สำนักงำนสถิติจังหวัดหนองบัวลำภู สำนักงำนสถิติแห่งชำติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
คำนำ สำนักงำนสถิติแห่งชำติ โดยสำนักงำนสถิติจังหวัดหนองบัวลำภู ได้ดำเนินกำรเก็บรวบรวม ข้อมูลแรงงำนนอกระบบในไตรมำสที่ 3 (เดือนกรกฎำคม – กันยำยน ) พ.ศ. 2563 พบว่ำ แรงงำนนอกระบบซึ่ง เป็นผู้ที่ทำงำนแต่ไม่ได้รั บควำมคุ้มครองหรือไม่มีหลักประกันทำงสังคมจำกกำรทำงำนถึงร้อยละ 75.0 ของผู้ ทำงำนทั้งหมด 226,950 คน และจำกข้อมูลกำรสำรวจยังพบว่ำ แรงงำนนอกระบบเหล่ำนี้อยู่ในภำคเกษตรกรรม เป็นส่วนใหญ่ และมีกำรศึกษำไม่สูงนัก ดังนั้นสำนักงำนสถิติจังหวัดหนองบัวลำภูหวังว่ำ ข้อมูลกำรสำรวจแรงงำนนอกระบบที่เผยแพร่ ฉบับนี้ จะเป็นข้อมูลสถิติให้หน่วยงำนต่ำง ๆ ได้ทรำบถึงลักษณะที่สำคัญของแรงงำนนอกระบบ ได้แก่ อำยุ เพศ กำรศึกษำ อำชีพ ลักษณะกิจกรรมในด้ำนกำรผลิต ชั่วโมงกำรทำงำน รำยได้ และปัญหำจำกกำรทำงำน เพื่อให้ หน่วยงำนที่ดูแลด้ำนแรงงำนทั้งทำงตรงและทำงอ้อมได้มีช่องทำงที่จะเข้ำถึงและเตรียมควำมพร้อมให้กับแรงงำน นอกระบบเหล่ำนี้ เพื่อสำมำรถยกระดับและสร้ำงควำมเสมอภำคต่อกลุ่มแรงงำนนอกระบบให้มีคุณภำพชีวิตที่ดี ขึ้น ทั้งกับตัวแรงงำนเองและครอบครัวต่อไป
บทสรุปสำหรับผู้บริหำร การส ารวจแรงงานนอกระบบ จั ง หวั ด หนองบั ว ล าภู พ.ศ. 2563 ท าการเก็ บ รวบรวม ข้ อ มู ล ระหว่ า งเดื อ นกรกฎาคม – กั น ยายน พ.ศ. 2563 โดยการผนวกข้อถามเข้ากับการสารวจ ภาวะการทางานของประชากร ซึ่งผลการสารวจใน ปี 2563 สรุปสาระสาคัญ ได้ดังนี้ 1.แรงงำนในระบบ หมำยถึง ผู้ที่มีงานทาที่ได้รับความคุ้มครอง หรื อ หลั ก ประกั น ทางสั ง คม ได้ แ ก่ ข้ า ราชการ ลูกจ้างประจา ของส่วนราชการส่วนกลางและส่วน ภู มิ ภ าคและรา ช การส่ ว นท้ อ งถิ่ น ลู ก จ้ า ง รั ฐ วิ ส าหกิ จ ครู ใ หญ่ ห รื อ ครู โ รงเรี ย นเอกชนตาม กฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน ลูกจ้างของรัฐบาล ต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศลูกจ้างที่ ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายแรงงานและผู้มี งานทาที่ประกันตนตาม พรบ.ประกันสังคม มาตรา 33,39 และ 40
2.แรงงำนนอกระบบ หมำยถึง ผู้มีงานทาที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง หรื อ ไม่ มี ห ลั ก ประกั น ทางสั ง คมจากการท างาน เช่นเดียวกับแรงงานในระบบ จากจ านวนประชากรผู้ มี ง านท าทั้ ง สิ้ น 226,950 คน เป็นผู้ทางานที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง หรื อ ไม่ มี ห ลั ก ประกั น ทางสั ง คมจากการท างาน เรียกว่าแรงงานนอกระบบ จานวน 170,140 คน หรือร้อยละ 75.0 และที่เหลือเป็นแรงงานในระบบ จ านวน 56,810 คน หรื อ ร้ อ ยละ 25.0 ส าหรั บ แรงงานนอกระบบ เมื่ อ พิ จ ารณาตามเพศพบว่ า เพศชายมีจานวนมากกว่าเพศหญิง คือเพศชายมี จานวน 95,846 คน หรือร้อยละ 56.3 เพศหญิงมี จานวน 74,295 คน หรือร้อยละ 43.7 ของแรงงาน นอกระบบทั้งหมด นอกจากนั้นแรงงานนอกระบบ จานวน 115,201 คน เป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือใน ด้ า นการเกษตรและการประมงมากที่ สุ ด คื อ ร้อยละ 67.7
3.ระดับกำรศึกษำที่สำเร็จของแรงงำนนอกระบบ สาหรั บ การศึกษาที่ส าเร็ จ ของแรงงานนอก ระบบ พบว่ า ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผู้ ที่ จ บการศึ ก ษาใน ระดั บ ต่ ากว่ า ประถมศึ ก ษามากที่ สุ ด จ านวน 59,158 คน หรือร้อยละ 34.8 รองลงมาเป็นระดับ ประถมศึ ก ษา จ านวน 55,604 คน หรื อ ร้ อ ยละ 32.7 และระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น จ านวน 24,014 คน หรือ ร้อยละ 14.1ระดับ มัธยมศึกษา ตอนปลาย จานวน 20,571 คน หรือร้อยละ 12.1 ระดับอุดมศึกษา จานวน 10,793 คน หรือร้อยละ 6.3 4.ปัญหำของแรงงำนนอกระบบ จากผลการส ารวจแรงงานนอกระบบต่ อ ปั ญหาต่าง ๆ จากการทางานเพื่อให้ ห น่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา พบว่า ปัญหาจากการทางานที่แรงงานนอกระบบต้องการ ให้ภาครัฐช่วยเหลือมากที่สุด คือ เรื่องไม่มีวันหยุด ร้อยละ 28.1 รองลงมาคือ งานหนัก ร้อยละ 26.0 ค่าตอบแทน ร้อยละ 20.8 งานขาดความต่อเนื่อง ร้อยละ 14.8 ชั่วโมงทางานมากเกินไป ร้อยละ 1.6 และไม่ทราบ ร้อยละ 8.8 ปั ญหาจากสภาพแวดล้ อม ส าหรั บปั ญหาจาก สภาพแวดล้ อมในการท างานที่ แรงงานนอกระบบ ประสบมากที่ สุ ดคื อ แสงสว่ างไม่ เพี ยงพอ ร้ อยละ 55.7 ฝุ่ นละออง ควั น กลิ่ น ร้ อยละ 22.5 เสี ยงดั ง ร้ อยละ 9.8 อิ ริ ย าบถในการท างาน ร้ อยละ 7.9 ไม่ ทราบ ร้ อยละ 2.6 อื่ นๆ เช่ น สถานที่ ทางานไม่ สะอาด ร้อยละ 1.14 การได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการทางาน ส าหรั บ การได้ รั บ บาดเจ็ บ หรื อ อุ บั ติ เ หตุ จ ากการ ทางานของแรงงานนอกระบบในปี 2563 มีจานวน 9,713 คน เกิดจากการได้รั บ สารเคมีเป็น พิษมาก ที่ สุ ด ร้ อ ยละ 62.2 รองลงมา ได้ รั บ อั น ตรายต่ อ ระบบหู / ระบบตา ร้ อ ยละ 28.3 เครื่ อ งจั ก ร เครื่องมือที่เป็นอันตราย ร้อยละ 4.8 ตามลาดับ
5. เปรียบเทียบกำรเปลี่ยนแปลงของแรงงำนนอก ระบบในช่วงปี 2556 – 2563 เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ ปี 2556 จนถึงปี 2563 พบว่า ในช่วงปี 2556 – 2563 แรงงานนอก ระบบลดลง โดยลดลงจากร้อยละ 81.4 ในปี 2557 ร้อยละ 76.3 ในปี 2558 ร้อยละ 73.0 ในปี 2559 ร้อยละ 68.0 ในปี 2560 ร้อยละ 65.7 ในปี 2562 แต่ มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น ร้ อยละ 67.2 ในปี 2563 อย่างไรก็ตาม แนวนโยบายของภาครัฐยังคงต้องการ ผลักดันผู้ทางานในตลาดแรงงานจากผู้ทางานที่เป็น แรงงานนอกระบบให้เข้าสู่ในระบบซึ่งจะเห็นได้ว่าที่ ผ่ านมา จ านวนแรงงานในระบบมี แนวโน้ มเพิ่มขึ้ น อย่างต่อเนื่อง ส าหรั บระดั บการศึ กษาที่ ส าเร็ จของแรงงาน นอกระบบในช่ วงปี 2556 – 2563 พบว่ า แรงงาน นอกระบบกลุ่มใหญ่ยังเป็นผู้ที่ไม่มีการศึกษาและต่า กว่ า ระดั บ ประถมศึ ก ษา รองลงมาเป็ น ระดั บ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษา ตอน ปลาย และอุดมศึกษา ตามลาดับ
สารบัญ หน้า คานา บทสรุปสาหรับผู้บริหาร สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนา 1. ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ 2. คุ้มรวม 3. คาอธิบายศัพท์ แนวคิด คาจากัดความ
1 1 1
บทที่ 2 ผลการสารวจที่สาคัญ 1. จานวนแรงงานในระบบและนอกระบบ
5
2. ระดับการศึกษาที่สาเร็จของแรงงานในระบบและนอกระบบ
5
3. อาชีพของแรงงานในระบบและนอกระบบ
6
4. อุตสาหกรรมของแรงงานในระบบและนอกระบบ
7
5. ชั่วโมงการทางานต่อสัปดาห์ของแรงงานในระบบและนอกระบบ
8
6. แรงงานนอกระบบที่ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการทางาน
9
7. วิธีการรักษาและการใช้สวัสดิการการจ่ายค่ารักษาพยาบาลของแรงงานนอกระบบ
10
8. ปัญหาของแรงงานนอกระบบ
11
8.1 ปัญหาจากการทางาน
11
8.2 ปัญหาความไม่ปลอดภัยจากการทางาน
11
8.3 ปัญหาสภาพแวดล้อมในการทางาน
12
ตารางสถิติ
13
สารบัญตารางสถิติ
14
สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามเพศ
5
ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตาม ระดับการศึกษาสาเร็จ ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามอาชีพ
6 7
ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามอุตสาหกรรม
8
ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละของผู้มีงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามชั่วโมงการทางาน
9
ตารางที่ 6 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตาม การได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ
9
ตารางที่ 7 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามวิธีการรักษาของการ ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ
10
ตารางที่ 8 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบที่ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการ ทางานที่ต้องไปรักษาพยาบาลต่อในสถานพยาบาลจาแนกตามการใช้สวัสดิการในการ เบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล
10
ตารางที่ 9 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามปัญหาจากการทางาน
11
ตารางที่ 10 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามปัญหา ความไม่ปลอดภัยในการทางาน
12
ตารางที่ 11 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามปัญหาจาก สภาพแวดล้อมในการทางาน
12
บทที่ 1 บทนำ 1.ควำมเป็นมำและวัตถุประสงค์ สำนักงำนสถิติแห่งชำติ ได้ดำเนินกำรสำรวจแรงงำนนอกระบบขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2548 โดยทำ กำรสำรวจพร้อมโครงกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกรไตรมำส 3 เพื่อให้มีข้อมูล ใช้อย่ำงต่อเนื่องเป็น ประโยชน์ในกำรวำงแผนกำรบริหำรจัดกำรเศรษฐกิจนอกระบบ จึงได้ดำเนินกำรสำรวจเป็นประจำทุกปี สำหรับ กำรสำรวจในปี 2563 ซึ่งดำเนินกำรสำรวจพร้อมกับกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกรไตรมำสที่ 3 ใน เดือน กรกฎำคม สิงหำคม และกันยำยน พ.ศ. 2563 เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรใช้ข้อมูลแก่หน่วยงำนด้ำนกำร วำงแผนและกำหนดนโยบำย และใช้เป็นฐำนข้อมูลเพื่อกำรศึกษำถึงแรงงำนนอกระบบ ในกำรขยำยควำม คุ้มครองและกำรประกันสังคมให้ครอบคลุมทุกสำขำอำชีพ เพื่อให้ผู้ทำงำนนอกระบบได้เข้ำถึงกำรประกันสังคม และควำมคุ้มครองจำกกำรทำงำน ได้รับควำมเป็นธรรม มีควำมมั่นคงจำกกำรทำงำน ซึ่งจะส่งผลให้แรงงำนนอก ระบบเหล่ำนี้มีคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น สำหรับกำรสำรวจแรงงำนนอกระบบ ได้ดำเนินกำรโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ จำนวน และลักษณะต่ำง ๆ ของประชำกรที่มีงำนทำที่ไม่ได้รับควำมคุ้มครอง และไม่มีหลักประกันทำงสังคม และ ไม่ได้รับควำมคุ้มครองจำกกำรทำงำนตำมกฎหมำยแรงงำน ซึ่งข้อมูลที่ได้จำกกำรสำรวจ ได้แก่ 1) จำนวนแรงงำนที่อยู่ในระบบและนอกระบบ 2) ลั ก ษณะทำงประชำกรและสั ง คมที่ ส ำคั ญ ของแรงงำนในระบบและนอกระบบ เช่ น อำยุ เพศ กำรศึกษำที่สำเร็จ อำชีพ และอุตสำหกรรม ชั่วโมงกำรทำงำน เป็นต้น 3) ข้อมูลอื่น ๆ เกี่ยวกับกำรได้รับบำดเจ็บหรืออุบัติเหตุจำกกำรทำงำน สิทธิกำรรักษำพยำบำล และ ปัญหำที่เกิดขึ้นจำกกำรทำงำน เป็นต้น 2.คุ้มรวม ประชำกรที่อำศัยอยู่ในครัวเรือนส่วนบุคคลและครัวเรือนกลุ่มบุคคล (ประเภทคนงำน) 3.กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ดำเนินกำรระหว่ำงวันที่ 1 – 12 ของเดือนกรกฎำคม สิงหำคม และกันยำยน พ.ศ. 2563 4.คำอธิบำยศัพท์/แนวคิด/คำจำกัดควำม 4.1 แรงงำนในระบบ หมำยถึง ผู้มีงำนทำที่ได้รับควำมคุ้มครองหรือหลักประกันทำงสังคมจำกกำร ทำงำน ได้แก่ 1) ข้ำรำชกำร ลูกจ้ำงประจำของส่วนรำชกำรส่วนกลำง รำชกำรส่ วนภูมิภ ำค และรำชกำรส่ว น ท้องถิ่น 2) ลูกจ้ำงรัฐวิสำหกิจ 3) ครูใหญ่หรือครูโรงเรียนเอกชนตำมกฎหมำยว่ำด้วยโรงเรียนเอกชน 4) ลูกจ้ำงของรัฐบำลต่ำงประเทศหรือองค์กรระหว่ำงประเทศ 5) ลูกจ้ำงที่ได้รับควำมคุ้มครองตำมกฎหมำยแรงงำน 6) ผู้มีงำนทำที่ประกันตนตำม พรบ.ประกันสังคม มำตรำ 33,39 และ 40
4.2 แรงงำนนอกระบบ หมำยถึง ผู้มีงำนทำที่ไม่ได้รับควำมคุ้มครอง หรือไม่มีหลักประกันทำงสังคม จำกกำรทำงำนเช่นเดียวกับแรงงำนในระบบ 4.3 ผู้มีงำนทำ หมำยถึง บุคคลที่มีอำยุ 15 ปีขึ้นไป และในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจ มีลักษณะอย่ำงหนึ่ง อย่ำงใด ดังต่อไปนี้ 1) ได้ทำงำนตั้งแต่ 1 ชั่วโมงขึ้นไป โดยได้รับค่ำจ้ำง เงินเดือน ผลกำไร เงินปันผลค่ำตอบแทนที่มี ลักษณะอย่ำงอื่นสำหรับผลงำนที่ทำเป็นเงินสดหรือสิ่งของ 2) ไม่ได้ทำงำนหรือทำงำนน้อยกว่ำ 1 ชั่วโมงแต่เป็นบุคคลที่มีลักษณะอย่ำงหนึ่งอย่ำงใด ดังต่อไปนี้ (ซึง่ จะถือว่ำเป็น ผู้ที่ปกติมีงำนประจำ) 2.1) ยังได้รับค่ำตอบแทน ค่ำจ้ำง หรือผลประโยชน์อื่น ๆ หรือผลกำไรจำกงำนหรือธุรกิจใน ระหว่ำงที่ไม่ได้ทำงำน 2.2) ไม่ได้รับค่ำตอบแทน ค่ำจ้ำง หรือผลประโยชน์อื่น ๆ หรือผลกำไรจำกงำนหรือธุรกิจใน ระหว่ำงที่ไม่ได้ทำงำน แต่ยังมีงำนหรือธุรกิจที่จะกลับไปทำ 3) ทำงำนอย่ำงน้อย 1 ชั่วโมง โดยไม่ได้รับค่ำจ้ำงในวิสำหกิจหรือไร่นำเกษตรของหัวหน้ำครัวเรือน หรือสมำชิกในครัวเรือน 4.4 งำน หมำยถึง กิจกำรที่ทำที่มีลักษณะอย่ำงหนึ่งอย่ำงใด ดังต่อไปนี้ 1) กิจกำรที่ทำแล้วได้รับค่ำตอบแทน เป็นเงินหรือสิ่งของ ค่ำตอบแทนที่เป็นเงิน อำจจ่ำยเป็นรำย เดือน รำยสัปดำห์ รำยวัน หรือรำยชิ้น 2) กิจกำรที่ทำแล้วได้ผลกำไรหรือหวังที่จะได้รับผลกำไร หรือส่วนแบ่งเป็นกำรตอบแทน 3) กิจกำรที่ทำให้ธุรกิจของสมำชิกในครัวเรือน โดยไม่ได้รับค่ำจ้ำงหรือผลกำไรตอบแทนอย่ำงใด ซึ่งสมำชิกในครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจนั้นจะมีสถำนภำพกำรทำงำนเป็นประกอบธุรกิจส่วนตัวหรือนำยจ้ำง 4.5 อำชีพ หมำยถึง ประเภทหรือชนิดของงำนที่บุคคลนั้นทำอยู่ กำรจัดจำแนกประเภทอำชีพใช้ตำม International Standard Classification of Occupation (ISCO – 08) ขององค์กำรแรงงำนระหว่ำงประเทศ (ILO) 4.6 อุตสำหกรรม หมำยถึง ประเภทของกิจกรรมทำงเศรษฐกิจที่ได้ดำเนินกำร โดยสถำนประกอบกำรที่ บุคคลนั้ นกำลั งทำงำนอยู่ หรือประเภทของธุรกิจซึ่งบุคคลนั้นได้ดำเนินกำรอยู่ในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจ กำร จำแนกประเภทอุตสำหกรรม ใช้ตำม Thailand Standard Industrial Classification, (TSIC) 2009 ฉบับ ปรับปรุง โดยสำนักงำนสถิติแห่งชำติ 4.7 สถำนภำพกำรทำงำน หมำยถึง สถำนะของบุคคลที่ทำงำนในสถำนที่ที่ทำงำน หรือธุรกิจ แบ่ง ออกเป็น 5 ประเภท คือ 1) นำยจ้ำง หมำยถึง ผู้ประกอบธุรกิจของตนเองเพื่อหวังผลกำไร หรือส่วนแบ่ง และได้จ้ำงบุคคล อื่นมำทำงำนในธุรกิจในฐำนะลูกจ้ำง 2) ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้ำง หมำยถึง ผู้ประกอบธุรกิจของตนเองโดยลำพังผู้เดียวหรือ อำจมีบุ คคลอื่น มำร่ ว มกิจ กำรด้ว ยเพื่อหวัง ผลกำไรหรือ ส่ ว นแบ่ ง และไม่ไ ด้จ้ำงลู กจ้ำง แต่อ ำจมีส มำชิกใน ครัวเรือน หรือผู้ฝึกงำนมำช่วยทำงำนโดยไม่ได้รับค่ำจ้ำงหรือค่ำตอบแทนอย่ำงอื่นสำหรับงำนที่ทำ 3) ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับค่ำจ้ำง หมำยถึง ผู้ที่ช่วยทำงำนโดยไม่ได้รับค่ำจ้ำงในไร่นำ เกษตรหรือธุรกิจของสมำชิกในครัวเรือน
4) ลูกจ้ำง หมำยถึง ผู้ที่ทำงำนโดยได้รับค่ำจ้ำง เป็นรำยเดือน รำยสัปดำห์ รำยวัน รำยชิ้น หรือ เหมำจ่ำย ค่ำตอบแทนที่ได้รับจำกกำรทำงำน อำจเป็นเงินหรือสิ่งของ ลูกจ้ำงแบ่งออกเป็น 3 ประเภท -ลูกจ้ำงรัฐบำล หมำยถึง ข้ำรำชกำร พนักงำนเทศบำล พนักงำนองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด เจ้ำหน้ำที่องค์กำรระหว่ำงประเทศ ตลอดจนลูกจ้ำงประจำและลูกจ้ำงชั่วครำวของรัฐบำล -ลูกจ้ำงรัฐวิสำหกิจ หมำยถึง ผู้ที่ทำงำนให้กับหน่วยงำนรัฐวิสำหกิจ -ลูกจ้ำงเอกชน หมำยถึง ผู้ที่ทำงำนให้กับเอกชน หรือธุรกิจของเอกชน รวมทั้งผู้ที่รับจ้ำง ทำงำนบ้ำน 5) กำรรวมกลุ่ม หมำยถึง กลุ่มคนที่มำร่วมกันทำงำนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพึ่งพำตนเอง และ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมำชิกแต่ละคนมีควำมเท่ำเทียมกันในกำรกำหนดกำรทำงำนทุกขั้นตอนไม่ว่ำจะเป็นกำร ลงทุน กำรขำย งำนอื่น ๆ ของกิจกำรที่ทำ ตลอดจนกำรแบ่งรำยได้ให้แก่สมำชิกที่ ตกลงกัน (กำรรวมกลุ่ม ดังกล่ำว อำจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณ์หรือไม่ก็ได้) กำรจำแนกประเภทสถำนภำพกำรทำงำน ใช้ตำม International Classification of Status in Employment, 1993 (ICSE – 93) ขององค์กำรแรงงำนระหว่ำงประเทศ (ILO) มีสถำนภำพกำทำงำนเพิ่มขึ้น อีก 1 กลุ่ม คือ กำรรวมกลุ่ม (Member of Producer’Cooperative) 4.8 ชั่วโมงกำรทำงำน หมำยถึง จำนวนชั่วโมงทำงำนจริงทั้งหมด ในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจ สำหรับ ผู้ที่มีงำนประจำแต่ไม่ได้ทำงำนในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจ ให้บันทึกชั่วโมงกำรทำงำนเป็น 0 ชั่วโมง 4.9 ระดับกำรศึกษำที่สำเร็จ ได้จำแนกกำรศึกษำตำมระดับกำรศึกษำที่สำเร็จ ดังนี้ 1) ไม่มีกำรศึกษำ หมำยถึง บุคคลที่ไม่เคยเข้ำศึกษำในโรงเรียน หรือไม่เคยได้รับกำรศึกษำ 2) ต่ำกว่ำประถมศึกษำ หมำยถึง บุคคลที่สำเร็จกำรศึ กษำต่ำกว่ำชั้นประถมศึกษำปีที่ หรือชั้น ประถมศึกษำปีที่ 7 หรือ ชั้น ม.3 เดิม 3) สำเร็จประถมศึกษำ หมำยถึง บุคคลที่สำเร็จกำรศึกษำตั้งแต่ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 หรือ ชั้น ประถมศึกษำปีที่ 7 หรือ ชั้น ม.3 เดิมขึ้นไป แต่ไม่สำเร็จระดับกำรศึกษำที่สูงกว่ำ 4) สำเร็จมัธยมศึกษำตอนต้น หมำยถึง บุคคลที่สำเร็จกำรศึกษำตั้งแต่ชั้น ม.3 ม.ศ.3 หรือ ม.6 เดิมขึ้นไป แต่ไม่สำเร็จระดับกำรศึกษำที่สูงกว่ำ 5) สำเร็จมัธยมศึกษำตอนปลำย 5.1) สำยวิชำกำร หมำยถึง บุคคลที่สำเร็จกำรศึกษำประเภทสำมัญศึกษำตั้งแต่ ชั้น ม.6 ม.ศ. 5 หรือ ม.8 เดิมขึ้นไป แต่ไม่สำเร็จระดับกำรศึกษำที่สูงกว่ำ 5.2) อำชีวศึกษำ หมำยถึง บุคคลที่สำเร็จกำรศึกษำประเภทอำชีวศึกษำหรือวิชำชีพที่เรียนต่อ จำกระดับมัธยมศึกษำตอนต้น หรือเทียบเท่ำ โดยมีหลั กสูตรไม่เกิน 3 ปี และไม่สำเร็จ ระดับกำรศึกษำที่สูงกว่ำ 5.3) วิชำกำรศึกษำ หมำยถึง บุคคลที่สำเร็จกำรศึกษำประเภทวิชำกำรศึกษำ (กำรฝึ กหัดครู) ในระดับมัธยมศึกษำตอนปลำยหรือเทียบเท่ำขึ้นไป แต่ไม่สำเร็จระดับกำรศึกษำที่สูงกว่ำ
6) อุดมศึกษำ 6.1) สำยวิชำกำร หมำยถึง บุคคลที่สำเร็จกำรศึกษำประเภทสำมัญศึกษำหรือสำยวิชำกำร โดยได้รับวุฒิบัตรระดับอนุปริญญำ ปริญญำตรี โท เอก 6.2) สำยวิชำชีพ หมำยถึง บุคคลที่สำเร็จกำรศึกษำประเภทอำชีวศึกษำหรือสำยวิชำชีพที่ได้รับ ประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นสูง หรือเทียบเท่ำอนุปริญญำ ปริญญำตรี 6.3) วิ ช ำกำรศึ ก ษำ หมำยถึ ง บุ ค คลที่ ส ำเร็ จ กำรศึ ก ษำประเภทวิ ช ำกำรศึ ก ษำ และได้ รั บ ประกำศนียบัตรระดับอนุปริญญำ ปริญญำตรี 7) อำชี ว ศึ ก ษำระยะสั้ น หมำยถึ ง บุ ค คลที่ ส ำเร็ จ กำรศึ ก ษำหรื อ กำรฝึ ก อบรม ประเภท อำชีวศึกษำที่มีหลักสูตรไม่เกิน 1 ปี และได้รับประกำศนียบัตรหรือใบรับรองเมื่อสำเร็จ กำรศึกษำ พื้นควำมรู้ของผู้เข้ำเรียนได้กำหนดให้แตกต่ำงตำมวิชำเฉพำะแต่ละอย่ำงที่เรียน แต่อย่ำงต่ำต้องจบประถมศึกษำปีที่ 4 หรือเทียบเท่ำ 8) อื่น ๆ หมำยถึง บุคคลที่สำเร็จกำรศึกษำที่ไม่สำมำรถเทียบชั้นได้
บทที่ 2 ผลการสารวจที่สาคัญ 1. จานวนแรงงานในระบบและนอกระบบ รายงานผลการสารวจแรงงานนอกระบบฉบับนี้ ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ระหว่างวันที่ 1 – 12 ของเดื อ นกรกฎาคม – กั น ยายน พ.ศ. 2563 ท าให้ ท ราบถึ ง จ านวนผู้ ท างานที่ เ ป็ น แรงงานในระบบ และนอกระบบ ลั ก ษณะทางประชากรและสั ง คมที่ ส าคั ญ ของแรงงานนอกระบบ ตลอดจนปั ญ หา และสวัสดิการต่าง ๆ ที่แรงงานนอกระบบได้รับ ซึ่งผลการสารวจสรุปได้ดังนี้ จากผลการสารวจ พบว่า ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทา จานวน 226,950 คน เป็นแรงงาน นอกระบบ 170,140 คน หรือร้อยละ 75.0 และเป็นแรงงานในระบบ 56,810 คน หรือร้อยละ 25.0 ส าหรั บ ประชากรชายอายุ 15 ปี ขึ้ น ไปผู้ มี ง านท า จ านวน 126,461 คน มี จ านวน 95,846 คน หรือร้อยละ 75.8 เป็นแรงงานนอกระบบ และจานวน 30,615 คน หรือร้อยละ 24.2 เป็นแรงงานในระบบ ส่วนประชากรหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไปผู้มีงานทา จานวน 100,489 คน มีจานวน 74,295 คน หรือร้อยละ 73.9 เป็นแรงงานนอกระบบ และจานวน 26,194 คน หรือร้อยละ 26.1 เป็นแรงงานในระบบ (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามเพศ
ผู้มีงำนทำ รวมยอด
รวม จำนวน 226,950
ชำย ร้อยละ
จำนวน
100.0 126,461
หญิง ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
100.0 100,489
100.0
แรงงานในระบบ
56,810
25.0
30,615
24.2
26,194
26.1
แรงงานนอกระบบ
170,140
75.0
95,846
75.8
74,295
73.9
2. ระดับการศึกษาที่สาเร็จของแรงงานในระบบและนอกระบบ ส าหรั บ การศึ ก ษาที่ ส าเร็ จ ผู้ มี ง านท าส่ ว นใหญ่ จ านวน 65,075 คน หรื อ ร้ อ ยละ 28.7 ส าเร็ จ การศึกษาระดับประถมศึกษา รองลงมา จานวน 63,176 คน หรือร้อยละ 27.8 สาเร็จการศึกษาระดับต่า กว่าประถมศึกษา จานวน 35,367 คน หรือร้อยละ 15.6 สาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา จานวน 33,332 และ 29,043 คน หรือร้อยละ 13.8 และ 13.1 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย และไม่มีการศึกษา จานวน 957 คน หรือร้อยละ 0.4 เมื่อ เปรี ย บเทีย บระดั บ การศึ กษาที่ ส าเร็ จของผู้ มีง านทาที่เ ป็น แรงงานในระบบและนอกระบบ พบว่า แรงงานในระบบส่วนใหญ่ ร้อยละ 43.3 สาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา รองลงมาร้อยละ 16.7 สาเร็จการศึกษาระดับระดับประถมศึกษา และร้อยละ 16.4 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในขณะที่แรงงานนอกระบบส่วนใหญ่ร้อยละ 34.2 สาเร็จการศึกษาระดับต่ากว่าประถมศึกษา รองลงมา ร้อยละ 32.7 สาเร็จการศึกษาระดับ ประถมศึกษา และร้อยละ 14.1 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น และร้อยละ 12.1 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามลาดับ (ตารางที่ 2)
ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามระดับการศึกษา ที่สาเร็จ ระดับกำรศึกษำทีส่ ำเร็จ
รวม
แรงงำนในระบบ
แรงงำนนอกระบบ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
226,950
100.0
56,810
100.0 170,140
100.0
957
0.4
-
ตา่ กว่าประถมศึกษา
63,176
27.8
ประถมศึกษา
65,075
มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
ยอดรวม ไม่มกี ารศึกษา
-
957
0.6
4,975
8.8
58,201
34.2
28.7
9,471
16.7
55,604
32.7
33,332
14.7
9,317
16.4
24,014
14.1
29,043
12.8
8,472
14.9
20,571
12.1
25,407
11.2
6,322
11.1
19,084
11.2
2,960
1.3
1,675
2.9
1,285
0.8
677
0.3
475
0.8
202
0.1
35,367
15.6
24,574
43.3
10,793
6.3
สายวิชาการ
18,447
8.1
13,256
23.3
5,191
3.1
สายวิชาชีพ
9,664
4.3
4,992
8.8
4,672
2.7
สายวิชาการศึกษา
7,256 3.2 465 0.20489
6,326
11.1
930
0.5
สายสามัญ สายอาชีวศึกษา สายวิชาการศึกษา อุดมศึกษา
3. อาชีพของแรงงานในระบบและนอกระบบ เมื่อพิจารณาตามลั กษณะอาชีพของแรงงานในระบบ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือ ในด้าน ผู้ประกอบอาชีพด้านต่าง ๆ ร้อยละ 19.6 รองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขาย และการให้ บ ริ ก าร ร้ อ ยละ 12.9 พนั ก งานบริ ก ารและพนั ก งานในร้ า นค้ า และตลาด ร้ อ ยละ 14.7 ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถและฝี มือและธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 12.2 ปฏิบัติการโรงงาน เครื่ อ งจั ก รและผู้ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นการประกอบ ร้ อ ยละ 11.0 ผู้ ป ระกอบอาชี พ ด้ า นเทคนิ ค สาขา ต่าง ๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 9.3 เสมียน ร้อยละ 9.1 บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ และผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง ร้อยละ 6.8 สาหรั บ แรงงานนอกระบบ ส่ว นใหญ่เป็นผู้ ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง ร้อยละ 67.7 รองลงมาคือพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด ร้อยละ 15.6 ผู้ปฏิบัติงาน ด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 8.5 อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขาย และการให้บ ริการ ร้อยละ 5.9 ที่เหลื อเป็นผู้ ปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ซึ่งมีสั ดส่ วนน้อยกว่า ร้อยละ 3.0 (ตารางที่ 3)
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามอาชีพ
อำชีพ
รวม แรงงำนในระบบ แรงงำนนอกระบบ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ยอดรวม ผูบ้ ญั ญัตกิ ฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโสและผูจ้ ัดการ
226,950 6,637
2.9
3,869
6.8
2,768
1.6
ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านต่างๆ
12,099
5.3 11,162
19.6
937
0.6
ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพทีเกียวข้อง
6,502
2.9
5,273
9.3
1,229
0.7
เสมียน
5,171
2.3
5,171
9.1
-
-
พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด
33,467
14.7
6,959
12.3 26,507
15.6
ผูป้ ฏิบตั งิ านทีมีฝมี อื ในด้านการเกษตร และการประมง
119,069
52.5
3,868
6.8 115,201
67.7
ผูป้ ฏิบตั งิ านด้านความสามารถทางฝีมอื และธุรกิจอืนๆทีเกียวข้อง
21,387
9.4
6,950
12.2 14,437
8.5
ผูป้ ฏิบตั กิ ารโรงงานและเครืองจักรและผูป้ ฏิบตั งิ านด้านการประกอบ
7,984
3.5
6,232
11.0
1,752
1.0
อาชีพขัน้ พืน้ ฐานต่างๆ ในด้านการขาย และ การให้บริการ
14,634
6.4 -
7,326
12.9 -
7,308
5.9 -
คนงานซึงมิได้จ่าแนกไว้ในหมวดอืน
-
100.0 56,810
-
100.0 170,140
100.0
-
4. อุตสาหกรรมของแรงงานในระบบและนอกระบบ จากผลการส ารวจ จะเห็ น ว่ า แรงงานนอกระบบส่ ว นใหญ่ ท างานสาขาเกษตรกรรม การป่า ไม้ และการประมง จานวน 115,993 คน คิดเป็นร้อยละ 68.2 รองลงมาเป็นสาขาการขายส่ง – การขายปลีก จานวน 19,467 คน คิดเป็นร้อยละ 11.4 สาขาการผลิต จานวน 9,956 คน คิดเป็นร้อยละ 5.9 สาขา กิจกรรมโรงแรมและอาหาร จานวน 9,938 คน คิดเป็นร้อยละ 5.8 และสาขาการก่อสร้าง จานวน 6,651 คน คิดเป็นร้อยละ 3.9 ที่เหลือเป็นอุตสาหกรรมอื่น ๆ ซึ่งมีสัดส่วนไม่มากนัก ส าหรั บ แรงงานในระบบ ส่ ว นใหญ่ ท างานสาขาการบริ ห ารราชการและการป้ อ งกั น ประเทศ จานวน 13,259 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3 รองลงมาเป็นอื่น ๆ จ านวน 10,047 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 17.7 สาขาการศึกษา จานวน 8,792 คน คิดเป็นร้อยละ 15.5 สาขาการขายส่ง – การขายปลีก จานวน 8,046 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 14.2 สาขาการผลิ ต จ านวน 5,159 คน คิด เป็ น ร้ อ ยละ 9.1 สาขาการก่ อ สร้ า ง จ านวน 3,520 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 6.21 สาขาการก่ อ สร้ า ง จ านวน 1,572 คน คิ ด เป็น ร้ อ ยละ 2.8 และสาขากิจกรรมโรงแรมและอาหาร จานวน 1,208 คน คิดเป็นร้อยละ 2.1 (ตารางที่ 4)
ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามอุตสาหกรรม อุตสำหกรรม
รวม จำนวน
ร้อยละ
แรงงำนในระบบ จำนวน ร้อยละ
แรงงำนนอกระบบ จำนวน ร้อยละ
ยอดรวม
226,950
100.0
56,810
100.0
170,140
100.0
ภำคเกษตรกรรม
121,200
53.4
5,207
9.2
115,993
68.2
เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง
121,200
53.4
5,207
9.2
115,993
68.2
นอกภำคเกษตรกรรม
105,750
46.6
51,603
90.8
54,147
31.8
การผลิต
15,115
6.7
5,159
9.1
9,956
5.9
การก่อสร้าง
10,171
4.5
3,520
6.2
6,651
3.9
การขายส่ง-การขายปลีก
27,513
12.1
8,046
14.2
19,467
11.4
2,418
1.1
1,572
2.8
847
0.5
กิจกรรมโรงแรมและอาหาร
11,146
4.9
1,208
2.1
9,938
5.8
การบริหารราชการและป้องกันประเทศ
13,648
6.0
13,259
23.3
389
0.2
การศึกษา
9,368 16,371
4.1
8,792 10,047
15.5
576 6,324
0.3
การขนส่งทีเก็บสินค้า
อืนๆ ไม่ทราบ
7.2 -
-
17.7 -
-
3.7 -
-
หมายเหตุ : อื่น ๆ หมายถึง การทาเหมืองแร่เหมืองหิน การไฟฟ้าก๊าซและไอน้า การจัดหาน้าบาบัดน้าเสีย ข้อมูลข่าวสารและ การสื่อสาร กิจการ ทางการเงินและการประกันภัย กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ กิจกรรมทางวิชาชีพและเทคนิค การบริหารและการสนับสนุน สุขภาพและ สังคมสงเคราะห์ ศิลปะ ความบันเทิง นันทนาการ กิจกรรมบริการด้านอื่น ๆ ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล
5. ชั่วโมงการทางานต่อสัปดาห์ของแรงงานในระบบและนอกระบบ ผลการส ารวจ จ าแนกตามชั่ว โมงการทางานต่อ สั ปดาห์ พบว่ า แรงงานนอกระบบที่มี ชั่ ว โมง การทางาน 40 – 49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มากที่สุด จานวน 84,096 คน หรือร้อยละ 49.4 รองลงมาทางาน ตั้งแต่ 30–39 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จานวน 35,339 คน หรือร้อยละ 20.8 ทางาน 50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ จ านวน 24,814 คน หรื อ ร้ อ ยละ 14.6 ขณะที่ ผู้ ท างานน้ อ ยกว่ า 30 (0-29) ชั่ ว โมงต่ อ สั ป ดาห์ มีจานวน 25,891 คน หรือร้อยละ 15.3 สาหรั บแรงงานในระบบมีชั่ว โมงการทางาน 40 – 49 ชั่วโมงต่อสั ปดาห์ มากที่สุ ดคือ มีจานวน 27,181 คน หรือร้อยละ 47.8 รองลงมาทางาน 30 – 39 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จานวน 20,753 คน หรือร้อยละ 36.5 และทางานตั้งแต่ 50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ จานวน 7,587 คน หรือร้อยละ 13.4 ทางาน 20 – 29 ชั่ว โมง จ านวน 744 คน หรื อร้อยละ 1.3 และทางาน 0 ชั่ว โมง จานวน 545 คน หรือร้อยละ 1.0 (ตารางที่ 5)
ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละของผู้มีงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามชั่วโมงการทางาน จำนวนชัว่ โมงกำรทำงำน ยอดรวม
รวม จำนวน ร้อยละ
แรงงำนในระบบ จำนวน ร้อยละ
แรงงำนนอกระบบ จำนวน ร้อยละ
226,950
100.0
56,810
100.0
170,140
100.0
0 ชัวโมง
1,994
0.9
545
1.0
1,449
0.9
1-9 ชัวโมง
523
0.2
-
-
523
0.3
10-19 ชัวโมง
1,994
0.9
-
-
1,994
1.2
20-29 ชัวโมง
22,669
10.0
744
1.3
21,925
12.9
30-39 ชัวโมง
56,092
24.7
20,753
36.5
35,339
20.8
40-49 ชัวโมง
111,277
49.0
27,181
47.8
84,096
49.4
50 ชัวโมงขึน้ ไป
32,401
14.3
7,587
13.4
24,814
14.6
6. แรงงานนอกระบบที่ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการทางาน ผลการส ารวจเกี่ ย วกั บ การได้ รั บ บาดเจ็ บ และอุ บั ติ เ หตุ จากการท างานของแรงงานนอกระบบ พบว่า จานวนแรงงานนอกระบบ 170,140 คน เป็นผู้ที่ไม่ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจานวน 148,701 คน หรือร้อยละ 87.4 และผู้ที่ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ จานวน 21,440 คน หรือร้อยละ 12.6 สาหรับประเภทของการได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ จากการทางาน ส่วนใหญ่ได้รับบาดเจ็บหรือ อุบัติเหตุจากของมีคมบาด/ทิ่ม/แทง จานวน 15,552 คน หรือร้อยละ 9.1 รองลงมาเป็นการพลัดตกหกล้ม จานวน 4,098 คน หรือร้อยละ 2.4 และไม่ทราบ จานวน 818 หรือร้อยละ 0.5 ตามลาดับ ตารางที่ 6 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามการได้รับบาดเจ็บ หรืออุบัติเหตุ กำรได้รับบำดเจ็บหรืออุบัติเหตุ
รวม
แรงงำนในระบบ
แรงงำนนอกระบบ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
226,950
100.0
56,810
100.0
170,140
100.0
201,389
88.7
52,688
92.7
148,701
87.4
25,561
11.3
4,121
7.3
21,440
12.6
4,098
1.8
-
-
4,098
2.4
18,396
8.1
5.0
15,552
9.1
น้่าร้อนลวก
111
0.0
-
111
0.1
อุบตั เิ หตุจากยานพาหนะ การชน/กระแทก โดยวัสดุทั้งแนวราบและแนวดิง สารเคมี
735 232
0.3 0.1
0.4 0.4
505
0.3 -
259
0.1
-
-
259
0.2
96
--
-
-
96
0.1
1,634
0.7
1.4
818
0.5
ยอดรวม ไม่เคยได้รบ ั เคยได้รบ ั บำดเจ็บหรืออุบตั ิเหตุ พลัดตกหกล้ม ของมีคมบาด/ทิม/แทง
อืน ๆ ไม่ทราบ
2,844 230 232
816
-
7. วิธีการรักษาและการใช้สวัสดิการการจ่ายค่ารักษาพยาบาลของแรงงานนอกระบบ สาหรับวิธีการรักษาและการใช้สวัสดิการในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลของแรงงานนอกระบบ ที่เกิดจากการได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการทางาน แรงงานนอกระบบได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจาก การท างานจ านวน 21,440 คน โดยเป็ นการได้ รับบาดเจ็ บหรื ออุบั ติเหตุเล็ กน้อ ย ไม่ไ ด้รับ การรักษา จานวน 17,853 คน หรือร้อยละ 83.3 ไปซื้อยาจากร้านมารักษาเอง จานวน 1,114 คน หรือร้อยละ 5.2 ต้ อ งไปรั บ การรั ก ษาพยาบาลไม่ เ กิ น 3 วั น จ านวน 874 คน หรื อ ร้ อ ยละ 4.1 ส่ ว นผู้ ที่ ต้ อ งรั บ การ รักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเกิน 3 วัน จานวน 780 คน หรือร้อยละ 3.6 และไม่ทราบ จานวน 818 คน หรือร้อยละ 3.8 (ตารางที่ 7) ตารางที่ 7 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามวิธีการรักษาของการ ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ วิธกี ำรรักษำ
รวม
แรงงำนในระบบ
แรงงำนนอกระบบ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
25,561
100.0
4,121
100.0
21,440
100.0
21,006
82.2
3,153
76.5
17,853
83.3
1,267
5.0
153
3.7
1,114
5.2
3.ต้องไปรับการรักษาพยาบาลไม่เกิน 3 วัน
874
3.4
-
-
874
4.1
4.ต้องไปรับการรักษาพยาบาลเกิน 3 วัน
780
3.1
-
-
780
3.6
1,634
6.4
816
19.8
818
3.8
ยอดรวม 1.ไม่ได้ไปรับการรักษาพยาบาล 2.ซือ้ ยามากินเอง
5.ไม่ทราบ
ส าหรั บ แรงงานนอกระบบที่ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ หรื อ อุ บั ติ เ หตุ และต้ อ งไปรั บ การรั ก ษาพยาบาล ต่ อ ในสถานพยาบาล ใช้ บั ต รประกั น สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า ทั้ ง หมด จ านวน 1,518 คน หรื อ ร้ อ ยละ 91.8 และอื่น ๆ จานวน 136 คน หรือร้อยละ 8.2 (ตารางที่ 8) ตารางที่ 8 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบที่ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการ ทางานที่ต้องไปรักษาพยาบาลต่อในสถานพยาบาล จาแนกตามการใช้สวัสดิการในการ เบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล สวัสดิกำรในกำรเบิกจ่ำย ยอดรวม ไม่ใช้สวัสดิกำรในกำรเบิกจ่ำยค่ำรักษำพยำบำล จ่ายเอง ใช้สวัสดิกำรในกำรเบิกจ่ำยค่ำรักษำพยำบำล บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า
รวม
แรงงำนในระบบ
แรงงำนนอกระบบ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
1,654
100.0
-
-
1,654
100.0
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
1,654
100.0
-
-
1,654
100.0
1,518
91.8
-
-
1,518
91.8
ประกันสังคม/กองทุนเงินทดแทน
-
-
-
-
-
-
สวัสดิการข้าราชการ/ข้าราชการบ่านาญ/รัฐวิสาหกิจ
-
-
-
-
-
-
136
8.2
-
-
136
8.2
อืน ๆ
8. ปัญหาของแรงงานนอกระบบ เมื่อพิจ ารณาถึงปัญหาของแรงงานนอกระบบ ซึ่งในการส ารวจครั้งนี้ สนใจปัญหา 3 เรื่องหลั ก คือ ปัญหาจากการทางาน ปัญหาจากความไม่ปลอดภัยในการทางานและปัญหาจากสภาพแวดล้อม 8.1 ปัญหาจากการทางาน ผลการสารวจพบว่า แรงงานนอกระบบมีปัญหาไม่มีวันหยุด จานวน 1,463 คน หรือร้อยละ 28.1 รองลงมางานหนัก จานวน 1,354 คน หรือร้อยละ 26.0 ค่าตอบแทน จานวน 1,081 คน หรือร้อยละ 20.8 งานขาดความต่อเนื่อง จ านวน 769 คน หรือร้อยละ 14.8 ชั่ว โมงทางานมากเกินไป จานวน 81 คน หรือร้อยละ 1.6 และไม่ทราบ จานวน 461 คน หรือร้อยละ 8.8 (ตารางที่ 9) ตารางที่ 9 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามปัญหาจากการทางาน รวม จำนวน ร้อยละ
แรงงำนในระบบ จำนวน ร้อยละ
13,433
100.0
8,223
100.0
5,210
100.0
ค่าตอบแทน
7,893
58.8
6,812
82.8
1,081
20.8
งานหนัก
1,592
11.9
238
2.9
1,354
26.0
งานขาดความต่อเนือง
769
5.7
-
-
769
14.8
ชัวโมงท่างานมากเกินไป
81
0.6
-
-
81
1.6
ไม่มวี นั หยุด
1,463
10.9
-
-
1,463
28.1
ไม่มสี วัสดิการ
357
2.7
357
4.3
-
1,276
9.5
816
9.9
461
ปัญหำจำกกำรทำงำน ยอดรวม
ไม่ทราบ
แรงงำนนอกระบบ จำนวน ร้อยละ
8.8
8.2.ปัญหาความไม่ปลอดภัยจากการทางาน แรงงานนอกระบบที่มีปัญหาความไม่ปลอดภัยจากการทางาน จานวน 9,713 คน ส่วนใหญ่เป็น เรื่องการได้รับสารเคมีเป็นพิษ จานวน 6,040 คน หรือร้อยละ 62.2 รองลงมาเป็นได้รับอันตรายต่อระบบหู/ ระบบตา จานวน 2,751 คน หรื อร้ อยละ 28.3 เครื่องจักร เครื่องมือที่เป็นอันตราย จานวน 462 คน หรือร้อยละ 4.8 และไม่ทราบ จานวน 461 คน หรือร้อยละ 4.7 (ตารางที่ 10)
ตารางที่ 10 จ านวนและร้ อ ยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จ าแนกตามปั ญ หาความไม่ ปลอดภัย ในการทางาน ควำมไม่ปลอดภัยในกำรทำงำน
รวม
แรงงำนในระบบ
แรงงำนนอกระบบ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
จำนวน
ร้อยละ
12,344
100.0
2,631
100.0
9,713
100.0
ได้รับสารเคมีเป็นพิษ
6,478
52.5
438
16.7
6,040
62.2
เครืองจักร เครืองมือทีเป็นอันตราย
1,312
10.6
850
32.3
462
4.8
ได้รับอันตรายต่อระบบหู / ระบบตา
2,751
22.3
-
-
2,751
28.3
106
0.9
106
4.0
-
-
420 1,276
3.4 10.3
420 816
16.0 31.0
461
4.7
ยอดรวม
ท่างานในทีสูง / ใต้น้่า / ใต้ดนิ ความไม่สงบ/ก่อการร้าย ไม่ทราบ
8.3 ปัญหาสภาพแวดล้อมในการทางาน เมื่อพิจารณาปัญหาจากสภาพแวดล้อมในการทางานของแรงงานนอกระบบ พบว่า ส่วนใหญ่ มีปัญหาจากแสงสว่างไม่เพียงพอ จานวน 9,803 คน หรือร้อยละ 55.7 รองลงมาเป็นฝุ่นละออง ควัน กลิ่น จานวน 3,963 คน หรือร้อยละ 22.5 เสียงดัง จานวน 1,723 คน หรือร้อยละ 9.8 อิริยาบถในการทางาน จานวน 1,390 คน หรือร้อยละ 7.9 สถานที่ทางานไม่สะอาด และอื่นๆ จานวน 268 คน หรือร้อยละ 1.5 และไม่ทราบ จานวน 461 คน หรือร้อยละ 2.6 (ตารางที่ 11) ตารางที่ 11 จานวนและร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามปัญหาจาก สภาพแวดล้อมในการทางาน ปัญหำจำกสภำพแวดล้อม ยอดรวม
รวม จำนวน ร้อยละ
แรงงำนในระบบ จำนวน ร้อยละ
แรงงำนนอกระบบ จำนวน ร้อยละ
21,854
100.0
4,246
100.0
17,608
100.0
สถานทีท่างานไม่สะอาด
162
0.7
88
2.1
74
0.4
อิริยาบถในการท่างาน
1,748
8.0
357
8.4
1,390
7.9
ฝุน่ ละออง ควัน กลิน
5,660
25.9
1,697
40.0
3,963
22.5
เสียงดัง
1,813
8.3
90
2.1
1,723
9.8
11,000
50.3
1,197
28.2
9,803
55.7
194
0.9
-
-
194
1.1
1,276
5.8
816
19.2
461
2.6
แสงสว่างไม่เพียงพอ อืน ๆ ไม่ทราบ
ตารางสถิติ
สารบัญตารางสถิติ หน้า ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามกลุ่มอายุ และเพศ พ.ศ. 2563 ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามระดับการศึกษาที่สาเร็จ และเพศ พ.ศ. 2563
15 16
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามอาชีพ และเพศ พ.ศ. 2563
17
ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ พ.ศ. 2563
18
ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตาม จานวนชั่วโมงการทางานต่อสัปดาห์ และเพศ พ.ศ. 2563
19
ตารางที่ 6 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตาม สถานภาพการทางาน และเพศ พ.ศ. 2563
20
ตารางที่ 7 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตาม การได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการทางาน และเพศ พ.ศ. 2563
21
ตารางที่ 8 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตาม วิธีการรักษา ของการได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ และเพศ พ.ศ. 2563
22
ตารางที่ 9 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตาม การใช้สวัสดิการในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล และเพศ พ.ศ. 2563
23
ตารางที่ 10 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตาม ปัญหาจากการทางาน และเพศ พ.ศ. 2563
24
ตารางที่ 11 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตาม ปัญหาความไม่ปลอดภัยในการทางาน และเพศ พ.ศ. 2563
25
ตารางที่ 12 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตาม ปัญหาจากสภาพแวดล้อมในการทางาน และเพศ พ.ศ. 2563
26
ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามกลุม่ อายุ และเพศ พ.ศ. 2563 กลุม่ อายุ
รวม รวม
แรงงานในระบบ
ชาย
หญิง
รวม
ชาย
แรงงานนอกระบบ หญิง
รวม
ชาย
หญิง
จานวน (คน) ยอดรวม
226,950 126,461 100,489
56,810
30,615
26,194
170,140
95,846
74,295
15 - 19
6,368
3,434
2,934
1,407
827
581
4,961
2,607
2,354
20 - 24
16,557
9,262
7,295
6,940
3,408
3,532
9,617
5,854
3,763
25 - 29
21,815
10,655
11,160
9,371
4,905
4,467
12,443
5,750
6,694
30 - 34
16,247
8,020
8,227
7,424
3,399
4,025
8,823
4,621
4,202
35 - 39
16,340
9,314
7,027
5,299
2,709
2,590
11,041
6,605
4,436
40 - 44
25,085
13,430
11,656
8,350
4,016
4,335
16,735
9,414
7,321
45 - 49
28,002
14,830
13,172
4,867
2,334
2,533
23,135
12,496
10,639
50 - 54
30,073
15,274
14,799
5,585
3,345
2,241
24,488
11,929
12,559
55 - 59
28,197
17,945
10,252
4,021
3,025
996
24,176
14,920
9,256
60 ปีขนึ้ ไป
38,265
24,298
13,966
3,544
2,649
895
34,721
21,649
13,072
ร้อยละ ยอดรวม
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
15 - 19
2.8
2.7
2.9
2.5
2.7
2.2
2.9
2.7
3.2
20 - 24
7.3
7.3
7.3
12.2
11.1
13.5
5.7
6.1
5.1
25 - 29
9.6
8.4
11.1
16.5
16.0
17.1
7.3
6.0
9.0
30 - 34
7.2
6.3
8.2
13.1
11.1
15.4
5.2
4.8
5.7
35 - 39
7.2
7.4
7.0
9.3
8.8
9.9
6.5
6.9
6.0
40 - 44
11.1
10.6
11.6
14.7
13.1
16.5
9.8
9.8
9.9
45 - 49
12.3
11.7
13.1
8.6
7.6
9.7
13.6
13.0
14.3
50 - 54
13.3
12.1
14.7
9.8
10.9
8.6
14.4
12.4
16.9
55 - 59
12.4
14.2
10.2
7.1
9.9
3.8
14.2
15.6
12.5
60 ปีขนึ้ ไป
16.9
19.2
13.9
6.2
8.7
3.4
20.4
22.6
17.6
ทีม่ า: การสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 สานักงานสถิติจังหวัดหนองบัวลาภู สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามระดับการศึกษาที่สาเร็จ และเพศ พ.ศ. 2563 ระดับการศึกษาทีส่ าเร็จ
รวม รวม
แรงงานในระบบ
ชาย
หญิง
รวม
ชาย
แรงงานนอกระบบ
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
170,140
95,846
74,295
957
321
637
จานวน (คน)
ยอดรวม ไม่มีการศึกษา
226,950 126,461 100,489
56,810
30,615
26,194
-
-
-
957
321
637
ต่ากว่าประถมศึกษา
63,176
37,648
25,528
4,975
3,492
1,483
58,201
34,156
24,045
ประถมศึกษา
65,075
35,060
30,015
9,471
5,608
3,863
55,604
29,451
26,152
มัธยมศึกษาตอนต้น
33,332
20,345
12,986
9,317
5,904
3,413
24,014
14,442
9,573
มัธยมศึกษาตอนปลาย
29,043
17,986
11,058
8,472
5,836
2,636
20,571
12,149
8,422
25,407
14,997
10,410
6,322
4,188
2,134
19,084
10,808
8,276
2,960
2,312
648
1,675
1,173
502
1,285
1,139
146
677
677
-
475
475
-
202
202
-
35,367
15,101
20,266
24,574
9,775
14,799
10,793
5,326
5,466
สายวิชาการ
18,447
7,401
11,046
13,256
4,615
8,641
5,191
2,785
2,406
สายวิชาชีพ
9,664
4,874
4,790
4,992
2,558
2,434
4,672
2,316
2,355
สายวิชาการศึกษา
7,256
2,827
4,430
6,326
2,602
3,725
930
225
705
อืน ๆ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ไม่ทราบ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
สายสามัญ สายอาชีวศึกษา สายวิชาการศึกษา อุดมศึกษา
ร้อยละ ยอดรวม
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
0.4
0.3
0.6
-
-
-
0.6
0.3
0.9
ต่ากว่าประถมศึกษา
27.8
29.8
25.4
8.8
11.4
5.7
34.2
35.6
32.4
ประถมศึกษา
28.7
27.7
29.9
16.7
18.3
14.7
32.7
30.7
35.2
มัธยมศึกษาตอนต้น
14.7
16.1
12.9
16.4
19.3
13.0
14.1
15.1
12.9
มัธยมศึกษาตอนปลาย
12.8
14.2
11.0
14.9
19.1
10.1
12.1
12.7
11.3
11.2
11.9
10.4
11.1
13.7
8.1
11.2
11.3
11.1
สายอาชีวศึกษา
1.3
1.8
0.6
2.9
3.8
1.9
0.8
1.2
0.2
สายวิชาการศึกษา
0.3
0.5
-
0.8
1.6
-
0.1
0.2
-
15.6
11.9
20.2
43.3
31.9
56.5
6.3
5.6
7.4
สายวิชาการ
8.1
5.9
11.0
23.3
15.1
33.0
3.1
2.9
3.2
สายวิชาชีพ
4.3
3.9
4.8
8.8
8.4
9.3
2.7
2.4
3.2
สายวิชาการศึกษา
3.2
2.2
4.4
11.1
8.5
14.2
0.5
0.2
0.9
อืน ๆ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ไม่ทราบ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ไม่มีการศึกษา
สายสามัญ
อุดมศึกษา
ทีมา: การส่ารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 ส่านักงานสถิติจังหวัดหนองบัวล่าภู ส่านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพือเศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละผู้มงี านทาทีอ่ ยูใ่ นแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามอาชีพ และเพศ พ.ศ. 2563 รวม อาชีพ ยอดรวม ผู้บญ ั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโสและผู้จดั การ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ
รวม
แรงงานในระบบ
ชาย
หญิง
รวม
ชาย
แรงงานนอกระบบ
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
จานวน (คน) 226,950 126,461 100,489 56,810 30,615 26,194 170,140 95,846 74,295 6,637
5,136
1,501
3,869
3,051
818
2,768 2,086
682
12,099
4,096
8,003 11,162
3,521
7,641
937
575
362
6,502
2,337
4,165
5,273
1,776
3,496
1,229
561
668
5,171
2,028
3,143
5,171
2,028
3,143
-
-
-
33,467
10,939 22,528
6,959
3,466
3,493
26,507 7,473
119,069
73,902 45,168
3,868
2,310
1,558
##### #### ####
21,387
12,596
8,791
6,950
5,508
1,442
14,437 7,088 7,349
7,984
5,927
2,057
6,232
4,175
2,057
1,752 1,752
14,634
9,500
5,134
7,326
4,781
2,545
7,308 4,719 2,589
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่าง ๆ และอาชีพที่เกีย่ วข้อง เสมียน พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด ผู้ปฏิบตั ิงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง
####
ผู้ปฏิบตั ิงานด้านความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้อง ผู้ปฏิบตั ิการโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบตั ิงาน ด้านการประกอบ อาชีพขัน้ พืน้ ฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ คนงานซึ่งมิได้จาแนกไว้ในหมวดอืน่
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ร้อยละ 100.0
100.0
100.0
ผู้บญ ั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโสและผู้จดั การ
2.9
4.1
1.5
6.8
10.0
3.1
1.6
2.2
0.9
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ
5.3
3.2
8.0
19.6
11.5
29.2
0.6
0.6
0.5
2.9
1.8
4.1
9.3
5.8
13.3
0.7
0.6
0.9
2.3
1.6
3.1
9.1
6.6
12.0
-
-
-
พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด
14.7
8.6
22.4
12.3
11.3
13.3
15.6
7.8
25.6
ผู้ปฏิบตั ิงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง
52.5
58.4
44.9
6.8
7.5
5.9
67.7
74.7
58.7
9.4
10.0
8.7
12.2
18.0
5.5
8.5
7.4
9.9
3.5
4.7
2.0
11.0
13.6
7.9
1.0
1.8
-
6.4 -
7.5 -
5.1 -
12.9 -
15.6 -
9.7 -
4.3 -
4.9 -
3.5 -
ยอดรวม
100.0 100.0 100.0
100.0 100.0 100.0
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่าง ๆ และอาชีพที่เกีย่ วข้อง เสมียน
ผู้ปฏิบตั ิงานด้านความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้อง ผู้ปฏิบตั ิการโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบตั ิงาน ด้านการประกอบ อาชีพขัน้ พืน้ ฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ คนงานซึ่งมิได้จาแนกไว้ในหมวดอืน่
ที่มา: การสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 สานักงานสถิติจังหวัดหนองบัวลาภู สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละผู้มงี านทาทีอ่ ยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ พ.ศ. 2563 อุตสาหกรรม
รวม
รวม ชาย
หญิง
แรงงานในระบบ รวม ชาย หญิง
แรงงานนอกระบบ รวม ชาย หญิง
จานวน (คน) ยอดรวม ภาคเกษตรกรรม
226,950 126,461 100,489
56,810 30,615 26,194 170,140 95,846 74,295
121,200
75,254
45,946
5,207
3,087
2,120 115,993 72,167 43,826
121,200
75,254
45,946
5,207
3,087
2,120
115,993 72,167 43,826
105,750
51,207
54,543
51,603 27,528 24,075
54,147 23,679 30,468
การผลิต
15,115
4,839
10,276
5,159
2,202
2,957
9,956
2,637
7,319
การก่อสร้าง
10,171
8,336
1,836
3,520
2,577
943
6,651
5,759
892
การขายส่ง-การขายปลีก
27,513
12,798
14,715
8,046
4,658
3,389
19,467
2,418
2,021
397
1,572
1,174
397
847
847
-
กิจกรรมโรงแรมและอาหาร
11,146
2,756
8,390
1,208
183
1,025
9,938
2,573
7,365
การบริหารราชการและป้องกันประเทศ
13,648
8,524
5,124
13,259
8,212
5,046
389
312
78
การศึกษา
9,368 16,371
4,261 7,674
5,107 8,698
8,792 10,047
4,026 4,496
4,767 5,551
576 6,324
235 3,177
341 3,146
เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง
นอกภาคเกษตรกรรม
การขนส่งที่เก็บสินค้า
อื่น ๆ
8,140 11,327
ร้อยละ ยอดรวม
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
ภาคเกษตรกรรม
53.4
59.5
45.7
9.2
10.1
8.1
68.2
75.3
59.0
53.4
59.5
45.7
9.2
10.1
8.1
68.2
75.3
59.0
46.6
40.5
54.3
90.8
89.9
91.9
31.8
24.7
41.0
การผลิต
6.7
3.8
10.2
9.1
7.2
11.3
5.9
2.8
9.9
การก่อสร้าง
4.5
6.6
1.8
6.2
8.4
3.6
3.9
6.0
1.2
12.1
10.1
14.6
14.2
15.2
12.9
11.4
8.5
15.2
การขนส่งที่เก็บสินค้า
1.1
1.6
0.4
2.8
3.8
1.5
0.5
0.9
-
กิจกรรมโรงแรมและอาหาร
4.9
2.2
8.3
2.1
0.6
3.9
5.8
2.7
9.9
การบริหารราชการและป้องกันประเทศ
6.0
6.7
5.1
23.3
26.8
19.3
0.2
0.3
0.1
การศึกษา
4.1
3.4
5.1
15.5
13.1
18.2
0.3
0.2
0.5
อื่น ๆ
7.2
6.1
8.7
17.7
14.7
21.2
3.7
3.3
4.2
เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง
นอกภาคเกษตรกรรม
การขายส่ง-การขายปลีก
หมายเหตุ : อืน่ ๆ หมายถึง การท้าเหมืองแร่เหมืองหิน การไฟฟ้าก๊าซและไอน้า การจัดหาน้าบ้าบัดน้าเสีย ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร กิจการทางการเงินและการประกันภัย กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ กิจกรรมทางวิชาชีพและเทคนิค การบริหารและการสนับสนุน สุขภาพและสังคมสงเคราะห์ ศิลปะ ความบันเทิง นันทนาการ กิจกรรมบริการด้านอืน่ ๆ ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล ไม่ทราบ
ที่มา: การส้ารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 ส้านักงานสถิตจิ งั หวัดหนองบัวล้าภู ส้านักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละผู้มงี านทาทีอ่ ยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามจานวนชั่วโมงการทางาน ต่อสัปดาห์ และเพศ พ.ศ. 2563 จานวนชั่วโมงการทางาน
รวม รวม
ชาย
แรงงานในระบบ หญิง
รวม
ชาย
แรงงานนอกระบบ
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
170,140
95,846
74,295
จานวน (คน) ยอดรวม
226,950 126,461 100,489
56,810
30,615
26,194
0 ชั่วโมง
1,994
1,292
701
545
545
-
1,449
748
701
1-9 ชั่วโมง
523
359
165
-
-
-
523
359
165
10-19 ชั่วโมง
1,994
746
1,249
-
-
-
1,994
746
1,249
20-29 ชั่วโมง
22,669
14,520
8,149
744
566
178
21,925
13,954
7,971
30-39 ชั่วโมง
56,092
32,130
23,961
20,753
11,323
9,430
35,339
20,807
14,532
40-49 ชั่วโมง
111,277
59,259
52,018
27,181
13,251
13,930
84,096
46,009
38,087
50 ชั่วโมงขึ้นไป
32,401
18,154
14,246
7,587
4,930
2,657
24,814
13,224
11,590
ร้อยละ ยอดรวม
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
0 ชั่วโมง
0.9
1.0
0.7
1.0
1.8
-
0.9
0.8
0.9
1-9 ชั่วโมง
0.2
0.3
0.2
-
-
-
0.3
0.4
0.2
10-19 ชั่วโมง
0.9
0.6
1.2
-
-
-
1.2
0.8
1.7
20-29 ชั่วโมง
10.0
11.5
8.1
1.3
1.9
0.7
12.9
14.6
10.7
30-39 ชั่วโมง
24.7
25.4
23.8
36.5
37.0
36.0
20.8
21.7
19.6
40-49 ชั่วโมง
49.0
46.9
51.8
47.8
43.3
53.2
49.4
48.0
51.3
50 ชั่วโมงขึ้นไป
14.3
14.4
14.2
13.4
16.1
10.1
14.6
13.8
15.6
ที่มา: การสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 สานักงานสถิตจิ งั หวัดหนองบัวลาภู สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 6 จานวนและร้อยละผู้มงี านทาทีอ่ ยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามสถานภาพการทางาน และเพศ พ.ศ. 2563
สถานภาพการทางาน
รวม รวม
ชาย
แรงงานในระบบ หญิง
รวม
ชาย
แรงงานนอกระบบ
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
จานวน (คน) ยอดรวม นายจ้าง
226,950 126,461 100,489
56,810 30,615 26,194 170,140 95,846 74,295
1,295
1,053
241
109
109
-
101,758
65,992
35,766
2,098
1,201
898
99,660 64,791 34,869
ช่วยธุรกิจครัวเรือน
62,345
24,823
37,522
1,232
562
670
61,113 24,261 36,852
ลูกจ้างรัฐบาล
26,413
13,211
13,202
25,683 12,900 12,783
730
312
419
ลูกจ้างเอกชน
33,978
20,342
13,637
27,687 15,843 11,844
6,291
4,498
1,793
การรวมกลุ่ม
1,160
1,039
121
-
1,160
1,039
121
ประกอบธุรกิจส่วนตัว
-
-
1,185
944
241
ร้อยละ ยอดรวม
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
0.6
0.8
0.2
0.2
0.4
-
0.7
1.0
0.3
ประกอบธุรกิจส่วนตัว
44.8
52.2
35.6
3.7
3.9
3.4
58.6
67.6
46.9
ช่วยธุรกิจครัวเรือน
27.5
19.6
37.3
2.2
1.8
2.6
35.9
25.3
49.6
ลูกจ้างรัฐบาล
11.6
10.4
13.1
45.2
42.1
48.8
0.4
0.3
0.6
ลูกจ้างเอกชน
15.0
16.1
13.6
48.7
51.7
45.2
3.7
4.7
2.4
การรวมกลุ่ม
0.5
0.8
0.1
-
-
-
0.7
1.1
0.2
นายจ้าง
ที่มา: การสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 สานักงานสถิตจิ งั หวัดหนองบัวลาภู สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 7 จานวนและร้อยละผู้มงี านทาทีอ่ ยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามการได้รับบาดเจ็บ หรืออุบัตเิ หตุจากการทางาน และเพศ พ.ศ. 2563 การได้รบั บาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ
ยอดรวม ไม่เคยได้รับ
รวม รวม
ชาย
แรงงานในระบบ หญิง
รวม
ชาย
แรงงานนอกระบบ
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
226,950 126,461 100,489
จานวน (คน) 56,810 30,615 26,194 170,140 95,846 74,295
201,389 110,677
52,688 27,861 24,827 148,701 82,815 65,885
90,712
25,561
15,784
9,777
4,098
2,826
1,272
-
-
-
4,098
2,826
1,272
18,396
11,319
7,077
2,844
2,212
632
15,552
9,108
6,444
น้าร้อนลวก
111
111
-
-
-
-
111
111
-
อุบตั เิ หตุจากยานพาหนะ
735
210
525
230
-
230
505
210
295
การชน/กระแทก
232
232
-
232
232
-
-
-
-
สารเคมี
259
259
-
-
-
-
259
259
-
อื่น ๆ
96
96
-
-
-
-
96
96
-
1,634
731
903
816
311
505
818
420
398
เคยได้รับบาดเจ็บหรืออุบตั เิ หตุ พลัดตกหกล้ม ของมีคมบาด/ทิ่ม/แทง
4,121
2,754
1,367
21,440 13,030
8,409
โดยวัสดุทังแนวราบและแนวดิ่ง
ไม่ทราบ
ร้อยละ ยอดรวม
100.0 88.7
100.0 87.5
100.0 90.3
100.0 92.7
100.0 91.0
100.0 94.8
100.0 87.4
100.0 86.4
100.0 88.7
11.3
12.5
9.7
7.3
9.0
5.2
12.6
13.6
11.3
พลัดตกหกล้ม
1.8
2.2
1.3
-
-
-
2.4
2.9
1.7
ของมีคมบาด/ทิ่ม/แทง
8.1
9.0
7.0
5.0
7.2
2.4
9.1
9.5
8.7
--
0.1
-
-
-
-
0.1
0.1
-
อุบตั เิ หตุจากยานพาหนะ
0.3
0.2
0.5
0.4
-
0.9
0.3
0.2
0.4
การชน/กระแทก
0.1
0.2
-
0.4
0.8
-
-
-
-
สารเคมี
0.1
0.2
-
-
-
-
0.2
0.3
-
อื่น ๆ
--
0.1
-
-
-
-
0.1
0.1
-
0.7
0.6
0.9
1.4
1.0
1.9
0.5
0.4
0.5
ไม่เคยได้รับ เคยได้รับบาดเจ็บหรืออุบตั เิ หตุ
น้าร้อนลวก
โดยวัสดุทังแนวราบและแนวดิ่ง
ไม่ทราบ
ที่มา: การส้ารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 ส้านักงานสถิตจิ งั หวัดหนองบัวล้าภู ส้านักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 8 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามวิธกี ารรักษา ของการได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ และเพศ พ.ศ. 2563 วิธีการรักษา
รวม รวม
ชาย
แรงงานในระบบ หญิง
รวม
ชาย
แรงงานนอกระบบ
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
จานวน (คน) 25,561 15,784
9,777
4,121
2,754
1.ไม่ได้ไปรับการรักษาพยาบาล
21,006 12,843
8,163
3,153
2,290
862
2.ซือ้ ยามากินเอง
1,267
1,007
259
153
153
-
1,114
854
259
3.ต้องไปรับการรักษาพยาบาลไม่เกิน 3 วัน
874
737
136
-
-
-
874
737
136
4.ต้องไปรับการรักษาพยาบาลเกิน 3 วัน
780
466
315
-
-
-
780
466
315
1,634
731
903
816
311
505
818
420
398
ยอดรวม
5.ไม่ทราบ
1,367 21,440 13,030 17,853 10,552
8,409 7,301
ร้อยละ ยอดรวม
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
82.2
81.4
83.5
76.5
83.2
63.1
83.3
81.0
86.8
2.ซือ้ ยามากินเอง
5.0
6.4
2.7
3.7
5.5
-
5.2
6.6
3.1
3.ต้องไปรับการรักษาพยาบาลไม่เกิน 3 วัน
3.4
4.7
1.4
-
-
-
4.1
5.7
1.6
4.ต้องไปรับการรักษาพยาบาลเกิน 3 วัน
3.1
3.0
3.2-
-
-
--
3.6
3.6
3.7
5.ไม่ทราบ
6.4
4.6
9.2
19.8
11.3
36.9
3.8
3.2
4.7
1.ไม่ได้ไปรับการรักษาพยาบาล
ทีม่ า: การสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 สานักงานสถิติจังหวัดหนองบัวลาภู สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 9 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามการใช้สวัสดิการในการ เบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล และเพศ พ.ศ. 2563 สวัสดิการในการเบิกจ่าย
รวม รวม
แรงงานในระบบ
ชาย
หญิง
รวม ชาย
แรงงานนอกระบบ
หญิง
รวม ชาย
หญิง
จานวน (คน) ยอดรวม
1,654 1,203
451
-
-
-
1,654 1,203
451
1,654 1,203
451
-
-
-
-
-
-
1,654 1,203
451
1,518 1,203
315
1,518 1,203
315
ไม่ใช้สวัสดิการในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล จ่ายเอง ใช้สวัสดิการในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า สวัสดิการข้าราชการ/ข้าราชการบานาญ/รัฐวิสาหกิจ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ประกันสุขภาพกับบริษัทประกันภัย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
136
-
ร้อยละ
-
136
136
อืน่ ๆ ยอดรวม ไม่ใช้สวัสดิการในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล จ่ายเอง ใช้สวัสดิการในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า
-
100.0 100.0 100.0 -
-
100.0 100.0 100.0 -
-
-
-
-
100.0 100.0 100.0
-
-
-
69.8
-
-
-
91.8 100.0
-
136
100.0 100.0 100.0 -
-
-
100.0 100.0 100.0 91.8 100.0
69.8
สวัสดิการข้าราชการ/ข้าราชการบานาญ/รัฐวิสาหกิจ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ประกันสุขภาพกับบริษัทประกันภัย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
8.2
0.0
30.2
-
-
-
8.2
0.0
30.2
อืน่ ๆ
ทีม่ า: การสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 สานักงานสถิติจังหวัดหนองบัวลาภู สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 10 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามปัญหา จากการทางาน และเพศ พ.ศ. 2563 ปัญหาจากการทางาน
รวม รวม
แรงงานในระบบ
ชาย
หญิง
รวม
ชาย
แรงงานนอกระบบ
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
จานวน (คน) 13,433
6,064
7,368
8,223
3,711
4,512
5,210
2,353
2,856
ค่าตอบแทน
7,893
3,347
4,547
6,812
3,133
3,679
1,081
214
868
งานหนัก
1,592
818
774
238
-
238
1,354
818
536
งานขาดความต่อเนือ่ ง
769
576
194
-
-
-
769
576
194
ชัว่ โมงทางานมากเกินไป
81
81
-
-
-
-
81
81
-
ไม่มีวนั หยุด
1,463
435
1,029
-
-
-
1,463
435
1,029
ไม่มีสวัสดิการ
357
267
90
357
267
90
-
-
-
1,276
541
735
816
311
505
461
230
230
ยอดรวม
ไม่ทราบ
ร้อยละ ยอดรวม
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
ค่าตอบแทน
58.8
55.2
61.7
82.8
84.4
81.5
20.8
9.1
30.4
งานหนัก
11.9
13.5
10.5
2.9
-
5.3
26.0
34.8
18.8
งานขาดความต่อเนือ่ ง
5.7
9.5
2.6
-
-
-
14.8
24.5
6.8
ชัว่ โมงทางานมากเกินไป
0.6
1.3
-
-
-
-
1.6
3.4
-
ไม่มีวนั หยุด
10.9
7.2
14.0
-
-
-
28.1
18.5
36.0
ไม่มีสวัสดิการ
2.7
4.4
1.2
4.3
7.2
2.0
-
-
-
ไม่ทราบ
9.5
8.9
10.0
9.9
8.4
11.2
8.8
9.8
8.1
ทีม่ า: การสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 สานักงานสถิติจังหวัดหนองบัวลาภู สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 11 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามปัญหา ความไม่ปลอดภัยในการทางาน และเพศ พ.ศ. 2563 ความไม่ปลอดภัยในการทางาน
รวม รวม
ชาย
แรงงานในระบบ หญิง
รวม
ชาย
แรงงานนอกระบบ
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
จานวน (คน) ยอดรวม ได้รับสารเคมีเป็นพิษ
12,344
8,557 3,787
2,631
1,566
1,065
9,713
6,991
2,722
6,478
4,552
1,927
438
206
232
6,040
4,345
1,695
เครือ่ งจักร เครือ่ งมือทีเ่ ป็นอันตราย
1,312
894
418
850
522
328
462
372
90
ได้รับอันตรายต่อระบบหู / ระบบตา
2,751
2,043
707
2,751
2,043
707
106
106
-
106
-
ทางานในทีส่ ูง / ใต้นา / ใต้ดิน
106
-
-
-
-
ความไม่สงบ/ก่อการร้าย
420
420
-
420
420
-
-
-
-
1,276
541
735
816
311
505
461
230
230
อืน่ ๆ ไม่ทราบ
ร้อยละ ยอดรวม ได้รับสารเคมีเป็นพิษ
100.0
100.0 100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
52.5
53.2
50.9
16.7
13.2
21.8
62.2
62.2
62.3
เครือ่ งจักร เครือ่ งมือทีเ่ ป็นอันตราย
10.6
10.4
11.0
32.3
33.4
30.8
4.8
5.3
3.3
ได้รับอันตรายต่อระบบหู / ระบบตา
22.3
23.9
18.7
-
-
-
28.3
29.2
26.0
ทางานในทีส่ ูง / ใต้นา / ใต้ดิน
0.9
1.2
-
4.0
6.8
-
-
-
-
ความไม่สงบ/ก่อการร้าย
3.4
4.9
-
16.0
26.9
-
-
-
-
10.3
6.3
19.4
31.0
19.9
47.4
4.7
3.3
8.5
อืน่ ๆ ไม่ทราบ
ทีม่ า: การสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 สานักงานสถิติจังหวัดหนองบัวลาภู สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 12 จานวนและร้อยละผู้มีงานทาที่อยู่ในแรงงานในระบบและนอกระบบ จาแนกตามปัญหา จากสภาพแวดล้อมในการทางาน และเพศ พ.ศ. 2563 ปัญหาจากสภาพแวดล้อม
รวม รวม
ชาย
แรงงานในระบบ หญิง
รวม
ชาย
แรงงานนอกระบบ
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
จานวน (คน) ยอดรวม
21,854 12,732
9,122
4,246
2,131
2,115
17,608 10,601
สถานทีท่ างานไม่สะอาด
162
88
74
88
88
-
อิริยาบถในการทางาน
1,748
916
831
357
88
270
ฝุน่ ละออง ควัน กลิน่
5,660
3,050
2,610
1,697
848
เสียงดัง
1,813
1,338
475
90
11,000
6,696
4,305
194
104
1,276
541
แสงสว่างไม่เพียงพอ อืน่ ๆ ไม่ทราบ
74
7,007
-
74
1,390
829
562
849
3,963
2,202
1,761
-
90
1,723
1,338
385
1,197
797
401
9,803
5,899
3,904
90
-
-
-
194
104
90
735
816
311
505
461
230
230
ร้อยละ ยอดรวม
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
100.0
สถานทีท่ างานไม่สะอาด
0.7
0.7
0.8
2.1
4.1
-
0.4
-
1.1
อิริยาบถในการทางาน
8.0
7.2
9.1
8.4
4.1
12.8
7.9
7.8
8.0
ฝุน่ ละออง ควัน กลิน่
25.9
24.0
28.6
40.0
39.8
40.1
22.5
20.8
25.1
8.3
10.5
5.2
2.1
-
4.3
9.8
12.6
5.5
50.3
52.6
47.2
28.2
37.4
18.9
55.7
55.6
55.7
อืน่ ๆ
0.9
0.8
1.0
-
-
-
1.1
1.0
1.3
ไม่ทราบ
5.8
4.3
8.1
19.2
14.6
23.9
2.6
2.2
3.3
เสียงดัง แสงสว่างไม่เพียงพอ
ทีม่ า: การสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2563 สานักงานสถิติจังหวัดหนองบัวลาภู สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม
http://nongbualamphu.nso.go.th
การสำรวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ.2563 จังหวัดหนองบัวลำภู
Published on Jan 25, 2021
การสำรวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ.2563 จังหวัดหนองบัวลำภู