GIT_1_concepts of GIT

Page 12

12

แนวคิดเชิงพฤติกรรมเริ# มจากสิ# งที#มองเห็นเป็ นรู ปธรรม เช่น ทําเลที#ตงั การวางแผนการใช้ที#ดิน การ ปรับปรุ งดัดแปลงพืนที# ค่อยๆเปลี#ยนมาเป็ นรู ปแบบที#เป็ นนามธรรมยิง# ขึน กล่าวคือเริ# มใช้แนวคิดเชิง พฤติกรรมเข้ามาอธิ บายว่ามนุษย์ใช้พืนที#ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพมากที#สุดได้อย่างไร หากได้รู้ถึงกระบวนการ รับรู ้ (Cognitive processes) ของมนุษย์ก็จะเข้าใจความสัมพันธ์มนุษย์กบั สิ# งแวดล้อมได้ เพราะว่ามนุษย์มี ความรู ้สึกต่อสภาพแวดล้อมแตกต่างกันไปตามเวลาและสถานที# ดังนันการตัดสิ นใจและการแสดง พฤติกรรมทางพืนที#ต่อสิ# งที#รับรู ้ (Perception) ก็จะเกิดขึนได้ทนั ที โดยเฉพาะอย่างยิง# หากเกิดจากสิ# งเร้าทาง สิ# งแวดล้อมร่ วมด้วย แต่เนื# องด้วยมนุษย์มีวฒั นธรรมเป็ นของตนเอง และมีวทิ ยาการของสังคมที#แตกต่างกัน ไปตามยุคสมัย ที#อยูน่ อกเหนื อจากพฤติกรรมส่ วนบุคคล ก็เป็ นเรื# องที#จะต้องทําความเข้าใจพฤติกรรมทาง พืนที#ในบริ บทที#หลากหลาย เพราะการแสดงพฤติกรรมทางพืนที#เกี#ยวข้องกับโครงสร้างทางสภาพแวดล้อม กายภาพและสังคมอยูต่ ลอดเวลา รวมไปถึงการปรับพฤติกรรม และการเลือกสรรพืนที#ก็แตกต่างกัน สามารถ ที#จะอธิ บายการจัดรู ปแบบของปรากฏการณ์ทางพืนที#ในสภาพแวดล้อมดังกล่าวได้ การพัฒนาแนวคิดนี เริ# มต้นจากการกําหนดโครงสร้างทางพืนที#และสภาพแวดล้อม เป็ นผลอันเกิดจากการกระทําและการ ตัดสิ นใจอย่างใดอย่างหนึ#ง ซึ# งเป็ นแรงผลักดันให้เกิดรู ปแบบทางพืนที#ได้ โดยมีหลักการอยูท่ ี# มีสาเหตุ วัตถุประสงค์ สิ# งเร้า การแสดงออก และขีดจํากัด ส่ วนการวิเคราะห์เชิงพฤติกรรมก็ตอ้ งพยายามอธิ บาย องค์ประกอบทางกายภาพว่ามีอะไรบ้าง ในกระบวนการซึ# งมีส#ิ งเร้าอยู่ พฤติกรรมที#แสดงออกมีทงที ั #มองเห็น ได้ชดั และวัดได้ แต่บางอย่างไม่สามารถวัดได้ก็ตอ้ งอาศัยเครื# องมือพิเศษช่วยในการตรวจสอบซึ# งเป็ นการ แสดงออกภายใน อย่างไรก็ตามแนวคิดเชิงพฤติกรรมได้นาํ วิธีการทางสถิติ ตลอดจนการสร้างแบบจําลองเพื#ออธิ บาย พฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ เช่น ทางด้านการย้ายถิ#น การใช้นาการเกษตร ํ การแพร่ กระจายเทคโนโลยี การ เลือกแหล่งรับบริ การต่างๆ เป็ นต้นล้วนเกี#ยวข้องกับต่อทัศนคติ และพฤติกรรมของมนุษย์ที#มีต่อบริ เวณที#อยู่ อาศัยทังทางด้านกายภาพและสังคม 6. แนวความคิดภูมิศาสตร์ สมัยใหม่ (Modern Geography) ในช่วงทศวรรษ 1950s การปฏิวตั ิเชิงปริ มาณ (Quantitative Revolution) นําไปสู่ ขอ้ โต้แย้งที#รุนแรง เกี#ยวกับภูมิศาสตร์ ภูมิภาค เพราะการรับรู ้ที#ปราศจากข้อเท็จจริ งทางวิทยาศาสตร์ และการอธิ บายธรรมชาติ มากเกินความจําเป็ น และแยกความต่อเนื#องของภูมิศาสตร์ จากธรณี วทิ ยาและภูมิศาสตร์ มนุษย์และกายภาพ ทําให้นกั ภูมิศาสตร์ ในช่วงกลางศตวรรษที# 19 เริ# มนําวิธีการทางสถิติประยุกต์และโมเดลคณิ ตศาสตร์ เพื#อ แก้ปัญหาทางพืนที# ถือได้วา่ เป็ นยุคการปฏิวตั ิเชิงปริ มาณ จนกระทัง# ปรากฏการใช้ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ขึน (Geographic Information Systems) และใช้แนวคิดทางสถิติศาสตร์ โมเดลทางพืนที# และปฏิ ฐานนิยม (Positivism เป็ นการใช้วธิ ี การทางด้านวิทยาศาสตร์ แก้ปัญหาปรากฏการณ์ทางกายภาพและมนุษย์)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.