6 ความรุ้เกี่ยวกับการวิเคราะห์งบแสดงฐานะการเงิน

Page 1

บทที่ 12 ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับการวิเคราะห์งบการเงิน เมือ่ ได้ศกึ ษารายละเอียดต่าง ๆ เกีย่ วกับงบการเงินแล้ว ในส่วนต่อไปจะอธิบายรายละเอียด ทีเ่ กีย่ วกับการวิเคราะห์งบการเงิน ดังนี้

ความหมายของการวิเคราะห์งบการเงิน การวิเคราะห์งบการเงิน หมายถึง การค้นหาข้อเท็จจริงจากงบการเงิน โดยการค้นหา ข้อเท็จจริงดังกล่าวต้องอาศัยเครื่องมือต่าง ๆ เช่น การวิเคราะห์แนวตัง้ การวิเคราะห์แนวนอน และการวิเคราะห์อตั ราส่วน เป็ นต้น การวิเคราะห์งบการเงินสามารถวิเคราะห์ได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ 1. การนํางบการเงินงบใดงบหนึ่งมาแปลความหมาย เช่น การนํางบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) หรืองบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (งบกําไรขาดทุน) มาวิเคราะห์ตามแนวตัง้ หรือวิเคราะห์ โครงสร้าง ซึง่ จะทําให้ทราบรายละเอียดของแต่ละรายการในงบการเงินนัน้ ว่ามีมากน้อยเพียงใด และทําให้สามารถเปรียบเทียบกับกิจการอื่นได้ การนํางบแสดงฐานะการเงินหรืองบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จมาวิเคราะห์ตามแนวนอนหรือวิเคราะห์การเปลีย่ นแปลง จะทําให้ทราบว่าแต่ละรายการ ในงบการเงินนัน้ เพิม่ ขึน้ หรือลดลง หรือการวิเคราะห์งบกระแสเงินสด จะทําให้ทราบว่าในระหว่างปี กิจการได้เงินมาและใช้เงินไปในกิจกรรมใดบ้าง 2. การนํางบการเงินมากกว่าหนึ่งงบมาวิเคราะห์รว่ มกัน เช่น การนํารายการในงบแสดง ฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จมาหาอัตราส่วน ซึง่ จะทําให้ทราบถึงความสามารถ ในการดําเนินงานและความสามารถในการทํากําไร เป็นต้น

ขัน้ ตอนการวิเคราะห์งบการเงิน ขัน้ ตอนการวิเคราะห์งบการเงิน จะมีขนั ้ ตอนตรงกันข้ามกับการจัดทํางบการเงิน คือ การจัดทํางบการเงินจะเริม่ ต้นจากการวิเคราะห์รายการค้า แล้วบันทึกบัญชีเพื่อรวบรวมผล ไปจัดทํางบการเงิน ส่วนการวิเคราะห์งบการเงินมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ทราบถึงรายการค้าทีเ่ กิดขึน้ ในกิจการ ดังนัน้ จึงต้องค้นหาข้อเท็จจริงจากงบการเงิน โดยมีขนั ้ ตอนดังนี้ 1. กําหนดวัตถุประสงค์ในการวิ เคราะห์งบการเงิ น ก่อนทีจ่ ะทําการวิเคราะห์งบการเงิน ผูว้ เิ คราะห์ตอ้ งกําหนดวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ โดยต้องพิจารณาว่าจะวิเคราะห์ในฐานะ ทีเ่ ป็ นใคร เพราะแต่ละคนจะมีวตั ถุประสงค์ทแ่ี ตกต่างกัน 2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เมือ่ กําหนดวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์งบการเงินแล้ว ต่อจากนัน้ เป็นขัน้ ตอนของการรวบรวมข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ ได้แก่ งบการเงินและรายละเอียด ทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ทีเ่ ป็นข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ


การวิเคราะห์งบการเงิน 2

3. แปรสภาพข้อมูล เมือ่ รวบรวมข้อมูลครบถ้วนแล้ว ขัน้ ตอนต่อไปเป็ นขัน้ ตอนการนําข้อมูล มาแปรสภาพ เช่น การปรับงบการเงินให้เหมาะสม การทําให้เป็นร้อยละหรือการหาอัตราส่วน เป็นต้น 4. แปลความหมาย เมือ่ แปรสภาพข้อมูลแล้ว ขันตอนต่ ้ อไปเป็ นขัน้ ตอนการนําค่าที่ แปรสภาพมาแปลความหมาย โดยการอ่านค่า เปรียบเทียบกับอดีต เปรียบเทียบกับคูแ่ ข่ง หรือเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรม เป็ นต้น 5. จัดทํารายงานการวิ เคราะห์ เมือ่ แปลความหมายของข้อมูลทีแ่ ปรสภาพแล้ว ขัน้ ตอน สุดท้าย คือ การสรุปผลการวิเคราะห์ให้อยูใ่ นรูปแบบทีเ่ ข้าใจได้งา่ ย เพือ่ ใช้เป็ นสารสนเทศ ในการตัดสินใจ

วัตถุประสงค์ของผูว้ ิ เคราะห์งบการเงิ น ผูว้ เิ คราะห์งบการเงินแต่ละคนจะมีวตั ถุประสงค์ทแ่ี ตกต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั ประเภทของ ผูว้ เิ คราะห์งบการเงิน ได้แก่ 1. ผูล้ งทุน หมายถึง ผูเ้ ป็ นเจ้าของเงินทุนรวมทัง้ ทีป่ รึกษาการลงทุน ผูล้ งทุน ดังนัน้ ต้องการวิเคราะห์งบเพือ่ ให้ทราบเกีย่ วกับความเสีย่ งและผลตอบแทนจากการลงทุน ผูล้ งทุนจึงต้องการข้อมูลทีจ่ ะช่วยให้สามารถประเมินได้วา่ ควรจะซือ้ ขาย หรือถือเงินลงทุนนัน้ ต่อไป รวมทัง้ ประเมินความสามารถของกิจการในการจ่ายเงินปนั ผลให้กบั ผูล้ งทุน 2. ลูกจ้าง หมายถึง พนักงานของกิจการ ลูกจ้างต้องการวิเคราะห์งบการเงินเพือ่ ให้ ทราบความมันคงและความสามารถในการทํ ่ ากําไรของกิจการ ดังนัน้ ลูกจ้างจึงต้องการข้อมูล ทีจ่ ะช่วยประเมินความสามารถของกิจการในการจ่ายค่าตอบแทน บําเหน็จ บํานาญและโอกาส ในการจ้างงาน 3. ผูใ้ ห้ก้ ู หมายถึง ธนาคารหรือธุรกิจทีก่ จิ การสามารถกูเ้ งินได้ ผูใ้ ห้กตู้ อ้ งการ วิเคราะห์งบการเงินเพือ่ ให้ทราบความสามารถในการทํากําไรของกิจการ ดังนัน้ ผูใ้ ห้กจู้ งึ ต้องการ ข้อมูลทีจ่ ะช่วยประเมินความสามารถของกิจการในการจ่ายคืนเงินต้นและดอกเบีย้ 4. ผูข้ ายสิ นค้าและเจ้าหนี้ อื่น หมายถึง ธุรกิจทีก่ จิ การติดต่อซือ้ สินค้าหรือสินทรัพย์ ผูข้ ายสินค้าและเจ้าหนี้อน่ื กลุ่มคนเหล่านี้ตอ้ งการวิเคราะห์งบการเงินเพือ่ ให้ทราบความสามารถ ในการทํากําไรและสภาพคล่องของกิจการ ดังนัน้ จึงต้องการข้อมูลทีจ่ ะช่วยประเมินความสามารถ ของกิจการในการจ่ายชําระหนี้ 5. ลูกค้า หมายถึง ผูท้ ก่ี จิ การขายสินค้าให้ ลูกค้าต้องการวิเคราะห์งบการเงินเพือ่ ให้ ทราบความมันคงของกิ ่ จการ ดังนัน้ ลูกค้าจึงต้องการข้อมูลทีจ่ ะช่วยประเมินความสามารถในการ ดําเนินงานต่อเนื่องของกิจการ 6. รัฐบาลและหน่ วยงานราชการ หมายถึง กรมสรรพากร และกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เป็ นต้น รัฐบาลและหน่วยงานราชการต้องการวิเคราะห์งบการเงินเพือ่ ให้ทราบเกีย่ วกับการ ดําเนินงานและการจัดสรรทรัพยากรของกิจการ ดังนัน้ รัฐบาลและหน่วยงานราชการจึงต้องการ ข้อมูลทีจ่ ะช่วยประเมินความสามารถในทํากําไรและการปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ทก่ี าํ หนด โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 3

7. นักศึกษา หมายถึง ผูท้ เ่ี รียนวิชาวิเคราะห์งบการเงิน นักศึกษาต้องการวิเคราะห์ งบการเงินเพือ่ ฝึกปฏิบตั กิ อ่ นสําเร็จการศึกษา ดังนัน้ นักศึกษาจึงต้องการข้อมูลทุกด้านทีจ่ ะฝึก วิเคราะห์งบการเงินเพือ่ ให้มปี ระสบการณ์ก่อนออกไปทํางาน 8. สาธารณชน หมายถึง ประชาชนทัวไปที ่ ส่ นใจ สาธารณชนต้องการวิเคราะห์ งบการเงินเพือ่ ให้ทราบเกีย่ วกับการดําเนินงานของกิจการ ดังนัน้ สาธารณชนจึงต้องการข้อมูล ทีจ่ ะช่วยประเมินผลกระทบในการดําเนินงานทีม่ ตี ่อสังคม เช่น การจ้างงานและการรับซือ้ สินค้า จากผูผ้ ลิตในท้องถิน่ 9. คู่แข่ง หมายถึง ธุรกิจทีด่ าํ เนินงานในลักษณะเดียวกับกิจการและมีขนาดของธุรกิจ ไม่แตกต่างกันมากนัก คูแ่ ข่งต้องการวิเคราะห์งบการเงินเพือ่ ให้ทราบจุดแข็งและจุดอ่อนของ กิจการ ดังนัน้ คูแ่ ข่งจึงต้องการข้อมูลทุกด้านทีจ่ ะช่วยในการประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน ผูว้ เิ คราะห์งบการเงินแต่ละคนจะมีความเกีย่ วพันกับกิจการไปคนละลักษณะ ดังนัน้ จึงมี วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์งบการเงินและมีความต้องการข้อมูลทีแ่ ตกต่างกัน

ที่มาของข้อมูลที่ใช้ในการวิ เคราะห์งบการเงิ น เมือ่ กําหนดวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งบการเงินแล้ว งานขัน้ ต่อไปคือการรวบรวม ข้อมูล ต่อไปนี้เป็ นข้อมูลต่าง ๆ ทีจ่ ะช่วยในการวิเคราะห์งบการเงิน ซึง่ ผูว้ เิ คราะห์จะต้อง พิจารณาว่าข้อมูลใดทีจ่ ะช่วยให้การวิเคราะห์บรรลุวตั ถุประสงค์ 1. รายงานประจําปี บางบริษทั จะมีการจัดทํารายงานประจําปีเพือ่ ประชาสัมพันธ์ให้ สาธารณชนได้รจู้ กั บริษทั มากขึน้ ข้อมูลส่วนใหญ่ทแ่ี สดงในรายงานประจําปี ได้แก่  จุดเด่นทางการเงิน (Financial Highlights) ในส่วนนี้จะมีขอ้ มูลทีแ่ สดงผล การดําเนินงาน ฐานะการเงิน และอัตราส่วนทางการเงินทีส่ าํ คัญ เช่น รายได้ ค่าใช้จ่าย กําไรขัน้ ต้น กําไรสุทธิ สินทรัพย์ หนี้สนิ และส่วนของเจ้าของ อัตราตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ และอัตราส่วน ทุนหมุนเวียน เป็ นต้น  ภาพรวมการดําเนิ นงาน (Business Performance) ในส่วนนี้จะนําตัวเลขทีเ่ ป็ น จุดเด่นทางการเงินมาบรรยายให้ทราบรายละเอียดของแต่ละรายการ  คณะกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และคณะกรรมการตรวจสอบ (Board of Directors , Executives and Audit Committee) ในส่วนนี้จะแสดงรายชือ่ คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั  ลักษณะการประกอบธุรกิ จ (Nature of Business) ในส่วนนี้จะแสดง รายละเอียดทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกอบธุรกิจ เช่น ประเภทของสินค้า เป็ นต้น

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 4

 ภาวะอุตสาหกรรมและแนวโน้ ม (Industry Overview and Trend) ในส่วนนี้ จะแสดงรายละเอียดทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรม เช่น ความต้องการสินค้า การแข่งขัน สภาพแวดล้อมทีม่ อี ทิ ธิพลต่ออุตสาหกรรม รวมทัง้ แนวโน้ม ความต้องการสินค้า ราคาสินค้าและปจั จัยการผลิต เป็ นต้น  ปัจจัยเสี่ยง (Risk Factors) ในส่วนนี้จะแสดงถึงปจั จัยทีจ่ ะมีผลกระทบต่อบริษทั เช่น ราคาหรือการขาดแคลนวัตถุดบิ อัตราแลกเปลีย่ น นโยบายของรัฐบาล เทคโนโลยีการผลิต กฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ เป็ นต้น  การกํากับดูแลกิ จการ (Corporate Governance) ในส่วนนี้จะมีขอ้ มูลเกีย่ วกับ นโยบายการกํากับดูแลกิจการ สิทธิของผูถ้ อื หุน้ และผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย ภาวะ ผูน้ ําและวิสยั ทัศน์ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จริยธรรมทางธุรกิจ ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน เป็ นต้น  โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ (Shareholders and Management Structure) ในส่วนนี้จะแสดงรายชือ่ และสัญชาติผถู้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั จํานวนหุน้ และสัดส่วนทีถ่ อื หุน้ ในบริษทั รายชื่อคณะกรรมการและผูบ้ ริหาร บริษทั ตําแหน่งและจํานวนหุน้ ทีถ่ อื เป็ นต้น  รายการระหว่างกัน (Related Party Transaction) ในส่วนนี้จะแสดงรายชือ่ บริษทั ย่อยหรือบริษทั ในเครือทีม่ รี ายการค้าระหว่างกัน เช่น การซือ้ ขายสินค้า การซือ้ เครือ่ งจักร และรายละเอียดของรายการทีเ่ กิดขึน้ รวมทัง้ ลักษณะ ความสัมพันธ์ เป็ นต้น  รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee’s Report) ในส่วนนี้ จะแสดงรายละเอียดการทํางานและความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อ ธรรมาภิบาลของกิจการ  รายงานผูส้ อบบัญชี (Auditor’s Report) ในส่วนนี้จะแสดงผลการตรวจสอบบัญชี ของผูส้ อบบัญชีรบั อนุ ญาตตามรูปแบบทีก่ ําหนดไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี  งบการเงิ นและหมายเหตุประกอบงบการเงิน (Financial Statements and Notes) ในส่วนนี้จะแสดงงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของเจ้าของ งบกระแสเงินสด ทัง้ ส่วนทีเ่ ป็ นของ บริษทั และงบการเงินรวมและหมายเหตุประกอบงบการเงิน  เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั อื่น (Investment in Subsidiaries and Other Companies) ในส่วนนี้จะแสดงรายชือ่ ธุรกิจทีบ่ ริษทั ไปลงทุน ประเภท ธุรกิจและสัดส่วนการลงทุน เป็ นต้น

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 5

 ข้อมูลองค์กร (Outline of the Company) ในส่วนนี้จะแสดงรายละเอียดทัวไป ่ ของบริษทั เช่น สถานทีต่ งั ้ อีเมล์แอดเดรส โฮมเพจ ประเภทธุรกิจ ทุน จดทะเบียน ชือ่ ผูส้ อบบัญชีและนายทะเบียนหลักทรัพย์ เป็ นต้น 2. แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี หรือ แบบ 56-1 สํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์: ก.ล.ต. (The Office of the Securities and Exchange Commission: SEC) ได้กําหนดให้บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ตอ้ งจัดทําแบบแสดง รายการข้อมูลประจําปี ตามหัวข้อต่อไปนี้  ปกหน้ า ในส่วนนี้จะแสดงชื่อบริษทั และสารบัญ  ข้อมูลทั ่วไป ในส่วนนี้จะแสดงรายละเอียดของบริษทั ได้แก่ ลักษณะการ ประกอบการ ทีต่ งั ้ ประเภทของสินค้า และทะเบียนบริษทั  ปัจจัยความเสี่ยง ในส่วนนี้จะแสดงถึงปจั จัยทีจ่ ะมีผลกระทบต่อบริษทั เช่น ราคาหรือการขาดแคลนวัตถุดบิ อัตราแลกเปลีย่ น นโยบายของรัฐบาล เทคโนโลยีการผลิต กฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ เป็ นต้น  ลักษณะการประกอบธุรกิ จ ในส่วนนี้จะแสดงประวัตกิ ารดําเนินงานและ พัฒนาการของบริษทั ภาพรวมการดําเนินธุรกิจ และโครงสร้างรายได้ เป็ นต้น  การประกอบธุรกิ จของแต่ละสายผลิ ตภัณฑ์ ในส่วนนี้จะแสดงลักษณะ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ การตลาดและภาวะการแข่งขัน ลูกค้าทีส่ าํ คัญในแต่ละ สายผลิตภัณฑ์ ปจั จัยการผลิต และผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม เช่น ใน กระบวนการผลิตสินค้าจะมีน้ําเสียเกิดขึน้ เป็ นต้น  ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิ จ ในส่วนนี้จะแสดงประเภททรัพย์สนิ ที่ ใช้ในการดําเนินธุรกิจ ลักษณะกรรมสิทธิ ์ เช่น เช่าหรือซือ้ มูลค่าและ ภาระผูกพัน เช่น ทีด่ นิ ติดจํานอง เป็ นต้น  ข้อพิ พาททางกฎหมาย ในส่วนนี้จะแสดงรายละเอียดการถูกฟ้องร้อง หรือ การมีคดีความทีย่ งั ไม่สน้ิ สุด เช่น ขณะนี้บริษทั ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย กรณีปล่อยนํ้าเสียทําให้แม่น้ําเน่าเสีย เป็นต้น  โครงสร้างเงิ นทุน ในส่วนนี้จะแสดงรายละเอียดเกีย่ วกับหลักทรัพย์ของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ หลัก ภาระผูกพันในการออกหุน้ เพิม่ และนโยบายเงินปนั ผล เป็ นต้น  การจัดการ ในส่วนนี้จะแสดงรายชือ่ คณะกรรมการและผูบ้ ริหารบริษทั ตําแหน่งและจํานวนหุน้ ทีถ่ อื ขอบเขตอํานาจหน้าที่ รายชื่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ ข้อมูลเกีย่ วกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการ สิทธิของผูถ้ อื หุน้ และผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย ภาวะผูน้ ําและวิสยั ทัศน์ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 6

 

  

จริยธรรมทางธุรกิจ ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร ระบบการควบคุม และการตรวจสอบภายใน ความสัมพันธ์กบั ผูล้ งทุน และบุคลากร เป็ นต้น การควบคุมภายใน ในส่วนนี้จะแสดงรายละเอียดการควบคุมภายในด้านต่าง ๆ ของบริษทั รายการระหว่างกัน ในส่วนนี้จะแสดงรายชือ่ บริษทั ย่อยหรือบริษทั ในเครือทีม่ ี รายการค้าระหว่างกัน เช่น การซือ้ ขายสินค้า การซือ้ เครือ่ งจักรและรายละเอียด ของรายการทีเ่ กิดขึน้ ลูกหนี้เจ้าหนี้ระหว่างกัน การกูย้ มื ระหว่างกัน และ ดอกเบีย้ ระหว่างกัน เป็ นต้น ข้อมูลเหล่านี้จาํ เป็นต้องใช้ในการจัดทํางบการเงิน รวมของบริษทั ฐานะการเงินและผลการดําเนิ นงาน ในส่วนนี้จะแสดงงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของเจ้าของ งบกระแส เงินสด ทัง้ ส่วนทีเ่ ป็ นของบริษทั และงบการเงินรวม คําอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน อัตราส่วนทางการเงิน สําหรับหมายเหตุ ประกอบงบจะไม่ได้แสดงในส่วนนี้ ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง การรับรองความถูกต้องของข้อมูล ในส่วนนี้จะแสดงรายละเอียดทีก่ รรมการ ผูม้ อี าํ นาจของบริษทั เซ็นรับรองข้อมูลทีแ่ สดงไว้ทงั ้ หมด รายละเอียดเกี่ยวกับผูบ้ ริ หารและผูม้ ีอาํ นาจควบคุมของบริ ษทั ในส่วนนี้ จะแสดง ชือ่ อายุ คุณวุฒกิ ารศึกษา สัดส่วนการถือหุน้ และประสบการณ์ การทํางานในช่วง 5 ปีทผ่ี า่ นมาของผูบ้ ริหารและผูม้ อี าํ นาจควบคุมบริษทั รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริ ษทั ย่อย ในส่วนนี้จะแสดงชื่อกรรมการ และบริษทั ทีก่ รรมการแต่ละคนมีอาํ นาจในการบริหารงาน

3. งบการเงิ น เป็ นข้อมูลสําคัญทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์งบการเงิน ซึง่ สามารถได้มาจาก หลายแหล่ง ดังนี้ 3.1 กรมพัฒนาธุรกิ จการค้า จะมีงบการเงินของธุรกิจทีจ่ ดทะเบียนในประเทศไทย ทัง้ หมด ไม่ว่าธุรกิจนัน้ จะจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรือไม่ ผูส้ นใจสามารถ หางบการเงินของบริษทั เหล่านี้ได้ทก่ี รมพัฒนาธุรกิจการค้า (ชือ่ เดิม คือ กรมทะเบียนการค้า) ทีอ่ ยู่ 44/100 ถนนนนทบุรี 1 ตําบลบางกระสอ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0-2547-5050 โทรสาร 0-2547-4459 สายด่วน 1570 ปจั จุบนั กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ได้พฒ ั นาระบบข้อมูล ซึง่ ทําให้สามารถค้นหางบการเงินได้จากอินเทอร์เน็ต โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 7

3.2 ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย งบการเงินที่สามารถหาได้จะเป็ น งบการเงินเฉพาะบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนเท่านัน้ ผูส้ นใจสามารถหางบการเงินของบริษทั เหล่านี้ ได้ทห่ี อ้ งสมุดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (The Stock Exchange of Thailand : SET) ทีอ่ ยู่ 62 ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพ 10110 โทรศัพท์ 0-2229-2204 แฟกซ์ 0-2359-1014 3.3 สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทีอ่ ยู่ ชัน้ 13 อาคารดีทแฮล์มทาวเว่อร์ส บี 93/1 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2252-3223 ต่อ 1446 3.4 Business Online (BOL) ปจั จุบนั บริษทั บิซเิ นส ออนไลน์ จํากัด (มหาชน) ตรวจสอบความน่าเชือ่ ถือ เป็ นบริษทั ทีใ่ ห้บริการทางธุรกิจครบวงจรตัง้ แต่ให้ขอ้ มูลบริษทั วิเคราะห์ธุรกิจ จนถึงการจัดเก็บหนี้สนิ บริษทั นี้ก่อตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2539 ได้รบั สัมปทาน ข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เพือ่ ให้บริการข้อมูลพืน้ ฐานของบริษทั จดทะเบียนทัง้ หมดใน ประเทศไทย โดยนําข้อมูลงบการเงินไปวิเคราะห์แล้วอัพโหลดไว้บนเว็บไซต์ (www.bol.co.th) หากต้องการได้ขอ้ มูลต้องเป็ นสมาชิกหรือเสียค่าใช้จา่ ยตามทีบ่ ริษทั กําหนด

แหล่งข้อมูลจากอินเทอร์เน็ ต (ให้นักศึกษาศึกษาด้วยตนเอง) 1. www.dbd.go.th เป็ นเว็บไซต์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เมือ่ เข้าถึงได้แล้วจะ ปรากฏหน้าจอดังข้างล่าง และให้ปฏิบตั ดิ งั นี้  คลิกเลือกแถบ “e-Service” แล้วเลือกหัวข้อ “ตรวจค้นข้อมูลงบการเงิน”

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 8

 เมือ่ คลิกแล้วจะปรากฏหน้าจอ ดังนี้

    สําหรับท่านทีย่ งั ไม่ได้เป็ นสมาชิก ต้องสมัครเพือ่ ให้ได้ Password ก่อน ต่อจากนัน้ กรมพัฒนาธุรกิจการค้าจะให้ Password เมือ่ ได้รบั Password แล้วให้ใส่ Username และ Password แล้วกดปุม่ Login (ล็อคอิน) จะเข้าสูก่ ารตรวจค้นข้อมูลงบการเงินของนิตบิ ุคคล โดยปรากฏหน้าจอ ดังนี้

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 9

 เลือกหัวข้อ “เปรียบเทียบงบการเงินของนิตบิ ุคคล 3 ปี“

โดยคลิกเลือก

นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งการค้นหา ซึง่ ประกอบด้วย บริษทั จํากัด ห้างหุน้ ส่วนจํากัด ห้างหุน้ ส่วนสามัญนิตบิ ุคคล

และบริษทั มหาชน (กรมพัฒนาธุรกิจการค้าพึง่

จะเริม่ ดําเนินการนําเข้าข้อมูลงบการเงิน

ดังนัน้ ข้อมูลทีพ่ บอาจจะไม่สมบูรณ์

เช่น บางกิจการยังไม่มขี อ้ มูล เป็ นต้น) สมมติตอ้ งการค้นหาข้อมูลของบริษทั ปูนซิเมนต์ไทย จํากัด (มหาชน) ให้คลิกไปทีบ่ ริษทั มหาชน จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 10

 พิมพ์ชอ่ื กิจการลงไปในช่อง “ชือ่ บริษทั มหาชนจํากัด” จะปรากฏหน้าจอดังนี้

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ

และคลิกปุม่ ค้นหา


การวิเคราะห์งบการเงิน 11

 คลิกในช่องเลขทะเบียน (ใหม่) จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้

ข้อมูลเหล่านี้เป็ นข้อมูลงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ โดยสรุปเปรียบเทียบ 3 ปี

2. www.sec.or.th เป็ นเว็บไซต์ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ เมือ่ เข้าถึงได้แล้วจะปรากฏหน้าจอดังข้างล่าง และให้ปฏิบตั ดิ งั นี้  คลิกเลือกหัวข้อ “งบการเงิน”

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 12

 เลือกบริษทั ทีต่ อ้ งการดูขอ้ มูลงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน โดยคลิกลูกศรที่ Drop Down จะปรากฏชือ่ บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรียงตามตัวอักษร  ต่อจากนัน้ คลิกปุม่ “ค้นหา” จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้ หรือ  คลิกเลือก “56-1” จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้

 คลิกปุม่ “ค้นหา” แล้วจะปรากฏหน้าจอ ดังนี้

 คลิกเลือกช่วงเวลาทีต่ อ้ งการจะดูงบการเงิน โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 13

หรือ ต้องการดูแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (56-1)  คลิกเลือกหัวข้อ “แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี”

 เลือกบริษทั ทีต่ อ้ งการดูขอ้ มูล โดยคลิกลูกศรที่ Drop Down จะปรากฏชือ่ บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรียงตามตัวอักษร ต่อจากนัน้ คลิกปุม่ ค้นหา

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 14

 เมือ่ คลิกแล้วจะปรากฏหน้าจอดังรูป ต่อจากนัน้ คลิกหัวข้อทีส่ นใจ

ประโยชน์ ของการวิ เคราะห์งบการเงิ น 1. ทําให้ทราบเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ ใช้เป็ นข้อมูลในการวางแผนหรือพยากรณ์ อนาคต 2. ทําให้ทราบความสัมพันธ์ของรายการต่าง ๆ เพือ่ จะได้เข้าใจฐานะการเงินและผลการ ดําเนินงาน รวมทัง้ สภาพคล่องของกิจการได้ดยี งิ่ ขึน้ 3. ทําให้ทราบถึงความสามารถของผูบ้ ริหาร 4. ทําให้ทราบถึงสถานการณ์ในปจั จุบนั และเป็นเครือ่ งมือในการประเมินกิจการในอนาคตได้ 5. สามารถเปรียบเทียบงบการเงินกับอดีต คูแ่ ข่ง และอุตสาหกรรมได้ 6. สามารถใช้เป็ นข้อมูลในการตัดสินใจสําหรับผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับกิจการได้

ข้อจํากัดของการวิ เคราะห์งบการเงิ น 1. ตัวเลขบางตัวในงบการเงินทีน่ ํามาวิเคราะห์ เกิดจากการประมาณ เช่น ค่าเสือ่ ม ราคา (ต้องประมาณอายุการใช้งานและมูลค่าซากของสินทรัพย์) และหนี้สงสัยจะสูญ (ต้องประมาณอัตราลูกหนี้ทค่ี าดว่าจะไม่ชาํ ระเงิน) เป็ นต้น 2. งบการเงินไม่คาํ นึงถึงค่าของเงินตามเวลา เพราะมีตวั เลขหลายตัวทีใ่ ช้คา่ เงินในอดีต

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 15

3. ข้อมูลสําคัญบางรายการอาจไม่เป็นตัวเงินและไม่อยูใ่ นงบการเงิน ทําให้การวิเคราะห์ ได้ขอ้ มูลไม่ครบถ้วน (สินทรัพย์และหนี้สนิ นอกงบแสดงฐานะการเงิน) 4. การวิเคราะห์งบการเงินเป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีเ่ กิดขึน้ ในอดีต (นํางบการเงินของปี ก่อน ๆ มาวิเคราะห์) 5. การเปรียบเทียบอาจไม่เหมาะสม เช่น เปรียบเทียบกับอดีต โดยมีสภาพแวดล้อมที่ แตกต่างกัน การเปรียบเทียบกับคูแ่ ข่ง โดยคูแ่ ข่งใช้หลักการบัญชีทแ่ี ตกต่างกัน

เครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงิน เครือ่ งมือในการวิเคราะห์งบการเงินทีน่ ิยมใช้ในปจั จุบนั ได้แก่ การวิเคราะห์งบการเงิน แนวตัง้ การวิเคราะห์งบการเงินแนวนอนและการวิเคราะห์อตั ราส่วน โดยตัวอย่างงบการเงิน ทีจ่ ะใช้เครื่องมือต่าง ๆ วิเคราะห์จะใช้งบการเงิน ได้แก่ งบแสดงฐานะการเงิน และงบกําไร ขาดทุน เป็ นต้น

1. การวิเคราะห์งบการเงินแนวตัง้ ความสําคัญของการวิ เคราะห์งบการเงิ นแนวตัง้ การเปรียบเทียบระหว่างกิจการจะมีปญั หาในเรือ่ งขนาดของกิจการทีแ่ ตกต่างกัน หรือ การใช้เงินตราต่างสกุล เครือ่ งมือทีจ่ ะช่วยขจัดปญั หานี้คอื การทําตัวเลขในงบการเงินให้เป็ น ร้อยละของรายการทีเ่ กีย่ วข้อง

เช่น ยอดสินทรัพย์แต่ละรายการคิดเป็ นร้อยละเท่าใดของยอด

สินทรัพย์รวม หรือยอดหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ แต่ละรายการคิดเป็ นร้อยละเท่าใดของยอดหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ เป็ นต้น ซึง่ เทคนิคทีจ่ ะนํามาใช้ เรียกว่า “การวิเคราะห์งบการเงินแนวตัง้ ”

ความหมายของการวิเคราะห์งบการเงินแนวตัง้ การวิเคราะห์งบการเงินแนวตัง้ หรือแนวดิง่ (Vertical Analysis) หรือการวิเคราะห์ขนาดร่วม (Common Size Analysis) หมายถึง การวิเคราะห์ตวั เลขในงบการเงิน โดยมีการกําหนดให้ ยอดรวมของหมวดใดหมวดหนึ่งในงบการเงินเป็ นร้อยละ 100 และเทียบว่ายอดรายการอื่น ๆ เป็ นร้อยละเท่าใดของยอดรวมในหมวดเดียวกัน

เพือ่ ให้ตวั เลขแสดงความหมายทีช่ ดั เจนและ

สามารถเปรียบเทียบกันได้ โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 16

 งบกําไรขาดทุน กําหนดให้ยอดรายได้รวมเป็ นร้อยละ 100 เมือ่ ต้องการคํานวณว่า ยอดรายได้และค่าใช้จ่ายแต่ละรายการเป็ นร้อยละเท่าใด  งบแสดงฐานะการเงิ น กําหนดให้  ยอดสินทรัพย์รวมเป็นร้อยละ 100 รายการเป็นร้อยละเท่าใด

เมือ่ ต้องการคํานวณว่ายอดสินทรัพย์แต่ละ

 ยอดหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมเป็ นร้อยละ 100 เมือ่ ต้องการคํานวณว่า ยอดหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ แต่ละรายการเป็ นร้อยละเท่าใด  การคํานวณแนวตัง้ ในงบกําไรขาดทุน กําหนดให้ยอดรายได้รวมเป็ นร้อยละ 100 และ นํายอดแต่ละรายการในงบกําไรขาดทุนมาคํานวณว่ายอดรายการนัน้ เป็ นร้อยละเท่าใดของ ยอดรายได้รวม โดยใช้สตู รดังนี้ %

=

ยอดแต่ละรายการในงบกําไรขาดทุน ยอดรายได้รวม

X 100

 การคํานวณแนวตัง้ ในงบแสดงฐานะการเงิ น กําหนดให้ยอดสินทรัพย์รวม หรือยอด หนี้สนิ และส่วนของเจ้าของรวมเป็นร้อยละ 100 และนํายอดแต่ละรายการในงบแสดงฐานะ การเงินมาคํานวณว่ารายการนัน้ ๆ เป็ นร้อยละเท่าใดของยอดรวม โดยใช้สตู รดังนี้ % =

ยอดแต่ละรายการในหมวดสินทรัพย์ ยอดสินทรัพย์รวม

X 100

และ % =

ยอดแต่ละรายการในหมวดหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ X 100 ยอดหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 17

การใช้โปรแกรม Microsoft Excel เพื่อช่วยในการคํานวณแนวตัง้ (ให้นักศึกษา ศึกษาด้วยตนเอง) ปจั จุบนั มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทช่ี ว่ ยในการคํานวณหลายโปรแกรม โปรแกรม ทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากโปรแกรมหนึ่ง ได้แก่ โปรแกรม Microsoft Excel ซึง่ เป็ นโปรแกรมในชุด Microsoft Office

การนําโปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการคํานวณแนวตัง้ จะทําให้

ได้ผลลัพธ์ทร่ี วดเร็วและลดความผิดพลาดได้

ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างการคํานวณแนวตัง้ โดยใช้

โปรแกรม Microsoft Excel Version 2003 (สําหรับ Version 2007) ก็สามารถคํานวณได้โดยใช้ วิธกี ารเดียวกัน)  ขัน้ ตอนการคํานวณแนวตัง้ ในงบกําไรขาดทุน 1. เปิดโปรแกรม Microsoft Excel โดยคลิกทีป่ มุ่ Start มุมล่างซ้ายมือ Program ต่อจากนัน้ เลือกโปรแกรม Microsoft Excel เพือ่ ทําการเปิดโปรแกรม

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ

แล้วเลือก


การวิเคราะห์งบการเงิน 18

2. เมือ่ เปิดโปรแกรมแล้วให้พมิ พ์หรือคัดลอกงบกําไรขาดทุนลงใน Sheet ของโปรแกรม ทีเ่ ปิดไว้

โดยต้องมีการปรับขนาดของ Column ให้เหมาะสมกับข้อมูล

3. พิมพ์คาํ ว่า “ร้อยละ” ลงไปใน Column ทีต่ อ้ งการคํานวณ 4. คลิกทีช่ ่องทีต่ อ้ งการคํานวณ คือ รายการแรกในงบกําไรขาดทุน แล้วใส่สตู รดังนี้ = ช่องทีม่ ยี อดทีต่ อ้ งการคํานวณ * 100 / ช่องทีม่ ยี อดทีก่ าํ หนดให้เป็ นร้อยละ 100 ซึง่ ในทีน่ ้ี ยอดทีก่ ําหนดให้เป็ นร้อยละ 100 คือ ยอดรายได้รวม ดังนัน้ จึงใส่สตู ร =C5*100/$C$8 (ในช่องทีจ่ ะ ทําการคํานวณต้องใส่เครือ่ งหมาย = หรือ + ก่อนเสมอ เนื่องจากเป็ นเงือ่ นไขทีโ่ ปรแกรม Excel กําหนดไว้ สําหรับตัวหารต้องใส่ $ เพือ่ ต้องการไม่ให้คา่ นี้เปลีย่ นแปลงเมือ่ ทําการคัดลอก เพราะ ทุกช่องต้องใช้ยอดรายได้รวมเป็นตัวหาร) ต่อจากนัน้ กดปุม่ Enter เพือ่ รับค่า จะปรากฏคําตอบ ในช่องดังกล่าว 5. หากต้องการให้มที ศนิยม

ให้ใช้เมาส์คลิกที่

ทศนิยม 1 ตําแหน่ง หรือหากต้องการลดทศนิยมก็คลิกปุม่ ข้าง ๆ

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ

การคลิกแต่ละครัง้ จะเพิม่


การวิเคราะห์งบการเงิน 19

6. การคัดลอกสูตรจากช่องต้นแบบไปยังช่องอื่น ๆ ทําได้โดยการใช้เมาส์คลิกช่องทีม่ ี สูตรต้นแบบ

แล้วคลิกเมาส์ขวาจะปรากฏเมนู

ให้เลือก “คัดลอก (Copy)”

7. ใช้เมาส์เลือกช่องทีต่ อ้ งการจะคํานวณเพือ่ ให้ปรากฏแถบดํา ต่อจากนัน้ คลิกขวา แล้วเลือก “วาง (Paste)” โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 20

8. หากทําถูกต้องจะปรากฏผลลัพธ์ตามรูป

 ขัน้ ตอนการคํานวณแนวตัง้ ในงบแสดงฐานะการเงิ น 1. เปิดโปรแกรม Microsoft Excel 2. เมือ่ เปิดโปรแกรมแล้วให้พมิ พ์หรือคัดลอกงบแสดงฐานะการเงินลงใน Sheet ของ โปรแกรมทีเ่ ปิดไว้

โดยต้องมีการปรับขนาดของ Column ให้เหมาะสมกับข้อมูล

3. พิมพ์คาํ ว่า “ร้อยละ” ลงไปใน Column ทีต่ อ้ งการคํานวณ

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 21

4. คลิกทีช่ ่องทีต่ อ้ งการคํานวณ คือ รายการแรกในงบแสดงฐานะการเงิน แล้วใส่สตู ร ดังนี้ = ช่องทีม่ ยี อดทีต่ อ้ งการคํานวณ * 100 / ช่องทีม่ ยี อดทีก่ าํ หนดให้เป็ นร้อยละ 100 ซึง่ ในทีน่ ้ี ยอดทีก่ ําหนดให้เป็ นร้อยละ 100 คือ สินทรัพย์รวม ดังนัน้ จึงใส่สตู ร =C5*100/$C$14 สําหรับ ตัวหารต้องใส่ $ เพือ่ ต้องการไม่ให้คา่ นี้เปลีย่ นแปลงเมือ่ ทําการคัดลอก เพราะทุกช่องต้องใช้ยอด สินทรัพย์รวมเป็ นตัวหาร) ต่อจากนัน้ กดปุม่ Enter เพือ่ รับค่าจะปรากฏคําตอบในช่องดังกล่าว

5. หากต้องการลดทศนิยม

ให้ใช้เมาส์คลิกที่ ทศนิยม 1 ตําแหน่ง หรือหากต้องการลดทศนิยมก็คลิกปุม่ ข้าง ๆ

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ

การคลิกแต่ละครัง้ จะลด


การวิเคราะห์งบการเงิน 22

6. การคัดลอกสูตรจากช่องต้นแบบไปยังช่องอื่น ๆ ทําได้โดยการใช้เมาส์คลิกช่องทีม่ ี สูตรต้นแบบ

แล้วคลิกเมาส์ขวาจะปรากฏเมนู

ให้เลือก “คัดลอก (Copy)”

7. ใช้เมาส์เลือกช่องทีต่ อ้ งการจะคํานวณเพือ่ ให้ปรากฏแถบดํา ต่อจากนัน้ คลิกขวา แล้วเลือก “วาง (Paste)” 8. หากทําถูกต้องจะปรากฏผลลัพธ์ตามรูป

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 23

9. สําหรับรายการในหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ ยอดทีก่ าํ หนดให้เป็ นร้อยละ 100 คือ หนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม

แต่เนื่องจากยอดนี้เท่ากับสินทรัพย์รวม จึงใช้สตู รเดียวกัน

โดยไม่ตอ้ งสร้างหรือคัดลอกใหม่ และสามารถนําไปวางในช่องหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ แต่ละ รายการได้เลย

2. การวิ เคราะห์งบการเงิ นแนวนอน ความสําคัญของการวิเคราะห์งบการเงินแนวนอน การวิเคราะห์งบการเงินโดยใช้ขอ้ มูลปีใดปีหนึ่งอาจทําให้ไม่ได้ขอ้ มูลทีม่ คี วามหมายเพียงพอ เนื่องจากผูว้ เิ คราะห์ไม่สามารถทราบว่าข้อมูลทีเ่ ห็นมีคา่ มากหรือน้อย เปรียบเทียบ

เพราะไม่มเี กณฑ์ในการ

การวิเคราะห์งบการเงินแนวนอนหรือการวิเคราะห์การเปลีย่ นแปลงของงบการเงิน

เป็ นการเปรียบเทียบยอดต่าง ๆ ในงบกําไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงินกับปีอ่นื ซึง่ จะทําให้ผู้ วิเคราะห์ทราบถึงการเปลีย่ นแปลงของรายการต่าง ๆ และหากทําการวิเคราะห์ความเปลีย่ นแปลง หลาย ๆ ปี จะทําให้ทราบแนวโน้มของรายการนัน้

ความหมายของการวิ เคราะห์งบการเงิ นแนวนอน การวิเคราะห์งบการเงินแนวนอน (Horizontal Analysis) หรือการวิเคราะห์การเปลีย่ นแปลง หมายถึง การวิเคราะห์ตวั เลขในงบการเงิน โดยมีการเปรียบเทียบกับปีอ่นื ๆ ซึง่ ต้องกําหนดให้ ตัวเลขปีใดปีหนึ่งเป็ นร้อยละ 100 และเทียบว่าปีอ่นื ๆ จะเป็ นร้อยละเท่าใด ในการกําหนดปีใด ปีหนึ่งให้เป็นร้อยละ 100 สามารถทําได้ 2 วิธี คือ การเปรียบเทียบกับปีก่อน และการเปรียบเทียบ กับปีฐาน ในกรณีมตี วั เลข 2 ปี ทัง้ 2 วิธจี ะคํานวณเหมือนกัน

วิ ธีการวิ เคราะห์งบการเงิ นแนวนอน การวิเคราะห์เปรียบเทียบกับปีก่อน เป็ นการวิเคราะห์โดยเทียบปีก่อนให้เป็ นร้อยละ 100 แล้วหาว่ายอดปีปจั จุบนั เปลีย่ นแปลงไปจากปีก่อนอย่างไร โดยใช้สตู รดังนี้ % การเปลีย่ นแปลง

=

ยอดปีปจั จุบนั - ยอดปีก่อน ยอดปีก่อน

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ

X 100


การวิเคราะห์งบการเงิน 24

การใช้โปรแกรม Microsoft Excel เพื่อช่วยในการคํานวณแนวนอน ( ให้นักศึกษาศึกษาด้วยตนเอง) ต่อไปนี้เป็ นตัวอย่างการคํานวณแนวตัง้ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel Version 2003 (สําหรับ Version 2007 ก็สามารถคํานวณได้โดยใช้วธิ กี ารเดียวกัน)  ขัน้ ตอนการคํานวณแนวนอนในงบกําไรขาดทุน 1. เปิดโปรแกรม Microsoft Excel 2. เมือ่ เปิดโปรแกรมแล้วให้พมิ พ์หรือคัดลอกงบกําไรขาดทุนลงใน Sheet ของโปรแกรม ทีเ่ ปิดไว้ โดยต้องมีการปรับขนาดของ Column ให้เหมาะสมกับข้อมูล 3. พิมพ์คาํ ว่า “ร้อยละ” ลงไปใน Column ทีต่ อ้ งการคํานวณ 4. คลิกทีช่ ่องทีต่ อ้ งการคํานวณ คือ รายการแรกในงบกําไรขาดทุน แล้วใส่สตู รดังนี้ = (ช่องทีม่ ยี อดปีปจั จุบนั – ช่องทีม่ ยี อดปีก่อน) * 100 / ช่องทีม่ ยี อดปีก่อน ดังนัน้ จึงใส่สตู ร =(B6-C6)*100/C6 สําหรับคูแ่ รก (B6-C6) ต้องใส่วงเล็บเพราะต้องการให้หาผลต่างก่อนแล้วจึง นําผลต่างไปคูณ 100 แล้วหารด้วยยอดปีก่อน ต่อจากนัน้ กดปุม่ Enter เพือ่ รับค่า จะปรากฏ คําตอบในช่องดังกล่าว 5. การคัดลอกสูตรจากช่องต้นแบบไปยังช่องอื่น ๆ ทําได้โดยการใช้เมาส์คลิกช่องทีม่ ี สูตรต้นแบบ แล้วคลิกเมาส์ขวาจะปรากฏเมนู ให้เลือก “คัดลอก (Copy)”

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 25

6. ใช้เมาส์เลือกช่องทีต่ อ้ งการจะคํานวณเพือ่ ให้ปรากฏแถบดํา ต่อจากนัน้ คลิกขวา แล้วเลือก “วาง (Paste)” 7. หากทําถูกต้องจะปรากฏผลลัพธ์ตามรูป

8. ในช่อง G7 จะปรากฏค่า #DIV/0! ในทีน่ ้ีหมายถึง หาค่าไม่ได้เนื่องจากยอดกําไร จากการขายทีด่ นิ ปีก่อนไม่มี เมือ่ เกิดรายการนี้ขน้ึ ในปีปจั จุบนั จึงไม่สามารถหาค่าได้ ดังนัน้ ก่อนการวิเคราะห์จงึ ต้องเปลีย่ นค่าในช่องให้เป็ น n/a  ขัน้ ตอนการคํานวณแนวนอนในงบแสดงฐานะการเงิน 1. เปิดโปรแกรม Microsoft Excel 2. เมือ่ เปิดโปรแกรมแล้วให้พมิ พ์หรือคัดลอกงบแสดงฐานะการเงินลงใน Sheet ของ โปรแกรมทีเ่ ปิดไว้ โดยต้องมีการปรับขนาดของ Column ให้เหมาะสมกับข้อมูล 3. พิมพ์คาํ ว่า “ร้อยละ” ลงไปใน Column ทีต่ อ้ งการคํานวณ 4. คลิกทีช่ ่องทีต่ อ้ งการคํานวณ คือ รายการแรกในงบแสดงฐานะการเงิน แล้วใส่ สูตรดังนี้ โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 26

= (ช่องทีม่ ยี อดปีปจั จุบนั – ช่องทีม่ ยี อดปีก่อน) * 100 / ช่องทีม่ ยี อดปีก่อน ดังนัน้ จึงใส่สตู ร =(C5-D5)*100/D5 สําหรับคูแ่ รก (C5-D5) ต้องใส่วงเล็บเพราะต้องการให้หาผลต่างก่อนแล้วจึง นําผลต่างไปคูณ 100 แล้วหารด้วยยอดปีก่อน ต่อจากนัน้ กดปุม่ Enter เพือ่ รับค่า จะปรากฏ คําตอบในช่องดังกล่าว

5. การคัดลอกสูตรจากช่องต้นแบบไปยังช่องอื่น ๆ ทําได้โดยการใช้เมาส์คลิกช่องทีม่ ี สูตรต้นแบบ แล้วคลิกเมาส์ขวาจะปรากฏเมนู ให้เลือก “คัดลอก (Copy)” 6. ใช้เมาส์เลือกช่องทีต่ อ้ งการจะคํานวณเพือ่ ให้ปรากฏแถบดํา ต่อจากนัน้ คลิกขวา แล้วเลือก “วาง (Paste)” 7. หากทําถูกต้องจะปรากฏผลลัพธ์ตามรูป

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 27

3. การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน ความสําคัญของอัตราส่วนทางการเงิ น ปญั หาประการหนึ่งของงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนและงบกระแสเงินสด คือ จํานวนเงินแต่ละรายการในงบการเงินเป็นจํานวนเท่าใดจึงจะถือว่ามากหรือน้อย เช่น ธุรกิจหนึ่งมี สินทรัพย์หมุนเวียน 10 ล้านบาท ผูว้ เิ คราะห์ไม่สามารถสรุปได้วา่ ยอดนี้เป็ นอย่างไร หรือไม่ สามารถนํายอดเหล่านี้ไปเปรียบเทียบกับธุรกิจอื่น ดังนัน้ จึงควรวิเคราะห์รายการต่าง ๆ โดย นําไปเปรียบเทียบกับรายการทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ให้มคี วามหมายมากขึน้ เช่น ควรนําสินทรัพย์ หมุนเวียนไปเปรียบเทียบกับหนี้สนิ หมุนเวียน เนื่องจากสินทรัพย์หมุนเวียนมีไว้เพือ่ ชําระหนี้สนิ หมุนเวียน เป็ นต้น เครือ่ งมือทีช่ ว่ ยในการวิเคราะห์ในลักษณะนี้ คือ อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนทางการเงิน คือ การนํารายการทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั มาเปรียบเทียบเพือ่ ให้ม ี ความหมายมากขึน้ โดยรายการทีน่ ํามาเปรียบเทียบจะเป็นรายการในงบเดียวกันหรือต่างงบกัน ก็ได้ สําหรับการเปรียบเทียบรายการในงบเดียวกัน เช่น การนํากําไรสุทธิเปรียบเทียบกับยอดขาย หรือการนํายอดหนี้สนิ เปรียบเทียบกับสินทรัพย์ ส่วนการเปรียบเทียบรายการต่างงบกัน เช่น การนํายอดขายมาเปรียบเทียบกับสินทรัพย์ เป็ นต้น เมือ่ นํารายการต่าง ๆ มาเปรียบเทียบ กันแล้ว ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จะให้ความหมายทีม่ ปี ระโยชน์กว่าการวิเคราะห์แต่ละรายการแยกจากกัน และในการวิเคราะห์อตั ราส่วนควรมีการเปรียบเทียบกับอัตราส่วนในอดีต อัตราส่วนของคูแ่ ข่ง หรือของอุตสาหกรรม ซึง่ จะทําให้มเี กณฑ์ในการวิเคราะห์ได้ชดั เจนขึน้

การวิเคราะห์งบการเงินสําหรับผู้บริหาร การวิเคราะห์งบการเงินเป็ นเครือ่ งมือสําคัญในการบริหารธุรกิจ

ดังนัน้ ผูบ้ ริหารจึงควร

ใช้ประโยชน์จากเครือ่ งมือเหล่านี้ โดยจะต้องเข้าใจและวิเคราะห์ในด้านต่าง ๆ ดังนี้

1. การวิ เคราะห์ฐานะการเงิ น ผูบ้ ริหารสามารถทราบถึงฐานะการเงินของธุรกิจได้ โดย พิจารณาจากการวิเคราะห์งบแสดงฐานะการเงิน ทัง้ แนวตัง้ และแนวนอนดังนี้

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 28

1.1 การวิ เคราะห์งบแสดงฐานะการเงินแนวตัง้ บริ ษทั พอเพียง จํากัด งบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 สิ นทรัพย์

บาท

ร้อยละ

เงินสด

27,000

3.27

ลูกหนี้

76,000

9.21

สินค้าคงเหลือ

22,000

2.67

125,000

15.15

เงินให้กรรมการกูย้ มื ระยะยาว

300,000

36.36

ทีด่ นิ

200,000

24.24

อาคารและอุปกรณ์

290,000

35.15

ค่าเสือ่ มราคาสะสม

(90,000)

(10.90)

700,000

84.85

825,000

100.00

เจ้าหนี้

31,000

3.76

ตั ๋วเงินจ่าย

25,000

3.03

8,000

0.97

64,000

7.76

390,000

47.27

454,000

55.03

300,000

36.36

71,000

8.61

รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้

371,000

44.97

รวมหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

825,000

100.00

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น

ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย รวมหนี้สนิ หมุนเวียน เงินกู้ รวมหนี้สนิ ทุนหุน้ สามัญ (มูลค่าหุน้ ละ 10 บาท) กําไรสะสม

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 29

แนวทางการวิ เคราะห์งบแสดงฐานะการเงิน  การวิ เคราะห์สินทรัพย์ สิน้ ปี 2552 บริษทั พอเพียง จํากัด มีสนิ ทรัพย์หมุนเวียนร้อยละ 15.15 ซึง่ ถือว่ามีสภาพ คล่องสูงเมื่อเปรียบเทียบกับหนี้สนิ หมุนเวียน ซึง่ กิจการต้องพยายามตามเก็บเงินให้ได้ 36.36 ของสินทรัพย์รวม ลงทุนในด้านอื่น

สําหรับสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่เป็ นลูกหนี้ มีการให้กรรมการกูย้ มื ระยะยาวสูงสุดคิดเป็ นร้อยละ

ซึง่ ถือว่าเป็ นการลงทุนทีไ่ ม่เหมาะสม เพราะบริษทั ควรนําเงินไป

สําหรับการลงทุนในอาคารและอุปกรณ์มยี อดรองลงมา ซึง่ กิจการลงทุนใน

อาคารและอุปกรณ์โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างรายได้หลักให้กจิ การ

สําหรับการลงทุนใน

ทีด่ นิ ก็มยี อดค่อนข้างสูงถึงแม้ในปีน้ีจะมีการขายทีด่ นิ ไปแล้วบางส่วนและทําให้กจิ การมีกาํ ไรจาก การขายทีด่ นิ จํานวน 52,000 บาท ถือว่าการลงทุนในทีด่ นิ มีความเหมาะสม  การวิ เคราะห์หนี้ สินและส่วนของผู้ถือหุ้น สิน้ ปี 2552 บริษทั พอเพียง จํากัด มีการจัดหาเงินโดยการก่อหนี้สงู กว่าเงินทีไ่ ด้มา จากส่วนของผูถ้ อื หุน้ โดยหนี้สนิ ส่วนใหญ่จะเกิดจากการกูย้ มื ระยะยาวสูงถึงร้อยละ 47.27 ส่งผล ทําให้ดอกเบี้ยจ่ายมีจาํ นวนมาก

ในด้านส่วนของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ขายหุน้ ในราคาตามมูลค่า ทําให้ไม่มสี ว่ นเกินมูลค่าหุน้ สําหรับกําไรสะสมทีบ่ ริษทั ทําได้ตงั ้ แต่เริม่ ดําเนินงานจนถึงปจั จุบนั มี

ร้อยละ 8.61 ถือเป็ นแหล่งเงินทุนภายในแต่ยงั มีจาํ นวนไม่มากนัก

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 30

1.2 การวิ เคราะห์งบแสดงฐานะการเงินแนวนอน บริ ษทั พอเพียง จํากัด งบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 27,000 76,000 22,000

สิ นทรัพย์ เงินสด ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ

2551 ร้อยละที่เพิ่ ม(ลด) (38.64) 44,000 40.74 54,000 46,000 (52.17)

125,000 300,000 200,000 290,000 (90,000) 700,000 825,000

144,000 260,000 247,000 290,000 (80,000) 717,000 861,000

(13.19)

31,000 25,000 8,000

120,000 135,000 10,000

64,000 390,000 454,000

265,000 250,000 515,000

(74.17) (81.48) (20.00) (75.85) 56.00 (11.84)

ทุนหุน้ สามัญ (มูลค่าหุน้ ละ 10 บาท) กําไรสะสม รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้

300,000 71,000 371,000

300,000 46,000 346,000

0 54.35 7.23

รวมหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

825,000

861,000

(4.18)

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน เงินให้กรรมการกูย้ มื ระยะยาว ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ หัก ค่าเสือ่ มราคาสะสม รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น เจ้าหนี้ ตั ๋วเงินจ่าย ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย รวมหนี้สนิ หมุนเวียน เงินกู้ รวมหนี้สนิ

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ

15.38 (19.03) 0 12.50 (2.37) (4.18)


การวิเคราะห์งบการเงิน 31

แนวทางการวิ เคราะห์การเปลี่ยนแปลงในงบแสดงฐานะการเงิ น  การวิ เคราะห์สินทรัพย์ เงินสดสิน้ ปี 2552 ลดลงร้อยละ 38.64 แต่ถอื ว่ามีการบริหารเงินสดทีด่ เี พราะกิจการ ไม่จาํ เป็ นต้องมีเงินสดมากเกินไป

ควรนําไปหาผลประโยชน์และไม่เสีย่ งต่อการทุจริต ลูกหนี้ม ี

แนวโน้มเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ โดยเมือ่ เทียบกับยอดขายแล้วพบว่ายอดลูกหนี้เพิม่ ขึน้ สวนทางกับยอดขาย ดังนัน้ ควรพิจารณาว่าการทีล่ กู หนี้เพิม่ ขึน้ เป็ นเพราะลูกหนี้เก่ายังไม่ชาํ ระหนี้หรือไม่ สินค้าคงเหลือ ลดลงกว่าครึง่ ในปี 2552 ต้องระวังสินค้าขาดสต๊อกหรือสินค้ามีให้เลือกน้อย เงินให้กรรมการกูย้ มื ระยะยาวเพิม่ ขึน้

ทีด่ นิ ลดลงเพราะมีการขายออกไปและได้กําไร

 การวิ เคราะห์หนี้ สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ในปี 2552 ลดลงอย่างมาก โดยบัญชีเจ้าหนี้เกิดจากการซือ้ สินค้าเป็ นเงินเชือ่ จึงมักไม่เสียดอกเบีย้

และกิจการต้องระวังว่าหากเจ้าหนี้ลดเพราะเจ้าหนี้ไม่ยอมให้เครดิตถือว่า

เสียชือ่ เสียงของกิจการ สําหรับตั ๋วเงินจ่ายลดลงเช่นกัน แต่ถอื ว่าดีเพราะทําให้ประหยัดดอกเบีย้ ลงได้ เนื่องจากตั ๋วเงินจ่ายมีดอกเบีย้ บัญชีเงินกูเ้ พิม่ ขึน้ มีผลเสีย คือ ต้องเสียดอกเบีย้ และทําให้ กิจการมีความเสีย่ งสูง

ในปี 2552 กําไรสะสมเพิม่ ขึน้ เนื่องจากกิจการมีกาํ ไรสุทธิ แต่โดยภาพรวม

แล้วกิจการยังมีความเสีย่ งเพราะหนี้สนิ สูงกว่าส่วนของผูถ้ อื หุน้

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 32

2. การวิ เคราะห์ผลการดําเนิ นงาน

ผูบ้ ริหารสามารถทราบถึงผลการดําเนินงานของ

ธุรกิจได้ โดยพิจารณาจากการวิเคราะห์งบกําไรขาดทุน ทัง้ แนวตัง้ และแนวนอนดังนี้ 2.1 การวิ เคราะห์งบกําไรขาดทุนแนวตัง้ บริ ษทั พอเพียง จํากัด งบกําไรขาดทุน สําหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 บาท

ร้อยละ

200,000

79.37

52,000 252,000

20.63 100.00

ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร เงินเดือน

120,000

47.62

25,000

9.92

ค่านายหน้า ค่าโฆษณา ค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา

8,000 20,000 16,000

3.17 7.94 6.35

ค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด ค่าเสือ่ มราคา ดอกเบีย้ จ่าย

2,000 10,000 17,000

0.79 3.97 6.75

ภาษีเงินได้ รวมค่าใช้จา่ ย กําไรสุทธิ

9,000 227,000 25,000

3.57 90.08 9.92

รายได้ :ขาย กําไรจากการขายทีด่ นิ รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย :-

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 33

แนวทางการวิ เคราะห์ผลการดําเนิ นงาน ในปี 2552 บริษทั พอเพียง จํากัด มีรายได้เกิดขึน้ จากการขายสินค้าคิดเป็ นร้อยละ 79.37 และมีกาํ ไรในการขายทีด่ นิ ร้อยละ 20.63 ของรายได้รวม เมือ่ พิจารณาแล้วพบว่ารายได้ ประมาณร้อยละ 20 เป็ นรายได้ทไ่ี ม่ได้เกิดจากความสามารถในการดําเนินงานของผูบ้ ริหาร ซึง่ อาจส่งผลทําให้กาํ ไรไม่มคี ณ ุ ภาพ เนื่องจากรายได้บางส่วนไม่ได้เกิดขึน้ ทุกปีและไม่ได้เกิดจาก รายได้หลักของบริษทั ในปีหน้าหากไม่มกี ารขายสินทรัพย์รายได้รวมก็จะลดลง เมือ่ วิเคราะห์คา่ ใช้จา่ ยของบริษทั

ต้นทุนขายคิดเป็นร้อยละ 47.62 ของรายได้รวม ซึง่

ถือว่าค่อนข้างสูง ส่วนค่าใช้จา่ ยคิดเป็ นร้อยละ 42.46 (90.08 - 47.62) ทําให้กําไรสุทธิมจี าํ นวน ร้อยละ 9.92 ของรายได้รวม

ค่าใช้จา่ ยส่วนใหญ่ ได้แก่ เงินเดือน ค่าโฆษณาและดอกเบีย้ จ่าย

สําหรับค่าโฆษณาอาจต้องวิเคราะห์เปรียบเทียบว่า ค่าโฆษณาทีเ่ กิดขึน้ หรือไม่

สัดส่วนการเพิม่ ขึน้ ของยอดขายมากกว่า

หากการโฆษณาทําให้ยอดขายเพิม่ ขึน้ ไม่มากนัก ในปีต่อไปอาจ

ต้องพิจารณาลดค่าโฆษณาและทําการวิจยั และพัฒนาสินค้าแทน

สําหรับดอกเบีย้ จ่ายสูงเพราะ

มีการกูย้ มื เงินเป็ นจํานวนมาก จึงทําให้กจิ การมีภาระทีจ่ ะต้องชําระดอกเบีย้ ตราบเท่าทีย่ งั มีหนี้สนิ การวิเคราะห์ผลการดําเนินงานของบริษทั ในปี 2552 พบว่ากําไรสุทธิถงึ แม้วา่ จะสูงแต่เกิดจาก รายได้ทไ่ี ม่ใช่รายได้หลักและไม่มหี ลักประกันว่าจะเกิดขึน้ ทุกปี

ดังนัน้ จึงถือว่ากําไรสุทธิในปีน้ี

ไม่มคี ณ ุ ภาพ

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 34

2.2 การวิ เคราะห์งบกําไรขาดทุนแนวนอน บริ ษทั พอเพียง จํากัด งบกําไรขาดทุน สําหรับรอบระยะเวลา 1 ปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2552

2551

ร้อยละที่เพิ่ ม(ลด)

รายได้ :ขาย

200,000

216,000

(7.41)

52,000

0

N/A

252,000

216,000

16.67

120,000

115,000

4.35

25,000

24,000

4.17

ค่านายหน้า

8,000

6,000

33.33

ค่าโฆษณา

20,000

12,000

66.67

ค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา

16,000

11,000

45.45

2,000

3,000

(33.33)

10,000

7,000

42.86

ดอกเบีย้ จ่าย

17,000

11,500

47.83

ภาษีเงินได้

9,000

4,400

104.55

227,000

193,900

17.07

25,000

22,100

13.12

กําไรจากการขายทีด่ นิ รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย :ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร เงินเดือน

ค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด ค่าเสือ่ มราคา

รวมค่าใช้จา่ ย กําไรสุทธิ

แนวทางการวิ เคราะห์การเปลี่ยนแปลงในงบกําไรขาดทุน ยอดขายของบริษทั ปี 2552 ลดลงจากปี 2551 ร้อยละ 7.41 อย่างไรก็ตามยอดรายได้ รวมในปี 2552 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 16.67 เนื่องจากมีกาํ ไรจากการขายทีด่ นิ สําหรับต้นทุนขายมีความ โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 35

น่าเป็ นห่วงเนื่องจากยอดขายลดลงแต่ตน้ ทุนขายกลับเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.35 จึงควรพิจารณาว่าทําไม ต้นทุนสินค้าจึงไม่ลดลงตามยอดขาย ซึง่ อาจเกิดจากสินค้าทีซ่ อ้ื มามีราคาสูงขึน้ แต่กจิ การ ไม่สามารถขึน้ ราคาขายได้ นอกจากนัน้ ค่านายหน้าซึง่ จ่ายให้พนักงานขายก็เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 33.33 รวมทัง้ ค่าโฆษณาเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 66.67 ดังนัน้ จึงควรหาสาเหตุวา่ เพราะเหตุใดการโฆษณาจึงไม่ได้ผล ซึง่ อาจต้องใช้การส่งเสริมการขายด้านอื่นแทน เช่น การแจกของแถม หรือลดราคา เป็ นต้น สําหรับค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษาเกิดขึน้ ทุกปี หากกิจการมีนโยบายในการซ่อมบํารุงอย่าง สมํ่าเสมอ จะทําให้อายุการใช้งานของสินทรัพย์เพิม่ ขึน้ หรือไม่ตอ้ งเสียค่าซ่อมแซมจํานวนมาก สําหรับดอกเบีย้ จ่ายมีเป็นจํานวนมากเนื่องจากมีการจัดหาเงินโดยการกูย้ มื เพิม่ ขึน้ ในภาพรวม ถึงแม้วา่ ยอดขายจะลดลงและค่าใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้ แต่กาํ ไรสุทธิปี 2552 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 13.12 เนื่องจาก มีกําไรจากการขายทีด่ นิ

3. การวิ เคราะห์อตั ราส่วน ผูบ้ ริหารสามารถทราบถึงผลการดําเนินงานของ 3.1. อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) คํานวณจาก สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สนิ หมุนเวียน = …………. เท่า (Current Assets / Current Liabilities = …………. Times) ส่วนประกอบ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เป็ นข้อมูลทีไ่ ด้มาจากงบแสดงฐานะการเงิน ให้พจิ ารณา เฉพาะสินทรัพย์ทส่ี ามารถเปลีย่ นเป็ นเงินสดได้ภายใน 1 ปี ซึง่ ส่วนใหญ่ ได้แก่ เงินสด เงินลงทุนระยะสัน้ ลูกหนี้ ตั ๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ และค่าใช้จา่ ย ล่วงหน้า เป็ นต้น หนี้ สินหมุนเวียน เป็ นข้อมูลทีไ่ ด้มาจากงบแสดงฐานะการเงิน ให้พจิ ารณา เฉพาะหนี้สนิ ทีจ่ ะต้องชําระในปีหน้า ซึง่ ส่วนใหญ่ได้แก่ เงินเบิกเกินบัญชี เจ้าหนี้การค้า ตั ๋วเงินจ่าย หนี้ระยะยาวทีจ่ ะถึงกําหนดชําระใน 1 ปี ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย และเงินปนั ผลค้างจ่าย เป็ นต้น ความหมาย เป็ นอัตราส่วนทีใ่ ช้วดั ว่าธุรกิจมีสนิ ทรัพย์หมุนเวียนทีส่ ามารถเปลีย่ นเป็ นเงินสดได้ ภายใน 1 ปี เพียงพอในการชําระหนี้สนิ หมุนเวียนมากน้อยเพียงใด ค่าที่เหมาะสม อยูร่ ะหว่าง 1.5 – 3 เท่า ตัวเลขนี้ประมาณขึน้ จากประสบการณ์ (Rule of Thumb) ผูว้ เิ คราะห์ไม่ควรใช้ตวั เลขนี้เพียงอย่างเดียวเป็ นเกณฑ์ตดั สิน แต่ จะต้องพิจารณาข้อมูลอื่นประกอบด้วย เช่น ประเภทของธุรกิจ ส่วนประกอบ ของรายการทีน่ ํามาคํานวณอัตราส่วน และอัตราส่วนอุตสาหกรรม เป็ นต้น

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 36

อัตราส่วนที่ตาํ่ ถ้าอัตราส่วนนี้ต่าํ กว่า 1 แสดงให้เห็นว่าธุรกิจขาดสภาพคล่อง มีเงินสดไม่เพียงพอ ชําระหนี้สนิ ซึง่ อาจทําให้ประสบภาวะล้มละลายได้ อัตราส่วนที่สงู ถ้าอัตราส่วนนี้สงู กว่า 3 แสดงให้เห็นว่าธุรกิจมีการลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน มากเกินไป ซึง่ อาจมีผลเสีย คือ สินทรัพย์หมุนเวียนเป็ นสินทรัพย์ทใ่ี ห้ ผลตอบแทนตํ่า ธุรกิจอาจเสียโอกาสลงทุนในสินทรัพย์ทใ่ี ห้ผลตอบแทนสูงกว่า ข้อควรพิ จารณา 1. อัตราส่วนนี้ขน้ึ อยูก่ บั ประเภทและวงจรการดําเนินงานของแต่ละธุรกิจ 2. ในการใช้อตั ราส่วนนี้เพือ่ ตัดสินใจหรือเปรียบเทียบต้องพิจารณาส่วนประกอบ ของสินทรัพย์หมุนเวียนว่ามีอะไรบ้าง หากสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่เป็ น ลูกหนี้และสินค้า อาจประสบปญั หาการเปลีย่ นเป็ นเงินได้ยาก เพราะลูกหนี้ อาจไม่สามารถเรียกเก็บเงินได้ และสินค้าอาจขายได้ยากหรือเป็ นสินค้าทีต่ ลาด ไม่ตอ้ งการ 3. อัตราส่วนทีส่ งู อาจจะดีกว่าอัตราส่วนทีต่ ่าํ หากสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่ เปลีย่ นเป็ นเงินสดได้ยาก 4. ผูบ้ ริหารมักต้องการให้อตั ราส่วนนี้ต่าํ เพือ่ จะได้นําเงินไปลงทุนในสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน แต่เจ้าหนี้มกั ต้องการให้อตั ราส่วนนี้สงู เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ าจะ ได้รบั ชําระหนี้เมือ่ ถึงกําหนด ชื่ออัตราส่วน

สูตร

การแทนค่า

อัตราส่วนทุน

สินทรัพย์หมุนเวียน

125,000

หมุนเวียน

หนี้สนิ หมุนเวียน

64,000

ค่าอัตราส่วน ค่าอัตราส่วน ของธุรกิจ

อุตสาหกรรม1

1.95 เท่า

2.5 เท่า

จากอัตราส่วนทุนหมุนเวียนทีค่ าํ นวณได้ บริษทั มีสภาพคล่องค่อนข้างสูง เพราะมีสนิ ทรัพย์ ทีจ่ ะเปลีย่ นเป็ นเงินมาชําระหนี้สนิ หมุนเวียนเกือบ 2 เท่า แต่ยงั ถือว่าค่านี้ต่าํ กว่าค่าเฉลีย่ ของ ธุรกิจในกลุม่ เดียวกันถือว่าไม่เหมาะสม แนวทางในการปรับปรุงอัตราส่วนนี้ คือ การเพิม่ สินทรัพย์หมุนเวียนหรือลดหนี้สนิ หมุนเวียน 1

เป็ นค่าเฉลี่ยของบริ ษทั ที่ดาํ เนินธุรกิจประเภทเดียวกันหรื อมีลกั ษณะคล้ายกัน เช่น ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมของ ธุรกิจโรงแรม ได้มาจากการนําอัตราส่วนของธุรกิจโรงแรมมาเฉลี่ย เป็ นต้น สําหรับธุรกิจที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สามารถหาค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมได้โดยใช้ขอ้ มูลจากห้องสมุดตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (Set Smart) โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 37

3.2 อัตราส่วนหนี้ สินรวมต่อสิ นทรัพย์รวม (Total Debt to Total Assets Ratio) คํานวณจาก หนี้สนิ รวม / สินทรัพย์รวม * 100 = …………. % (Total Liabilities / Total Assets * 100 = …………. %) ความหมาย

เป็ นอัตราส่วนทีใ่ ช้วดั ว่าธุรกิจมีหนี้สนิ ทัง้ หมดเป็ นร้อยละเท่าใดของสินทรัพย์รวม

ค่าที่เหมาะสม ขึน้ อยูก่ บั ความสามารถในการทํากําไรของธุรกิจ

โดยปกติควรมีหนี้สนิ ทัง้ สิน้

ประมาณร้อยละ 40 - 60 (Rule of Thumb) อัตราส่วนที่ตาํ่ ถ้าอัตราส่วนนี้ต่าํ กว่าค่าทีเ่ หมาะสม แสดงให้เห็นว่าธุรกิจมีหนี้สนิ น้อย

อาจ

เป็ นประโยชน์ คือ จะมีความเสีย่ งตํ่าและมีภาระในการจ่ายดอกเบีย้ น้อย แต่ อาจเป็ นข้อเสีย คือ กิจการไม่ได้รบั ความเชือ่ ถือจากบุคคลภายนอก ทําให้ ไม่สามารถซือ้ สินค้าเป็ นเงินเชื่อหรือกูย้ มื เงินได้มาก อัตราส่วนที่สงู ถ้าอัตราส่วนนี้สงู กว่าค่าทีเ่ หมาะสม แสดงให้เห็นว่าธุรกิจมีหนี้สนิ มาก อาจ เป็ นประโยชน์ คือ

กิจการได้รบั ความเชื่อถือจากบุคคลภายนอก

ทําให้

สามารถซือ้ สินค้าเป็ นเงินเชือ่ หรือกูย้ มื เงินได้มาก และในกรณีทส่ี ามารถทํากําไร ได้สงู กว่าอัตราดอกเบีย้ ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั ประโยชน์จากภาษี (Tax Shield) เพราะ ดอกเบีย้ เป็ นค่าใช้จา่ ยทําให้เสียภาษีน้อยลง แต่อาจเป็ นข้อเสีย คือ มีความเสีย่ งสูง และมีภาระในการจ่ายดอกเบีย้ เพราะเมือ่ ถึงกําหนดชําระหากไม่สามารถจ่าย ชําระได้อาจถูกฟ้องล้มละลายหรือคิดดอกเบีย้ ในอัตราสูงขึน้ นอกจากนัน้ การจะ กูย้ มื เงินเพิม่ ก็เป็ นเรือ่ งยาก ข้อควรพิ จารณา 1. ในการวิเคราะห์อตั ราส่วนนี้จะต้องพิจารณาข้อมูลอื่นประกอบด้วย เนื่องจาก ธุรกิจทีม่ หี นี้สนิ มากแต่สามารถทํากําไรได้สงู จะสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ เพราะดอกเบีย้ จ่ายมีอตั ราทีต่ กลงกันไว้แน่นอนและช่วยประหยัดภาษี ดังนัน้ หากทํากําไรได้มาก ส่วนทีเ่ หลือทัง้ หมดจะเป็นของผูถ้ อื หุน้ 2. หากหนี้สนิ ส่วนใหญ่เป็นหนี้สนิ ระยะยาว ความเสีย่ งในการจ่ายชําระหนี้จะ น้อยลง เพราะไม่ตอ้ งจ่ายคืนเร็วทําให้มรี ะยะเวลาในการบริหารเงินทุนหมุนเวียน 3. ต้องพิจารณาว่าอัตราดอกเบีย้ สูงหรือตํ่ากว่าท้องตลาด ซึง่ แสดงให้เห็นถึง ความสามารถของผูบ้ ริหารในเรือ่ งการต่อรอง โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 38

ชื่ออัตราส่วน

สูตร

การแทนค่า

อัตราส่วนหนี้สนิ รวม

หนี้สนิ รวม X 100

454,000 X 100

ต่อสินทรัพย์รวม

สินทรัพย์รวม

825,000

ค่าอัตราส่วน ของธุรกิจ

ค่าอัตราส่วน อุตสาหกรรม

55.03 %

40%

จากอัตราส่วนหนี้สนิ รวมต่อสินทรัพย์รวมทีค่ าํ นวณได้ บริษทั มีความเสีย่ งค่อนข้างสูง เพราะมีหนี้สนิ มากถึงร้อยละ 55 และมีสว่ นของเจ้าของเพียงร้อยละ 45 ซึง่ ค่านี้มากกว่าค่าเฉลีย่ ของธุรกิจในกลุม่ เดียวกันถือว่าไม่เหมาะสม แนวทางในการปรับปรุงอัตราส่วนนี้ คือ การ พยายามลดหนี้สนิ ลง 3.3 อัตราส่วนกําไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายและภาษี ต่อดอกเบีย้ จ่าย (Times Interest Earned Ratio) คํานวณจาก กําไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายและภาษี / ดอกเบีย้ จ่าย = …………. เท่า (Earnings Before Interest and Tax / Interest Expense = …………. Times) ความหมาย เป็ นอัตราส่วนทีใ่ ช้วดั ว่าธุรกิจมีความสามารถในการสร้างกําไรก่อนดอกเบีย้ และ ภาษีเป็ นกีเ่ ท่าของดอกเบีย้ ทีต่ อ้ งจ่าย ค่าที่เหมาะสม ขึน้ อยูก่ บั นโยบายในการกําหนดโครงสร้างทุน โดยปกติอตั ราส่วนนี้ไม่ควรตํ่า กว่า 3 เท่า (Rule of Thumb) อัตราส่วนที่ตาํ่ ถ้าอัตราส่วนนี้ต่าํ กว่าค่าทีเ่ หมาะสม แสดงให้เห็นว่าธุรกิจมีหนี้สนิ มาก หรือมี ความสามารถในการสร้างกําไรตํ่า ซึง่ อาจเกิดความเสีย่ งเมือ่ ไม่สามารถชําระ ดอกเบีย้ ได้ อัตราส่วนที่สงู ถ้าอัตราส่วนนี้สงู กว่าค่าทีเ่ หมาะสม แสดงให้เห็นว่าธุรกิจมีหนี้สนิ น้อย หรือมี ความสามารถในการสร้างกําไรสูง ข้อควรพิ จารณา 1. ในการวิเคราะห์อตั ราส่วนนี้จะต้องพิจารณาประเภทของหนี้สนิ ประกอบด้วย เนื่องจากธุรกิจทีม่ อี ตั ราส่วนนี้สงู แต่อาจมีความเสีย่ งหากหนี้สนิ ส่วนใหญ่เป็ น หนี้สนิ หมุนเวียนทีไ่ ม่ตอ้ งเสียดอกเบีย้ แต่ตอ้ งชําระคืนเร็ว 2. อัตราส่วนนี้ตอ้ งใช้กาํ ไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายและภาษีเงินได้ เพราะในการ เปรียบเทียบกับดอกเบีย้ จ่าย ไม่ควรใช้กาํ ไรทีห่ กั ดอกเบีย้ จ่ายแล้ว (หากใช้กําไรสุทธิ ต้องบวกดอกเบีย้ กลับ) ส่วนภาษีเงินได้เป็ นหน้าทีท่ ต่ี อ้ งเสียโดยหลีกเลีย่ งไม่ได้ 3. อัตราส่วนนี้ขน้ึ อยูก่ บั วงจรของธุรกิจ เมือ่ เริม่ ต้นดอกเบีย้ จะสูง เมือ่ เข้าสู่ ขัน้ เจริญเติบโตเต็มทีธ่ ุรกิจจะเริม่ จ่ายคืนเงินกูท้ าํ ให้ดอกเบีย้ เริม่ ตํ่าลง โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 39

ชื่ออัตราส่วน

สูตร

อัตราส่วนกําไรก่อน กําไรก่อนดอกเบีย้ ดอกเบีย้ จ่ายและภาษี และภาษีเงินได้ ต่อดอกเบีย้ จ่าย ดอกเบีย้ จ่าย

การแทนค่า 51,000 17,000

ค่าอัตราส่วน

ค่าอัตราส่วน

ของธุรกิจ

อุตสาหกรรม

3 เท่า

5.5 เท่า

จากอัตราส่วนกําไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายและภาษีต่อดอกเบีย้ จ่ายทีค่ าํ นวณได้ บริษทั มี ความ สามารถในการทํากําไรเพือ่ จะนํามาจ่ายดอกเบีย้ ถึง 3 เท่า แต่คา่ นี้น้อยกว่าค่าเฉลีย่ ของ ธุรกิจในกลุม่ เดียวกันถือว่าไม่เหมาะสม ซึง่ อาจเป็ นเพราะบริษทั มีหนี้สนิ สูงจึงทําให้มภี าระที่ ต้องจ่ายดอกเบีย้ มาก แนวทางในการปรับปรุงอัตราส่วนนี้ คือ การพยายามลดหนี้สนิ ลง หรือ เพิม่ กําไร 3.4 อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (Return on Assets Ratio: ROA) คํานวณจาก กําไรสุทธิ / สินทรัพย์รวมเฉลีย่ * 100 = …………. % (Net Profit / Average Total Assets * 100 = …………. %) ส่วนประกอบ สิ นทรัพย์รวมเฉลี่ย = (สินทรัพย์รวมต้นงวด + สินทรัพย์รวมปลายงวด) / 2 ความหมาย เป็ นอัตราส่วนทีใ่ ช้วดั ว่าธุรกิจมีความสามารถในการใช้สนิ ทรัพย์เพือ่ สร้างกําไร มากน้อยเพียงใด ค่าที่เหมาะสม ขึน้ อยูก่ บั ประเภทของธุรกิจ โดยปกติควรสูงกว่าต้นทุนทางการเงินทีธ่ ุรกิจ จัดหามาเพือ่ ใช้ในการดําเนินงานและการลงทุน เช่น อัตราดอกเบีย้ เป็ นต้น อัตราส่วนที่ตาํ่ ถ้าอัตราส่วนนี้ต่าํ กว่าค่าทีเ่ หมาะสม แสดงให้เห็นว่าธุรกิจมีความสามารถในการ สร้างกําไรได้ต่าํ ซึง่ อาจเนื่องมาจากการการขายสินค้าได้น้อย การซือ้ สินค้าที่ มีตน้ ทุนสูงหรือการจ่ายค่าใช้จา่ ยทีเ่ กินความจําเป็ น รวมทัง้ มีการบริหารสินทรัพย์ ไม่มปี ระสิทธิภาพ อัตราส่วนที่สงู ถ้าอัตราส่วนนี้สงู กว่าค่าทีเ่ หมาะสม แสดงให้เห็นว่าธุรกิจมีความสามารถ ในการขายสินค้า ซือ้ สินค้าในราคาตํ่าหรือสามารถควบคุมค่าใช้จา่ ยในการ ดําเนินงานได้ตามทีต่ อ้ งการ รวมทัง้ มีการบริหารสินทรัพย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อควรพิ จารณา 1. ในการวิเคราะห์อตั ราส่วนนี้จะต้องพิจารณารายละเอียดของรายการทีน่ ํามา คํานวณด้วย เช่น กําไรทีน่ ํามาคํานวณเป็นกําไรทีร่ วมรายได้และค่าใช้จา่ ยอืน่ ซึง่ อาจมีนยั สําคัญ แต่ไม่ได้เกิดขึน้ ทุกงวด ดังนัน้ การทีอ่ ตั ราส่วนนี้สงู เพราะ รายได้อน่ื ก็ไม่ได้แสดงว่าธุรกิจมีความสามารถในการบริหารสินทรัพย์ได้ดี โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 40

2. สินทรัพย์ทน่ี ํามาคํานวณมีทงั ้ สินทรัพย์หมุนเวียน (มีความสามารถในการ สร้างกําไรน้อย) และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หากธุรกิจลงทุนในสินทรัพย์ หมุนเวียนมาก ก็อาจเป็นสาเหตุหนึ่งทีท่ าํ ให้อตั ราส่วนนี้ต่าํ ได้

ชื่ออัตราส่วน

สูตร

การแทนค่า

อัตราส่วนผลตอบ แทนต่อสินทรัพย์

กําไรสุทธิ X 100 สินทรัพย์รวมเฉลีย่

36,900 X 100 (825,000+861,000) / 2

ค่าอัตราส่วน

ค่าอัตราส่วน

ของธุรกิจ

อุตสาหกรรม

4.38 %

5%

จากอัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ทค่ี าํ นวณได้ บริษทั มีความสามารถในการใช้ ทรัพย์สนิ เพือ่ สร้างกําไรตํ่ากว่าค่าเฉลีย่ ของธุรกิจในกลุม่ เดียวกันถือว่าไม่เหมาะสม แนวทางใน การปรับปรุงอัตราส่วนนี้ คือ การพยายามลดสินทรัพย์ทไ่ี ม่ได้ใช้งานลง หรือเพิม่ กําไร

การวิเคราะห์งบการเงินสําหรับนักลงทุน นักลงทุน คือ ผูม้ เี งินและต้องการจะนําเงินเหล่านี้ไปลงทุนเพือ่ ให้ได้ผลตอบแทนทีต่ อ้ งการ การนําเงินฝากธนาคารเป็นช่องทางหนึ่งทีป่ ลอดภัย แต่มขี อ้ เสีย คือ ในปจั จุบนั อัตราดอกเบีย้ เงินฝากตํ่ามาก ดังนัน้ นักลงทุนจึงมองหาช่องทางทีจ่ ะได้รบั ผลตอบแทนมากกว่าการนําเงินไป ฝากธนาคาร ซึง่ ช่องทางนัน้ ก็คอื การนําเงินไปลงทุนในตลาดหลักทรัพย์โดยการซือ้ หุน้ แต่การ ลงทุนลักษณะนี้กม็ คี วามเสีย่ ง ดังนัน้ ผูล้ งทุนควรจะวิเคราะห์งบการเงินเพือ่ เลือกลงทุนในหุน้ ที่ เหมาะสม โดยนักลงทุนทีต่ อ้ งการลงทุนระยะสัน้ จะต้องการผลตอบแทนจากการซือ้ หุน้ ในราคาตํ่า และขายในราคาทีส่ งู กว่า สําหรับนักลงทุนทีล่ งทุนระยะยาวจะต้องการผลตอบแทนในรูปของ เงินปนั ผล ในการวิเคราะห์งบการเงินเพือ่ การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์มกั จะวิเคราะห์อตั ราส่วน ทีเ่ กีย่ วข้อง ได้แก่ อัตราส่วนกําไรต่อหุน้ อัตราส่วนราคาตลาดต่อกําไรต่อหุน้ อัตราส่วน ราคาตลาดต่อราคาตามบัญชีต่อหุน้ และอัตราส่วนเงินปนั ผลจ่ายต่อราคาตลาดของหุน้ ดังนี้ 1. อัตราส่วนกําไรต่อหุ้น (Earnings Per Share Ratio: EPS) คํานวณจาก กําไรสุทธิ / จํานวนหุน้ สามัญ = …………. บาท/หุน้ (Net Earnings / Shares Common Stock = …………. Baht/Share) ความหมาย เป็ นอัตราส่วนทีใ่ ช้วดั ว่าธุรกิจมีความสามารถในการสร้างกําไรให้ผถู้ อื หุน้ สามัญ หุน้ ละเท่าใด โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 41

ค่าที่เหมาะสม ไม่ควรตํ่ากว่าอัตราผลตอบแทนของท้องตลาดเมือ่ ไปลงทุนในด้านอื่น อัตราส่วนที่ตาํ่ ถ้าอัตราส่วนนี้ต่าํ กว่าค่าทีเ่ หมาะสม

แสดงให้เห็นว่าธุรกิจมีความสามารถใน

การสร้างกําไรได้น้อย หรือมีจาํ นวนหุน้ สามัญมากเกินไป

ซึง่ ถือว่าผูบ้ ริหาร

ใช้ประโยชน์จากหนี้สนิ ตํ่า หรือมีนโยบายในเรือ่ งโครงสร้างทุนโดยไม่ตอ้ งการ ให้มคี วามเสีย่ งจึงจัดหาเงินทุนโดยออกหุน้ อัตราส่วนที่สงู ถ้าอัตราส่วนนี้สงู กว่าค่าทีเ่ หมาะสม

แสดงให้เห็นว่าธุรกิจมีความสามารถใน

การสร้างกําไรได้มากหรือมีจาํ นวนหุน้ สามัญน้อย

ซึง่ ถือว่าผูบ้ ริหารใช้ประโยชน์

จากการก่อหนี้ โดยทํากําไรได้มากกว่าดอกเบีย้ จ่าย ข้อควรพิ จารณา 1. ในการวิเคราะห์อตั ราส่วนนี้ตอ้ งพิจารณาเฉพาะหุน้ ทีอ่ ยูใ่ นมือบุคคลภายนอก (ผูถ้ อื หุน้ ) เท่านัน้ ส่วนหุน้ ทีธ่ ุรกิจซือ้ คืนมาและยังไม่ได้ยกเลิก (Treasury Stock) ไม่มสี ทิ ธิในกําไรจนกว่าจะมีการขายออกไปอีกครัง้ หนึ่ง 2. อัตราส่วนนี้ไม่ได้หมายความว่าผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั เงินสดตามทีค่ าํ นวณได้ แต่ อัตราส่วนนี้เป็ นการคํานวณผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะได้รบั ส่วนเงินสดทีผ่ ถู้ อื หุน้ แต่ละคนจะได้รบั ต้องดูจากเงินปนั ผลทีป่ ระกาศจ่าย 3. อัตราส่วนนี้เป็ นอัตราส่วนทีม่ กี ารวิจยั พบว่ามีความสัมพันธ์กบั ราคาหุน้ ซึง่ หมายถึงนักลงทุนพิจารณาอัตราส่วนนี้ในการซือ้ ขายหุน้ ชื่ออัตราส่วน

สูตร

การแทนค่า

อัตราส่วน กําไรต่อหุน้

กําไรสุทธิ จํานวนหุน้ สามัญ

25,000 (300,000 / 10)

ค่าอัตราส่วน

ค่าอัตราส่วน

ของธุรกิจ

อุตสาหกรรม

0.83 บาท 1.5 บาท

จากอัตราส่วนกําไรต่อหุน้ ทีค่ าํ นวณได้ บริษทั มีความสามารถในการสร้างกําไรให้กบั หุน้ สามัญเพียงหุน้ ละ 83 สตางค์ ซึง่ ตํ่ากว่าค่าเฉลีย่ ของธุรกิจในกลุ่มเดียวกันถือว่าไม่เหมาะสม แนวทางในการปรับปรุงอัตราส่วนนี้ คือ การพยายามเพิม่ กําไรสุทธิหรือลดจํานวนหุน้ สามัญโดย อาจซือ้ หุน้ สามัญคืน

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 42

2. อัตราส่วนราคาตลาดต่อกําไรต่อหุ้น (Price Earnings Ratio: P/E) คํานวณจาก ราคาตลาดของหุน้ สามัญ / กําไรต่อหุน้ = …………. เท่า (Market Price of a Share of Common Stock / Earnings per Share = …………. Times) ส่วนประกอบ ราคาตลาดของหุ้นสามัญ = ราคาปิด ณ วันสิน้ งวด หรือ ณ วันทีป่ ระกาศ กําไรต่อหุน้ ความหมาย เป็ นอัตราส่วนทีใ่ ช้วดั ว่านักลงทุนซื้อหุน้ ของธุรกิจเป็ นกีเ่ ท่าของกําไรต่อหุน้ ที่ ธุรกิจนัน้ ทําได้ ซึง่ ทําให้ผถู้ อื หุน้ ประเมินระยะเวลาทีจ่ ะได้รบั เงินทีล่ งไปคืน ค่าที่เหมาะสม อัตราส่วนนี้ควรอยูป่ ระมาณ 10 – 20 เท่า (Rule of Thumb) เพราะเมือ่ มองกลับด้าน จะหมายถึง หุน้ นี้ให้ผลตอบแทนเป็ นร้อยละเท่าใดของเงินทีล่ งทุนซือ้ หุน้ ซึง่ ควรอยูป่ ระมาณร้อยละ 5 – 10 (1 / 20 * 100 = 5%) และ (1 / 10 * 100 = 10%) อัตราส่วนที่ตาํ่ ถ้าอัตราส่วนนี้ต่าํ กว่าค่าทีเ่ หมาะสม แสดงให้เห็นว่านักลงทุนมองว่าธุรกิจมี ความสามารถสร้างกําไรในอนาคตได้น้อย หรือกําไรทีน่ ํามาคํานวณกําไรต่อหุน้ ไม่มคี ณ ุ ภาพ เพราะแสดงสูงกว่าความเป็ นจริง นักลงทุนจึงไม่ยอมจ่ายเงิน ซือ้ หุน้ ในราคาสูง อัตราส่วนที่สงู ถ้าอัตราส่วนนี้สงู แต่อยูใ่ นช่วงค่าทีเ่ หมาะสม แสดงให้เห็นว่านักลงทุนมองว่า ธุรกิจมีความสามารถสร้างกําไรในอนาคตได้มาก จึงยอมจ่ายเงินซือ้ หุน้ ในราคา ั ่ น้ เนื่องจาก ทีส่ งู แต่ถา้ อัตราส่วนนี้สงู กว่าค่าทีเ่ หมาะสมต้องระวังว่าอาจมีการปนหุ นักลงทุนยอมซือ้ หุน้ ในราคาทีส่ งู กว่าผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะได้รบั มากเกินไป ข้อควรพิ จารณา 1. ในการวิเคราะห์อตั ราส่วนนี้ตอ้ งพิจารณาว่าตัวเลขทีน่ ํามาคํานวณ ทัง้ ราคา ตลาดของหุน้ และกําไรต่อหุน้ สามารถเปลีย่ นแปลงได้ทุกวัน การใช้ตวั เลข ณ วันใดวันหนึ่งมาคํานวณอาจไม่ได้ภาพทีช่ ดั เจนนัก จากงานวิจยั ส่วนใหญ่ ทีท่ าํ เกีย่ วกับเรือ่ งนี้จะใช้ราคาตลาดของหุน้ ณ วันประกาศกําไรหรือวันทีธ่ ุรกิจ นําส่งงบการเงิน รวมทัง้ พิจารณาก่อนและหลังวันประกาศกําไรด้วย เพือ่ ดู พฤติกรรมในการซือ้ หุน้ ของนักลงทุนและปฏิกริยาตอบสนองของนักลงทุน ทีม่ ี ต่อกําไรทีป่ ระกาศ ซึง่ จะทําให้ได้ตวั เลขทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั มากกว่าใช้ตวั เลข ณ วันสิน้ งวด 2. การใช้ราคาตลาด ณ วันสิน้ งวด อาจเหมาะสมในกรณีทเ่ี ป็ นหุน้ ของบริษทั ขนาดใหญ่ ซึง่ มีการประกาศข่าวต่าง ๆ ออกมาสมํ่าเสมอ สามารถประมาณกําไรต่อหุน้ ได้

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ

ทําให้นกั ลงทุน


การวิเคราะห์งบการเงิน 43

3. อัตราส่วนนี้หากใช้กาํ ไรต่อหุน้ ทีม่ กี ารปรับให้เหมาะสมแล้ว จะให้ความหมาย ทีด่ ขี น้ึ คือ เมือ่ นักลงทุนซือ้ หุน้ นี้

ผูล้ งทุนจะเข้าไปมีสว่ นในกําไรทีธ่ ุรกิจทําได้

เพราะกําไรจะถูกสะสมไว้เป็ นกําไรสะสมของธุรกิจ ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั เงินสด เมือ่ มีการประกาศจ่ายเงินปนั ผล ดังนัน้ การเปรียบเทียบเงินทีล่ งทุน (ราคา ตลาดของหุน้ ทีซ่ อ้ื ) กับผลประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั ในอนาคต (กําไรต่อหุน้ ) จะได้ ทราบถึงอัตราผลตอบแทนของการลงทุน สมมติราคาตลาดของหุน้ สามัญหุน้ ละ 18 บาท ชื่ออัตราส่วน

สูตร

อัตราส่วนราคาตลาด ราคาตลาดของหุน้ สามัญ ต่อกําไรต่อหุน้

กําไรต่อหุน้

การแทนค่า 18 0.83

ค่าอัตราส่วน

ค่าอัตราส่วน

ของธุรกิจ

อุตสาหกรรม

21.69 เท่า

20 เท่า

จากอัตราส่วนราคาตลาดต่อกําไรต่อหุน้ ทีค่ าํ นวณได้ แสดงว่านักลงทุนมีความเชื่อมัน่ ในบริษทั เนื่องจากยอมจ่ายซือ้ หุน้ ในราคาสูงทัง้ ๆ ทีห่ นุ้ นี้ทาํ กําไรต่อหุน้ ได้ต่าํ 3. อัตราส่วนราคาตลาดต่อราคาตามบัญชีต่อหุ้น (Market Price to Book Value per Share Ratio: P/BV) คํานวณจาก ราคาตลาดของหุน้ สามัญ / ราคาตามบัญชีต่อหุน้ = …………. เท่า (Market Price of a Share of Common Stock / Book Value per Share = …………. Times) ส่วนประกอบ ราคาตลาดของหุ้นสามัญ = ราคาปิด ณ วันสิน้ งวด หรือ ณ วันทีป่ ระกาศ กําไรต่อหุน้ ราคาตามบัญชีต่อหุ้น = ส่วนของผูถ้ อื หุน้ สามัญ / จํานวนหุน้ สามัญทีอ่ ยูใ่ น มือบุคคลภายนอก ความหมาย

เป็ นอัตราส่วนทีใ่ ช้วดั ว่านักลงทุนซือ้ หุน้ ของธุรกิจเป็ นกีเ่ ท่าของราคาตามบัญชี ต่อหุน้ (จํานวนเงินต่อหุน้ ทีน่ กั ลงทุนจะได้รบั คืนหากมีการเลิกกิจการและขาย สินทรัพย์ได้ในราคาทีแ่ สดงไว้ในงบแสดงฐานะการเงิน) โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 44

ค่าที่เหมาะสม อัตราส่วนนี้ควรอยูป่ ระมาณ 1.5 – 3 เท่า (Rule of Thumb) นักลงทุนมักไม่ได้คาดหวังว่าจะให้ธุรกิจทีล่ งทุนเลิกกิจการ

เนื่องจาก แต่ตอ้ งการให้

ดําเนินงานต่อเนื่องและสร้างกําไรในอนาคต ดังนัน้ จึงยอมจ่ายเงินซือ้ หุน้ ในราคา สูงกว่ามูลค่าตามบัญชี อัตราส่วนที่ตาํ่ ถ้าอัตราส่วนนี้ต่าํ กว่าค่าทีเ่ หมาะสม

แสดงให้เห็นว่านักลงทุนมองว่าธุรกิจมี

ความสามารถสร้างกําไรในอนาคตได้น้อย

หรือไม่เชื่อถือในความสามารถ

ของผูบ้ ริหารดังนัน้ นักลงทุนจึงไม่ยอมจ่ายเงินซือ้ หุน้ ในราคาสูง อัตราส่วนที่สงู ถ้าอัตราส่วนนี้สงู

แสดงให้เห็นว่านักลงทุนมองว่าธุรกิจมีความสามารถสร้าง

กําไรในอนาคตได้มาก จึงยอมจ่ายเงินซือ้ หุน้ ในราคาทีส่ งู ข้อควรพิ จารณา 1. ในการวิเคราะห์อตั ราส่วนนี้ตอ้ งพิจารณาว่าตัวเลขทีน่ ํามาคํานวณ ทัง้ ราคา ตลาดของหุน้ และราคาตามบัญชีของหุน้ สามารถเปลีย่ นแปลงได้ทุกวัน การใช้ ตัวเลข ณ วันใดวันหนึ่งมาคํานวณอาจไม่ได้ภาพทีช่ ดั เจนนัก

ส่วนใหญ่ในการ

วิเคราะห์จะใช้ราคาตลาดและราคาตามบัญชีของหุน้ ณ วันสิน้ งวด 2. ราคาตามบัญชีต่อหุน้

เป็ นยอดทีค่ าํ นวณได้จากส่วนของผูถ้ อื หุน้ สามัญ

ซึง่ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เป็นผลลัพธ์จากสินทรัพย์หกั หนี้สนิ ดังนัน้ หากสินทรัพย์ม ี การวัดค่าทีไ่ ม่เหมาะสมอาจทําให้อตั ราส่วนนี้ไม่เป็ นตัวแทนทีด่ ี

ชื่ออัตราส่วน

สูตร

การแทนค่า

อัตราส่วนราคา ตลาดต่อราคา ตามบัญชีต่อหุน้

ราคาตลาดของหุน้ สามัญ ราคาตามบัญชีต่อหุน้

18 (371,000 / 30,000)

ค่าอัตราส่วน

ค่าอัตราส่วน

ของธุรกิจ

อุตสาหกรรม

1.46 เท่า

2.5 เท่า

จากอัตราส่วนราคาตลาดต่อราคาตามบัญชีต่อหุน้ ทีค่ าํ นวณได้ ตํ่ากว่าค่าเฉลีย่ ของ ธุรกิจในกลุม่ เดียวกันถือว่าไม่เหมาะสม แสดงให้เห็นว่านักลงทุนคาดว่าธุรกิจจะสร้างกําไรใน อนาคตได้น้อย หรือไม่เชือ่ ถือในความสามารถของผูบ้ ริหารดังนัน้ นักลงทุนจึงไม่ยอมจ่ายเงิน ซือ้ หุน้ ในราคาสูง

โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


การวิเคราะห์งบการเงิน 45

4. อัตราส่วนเงินปันผลจ่ายต่อราคาตลาดของหุ้น (Dividend Yield Ratio) คํานวณจาก เงินปนั ผลต่อหุน้ สามัญ / ราคาตลาดของหุน้ สามัญ * 100 = …………. % (Dividends per Share of Common Stock / Market Price of a Share of Common Stock * 100 = …………. %) ส่วนประกอบ เงิ นปันผลต่อหุ้นสามัญ = จํานวนเงินปนั ผลทัง้ สิน้ ทีป่ ระกาศจ่ายให้หนุ้ สามัญ / จํานวนหุน้ สามัญทีอ่ ยูใ่ นมือบุคคลภายนอก ความหมาย เป็ นอัตราส่วนทีใ่ ช้วดั ว่านักลงทุนได้รบั ผลตอบแทนจากการซือ้ หุน้ ของธุรกิจ เป็ นร้อยละเท่าใด ค่าที่เหมาะสม อัตราส่วนนี้ควรสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตลาด โดยส่วนใหญ่ควรสูงกว่า ร้อยละ 5 อัตราส่วนที่ตาํ่ ถ้าอัตราส่วนนี้ต่าํ กว่าค่าทีเ่ หมาะสม แสดงให้เห็นว่าผูถ้ อื หุน้ หรือนักลงทุนได้รบั ผลตอบแทนจากการลงทุนตํ่า แต่สามารถขายหุน้ ได้ในราคาสูงซึง่ จะได้รบั ผลตอบแทนในรูปของกําไรจากการขายเงินลงทุน (Capital Gain) อัตราส่วนที่สงู ถ้าอัตราส่วนนี้สงู กว่าค่าทีเ่ หมาะสม แสดงให้เห็นว่านักลงทุนได้รบั ผลตอบแทน จากการลงทุนสูง และมักจะไม่เปลีย่ นแปลงการลงทุนไปยังแหล่งอื่น ข้อควรพิ จารณา 1. ราคาตลาดของหุน้ ทีน่ ํามาคํานวณไม่ใช่ราคาทีน่ กั ลงทุนแต่ละคนซือ้ แต่เป็ น ราคา ณ วันใดวันหนึ่ง ซึง่ อาจจะสูงหรือตํ่ากว่าราคาทีซ่ อ้ื ก็ได้ หากราคาหุน้ ไม่เปลีย่ นแปลงมากนัก การใช้ราคาวันใดก็ไม่ทาํ ให้อตั ราส่วนนี้แตกต่างกัน 2. หลังจากทีม่ กี ารจ่ายเงินปนั ผลแล้ว ราคาตลาดของหุน้ มักลดลง เนื่องจาก ผูท้ ซ่ี อ้ื หุน้ ไปไม่มโี อกาสได้รบั เงินปนั ผล ต้องรอการประกาศจ่ายเงินปนั ผล ครัง้ ต่อไป ซึง่ อาจจะเป็ นปีหน้าหรืออย่างน้อย 6 เดือนข้างหน้า ดังนัน้ ราคา ตลาดทีจ่ ะนํามาคํานวณอัตราส่วนนี้ตอ้ งเป็ นราคาตลาดก่อนวันทีจ่ ะมีการบันทึก ชือ่ ผูท้ ม่ี สี ทิ ธิรบั เงินปนั ผล สมมติมกี ารจ่ายเงินปนั ผลให้หนุ้ สามัญหุน้ ละ 1 บาท สูตร

ชื่ออัตราส่วน อัตราส่วนเงินปนั ผล ั จ่ายต่อราคาตลาด เงินปนผลต่อหุน้ X 100 ราคาตลาดของหุน้ สามัญ ของหุน้

การแทนค่า 1 X 100 18

ค่าอัตราส่วน

ค่าอัตราส่วน

ของธุรกิจ

อุตสาหกรรม

5.56%

8%

จากอัตราส่วนเงินปนั ผลต่อราคาตลาดของหุน้ ทีค่ าํ นวณได้ ตํ่ากว่าค่าเฉลีย่ ของธุรกิจใน กลุ่มเดียวกันถือว่าผูถ้ อื หุน้ หรือนักลงทุนได้รบั ผลตอบแทนจากการลงทุนตํ่า โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรพิน เหล่าประเสริฐ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.