8
การศึกษา มีการพิมพ์สอดสี สวยงามขึ1น สมัยปั จจุบนั การทําแผนที เจริ ญขึ1นมาก เพราะวิทยาการและ เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ภาพถ่ายทางอากาศจากเครื องบิน ภาพถ่ายจากดาวเทียม ฯลฯ 4. รู ปทรงสั ณฐานของโลก โลก (Earth) โลกของเรามีรูปร่ างลักษณะเป็ นรู ปทรงรี (Oblate Ellipsoid) คือมีลกั ษณะป่ องตรง กลาง ขั1วเหนือ-ใต้ แบนเล็กน้อย แต่พ1ืนผิวโลกที แท้จริ งมีลกั ษณะขรุ ขระ สู ง ตํ า ไม่ราบเรี ยบ ไม่สมํ าเสมอ พื1นผิวโลกจะมีพ1ืนที ประมาณ 509,450,00 ตารางกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางที ศูนย์สูตรยาว 12,757 กิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางจากขั1วโลกเหนื อถึงขั1วโลกใต้ 12,714 กิโลเมตร จะเห็นว่าระยะทางระหว่าง แนวนอน (เส้นศูนย์สูตร) ยาวกว่าแนวตั1ง (ขั1วโลกเหนื อ -ใต้) จากลักษณะดังกล่าวนี1 ทําให้ไม่สามารถใช้ รู ปทรงเรขาคณิ ตอย่างง่ายแสดงขนาด และรู ปร่ างของโลกได้อย่างถูกต้อง ดังนั1นเพื อความสะดวกต่อการ พิจารณารู ปทรงสัณฐานของโลก และในกิจการของแผนที จึงมีการใช้รูปทรงสัณฐานของโลกอยู่ 3 แบบ คือ ทรงกลม (Spheroid) ทรงรี (Ellipsoid) และ ยีออยด์ (Geoid) ทรงกลม หรื อ สเฟี ยรอยด์ เป็ นรู ปทรงที ง่ายที สุด จึงเหมาะเป็ นสัณฐานของโลกโดยประมาณ ใช้กบั แผนที มาตราส่ วนเล็กที มีขอบเขตกว้างขวาง เช่น แผนที โลก แผนที ทวีป หรื อ แผนที อื นๆที ไม่ตอ้ งการความ ละเอียดถูกต้องสู ง ทรงรี หรื อ อิลิปซอยด์ โดยทัว ไป คือ รู ปที แตกต่างกับรู ปทรงกลมเพียงเล็กน้อย ซึ งจะมีลกั ษณะ ใกล้เคียงกับสัณฐานจริ งโลกมาก จึงเหมาะสําหรับใช้เป็ นพื1นผิวการรังวัด และการแผนที ที ตอ้ งการความ ละเอียดถูกต้องสู งเช่นแผนที ระดับชุมชนเมือง แผนที ภูมิประเทศมาตราส่ วนใหญ่ทว ั ไปแผนที นาํ ร่ องเป็ นต้น ยีออยด์ เป็ นรู ปทรงที เหมือนกับสัณฐานจริ งของโลกมากที สุด เกิดจากการสมมุติระดับนํ1าใน มหาสมุทรขณะทรงตัวอยูน่ ิง เชื อมโยงให้ทะลุไปถึงกันทัว โลก จะเกิดเป็ นพื1นผิวซึ งไม่ราบเรี ยบตลอด มี บางส่ วนที ยบุ ตํ าลง บางส่ วนสู งขึ1นขึ1นอยูก่ บั ความหนาแน่นและแรงโน้มถ่วงของโลก ทุก ๆ แนวดิ ง (Plumb Line) จะตั1งฉากกับยีออยด์ ยีออยด์มีบทบาทสําคัญในงานรังวัดชั1นสู ง (Geodesy) แต่กลับไม่มีบทบาท โดยตรงกับวิชาการแผนที นอกจากจะใช้ในการคํานวณแผนที ประกอบกับรู ปทรงรี 1
(a) รู ปที 12 a,b รู ปทรงสั ณฐานของโลก 1
http://www.rmutphysics.com/sciencefac/artic/map/map.htm
(b)