วัสดุและเทคนิคศิลปะ

Page 45

วัสดุและเทคนิ คศิ ลปะหน้า 45

ลงพื ้นไม้ กระดานโดยการใช้ ลกู ประคบทาจากผ้ าบางห่อผงถ่านหรือผงสี ตบห่อลูกประคบตามลายปรุ ของภาพ ผงสีจากลูกประคบจะร่ วงลงช่องลายปรุ ได้ ลายเส้ นที่ ต้องการตามลายรอยปรุ จากนัน้ ศิลปิ นจะลอกลายเส้ นที่ปรากฏและเพิ่มรายละเอียดโดยการศึกษาจากภาพต้ นแบบลายปรุ 2. ขัน้ การลงสี หลังจากได้ ภาพร่างเส้ นรอบนอกและรายละเอียดที่เป็ นเส้ นนาตามต้ องการแล้ ว ศิลปิ น จะเริ่ มลงสีในภาพโดยเริ่ มจากสีนา้ หนักกลางของแต่ละสี [middle tone] ซึ่งหมายถึงสีระดับกลาง ระหว่างสีเข้ มหรือสีมืดกับสีออ่ นหรือสีสว่าง ลักษณะภาพที่ลงพืน้ ครัง้ แรกนีม้ ีลกั ษณะภาพแบน ไม่มี น ้าหนักของแสงและเงา การระบายสีฝนนิ ุ่ ยมใช้ พ่กู นั ขนอ่อน ทัง้ นีเ้ พราะเนือ้ สีฝนมี ุ่ ลกั ษณะค่อนข้ าง เหลว การใช้ พ่กู นั ขนอ่อนช่วยให้ สะดวกแก่การระบายและไม่ทาให้ เกิดรอยด่านตามรอยแปรง 3. ขัน้ แยกแสงเงา การแยกแสงเงาในสีฝนไม่ ุ่ สามารถใช้ วิธีเกลี่ยซ ้าไปมา เนื่องจากสีแห้ งเร็ว ถ้ าระบายซ ้า ๆ บนสีที่แห้ งแล้ วจะเกิดรอยด่าง ดังนัน้ จึงใช้ วิธีแยกแสงเงาหรื อนา้ หนักโดยการใช้ เส้ นขนานไขว้ แบบ เดียวกับการวาดเส้ นดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว แต่เป็ นการเขียนเส้ นด้ วยพู่กนั เบอร์เล็ก ถ้ าต้ องการสีออ่ นให้ ผสมกับสีขาว หรือผสมสีดาหรือสีน ้าเงินเมื่อต้ องการให้ เป็ นเงาเข้ ม 4. การเคลือบภาพ เนื่องจากสีฝนแม้ ุ่ จะแห้ งแล้ วก็ยงั ละลายนา้ ได้ มีโอกาสจะเกิดรอยด่างได้ ถ้าถู กหยดนา้ หรือความชื ้น ดังนันหลั ้ งจากเขียนภาพเสร็จการป้องกันภาพจากความชื ้นใช้ วิธีการเคลือบผิว โดยใช้ นา้ มันวานิช ดังที่สตู รโบราณได้ ก ล่าวถึ ง นอกจากการเคลือบจะช่วยป้องกันความชืน้ แล้ ว การ เคลือบผิวจะทาให้ เกิดการประสานผิวของภาพเขียน เพราะภาพที่ระบายด้ วยเทคนิคการใช้ เส้ นขนาน ไขว้ จะทาให้ ภาพมีรอยแปรงเส้ นเล็ก ๆ การเคลือบผิวทาให้ ผิวภาพเขียนจะประสานเป็ นเนือ้ เดียวกัน และเกิดความมันวาวเกิดมิติความลึกเพิ่มขึ ้น ทาให้ ภาพมีความงามและคงทนยิ่งขึ ้น สีนา้ มันและการพัฒนาจากเทคนิคสีฝุ่นสู่สีนา้ มัน สีน ้ามันเป็ นที่ร้ ูจกั ครัง้ แรกประมาณศตวรรษที่ 12 โดยบาทหลวงทีโอฟี ลุส [Theophilus] ได้ บนั ทึกเกี่ยวกับกลวิธีดงั นี ้เลือกสีที่ต้องการใช้ บดและผสมน ้ามันอย่างระมัดระวังโดยไม่ต้องเติมน ้า นี่คือส่วนผสมทาให้ เกิดสีเพื่อการระบายภาพคนและเครื่ องแต่งกาย ซึ่งก่อนนีเ้ คยผสมกับนา้ แต่ทุก ครัง้ ที่ระบายสี เราไม่สามารถลงสีซ ้าอีก จนกว่าสีเดิมจะแห้ งสนิท ภาพที่ได้ จะคงทนถาวร [Salemme, 1982] ในสมัยนีศ้ ิลปิ นได้ พยายามทดลองหาสูตรส่วนผสมโดยเฉพาะส่วนผสมที่จะเป็ นกาว หรื อส่วนผสม [medium] เพื่อพัฒนาให้ เนือ้ สีมีความหนืด และแห้ งเร็วกว่าเดิม ในศตวรรษที่ 13 มี การใช้ เทคนิคผสมผสานระหว่างสีฝนและสี ุ่ น ้ามันบนพืน้ ที่ภาพเดียวกัน โดยแยกส่วนพืน้ ที่ภาพตาม ความเหมาะสม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.