หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2560
พื้นที่ความคิด
8
@nisit_journal
nisitjournal
หน้า ชวนถอดรหั ส “นั ด ยิ้ ม ” การมี เ พ ศ สั ม พั น ธ ์ กั บ ค น ใ น โ ล ก ออนไลน์ ท�ำความเข้าใจไปกับผูม ้ ี ประสบการณ์ตรง และผูเ้ ชีย ่ วชาญ ว่า ท�ำไมจึงต้องนั ด ยิ้ ม ?
หน้า
14
เ มื่ อ ง า น ศิ ล ป ะ ถู ก คุ ก คามใน ยุครัฐบาลทหาร อิสรภาพทาง ความคิดถูกปิดกั้น ศิลปินจะท� ำ อย่างไร หรือทางเลือกสุดท้าย คือต้องเซ็นเซอร์ตัวเอง?
WEBSITE
nisitjournal.press
หน้า
16
ร่วมท�ำความรูจ ้ ก ั กับอีกมุมหนึง ่ ของ “เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล” นิ สิ ต รั ฐ ศาสตร์ หั ว ก้ า วหน้ า แ ห ่ ง รั้ ว จ า ม จุ รี กั บ มุ ม ม อง ไลฟ์สไตล์ที่ไม่ใช่แค่การเมือง
ที่มาข้อมูล: iLaw
สถิ ติ เ ผย คสช. ใช้ ก ฎหมายเอาผิ ด คนคิ ด ต่ า ง
นั ก กม.ย�้ ำ คนไทยต้ อ งไม่ เ งี ย บเพื่ อ ปกป้ อ งเสรี ภ าพของตนเอง เรื่อง : พชร ค�ำช�ำนาญ ภาพ : สาริศา เลิศวัฒนากิจกุล
สถิตจิ ากไอลอว์ชี ้ตังแต่ ้ คสช. รัฐประหาร เมือ่ ปี 2557 มีผ้ ถู กู ด�ำเนินคดีฐานยุยงปลุกปั่ น และละเมิดประกาศคสช. โดย เฉพาะเรื่ องการห้ ามชุมนุมทางการเมืองเพิ่มขึ ้น รวมทังมี ้ คดี การเมืองที่พลเรื อนต้ องขึน้ ศาลทหารกว่า 1,500 คดี นัก กฎหมายชี ้ รัฐบาลอ้ างกฎหมายความมัน่ คงเพื่อควบคุมคน เห็นต่าง รายงานของโครงการอินเทอร์ เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) พบว่า ตังแต่ ้ เมื่อวันที่ 22 พ.ค. 2557 ที่คณะรักษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) ท�ำรัฐประหารและเข้ ามาเป็ นรัฐบาล จนถึงวันที่ 27 ส.ค. 2560 มีผ้ ถู กู ด�ำเนินคดีกระท�ำความผิด ฐานยุยงปลุกปั่นตามกฎหมายอาญา มาตรา 116 แล้ว 27 คดี โดยเป็ นความผิดฐานวิจารณ์การรัฐประหารหรือ คสช. 20 คดี คิดเป็ นร้ อยละ 74 ของคดีทงหมด ั้ มีผ้ ถู กู ด�ำเนินคดีทงหมด ั้ อย่างน้ อย 66 คน โดยปี 2557 มี 8 คน ปี 2558 มี 29 คน ปี 2559 มี 23 คน และปี 2560 มีอย่างน้ อย 6 คน นอกจากนี ้ ยังมีผ้ถู กู ตังข้้ อหา ชุมนุมทางการเมืองเกิน 5 คน ซึ่งถื อเป็ น การฝ่ าฝื น ประกาศคสช. ฉบับที่ 7/2557 หรื อ ฝ่ าฝื นค�ำสัง่ หัวหน้ าคสช. ฉบับที่ 3/2558 ข้ อ 12 โดยในปี 2557 มีผ้ ถู กู ตังข้ ้ อหา 48 คน ปี 2558 มี 36 คน และปี 2559 เพิ่ม สูงถึง 184 คน รวมทังสิ ้ ้น 268 คนในรอบสามปี
ในยุครัฐบาล คสช. พลเรือนทีก่ ระท�ำความผิดในคดีการเมือง ได้ แก่ คดีความมัน่ คง คดีมีอาวุธไว้ ในครอบครอง และคดี ฝ่ าฝื นค�ำสัง่ หัวหน้ า คสช. จะต้ องเข้ ารับการพิจารณาคดีใน ศาลทหาร รายงานจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ระบุวา่ ตังแต่ ้ วนั ที่ คสช. ขึ ้นมาเป็ นรัฐบาลเมื่อปี 2557 จนถึง วันที่ 30 ก.ย. 2558 มีคดีการเมืองที่ผ้ ูต้องหาต้ องขึน้ ศาล ทหาร 1,020 คดี เมื่อสรุ ปสถิติอีกครั ง้ เมื่อ 31 พ.ค. 2559 พบว่ามี 1,434 คดี เพิ่มขึ ้นกว่า 400 คดีในรอบแปดเดือน ขณะที่ ส ถิ ติ ค รั ง้ ล่ า สุ ด เมื่ อ 30 พ.ย. 2559 พบว่ า มี ค ดี การเมืองที่ต้องขึน้ ศาลทหารเพิ่มขึน้ เป็ น 1,577 คดี ถึงแม้ พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา จะใช้ อ�ำนาจตามรัฐธรรมนูญ ชัว่ คราว มาตรา 44 ให้ การพิจารณาความผิดในคดีการเมือง กลับไปสูศ่ าลพลเรื อนตัง้ แต่วันที่ 12 ก.ย. 2559 แต่คดี ที่ การกระท�ำเกิดขึ ้นก่อนจะมีค�ำสัง่ หัวหน้ า คสช. ฉบับนี ้ และ คดีที่ถกู สัง่ ฟ้องศาลทหารไปก่อนหน้ านี ้ทังหมดก็ ้ ยงั ต้ องถูก น�ำขึ ้นพิจารณาในศาลทหาร ศิริกาญจน์ เจริ ญศิริ ที่ปรึ กษาพิเศษฝ่ ายคดีและฝ่ าย ข้ อมูลจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน มองว่า การที่ ผู้เห็นต่างถูกด�ำเนินคดีถือเป็ น “ความรุนแรงของความเงียบ (Violence of Silence)” ซึ่ง เป็ นความรุ นแรงเชิ งระบบ
กล่าวคือ รั ฐบาลใช้ สิ่งที่หน้ าตาคล้ ายกฎหมายมาควบคุม การแสดงความคิดเห็นของประชาชน จนบางคนมองว่า ความเงียบนี ้คือความสงบ “ความเงียบไม่ใช่ความสงบ แต่มนั คือการละเมิดสิทธิของ คุณ สิ่ง ที่ เ ราท� ำได้ คือ อย่า เงี ย บ ความไม่เ งี ยบไม่ใช่ความ รุนแรง เราสามารถแสดงออกหลายอย่างได้ อย่างสันติ ออกมา แสดงว่ า ประชาชนไม่ เ ห็ น ด้ ว ยกับ การควบคุม สิ ท ธิ แ ละ เสรี ภ าพ มัน เป็ นเรื่ องของเราเองที่จะต้ องไม่ทนอยูก่ บั ความ เงียบนัน” ้ ศิริกาญจน์กล่าว นักกฎหมายจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิ มนุษยชนยัง มองว่า ภาคประชาชนสามารถแสดงออกอย่างสันติโดยการ รวมตัวกันยื่นชื่อเสนอแก้ ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่ละเมิด สิทธิเสรี ภาพ แต่กระบวนการนี ้ต้ องรอให้ มีการเลือกตัง้ “สิง่ ที่สามารถเรี ยกร้ องได้ ตอนนี ้คือให้ เกิดการเลือกตังเร็ ้ ว ทีส่ ดุ หรือตามโรดแม็ปทีส่ ญ ั ญาไว้ ไม่ควรปล่อยให้ ดเี ลย์ไปอีก นีป่ ี ทสี่ แี่ ล้ ว หมายความว่าเราสูญเสียทังเวลา ้ ทังหลั ้ กประกัน สิทธิเสรี ภาพ และความถดถอยของประเทศ” ศิริกาญจน์ย� ้ำ