test

Page 1

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สถานการณ์ การแพร่ ระบาดของโรคโควิ ด -19 นั ้ น การติ ด เชื ้ อในช่ ว งแรกของประเทศไทยเป็น ผู้เดินทางมาจาก ต่างประเทศ แล้วจึงค่อยๆ พบผู้ติดเชื้อชาวไทยในระยะเวลาต่อมา การระบาดในระลอกแรก นั้นอยู่ในช่วงเดือน มีนาคมถึงเมษายน 2563 ต่อมาเกิดการระบาดระลอกใหม่ในประเทศไทย มีรูปแบบการ ระบาดแตกต่างจากการระบาดในระลอกแรก เป็นการระบาดในกลุ่มคนไทย เชื้อสายพันธุ์ใหม่คือ สายพั นธุ์ G614 ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่พบในสหภาพพม่า เมื่อเดือนธันวาคม 2563 ตรวจพบคนไทยติดเชื้อรายแรกและแพร่ เชื้อจากตลาดกลางกุ้ง ซึ่งเป็นตลาดใหญ่ ขายอาหารทะเล จังหวัดสมุทรสาคร ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่เป็นแรงงาน ต่างด้าว (สัญชาติเมียนมา) โดยมีประชาชนจากหลายจังหวัดที่เดินทางมายังตลาดกลางกุ้ งจึ ง ทำให้ เ กิ ด การ ระบาดเป็นหลายกลุ่มใหญ่และเริ่มกระจายไปหลายจังหวัด จั ง หวัดหนองบั วลำภู เริ ่ ม มี การแพร่ระบาด ของโรคโควิด-19 ตั้งแต่ เดือนมีนาคม 2563 พบว่า เป็น ผู้ป่วยที่ติดเชื้อภายนอกจังหวัด จำนวน 5 ราย ต่อมาใน ปี 2564 เริ่มพบผู้ป่วยในเดือนมกราคม 2564 จำนวน 2 ราย อำเภอสุ ว รรณคู หา 1 ราย และอำเภอนาวั ง 1 ราย ทั้ง 2 ราย เป็นการติดเชื้อภายนอกพื้นที่ จากพื้นที่ ควบคุ ม สู งสุ ดและเข้ มงวด พื ้ นที ่ ค วบคุ ม สู งสุ ด ส่ ว น ระลอกเดื อ นเมษายน 2564 ถึ ง ปั จ จุ บ ั น จั ง หวั ด หนองบัวลำภู พบผู้ป่วยมากถึง 1,330 ราย (ณ วันที่ 4 สิงหาคม 2564) ส่วนใหญ่ ร้อยละ 95 เป็นผู้ ติ ด เชื้ อที่ เดินทางจากพื้นที่เสี่ยงกรุงเทพมหานครและปริ ม ณฑล กลั บ มารั กษาตั ว ที ่ ภู มิ ลำเนา ทำให้ ตั ว เลขในจั งหวัด เพิ่มขึ้น ผลกระทบด้านสังคม ที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลำภู พบว่าอาชีพของประชาชนในหมู่ บ้ า น ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดโรคโควิด -19 คืออาชีพรับจ้าง ร้อยละ 82.8 รองลงมา คืออาชีพ ค้ า ขาย ร้อยละ 72.7 อาชีพทำนา ร้อยละ 21.4 อาชีพทำไร่ ร้อยละ 12.6 และอาชีพธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 3.4ตามลำดับ สำหรับความกังวล ต่อการระบาดโรคโควิด-19 ผู้นำ/ผู้แทนหมู่บา้ นระบุว่า ประชาชนในหมู่บา้ น มีความกังวลใน ระดับ ปานกลาง ร้อยละ 43.7 กังวลในระดับมาก ร้อยละ 38.8 มีความกังวลในระดับมากที่สุด ร้อยละ 12.8 มีความกังวล ในระดับน้อย ร้อยละ 3.9 และมีความกังวลในระดับน้อยทีส่ ุด ร้อยละ 0.8 ตามลำดับ (แผนภูมิ 1) แผนภูมิ 1 ร้อยละของหมู่บ้าน จำแนกตามความกังวลต่อการแพร่ระบาดโรค COVID-19


ง 0.8 ไม่กังวล

3.9 น้อยที่สุด

15.3 น้อย

43.7 ปานกลาง

38.8 มาก

12.8 มากที่สุด

ผลกระทบด้ า นเศรษฐกิ จ ครั ว เรื อนส่ว นใหญ่ ร้ อยละ 55.1 รายได้ลดลง (ลดลงน้ อยกว่า 50% ร้อยละ 34.1 และลดลงตั้งแต่ 50% ขึ้นไป ร้อยละ 21.0) ในขณะที่ค่าใช้จ่ายและหนี้สินของครัวเรือนส่วนใหญ่ ไม่เปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ครัวเรือน ร้อยละ 55.8 ระบุว่า ค่าใช้จ่ายไม่เปลี่ยนแปลง และร้อยละ 61.1 หนี้สินไม่ เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-16 ประกอบด้วย ยอดขายลดน้อยลง ร้อยละ 16.2 ถูกพักงาน ร้อยละ 14.0 (ได้รับเงินเดือนน้อยลง ร้อยละ 8.6 ไม่ได้รับเงินเดือน ร้อยละ 5.4) ปัจจั ย การ ผลิตขาดแคลน ราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.2 และอื่น ๆ ร้อยละ 12.8 (แผนภูมิ 2) แผนภูมิ 2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามผลกระทบในการประกอบอาชีพ 16.2% ไม่ไ ด้รับ

ได้รับ ผลกระทบ ผลกระทบ

54.1%

14.0%

7.2%

6.4%

45.9%

4.6%

ยอดขายลดน้อยลง ถูกพักงาน ปัจจัยการผลิต เลิกขาย/ปิดกิจการ ถูกเลิกจ้าง/ปลดออกงาน

หมายเหตุ : สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ

ผลกระทบด้านสาธารณสุข พบว่า ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน – 30 กรกฎาคม 2564 มีจำนวนผู้ติดเชื้อ โควิด-19 ยอดสะสม 980 ราย รักษาหายแล้ว 577 ราย และอยู่ระหว่างการรักษา 400 ราย ซึ่งอำเภอที่ พ บ ผู ้ ป ่ ว ยติ ดเชื้ อยืนยั นส่ ว นใหญ่ อยู ่ ที่ อำเภอนากลางจำนวน 194 ราย เมื องหนองบั ว ลำภู จำนวน 193 ราย อำเภอโนนสัง จำนวน 190 ราย อำเภอศรีบุญเรืองจำนวน 170 ราย และอำเภอสุวรรณคูหามีผู้ป่วย 150 ราย ส่วนอำเภอนาวัง พบผู้ป่วย จำนวน 83 ราย (แผนภูมิ 3) แผนภูมิ 3 จำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 สะสมตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน–30 กรกฎาคม 2564 จังหวัดหนองบัวลำภู สุวรรณคูหา

เสียชีวิต 3 ราย

150 ราย นาวัง นากลาง 83 ราย 194 ราย

เมือง หนองบัวลำภู 193 ราย

ศรีบุญเรือง 170 ราย

โนนสัง 190 ราย

อยู่ระหว่างการ รักษา 400 ราย

รักษาหายแล้ว 577 ราย


สถานการณ์ที่มีการแพร่ระบาดโรคโควิด -19 อย่างรวดเร็ว เพื่อเป็นการป้องกัน ลดจำนวนผู้ ป่ ว ย และให้เกิดภูมิคุ้มกันให้กับประชาชน จึงได้ตั้งเป้าหมายในการฉีดวัคซีน ให้ประชาชนทุกอำเภอ ร้อยละ 70 โดย ใช้วัคซีนทั้งหมด 359,000 โดส ในวันที่ 29 กรกฎาคม 2564 ได้มีการฉีดวัคซีนไปแล้วทั้งหมด 39,500 โดส แบ่ง ออกเป็ น วั ค ซี น SinoVac 21,229 โดส และวั คซีน AstraZeneca 18,271 โดส ผลจากการฉี ดวั คซีน พบว่า ประชาชนที่ได้รับวัคซีนมีอาการข้างเคียงที่พบบ่อยที่สุดภายหลังจากฉีดวัคซีนโควิด -19 (ภายใน 30 นาที) คือมี ความดันโลหิตสูง รองลงมาคือบวม แดง ร้อน และปวดศีรษะ ส่วนอาการข้างเคียงที่พบบ่อยที่สุดภายหลัง ฉี ด วัคซีนโควิด-19 (ภายหลัง 30 นาที) คือปวดกล้ามเนื้อ รองลงมาคือปวดศีรษะ และเหนื่อย อ่อนเพลียไม่มีแรง

ผลกระทบด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สาร พฤติ กรรมการใช้ ค อมพิ ว เตอร์ และ อิ นเทอร์เน็ ตของประชาชน จั ง หวั ดหนองบัวลำภู ในยุ ดโควิ ด-19 มี แนวโน้มเพิ่ มสูงขึ ้น จากผลสำรวจของ สำนั กงานสถิ ติ จ ั ง หวั ดหนองบั ว ลำภู ที่ พบว่ า ในปี 2563 มี การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ เพิ ่ มขึ ้ น คื อจากปี 2562 ร้อยละ 2.7 และการใช้อินเตอร์เน็ต เพิ่มขึ้นจากปี 2562 ร้อยละ 16.9 (แผนภูมิ 4) แผนภูมิ 4 ร้อยละของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไป จำแนกตามการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต พ.ศ.2560-2563 74.2%

57.3% 39.8%

44.0%

22.2%

19.3%

2560

2561

12.5%

15.2%

2562

2563

ส่ ว นของเทคโนโลยีที ่ ช่ว ยในการดำเนิ นชี วิ ต ในช่ วงสถานการณ์ การแพร่ ระบาดของโรคโควิ ด-19 พบว่า มีการซื้อของผ่านออนไลน์ ร้อยละ 88.9 รองลงมาคือ Web App ไทยชนะ ร้อยละ 77.0 Web App หมอชนะ ร้อยละ 69.2 การขายของผ่านออนไลน์ ร้อยละ 63.3 และการเรียนรู้ ผ่านออนไลน์ของเด็ก/นักศึกษา (โดยใช้จากโครงการเน็ตประชารัฐ/ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน/ศูนย์ดิจิทัลชุมชน) ร้อยละ 61.3 ตามลำดับ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้ อโควิด -19 ในปัจจุบันยังคงมีการแพร่ระบาดเพิ่ ม มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงมีแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุข เพื่อการจัดการภาวะระบาดของโรคโควิด -19 ให้กับประชาชน โดยมีแนวทางการปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้ 1. สำหรับประชาชนทั่วไปแนวทางการดูแลสุขอนามั ยส่ว นบุคคล เพื่อป้องกันและลดการแพร่ เ ชื้ อ COVID-19 ด้วยหลักการ 3 ล. “ลด เลี่ยง ดูแล” คือ


ฉ 1) ลดสัมผัส ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่และน้ำ หรือเจลแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนรับประทานอาหาร หลังใช้สุขภัณฑ์ หรือหลังจากไอ จาม หรือหลังสัมผัสจุดเสี่ยงที่มีผู้ใช้งานร่วมกันในที่สาธารณะ เช่น กลอนหรื อ ลูกบิดประตู ราวจับหรือราวบันได เป็นต้น 2) เลี่ยงจุดเสี่ยง หลีกเลี่ยงการเข้าไปในพื้ นที่ที่มีคนหนาแน่น แออัด หรือพื้นที่ ปิ ด โดยเฉพาะ ผู้สูงอายุเด็กและสตรีตั้งครรภ์หากจำเป็นให้ใส่หน้ากากตามความเหมาะสม เช่น หน้ากากผ้า 3) ดูแลสุขภาพตนเองและสังคม ดูแลตัวเองด้วยการเลื อกทานอาหารที่ร้อนหรื อปรุ ง สุ กใหม่ ๆ ออกกำลังกายสม่ำ เสมอและพั กผ่ อนให้เพี ยงพอ และรักษาระยะห่างทางสังคม ด้วยการอยู่ ที่ บ้ า นหรื อเลื อก ทำงานที่บ้าน หากออกนอกบ้าน ให้รักษาระยะห่างระหว่างบุคคลไม่น้อยกว่า 1-2 เมตร ในทุกที่ทุกเวลา 2. สำหรับผู้ที่เดินทางมาจากพื้นทีเ่ สี่ยงที่เป็นเขตติดโรคติดต่ออันตรายและพื้นที่ทมี่ ีการระบาดต่อเนื่อง และไม่ได้มีอาการป่วย หรือผู้ที่สัมผัสกับผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ก่อนเดินทางกลับมาภูมิลำเนาจะต้องแจ้ง ผู้นำชุมชน/ผู้ใหญ่บ้าน และ อสม.ควรแยกเพื่อสังเกตอาการที่บา้ นเป็นระยะเวลา 14 วัน (ระยะฟักตัวของเชื้อโรค) เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค 3. สำหรับผู้ที่มีผลการตรวจยืนยันติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และอยู่ระหว่างรอเข้ารับการรักษา และ อาศั ย อยู ่ในที ่พ ำนั ก หากประสงค์ จะกลับมารั กษาที ่จั งหวัดหนองบั วลำภูให้ ประสานล่ วงหน้ าก่ อนเดินทาง เข้าพื้นที่ จังหวัดหนองบัวลำภู ได้ 2 วิธี คือ (1) โทรแจ้งศูนย์ประสานงานรับคนหนองบัวลำภูกลับบ้าน ระหว่าง เวลา 08.30 น.-16.30 น.ของทุกวัน หรือ ลงทะเบียนผ่านระบบหนองบัวลำภูพร้อม ได้ตลอด 24 ชั่วโมง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.