเนินธุรกิจภำยใต้ วิกฤตกำรณ์อำหำรดังกล่ำวนัน้ ผู้บริหำรจำเป็ นต้ องมีเครื่ องมือ ที่จะช่วยบริ หำรงำนภำยในองค์กรและช่วยให้ ธุรกิจสำมำรถขับเคลื่ อนไปได้ อย่ำงมัน่ คงในอนำคต ซึ่งกำรบริ หำรจัดกำรภำยในองค์กรที่ดีถือเป็ นหัวใจหลักในกำรดำเนินธุ รกิ จ ระบบกำรควบคุม ภำยในจึงถือเป็ นเครื่ องมือด้ ำนกำรจัดกำรประเภทหนึ่งที่ถูกนำมำช่วยในกำรบริ หำรงำน และเป็ น กลไกพื ้นฐำนสำคัญของกระบวนกำรกำกับดูแลกำรดำเนินกิจกรรมต่ำงๆ ในหน่วยงำน เพื่อให้ กำร ดำเนินงำนเป็ นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพและบรรลุวตั ถุประสงค์ ช่วยให้ กำรปฏิบตั ิงำนในขัน้ ตอน ต่ำงๆ เป็ นไปอย่ำงถูกต้ อง เหมำะสม โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในสถำนกำรณ์ที่เต็มไปด้ วยกำรแข่งขันใน ปั จจุบนั ระบบกำรควบคุมภำยในตำมแนวคิด COSO ถื อเป็ นหลักแนวคิดหนึ่งของกำรควบคุม ภำยในที่เป็ นบรรทัดฐำนกำรควบคุมภำยในที่นำมำใช้ กนั อย่ำงแพร่หลำยในองค์กรที่เป็ นทังภำครั ้ ฐ และภำคเอกชน เพื่อให้ กำรปฏิบตั ิงำนเป็ นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล ทำให้ กำรใช้ ทรัพยำกรเป็ นไปอย่ำงประหยัดและคุ้มค่ำ ดังนันผู ้ ้ ทำบัญชีตลอดจนผู้บริ หำรและผู้ที่ส นใจควรที่จะ


2 ได้ รับควำมรู้ ในเรื่ องระบบกำรควบคุมภำยในตำมแนวคิด COSO เพื่อที่จะสำมำรถนำควำมรู้ ที่ ได้ มำปรั บปรุ งและประยุกต์ใช้ ในกำรบริ หำรงำนภำยในองค์กรได้ อย่ำงเหมำะสมและถ่ำยทอด ควำมรู้ให้ กบั ผู้อื่นที่เกี่ยวข้ อง นอกจำกนี ้แล้ ว กำรแสวงหำองค์ควำมรู้ใหม่ๆ ที่สอดคล้ องกั บสภำวะ ทำงสัง คมและธุรกิ จที่เปลี่ ยนแปลงไป อันจะเป็ นประโยชน์แก่สังคมในกำรนำไปประยุกต์ใช้ ใน ชีวิตประจำวัน จำกประเด็ น ควำมส ำคัญ ดัง กล่ ำ ว สำขำกำรบัญ ชี บ ริ ห ำร คณะวิ ท ยำกำรจัด กำร มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ จึงเล็งเห็นควำมจ ำเป็ นในกำรที่จะนำควำมรู้ และปั ญหำที่โลกและ ประเทศไทยของเรำกำลังประสบและทันต่อเหตุกำรณ์มำเผยแพร่ ได้ มีกำรจัดสัมมนำในหัวข้ อเรื่ อง กำรควบคุมภำยในนำพำธุรกิจไทยสู่ควำมมัน่ คงทำงอำหำร โดยมีกำรศึกษำกรณีศกึ ษำที่น่ำสนใจ ได้ แก่ บริ ษัท ข้ ำวรัชมงคล จำกัดเป็ นธุรกิจโรงสีข้ำว บริ ษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จำกัดเป็ นธุรกิจส่งออก ข่ำว สหกรณ์กำรเกษตรบ้ ำนลำด จำกัด กระบวนกำรผลิตนมพำสเจอร์ ไรส์ ของสหกรณ์โคนมบ้ ำน บึง จ ำกัด กำรควบคุม ภำยในด้ ำนกำรเงินและบัญชี บริ ษัท บัณฑิตพิบูลย์ทอง จ ำกัด และกำร บริ ห ำรควำมเสี่ ยงของอุตสำหกรรมอำหำรทะเลแช่แ ข็ ง บริ ษั ท เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ อ ำหำร จ ำกัด (มหำชน) วัตถุประสงค์ กำรสัมมนำกลุ่มเครื อข่ ำยควำมรู้ กำรจัดสัมมนำเครื อข่ำยองค์ควำมรู้ทำงบัญชี เรื่ อง กำรควบคุมภำยในนำพำธุรกิจไทยสู่ ควำมมั่นคงทำงอำหำร มี วัตถุประสงค์ในกำรจัด เพื่ อถ่ำยทอดและนำเสนอผลของกำรศึกษำ เกี่ยวกับกำรควบคุมภำยใน และกำรบริ หำรควำมเสี่ยงของสหกรณ์ และบริ ษัท รวมถึ งกำรศึกษำ ภำวะวิกฤตกำรณ์อำหำรในปั จจุบนั ว่ำส่งผลกระทบต่อกำรควบคุมภำยในของสหกรณ์และบริ ษัท อย่ำงไร และมี ควำมรุ นแรงมำกน้ อยแค่ไ หนต่อกำรดำเนินงำนของสหกรณ์ และบริ ษัท รวมถึง กำรศึกษำแนวทำงกำรแก้ ปัญหำเกี่ยวกับกำรควบคุมภำยในที่มีข้อบกพร่อง และข้ อเสนอแนะเรื่ อง กำรควบคุม ภำยในที่ ค วรแก้ ไ ขของสหกรณ์ แ ละบริ ษัท และเสนอแนวทำงกำรแก้ ไ ขหำกภำวะ วิกฤตกำรณ์อำหำรส่งผลต่อกำรควบคุมภำยในของสหกรณ์และบริ ษัท ทังนี ้ ้กำรควบคุมภำยในจะ ศึกษำตำมแนว COSO ซึ่งประกอบด้ วย 5 ด้ ำน ได้ แก่ สภำพแวดล้ อมกำรควบคุม กำรประเมิน ควำมเสี่ยง กิจกรรมกำรควบคุม สำรสนเทศและกำรสื่อสำร และกำรติดตำมและประเมินผล โดย จะทำกำรศึกษำกำรควบคุมภำยในทัง้ 5 ด้ ำนของสหกรณ์ และบริ ษัท และนำมำประเมินระดับ ควำมเสี่ยงของแต่ละด้ ำน เพื่อหำแนวทำงกำรแก้ ไขต่อไป โดยกรณี ศึกษำ ได้ แก่ บริ ษัท ข้ ำวรั ช


3 มงคล จำกัด บริ ษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จำกัด สหกรณ์กำรเกษตรบ้ ำ นลำด จำกัด สหกรณ์โคนมบ้ ำน บึง จำกัด บริษัท บัณฑิตพิบลู ย์ทอง จำกัด และบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อำหำร จำกัด (มหำชน) ประโยชน์ ท่ คี ำดว่ ำจะได้ รับ กำรจัดสัมมนำเครื อข่ำยองค์ควำมรู้ทำงบัญชี เรื่ อง กำรควบคุมภำยในนำพำธุรกิจไทยสู่ ควำมมัน่ คงทำงอำหำร ในกำรศึกษำกำรควบคุมภำยในดังกล่ำวมำข้ ำงต้ น เพื่อเป็ นแนวทำงในกำร จัดกำรระบบกำรควบคุมภำยในที่ดีขององค์กร เพื่อเป็ นแนวทำงในกำรปรับปรุ งและพัฒนำระบบ กำรควบคุมภำยในขององค์กรให้ มี ประสิทธิ ภ ำพมำกขึน้ อีกทัง้ ยัง ช่วยเสริ ม สร้ ำงควำมรู้ ควำม เข้ ำใจ ถึงสถำนกำรณ์วิกฤตกำรณ์อำหำรโลกที่ส่งผลกระทบต่อองค์กร เพื่อให้ องค์กรพร้ อมปรับตัว เมื่อเจอกับวิกฤตกำรณ์อำหำรโลก


บทที่ 2 รายงานผลการศึกษาปั ญหาพิเศษในภาคสรุ ป เรื่อง “การควบคุมภายในตามแนวคิด COSO กรณีศึกษาโรงสีขาว บริษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด” การศึกษาเรื่ อง “การควบคุมภายในตามแนวคิด COSO: กรณี ศึกษาโรงสี ข้าว บริ ษัท ข้ าวรัชมงคล จากัด” โดยการนาผลการศึกษามาปรับปรุ งและพัฒนาการควบคุมภายใน เพื่อให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ในการพัฒนาการควบคุมภายในของบริ ษัท ซึ่งมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษา การควบคุม ภายใน แนวทางในการแก้ ปัญ หา และการประเมิ นประสิทธิ ภ าพของการควบคุม ภายใน โดยเก็ บรวบรวมเชิ ง คุณ ภาพจากการสัม ภาษณ์ เชิ ง ลึกและแบบสอบถาม ซึ่ง สามารถ สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ได้ ดงั นี ้ สรุปผลการศึกษาการควบคุมภายในตามแนวคิดของ COSO ในแต่ละด้ านพบว่า .

1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม

การคัดเลือกพนักงานรวมทังข้ ้ อบังคับหรื อกฎระเบียบต่างๆ จะใช้ รูปแบบเดียวกับโตโยต้ าทาให้ มีมาตรฐานเดียวกันในการควบคุมดูแล โดยรวมแล้ วบริ ษัทมีการปฏิบตั ิงานทางด้ าน สภาพแวดล้ อมการควบคุมอยูใ่ นระดับดี ยกเว้ นฝ่ ายผลิตที่พนักงานฝ่ ายอื่นสามารถทางานแทนกัน ได้ แต่อย่างไรก็ตามบริษัทก็มีการควบคุมทางด้ านนี ้ โดยพนักงานฝ่ ายอื่ นไม่สามารถทางานในฝ่ าย บัญชีได้ 2. การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยงจากการใช้ งานเครื่ องจักร ความเสี่ยงจากการเกิ ดอัคคีภัย ภายในโรงสี ความเสี่ยงจากการทุจริ ตหรื อการยักยอกทรัพย์ โดยรวมแล้ วมีโอกาสและระดับความ รุนแรงของความเสี่ยงอยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ แต่ความเสี่ยงจากการขาดแคลนพนักงาน


5 นัน้ บริ ษัทใช้ วิธีการลดผลกระทบ โดยมีแผนป้องกันในกรณีฉุกเฉิน ไว้ สาหรับสภาวะแวดล้ อม ใน ปั จจุบนั ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ อย่างไรก็ตามความเสี่ยงดังกล่าวก็ได้ แสดงให้ เห็นถึงปั ญหา ของการควบคุมภายในของบริษัทในด้ านการบริหารบุคลากร 3. กิจกรรมการควบคุม กิจกรรมการควบคุมภายในของบริ ษัทโดยรวมถือว่าดี โดยทางบริ ษัทได้ จดั ให้ มีระบบ การทางานในเรื่ องต่างๆไว้ อย่างรัดกุม ได้ แก่ หลักเกณฑ์การอนุมตั ิ การควบคุมความปลอดภัยใน การปฏิบตั ิงาน การสอบทานงาน การดูแลป้องกันทรัพย์สิน การบริ หารทรัพยากรบุคคล การ ควบคุมระบบสารสนเทศ การจัดทาเอกสารหลักฐาน การบันทึกรายการ และการแบ่งแยกหน้ าที่ พนักงานในแต่ละฝ่ าย ยกเว้ นการปฏิบตั ิงานของพนักงานบัญชีที่ทาหน้ าที่ทงบั ั ้ ญชีและการเงินที่ ใช้ บุคคลเดียวกัน ซึ่งขัดต่อหลักการควบคุมภายในที่ดี ที่กาหนดให้ แบ่งแยกความรับผิดชอบของ ผู้ปฏิบตั ิงานบัญชีและการเงินต้ องไม่เป็ นบุคคลเดียวกัน ทัง้ นีเ้ พื่อป้องกันไม่ให้ เกิดช่องทางการ ทุจริ ตจากพนักงานบัญชี แต่อย่างไรก็ยังมีการควบคุมทดแทน โดยที่ผ้ บู ริ หารเข้ ามาดูแลอย่าง ใกล้ ชิด 4. สารสนเทศและการสื่อสาร บริษัทได้ จดั ให้ มีข้อมูลสารสนเทศอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื่อให้ ฝ่ายบริ หารและ พนักงานของบริษัทได้ ใช้ ข้อมูลสารสนเทศที่เหมาะสมและทันเวลาในการบริ หารและปฏิบตั ิงาน ซึ่ง ข้ อมูลสารสนเทศส่วนใหญ่มีความถูกต้ องและเชื่อถือได้ มีการใช้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศช่วย ในการสื่อสารเพื่อให้ ครอบคลุม ทั่วทัง้ บริ ษัททัง้ จากล่างสู่บนและจากบนลงล่าง ทาให้ พนักงาน สามารถเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานไปยังผู้บริ หารได้ โดยตรง อีกทังบริ ้ ษัทยังให้ การ สนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศที่จาเป็ น เพื่อให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานสามารถนาข้ อมูลไป ใช้ ได้ สะดวก และเกิดประโยชน์ตอ่ บริษัทมากที่สดุ


6 5. การติดตามและประเมินผล การควบคุม ภายในด้ า นการติด ตามและประเมิ น ผล โดยภาพรวมอยู่ใ นระดับ ดี เนื่องจากผู้บริหารมีการติดตามผลการปฏิบตั ิงานของพนักงานอย่างต่อเนื่อง โดยการใช้ เทคโนโลยี ที่ ทัน สมัยในการติดตามใช้ แ บบประเมิ นผลประสิ ทธิ ภ าพการควบคุม ภายใน และยัง ได้ มี การ มอบหมายให้ ผ้ ูจัดการที่ เ ป็ นผู้รับผิดชอบควบคุม การทางานของพนักงาน หากมี การตรวจพบ ข้ อบกพร่ องที่เป็ นสาระสาคัญ ผู้จัดการจะทาการรายงานต่อผู้บริ หารเพื่อพิจารณาสัง่ การแก้ ไข ภายในระยะเวลาอันควร อีกทังผู ้ ้ บริ หารดูผลการปฏิบตั ิงานจริ งเปรี ยบเทียบกับแผนงานที่ได้ มีการ ประมาณเอาไว้ และหากผลการดาเนินงานกับแผนงานที่ประมาณไว้ มีความแตกต่างกันมาก ทาง ผู้บริ หารจะทาการติดตามหาสาเหตุ และหาแนวทางแก้ ไขปั ญหาที่เกิ ดขึน้ ภายในระยะเวลาที่ เหมาะสม จากการสัม ภาษณ์ และการทาแบบประเมิ น ของผู้จัดการและพนัก งานเกี่ ยวกับการ ควบคุม ภายในของบริ ษั ท พบว่าการควบคุม ภายในของบริ ษั ทมี ประสิท ธิ ภ าพ ครอบคลุม ทุก องค์ประกอบตามแนวคิดการควบคุม ภายในของ COSO และบริ ษัทได้ ปฏิ บัติง านตามหลัก เศรษฐกิ จ พอเพี ยง ซึ่ง จัดตัง้ ขึน้ โดยไม่ไ ด้ มุ่ง หวั ง ผลก าไร ท าให้ บ ริ ษั ท ไม่ไ ด้ รั บ ผลกระทบจาก สถานการณ์ความไม่มนั่ คงทางอาหารที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั ข้ อเสนอแนะกรณีศึกษา บริ ษัทควรแบ่งแยกหน้ าที่และความรับผิดชอบของพนักงานในแต่ละฝ่ ายให้ ชดั เจน ไม่ ควรให้ ตาแหน่งงานที่มีความสาคัญทางานซับซ้ อนกับงานที่เสี่ยงต่อการควบคุ ม เช่น พนักงาน การเงิน และพนักงานบัญชี ไม่ควรเป็ นบุคคลเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตามบริ ษัทได้ มีการควบคุมจาก โตโยต้ า โดยจะมีการส่งเอกสารทางการเงินและบัญชีให้ พนักงานของโตโยต้ า เพื่อตรวจสอบอีกครัง้ หนึ่ง และภายหลังจากการที่บริ ษัทได้ มีการแก้ ไขปั ญหาด้ านการควบคุม ภายในที่ บกพร่ องแล้ ว ควรทาการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการควบคุมภายใน หลังจากที่ได้ รับการแก้ ไข เพื่อนามาปรับปรุงการควบคุมภายในให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น


7 เรื่อง “การควบคุมภายในตามแนว COSO ของบริษัท วุฒชิ ัยโปรดิวส์ จากัด” จากวิกฤตการณ์อาหารที่ทวั่ โลกกาลังประสบอยู่นนั ้ เมื่อมองในระยะยาวแล้ วจะพบว่ามี แนวโน้ มที่จะเป็ นปั ญหาสาคัญ ความต้ องการพืชพลังงาน สินค้ าเกษตรและอาหารมีแนวโน้ มจะ เพิ่มขึ ้นตามการเพิ่มขึ ้นของประชากรโลก แต่ในด้ านอุปทานของการผลิตนันจะลดลงด้ ้ วยข้ อจากัด ด้ านพื ้นที่ เทคโนโลยีที่มีอยู่ และการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ทาให้ ราคาอาหารสูงขึ ้น สาหรับ ประเทศไทยนันหลายคนมองว่ ้ าเป็ นโชคดีและเป็ นโอกาสในการพัฒนาสินค้ าเกษตรและอาหารเพื่อ การส่งออก เพราะอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร และยังเป็ นผู้ผลิตและผู้ส่งออกสินค้ าภาค เกษตรรายใหญ่ของโลก ซึ่งสินค้ าที่ส่งออกและมีคณ ุ ภาพสูงจนเป็ นที่ยอมรับในตลาดโลกก็คงหนี ไม่พ้ น ข้ า ว ที่ มี ก ารส่ง ออกมากเป็ นอัน ดับ ต้ น ๆของโลก แต่ถึ ง แม้ จ ะมี ปั จ จัย ความพร้ อมต่า งๆ มากมาย ประเทศไทยก็ยงั ได้ รับผลกระทบจากวิกฤตดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็ นประชาชนที่ยากจน ชน ชันกลางของประเทศที ้ ่ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร ภาครัฐจึงจาเป็ นต้ องเข้ ามามีบทบาทในการ กาหนดนโยบายเพื่อช่วยเหลือ โครงการรับจานาข้ าวเป็ นนโยบายหนึ่งที่ทางรัฐบายกาหนดขึ ้นเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่ ปลูกข้ าวหรื อที่เรี ยกกันว่าชาวนา โดยรับซื ้อข้ าวในราคาที่สงู กว่าราคาตลาด ทาให้ ชาวนามีรายได้ สูงขึ ้น แต่ผลกระทบทางลบกลับมาอยูท่ ี่ผ้ สู ง่ ออกและผู้บริโภค เพราะราคาข้ าวที่ส่งออกก็สงู ขึ ้นด้ วย ตามไปด้ วย ซึ่งบริ ษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จากัดก็เป็ นหนึ่งในผู้ส่งออกที่ได้ รับผลกระทบ ยอดส่งออก ข้ าวลดลงอย่างต่อเนื่ องในช่วง 3 ปี ที่ ผ่านมา ทาให้ รายได้ และกาไรของบริ ษัทลดลงด้ วย ทาง ผู้บริหารคาดว่าในอนาคตปริมาณการส่งออกข้ าวจะลดลงอีกหากรัฐบาลยังมีการรับจานาข้ าวจาก ชาวนาในราคาที่สงู เช่นนี ้ เนื่องจากประเทศที่รับซื ้อข้ าวจากบริษัท หันไปซื ้อข้ าวจากประเทศคูแ่ ข่งที่ ราคาถูกกว่าแทน ซึ่งผู้บริ หารก็พยายามแก้ ปัญหาและหาทางออกให้ บริ ษัทโดยมีการเข้ าพูดคุยกับ ลูกค้ าถึ ง ปั ญ หาที่ เ กิ ดขึน้ และพยายามหาผู้จัดหาให้ ม ากขึน้ รวมถึ ง การจัด การและระบบการ ควบคุมภายในองค์กรที่ถือเป็ นเรื่ องสาคัญอย่างยิ่ง ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จากัด ในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดี เนื่ องจาก มี การบันทึกข้ อมูล อย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน และเชื่ อถื อได้ มี การกาหนดนโยบายการ ปฏิบตั ิงาน และระเบียบข้ อบังคับให้ พนักงานปฏิบตั ิตามเพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมาย ขององค์กร รวมถึงทางบริ ษัทมีการใช้ ทรัพยากรอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงสุด ทังนี ้ ้ตาม


8 องค์ประกอบของ COSO สามารถแบ่งโครงสร้ างการควบคุมภายในออกได้ เป็ น 5 ด้ าน ได้ แก่ สภาพแวดล้ อมของการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการ สื่อสาร และการประเมินติดตามผล บริ ษัท มี ก ารจัด การสภาพแวดล้ อมของการควบคุม ที่ ดีแ ละมี ประสิ ทธิ ภ าพ โดยทาง ผู้บริ หารของบริ ษัทมีการกาหนดระเบียบ ข้ อบังคับ และจัดทาคูม่ ือการปฏิบตั ิงานเป็ นลายลักษณ์ อักษรชัดเจนเพื่อให้ การดาเนินงานของพนักงานเป็ นไปอย่างราบรื่ น รวมทังมี ้ การจัดการทดสอบ คัดเลือกเพื่อสรรหาบุคคลากรที่มีความเหมาะสมที่สดุ ในตาแหน่งนัน้ และมีการจัดสรรงบประมาณ เพื่ อฝึ กอบรมบุค ลากรอย่างเพี ย งพอ นอกจากนี ย้ ัง มี ก ารจัด ตัง้ คณะผู้ต รวจสอบภายในและผู้ ตรวจสอบอิสระเพื่อประเมินผลการปฏิบตั งิ านและเอกสารของบริ ษัท แต่สาหรับด้ านโครงสร้ างการ จัดองค์กรทางบริ ษัทมีการบริ หารงานแบบรวมอานาจไว้ ที่ผ้ บู ริ หาร จึงอาจส่งผลให้ การบริ หารงาน ล่าช้ า และเกิดข้ อผิดพลาดจากการตัดสินใจที่บคุ คลเดียว บริ ษัทมีการประเมินความเสี่ยงที่ดี โดยแบ่งออกเป็ น 5 ด้ าน ได้ แก่ ด้ านการบริ หาร เป็ น ความเสี่ยงที่เกิดจากการไม่ระบุปัจจัยภายนอกที่ มีผลกระทบต่อการดาเนินงานในอนาคตของ องค์กรให้ ชดั เจนซึ่งเป็ นความเสี่ยงที่ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดต่าและผลกระทบอยู่ในระดับสูง ด้ าน การเงินการบัญชี มีความเสี่ยงที่เกิดจากการที่กรรมการรักษาเงินถื อกุญแจทัง้ หมดเพียงผู้เดียว และมี ความเสี่ ย งที่ เ กิ ดจากการไม่ร ะบุว งเงิ นและผู้มี อ านาจในการลงนามสั่ง จ่ายเช็ ค ซึ่ง อาจ ก่อให้ เกิดการทุจริ ต เป็ นความเสี่ยงที่ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดขึ ้นสูงและผลกระทบอยู่ในระดับสูง ด้ านการจัดซือ้ จัดจ้ าง มีความเสี่ยงที่เกิดจากการเบิกพัสดุออกไปใช้ ในปริ มาณที่มากเกินความ จ าเป็ น ซึ่ง เป็ นความเสี่ ย งที่ ค วามน่าจะเป็ นที่ จ ะเกิ ดขึน้ สูง และผลกระทบอยู่ในระดับ ต่า ด้ า น ทรัพยากรบุคคล มีความเสี่ยงที่เกิดจากการที่พนักงานละเลยการไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของ องค์กร ซึ่งเป็ นความเสี่ยงที่ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดขึ ้นต่าและผลกระทบอยู่ในระดับต่า และด้ าน สารสนเทศ มีความเสี่ยงเกิดจากระบบสารสนเทศล้ มเหลว ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อบริ ษัทในระดับสูง เพราะระบบสารสนเทศเป็ นส่วนสาคัญอย่างหนึง่ ในการดาเนินงาน ซึ่งความเสี่ยงที่ความน่าจะเป็ น ที่จะเกิดขึ ้นต่าและผลกระทบอยูใ่ นระดับสูง โดยรวมแล้ วความเสี่ยงของบริ ษัทอยู่ในระดับที่ยอมรับ ได้ ยกเว้ นด้ านการเงินและการบัญชี ซึง่ บริษัทควรบริหารความเสี่ยงด้ วยวิธีการแบ่งความเสี่ยงด้ วย การหาผู้รับผิดชอบร่วมในความเสี่ยงเพื่อลดการก่อทุจริ ตที่อาจจะเกิดขึ ้น


9 ด้ านกิจกรรมการควบคุม มีการควบคุมภายในที่ดี เนื่องจากมีการกาหนดนโยบายและวิธี ปฏิบตั ิงานที่ชดั เจน มีการสอบทานโดยผู้บริ หารสูงสุด การควบคุมทางกายภาพ การใช้ ดชั นีวดั ผล การดาเนินงานที่สาคัญ ยกเว้ น ด้ านการสอบทานโดยผู้บริ หารระดับสายงาน ซึ่งมีเพียงการสอบ ทานของส่วนงานจัดซื อ้ จัดจ้ าง ด้ านการควบคุมการประมวลผลข้ อมูล บริ ษัทไม่ได้ มีการลงบัญชี หรื อทะเบียนพัสดุในทันทีที่มีการจาหน่ายออก และบริ ษัทมีเพียงการจัดทางบพิสจู น์ยอดเงินอย่าง น้ อยเดือนละครัง้ ด้ านการแบ่งแยกหน้ าที่ยงั มีการทางานซ ้าซ้ อน โดยทางบริ ษัทให้ ผ้ มู ีหน้ าที่ลงนาม ในเช็คเป็ นบุคคลเดียวกับผู้ที่มีหน้ าที่บนั ทึกบัญชีเงินสดและเงินฝากธนาคารและบันทึกรายการ บัญ ชีแยกประเภท ให้ ผ้ ูทาหน้ าที่ จัดซือ้ ทาหน้ าที่ เดียวกับผู้ที่กาหนดความต้ องการหรื อการขอ อนุมตั ิจดั ซื ้อและการรับพัสดุ ให้ ผ้ มู ีหน้ าที่พิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ทาหน้ าที่ลงรายการในสมุด เงินสด รวมถึงเก็บรักษาและรับจ่ายเงินสด และสุดท้ ายด้ านการจัดทาหลักฐานเอกสาร บริ ษัทมี การควบคุมที่ไม่มีประสิทธิภาพเรื่ องบริษัทมิได้ ทาการจัดเก็บใบเสร็จที่ยกเลิกหรื อไม่ได้ ใช้ รวมถึงไม่ จัดทาทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน ด้ านสารสนเทศและการสื่ อสารแบ่งเป็ นส่วนของข้ อมูลข่าวสาร และการสื่อสาร ด้ าน ข้ อมูล ข่าวสารบริ ษัทมี การจัดการข้ อมูลที่ ใช้ ในการดาเนินงาน รวมถึงรายงานทางการเงิ นที่ ดี ครบถ้ วน เพียงพอ และทันเวลา มีการจัดประเภทเป็ นหมวดหมู่ ด้ านการสื่อสาร ทางบริ ษัทมีการ กาหนดให้ ฝ่ายบริหารติดตามผล และตอบข้ อเรี ยกร้ องหรื อข้ อแนะนาของบุคลากรอย่างทัว่ ถึง ผ่าน ทางอีเมล หรื อเอกสารหากเป็ นเรื่ องที่เป็ นทางการ เพื่อประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ด้ านการติดตามและประเมินผล ทางบริ ษัทมีการควบคุมที่ดี มีการประเมินผลการบรรลุ วัต ถุป ระสงค์ก ารดาเนิ นงานของหน่ว ยงานอย่างต่อ เนื่ องและสม่ า เสมอ มี การสื่ อสารผลการ ประเมินให้ บคุ ลากรที่รับผิดชอบทราบและแก้ ไขปรับปรุงการดาเนินงาน มีการทบทวนหรื อปรับปรุง วัตถุประสงค์การ ดาเนินงานแผน และกระบวนการด าเนินงานตามคาร้ องขอของบุคลากรที่ รับผิ ดชอบอีกทัง้ ฝ่ ายบริ หารมีการติดตามผลเพื่อให้ ความมั่นใจว่าการปฏิบตั ิงานของบุคลากร เป็ นไปตามที่กาหนดไว้ จึง สามารถสรุ ปได้ ว่าระบบการควบคุม ภายในตามแนว COSO ของบริ ษัท วุฒิ ชัย โปรดิวส์ จากัด มีประสิทธิภาพในทุกๆด้ าน ภายใต้ วิกฤตการณ์อาหารโลกที่กาลังเกิดขึ ้นในปั จจุบนั


10 ที่ส่งผลกระทบต่อบริ ษัท ทาให้ มีปริ มาณการส่งออกข้ าวน้ อยลง รายได้ และกาไรก็ลดลง แต่เนื่อง ด้ วยบริษัทมีการควบคุมภายในที่ดี ทาให้ บริษัทยังสามารถขับเคลื่อนไปได้ ในอนาคต ข้ อเสนอแนะกรณีศึกษา 1. การบริ หารงานของของบริ ษั ท ควรบริ ห ารงานแบบกระจายอ านาจมากขึน้ เพื่ อ ป้องกันข้ อผิดพลาดจากการให้ บคุ คลเดียวตัดสินใจ 2. บริษัทจัดทางบพิสจู น์ยอดเงินฝากธนาคารเพียงอย่างเดียว ดังนันควรมี ้ การสอบทาน ยอดคงเหลือระหว่างแผนก หรื อทาการสอบทานยอดบัญชีคมุ พร้ อมทังรายละเอี ้ ยดทุกๆ สิ ้นเดือน 3. บริษัทควรมีการลงบัญชีหรื อทะเบียนพัสดุทนั ที เมื่อมีการจาหน่ายพัสดุออกไป 4. บริ ษัทมีการสอบทานระหว่างสายงานน้ อยมาก ควรเพิ่มการสอบทานผลงานจริ งกับ แผนงานหรื อเป้าหมายในด้ านที่ตนรับผิดชอบ รวมถึงสอบทานวิธีการปฏิบตั ิงานจริ งกับระเบียบที่ กาหนด และสอบทานกับสถิตผิ ลงานปฏิบตั ใิ นอดีตในทุกๆ ส่วนงาน 5. บริษัทควรแบ่งแยกหน้ าที่ให้ ชดั เจน ไม่ควรให้ 3 หน้ าที่ตอ่ จากนี ้เป็ นบุคคลคนเดียวกัน หรื อหน่วยงานเดียวกัน ได้ แก่ 1) การอนุมตั ิหรื อให้ ความเห็นชอบ 2) การจดบันทึกข้ อมูล และ 3) การดูแลรักษาทรัพย์สินขององค์การ 6. บริ ษัทควรเก็บใบเสร็ จรับเงินที่ยกเลิกหรื อไม่ใช้ ไว้ เพื่อเป็ นหลักฐานในการตรวจสอบ ตอนสิ ้นงวด 7. บริ ษั ท ควรใช้ ก ลยุท ธ์ ก ารตลาดเชิ ง รุ ก ทัง้ นี ข้ ้ า วไทยได้ รั บ การยอมรั บ ว่า เป็ นข้ า ว คุณภาพดี แต่ต้องเน้ นการทาการตลาดและการสร้ างภาพลักษณ์ รวมถึงการให้ ความรู้และเพิ่มการ บริโภคข้ าวไทยให้ มีความกว้ างขวางมากขึ ้น


11 8. โครงสร้ างการผลิตข้ าวของไทยนันแบ่ ้ งออกเป็ นสองส่วน คือ การผลิตเพื่อส่งออกและ ผลิตข้ าวเพื่อใช้ บริ โภคในครัวเรื อนเมื่อเหลือแล้ วจึงจะขาย รัฐควรแทรกแซงในส่วนที่เป็ นเกษตรกร รายย่อยที่ผลิตข้ าวเพื่อบริ โภคและมีความยากจนสูงเพื่อให้ ชาวนาได้ รับรายได้ ที่สามารถดารงชีพ อยู่ได้ และโรงสีรายย่อยอยู่ได้ ในขณะเดียวกันควรปล่อยให้ ตลาดส่ งออกเป็ นไปตามกลไกตลาด และรักษาคุณภาพของข้ าวเพื่อการส่งออกไว้ 9. ในการรับจานาข้ าวนันควรจะจั ้ ดทาในลักษณะของการ กาหนดมูลค่าหรื อราคาจานา ให้ ต่ากว่าหรื อใกล้ เคียงกับราคาตลาด รวมถึงการจากัดจานวนและวงเงินรับจานาเพื่อสนับสนุน เกษตรกรขนาดเล็ก และไม่เป็ นกลไกสนับสนุนให้ เกษตรกรหันไปปลูกข้ าวคุณภาพต่า เรื่อง “การควบคุมภายในของสหกรณ์ การเกษตร ด้ านธุรกิจรวบรวมผลผลิตสู่การพัฒนา สินค้ าเกษตร และอาหารเพื่อการส่ งออกจากวิกฤตการณ์ อาหารโลก กรณีศึกษา สหกรณ์ การเกษตรบ้ านลาด จากัด” สหกรณ์การเกษตรบ้ านลาด จากัด มีการดาเนินงานธุรกิจรวบรวมผลิตผล คือ ธุรกิจโรงสี ข้ าว และ ธุรกิจการส่งออกกล้ วยหอมทอง ซึ่งสหกรณ์จะรวบรวมหรื อรับซื ้อผลิตผลและผลิตภัณฑ์ การเกษตรของสมาชิก เพื่อนาไปจาหน่ายให้ ได้ ราคาดีรักษาผลประโยชน์ของสมาชิก และยังเป็ น กลไกในการต่อรองราคา รวมทังให้ ้ ความเป็ นธรรมในด้ านการชัง่ ตวงวัดและคัดคุณภาพผลิตผล ของสมาชิกตามที่กาหนดไว้ ในระเบียบของสหกรณ์ จากวิกฤติการอาหารที่เกิดขึ ้นนันส่ ้ งผลกระทบ ต่อสหกรณ์ ในระดับต่า อีกทัง้ สหกรณ์ ยังมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิ ภาพถึงแม้ จะมี วิกฤติอาหารแต่สหกรณ์ก็สามารถที่จะขับเคลื่อนต่อไปได้ ทังยั ้ งถือว่าเป็ นโอกาสสาหรับสหกรณ์ การเกษตรบ้ านลาด จากัด ในการที่จะพัฒนาสินค้ าเกษตรเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออก ที่มากขึ ้นพร้ อมๆ กับความต้ องการอาหารที่เพิ่มมากขึ ้น จากการศึกษาการควบคุมภายในของสหกรณ์ พบว่าสหกรณ์มีการควบคุมภายในที่ดี มี ประสิทธิภาพ เนื่องจากสหกรณ์มีการดาเนินงานการควบคุมภายในครบทุกองค์ประกอบตรงตาม แนวคิด COSO ดังนี ้


12 1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม สหกรณ์ มี การจัดการสภาพแวดล้ อมการควบคุมที่ ดี มี ประสิทธิ ภ าพสูง เนื่ องจาก สหกรณ์ มีการดาเนินงานการควบคุมครบทุกหลักเกณฑ์ คือ ความซื่อสัตย์และจรรณยาบรรณ สหกรณ์ มีข้อกาหนดด้ านจริ ยธรรมและบทลงโทษเป็ นลายลักษณ์อกั ษร การไม่กดดันให้ พนักงาน ต้ อ งปฏิ บัติต ามเป้าหมายที่ สูง เกิ น จริ ง ความรู้ ความสามารถในการปฏิ บัติง าน สหกรณ์ มี ก าร ประเมิ นความรู้ ความช านาญและผลการปฏิ บัติง านอย่างชัดเจน รวมถึง มี การฝึ กอบรมให้ กับ พนักงานทุกระดับ การมีสว่ นร่วมของคณะกรรมการบริ หารและคณะกรรมการตรวจสอบ สหกรณ์ มีการประชุมคณะกรรมการดาเนินการเป็ นประจาทุกเดือน เพื่อรับทราบรายงานข้ อมูลและความ เคลื่อนไหวทางการเงิน ปรัชญาของการบริ หารและรู ปแบบการปฏิบตั ิงาน ผู้บริ หารสหกรณ์ มีการ กาหนดนโยบายและลักษณะงานแต่ละหน้ าที่ไว้ โดยสมบูรณ์และชัดเจนสอดคล้ องกับนโยบายของ สหกรณ์ เพื่ อให้ การปฏิ บัติง านมุ่ง สู่เ ป้ามายเดียวกัน โครงสร้ างการจัดองค์การสหกรณ์ มี การ กาหนดโครงสร้ างที่เหมาะสม มีการแสดงโครงสร้ างองค์กรและแผนภูมิโครงสร้ างให้ พนักงานทุก คนทราบ นโยบายด้ านทรั พยากรมนุษย์ สหกรณ์ มี นโยบายและวิธีปฏิ บตั ิในส่วนที่ เกี่ ยวกับการ คัดเลือก การเลื่อนตาแหน่ง มีการสร้ างแรงจูงใจ รางวัล บทลงโทษและค่าตอบแทน รวมทังมี ้ การ ฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน และวิธีมอบอานาจและความรับผิดชอบสหกรณ์ได้ กาหนดหน้ าที่ ความรับผิดชอบของพนักงานแต่ละหน้ าที่ไว้ อย่างชัดเจนและเหมาะสม ตามที่ได้ กาหนดไว้ ได้ ทา เป็ นลายลักษณ์อักษร ซึ่งสหกรณ์ มีการส่งเสริ มกิจกรรมด้ านสภาพแวดล้ อมของการควบคุมที่ดี และให้ ความสาคัญกับการควบคุมภายในที่ม่งุ ให้ เกิดจิตสานึก ความเชื่อ ความซื่อสัตย์ จริ ยธรรม ความโปร่งใส่ และถือเป็ นฐานที่สาคัญของการควบคุมภายใน 2. การประเมินความเสี่ยง สหกรณ์มีการประเมินความเสี่ยง โดยมีการระบุความเสี่ยง และบริ หารจัดการความ เสี่ ยง ซึ่ง มีความเสี่ ยง 2 ด้ าน ในแต่ละด้ านนัน้ มี ความส าคัญต่อการดาเนินงานของสหกรณ์ ประกอบไปด้ วย ความเสี่ยงด้ านอัตราแลกเปลี่ยน สหกรณ์มีการบริหารความเสี่ยงดังกล่าวด้ วยการ ท าสัญ ญาซื อ้ ขายเงิ น ตราต่า งประเทศเป็ นการล่ว งหน้ า ประกอบกับ การติด ตามภาวการณ์ เปลี่ยนแปลงของค่าเงินอย่างสม่าเสมอ การดาเนินการดังกล่าวช่วยให้ สหกรณ์สามารถควบคุม ความเสี่ยงในด้ านการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนได้ และความเสี่ยงเกี่ ยวกั บการแข่งขันใน


13 ตลาด สหกรณ์มีมาตรการแก้ ไขปั ญหาการซื ้อขายโดยทาสัญญาซื ้อขายโดยตรงกับผู้รับซือ้ เพื่อ ประกันความแน่นอนในการขายผลผลิต และความเสี่ยงจากการประกาศราคากลางรับซื ้ออาจทา ให้ สหกรณ์ อื่นรับรู้ ถึงราคารั บซือ้ ของสหกรณ์ ได้ อาจทาให้ เกิดการแข่งขันทางด้ านราคา ดังนั น้ สหกรณ์มีมาตรการที่จะเปิ ดเผยราคาเฉพาะกับผู้มีสว่ นร่วมกับสหกรณ์เท่านัน้ ซึง่ สหกรณ์มีการระบุ ปั จจัยที่ทาให้ เกิดความเสี่ยง หรื อโอกาสที่ทาให้ เกิดความเสี่ยง และมีการกาหนดวิธีเพื่อลดความ เสี่ยงได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทาการตอบสนองความเสี่ยงเป็ นเรื่ องๆ ไป และวิธี การหลักที่ใช้ ใน การตอบสนองนันมี ้ การใช้ วิธีการตอบสนองความเสี่ยงที่มีมาตรฐาน จึงสรุ ปได้ ว่า สหกรณ์มีการ ประเมินความเสี่ยงที่ดีมีประสิทธิภาพ 3. กิจกรรมการควบคุม สหกรณ์ มี กิ จ กรรมการควบคุ ม ที่ ดี มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง เนื่ อ งจากสหกรณ์ มี ก าร ดาเนินงานการควบคุมครบทุกหลักเกณฑ์ คือ การกาหนดนโยบายและแผนงานโดยมีการกาหนด แผนงานทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว อี ก ทัง้ ยัง ปรั บ ปรุ ง นโยบายและแผนงานให้ ส อดคล้ อ ง สถานการณ์อยู่เสมอ มีการสอบทานโดยผู้บริ หารเพื่อให้ เห็นถึงภาพรวมของการดาเนินงานว่ามี ปั ญหาในด้ านใด แล้ วนามาพิจ ารณาแก้ ไ ขและเตรี ยมรั บสถานการณ์ ในอนาคต ตลอดจนการ ประมวลผลข้ อมูล ซึง่ ต้ องการข้ อมูลที่มีความถูกต้ อง สมบูรณ์ กะทัดรัด มีเนื ้อหาที่เกี่ยวข้ องกับการ ตัดสินใจและทันเวลา ในส่วนการควบคุมทางกายภาพ สหกรณ์มีการจัดเก็บผลิตผลไว้ ในสถานที่ เก็บอย่างเหมาะสมและปลอดภัย มีการตรวจนับหรื อคานวณปริ มาณผลิตผลก่อนเข้ าสถานที่เก็บ และไม่ให้ บุคคลคนเดียวปฏิบัติง านตัง้ แต่ต้นจนจบ เพื่ อป้องกันความเสี่ ยงจากการทุจริ ตของ พนักงาน โดยการแบ่งแยกหน้ าที่ในด้ านดัชนีวดั ผลการดาเนินงาน มีการประเมินผลกับแผนงานแต่ ละแผนกเป็ นประจา ทังยั ้ งจัดทาเอกสารหลักฐาน เพื่ออ้ างอิงและตรวจสอบหรื อเป็ นแนวทางให้ ปฏิบตั ิงานได้ อย่างถูกต้ อง และส่วนสุดท้ ายสหกรณ์ มีตรวจสอบการปฏิบตั ิงานอย่างเป็ นอิสระ เพื่อสะดวกต่อการป้องกันและติดตามค้ นหาสาเหตุของความเสียหายต่างๆ 4. สารสนเทศและการสื่อสาร สหกรณ์ให้ ความสาคัญต่อสารสนเทศและการสื่อสาร โดยกาหนดลักษณะของข้ อมูล ข่าวสารให้ เหมาะสมกับการใช้ โดยบรรจุเนื ้อหาสาระที่จาเป็ นสาหรับการตัดสินใจ ถูกต้ องสมบูรณ์ สะท้ อนผลตามความเป็ นจริ ง มีรายละเอียดครบถ้ วน ทันเวลา สะดวกในการเข้ าถึงสาหรับผู้ที่มี


14 หน้ าที่เกี่ยวข้ องและมีระบบรักษาความปลอดภัยไม่ให้ ผ้ ทู ี่ไม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องเข้ าถึงได้ ซึ่งมีความ จาเป็ นสาหรับการปฏิบตั งิ านของผู้บริหารและพนักงานทุกคน และสหกรณ์ยงั มีการจัดการประเมิน ระบบการสื่อสารขององค์กรอย่างสม่าเสมอจึงสรุปได้ ว่า สหกรณ์มีการจัดการสารสนเทศและการ สื่อสารที่ดีมีประสิทธิภาพ 5. การติดตามและประเมินผล การดาเนินงานของสหกรณ์ ในส่วนของการติดตามและประเมินผลมีกระบวนการใน การจัดการเป็ นไปตามขันตอนถู ้ กต้ อง โดยการติดตามสหกรณ์มีการจัดทารายงานแสดงผลความ คลาดเคลื่อนของการปฏิบตั ิงานเป็ นระยะๆ และติดตามผลการปฏิบตั ิงานอยู่เสมอ เช่น เจ้ าหนี ้ค่า ผลิตผลคงเหลือ สหกรณ์มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยเจ้ าหนี ้ค่าผลิตผลให้ ถูกต้ องตรงกับ บัญชีแยกประเภททัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณีพบข้ อแตกต่างจะค้ นหาสาเหตุ สหกรณ์มีการตรวจ ทุกวัน และนาเสนอคณะกรรมการทุกเดือน ส่วนการประเมินผล สหกรณ์มีการกาหนดผู้รับผิดชอบ โดยมีหน้ าที่จดั ทาคาชี ้แจงให้ เห็นถึงความแตกต่างระหว่างผลงานจริงกับประมาณการ พร้ อมทังหา ้ ความแตกต่างและแนวทางแก้ ไข เพื่อความมีประสิทธิ ภาพของสหกรณ์ ซึ่งถื อว่ามีการควบคุม ภายในอยูใ่ นระดับที่ดีมีประสิทธิภาพ ข้ อเสนอแนะกรณีศึกษา จากการศึกษาทาให้ ทราบได้ ว่าการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO เป็ นเรื่ องที่ได้ รับ ความสาคัญมากในแต่ละองค์กร เพราะองค์กรหวังจะพึ่งให้ การควบคุมภายในช่วยเสริ ม สร้ าง การกากับดูแลที่ดีให้ เกิดประสิ ทธิ ภ าพและประสิทธิ ผล โดยคณะผู้จัดทาขอเสนอแนะแนวทาง ในการศึกษาดังนี ้ การควบคุมภายในแต่ละหน่วยงานไม่เหมือนกัน เพราะฉะนันในการศึ ้ กษาครัง้ ต่อไปอาจศึกษาในธุ รกิ จอื่ นนอกเหนื อจากธุรกิจรู ปแบบสหกรณ์ เช่น บริ ษัทจ ากัด รั ฐวิสาหกิ จ เป็ นต้ น และนอกจากจะศึกษาด้ านธุรกิจรวบรวมผลิตผลแล้ ว ควรศึกษาเพิ่มเติมในเรื่ องของการ ควบคุม ภายในของสหกรณ์ การเกษตรแต่ล ะประเภท เช่น ธุ รกิ จ สินเชื่ อ ธุ รกิ จ จัดหาสิน ค้ ามา จาหน่าย ธุรกิจรับฝาก เป็ นต้ น เพื่อศึกษาถึงปั ญหาและแนวทางแก้ ปัญหาของสหกรณ์การเกษตร แต่ละประเภท ซึ่งจะได้ มีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับการควบคุมภายในมากยิ่งขึ ้น อีกทังสามารถ ้ นามาเป็ นแนวทางในการทาธุรกิจที่มีประสิทธิภาพได้


15 เรื่อง “การควบคุมภายในกระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ ไรส์ กรณีศึกษา สหกรณ์ โคนมบ้ านบึง จากัด” สหกรณ์ โ คนมบ้ า นบึง จ ากัด ได้ ปฏิ บัติตาม กฎระเบีย บ ข้ อบัง คับ และนโยบายของ สหกรณ์ โดยต้ อ งแสดงข้ อ มูล แต่ล ะองค์ ป ระกอบของการควบคุม ภายใน ประกอบด้ ว ย 1) สภาพแวดล้ อมของการควบคุม 2) การประเมินความเสี่ยง 3) กิจกรรมการควบคุม 4) สารสนเทศ และการสื่อสาร และ5) การติดตามประเมินผล รวมทังจุ ้ ดอ่อนของระบบการควบคุมภายในพร้ อม ข้ อเสนอแนะและแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน การควบคุมภายในด้ านสภาพแวดล้ อมการควบคุมของสหกรณ์โคนมบ้ านบึง จากัด มี ความเหมาะสมเพียงพอ มีการจัดโครงสร้ างและสายการบังคับบัญชาที่ชดั เจน จัดโครงสร้ างองค์กร แบบกระจายอานาจ มอบหมายอานาจหน้ าที่และความรับผิดชอบให้ กบั บุคลากรตรงตามตาแหน่ง งาน โดยแบ่ง แยกหน้ า ที่ แ ละลัก ษณะการด าเนิ น งานอย่ า งชัด เจน มี ก ารจัด ท าขัน้ ตอนการ ปฏิ บัติง านขึน้ อย่างเป็ นลายลักษณ์ อัก ษร การพัฒ นาความรู้ ความสามารถของบุคลากรและ ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน โดยจะพิจารณาถึงความซื่อสัตย์และจริ ยธรรม และสิ่งที่สหกรณ์ไม่มีนนั่ ก็คือการจัดฝึ กอบรมพนักงานใหม่ ซึ่งทางสหกรณ์ ควรจะมีการอบรมเตรี ยมความพร้ อมสาหรับ พนักงานใหม่เกี่ยวกับขันตอนการท ้ างานและอานาจหน้ าที่ของแต่ละฝ่ าย การควบคุมภายในด้ านการประเมินความเสี่ยง สหกรณ์มีการระบุปัจจัยความเสี่ยงไว้ 3 เรื่ อง คือ 1) ความผันผวนของราคานม 2) งบประมาณค่าใช้ จ่ายของสหกรณ์ 3) การเกิดความ ผิดพลาดของเครื่ องจักร ซึ่งสหกรณ์ได้ มีการวิเคราะห์ระดับความเสี่ยงของทัง้ 3 ปั จจัย ซึ่งความ เสี่ ยงทัง้ หมดอยู่ในเกณฑ์ ที่ยอมรับได้ และสหกรณ์ ก็ไ ม่มีการรองรั บและแก้ ไ ขความเสี่ยงที่ อาจ เกิดขึ ้น ทาให้ การประเมินความเสี่ยงของสหกรณ์เป็ นสิ่งที่เหมาะสม แต่ถึงแม้ ว่าสหกรณ์จะมีการ ประเมินความเสี่ยงเพื่อเป็ นการควบคุมภายในของการปฏิบตั ิงานกระบวนการผลิต แต่ก็ยงั คงมี ความเสี่ยงที่ยงั คงเหลืออยูใ่ นเรื่ องของกระบวนการรับน ้านมดิบ ซึ่งปริ มาณและคุณภาพของน ้านม ดิบในแต่ละวันไม่เท่ากัน สหกรณ์จึงควรสนใจปั ญหาที่เกิดขึ ้นนี ้และเตรี ยมรับมือกับความเสี่ยงใน การรับน ้านมดิบให้ เพียงพอ เพื่อจะไม่เป็ นปั ญหาร้ ายแรงต่อการดาเนินงานในอนาคตได้ การควบคุมภายในด้ านกิจกรรมการควบคุม มีกิจกรรมการควบคุมที่เหมาะสมเพียงพอ และ มีประสิทธิภาพ โดยมีการกระจายอานาจ กาหนดวิธีการปฏิบตั ิงานและการควบคุมในแต่ละ


16 ขันตอน ้ มีการแบ่งแยกหน้ าที่อย่างชัดเจน มีการป้องกันและดูแลรักษาทรัพย์สินอย่างรัดกุมและ เพียงพอ การจัดทาหลักฐานเอกสารสามารถตรวจสอบได้ แต่สหกรณ์ยงั มีส่วนที่ให้ ความสนใจไม่ เพียงพอนัน่ ก็คือการวัดผล ซึง่ สหกรณ์จะมีการวัดผลเพียงครัง้ เดียวจากงบการเงินเมื่อสิ ้นปี ซึ่งอาจ ทาให้ เกิดปั ญหาที่แก้ ไขได้ ยาก จึงควรที่จะมีการวัดผลเพิ่มเป็ นปี ละ 2 ครัง้ เพื่อให้ สหกรณ์สามารถ ควบคุมและป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นได้ และถึงแม้ ว่าสหกรณ์จะไม่มีการตรวจสอบภายใน ซึ่งเป็ นการผิดจากหลัก การควบคุมภายในที่ดี แต่สหกรณ์จะมีการตรวจสอบอย่างเคร่ งครัดจาก กรมตรวจบัญชีส หกรณ์ และยัง มีการสอบทานจากผู้บริ หารซึ่ง จะเป็ นการสุ่มตรวจการควบคุม ภายใน รวมถึงการปฏิบตั งิ านของพนักงาน จึงถือว่าเป็ นการทดแทนกันได้ และไม่เป็ นผลกระทบต่อ กับกิจกรรมการควบคุมของสหกรณ์ เป็ นสิ่งที่สามารถยอมรับได้ การควบคุมด้ านสารสนเทศและการสื่อสาร สหกรณ์มีการใช้ สารสนเทศในการสื่อสารกับ พนักงานทุกคนโดยการติดบอร์ ดประชาสัมพันธ์ข่าวต่างๆให้ ทุกคนได้ รับรู้ โ ดยทัว่ กัน โดยพนักงาน สามารถแสดงความคิด เห็ นหรื อข้ อเสนอแนะด้ วยการเขี ยนใส่กล่องแสดงความคิด เห็ นที่ ทาง สหกรณ์เตรี ยมไว้ และการสื่อสารกับผู้บริ หารจะใช้ การส่งอีเมล์เพื่อเป็ นการรับส่งข้ อมูลที่สามารถ โต้ ตอบกันได้ และรวดเร็วทันเวลา แต่สหกรณ์ต้องปรับปรุงในด้ านการสื่อสารของฝ่ ายผลิตเนื่องจาก ในแต่ละแผนกย่อยจะมีการสื่อสารโดยปากเปล่า ไม่มีการเขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ซึ่งอาจจะ รวดเร็วกว่าก็จริงแต่ก็ควรที่จะป้องกันความผิดพลาดโดยเขียนข้ อความไว้ ที่บอร์ ดด้ วย เพื่อเพิ่มการ มีประสิทธิภาพในการสื่อสารมากยิ่งขึ ้น การควบคุมภายในด้ านการติดตามประเมินผล มีการติดตามผลในระหว่างปฏิบตั ิงาน และการตรวจสอบการปฏิบตั ิตามระบบการควบคุมภายอย่างสม่าเสมอโดยเฉพาะแผนกผลิตจะมี การติดตามเป็ นพิเศษ เนื่องจากต้ องมีการวิจยั คุณภาพน ้านมดิบที่รับมาและเมื่อพาสเจอร์ ไรส์แล้ ว ก็ต้องนามาวิจยั หาคุณภาพนมอีกครัง้ เพื่อตรวจสอบว่า นมที่พาสเจอร์ ไรส์แล้ วมีประโยชน์ตามที่ กาหนดไว้ หรื อไม่ และ ในฝ่ ายอื่นๆจะมีการติดตามประเมินผลการบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร เป็ นระยะ โดยการประเมินการควบคุมด้ วยตนเอง ประเมินจากหัวหน้ าประเมินลูกน้ อง และการ ประเมินการควบคุมอย่างเป็ นอิสระ อย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ สภาพและปั ญหาการดาเนินงานรวมทังวิ ้ ธีการแก้ ปัญหาการควบคุมภายในของสหกรณ์ โคนมบ้ านบึง จากัด ในการดาเนินงานมีปัญหาในแผนกรับน ้านมดิบ คือ ปริ มาณและคุณภาพของ


17 น ้านมดิบที่รับในแต่ละวันมีไม่เท่ากัน ทาให้ สินค้ าสาเร็ จรู ปในแต่ละวันไม่เท่ากัน มีการแก้ ปัญหา คือ สหกรณ์ควรที่จะมี การกาหนดระดับน ้านมดิบที่จะนาไปแปรรู ปในแต่ละวันให้ เท่ากัน เพื่อที่จะ ผลิตสินค้ าออกมาจาหน่ายให้ เพียงพอต่อความต้ องการของผู้บริ โภค และติดต่อกับเกษตรกรผู้ เลี ้ยงโคนม ในพื ้นที่ตา่ งๆให้ มากขึ ้นเพื่อป้องกันความเสี่ยงกรณีที่มีน ้านมดิบจากสมาชิกสหกรณ์ไม่ เพียงพอ วิกฤตการณ์อาหารที่เกิดขึ ้นทาให้ เกษตรกรผู้เลี ้ยงโคนมลดน้ อยลง สาเหตุมาจากสภาวะ เศรษฐกิจในปั จจุบนั จึงทาให้ ปริ มาณน ้านมดิบที่สหกรณ์ได้ รับมีจานวนลดน้ อยลง อย่างไรก็ตาม วิกฤตการณ์อาหารที่เกิดขึ ้นไม่ได้ ส่งผลกระทบต่อสหกรณ์มากนัก จากการศึกษาพบว่าสหกรณ์มี การควบคุมภายในที่ดีและมีประสิทธิภาพตามทฤษฎีการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO ทาให้ วิเคราะห์ได้ ว่าสหกรณ์ จะจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให้ เพียงพอต่อความต้ องการของตลาดได้ และ คาดว่าในอนาคตสหกรณ์จะมีการเจริญเติบโตมากขึ ้นและเป็ นที่ร้ ูจกั ของเกษตรกรผู้เลี ้ยงโคนมเป็ น อย่างมาก ทาให้ สหกรณ์สามารถขับเคลื่อนธุรกิจนมพาสเจอร์ ไรส์เพื่อให้ แข่งขันกับตลาดโลกได้ ข้ อเสนอแนะกรณีศึกษา 1. การควบคุม ภายในของสหกรณ์ มี หลายแห่ง ควรจะศึกษาสหกรณ์ อื่นให้ ครบถ้ วน เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจการควบคุมภายในของสหกรณ์อื่นๆ ด้ วย 2. ศึก ษาเปรี ย บเที ย บระหว่า งหน่ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน เกี่ ย วกับ การจัด ระบบ การควบคุมภายในว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เรื่อง “การศึกษาระบบการควบคุมภายในด้ านการเงินและบัญชี กรณีศึกษา บริษัท บัณฑิตพิบูลย์ ทอง จากัด” ผลการศึกษาระบบการควบคุมภายในด้ านการเงินและบัญชีของ บริ ษัท บัณฑิตพิบูลย์ ทอง จากัด สามารถสรุปตามองค์ประกอบการควบคุมภายในด้ านบัญชีและการเงิน 16 ประการ ที่ ใช้ เป็ นกรอบในการศึกษาครัง้ นี ้


18 บริ ษั ท บัณ ฑิ ต พิ บูล ย์ ท อง จ ากัด มี ก ารควบคุม ภายในด้ า นบัญ ชี แ ละการเงิ น ตาม องค์ประกอบได้ แก่ บริ ษัทจัดให้ มีการฝึ กอบรมพนักงานเพื่ อพัฒนาทักษะของตนเอง แบ่ง แยก หน้ าที่งานของแต่ละฝ่ ายไว้ อย่างชัดเจนเพื่อจะได้ ไม่มีการก้ าวก่ายงานซึ่งกันและกัน บริ ษัทได้ จดั ให้ มีหวั หน้ างานเพื่อดูแลกิจกรรมของแต่ละฝ่ ายที่ตนดูแลอยู่ให้ เป็ นไปในทิศทางที่เดียวกัน บริ ษัทจัด ให้ มี การหมุนเวี ยนเปลี่ยนงานเพื่ อไม่ให้ พ นักงานรู้ สึกจาเจ เบื่อหน่ายกับหน้ าที่ งานของตนเอง บริษัทจัดทาผังบัญชีเพื่อให้ ง่ายต่อการบันทึกข้ อมูล บริ ษัทมีการทาตามระบบบัญชีคเู่ พื่อให้ ง่ายต่อ การยืนยันยอด บริ ษัทจัดให้ มีผ้ ดู แู ลทรัพย์มอบหมายอานาจหน้ าที่อย่างชัดเจน บริ ษัทได้ รันเลขที่ เอกสารไว้ ลว่ งหน้ าเพื่อให้ ง่ายต่อการใช้ งาน บริ ษัทมีการควบคุมทางด้ านการบันทึกบัญชีเป็ นอย่าง ดีเ พื่ อ ลดข้ อ ผิ ด พลาดที่ อ าจเกิ ด ขึน้ ได้ บริ ษั ท มี ก ารตรวจสอบภายในเพื่ อ ตรวจสอบกลไกการ ปฏิบตั งิ าน และยังจัดให้ มีคณะอนุกรรมการตรวจสอบเพื่อตรวจสอบความถูกต้ องของการดาเนินก็ ยังมีข้อบกพร่องด้ านการความคุมภายในบางด้ านได้ แก่ บริ ษัทไม่ได้ แบ่งแยกหน้ าที่พนักงานบัญชี ออกจากพนัก งานการเงิ น การกระท าเช่ น นี อ้ าจเกิ ด การทุจ ริ ต ขึ น้ ได้ บริ ษั ท ยัง ขาดคู่มื อ การ ปฏิบตั ิงานที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรที่ชดั เจออาจทาให้ พนักงานเกิดการขัดแย้ งกันได้ เนื่องจากการ ก้ าวก่ายงานกัน เอกสารของบริ ษัทก็ไม่ได้ ออกแบบให้ ใช้ ไ ด้ หลายวัตถุประสงค์ทาให้ ยากต่อการ จัดเก็บและอาจทาให้ มีต้นทุนในการจัดเก็บที่สงู ขึ ้น วิ ธี ก ารแก้ ไขที่ บ ริ ษั ท ต้ อ งท าคื อ ควรแบ่ ง แยกหน้ าที่ ง านให้ ชัด เจน จัด ท าคู่มื อ การ ปฏิบตั ิงานที่เป็ นลายลักษณ์อักษร ควรแบ่งพนักงานการเงินออกจากพนักงานบัญชีจะได้ ไม่เกิด การทุจริต และด้ วยวิกฤตการณ์การขาดแคลนน ้าดื่มที่กาลังเกิดขึ ้นในอุตสาหกรรมน ้าดื่มในขณะนี ้ นอกจากส่ง ผลต่อ บริ ษั ท แล้ ว และรวมกับ การควบคุม ภายในด้ า นการเงิ น และบัญ ชี ที่ ยัง ไม่มี ประสิทธิภาพเท่าที่ควรอาจทาให้ บริษัทเกิดปั ญหาในภายหน้ าได้ ข้ อเสนอแนะกรณีศึกษา จากการศึกษาระบบการควบคุมภายในด้ านการเงินและบัญชีของ บริ ษัท บัณฑิตพิบลู ย์ ทอง จากัด มีข้อเสนอแนะดังนี ้ 1. ด้ านการแบ่งแยกหน้ าที่ บริ ษัทควรแบ่งแยกหน้ าที่ด้านการปฏิบตั ิงานบันทึกข้ อมูล และการดูแลทรัพย์สินออกจากกัน มิเช่นนันอาจก่ ้ อให้ เกิดการทุจริ ต หรื อบกพร่องต่อหน้ าที่ ควรมี การแบ่งแยกหน้ าที่ตา่ งๆ ออกจากกันให้ ชดั เจน เพื่อเป็ นการตรวจสอบสองฝ่ ายในการทางาน


19 2. ด้ านการจัดทาคูม่ ือปฏิบตั งิ าน บริ ษัทควรปรับปรุงให้ มีการทาคูม่ ือการปฏิบตั ิงานเป็ น ลายลักษณ์อกั ษรและให้ พนักงานมีการปฏิบตั งิ านตามคูม่ ือ 3. ด้ านการใช้ แบบฟอร์ ม และเอกสาร บริ ษั ทควรมี การวางระบบเอกสารที่ กะทัดรั ด สะดวกในการกรอกข้ อมูล และได้ ข้อมูลที่ครบถ้ วน เป็ นสิ่งจาเป็ นสาหรับการควบคุมภายในที่ดี ระบบเอกสารที่ดีควรมีลักษณะคือ ควรมีเลขเรี ยงในเอกสารตามลาดับ เพื่อจะได้ ใช้ ลาดับของ ตัวเลข เป็ นตัวควบคุมว่าเอกสารฉบับใดสูญหายบ้ าง นอกจากนี ้ยังใช้ เป็ นรหัสอ้ างอิงถึงวันที่ที่ออก ได้ โดยประมาณ หรื ออาจจะบ่งบอกถึงสถานที่ออกเช่นนี ้เป็ นต้ น และเอกสารนันต้ ้ องจัดทาทันทีที่ เกิดรายการ หรื อภายในโอกาสแรกที่สามารถทาได้ ยิ่งระยะเวลาการจัดเตรี ยมเอกสารห่างจาก เวลาที่เ กิดรายการก็ยิ่ งทาให้ เอกสารนัน้ ขาดความน่าเชื่อถื อหรื อขาดความถูกต้ องลงไป และมี ความชัดเจนและง่ายพอที่ผ้ ใู ช้ เอกสารนันจะท ้ าความเข้ าใจได้ ไม่ยาก และการออกแบบควรมีความ คล่องตัวที่จะใช้ ได้ หลายวัตถุประสงค์เพื่อลดประเภทของเอกสารให้ น้อยลงและเป็ นการลดเวลาใน การเตรี ยมเอกสารด้ วย 4. ด้ านการมอบอานาจสัง่ การ บริ ษัทควรกาหนดให้ หวั หน้ าระดับต่างๆ มีอานาจในการ สั่ง การ การอานวยงาน เพื่ อป้องกันการก้ าวก่ายหน้ าที่ ง าน เพื่อให้ การดาเนินงานนัน้ มี ประสิทธิภาพไม่ว่าการมอบหน้ าที่เป็ นไปในลักษณะใดก็ตาม ประเด็นสาคัญที่สดุ ก็คือ ต้ องการให้ กาหนดไว้ เป็ นหลักเกณฑ์ แน่นอนและชัดเจนในเรื่ องวิธีการมอบอานาจและหน้ าที่ วิธีการควบคุม ทางการบริ หาร ดังนันจึ ้ งควรกระทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร การมอบอานาจหน้ าที่ที่เด่นชัดนี ้เป็ น กลไกที่สาคัญยิ่งอันหนึง่ ในระบบการควบคุมภายใน 5. ด้ านการควบคุมทางการบัญชี รายการค้ าทังหมดที ้ ่เกิดขึ ้นบริ ษัท ควรจะนาเข้ าบันทึก ในเอกสารแต่ละชนิดให้ ถกู ต้ อง จะต้ องผ่านบัญชีทงชื ั ้ ่อบัญชีและจานวนที่ถูกต้ อง ขอบเขตความ รับผิดชอบในการบันทึกรายการทังหมดอยู ้ ่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานบัญชี เพื่อตรวจสอบ ยืนยันซึง่ กันและกันจาเป็ นต้ องมีผ้ รู ับรู้มากกว่าหนึง่ คนขึ ้นไป บัญชีจะให้ ข้อมูลอย่างพอเพียงเพื่อใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ในการรายงาน เพื่อควบคุมการบริ หารงาน วิธีการทางบัญชีใช้ การทาการ ตรวจสอบยืนยันเป็ นการป้องกันความผิดพลาดในด้ านงานบัญชี


20 6. ด้ านการตรวจสอบภายใน บริ ษัทควรจัดให้ มีการตรวจสอบภายในเกิดขึ ้นเพื่อทาการ ตรวจสอบหรื อตรวจทานกลไกองค์ ประกอบการควบคุมที่กาหนดไว้ ว่าได้ มีการปฏิบตั ิตามระบบที่ วางไว้ และควรจัดให้ มีการทารายงานที่จาเป็ นเป็ นประจา คืออาจจะให้ รายงานเป็ นระยะเวลา 7 วันหรื อ 1 เดือนครัง้ และสะสมรวมเป็ นประจาปี ซึ่งรายงานต่างๆ ที่เป็ นประโยชน์ตอ่ การควบคุม ภายใน เช่น การวิเคราะห์ยอดขาย การวิเคราะห์งบการขาย การหมุนเวียนสินค้ า เงินที่รับและนา ฝากธนาคารเป็ นสัปดาห์ เป็ นเดือน หรื อเป็ นวัน รายงานการจ่ายเงิน การวิเคราะห์บญ ั ชีลกู หนี ้ โดยเฉพาะในรายการที่ชาระคืนยาก การรายงานการตรวจบัญชีภายใน รายงานผลที่ทาไปแล้ ว และความผิดพลาดที่เกิดขึ ้นและที่ได้ ค้นพบ เรื่อง “การบริหารความเสี่ยงของอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่ แข็ง กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ อาหาร จากัด(มหาชน)” จากการศึ ก ษาเรื่ อ ง การบริ ห ารความเสี่ ย งของอุ ต สาหกรรมอาหารทะเลแช่ แ ข็ ง กรณี ศึกษา บริ ษัทเจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) โดยการนาผลการศึกษาการบริ หาร ความเสี่ ยง เพื่ อให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ในการศึกษาการบริ หารความเสี่ยงของบริ ษัท ซึ่ง มี วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการดาเนินงานการค้ าระหว่างประเทศ ศึกษาปั จจัยความเสี่ยงและการ บริ หารความเสี่ยง และแนวทางการจัดการวิกฤตการณ์ทางอาหาร ซึ่งสามารถสรุ ปผลการศึกษา และวิเคราะห์ได้ ดงั นี ้ การค้ าระหว่ างประเทศ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ จากัด (มหาชน) ได้ มีการจัดตังบริ ้ ษัทย่อยในต่างประเทศ สาหรับ ธุรกิจประเภทสัตว์น ้า เพื่อทาการผลิตสินค้ าและจัดจาหน่ายภายในประเทศนันซึ ้ ่งประกอบไปด้ วย ประเทศสาธารณรั ฐประชาชนจี น ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ประเทศสหรั ฐอเมริ กา เนื่องจากในแต่ละประเทศมีความนิยมในผลิตภัณฑ์แตกต่างกัน และการที่บริ ษัทเข้ าไปทาการ ลงทุนในต่างประเทศนัน้ จะทาให้ บริษัทสามารถผลิตสินค้ าที่ตอบสนองความต้ องการของผู้บริ โภค ภายในประเทศนันได้ ้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความได้ เปรี ยบทางด้ านปั จจัยการผลิต ซึ่งส่งผล ให้ เป็ นการประหยัดต้ นทุนในการขนส่งวัตถุดิบ


21 การบริหารความเสี่ยง สรุปผลการศึกษาการบริหารความเสี่ยง ในแต่ละองค์ประกอบ พบว่า 1. การกาหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) ในการกาหนดวัตถุประสงค์ของการบริ หารความเสี่ยงจะต้ องคานึงถึงหลัก SMART ซึ่งวัตถุประสงค์ของบริ ษัทคือ คงความเป็ นผู้นาในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารแบบครบ วงจร บริ ษัทมี ความมุ่ง มั่นในการผลิต อาหารที่ มี คุณภาพ มี คุณค่าทางโภชนาการ สะอาดถูก สุขอนามัย และปลอดภัย สู่ผ้ ู บริ โภค ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ซึ่ง วัตถุประสงค์ดงั กล่าวมี ความ เป็ นไปได้ และชัดเจน (Specific) ซึ่งผู้ปฏิ บตั ิสามารถเข้ าใจความหมายและปฏิบัติได้ จริ งและ เป็ นไปในแนวทางเดียวกัน บริ ษัทเป็ นผู้นาในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมอาหารแบบครบวงจร ซึ่ง สามารถวัดผลได้ (Measurable) และวัตถุประสงค์ดงั กล่าว ผู้ปฏิบตั ิงานสามารถนาไปปฏิบตั ิได้ (Achievable) เนื่ อ งจากวัต ถุป ระสงค์ ไม่ สูง เกิ น กว่ า ความสามารถของผู้ป ฏิ บัติ ง าน มี ค วาม สมเหตุ ส มผล (Reasonable) สามารถปฏิ บั ติ ไ ด้ จริ งภายในระยะเวลาที่ ก าหนด (Time Constrained) 2. การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) เป็ นการระบุความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการดาเนินงานขององค์กร ประกอบด้ วย ความเสี่ยง ด้ านโครงสร้ างการกากับดูแลกิจการ คือบริษัทมีความเสี่ยงด้ านภาพลักษณ์องค์กร ความเสี่ยงด้ าน กลยุทธ์ บริ ษัทมีความเสี่ยงในเรื่ องของความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม การ ลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ประสิทธิภาพในการจัดการด้ านห่วงโซ่อปุ ทาน ความผัน ผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและ ราคาเนื ้อสัตว์ และความเสี่ยงด้ านกฎหมายและระเบียบทางการค้ า ความเสี่ยงด้ านตลาด บริ ษัทมี ความเสี่ยงด้ านการเงินและรายงานทางการเงิน คือความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ และความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย และความเสี่ยงด้ านปฏิบตั ิการ ซึ่งบริ ษัทไม่ได้ กาหนดความเสี่ยงจากการทุจริ ต ความเสี่ ยงด้ านบุคลากร ความเสี่ ยงด้ านความปลอดภัยของ ทรัพย์สินไว้ เว้ น แต่ความเสี่ยงจากลูกค้ า ผลิตภัณฑ์ และวิธีปฏิบตั ิในการดาเนินธุรกิจ บริ ษัทมี


22 ความเสี่ยงในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค ความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า การ เกิดโรคระบาดในสัตว์ และบริษัทไม่ได้ มีการระบุความเสี่ยงด้ านเครดิตและด้ านสภาพคล่อง 3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ในหลักการประเมินความเสี่ยง ได้ พิจารณาจากความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดจาก เหตุการณ์ต่างๆ ว่ามีมากน้ อยเพียงใด โดยจัดระดับความรุ นแรงและผลกระทบ เป็ น 5 ระดับ คือ ความเสี่ยงในระดับที่สงู มาก ระดับสูง ระดับปานกลาง ระดับที่ต่า ต่ามาก โดยบริ ษัทมีเพียงความ สูงที่อยู่ในระดับสูงและปานกลางเท่านัน้ ซึ่งในระดับสูง ได้ แก่ ความเสี่ยงด้ านภาพลักษณ์องค์กร ความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม ประสิทธิภาพในการบริ หารจัดการด้ านห่วงโซ่ อุปทาน การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการ ผลิตอาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและสินค้ าเนื ้อสัตว์ ความเสี่ยงด้ านกฎหมาย และระเบียบทางการค้ า ความผันผวนของการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ความผันผวนของ อัตราดอกเบี ้ย และการเกิดโรคระบาดต่างๆในสัตว์ และความเสี่ยงที่อยู่ในระดับปานกลาง ได้ แก่ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค และความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า 4. การจัดการความเสี่ยง (Risk Treatment) การหลี กเลี่ยง เป็ นความเสี่ยงที่ สูง เกิ นไปไม่สามารถรับความเสี่ ยงที่เกิดขึน้ ได้ ซึ่ง บริษัทไม่มีเหตุการณ์ความเสี่ยงที่อยู่ในระดับนี ้ การป้องกันภัย ประกอบด้ วย การป้องกันก่อนที่จะ เกิดขึน้ บริ ษัทใช้ วิธีนีจ้ ัดการกับ ความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม การเกิดโรค ระบาดต่างๆในสัตว์ ประสิทธิภาพในการบริ หารจัดการด้ านห่วงโซ่อปุ ทาน ความผันผวนของราคา วัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตอาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิต และสินค้ าเนื ้อสัตว์ ความ เสี่ยงด้ านกฎหมายและระเบียบทางการค้ า ความเสี่ยงด้ านภาพลักษณ์องค์กร เนื่องจากเป็ นความ เสี่ยงที่อยูใ่ นระดับสูง และการทาให้ ความสูญเสียน้ อยที่สดุ เท่าที่ทาได้ บริ ษัทควรใช้ วิธีนี ้จัดการกับ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค ความปลอดภัยและคุ ณภาพของสินค้ า เนื่องจากเป็ น ความเสี่ยงที่อยู่ในระดับปานกลาง การเลือกที่จะรับความเสี่ยงไว้ เอง แบ่งเป็ น การรับความเสี่ยง แบบรู้ ตวั การรับความเสี่ยงโดยไม่ร้ ู ตวั แต่บริ ษัทไม่มีความจาเป็ นต้ องใช้ วิธีนี ้หรื อใช้ วิธีนี ้น้ อยที่สุด ในการจัดการความเสี่ยง การถ่ายโอนความเสี่ยงไปให้ บุคคลผ่านทางสัญญา บริ ษัทควรใช้ วิธีนี ้


23 จัดการกับ การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย เนื่องจากเป็ นความเสี่ยงที่อยู่ในระดับสูงเกินกว่าจะ รับความเสี่ยงนันไว้ ้ เอง 5. การติดตามและการรายงาน (Monitoring Evaluating and Reporting) บริ ษัทมีการติดตามผลและการรายงานโดยจัดให้ มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ซึ่งได้ ข้อสรุ ปดังนี ้ ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทมีความเหมาะสมและเพียงพอต่อธุรกิจของ บริ ษัท รวมทังมี ้ ประสิทธิ ผลเพียงพอที่จะช่วยลดความเสี่ ยงทางธุรกิจ และป้องกันทรัพย์สินของ บริษัท จากการที่ผ้ บู ริหารนาไปใช้ โดยมิชอบ หรื อโดยไม่มีอานาจ วิกฤตการณ์ อาหารโลก อุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง ได้ รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์อาหารอยู่ในระดับต่า เนื่องจากประเทศไทยมีลกั ษณะภูมิประเทศที่อดุ มไปด้ วยทรัพยากรธรรมชาติ และบริ ษัท เจริ ญโภค ภัณฑ์อาหาร จากัด เป็ นผู้นาของอุตสาหกรรมอาหารในประเทศ ประกอบกับบริ ษัท มีการบริ หาร ความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพสูง ดังนันปั ้ ญหาวิกฤตการณ์อาหารโลกไม่ส่งผลกระทบต่อการบริ หาร ความเสี่ยงของบริษัท แนวทางการพัฒนาอย่ างยั่งยืน แนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของ มีนโยบายในการดาเนินธุรกิจในลักษณะที่เป็ นมิตร ต่อสิ่งแวดล้ อม และไม่สง่ ผลกระทบต่อชุมชน มีการจัดการทรัพยากรการผลิตอย่างยัง่ ยืน เพื่อสร้ าง ความมัน่ คงทางด้ านอาหาร โดยกระบวนการผลิตในแต่ละขันตอนนั ้ น้ บริ ษัททาการผลิตที่เป็ นไป ตามมาตรฐาน ISO 18001 อีกทังบริ ้ ษัทได้ มีการปลูกฝั งให้ บุคลากรในองค์กรทังในประเทศและ ้ ต่างประเทศให้ ความสาคัญต่อการรับผิดชอบต่อสังคม โดยยึดหลักปรัชญา 3 ประโยชน์ ที่ม่งุ เน้ น การทาธุรกิจที่เป็ นประโยชน์ตอ่ ประเทศ ต่อประชาชน และต่อบริ ษัท โดยเน้ นให้ บคุ ลากรทุกคนรู้จกั ตอบแทนคุณแผ่นดิน


24 ข้ อเสนอแนะกรณีศึกษา 1. บริ ษัทควรทาการติดสัญญาณเตือนภัยต่างๆ การทาประกันภัยโรงงาน หรื อก่อนการ จัดตังโรงงานควรส ้ ารวจพื ้นที่ ให้ อยูใ่ นบริเวณที่เหมาะสม จัดสรรบุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเพื่อ กากับดูแลกับความเสี่ย งจากการแปรปรวนด้ านภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม และเตรี ยมการ จัดทาแผนฉุกเฉินเพื่อเตรี ยมพร้ อมต่อสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดได้ อย่างทันท่วงที 2. บริ ษัทควรทาการเฝ้าระวังการเกิดโรคระบาดในสัตว์ทงในประเทศและต่ ั้ างประเทศ โดยการค้ นคว้ า วิจยั จัดการฟาร์ ม สุขาภิบาล การดูแลสัต ว์อย่างต่อเนื่อง ควบคุมคุณภาพการ จัดการฟาร์ ม และจัดการฟาร์ มตามมาตรฐานการจัดการฟาร์ มที่กาหนด ตลอดจนการจัดทาการ เตือนภัยล่วงหน้ า (Early Warning) เพื่อป้องกันการเกิดโรคระบาดไม่ให้ เกิดการแพร่กระจาย 3. บริ ษัทควรที่จะคอยปรับปรุ งข้ อบกพร่ องที่อาจจะเกิดขึ ้นภายในห่ วงโซ่อุปทานอย่าง สม่าเสมอ เพื่อเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบตั งิ าน 4. บริ ษัทควรทาสัญญาทางการค้ าเพื่ อประกันเรื่ องความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ อาจจะสูงขึ ้น ส่งผลกระทบต่อต้ นทุนการผลิตสินค้ า 5. บริ ษัทควรทาการติดตามและประเมินผลต่อสถานการณ์ที่จะส่งผลกระทบต่อความ ผันผวนของราคา หรื อทาการหาช่องทางการทาการค้ าระหว่างประเทศ 6. บริ ษัทควรทาการแต่ง ตังพนั ้ กงานที่มี ความช านาญการในเรื่ องของกฎหมายและ ข้ อบังคับของประเทศนันๆ ้ 7. บริษัทควรให้ ความสาคัญในเรื่ องของการกากับดูแลกิจการที่ดี การเปิ ดเผยข้ อมูลของ บริษัทให้ มีความชัดเจน ถูกต้ องและเหมาะสม 8. บริ ษัทควรที่จะทาสัญญากับสถาบันทางการเงินโดยกาหนดอัตราการแลกเปลี่ยน เงินตราระหว่างประเทศไว้ ลว่ งหน้ า


บทที่ 3 สรุ ปผลการศึกษา สรุ ปผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เครื อข่ ายความรู้ ต่อการจัดการวิกฤต ปั ญหาความไม่ ม่ ันคงทางด้ านอาหาร จากการศึกษาระบบการควบคุม ภายในบริ ษัทกรณี ศึกษาทัง้ 6 บริ ษัท มีผลสรุ ปว่า วิกฤตการณ์อาหารที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั ไม่ส่งผลกระทบต่อการควบคุมภายในของบริ ษัททุกบริ ษัท ในกรณีศกึ ษา เนื่องจากทุกบริษัทมีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพดีอยู่แล้ ว เมื่อเกิดวิกฤตฯทา ให้ ไม่ได้ รับผลกระทบใดๆและยังอาจเปลี่ยนวิกฤตฯให้ เป็ นโอกาสได้ อีกด้ วยเพราะในปั จจุบนั มี ความต้ องการพื ช พลัง งาน สิ นค้ าเกษตรและอาหารมี แนวโน้ ม จะเพิ่ ม ขึน้ ตามการเพิ่ม ขึน้ ของ ประชากรโลก สาหรับประเทศไทยนันนั ้ บว่าโชคดีที่เป็ นแหล่งการผลิตอาหารของโลก จึงเป็ นโอกาส ในการพัฒนาสินค้ าเกษตรและอาหารเพื่อการส่งออก และสมควรที่จะรักษาจุดแข็งในการเป็ นฐาน การผลิตเกษตรและอาหารของโลกต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ ปั จจัยท้ าทายว่าจะสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพของผลผลิตเกษตรได้ อย่างไร การจะนาเอาเทคโนโลยี การปรับปรุ งเมล็ดพันธุ์ หรื อ การปรับโครงสร้ างการผลิต หรื อการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์เกษตรของประเทศไทยให้ มากยิ่งขึ ้น หลังจากเปิ ดเขตการค้ าเสรี อาเซียน (AEC) นัน้ ถือว่าเป็ นโอกาสและก้ าวสาคัญของประเทศไทย การร่ วมมือกันในครัง้ นี ้จะทาให้ อาเซียน เป็ นแหล่งผลิตอาหารที่สาคัญของโลก ประเทศในกลุ่ม อาเซียนจะมีความแข็งแกร่งและมีความสามารถในการแข่งขันด้ านการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร ในระดับสูง ซึง่ หากไทยสามารถเป็ นศูนย์กลางในการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตามความต้ องการของโลก แล้ ว จะทาให้ ผลผลิตและรายได้ จากภาคการเกษตรของไทยมีมูลค่าสูงขึ ้น ส่งผลให้ เกษตรกรไทย ทังที ้ ่เป็ นผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์และผู้ผลิตธัญญาหารมีชีวิตความเป็ นอยู่ที่ดีขึ ้น รายได้ มากขึ ้น ปลอดภัย จากการใช้ สารเคมีลดลง ลดการปนเปื อ้ นสิ่งแวดล้ อม ตลอดจนดึงดูดความน่าสนใจของคนรุ่นใหม่ ที่จะเข้ าทาการเกษตรที่ยงั่ ยืนมากขึ ้นด้ วย ฐานของแนวคิดที่ได้ นามาวางเป็ นมาตรฐานด้ านการควบคุมภายในในกิจการต่าง ๆ เกือบจะทัว่ โลกคือ กรอบแนวคิดของ COSO –Internal Control Framework ซึ่งทาให้ กิจการต่าง ๆ ทัว่ โลกยอมรับว่าการมีระบบการควบคุมภายในที่ดี ไม่ใช่เพียงการป้องกันการตรวจจับให้ พบ หรื อ การแก้ ไขการทุจริตและประพฤติมิชอบ หากแต่ระบบการควบคุมภายในคือส่วนหนึ่งของพฤติกรรม


26 เชิง จริ ยธรรมขององค์กรด้ วย หากไม่สามารถพิสูจน์ ว่ากิจการมีระบบการควบคุม ภายในที่ ดี ก็ อาจจะไม่สามารถพิสจู น์การเป็ นกิจการที่มีการกากับดูแลกิจการที่ดีด้วย การควบคุมภายในตามแนวคิด COSO เป็ นแนวคิดที่ได้ รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย แต่ก็ยงั ไม่เพียงพอ จึงต้ องมีการออกแบบและนาไปประยุกต์ใช้ ให้ ไปสู่ระดับสากล โดยต้ องคานึงถึง ประการต่างๆ ดังนี ้ ประการแรก การควบคุมภายในเป็ นกระบวนการบูรณาการที่ต้องมีการเคลื่อนที่และ ปรั บเปลี่ ยนอยู่ต ลอดเวลา เพื่ อ ให้ เป็ นการดาเนินงานที่ ต่อเนื่ อ งไม่ขาดสาย และรองรั บ ความ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ภายในกิ จการและภายนอกกิจการได้ โดยดึงเอาผู้บริ หารและบุคลากรทุก ระดับเข้ ามาเกี่ยวข้ องและมีสว่ นร่วมในกระบวนการที่เป็ นการควบคุมภายใน ประการที่สอง การควบคุมภายในเป็ นกระบวนการที่บรู ณาการ ไม่ใช่กิจกรรมอย่างเดียว ทาครัง้ เดียว ทาแล้ วเสร็ จสิ ้น ทาเพียงลาพัง หากแต่ต้องทาอย่างพร้ อมเพรี ยงกันทังองค์ ้ กรเกิดใน กิจกรรมและการปฏิบตั งิ าน ทุกอย่าง ทุกเรื่ อง ทุกคนในองค์กร และที่สาคัญเป็ นส่วนหนึ่งของการ ดาเนินงานประจาวัน ประการที่สาม การควบคุมภายในไม่ใช่เรื่ องที่เพิ่มเติมหรื อเป็ นภาระใหม่นอกเหนือจาก สิ่งที่กิจการถือปฏิบตั อิ ยูแ่ ล้ วในการดาเนินงานตามปกติ ประการที่สี่ การควบคุมภายในจะมีประสิทธิภาพได้ จะต้ องแทรกอยู่ (Built In) ใน กิจกรรมการดาเนินงานตามปกติ เป็ นกระบวนการของการสอบทาน ตรวจสอบที่เชื่อมโยงกับการ บริ หารงานตามปกติว่าสิ่งที่จะดาเนินการนัน้ ไม่ได้ ทาให้ ความเสี่ยงมีอิทธิ พลจนทาให้ กิจการไม่ บรรลุผลสาเร็ จตามเป้าหมายที่ กาหนดไว้ การควบคุมภายในจึงแทรกอยู่ทงั ้ ในขัน้ ตอนของการ วางแผน การดาเนินงานตามแผน การกากับและติดตาม รวมทัง้ ประเมินผลของการดาเนินงาน เทียบกับแผนงาน ประการที่ห้า การพิจารณาแทรกการควบคุมภายในไว้ ในกระบวนการดาเนินงานของ กิจการ จะมีการพิจารณาต้ นทุนของการพัฒนาการควบคุมภายในเปรี ยบเทียบกับผลประโยชน์ที่


27 จะเกิดขึ ้นจากการมีการควบคุมภายในนันเพิ ้ ่มเติมในกิจการ หากผลประโยชน์ที่เกิดมากกว่าต้ นทุน หรื อค่าใช้ จ่ายในการบริ หารจัดการการควบคุมภายใน ก็ถือว่าการควบคุมภายในนันคุ ้ ้ มค่าในการ ลงทุนให้ มีอยูใ่ นกิจการ ประการที่หก โดยปกติ การควบคุมภายในจะสร้ างต้ นทุนหรื อค่าใช้ จ่ายเพิ่ม ก็ตอ่ เมื่ อเป็ น การสร้ างกระบวนการด้ านการควบคุมภายในเพิ่มเติมจากเดิม ประการที่เจ็ด การเข้ ามามีส่วนเกี่ ยวข้ องของผู้บริ หารและบุคลากรทุกคนทุกระดับใน ระบบและกระบวนการด้ า นการควบคุม ภายในมี ความส าคัญเพราะการควบคุม ภายในจะมี ประสิ ทธิ ผ ลได้ ต้องมาจากการยอมรั บและปฏิ บตั ิตามระบบและกระบวนการด้ านการควบคุม ภายในที่ กิ จ การจัด วางไว้ ระบบการควบคุม ภายในจึง ขึน้ อยู่กับการกระท าของผู้บ ริ หารและ บุคลากรแต่ล ะคนภายในกิ จ การ หากทุกคนรู้ บทบาทและหน้ าที่ ความรั บผิดชอบของตน รู้ ข้ อจ ากัดตามอานาจหน้ าที่ ของตน ก็ จ ะมี อิทธิ พลต่อการควบคุม ภายในในกิ จการแตกต่างกับ กิจการอื่นๆ ที่มีพฤติกรรมดังกล่าวอย่างมาก ประการที่แปด ผู้บริหารมีหน้ าที่ริเริ่ม เป็ นผู้นา สื่อสาร และกระตุ้นให้ ทกุ คนยอมรับระบบ การควบคุมภายใน มองให้ เห็นภาพรวมของการควบคุมภายในของทังหมด ้ กาหนดวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน และยังต้ องรับผิดชอบต่อประสิทธิภาพและประสิทธิ ผลโดยรวมของการ ควบคุมภายในที่ ได้ ส ร้ างขึน้ เพื่อใช้ งานภายในกิจการ ผ่านการควบคุม กากับและติดตามการ ทางานของระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนใช้ การควบคุมภายในเป็ นเครื่ องมือย่างหนึ่งในการ บริหารจัดการองค์กร ประการที่ เ ก้ า การควบคุม ภายในแต่ ล ะกิ จ การยัง ได้ รั บ อิ ท ธิ พลจากลัก ษณะและ พฤติกรรมของบุคคล ที่อาจจะเกิดความไม่เข้ าใจ เกิดความเข้ าใจผิดต่อการสื่อสารหรื อการชี ้นา ของผู้บริ หาร หรื ออาจจะปฏิ บัติไ ม่สอดคล้ องกับระบบการควบคุม ภายในที่ กิ จ การกาหนดขึน้ บุคลากรแต่ละคนอาจจะมาจากพื ้นเพที่แตกต่างกัน มีทศั นคติที่แตกต่างกัน มีความต้ อ งการและ เป้าหมายในการทางานในกิ จ การที่ ไ ม่เหมื อนกัน และให้ ค วามส าคัญกับ การยึดถื อระบบการ ควบคุมภายในไม่เท่าเทียมกัน


28 ประการที่สิบ ในการค้ นหาและระบุความเสี่ยงเพื่อนาเอาระบบและกระบวนการด้ านการ ควบคุม ภายในมาใช้ กากับและควบคุมความเสี่ ยง โดยยึดเอาพันธะกิจและการดาเนินงานที่ มี เป้าหมายอย่างชัดเจนเป็ นหลัก ประการที่สิบเอ็ด การควบคุมภายในที่กิจการกาหนดขึ ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ไม่อาจจะ ประกันได้ วา่ กิจการจะประสบความสาเร็ จในการดาเนินงานตลอดไป กิจการจึงจาเป็ นต้ องทบทวน สอบทานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบและกระบวนการด้ านการควบคุม ภายในอยู่อย่าง สม่าเสมอ เพื่อธารงรักษาการควบคุมภายในที่เพียงพอต่อการบริ หารจัดการกิจการ มีความคุ้มค่า ในเชิงของต้ นทุนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้ อง เปรี ยบเทียบกับความเสี่ยงที่ต้องการใช้ การควบคุม ภายในกากับและควบคุมความเสี่ยงนัน้ ซึ่งระดับการควบคุมภายในที่เพียงพออาจจะยังเป็ นเรื่ อง ของการใช้ ดลุ ยพินิจที่แตกต่างกันในแต่ละกิจการที่มกั จะมีเกณฑ์ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ แตกต่าง กันออกไป ประการที่สิบสอง สิ่งที่ยงั อาจจะทาให้ ผ้ บู ริ หารและผู้ปฏิบตั ิงานในแต่ละกิจการไว้ วางใจ ระบบการควบคุมภายในไม่ได้ เต็มที่ก็คือความเสี่ยงจากความไม่แน่ นอน จากสิ่งที่คาดหมายให้ ถูกต้ องล่วงหน้ าได้ ยาก หรื อปั จจัยอื่น ๆ ที่อาจจะอยู่นอกเหนือการควบคุมในระหว่างการบริ หาร จัดการกิจการตามปกติ ซึง่ ปั จจัยเหล่านี ้ล้ วนแต่มีโอกาสที่จะส่งผลกระทบต่อการบรรลุความสาเร็ จ ของการดาเนินงานของกิจการทังสิ ้ ้น ประการที่สิบสาม ข้ อจากัดอื่น ๆ ของระบบการควบคุมภายในอาจจะมาจากการใช้ ดลุ ย พิ นิ จ ของคนใน การวางระบบการควบคุม ภายในและการตัด สิ น ใจที่ อ าจจะผิ ด พลาด ความ ผิดพลาดคลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจากความเป็ นมนุษย์ ที่ทาให้ ผลลัพธ์ออกมาไม่เที่ยงตรงทุกครัง้ การละเว้ น การยกเว้ นไม่ปฏิบตั ติ ามระบบการควบคุมภายในที่วางไว้ การควบคุมภายในเป็ นเรื่ องที่ เกี่ยวข้ องกับคนหมูม่ าก มีความหลากหลาย อาจจะบริหารจัดการยากต้ นทุนหรื อค่าใช้ จ่ายของการ พัฒนาระบบการควบคุมภายในบางอย่างอาจจะสูงมาก จนอาจจะไม่ค้ มุ ค่าอีกต่อไป เมื่อเทียบกับ ผลประโยชน์ที่เกิดขึ ้น โดยต้ นทุนหรื อค่าใช้ จ่ายของการควบคุมภายในอาจจะหมายถึง ค่าใช้ จ่าย ในการวัด หรื อประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของทรั พ ยากรหรื อ สิ น ทรั พ ย์ ที่ ใช้ ใ นการด าเนิ น งาน และ ค่าใช้ จ่ายจากการสูญเสียโอกาสทางธุรกิจ เนื่องจากใช้ การควบคุมภายในที่เข้ มงวดเกินไป การ


29 ปรับตัวที่ล่าช้ าเกินไป การลดลงของงานบริ การ หรื อผลิตภาพการดาเนิ นงานลดลง หรื อระดับ คุณธรรมในการปฏิบตั งิ านของพนักงานลดลง ประการที่สิบสี่ ประโยชน์ของการควบคุมภายในอาจจะพิจารณาจากการเพิ่มขึน้ ของ โอกาสในการตรวจจับการทุจริ ต ความเกรงกลัวต่อการควบคุมภายในที่ใช้ อยู่ การลดลงของการ สูญเสียหรื อสูญ เปล่า ความสามารถในการป้องกันความผิ ดพลาด คลาดเคลื่อน และคดีความ ปั ญหาที่ลดลงจากการเข้ มงวดการปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ ประการที่สิบห้ า การประเมินและวัดความสาเร็ จและความคุ้มค่าของการควบคุมภายใน ยัง ต้ องพิ จ ารณาจากมุ ม มองเชิ ง คุณ ภาพ ควบคู่ กั บ มุ ม มองเชิ ง ปริ ม าณที่ เ น้ นต้ นทุ น และ ผลประโยชน์ที่เป็ นตัวเงินเป็ นหลัก เพราะบางกรณีอาจจะไม่ค้ มุ ค่าในเชิงปริ มาณและมีความคุ้มค่า ในเชิงคุณภาพก็ได้ ประการที่สิบหก การควบคุมภายในในเชิงจริ ยธรรม หมายถึงการดาเนินงานเป็ นไปด้ วย ความเป็ นระเบียบ เรี ยบร้ อย มีจริ ยธรรมพึงประสงค์อย่างพอเพียง มีคณ ุ ธรรม เน้ นการป้องกันหรื อ หลีกเลี่ยงมากกว่าการแก้ ไขเมื่อเกิดเหตุแล้ ว ประการที่สิบเจ็ด การควบคุมภายในมีความประหยัดทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง การ จากัดความสูญเปล่าได้ ดี การลดขันตอนการท ้ างาน การลดลงของเวลาในการดาเนินงาน โดยยัง ได้ ผลผลิตที่มีคณ ุ ภาพตามที่ต้องการ ส่งมอบสินค้ าได้ ทนั เวลา และตามสถานที่ที่ลกู ค้ าต้ องการ ประการที่ สิ บ แปด การควบคุม ภายในมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพหมายถึ ง ใช้ ท รั พ ยากรอย่า ง ประหยัดหรื อลดลงและได้ ผลผลิตเท่าเดิมทังในด้ ้ านปริมาณและคุณภาพ จากแนวคิดข้ างต้ นแสดงให้ เห็นว่า การควบคุมภายในระดับสากลเป็ นส่วนหนึ่งในการลด ความเสี่ยง และช่วยสร้ างความเชื่อมั่นในการดาเนินงานให้ แก่องค์กร รวมทัง้ ยังมีผลไปถึงตัว พนักงานด้ วย


บทที่ 4 ประมวลภาพงานสัมมนา ภาพบรรยายงานสัมมนา

ภาพที่ 4-1 พิธีกรดำเนินงำน


31

ภาพที่ 4-2 วิทยำกร หัวข้ อ “กำรควบคุมภำยใน ตำมแนวคิด COSO กรณีศกึ ษำโรงสีข้ำว บริษัท ข้ ำวรัชมงคล จำกัด”

ภาพที่ 4-3 วิทยำกร หัวข้ อ “กำรประเมินผลกำรควบคุมภำยในของ COSO กรณีศกึ ษำ บริษัท วุฒิชยั โปรดิวส์ จำกัด”


32

ภาพที่ 4-4 วิทยำกร หัวข้ อ “กำรควบคุมภำยในของสหกรณ์กำรเกษตรด้ ำนธุรกิจรวบรวมผลิตผล สูก่ ำรพัฒนำสินค้ ำเกษตรและอำหำรเพื่อกำรส่งออกจำกวิกฤตอำหำรโลก กรณีศกึ ษำ สหกรณ์กำรเกษตรบ้ ำนลำด จำกัด”

ภาพที่ 4-5 บรรยำกำศขณะพักเบรก เล่มเกมแจกของรำงวัล


33

ภาพที่ 4-6 วิทยำกร หัวข้ อ “กำรควบคุมภำยในกระบวนกำรผลิตนมพำสเจอร์ ไรส์ กรณีศกึ ษำ สหกรณ์โคนมบ้ ำนบึง จำกัด”

ภาพที่ 4-7 วิทยำกร หัวข้ อ “กำรศึกษำระบบกำรควบคุมภำยในด้ ำนกำรเงินและบัญชี กรณีศกึ ษำ บริษัท บัณฑิตพิบลู ย์ทอง จำกัด”


34

ภาพที่ 4-8 วิทยำกร หัวข้ อ “กำรศึกษำกำรบริหำรควำมเสี่ยงของอุตสำหกรรมอำหำรทะเลแช่แข็ง กรณีศกึ ษำ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อำหำร จำกัด (มหำชน)”

ภาพที่ 4-9 บรรยำกำศผู้เข้ ำร่วมฟั งสัมมนำ


35

ภาพที่ 4-10 อำจำรย์และคณะผู้จดั ทำสัมมนำ บอร์ ดนิทรรศการของกลุ่มเครือข่ าย

ภาพที่ 4-11 บอร์ ดวิกฤตกำรณ์อำหำรโลกกับกำรควบคุมภำยใน (ด้ ำนหน้ ำ)


36

ภาพที่ 4-12 บอร์ ดวิกฤตกำรณ์อำหำรโลกกับกำรควบคุมภำยใน (ด้ ำนหลัง) การร่ วมจัดนิทรรศการสัปดาห์ วิชาการของกลุ่มเครือข่ าย

ภาพที่ 4-13 เชิญชวนบุคคลทัว่ ไป อำจำรย์ นิสิต และบุคลำกรเข้ ำร่วมงำน


37

ภาพที่ 4-14 เป็ นผู้ชว่ ยและสนับสนุนพ่อค้ ำ – แม่ค้ำที่เข้ ำร่วมงำนสัมมนำ

ภาพที่ 4-15 เป็ นผู้ชว่ ยและสนับสนุนพ่อค้ ำ – แม่ค้ำที่เข้ ำร่วมงำนสัมมนำ


38

ภาพที่ 4-16 เป็ นผู้ชว่ ยและสนับสนุนพ่อค้ ำ – แม่ค้ำที่เข้ ำร่วมงำนสัมมนำ

ภาพที่ 4-17 ประจำซุ้มงำนกิจกรรมในแต่ละซุ้ม


บทที่ 5 สรุ ปผลการเข้ าร่ วมงานสัมมนาของกลุ่ม จานวนผู้เข้ าร่ วม ตารางที่ 5-1 จำนวนผู้เข้ ำร่วมงำนจำแนกตำมเพศ เพศ ความถี่ ชำย 23 หญิง 87 รวม 110

เปอร์ เซ็นต์ 20.91 % 79.09 % 100.00 %

ตารางที่ 5-2 จำนวนผู้เข้ ำร่วมงำนจำแนกตำมสำขำ สาขา ความถี่ กำรบัญชีบริหำร 108 สำขำอื่น 2 รวม 110

เปอร์ เซ็นต์ 98.18 % 1.82 % 100.00%

ตารางที่ 5-3 จำนวนผู้เข้ ำร่วมงำนจำแนกตำมชันปี ้ ชัน้ ปี ความถี่ ปี 1 2 ปี 2 0 ปี 3 0 ปี 4 108 รวม 110

เปอร์ เซ็นต์ 1.82 % 0.00 % 0.00 % 98.18 % 100.00 %

จำกแบบประเมินปรำกฏว่ำมีผ้ เู ข้ ำร่ วมฟั งสัมมนำหัวข้ อ กำรควบคุมภำยในนำพำธุรกิจ ไทยสู่ควำมมัน่ คงทำงอำหำรทังหมด ้ 110 คน เป็ นผู้ชำย 23 คน คิดเป็ น 20.91% ผู้หญิง 87 คน คิดเป็ น 79.09% ซึ่ง เป็ นนิสิ ตคณะวิทยำกำรจัดกำร สำขำกำรบัญชี บริ หำร 108 คน คิดเป็ น


40 98.18% สำขำอื่นๆ 2 คน คิดเป็ น 1.82% และเป็ นนิสิตชันปี ้ ที่ 1 จำนวน 2 คน คิดเป็ น 1.82% นิสิต ชันปี ้ ที่ 4 จำนวน 108 คน คิดเป็ น 98.18% ผลการประเมินการเข้ าร่ วมสัมมนาทางด้ านความรู้ และความพึงพอใจ ตารางที่ 5-4 ผลกำรประเมินกำรเข้ ำร่วมสัมมนำทำงด้ ำนควำมรู้และควำมพึงพอใจ รายการที่ประเมิน 1. รูปแบบการจัดงานสัมมนา 1.1 ควำมเหมำะสมของสถำนที่จดั งำนสัมมนำ 1.2 ควำมเหมำะสมของระยะเวลำในกำร บรรยำย 1.3 ควำมรู้ที่ได้ จำกบอร์ ดวิชำกำรภำยในงำน สัมมนำ 1.4 ควำมเหมำะสมของรูปแบบกำรจัดงำน สัมมนำโดยรวม 2. การนาเสนอเนือ้ หา 2.1ควำมเหมำะสมของเนื ้อหำในกำร บรรยำย 2.2 ควำมเหมำะสมของสือ่ และอุปกรณ์ใน กำรนำเสนอ 2.3 ประโยชน์ที่ได้ จำกกำรเข้ ำร่วมงำน สัมมนำ 2.4 เนื ้อหำมีควำมครอบคลุมและตรง ประเด็น 3. การประชาสัมพันธ์ 3.1 ควำมเหมำะสมของระยะเวลำกำร ประชำสัมพันธ์ 3.2 ควำมเหมำะสมของสือ่ ในกำร ประชำสัมพันธ์ 3.3 ควำมเพียงพอในกำรประชำสัมพันธ์ 3.4 ควำมเหมำะสมของรำยละเอียด ในกำรประชำสัมพันธ์

ดีมาก ดี ปานกลาง ควรปรับปรุ ง 110 100% 110 100% 110 100% 110 100% 13

11.82

71

64.55

23

20.91

3

2.73

10

9.09

81

73.64

14

12.73

5

4.55

9

8.18

79

71.82

22

20.00

0

0.00

18

16.36

75

68.18

17

15.45

0

0.00

21

19.09

78

70.91

11

10.00

0

0.00

26

23.64

61

55.45

21

19.09

2

1.82

21

19.09

71

64.55

18

16.36

0

0.00

25

22.73

65

59.09

20

18.18

0

0.00

16

14.55

63

57.27

29

26.36

2

1.82

16

14.55

65

59.09

25

22.73

4

3.64

17

15.45

61

55.45

29

26.36

3

2.73

15

13.64

66

60.00

27

24.55

2

1.82


41 จำกตำรำงที่ 5-4 พบว่ำ ด้ ำ นรู ป แบบกำรจัด งำนผู้เ ข้ ำ ร่ ว มรั บ ฟั ง สัม มนำหัว ข้ อ กำร ควบคุมภำยในนำพำธุรกิจไทยสู่ควำมมัน่ คงทำงอำหำรมีควำมเห็นว่ำ มีควำมเหมำะสมในส่วน ของสถำนที่ จัดงำน ระยะเวลำในกำรบรรยำย ควำมรู้ ที่ ไ ด้ จ ำกบอร์ ดวิช ำกำรภำยในงำน และ รูปแบบกำรจัดงำนสัมมนำโดยรวมดี คิดเป็ น 64.5% 73.64% 71.82% และ 68.18% ตำมลำดับ ด้ ำนกำรนำเสนอเนื ้อหำผู้เข้ ำร่วมรับฟั งสัมมนำมีควำมเห็นว่ำ มีควำมเหมำะสมของเนื ้อหำในกำร บรรยำย ของสื่อและอุปกรณ์ในกำรนำเสนอ ได้ รับประโยชน์จำกกำรเข้ ำร่ วม และเนื ้อหำมีควำม ครอบคลุม ตรงประเด็นดี คิดเป็ น 70.91% 55.45% 64.55% และ 59.09% ตำมลำดับ สุดท้ ำย ด้ ำนกำรประชำสัมพันธ์ ผู้เข้ ำร่วมรับฟั งสัมมนำมีควำมเห็นว่ำ มีควำมเหมำะสมในด้ ำนระยะเวลำ ประชำสัมพันธ์ ด้ ำนของสื่อในกำรประชำสัมพันธ์ ด้ ำนของรำยละเอียดในกำรประชำสัมพันธ์ และ กำรประชำสัมพันธ์มีควำมเพียงพอดี คิดเป็ น 57.27% 59.09% 55.45% และ 60.00% ตำมลำดับ


บรรณานุกรม กรมอนามัย. 2549. การบริหารความเสี่ยง. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อ 30 มกราคม 2556, จาก http://www.anamai.moph.go.th/hpmp2/. กองบริ การศึกษา สานักงานอธิการบดี. 2553. แนวปฏิบัตทิ ่ ดี ี ระบบควบคุมภายใน. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อ 30 มกราคม 2556, จาก http://www.atikarn.rbru.ac.th การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. 2548. เอกสารคู่มือการบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพมหานคร: กลุม่ งานบริหารความเสี่ยง สานักพัฒนาโครงการพิเศษ. กุสมุ า โสเขียว. 2549. ผลกระทบของประสิทธิภาพการควบคุมภายในและ สภาพแวดล้ อมธุรกิจที่มีต่อคุณภาพข้ อมูลทางการบัญชี.Lวิทยานิพนธ์หลักสูตร ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. จันทนา สาขากร, นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ, และ ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร. ม.ป.ป. การควบคุม ภายในและการตรวจสอบภายใน. ม.ป.ท. เจนเนตร มณีนาค. 2548. การบริหารความเสี่ยงระดับองค์ กร. กรุงเทพมหานคร: ซัม ซิส เต็ม. ดีใหม่ อินทรพานชย์. 2550. สภาพและปั ญหาการดาเนินการควบคุมภายในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานิพนธ์การบริ หาร การศึกษา, มหาวิทยาลัยรายภัฎสกลนคร. . 2551. ปั ญหาด้ านการจัดทาบัญชีและการควบคุมภายใน ของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในอาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ .LL วิทยานิพนธ์การบริ หารการศึกษา, มหาวิทยาลัยรายภัฎสกลนคร. ถิราวุฒิ ทองทรง. 2547. สภาพและปั ญหาของระบบการควบคุมภายในศึกษากรณี บริษัทไปรษณีย์ไทย จากัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ ทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ธนา สุวรรณโชติ. 2553. การศึกษาความรู้ และการปฏิบัตขิ องครู เกี่ยวกับมาตรฐาน การควบคุมภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาระยอง. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา), มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี. ทิศณา แขมมณี. 2542. เอกสารประกอบการสัมมนาโครงการปราชญ์ เพื่อแผ่ นดิน เรื่อง ปรัชญาการพัฒนา: ทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดาริ มิตดิ ้ านการศึกษาและพัฒนา คน. กรุงเทพฯ: (ม.ป.พ.). (เอกสารอัดสาเนา).


เอกสารอ้ างอิง (ต่ อ) นุจรี กลัน่ ดอน. 2555. ศึกษาแนวคิดด้ านการควบคุมภายในตามแนวโคโซ่ (COSO) กับ ประสิทธิภาพการทางานด้ านการบัญชีและการเงินของการไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค สาขาพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์. สารวิจยั บัญชีบณ ั ฑิต, มหาวิทยาลัยศรี ปทุม. นฤมล สอาดโฉม. 2548. การบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพมหานคร: ก.พลพิมพ์. นวลน้ อย ตรี รัตน์. 2551. ความมั่นคงทางอาหาร. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อ 27 มกราคม 2556, จาก http://www.nidambe11.net ปกรณ์ มนชน. 2545. การวิเคราะห์ และประเมินประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายใน ด้ านสินค้ าคงเหลือ กรณีศึกษาบริษัท ธุรกิจกระดาษ จากัด. วิทยานิพนธ์หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี, มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย. ปวรรัตน์ พรรธนประเทศ. 2555. ความมั่นคงทางอาหาร. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อ 27 มกราคม 2556, จาก http://www.nutrition.anamai.moph.go.th เพ็ญศรี เปลี่ยนขา. (2550, กรกฎาคม-ธันวาคม). วิธีการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิชาการ ราชภัฎตะวันตก. 2(1): 27-30. ไพเราะ รัตนวิจิตร. 2549. การศึกษาเปรียบเทียบการความควบคุมภายในตามแนว COSO ด้ านองค์ ประกอบสภาพแวดล้ อมการควบคุม ในอุตสาหกรรมโรงแรม จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยบูรพา. ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ ส. 2547. แนวทางการบริหารความเสี่ยง. ฉบับที่ 2 ตุลาคม 2547 (ฉบับปรับปรุง) กรุงเทพมหานคร: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ไพโรจน์ ดารงศักดิ.์ 2553. การศึกษาปั ญหาการจัดระบบการควบคุมภายในของ สถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานสังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ . รงค์ ประพันธ์พงษ์ . 2550. เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ . กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์. วิราภรณ์ พึง่ พิศ. 2550. ปั ญหาและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการควบคุมภายในของ บริษัท บูรพาอุตสาหกรรม จากัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.


เอกสารอ้ างอิง (ต่ อ) วิทยา อธิปอนันต์ และคณะ. 2543. เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเกษตรที่พ่งึ พาตนเอง. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการเกษตร สานักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กลุม่ สื่อส่งเสริ ม การเกษตร. ศจินทร์ ประชาสันติ.์ 2552. สถานการณ์ ความมั่นคงทางอาหารของประเทศไทยภายหลังปี 2540. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อL20LมกราคมL2556, จาก http://www.sathai.org/story_thai/043-Food_security-_thai.pdf ศุภชัย ลีลิตธรรม. 2550. การศึกษาความเป็ นไปได้ ในการนาระบบการควบคุมภายใน ตาม แนวทาง COSO มาใช้ กับการบริหารการไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้ ) จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน ้าและการเกษตร (องค์การมหาชน). มปป. หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อL29 มกราคม 2556, จาก http://www.haii.or.th สัญญา สัญญาวิวฒ ั น์. 2544. การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจในชนบท. กรุงเทพฯ: สภาวิจยั แห่งชาติ. สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ . 2547. เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิชยั พัฒนา. สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ . 2554. ทฤษฎีใหม่ หลักการพึ่งตนเองที่ย่ งั ยืน. ม.ป.ท. สานักงานมูลนิธิชยั พัฒนา. 2550. เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ . (ออนไลน์).LL ค้ นเมื่อL15 LมกราคมL2556,Lจาก http://www.chaipat.or.th/chaipat/index.php/th/publication/sufficiency-economy. สานักส่งเสริมและประมวลชน ส่วนส่งเสริมการมีส่วนร่วม. 2555. วิกฤติการณ์ อาหารโลก เกร็ดความรู้ ทรั พยากรธรรมชาติ. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อL20LมกราคมL2556,L จาก http://intranet.dwr.go.th/bmpc/karkomru/feb%2055.pdf สุทธิดา ศิริบญ ุ หลง. 2552. การพัฒนาแบบยั่งยืน. (ออนไลน์).LLค้ นเมื่อL10LมกราคมL 2556,LจากLhttp://library.uru.ac.th/bookonline/books%5CCh8A.pdf


เอกสารอ้ างอิง (ต่ อ) อาภรณ์ ชีวะเกรี ยงไกร. 2555. วิกฤติอาหารโลก. (ออนไลน์).LLค้ นเมื่อL 20LมกราคมL 2556,LจากLhttp://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/opinion/aporn อุษณา ภัทรมนตรี . 2552. การตรวจสอบภายในสมัยใหม่ . กรุงเทพมหานคร: จามจุรี โปรดักท์.


ภาคผนวก











Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.