คู่มือประกันคุณภาพฯ 2556

Page 1

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 (1 มิถนุ ายน 2556 ถึง 31 พฤษภาคม 2557)

สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


คานา สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้จัดทาคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามนโยบายและ แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาของสานักคอมพิวเตอร์ และเพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยกาหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพให้สอดคล้องกับ กรอบการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยมหาสารคามและให้มีความสอดคล้องกับแนวทางของ ส านั กงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดยคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อนาเสนอรายละเอียดของตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพและเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการ กากับและพัฒ นาคุณภาพของสานักคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิท ธิภ าพและเกิดประสิทธิผล รวมทั้งสร้าง ผลผลิตที่สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายของสานักคอมพิวเตอร์และมหาวิทยาลัยมหาสารคามต่อไป

(นางสาวสุพิน ไตรแก้วเจริญ) ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์


สารบัญ ส่วนที่ 1

หน้า การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์ ระบบการประกันคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

1

กลไกการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

2

นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์

3

นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555

6

แนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผลการประเมิน คุณภาพภายใน 2

11

การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ความจาเป็นและวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา

13

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกันคุณภาพการศึกษา

15

กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565)

16

การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา

18

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

19

การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและ การประเมินคุณภาพภายนอก 3

25

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษา ของสานักคอมพิวเตอร์ ความหมาย วิธีการรายงาน สูตรการคานวณ และเกณฑ์การประเมินของตัวบ่งชี้

26

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

27

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน

27

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

31

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

33

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน

35

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้

39

ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง

41

ตัวบ่งชี้ที่ 7.6 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน

44

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

46

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

48

องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 จานวนฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่ ได้รับการพัฒนาหรือปรับปรุงให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ทั้งมหาวิทยาลัย ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 การพัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้

50 52

ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 ความมีเสถียรภาพของการให้บริการระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์หลัก

53

ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ ของสานักคอมพิวเตอร์ บรรณานุกรม ภาคผนวก

56 คาสั่งสานักคอมพิวเตอร์ ที่ 203/2556 แต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์

ผู้จัดทา

55

57 66

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


1

ส่วนที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์ 1. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ วงรอบปีการศึกษา 2556 ได้ ดาเนินการตามประกาศนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ ก าหนดประกาศนโยบายการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในของส านั ก คอมพิ ว เตอร์ ส อดคล้ อ งกั บ มหาวิทยาลัยเพื่อใช้ในการปฏิบัติ และดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์ โดยให้บุคลากรของหน่วยงานทุกคนมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน ด้า นการปฏิ บั ติ ร าชการ การจั ด การความรู้ และการบริ ห ารความเสี่ ย งและควบคุ ม ภายในขั บ เคลื่ อ น กระบวนการด าเนิ น งานตั ว บ่ ง ชี้ แ ละตั ว ชี้ วั ด ที่ ด าเนิ น การด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา และ คณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสานักคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่กาหนดแนวทาง กากับ ติดตามการดาเนินงาน และการขับเคลื่อนการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ สานักคอมพิว เตอร์ กาหนดให้มีการประชุมเดือนละ 1 ครั้ง เมื่อที่ประชุมมีมติพิจารณาให้ความ เห็นชอบในประเด็นที่เป็นเชิงนโยบายแล้ว จะนาเสนอเพื่อบรรจุวาระในที่ประชุมคณะกรรมการประจา สานักคอมพิวเตอร์ พิจารณาให้ข้อเสนอแนะและความเห็นชอบอีกครั้งหนึ่ง เช่น แผนการดาเนินงานประกัน คุณภาพ ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ของหน่วยงาน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฯลฯ กรอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในจะกาหนดตามพันธกิจหลัก และใช้กรอบการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ ซึ่งสานักคอมพิวเตอร์เป็นหน่วยงานสนับสนุนการเรียน การสอน การติดตามผลการดาเนินงานตามกรอบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ดาเนินการทุก 3 เดือน และรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน คณะกรรมการประจาสานัก คอมพิวเตอร์ และมหาวิทยาลัยตามลาดับ แผนการประกันคุณภาพการศึกษาของแต่ละปีการศึกษา จะจัดทาแผนให้มีความสอดคล้องกับแนว ทางการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม และส านั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา โดยจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) เพื่อรับประเมินคุณภาพการศึกษาภายในช่วงเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตามจานวนและคุณสมบัติที่

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


2

สกอ. กาหนดเกณฑ์ไว้ หลังจากนั้นจะจัดส่งผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในเสนอมหาวิทยาลัย ต่อไป หลังจากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในแล้ว สานักคอมพิวเตอร์ จะประชุมคณะกรรมการ ดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อทบทวนผลการดาเนินงานตามผลการ ประเมิน ข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ ในการดาเนินงานของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และ ทบทวนปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ของการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในโดยให้บุคลากรจากทุก งานมีส่ ว นร่ ว ม รวมถึ งน าข้อ สนเทศจากการประเมินมาประกอบการทบทวน และจัดท าแผนประเมิ น คุณภาพการศึกษา (Improvement Plan) จากผลการประเมินวงรอบปีการศึกษาที่ผ่านมา และมีกลไกการ ยกย่องและสร้างแรงจูงใจแก่งานที่มีผลสาเร็จจากการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของแต่ละวงรอบปี การศึกษา และให้ผู้รับผิดชอบนาเสนอแนวปฏิบัติที่ดีในการดาเนินงานตัวชี้วัดที่ มีผลคะแนนในระดับดีมาก ให้บุคลากรทุกคนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และนาเผยแพร่ในการประชุมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 2. กลไกการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ 2.1 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4 คณะกรรมการดาเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ 2.2 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ (Improvement Plan) จากผลการประเมิน คุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 2.3 ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมประกันคุณภาพการศึกษา เช่น อบรมให้ ความรู้และทักษะด้านการ ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาส าหรั บ บุ ค ลากรใหม่ แ ละยั ง ไม่ มี ค วามรู้ อบรมหลั ก สู ต รผู้ ป ระเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษา อบรมหลักสูตรผู้ปฏิบัติหน้าที่กองเลขานุการผู้ประเมินคุณภาพภายใน อบรมหลักสูตรเครือข่าย การดาเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฯลฯ 2.4 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในในการประชุมบุคลากร 2.5 การประชุมคณะกรรมการและอนุกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์ กาหนดให้มีการประชุมเดือนละ 1 ครั้ง 2.6 การเผยแพร่ข้อมูลและเอกสาร 2.6.1 รายงานผลการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 2.6.2 รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) วงรอบปีการศึกษา 2555

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


3

2.6.3 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Improvement Plan) จากผลการประเมินวงรอบปีการศึกษา 2555 2.6.4 คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ วงรอบปีการศึกษา 2556 2.6.5 แผนการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 2.7 การยกย่องและสร้างแรงจูงใจ โดยจัดให้ผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้หรืองานที่มีผลประเมินการดาเนินงาน ผ่านการประเมินอยู่ในระดับดีมาก ได้มาถ่ายทอดประสบการณ์ในการทางานการจัดเก็บและรายงานข้อมูล โดยดาเนินการในรูปของการจัดการความรู้ 3. นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์ สานักคอมพิวเตอร์ ได้ตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นของการประกันคุณภาพการศึกษา ตามสาระสาคัญที่ระบุในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ประกอบกับพระราชบั ญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และ กฎกระทรวงว่าด้ว ยระบบ หลั กเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 โดยส านั ก คอมพิวเตอร์มุ่งที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับหน่วยงานอย่างยั่งยืนในการดาเนินงานตามภารกิจหลัก ของหน่วยงานคือ เป็นหน่วยงานกลางที่สนับสนุนภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยมหาสารคามด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ และเพื่อให้การดาเนินการประกันคุณภาพของสานักคอมพิวเตอร์เป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึง ได้นานโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาสารคามมาเป็นกรอบเพื่อกาหนดนโยบาย การประกันคุณภาพของสานักคอมพิวเตอร์ ประกาศเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2556 ดังนี้ 1. จัดระบบและกลไกประกันคุณภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้สอดคล้องกับแผนและการ ดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย 2. พัฒนาบุคลากรของหน่วยงานให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาและ เห็นความสาคัญของการประกันคุณภาพการปฏิบัติงาน 3. เร่งรัดและควบคุมคุณภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสังกัดสานักคอมพิวเตอร์ โดยกาหนดให้ ดาเนิ น การประกัน คุ ณ ภาพในฐานะเป็ น หน่ ว ยงานสนับ สนุ นวิ ช าการ ซึ่ง จะเน้ น องค์ ป ระกอบส าคั ญ ที่ เกี่ยวข้องกับภารกิจของสานักคอมพิวเตอร์ในด้านการบริการ 4. กาหนดตัวบ่งชี้ตามภารกิจหลักและเป็นอัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


4

5. จั ดท าแผนงาน โครงการ และกิจ กรรมที่ ตรงกับภารกิ จของหน่ ว ยงานและสอดคล้ อ งกั บ องค์ประกอบและดัชนีบ่งชี้คุณภาพที่กาหนดไว้และเผยแพร่ให้ทราบทั่วกัน 6. ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพ และปฏิบัติงานครบวงจรคุณภาพโดย การกาหนดความรับผิดชอบให้กับบุคลากรทุกคน และใช้กระบวนการประกันคุณภาพเป็นกลไกช่วยในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรทุกคน 7. ส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานอื่นๆ ในกิจกรรมด้านการ ประกันคุณภาพ 4. นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัย มหาสารคามได้ตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นของการประกันคุณภาพ การศึกษา ตามสาระสาคัญที่ระบุในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และ กฎกระทรวงว่ า ด้ ว ยระบบหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2553 โดยมหาวิทยาลัยมหาสารคามมุ่งมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพ การศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างยั่งยืน อันแสดงถึงปณิธานและความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ ในการดาเนินภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยคือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน และการท านุ บ ารุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น การด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพเป็ น ไปอย่ า ง สอดคล้องในทิศทางเดียวกันทั่วทั้งมหาวิทยาลัย จึงได้กาหนดนโยบายด้านประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (ประกาศมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2556) ดังนี้ 1) มหาวิทยาลัย จะส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเป็นเครื่องมือและกลไก พื้นฐานในการพัฒนาและบริหารมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องมุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ยั่งยืน และ รองรับการถูกประเมินจากสถาบันและองค์กรภายนอกเพื่อแสดงให้เห็นศักยภาพของการพัฒนาสถาบันสู่ สากล 2) ทุกคณะวิชาที่จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งทุกแห่งต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการจัดการศึกษา นอกสถานที่ตั้งตามประกาศของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 3) หลักสูตรวิชาชีพต้องได้รับการรับรองคุณภาพการจัดการศึกษาจากสภาวิชาชีพ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


5

4) ทุ ก หลั ก สู ต รต้ อ งปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รให้ ส อดคล้ อ งและเป็ น ไปตามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับ อุด มศึก ษาแห่ ง ชาติ (TQF) มี ค วามพร้ อมเข้ า สู่ ต ลาดแรงงานของอาเซีย น และแล้ ว เสร็ จภายใน ระยะเวลาที่ สกอ. กาหนด 5) มหาวิ ท ยาลั ย จะส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาหลั ก สู ต รให้ ส อดคล้ อ งกั บ ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ของ สถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการประกัน คุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อรองรับการพัฒนาสู่อาเซียนและสากล 6) มหาวิทยาลัยจะวางระบบและกลไกการตรวจสอบและประเมินผลการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งภายในและภายนอก ตั้งแต่ระดับหลักสูตร สาขาวิชา ภาควิชา สานักวิชาคณะวิชา และระดับสถาบัน เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานและได้รับการรับรองคุณภาพภายนอกรอบที่สี่ 7) คณะวิชาที่มีการจั ดการศึกษาร่วมหรือมีความร่วมมื อในการจัดการศึกษากับหน่วยงานหรือ องค์กรอื่น ต้องมีการวางระบบและกลไกการดาเนินงาน การตรวจสอบและประเมินผลการประกันคุณภาพ การศึกษาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง โดยให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของคณะวิชานั้นๆ 8) ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนทุกสายงานมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพ และปฏิบั ติงานครบวงจร คุณภาพ โดยกระจายอานาจและความรับผิดชอบให้ทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย และใช้กระบวนการ ประกันคุณภาพเป็นวัฒนธรรมการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงาน 9) ส่งเสริมและสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อมุ่งให้เกิดวัฒนธรรมการทางานขององค์กร และนาไปสู่การสร้างนวัตกรรมหรือแนวปฏิบัติที่ดี หรือมีผล การดาเนินงานด้านต่างๆ ที่ก่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยเพื่อนาไปสู่องค์กรแห่งการ เรียนรู้ 10) ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ใ นระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัย สู่ นิ สิตและบุ คลากร เพื่อให้ มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะและมีส่ วนร่วมในระบบประกัน คุณภาพการศึกษา เพื่อส่งเสริมการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยให้มีความเข้มแข็ง รวมทั้งให้มีการ ประกันคุณภาพกิจกรรมหรือโครงการของนิสิตและบุคลากรด้วย 11) ส่งเสริมและสนับสนุนความร่ว มมือกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานอื่นๆ ในกิจกรรมด้านการ ประกันคุณภาพ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


6

12) สนั บ สนุ น การน าระบบฐานข้อ มู ล และสารสนเทศมาใช้ ในการประกั นคุ ณภาพให้ ค รบทุ ก องค์ประกอบคุณภาพ และสามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และระดับสถาบัน รวมทั้งสามารถเชื่อมต่อกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ เช่น สกอ. สมศ. เป็นต้น 13) ส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นผลจากการดาเนินการประกันคุณภาพแก่สาธารณะเพื่อแสดง ความรับผิดชอบของสถาบันต่อสังคม 14) เชื่อมโยงผลการประเมินประกันคุณภาพกับการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทุก ระดับ 5. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555 คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในทาการศึกษาข้อมูลและตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ผลการดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามตามองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การ ประเมินคุณภาพภายในที่กาหนดเฉพาะสถานบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี (กลุ่ม ข) บูรณาการ ร่วมกับตัวบ่งชี้ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และอัตลักษณ์ของสานัก คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 21 ตัวบ่งชี้ ตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วงรอบปีการศึกษา 2555 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของสานักคอมพิวเตอร์ในภาพรวมพบว่า ค่าคะแนนที่ได้ เท่ากับ 4.63 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน)ต่ากว่าส านักคอมพิว เตอร์ประเมินตนเองคือ 4.65 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 5) หมายถึง ผลการดาเนินงานในภาพรวมของสานักคอมพิวเตอร์ได้คุณภาพระดับ ดีมาก และมติจากคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายในพิจารณาไม่นาตัวบ่งชี้ที่ 10.11 ร้อยละของ นิสิตชั้นปีสุดท้ายที่สอบผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนิสิตก่อน สาเร็จการศึกษา มาคานวณทั้งตัวตั้งและตัวหารผลการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของสานัก คอมพิวเตอร์ ซึ่งสานักคอมพิวเตอร์ได้ดาเนินการพัฒนาระบบและจัดทาข้อสอบสาหรับการทดสอบเสร็จ เรียบร้อยเพื่อจะทาการทดสอบนิสิตชั้ นปีสุดท้ายก่อนที่จะสาเร็จการศึกษาของภาคการศึกษาที่ 2/2555 เนื่องจากมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ครั้งที่ 19/2555 เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2555 ให้แต่งตั้งคณะทางานกาหนดแนวทางการดาเนินการทดสอบความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษ (MSU English Exit-Exam) และการทดสอบความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (MSU IT Exit-Exam) ก่อนสาเร็จการศึกษา และที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ครั้งที่

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


7

9/2556 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 เห็นชอบแนวทางการดาเนินงานการทดสอบความรู้ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนิสิตก่อนสาเร็จการศึกษา (MSU IT Exit-Exam) จึงทาให้การดาเนินงานไม่ เป็นไปตามแผนการดาเนินงานที่สานักคอมพิวเตอร์กาหนดไว้ และเมื่อพิจารณาผลการดาเนินงานรายตัว บ่งชี้พบว่า ตัวบ่งชี้ที่มีผลการดาเนินงานระดับดีมาก (5 คะแนน) จานวน 14ตัวบ่งชี้ คิดเป็นร้อยละ70 ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 ผลการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนโดยเน้นความยั่งยืน ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 ระดับความสาเร็จการให้บริการซ่อมบารุงและติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ต่อพ่วง ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 ระดับความสาเร็จการให้บริการห้องคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.5 ระดับความสาเร็จการให้บริการด้านซอฟท์แวร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.6 ระดับความสาเร็จการให้บริการถ่ายทอดวีดีทัศน์ทางไกล ตัวบ่งชี้ที่ 10.7 ระดับความสาเร็จการบริการข้อมูลสารสนเทศ ตัวบ่งชี้ที่ 10.8 ระดับความสาเร็จของการพัฒนา การปรับปรุงและการให้บริการระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความมั่นคง ปลอดภัย รวดเร็ว ความต่อเนื่องและ ความพร้อมใช้งาน ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะในภาพรวม 1. ควรมีระบบและกลไกในการพัฒนาบุคลากรให้มีความก้าวหน้าตามสายงาน (ต้องมีนโยบาย แผน ขั้นตอน/กฎเกณฑ์ปฏิบัติ สรุปผลและทบทวนการทางาน) เช่น โครงการส่งเสริมการเข้าสู่ตาแหน่ง โครงการ ให้ความรู้การเขียนผลงานวิชาการและการวิจัย 2. ควรมีการประเมินผลการบริหารและผู้บริหารโดยคณะกรรมการประจาสานักคอมฯและมีการนา ผลการประเมินมาปรับปรุงอย่างเป็นรูปธรรม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


8

3. ควรมีการรวบรวมความรู้ของบุคลากรเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี 4. ควรปรับเกณฑ์การวัดความสาเร็จของตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ของหน่วยงานให้ชัดเจน 5. ให้มกี ารสารวจความต้องการในลักษณะอื่นๆ เช่น บริการกลุ่มย่อย 6. ให้มองบริการแบบผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง เช่น บริการ ณ ที่ตั้ง 1. จุดเด่นและข้อเสนอแนะรายองค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธานวัตถุประสงค์ และแผนการดาเนินการ องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต จุดแข็ง

แนวทางเสริม

จุดทีค่ วรพัฒนา

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 - ควรมีระบบและกลไกในการพัฒนาบุคลากรให้มี ความก้าวหน้าตามสายงาน (ต้องมีนโยบาย แผน ขั้นตอน/กฎเกณฑ์ปฏิบัติ สรุปผลและทบทวนการ ทางาน) เช่น โครงการส่งเสริมการเข้าสู่ตาแหน่ง โครงการให้ความรู้การเขียนผลงานวิชาการและการวิจัย

องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิต (ไม่ขอรับการประเมิน) องค์ประกอบที่ 4 การวิจยั (ไม่ขอรับการประเมิน) องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สงั คม (ไม่ขอรับการประเมิน) องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


9

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ จุดแข็ง

แนวทางเสริม

จุดทีค่ วรพัฒนา

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 1. ควรมีการรวบรวมความรู้เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 1. ควรมีการนาผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากสถาบัน ไปใช้ในการปรับแผนและวิเคราะห์ในรอบปีถัดไป

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ จุดแข็ง

แนวทางเสริม

จุดทีค่ วรพัฒนา

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 1. ควรจัดทาแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่ชัดเจนครอบคลุม 35 ปี

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องค์ประกอบที่ 10อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์ จุดแข็ง

แนวทางเสริม

จุดทีค่ วรพัฒนา

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 - ควรเปลี่ยนเกณฑ์การประเมินข้อ 2 ให้เป็นการนับจานวนโครงการแทน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


10

จุดทีค่ วรพัฒนา

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 - ควรปรับตัวชี้วัดให้ชัดเจน สอดคล้องกับการประกันคุณภาพ - ควรมีคู่มือการพัฒนาระบบและการวัดประสิทธิภาพและความ ปลอดภัยของระบบ ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 - ควรปรับตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินข้อ 2 ให้มีความชัดเจนขึ้น - ควรกาหนดเงื่อนไขในการนับเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 - ควรปรับตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินข้อ 2ให้มีความชัดเจนขึ้น ตัวบ่งชี้ที่ 10.5 - ควรปรับตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินข้อ 2ให้มีความชัดเจนขึ้น - ควรเพิ่มลิ้งในการเข้าถึงการดาวน์โหลดในหน้าเว็บมหาวิทยาลัยหรือ หน้าเว็บสานักคอมพิวเตอร์ด้วย ตัวบ่งชี้ที่ 10.6 - ควรปรับตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินข้อ 2ให้มีความชัดเจนขึ้น ตัวบ่งชี้ที่ 10.7 - ควรปรับตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินข้อ 2ให้มีความชัดเจนขึ้น ตัวบ่งชี้ที่ 10.8 - ควรมีกระบวนการดาเนินงานครบวงจรPDCA ตัวบ่งชี้ที่ 10.9 - ให้ทบทวนตัวบ่งชี้ตัวนี้โดยเฉพาะเกณฑ์ในการวัดความสาเร็จ เพราะ ไม่ปรากฏระดับความสาเร็จทุกตัว เช่น มีกระบวนการทางานแต่ไม่มี เกณฑ์ในการวัดระดับความสาเร็จ - เกณฑ์ในการวัดบางตัวต้องมีการทบทวนเพราะถึงแม้จะทาได้100% แต่ผลการประเมินผู้รบั บริการยังไม่อยู่ในระดับมาก ตัวบ่งชี้ที่ 10.10 - ควรมีการทดสอบครบทุกคณะ ตัวบ่งชี้ที่ 10.12 - ให้มีการสารวจความต้องการในลักษณะอื่นๆ เช่น บริการกลุ่มย่อย - ให้มองบริการแบบผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง เช่น บริการ ณ ที่ตั้ง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


11

ผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ

องค์ประกอบ

คะแนนการประเมินเฉลีย่

ระดับคุณภาพ

(คะแนนรวมทุกตัวบ่งชี/้

0.00 - 1.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน

จานวนตัวบ่งชีท้ งั้ หมด)

1.51 - 2.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุง

คุณภาพ

2.51 – 3.50 การดาเนินงานระดับพอใช้ I

P

O

รวม

3.51 – 4.50 การดาเนินงานระดับดี 4.51 – 5.00 การดาเนินงานระดับดีมาก

องค์ประกอบที่ 1

5

5

5

องค์ประกอบที่ 2

5

5

5

องค์ประกอบที่ 3

-

องค์ประกอบที่ 4

ไม่ขอรับการประเมิน

-

องค์ประกอบที่ 5

-

องค์ประกอบที่ 6

5

5

5

5

18

4.50

องค์ประกอบที่ 7

13

องค์ประกอบที่ 8

5

5

5

องค์ประกอบที่ 9

5

5

5

50

4.54

องค์ประกอบที่ 10

3

42

5

เฉลี่ยตัวบ่งชี้สกอ.

4.71

ระดับคุณภาพ

ดีมาก

เฉลี่ยตัวบ่งชี้ สมศ.

4.77

ระดับคุณภาพ

ดีมาก

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้

4.63

ของทุกองค์ประกอบ

ระดับคุณภาพ

ดีมาก

6. แนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพภายใน ภายหลั ง จากที่ ด าเนิ น การประเมิ น คุ ณ ภาพภายในเสร็ จ สิ้ น แล้ ว ผู้ บ ริ ห ารหน่ ว ยงาน คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง นาผลการประเมินและข้อเสนอแนะมา ประชุมร่วมกัน เพื่อวางแผนพัฒนาคุณภาพหรือปรับปรุงการดาเนินภารกิจอย่างเป็นรูปธรรม โดยจัดทาเป็น แผนปฏิบัติการในการแก้ไขจุดที่ควรปรับปรุง และเสริมจุดแข็ง ซึ่งประกอบด้วย กิจกรรมที่ต้องดาเนินการ คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


12

กาหนดเวลาเริ่มต้นจนถึงเวลาสิ้น สุดกิจกรรม งบประมาณสาหรับแต่ละกิจกรรม ตลอดจนผู้รับผิดชอบ กิจกรรม รวบรวมข้อมูล เอกสาร หลักฐานการดาเนินงานที่เป็นประโยชน์ และมีการติดตาม ตรวจสอบผล การพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


13

ส่วนที่ 2 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา 1. ความจาเป็นและวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติมี 4 ประการ คือ การผลิ ตบัณฑิต การวิจัย การ ให้บ ริการทางวิชาการแก่สั งคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒ นธรรม การดาเนินการตามภารกิจทั้ง 4 ประการดังกล่าว มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปัจจุบันมีปัจจัย ภายในและภายนอกหลายประการที่ทาให้การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นสิ่งจาเป็นที่ จะต้องเร่งดาเนินการ ปัจจัยดังกล่าวคือ 1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศ มีแนวโน้มมี่จะมีความแตกต่างกัน มากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดผลเสียแก่สังคมโดยรวมของประเทศในระยะยาว 2) ความท้ าทายของโลกาภิ วั ตน์ ต่ อ การอุ ด มศึก ษา ทั้ ง ในประเด็น การบริ ก ารการศึ กษาข้ า ม พรมแดน และการเคลื่อนย้ายนักศึกษาและบัณฑิต อันเป็นผลจากกการรวมตัว ของประเทศในภูมิภาค อาเซียน ซึ่งทั้งสองประเด็นต้องการการรับประกันของคุณภาพการศึกษา 3) สถาบั น อุดมศึกษามีความจาเป็นที่จะต้องสร้างความมั่นใจแก่สั งคมว่าสามารถพัฒ นาองค์ ความรู้ และผลิตบัณฑิต ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศให้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันระดับ สากล การพัฒ นาภาคการผลิ ตจริง ทั้งอุตสาหกรรมและบริการ การ พัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ระดับท้องถิ่นและชุมชน 4) สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ข้อมูลสาธารณะ (public information) ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งนักศึกษา ผู้จ้างงาน ผู้ปกครอง รัฐบาล และประชาชนทั่วไป 5) สังคมต้องการระบบอุดมศึกษาที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วม (participation) มีความโปร่ งใส (transparency) และมี ความรั บผิ ดชอบซึ่ งตรวจสอบได้ (accountability) ตามหลั ก ธรรมาภิบาล 6) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้ สถานศึกษาทุ กแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน รวมถึงให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษาทาหน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประเมินผลการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


14

7) คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศใช้มาตรฐานการอุดมศึกษาเมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม 2549 เพื่ อ เป็ น กลไกกากับ มาตรฐานระดับ กระทรวง ระดับ คณะกรรมการการอุด มศึ ก ษา และระดั บ หน่วยงาน โดยทุกหน่วยงานระดับอุดมศึกษาจะได้ใช้เป็นกรอบการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา 8) กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เมื่อ วัน ที่ 12 พฤศจิ กายน 2551 เพื่อ เป็ น กลไกส่ ง เสริม และก ากั บ ให้ ส ถาบัน อุ ดมศึ กษาจั ด การศึก ษาให้ มี มาตรฐานตามประเภทหรือกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่ม 9) กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ มี ป ระกาศกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศแนว ทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เพื่อให้ การจัดการศึกษาระดับ อุดมศึกษาเป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อการประกันคุณภาพของ บัณฑิตในแต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา ด้วยความจาเป็นดังกล่าวสถาบันอุดมศึกษาร่วมกับต้นสังกัดจึงจาเป็นต้องพัฒนาระบบและกลไก การประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อตรวจสอบและประเมินการดาเนินงานของภาควิชา คณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าและ สถาบั น อุ ด มศึ กษาในภาพรวม ตามระบบคุ ณภาพและกลไกที่ ส ถาบัน นั้ นๆ ก าหนดขึ้ น โดยวิ เคราะห์ เปรียบเทียบผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ในทุกองค์ประกอบคุณภาพว่าเป็นไปตามเกณฑ์และได้มาตรฐาน 2) เพื่อให้ภาควิชา คณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าและสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพของ ตนเองอันจะนาไปสู่การกาหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสู่ เป้าหมาย (targets) และเป้าประสงค์ (goals) ที่ตั้งไว้ตามจุดเน้นของตนเองและเป็นสากล 3) เพื่อให้ภาควิชา คณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าและสถาบันอุดมศึกษาทราบจุดแข็ง จุดที่ควร ปรับปรุง ตลอดจนได้รับข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อเสริมจุดแข็ง และพัฒนาจุดที่ค วร ปรับปรุงของสถาบันอย่างต่อเนื่อง 4) เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะทีเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทาให้มั่นใจว่าสถาบันอุดมศึกษา สามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาหนด 5) เพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ ยวข้อง มีข้อมูลพื้นฐานที่ จาเป็นสาหรับการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางที่เหมาะสม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


15

2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกัน คุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่ม เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนด จุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพและมาตรฐาน โดยกาหนดรายละเอียดไวใน หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อใช้เป็นกลไกลในการผดุงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของ สถาบันอุดมศึกษา การประกันคุณภาพภายใน เป็นการสร้างระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบและ ประเมินการดาเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่ กาหนดโดยสถานศึกษาและหรือหน่วยงานต้นสังกัด โดยหน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษากาหนดให้มี ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงาน ประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณา และเปิ ดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการ ประกันคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายนอก เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการติดตามและ ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึ กษา โดยคานึงถึงความมุ่งหมาย หลักการและแนว การจัดการศึกษาในแต่ละระดับ ซึ่งประเมินโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือเรียกชื่อย่อว่า สมศ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้งในทุกรอบ 5 ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน ซึ่ง สมศ. ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544-2548) เสร็จสิ้น ไปแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สอง (พ.ศ. 2549-2553) และการเตรียมการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม (พ.ศ. 2554-2558) ในการประเมินรอบที่สามของ สมศ. เป็นการ ประเมินทั้งระดับสถาบันและคณะวิชา แต่หากสถาบันใดจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งหลักการประเมินจะ ครอบคลุมการจัดการนอกสถานที่ตั้งหลักทั้งหมด นอกจากนั้นการประเมินคุณภาพจะมีความสอดคล้องกับ จุดเน้นหรือกลุ่มสถาบันที่แต่ละสถาบันเลือกตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


16

รูปแบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกจะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดโดยสานักงาน รั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (องค์ ก ารมหาชน) ซึ่ ง มี ห ลั ก การส าคั ญ 5 ประการ ดังต่อไปนี้ 1) เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้นเรื่องการตัดสินการจับผิด หรือการให้คุณ-ให้โทษ 2) ยึ ด หลั ก ความเที่ ย งตรง เป็ น ธรรม โปร่ ง ใส มี ห ลั ก ฐานข้ อ มู ล ตามสภาพความเป็ น จริ ง (evidence-based) และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability) 3) มุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตรมากกว่าการกากับควบคุม 4) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและการพัฒนาการจัดการศึกษาจากทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง 5) มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของชาติ ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ให้เอกภาพเชิงนโยบาย แต่ยังคงมีความ หลากหลายในทางปฏิบัติ โดยสถาบันสามารถกาหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็ม ตามศักยภาพของสถาบันและผู้เรียน 3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ได้กาหนดแนวทางการ พัฒนาและแก้ปัญหาอุดมศึกษาที่ไร้ทิศทาง ซ้าซ้อน ขาดคุณภาพ และขาดประสิทธิภาพ โดยใช้กลไกการ ประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเป็นกลไกหลักในการดาเนินการ กล่าวคือ ให้มีการสร้างกลไกการ ประเมินคุณภาพสถาบันอุดมศึกษาตามพันธกิจของสถาบันในแต่ละกลุ่ม ซึ่งมีพื้นที่บริการและจุดเน้นระดับ การศึกษาที่ต่างกัน รวมทั้งมีพันธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศต่างกั นตาม ความหลากหลาย ทั้งการพัฒนาฐานราก สังคม เศรษฐกิจรวมถึงการกระจายอานาจในระดับท้องถิ่น การ ขับเคลื่อนภาคการผลิตในชนบท ท้องถิ่นและระดับประเทศ จนถึงการแข่งขันในโลกาภิวัตน์ ซึ่งระบบ อุดมศึกษาแต่ละกลุ่มเหล่านี้จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงอุดมศึกษา และส่งผลกระทบที่ เป็นประโยชน์ต่อ ประเทศอย่างมีนัยสาคัญ อาทิ สามารถสร้างความเป็นเลิศได้ตามพันธกิจของตัวเอง สามารถตอบสนองต่อ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศดีขึ้น ส่งผลเชิงบวกต่อการผลิต พัฒนาและการทางานของอาจารย์ สามารถ ปรับจานวนของบัณฑิตในสาขาที่เป็นความต้องการของสังคม ลดการว่างงาน โดยที่สถาบันอุดมศึกษาใน กลุ่มเหล่านี้มีกลไกร่วมกันในการประกันคุณภาพ เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อยอดถ่ายโอนแลกเปลี่ยนกันได้ คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


17

ระหว่างกลุ่ม และในระยะยาวการประเมินคุณภาพควรนาไปสู่ระบบรับรองวิทยฐานะ (accreditation) ที่นักศึกษาและสาธารณะให้ความเชื่อถือ เป็นฐานและเงื่อนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐ และการ สนับสนุนจากภาคเอกชน รวมทั้งการโอนย้ายหน่วยกิต จากกรอบแผนอุ ด มศึ ก ษาระยะยาว 15 ปี ดั ง กล่ า ว กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ มี ป ระกาศ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง มาตรฐานสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ในปี 2551 ก าหนดประเภทหรื อ กลุ่ ม สถาบันอุดมศึกษาเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่ ม ก วิทยาลั ย ชุมชน หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิ ตบัณฑิตระดับต่ากว่าปริญญาตรี จัดฝึกอบรมสนองตอบความต้องการของท้องถิ่น เพื่อเตรียมกาลังคนที่มีความรู้เข้าสู่ภาคการผลิตจริงใน ชุมชน สถาบันสนับสนุนรองรับการเปลี่ยนอาชีพพื้นฐาน เช่น แรงงานที่ ออกจากภาคเกษตรเป็นแหล่ง เรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตอันจะนาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนและการ พัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญา ตรี เพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถเป็นหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงใน ระดับ ภู มิภ าค เพื่อ รองรั บ การด ารงชีพ สถาบัน อาจมีก ารจั ด การเรี ย นการสอนในระดับ บั ณฑิ ต ศึก ษา โดยเฉพาะระดับปริญญาโทด้วยก็ได้ กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุ่ม สาขาวิชา ทั้งสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สังคมศาสตร์หรือมนุษยศาสตร์ รวมทั้งสาขาวิชาชีพเฉพาะทาง สถาบันอาจเน้นการทาวิทยานิพนธ์หรือการวิจัยหรือเน้นการผลิตบัณฑิตที่มี ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสูงหรือเน้นทั้งสองด้าน รวมทั้ง สถาบันอาจมีบทบาทในการพัฒนาภาคการผลิตจริง ทั้งอุตสาหกรรมและบริการสถาบันในกลุ่มนี้อาจจาแนก ได้เป็น 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่ 1 เป็นสถาบันที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา และลักษณะที่ 2 เป็นสถาบันที่เน้น ระดับปริญญาตรี กลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก และเน้นการ ทาวิทยานิพนธ์และการวิจัยรวมถึงการวิจัยหลังปริญญาเอก สถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตที่เป็นผู้นาทาง ความคิดของประเทศ สถาบัน มีศัก ยภาพในการขับเคลื่ อนอุดมศึกษาไทยให้อยู่ในแนวหน้าระดับสากล

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


18

มุ่งสร้างองค์ความรู้ทฤษฎี และข้อค้นพบใหม่ทางวิชาการ ดังนั้น การประกันคุณภาพการศึกษาจึงต้องสร้าง กลไกการประเมินคุณภาพให้สอดรับกับการแบ่งกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่มดังกล่าว 4. การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวด 5 ที่ว่าด้วยการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ได้กาหนดให้คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่ พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยคานึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทาง วิชาการของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดทามาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใช้เป็น กลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน เพื่อนาไปสู่การกาหนด นโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป มาตรฐานการอุดมศึกษาที่จัดทาขึ้นฉบับนี้ ได้ ใช้ มาตรฐานการศึ กษาของชาติ ที่เ ปรี ยบเสมือ นร่ม ใหญ่เ ป็น กรอบในการพัฒ นาโดยมีส าระส าคั ญ ที่ ครอบคลุ มเป้ าหมายและหลั กการของการจัด การศึกษาระดับ อุดมศึ กษาของไทยและเป็น มาตรฐานที่ คานึงถึงความหลากหลายของกลุ่มหรือประเภทของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อให้ทุกสถาบันสามารถนาไปใช้ กาหนดพันธกิจและมาตรฐานของการปฏิบัติงานได้ มาตรฐานการอุดมศึกษา ที่ปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2549 ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการ อุดมศึกษา และมาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานย่อย ทั้ ง 3 ด้ า นนี้ อยู่ ใ นมาตรฐานการศึ ก ษาของชาติ ที่ ป ระกอบด้ ว ยมาตรฐานย่ อ ย 3 มาตรฐานเช่ น กั น คือ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ แต่ละมาตรฐาน ย่อยของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคล้องและสัมพันธ์กับมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการศึกษา ของชาติเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาบรรลุตามจุดมุ่งหมายและหลักการของการจัด การศึกษาของชาติ นอกเหนือจากมาตรฐานการอุดมศึกษาที่เป็นมาตรฐานแม่บทแล้ว คณะกรรมการการ อุดมศึกษาได้จัดทามาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2551 เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และพันธกิจในการจัดตั้งที่แตกต่าง กันได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 2 ด้าน คือ มาตรฐานด้านศักยภาพ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


19

และความพร้อมในการจัดการศึกษาและมาตรฐานด้านการดาเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และกาหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับ ปริ ญญาตรี กลุ่ ม ค สถาบัน เฉพาะทาง และกลุ่ ม ง สถาบันที่เน้นการวิ จัยขั้นสู งและผลิ ตบัณฑิตระดับ บัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก นอกจากนั้นยังได้จัดทากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อเป็นการประกันคุณภาพบัณฑิตใน แต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา โดยกาหนดให้คุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและสาขาวิชาต้อง เป็นไปตามมาตรฐานผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะ ทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการการอุดมศึกษายังได้กาหนดเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆ อาทิ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑ์การขอเปิดและดาเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล หลักเกณฑ์การกาหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพการจัด การศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาได้พัฒนาด้านวิชาการและ วิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้มีความ ทัดเทียมกันและพัฒนาสู่สากล ซึ่งทาให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างยื ดหยุ่นคล่องตัว และต่ อ เนื่ อ งในทุก ระดั บ การศึ ก ษาตลอดจนสะท้ อนให้ เ ห็ นถึ ง มาตรฐานคุ ณภาพการจั ด การศึ ก ษาใน ระดับอุดมศึกษา เพื่อให้ การจั ดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาหนดทั้ง มาตรฐานการศึกษาระดับ ชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึก ษา และสัมพันธ์กับ มาตรฐานและหลั ก เกณฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาอื่ น ๆ รวมถึ ง กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จึงจาเป็นต้องมีระบบประกันคุณภาพที่พัฒนาขึ้นตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 5. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ก่อนมีประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทบวงมหาวิทยาลัยได้ตระหนักดีถึง ความสาคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาและได้จัดทาประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง นโยบายและ แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 เพื่อเป็นแนวทางในการ ประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการสาคัญ 3 ประการ คือ การให้เสรีภาพทาง คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


20

วิชาการ (academic freedom) ความมีอิสระในการดาเนินการของสถาบัน (institutional autonomy) และความพร้อมของสถาบันที่จะรับการตรวจสอบคุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ ตรวจสอบได้ (accountability) ต่อมาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ ระบุให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุ ณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบกับ พระราชบั ญญัติร ะเบี ยบบริ ห ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบ่งส่ ว น ราชการกาหนดให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนาและ มาตรฐานการอุ ดมศึ กษาที่ส อดคล้ องกับ แผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสั ง คมแห่ ง ชาติ และแผนการศึ กษา แห่งชาติสนับสนุนทรัพยากร ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดย คานึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญาตามกฎหมายว่าด้วย การจัดตั้งสถานศึกษาแต่ละแห่งและกฎหมายที่เกี่ยวข้องสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหน้าที่ ร่วมกับสถานศึกษาในการจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 5.1 กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา หลั ง จากที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ส านั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัดที่ทาหน้าที่กากับดูแล สถาบันอุดมศึกษา ได้เสนอระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อให้สอดคล้อง กับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว ซึ่งคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 21 มี นาคม 2543 ได้ มี ม ติ เ ห็ น ชอบกั บ ระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ซึ่งต่อมาได้จัดทาเป็นประกาศทบวงมหาวิทยาลัยเรื่อง ระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2545 เพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติสาระสาคัญของ ประกาศฉบับนี้ระบุให้ทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุนและส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษาจัดทาระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้ง ให้ มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุด มศึกษาจาก ภายใน หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถาบันการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับ การประเมินคุณภาพจากภายนอก รวมถึงสนับสนุนให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาขึ้นในแต่ละคณะวิชา หรือสถาบันอุดมศึกษา เพื่อกาหนดนโยบายหลั กเกณฑ์ แนวทาง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


21

วิธีการตรวจสอบและประเมินระบบกลไกและประเมินผลการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในของแต่ละคณะวิชาหรือสถาบันอุดมศึกษา หลั ง จากด าเนิ น การตามประกาศฉบั บ ปี พ.ศ. 2545 ไประยะหนึ่ ง ส านั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดทากฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลัก เกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา5 และมาตรา 47 วรรคสอง โดย สาระสาคัญเกี่ยวกับระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของกฎกระทรวงฉบับนี้ ยังคงไว้ ตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัยฯ พ.ศ. 2545 ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ถือปฏิบัติมา อย่างต่อเนื่อง ต่อมาในปี 2553 กระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกัน คุณภาพการศึก ษา พ.ศ. 2553 แทนฉบับเดิม โดยรวมการประกั นคุณภาพภายในและ ภายนอกของการศึกษาทุกระดับไว้ในฉบับเดียวกัน มีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ทาหน้าที่หลัก 2 ประการคือ 1) วางระเบียบหรืออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมสนับ สนุนและพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ 2) เสนอแนะแนวทางปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา โดยนาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไป ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีการปรับเปลี่ยนให้ระบบการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย การประเมินคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ และกาหนดให้ หน่วยงานต้นสังกัดจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้ง ผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อ สาธารณชน 5.1.1 หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพ การศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้พิจารณาจากประเด็นต่อไปนี้ 1) ระบบการประกั น คุ ณ ภ าพภายในของคณะวิ ช าและสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา โดยคานึงถึงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศ กาหนด 2) ผลการปฏิบัติงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบ การประกันคุณภาพภายในที่กาหนดไว้

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


22

3) ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดาเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพ ภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา 5.1.2 วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้ใช้แนวปฏิบัติ ดังนี้ 1) ให้ ค ณะวิ ช าและสถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจั ด ให้ มี ห น่ ว ยงานหรื อ คณะกรรมการที่รั บผิ ดชอบการดาเนิน การด้านการประกันคุณภาพขึ้ น โดยมีห น้าที่พัฒ นาบริห ารและ ติดตามการดาเนินการประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้เกิดความ มั่นใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายใน เพื่อใช้กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพภายใต้กรอบ นโยบายและหลักการที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด 3) ให้ ค ณะวิ ช าและสถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาด าเนิ น การตามระบบการ ประกันคุณภาพภายใน โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา 4) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและกลไกควบคุม คุณภาพขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ (1) หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ (2) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์ (3) สื่อการศึกษาและเทคนิคการสอน (4) ห้องสมุดและ แหล่งการเรียนรู้อื่น (5) อุปกรณ์การศึกษา (6) สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้และบริการการศึกษา (7) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักศึกษา (8) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร ทั้งนี้ให้แต่ละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามที่เห็นสมควร โดยให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาส่งเสริมและ สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารพั ฒ นาด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาในระดั บ คณะวิ ช าของสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง 5.1.3 การรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพภายในถือ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องดาเนินการ อย่ างมีร ะบบ และต่อเนื่ องสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


23

ประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่ อพิจารณา และเปิดเผยต่อสาธารณชน โดยให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์และแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 5.1.4 การติดตามตรวจสอบของต้นสังกัด ให้ ห น่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด ของสถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจั ด ให้ มี ก ารติ ด ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้นอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้งผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน 5.2 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5.2.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา สถาบั นอุดมศึกษาอาจพัฒ นาระบบประกันคุณภาพที่เหมาะสมสอดคล้ องกับ ระดั บ การพั ฒ นาของสถาบั น โดยอาจเป็ น ระบบประกั น คุ ณ ภาพที่ ใ ช้ กั น แพร่ ห ลายในระดั บ ชาติ ห รื อ นานาชาติ หรือเป็นระบบเฉพาะที่สถาบันพัฒนาขึ้นเอง แต่ไม่ว่าจะเป็นระบบคุณภาพแบบใดจะต้องมี กระบวนการทางานที่เริ่มต้นจากการวางแผน การดาเนินงานตามแผน การตรวจสอบประเมิน และการ ปรับปรุงพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินภารกิจของสถาบันบรรลุเป้าประสงค์และมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ขณะเดีย วกันก็เป็ น หลั กประกัน แก่ส าธารณชนให้ มั่นใจว่าสถาบันอุดมศึกษาสามารถสร้างผลผลิ ตทาง การศึกษาที่มีคุณภาพ 5.2.2 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินคุณภาพ

มาตรฐาน เป็ น กรอบส าคั ญ ในการด าเนิ น งานของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คื อ มาตรฐานการอุดมศึกษา อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ยังต้องดาเนินการให้ได้ตาม มาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอีกมาก เช่น มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพ ภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติราชการตามมิติด้านต่างๆ ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐ เป็นต้น

ตั ว บ่ ง ชี้ เป็ น ข้ อ ก าหนดของการประกั น คุ ณ ภาพภายในที่ พั ฒ นาขึ้ น ใน องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านที่มีความครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการอุดมศึกษาและพันธกิจ สนั บ สนุ น ได้ แก่ (1) ปรั ช ญา ปณิธ าน วัต ถุประสงค์ และแผนดาเนิ นการ (2) การผลิ ตบั ณฑิต (3) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (4) การวิจัย (5) การบริการทางวิชาการแก่สังคม (6) การทานุบารุง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


24

ศิลปะและวัฒนธรรม (7) การบริหารและการจัดการ (8) การเงินและงบประมาณ และ (9) ระบบและ กลไกการประกัน คุณภาพ ซึ่งตัวบ่ งชี้ดังกล่ าวสามารถชี้วัดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการ อุดมศึกษา มาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบคุณภาพนั้นๆ ได้ทั้งหมด ทั้งตัวบ่งชี้ ที่ใช้ประเมินปัจจัยนาเข้า กระบวนการและผลผลิตหรือผลลัพธ์นอกจากนี้

เกณฑ์การประเมิน เป็นมาตรวัดของแต่ละตัวบ่งชี้ซึ่งพัฒนาจากเกณฑ์และแนว ปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานซึ่งกาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ สมศ. ทั้งนี้ เพื่อให้การประเมินคุณภาพการศึกษามีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน 5.2.3 กลไกการประกันคุณภาพ ในด้านของกลไกการประกันคุณภาพ ผู้ที่มีความสาคัญส่งผลให้การดาเนินงาน ประสบความสาเร็จและนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง คือ คณะกรรมการระดับนโยบาย และ ผู้บริหารสูงสุดของสถาบันที่จะต้องให้ความสาคัญและกาหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่ ชัดเจน และเข้าใจร่วมกันทุกระดับ โดยมอบหมายให้หน่วยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง หน้าที่สาคัญประการหนึ่งของ คณะกรรมการหรือหน่วยงานนี้ คือ การจัดระบบประกันคุณภาพ พร้อมทั้งตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน คุณภาพที่เหมาะสมสาหรับสถาบัน ระบบประกันคุณภาพที่ใช้ต้องสามารถเชื่อมโยงให้เกิดคุณภาพของการ ปฏิบัติงาน ตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับภาควิชาหรือสาขาวิชา ระดับคณะวิชาไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจ จาเป็นต้องจั ดทาคู่มือคุณภาพในแต่ละระดับ เพื่อกากับการดาเนินงาน แต่ที่สาคัญคณะกรรมการหรือ หน่วยงานนี้ต้องประสานงานและผลักดันให้เกิดระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพซึ่งสามารถ ใช้งานร่วมกันได้ในทุกระดับ 5.2.4 ระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์และวัดผลดาเนินงานเป็นสิ่งจาเป็นในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัดและวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน จะไม่สามารถทาได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพหากปราศจาก ฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศที่เป็นจริง ถูกต้องตรงกันทุกระดับตั้งแต่ ระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และสถาบั น ตลอดจนเป็ น ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถเรี ย กใช้ ไ ด้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ดั ง นั้ น ระบบสารสนเทศที่ ดี มีประสิทธิภาพจึงเป็นปัจจัยสาคัญยิ่งที่จะส่งผลต่อความสาเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และส่งผล ต่อคุณภาพในทุกขั้นตอนการดาเนินงานตั้ งแต่การวางแผน การปฏิบัติงานประจา การตรวจสอบประเมิน ตลอดจนถึงการปรับปรุงและพัฒนา

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


25

6. การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ตามมาตรา 48 ของพระราชบั ญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุ ว่ า ให้ ห น่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด และสถานศึ ก ษาจั ด ให้ มี ร ะบบการประกั น คุ ณ ภาพภายใน สถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้อง ดาเนินการอย่างต่อเนื่องในขณะที่มาตรา 49 ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมินคุณภาพ ภายนอกไว้ว่า ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษามีฐานะเป็นองค์การมหาชน ทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทาการประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อให้มี การตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการ บริหารการศึกษาปกติที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ มี การตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานเพื่อนาไปสู่การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ด้วยเหตุนี้ระบบประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้ งปัจจัยนาเข้า (input) กระบวนการ (process) และ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (output/outcome) ซึ่งต่างจากการประเมินคุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผล การจัดการศึกษา จะเห็นว่า เมื่อสถาบันอุดมศึกษามีการดาเนินการประกันคุณภาพภายในแล้ว จาเป็นต้องจัดทา รายงานประจาปี ที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ซึ่งเป็นผลจากการประกันคุณภาพภายในหรือ เรียกว่า รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) เพื่อนาเสนอสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เอกสารดังกล่าวจะเป็นเอกสาร เชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในของสถาบัน การติดตามตรวจสอบของต้นสั งกัด และการ ประเมินคุณภาพภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องจัดทารายงานการประเมินตนเองที่มีความลุ่มลึกสะท้อน ภาพที่แท้จริงของสถาบันในทุกองค์ประกอบคุณภาพ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


26

ส่วนที่ 3 ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตามองค์ประกอบคุณภาพ 1. ความหมาย วิธกี ารรายงาน สูตรการคานวณ และเกณฑ์การประเมินของตัวบ่งชี้ สานักคอมพิวเตอร์ ได้ดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของหน่วยงานตามองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ตามองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย และปรับปรุงเพิ่มเติมให้ตรงตามภารกิจหลักของ หน่วยงาน และขอรับการประเมินเฉพาะมาตรฐานและตัวบ่งชี้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสานักคอมพิวเตอร์ได้จัดทา มาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่เป็นภารกิจของหน่วยงานโดยตรงเพิ่มเติมด้วย เพื่อจะขอรับการประเมินคุณภาพใน วงรอบปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 2556 ถึง 31 พฤษภาคม 2557) รวม 7 องค์ประกอบ 13 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

จานวน 4 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ที่ 7.6 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์

จานวน 4 ตัวบ่งชี้

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


27

ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 จานวนฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่ได้รับการพัฒนาหรือ ปรับปรุงให้สามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งมหาวิทยาลัย ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 การพัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 ความมีเสถียรภาพของการให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลัก ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการของสานัก คอมพิวเตอร์ 2. องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ วงรอบปีการศึกษา 2556 องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชีท้ ี่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์มีพันธกิจหลักคือการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเพื่อสนับสนุนการดาเนินการตามพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยมหาสารคามคือ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อให้สามารถสนับสนุนการ ดาเนินงานของมหาวิทยาลัยมหาสารคามให้บรรลุตามเป้าหมาย สานักคอมพิวเตอร์ต้องกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ตลอดจนมีการพัฒนาแผนกลยุทธ์และแผนดาเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงานของสานัก คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาแผนกลยุทธ์ นอกเหนือจากการพิจารณาพั นธกิจดังกล่าวแล้ว จะต้องคานึงถึง หลักการอุดมศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ของชาติและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รวมถึงทิศทาง การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับ และสามารถตอบสนอง พันธกิจของมหาวิทยาลัยในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม แผนกลยุทธ์ หมายถึง แผนระยะยาวของสถาบันโดยทั่วไปมักใช้เวลา 5 ปี เป็นแผนที่กาหนดทิศ ทางการพัฒนาของสถาบัน แผนกลยุทธ์ประกอบไปด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


28

ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคาม กลยุทธ์ต่างๆ ของสถาบันควรครอบคลุมทุกภารกิจ ของสถาบัน มีการกาหนดตัวบ่งชี้ความสาเร็จของแต่ละกลยุทธ์และค่าเป้าหมายของตัวบ่งชี้เพื่อวัดระดับ ความส าเร็ จ ของการดาเนิ น งานตามกลยุทธ์ โดยสถาบันนาแผนกลยุทธ์มาจัดทาแผนดาเนินงานหรือ แผนปฏิบัติงานประจาปี แผนปฏิบัติการประจาปี หมายถึง แผนระยะสั้นที่มีระยะเวลาในการดาเนินงานภายใน 1 ปี เป็น แผนที่ถ่ายทอดแผนกลยุ ทธ์ล งสู่ ภ าคปฏิบัติ เพื่อให้ เ กิดการดาเนิน งานจริงตามกลยุทธ์ ประกอบด้ว ย โครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่จะต้องดาเนินการในปีนั้นๆ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตามแผนกลยุทธ์ ตัวบ่งชี้ ความสาเร็จของโครงการหรือกิจกรรม ค่าเป้าหมายของตัวบ่งชี้เหล่านั้น รวมทั้งมีการระบุผู้รับผิดชอบหลัก หรือหัว หน้าโครงการ งบประมาณในการดาเนินการ รายละเอียดและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดาเนิน โครงการที่ชัดเจน เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของคณะกรรมการประจาสานัก คอมพิวเตอร์ โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสานักคอมพิวเตอร์ และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจา ส านั ก คอมพิว เตอร์ โดยเป็ น แผนที่ เชื่อ มโยงกับปรัช ญาหรือ ปณิธ านและพระราชบัญ ญัติมหาวิท ยาลั ย มหาสารคาม พ.ศ. 2537 ตลอดจนสอดคล้องกับจุดเน้นกลุ่มผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม (กลุ่ม ข) กรอบ แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) 2. มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับหน่วยงานไปสู่ทุกงานภายในหน่วยงาน 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์เป็นแผนปฏิบัติการประจาปีครบตามพันธกิจของหน่วยงาน 4. มีตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปี และค่าเป้าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้ เพื่อวัด ความสาเร็จของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปี 5. มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีครบตามพันธกิจของหน่วยงาน 6. มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจาปี อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารเพื่อพิจารณา 7. มีการประเมิน ผลการดาเนิ นงานตามตัว บ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่างน้อยปีล ะ 1 ครั้ง และ รายงานผลต่อผู้บริหารและคณะกรรมการประจาสานักคอมพิวเตอร์เพื่อพิจารณา

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


29

8. มี ก ารน าผลการพิ จ ารณา ข้ อ คิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะของคณะกรรมการประจ าส านั ก คอมพิวเตอร์ไปปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปี เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 8 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 หรือ 7 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 8 ข้อ

หมายเหตุ 1) การประเมินในตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ใช้วงรอบปีงบประมาณที่ตรงกับปีการศึกษาที่รับประเมินคือ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556) 2) การประเมินในระดับคณะวิชาและหน่วยงานเทียบเท่าให้ปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์ มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับหน่วยงานที่รับการประเมิน เช่น สภามหาวิทยาลัยอาจปรับเป็นกรรมการ ประจาคณะวิชา ประเด็นถาม-ตอบจากคูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัย มหาสารคาม : คาถามที่ 1 แผนยุทธศาสตร์ 4 ปี และแผนกลยุทธ์ แตกต่างกันอย่างไร คาตอบ ไม่แตกต่างกัน บางสถาบันจัดทาแผนกลยุทธ์ 3 ปีก็เป็นไปได้ แต่อย่างไรหากมีการกาหนด ปรัชญา ปณิธานไว้แล้ว ควรมีการทบทวนว่าเหมาะสมกับสภาพปัจจุบันหรือไม่ คาถามที่ 2 การมีสว่ นร่วมของบุคลากรในการจัดทาแผนฯ ต้องทุกคนหรือไม่ เท่าไหร่จึงจะถือได้ว่าเป็นการ มีส่วนร่วม คาตอบ กระบวนการจัดทาแผนโดยผ่านตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ ถือว่าเป็นการมีส่วนร่วมแต่ต้องมั่นใจ ว่าตัวแทนนั้น จะนาเอาแผนฯ ไปถ่ายทอดได้ ซึ่งการแขวนบนเว็บไซต์ก็สามารถทาได้ แต่ต้องปรากฏ หลักฐานว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนฯ ดังกล่าว ถือเป็นการให้โอกาสให้ทุก ภาคส่วนมีส่วนร่วม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


30

คาถามที่ 3 การถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ไปสู่ทุกหน่วยงานภายใน ควรเป็นไปในรูปแบบใด คาตอบ ควรใช้กระบวนการประชุมชี้แจงเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน กรณีมีตัวแทนคณบดีหรือหัวหน้า ภาค ควรมีหลักฐานว่ามีการเอาข้อมูลของแผนกลยุทธ์ไปถ่ายทอดต่อ เช่น รายงานการประชุมแต่การแจ้ง เวียนเป็นเอกสารจะไม่ถือว่าเป็นการถ่ายทอด

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


31

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชีท้ ี่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จาเป็นต้องมีการบริหารและพัฒนา บุคลากรทุกประเภทอย่างเหมาะสมทั้งในด้านเทคนิคการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ และการใช้สื่อการ สอนที่ทันสมัย รวมทั้งมีการปรับกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ผลการเรียนรู้และข้อมูลจากความคิดเห็น ของผู้ เรี ย น นอกจากนั้ น ยั งจ าเป็ น ต้อ งมีบุค ลากรสายสนับ สนุน ที่มีคุ ณภาพสอดคล้ อ งกับพั นธกิ จและ เป้าหมายของมหาวิทยาลัยและสานักคอมพิวเตอร์ เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ 2. มีการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กาหนด 3. มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกาลังใจให้บุคลากรสายสนับสนุนสามารถ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. มีระบบการติดตามให้บุคลากรสายสนับสนุนนาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ใน การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 5. มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้ถือปฏิบัติ 6. มีการประเมินผลความสาเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน 7. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสาย สนับสนุน เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 7 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


32

หมายเหตุ 1) หลักฐานสาหรับการประเมินในเกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 3 เช่น ผลการประเมิน หรือผลการ สารวจความพึงพอใจของคณาจารย์และบุคลากร ด้านสวัสดิการ การเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และการสร้าง ขวัญและกาลังใจ หรือหลักฐานเชิงประจักษ์อื่น ๆ ที่เชื่อมโยงให้เห็นการทางานได้ดีขึ้น 2) หน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอนปรับตัวบ่งชี้เป็นระบบการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ประเด็นถาม-ตอบจากคูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัย มหาสารคาม : คาถาม : การประเมินความสาเร็จของแผนฯ ควรดาเนินการอย่างไร ตอบ : ประเมินผลตามตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาบุคลากร ไม่ใช่ประเมินตามตัวชี้วัดราย โครงการในการจัดอบรมและพัฒนาบุคลากร ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรมีระบบและกลไกในการพัฒนาบุคลากรให้มีความก้าวหน้าตามสายงาน (ต้องมีนโยบาย แผน ขั้นตอน/ กฎเกณฑ์ปฏิบัติ สรุปผลและทบทวนการทางาน) เช่น โครงการส่งเสริมการเข้าสู่ตาแหน่ง โครงการให้ ความรู้การเขียนผลงานวิชาการและการวิจัย

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


33

องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชีท้ ี่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์หรือผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : ศิลปะและวัฒนธรรม เกี่ยวข้องกับความสุนทรีย์และรสนิยม เกิดรูปแบบวิถีชีวิตและ สังคม โดยมีลักษณะที่เป็นพลวัต มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จาเป็นต้องรู้ทันอย่างมีปัญญาโดยมีแผน ในการพัฒนา ให้ความรู้และประสบการณ์ด้านสุนทรียภาพในบริบทของศิลปะและวัฒนธรรม สามารถ เลือกรับ รักษาและสร้างให้ตนเองและสังคมอยู่ร่วมกันอย่างรู้คุณค่าความงามอย่างมีสุนทรีย์ที่มีรสนิยม ศิ ล ปะ

คื อ งานสร้ า งสรรค์ ที่ ส่ ง เสริ ม สร้ า งสุ น ทรี ย์ ความงาม และความสุ ข แก่ ผู้ ค น

สภาพแวดล้ อม และสังคม เพื่อพัฒ นาการยกระดับความมีรสนิยม ความสุ นทรีย์ เข้าใจคุณค่าและ ความสาคัญของศิลปะ ตลอดจนเป็นแนวทางในการพัฒนาส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริญงอกงามของมวลมนุษย์ที่ มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง เช่น เรื่อง ความคิด ความรู้ ความเชื่อ ก่อให้เกิดวัฒนธรรม โดยสามารถเห็นได้จากพฤติกรรมในวิถีชีวิตและสังคม รวมทั้งผลที่เกิดจากกิจกรรมหรือผลผลิตกิจกรรมของมนุษย์ วัฒนธรรมมีลักษณะเฉพาะและมีลักษณะ สากลเปลี่ยนแปลงตามสมัยนิยม วัฒนธรรมปัจจุบันที่ดีควรมีความสอดคล้องกับความเป็นสากล แต่มี รากฐานของวัฒนธรรมตนเองที่มีคุณค่า สาหรับวัฒนธรรมในสถาบันอุดมศึกษา หมายถึง วัฒนธรรมที่ แสดงความเป็ น อุด มศึกษาที่ถือ เป็ น แบบอย่ างที่ดี ต่อสั ง คม มีความเจริ ญงอกงามทางปัญ ญา ความรู้ ความคิด ทัศนคติ มีวัฒนธรรมในวิถีชีวิตมหาวิทยาลัยที่น่าศรัทธาเป็นที่ยอมรับ มีบทบาทต่อการปกป้อง วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย และพัฒนาแนวทางการดารงชีวิตท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมสากลได้เหมาะสม อย่างฉลาดรู้ การพัฒนาสุนทรียภาพ หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างมีแผนที่เป็นระบบเกี่ยวกับความ งามทางศิลปะและวัฒนธรรม ที่มีผลกระทบต่อบุคคล สถาบัน สภาพแวดล้อม และสังคมในแนวทางที่ดี ขึ้น โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน และเป็นที่ยอมรับร่วมกันได้ ผลการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือสร้างสิ่งใหม่ ต้องไม่เป็นการทาลายคุณค่าทางสุนทรีย์ของศิลปะและวัฒนธรรมเดิม การพัฒนาเชิ งวัฒนธรรมสามารถ สร้างวัฒนธรรมใหม่ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและมีนวัตกรรมใหม่ ทั้งทาง เทคโนโลยี ระบบสังคม เพื่อให้อยู่ร่วมกันได้อย่างเข้าใจมีความเจริญก้าวหน้าอย่างสันติสุข

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


34

สุนทรียะทางศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง คุณค่าทางความงามของศิลปะและวัฒนธรรมที่ส่งผล ต่อการรับรู้และความรู้สึก สามารถจรรโลงจิตใจให้มีความสุข มีรสนิยม ก่อให้เกิดวิถีชีวิตมนุษย์ที่งดงาม สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมที่เข้าใจและผูกพัน ตลอดจนการรับรู้ถึงคุณค่าที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมของ ศิลปะและวัฒนธรรมเชิงประวัติศาสตร์เพื่อการดารงรักษ์สืบต่อไป สะอาด หมายถึง ไม่รก มีระเบียบ รักษาง่าย ใช้สะดวก สุขลักษณะ หมายถึง สะอาด ปลอดภัย ไร้มลภาวะ สุขใจ สบายกาย สวยงาม หมายถึง มีการจัดแต่งอาคาร สภาพแวดล้อมอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับพื้นที่ แวดล้อม ไม่สิ้นเปลือง และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม เกณฑ์มาตรฐาน : 1. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในมหาวิทยาลัยที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี 2. สิ่งแวดล้อมด้านความปลอดภัยของอาคารสถานที่ สะอาดถูกสุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมี ความสุนทรีย์ 3. ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. การจัดให้มีพื้นที่และกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่งเสริมให้นิสิตและบุคลากรมีส่วนร่วม อย่างสม่าเสมอ 5. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและหรือนิสิตที่เกี่ยวกับประเด็น 1-4 ไม่ต่ากว่า 3.51 จาก คะแนนเต็ม 5 เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2555 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน : คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


35

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.1 ภาวะผูน้ าของคณะกรรมการประจาสานักและผูบ้ ริหารทุกระดับของสานักคอมพิวเตอร์ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : ปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญต่อการเจริญก้าวหน้าของมหาวิทยาลัย คือ สภามหาวิทยาลัย และผู้บ ริหารทุกระดับ มหาวิทยาลั ยนั้ นๆ หากสภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นาที่ดี มีธรรมาภิบาล รับผิดชอบต่อสังคม รักความก้าวหน้า ดูแลบุคลากรอย่างดี เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการบริหาร มีความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหา และกากับดูแล ติดตามผลการดาเนินงานของ มหาวิทยาลัยไปในทิศทางที่ถูกต้อง จะทาให้มหาวิทยาลัยเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว เกณฑ์มาตรฐาน : 1. คณะกรรมการประจาสานัก ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดครบถ้วนและมีการประเมิน ตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า 2. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ กาหนดทิศทางการดาเนินงาน และสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุ ทธ์ มีการนาข้อมูลสารสนเทศเป็นฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนา สถาบัน 3. ผู้บริหารมีการกากั บ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถ สื่อสารแผนและผลการดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ไปยังบุคลากรในสานักคอมพิวเตอร์ 4. ผู้บริหารสนับสนุนให้บุคลากรในสานักคอมพิวเตอร์มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ให้อานาจใน การตัดสินใจแก่บุคลากรตามความเหมาะสม 5. ผู้บริหารถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมพัฒนาผู้ร่วมงาน เพื่อให้สามารถทางานบรรจุวัตถุประสงค์ ของสานักคอมพิวเตอร์เต็มตามศักยภาพ 6. ผู้บริหารบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึงประโยชน์ของสานักคอมพิวเตอร์และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย 7. คณะกรรมการประจาสานักประเมินผลการบริหารงานของสานักคอมพิวเตอร์และผู้บริหารนาผล การประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอย่างเป็นรูปธรรม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


36

เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 7 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

หมายเหตุ 1. หากจะประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานข้อที่ 6 นั้น ต้องแสดงข้อมูลการบริหารงานตาม หลักธรรมาภิบาลครบถ้วนทั้ง 10 ประการ ตามนิยามศัพท์ที่ระบุไว้ ซึ่งสอดคล้องเป็นไปตามเกณฑ์ของ สมศ. หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุม ดูแลกิจการต่างๆ ให้เป็นไป ในครรลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งสามารถนาไปใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกสาร ธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้มีความหมายอย่างกว้างขวาง กล่าวคือ หาได้มีความหมายเพียงหลักธรรมทาง ศาสนาเท่านั้น แต่รวมถึงศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมและความถูกต้อง ชอบธรรมทั้งปวง ซึ่งวิญญูชนพึงมี และพึงประพฤติปฏิบัติ อาทิ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์การภายนอก เป็นต้น หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ที่เหมาะสมจะนามา ปรับใช้ในภาครัฐมี 10 องค์ประกอบดังนี้ (1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) คือ ผลการปฏิบัติราชการที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ของแผนการปฏิบัติราชการตามที่ได้รับงบประมาณมาดาเนินการ รวมถึงสามารถเทียบเคียงกับส่วนราชการ หรื อหน่ ว ยงานที่มีภ ารกิจ คล้ ายคลึ งกัน และมีผ ลการปฏิบัติงานในระดับชั้นนาของประเทศ เพื่อให้ เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชนโดยการปฏิบัติราชการจะต้องมีทิศทางยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ที่ชัดเจน มี กระบวนการปฏิบัติงานและระบบงานที่เป็นมาตรฐาน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลและพัฒนาปรับปรุง อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ (2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ การบริหารราชการตามแนวทางการกากับดูแลที่ดีที่มีการ ออกแบบกระบวนการปฏิบั ติงานโดยใช้เทคนิคและเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมให้องค์การ สามารถใช้ ท รั พ ยากรทั้ ง ด้ า นต้ น ทุ น แรงงานและระยะเวลาให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ การพั ฒ นาขี ด ความสามารถในการปฏิบัติราชการตามภารกิ จเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกกลุ่ม คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


37

(3) หลั กการตอบสนอง (Responsiveness) คือ การให้ บริ การที่ส ามารถดาเนิน การได้ ภ ายใน ระยะเวลาที่กาหนด และสร้างความเชื่อมั่น ความไว้ว างใจ รวมถึงตอบสนองความคาดหวังหรือความ ต้องการประชาชนผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีความหลากหลายและมีความแตกต่าง (4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) คือ การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่และ ผลงานต่อเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยความรับผิ ดชอบนั้นควรอยู่ในระดับที่สนองต่อความคาดหวังของ สาธารณะ รวมทั้งการแสดงถึงความสานึกในการรับผิดชอบต่อปัญหาสาธารณะ (5) หลักความโปร่งใส (Transparency) คือ กระบวนการเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา ชี้แจงได้เมื่อ มีข้อสงสัยและสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอันไม่ต้องห้ามตามกฎหมายได้อย่างเสรี โดยประชาชนสามารถ รู้ทุกขั้นตอนในการดาเนินกิจกรรมหรือกระบวนการต่างๆ และสามารถตรวจสอบได้ (6) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) คือ กระบวนการที่ข้าราชการ ประชาชนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกกลุ่มมีโอกาสได้เข้าร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทาความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหาหรือ ประเด็นที่สาคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิด แนวทาง ร่วมการแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วม กระบวนการพัฒนาในฐานะหุ้นส่วนการพัฒนา (7) หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) คือ การถ่ายโอนอานาจการตัดสินใจทรัพยากร และภารกิจจากส่วนราชการส่วนกลางให้แก่หน่วยการปกครองอื่นๆ (ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น) และภาค ประชาชนดาเนิ นการแทนโดยมีอิส ระตามสมควร รวมถึงการมอบอานาจและความรับผิ ดชอบในการ ตั ด สิ น ใจและการด าเนิ น การให้ แ ก่ บุ ค ลากร โดยมุ่ ง เน้ น การสร้ า งความพึ ง พอใจในการให้ บ ริ ก ารต่ อ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปรับปรุงกระบวนการ และเพิ่มผลิตภาพเพื่อผลการดาเนินงาที่ดีของ ส่วนราชการ (8) หลักนิติธรรม (Rule of Law) คือ การใช้อานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับในการ บริหารราชการด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และคานึงถึงสิทธิเสรีภาพของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (9) หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การได้รับการปฏิบัติและได้รับบริการอย่างเท่าเทียมกัน โดย ไม่มีการแบ่งแยกด้าน ชายหรือหญิง ถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือ สุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษา การฝึกอบรมและ อื่นๆ (10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) คือ การหาข้อตกลงทั่วไปภายในกลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นข้อตกลงที่เกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาข้อคิดเห็นจากกลุ่มบุคคลที่ได้รับ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


38

ประโยชน์และเสียประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรงซึ่งต้องไม่มีข้อ คัดค้านที่ยุติไม่ได้ใน ประเด็นที่สาคัญ โดยฉันทามติไม่จาเป็นต้องหมายความว่าเป็นความเห็นพ้องโดยเอกฉันท์ 2. การประเมินในระดับคณะวิชาและหน่วยงานเทียบเท่าให้ปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์ มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับหน่วยงานที่รับการประเมิน เช่น สภามหาวิทยาลัยอาจปรับเป็นกรรมการ ประจาคณะวิชา ประเด็นถาม-ตอบจากคูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัย มหาสารคาม : คาถาม เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 1 ที่กาหนดว่า “สภามหาวิทยาลัยปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนด ครบถ้วน และมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า” คาว่า “สภามหาวิทยาลัย” ใน ความหมายของการประเมินระดับคณะวิชา หมายถึง คณะกรรมการประจาคณะใช่หรือไม่ คาตอบ ใช่ ในกรณีเป็นการประเมินระดับคณะวิชา คาว่า “สภามหาวิทยาลัย” จะหมายถึงคณะกรรมการ ประจาคณะวิชา ที่แต่งตั้งตามข้อกาหนดของกฎหมาย หรือมติที่ประชุมของหน่วยงาน สาหรับหน่วยงาน สนับสนุนการเรียนการสอนเทียบเท่าคณะวิชา คณะกรรมการประจาหน่วยงาน หมายถึง คณะกรรมการที่ แต่งตัง้ ตามข้อกาหนดของกฎหมาย แต่หากกรณีหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอนที่กฎหมายไม่ได้ กาหนดเกี่ยวกับองค์ประกอบของคณะกรรมการประจาหน่วยงานให้แต่งตั้งโดยมติที่ประชุมหน่วยงาน หรือ ได้รับความเห็นชอบจากอธิการบดี

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


39

ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสูส่ ถาบันเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : มาตรฐานการอุดมศึกษาข้อที่ 3 กาหนดให้มหาวิทยาลัยมีการสร้างและพัฒนาสังคม ฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งต้องมีการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ โดยมี การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็น ระบบ เพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด กระบวนการในการ บริหารจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัยประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บ ความรู้ ก ารเข้ า ถึง ข้ อ มูล และการแลกเปลี่ ย นความรู้ ทั้ งภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย การสร้ า ง บรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ ภายในมหาวิทยาลัยการกาหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัยให้ดียิ่งขึ้น เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีการกาหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ หน่วยงานอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจหลัก 2. กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่ กาหนดในข้อ 1 3. มี ก ารแบ่ ง ปั น และแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ จ ากความรู้ ทั ก ษะของผู้ มี ป ระสบการณ์ ต รง ( Tacit Knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้ อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากร กลุ่มเป้าหมายที่กาหนด 4. มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้ อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) 5. มีการนาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ผ่านมาที่เป็น ลายลั ก ษณ์อั ก ษร (Explicit

Knowledge) และจากความรู้ ทั ก ษะของผู้ มี ประสบการณ์ ต รง (Tacit

Knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


40

เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรมีการรวบรวมความรู้เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


41

ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.4 ระบบบริหารความเสีย่ ง ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : เพื่อให้มหาวิทยาลัยมีระบบบริหารความเสี่ยง โดยการบริหารและควบคุมปัจจัย กิจกรรม และกระบวนการดาเนินงานที่อาจเป็นมูลเหตุของความเสียหาย (ทั้งในรูปของตัวเงิน หรือไม่ใช่ตัว เงิน เช่น ชื่อเสียง และการฟ้องร้องจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความคุ้มค่า) เพื่อให้ระดับความเสี่ยง และขนาดของความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อยู่ในระดับที่ยอมรับและควบคุมได้ โดยคานึงถึงการเรียนรู้วิธีการป้องกันจากการคาดการณ์ปัญหาล่วงหน้า และโอกาสในการเกิด เพื่อป้องกันหรือบรรเทาความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งการมีแผนสารองต่อภาวะ ฉุกเฉิน เพื่อให้มั่นใจว่าระบบงานต่างๆ มีความพร้อมใช้งาน มีการปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่องและทันต่อ การเปลี่ยนแปลงเพื่อการบรรลุเป้าหมายของมหาวิทยาลัยตามยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์เป็นสาคัญ เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผู้บริหารระดับสูงและ ตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบันร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทางาน 2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงอย่างน้อย 3 ด้าน ตาม บริบทของสถาบัน จากตัวอย่างต่อไปนี้ - ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่) - ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์ของสถาบัน - ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหาร งานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ - ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาธิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์ และบุคลากร - ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลาดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ ในข้อ 2 4. มีการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดาเนินการตามแผน คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


42

5. มีการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และรายงานต่อสภาสถาบันเพื่อพิจารณา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6. มีการนาผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากสถาบันไปใช้ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความ เสี่ยงในรอบปีถัดไป เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 6 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

หมายเหตุ 1) คะแนนการประเมินจะเท่ากับ 0 หากพบว่าเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงขึ้นภายในมหาวิทยาลัยในรอบ ปีการประเมินที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและความปลอดภัยของนิสิต คณาจารย์ บุคลากร หรือต่อชื่อเสียง ภาพลั ก ษณ์ หรื อ ต่ อ ความมั่ น คงทางการเงิ น ของมหาวิ ท ยาลั ย อั น เนื่ อ งมาจากความบกพร่ อ งของ มหาวิทยาลัยในการควบคุม หรือจัดการกับความเสี่ยง หรือปัจจัยเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ โดยมี หลักฐานประกอบที่ชัดเจน ตัวอย่างความเสี่ยงร้ายแรงที่ให้ผลประเมินเป็นศูนย์ (0) คะแนน เช่น (1) มีการเสียชีวิตและถูกทาร้ายร่างกายหรือจิตใจอย่างรุนแรงของนิสิต คณาจารย์ บุคลากร ภายในมหาวิทยาลัย ทั้ง ๆ ที่อยู่ในวิสัยที่มหาวิทยาลัยสามารถป้องกันหรือลดผลกระทบในเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นได้ แต่ไม่พบแผนการจัดการความเสี่ยงหรือไม่พบความพยายามของมหาวิทยาลัยในการระงับ เหตุการณ์ดังกล่าว (2) มหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานเสื่อมเสียชื่อเสียงหรือมีภาพลักษณ์ที่ไม่ดีอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น คณาจารย์ นั กวิจั ย หรื อบุ คลากรขาดจริยธรรม จรรยาบรรณการไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน หรือ กฎกระทรวง และเกิดเป็นข่าวปรากฏให้เห็นตามสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ ข่าว online เป็นต้น (3) มหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานขาดสภาพคล่องในด้านการเงินจนทาให้ต้องปิดหลักสูตรหรื อไม่ สามารถปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ ส่งผลกระทบต่อนิสิตปัจจุบันที่เรียนอยู่อย่างรุนแรง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


43

** หากมีคณะใดคณะหนึ่งได้คะแนนการประเมินเป็นศูนย์ (0) แล้ว มหาวิทยาลัยก็จะได้คะแนน การประเมินเป็นศูนย์ (0) ด้วยเช่นกัน หากเป็นไปตามเงื่อนไขที่กล่าวไว้ข้างต้นการไม่เข้าข่ายที่ทาให้ผลการ ประเมินได้คะแนนเป็นศูนย์ (0) ได้แก่ (1) มหาวิทยาลัยมีการวิเคราะห์และจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงเชิงป้องกัน หรือมีแผนรองรับเพื่อ ลดผลกระทบสาหรับความเสี่ยงที่ทาให้เกิดเรื่องร้ายแรงดังกล่าวไว้ล่วงหน้า และดาเนินการตามแผน (2) เป็นเหตุสุดวิสัยอยู่นอกเหนือการบริหารจัดการ (การควบคุมหรือการป้องกัน) ของมหาวิทยาลัย (3) เหตุการณ์ร้ายแรงดังกล่าวมีความรุนแรงที่ลดน้อยลงมากจากแผนรองรับผลกระทบที่ได้กาหนด ไว้ล่วงหน้า 2) การประเมินในระดับคณะวิชาและหน่วยงานเทียบเท่าให้ปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์ มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับหน่วยงานที่รับการประเมิน เช่น สภามหาวิทยาลัย อาจปรับเป็นกรรมการ ประจาคณะวิชา 3) การประเมิน ในตัว บ่งชี้ที่ 7.4 ใช้ว งรอบปีงบประมาณที่ตรงกับปีการศึกษาที่รับประเมินคือ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556) ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรมีการนาผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากสถาบันไปใช้ในการปรับแผนและวิเคราะห์ในรอบปีถัดไป

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


44

ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.6 การปฏิบัตติ ามบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารสานักคอมพิวเตอร์ ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์หรือผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : การประเมินผลตามหน้าที่และบทบาทของผู้บริหารในการบริหารและการจัดการให้ บรรลุผลสาเร็จตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติงานประจาปีของสานักคอมพิวเตอร์ จะมุ่งเน้นการประเมิน คุณภาพของการบริหารตามนโยบายของคณะกรรมการประจาสานัก ประสิทธิผลของแผลปฏิบัติการ ประจาปี ความสามารถในการบริหารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้ค่าคะแนนการประเมินผลผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้ง (คะแนนเต็ม 5) เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการได้ครบเกณฑ์การพิจารณา 5 ข้อ 5 คะแนน ข้อมูลประกอบการพิจารณา : 1. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการกาหนดหรือทบทวนนโยบายการกากับดูแลสานัก คอมพิวเตอร์ รวมทั้งทบทวนกรอบทิศทางการดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ตามหน้าที่และบทบาทของ ผู้บริหารสานักคอมพิวเตอร์ 2. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการดาเนินการตามระบบการกากับดูแลสานัก คอมพิวเตอร์ โดยมีเอกสารหรือหลักฐานหรือรายงานหรือบันทึกการประชุมที่แสดงให้เห็นว่าผู้บริหาร สถาบันได้กาหนดให้มีกระบวนการที่เป็นรูปธรรมในการจัดการเพื่อให้เกิดการควบคุมและตรวจสอบการ ดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ 3. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าผู้บริหารสานักคอมพิวเตอร์มีการติดตามผลการ ดาเนินงานสาคัญ เช่น ระบบในด้านนโยบายและแผน ด้านการบริการงานบุคคล ด้านการเงินละ งบประมาณ โดยเฉพาะการดาเนินงานตามภารกิจหลักของสานักคอมพิวเตอร์ที่เป็นมติคณะกรรมการ ประจาสานัก หรือสภาสถาบัน 4. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงนโยบายของสานักคอมพิวเตอร์ที่กาหนดให้มีระบบการ ประเมินผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้งและมีการดาเนินงานระบบนั้น

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


45

5. รายงานการสังเคราะห์มติหรือนโยบาย รวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจของผู้บริหาร สานักคอมพิวเตอร์ หมายเหตุ : 1. ระดับสถาบัน ผู้บริหารหมายถึง อธิการบดี 2. ระดับคณะวิชา ผู้บริหารหมายถึง คณบดี 3. ระดับหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอน ผู้บริหารหมายถึง ผู้อานวยการ 4. กรณีหน่วยงานที่สภามหาวิทยาลัยไม่ได้แต่งตั้งกรรมการมาประเมินผู้บริหารหน่วยงาน ดังนั้น หน่วยงานไม่ต้องรับการประเมินในตัวบ่งชี้นี้

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


46

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชีท้ ี่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : มหาวิทยาลัยจะต้องมีระบบในการจัดหาและจัดสรรเงินอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมี แผนกลยุทธ์ทางด้านการเงินซึ่งเป็นแผนจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนต่างๆ ที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ ของมหาวิทยาลัยให้สามารถดาเนินการได้ มีการวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จ่ายของการดาเนินงาน ทั้ งจาก งบประมาณแผ่ น ดิน และเงิน รายได้อื่น ๆ ที่มหาวิทยาลั ยได้รับ มีการจัดสรรงบประมาณและการจัดทา รายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบครบทุกพันธกิจ มีระบบการตรวจสอบการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ รายงานทางการเงิน ต้องแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายในทุกพันธกิจ โครงการกิจกรรมเพื่อให้ สามารถ วิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมั่นคงของมหาวิทยาลัย เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสานักคอมพิวเตอร์ 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน หลักเกณฑ์การจัดสรร และการวางแผนการใช้เงิน อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3. มีงบประมาณประจาปี ที่ส อดคล้ องกับแผนปฏิบัติงานในแต่ล ะพันธกิจและการพัฒนาส านัก คอมพิวเตอร์และบุคลากร 4. มีการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ และรายงานต่อ คณะกรรมการประจาสานัก อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 5. มีการนาข้อมูลทางการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และวิเคราะห์สถานะทางการเงินและ ความมั่นคงของสานักคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 6. มีหน่ วยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทาหน้าที่ตรวจ ติดตามการใช้เงินให้ เป็นไปตาม ระเบียบและกฎเกณฑ์ที่สานักคอมพิวเตอร์กาหนด 7. ผู้บริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใช้เงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย และนาข้อมูลจากรายงาน ทางการเงินไปใช้ในการวางแผนและการตัดสินใจ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


47

เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 7 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

หมายเหตุ 1. แผนกลยุทธ์ทางการเงิน เป็นแผนระยะยาวที่ระบุที่มาและใช้ไปของทรัพยากรทางการเงินของ มหาวิทยาลัยที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยให้สามารถดาเนินการได้ แผนกลยุทธ์ทาง การเงินจะสอดรับไปกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยควรประเมินความต้องการทรัพยากรที่ ต้องจัดหาสาหรับการดาเนิน งานตามกลยุทธ์แต่ละกลยุทธ์ และประเมินมูลค่าของทรัพยากรออกมาเป็น เงิน ทุน ที่ต้อ งการใช้ ซึ่งจะเป็ น ความต้องการเงินทุนในระยะยาวเท่ากับเวลาที่มหาวิทยาลั ยใช้ในการ ดาเนินการให้กลยุทธ์นั้นบังเกิดผล จากนั้นจึงจะกาหนดให้เห็นอย่างชัดเจนถึงที่มาของเงินทุนที่ต้องการใช้ว่ า สามารถจัดหาได้จากแหล่งเงินทุนใด เช่น รายได้ค่าธรรมเนียมการศึกษา งบประมาณแผ่นดินหรือเงิน อุดหนุนจากรัฐบาล เงินทุนสะสมของหน่วยงาน เงินบริจาคจากหน่วยงานภายนอกหรือศิษย์เก่า หรือ มหาวิทยาลัยจะต้องมีการระดมทุนด้วยวิธีการอื่น ๆ อีกเพิ่มเติม เช่น การแปลงทรัพย์ สินทางปัญญาเป็น มูลค่า รวมทั้งมีการวิเคราะห์ต้นทุนของการดาเนินงานด้วย เช่น ต้นทุนต่อหน่วยในการผลิตบัณฑิตในแต่ละ หลั ก สู ต ร โดยที่ ร ะยะเวลาของแผนกลยุ ท ธ์ ท างการเงิ น จะเท่ า กั บ ระยะเวลาของแผนกลยุ ท ธ์ ข อง มหาวิทยาลัย 2. การประเมิน ในตัว บ่ งชี้ที่ 8.1 ใช้ว งรอบปีงบประมาณที่ ตรงกับปีการศึกษาที่รับประเมิน คือ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556) ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรจัดทาแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่ชัดเจนครอบคลุม 3-5 ปี

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


48

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชีท้ ี่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็นภารกิจของมหาวิทยาลัยตามที่กาหนดไว้ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งมหาวิทยาลัยต้อง สร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ ประเมินผลและพัฒนาการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยให้ เป็ น ไปตามนโยบาย เป้ าประสงค์ และระดับ คุณ ภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยมหาวิ ทยาลั ยและ หน่วยงานต้นสังกัด ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการวัดผลสาเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน รวมทั้งการรายงานผลการประกันคุณภาพต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน มีการประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมีนวัตกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดี การประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน ถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการสร้าง จิตสานึกให้เห็นว่าเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้เพื่อเป็น หลักประกันแก่สาธารณชนให้มั่นใจได้ว่ามหาวิทยาลัยสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและ พัฒนาการของหน่วยงาน และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 2. มี ก ารก าหนดนโยบายและให้ ค วามส าคั ญ เรื่ อ งการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน โดย คณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน 3. มีการกาหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของหน่วยงาน 4. มีการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การ ควบคุม ติดตามการดาเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพเสนอต่อคณะกรรมการประจาหน่วยงาน และมหาวิทยาลัย ตามกาหนดเวลา โดยเป็นรายงานที่มี ข้อมูลครบถ้วนตามที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนดใน CHE QA Online และ 3) การนา ผลการประเมินคุณภาพไปทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยงาน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


49

5. มีการนาผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุงการทางาน และส่งผลให้ มีการ พัฒนาผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้ 6. มี ร ะบบสารสนเทศที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล สนั บ สนุ น การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในครบ ทุ ก องค์ประกอบที่หน่วยงานรับการประเมิน 7. มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะผู้ใช้บริการตาม พันธกิจของหน่วยงาน 8. มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างหน่วยงานภายใน มหาวิทยาลัย และมีกิจกรรมร่วมกัน 9. มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจัยด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่หน่วยงานพัฒนาขึ้น และ เผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นสามารถนาไปใช้ประโยชน์ เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 9 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 หรือ 6 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 7 หรือ 8 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 9 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


50

องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.1 จานวนฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่ได้รบั การพัฒนาหรือปรับปรุง ให้สามารถใช้รว่ มกันได้ทั้งมหาวิทยาลัย ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจให้สอดรับกับ นโยบายและการวางแผนระดับมหาวิทยาลัย เพื่อให้เป็นระบบที่สมบูรณ์สามารถเชื่อมโยงกับทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกเป็นระบบที่ใช้งานได้ เพื่อการบริหารการวางแผนและการตัดสินใจของ ผู้บริหารทุกระดับ การปฏิบัติงานตามภารกิจทุกด้านของบุคลากร การติดตามตรวจสอบและประเมินการ ดาเนินงานตลอดจนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนามหาวิทยาลัย ทั้งนี้ระบบดังกล่าวต้องมีความสะดวกในการ ใช้งาน โดยประเมินจากความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 7 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพภายใต้การเรียนการสอนที่ทันสมัยตามเกณฑ์มาตรฐานของ ชาติและสากล รวมทั้งเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก ยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ และพัฒนานวัตกรรมที่สร้างมูลค่าเพิ่มหรือใช้ ประโยชน์ให้กับชุมชนและสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และบริการวิชาการชั้นนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการนาทุนทางวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมและภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและยกระดับการบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยให้ได้รับการยอมรับและพัฒนาเป็น มหาวิทยาลัยในระดับสากล ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนาสู่มหาวิทยาลัยสีเขียวและรักษ์สิ่งแวดล้อม เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการได้อย่างน้อย 5 ยุทธศาสตร์

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


51

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 1 ยุทธศาสตร์

คะแนน 2 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 2 ยุทธศาสตร์

คะแนน 3 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 3 ยุทธศาสตร์

คะแนน 4 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 4 ยุทธศาสตร์

คะแนน 5 มีฐานข้อมูลสนับสนุน ได้อย่างน้อย 5 ยุทธศาสตร์

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


52

ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.2 การพัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์ มีการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้วยการ พัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเผยแพร่แหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ โดยมี การนาผลการประเมินระบบและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้มาพัฒนาและ ปรับปรุงแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เกณฑ์มาตรฐาน: 1. มีกระบวนการพัฒนาระบบแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ 2. มีแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกับพันธกิจของสานัก คอมพิวเตอร์อย่างน้อยปีการศึกษาละ 2 รายวิชา 3. มีแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้อย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 โครงการ 4. มีการเผยแพร่แหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น 5. มีการประเมินประสิทธิภาพระบบและมีการประเมินผลความพึงพอใจของการใช้บริการแหล่ง นวัตกรรมการเรียนรู้ ไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 และมีการนาข้อมูลจากการประเมินมาปรับปรุงและ พัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


53

ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.3 ความมีเสถียรภาพของการให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลัก ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์ ให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลักอย่างต่อเนื่อง และมี เสถีย รภาพของการให้ บ ริ การระบบเครื อข่า ยคอมพิว เตอร์ ห ลั ก โดยการเชื่อมโยงโครงข่ายพื้นฐานที่ มี ประสิทธิภาพและครอบคลุมพื้นที่ของการให้บริการ มีความเร็วและคุณภาพการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพื่อให้ ผู้ใช้บริการเข้าถึงและแลกเปลี่ยนข้อมูล และมีระบบเครือข่ายสารองในกรณี ฉุกเฉิน การให้บริการต่างๆ ที่ กล่าวมาข้างต้น จะอยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค ครอบคลุม ทั่วถึง เพียงพอต่อสัดส่วนปริมาณการใช้ งานทรัพยากรสารสนเทศของผู้รับบริการ และภายใต้มาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ การเข้าถึงคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต (Compliance) เพื่อให้การให้บริการดังกล่าวสามารถตอบสนอง เป้าประสงค์ของมหาวิทยาลัยที่ต้องการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาสนับสนุนการเรียนการ สอน การพัฒนานิสิต การวิจัย การบริการวิชาการ และอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกณฑ์มาตรฐาน: 1. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ในการให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความปลอดภัย (Security) 3. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความมั่นคง (Stability) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของระบบที่ ให้บริการ 4. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความรวดเร็ว (Speed) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของระบบที่ ให้บริการ 5. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไม่สามารถให้บริการได้ (Downtime) ไม่เกินร้อยละ 5 ของ ระยะเวลาที่ให้บริการตลอดปี เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


54

หมายเหตุ Downtime หมายถึง ระยะเวลาในการที่ระบบหยุดให้บริการ โดยนับตามที่กาหนดไว้ใน SLA Service Level Agreement (SLA) หมายถึง เป็นข้อตกลงของระดับของการบริการระหว่างผู้ให้บริการกับ ผู้รับบริการ ซึ่งอาจไม่เกี่ยวข้องกับ High Availability เพราะไม่จาเป็นต้องระดับ 90% ขึ้นไป

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


55

ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.4 ร้อยละความพึงพอใจของผูร้ บั บริการต่อการให้บริการของสานักคอมพิวเตอร์ ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์มีการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีการให้การแก่ ผู้รับบริการในแต่ละกระบวนงานบริการที่หน่วยงานจัดให้บริการ จานวน 10 งาน 1. งานบริการห้องคอมพิวเตอร์ 2. งานบริการซอฟต์แวร์ 3. งานบริการถ่ายทอดวิดีทัศน์ทางไกล 4. งานบริการระบบโทรศัพท์ 5. งานซ่อมบารุงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง 6. งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 7. งานพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ 8. งานพัฒนาระบบสารสนเทศ 9. งานบริการข้อมูลสารสนเทศ 10. งานพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่ ง การให้ บ ริ ก ารจะมี คุ ณ ภาพมากน้ อ ยเพี ย งใดจะสามารถสะท้ อ นได้ จ ากความพึ ง พอใจของ ผู้รับบริการโดยจะทาการวัดความสาเร็จของการดาเนินการให้บริการในกระบวนงานแต่ละงานของสานัก คอมพิวเตอร์จากสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการไม่น้อยกว่า 80 ผู้รับบริการ หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานมหาวิทยาลัย ลูกจ้างชั่วคราว และนิสิต ผู้มารับบริการโดยตรงทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกจากสานักคอมพิวเตอร์ เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการได้รอ้ ยละ 80 ขึน้ ไปจานวน 8 งานขึน้ ไป เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 2 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 3 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 4 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 5 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

จานวน 4 งาน

จานวน 5 งาน

จานวน 6 งาน

จานวน 7 งาน

จานวน 8 งานขึ้นไป

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


56

บรรณานุกรม สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 (ฉบับเดือนพฤศจิกายน 2553). กรุงเทพมหานคร : มปพ, 2553. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. คูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556. มหาสารคาม : ศูนย์พัฒนาและประกันคุณภาพ, พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน 2556.

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


57

ภาคผนวก

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


58

คาสั่งสานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ 203/2556 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์ เพื่ อให้การบริหารจัด การและพั ฒนาคุณภาพของส านักคอมพิว เตอร์เป็ น ไปด้ ว ยความเรีย บร้อยเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด สามารถตรวจสอบได้ และสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาศัยอานาจตามคาสั่งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ 0650/2553 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2553 เรื่อง

มอบอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ และมอบอานาจปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีให้ผู้อานวยการสถาบัน ผู้อานวยการส านัก ผู้อานวยการศูนย์ จึงแต่งตั้งบุคลากรดังรายชื่อท้ายคาสั่งเป็นคณะกรรมการพัฒนา คุณภาพสานักคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. คณะกรรมการอานวยการ 1.1 ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ประธานกรรมการ

1.2 รองผู้อานวยการทุกฝ่าย

กรรมการ

1.3 นายวงศวัฒน์ เทพาศักดิ์

กรรมการ

1.4 นายสุรจิต ธรรมจักร์

กรรมการ

1.5 นายไพฑูรณ์ ศรีพลลา

กรรมการ

1.6 นายธนศาสตร์ สุดจริง

กรรมการ

1.7 นายดุลยเทพ ภันทรโกศล

กรรมการ

1.8 นางสาวณภัทชา ไชยสิงห์

กรรมการ

1.9 นายรัชพงษ์ ทะลาสี

กรรมการ

1.10 หัวหน้าสานักงานเลขานุการ

กรรมการและเลขานุการ

1.11 นางธิรดา บุญโชติยกุล

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

1.12 นางลัดดา ศรีเอี่ยม

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


59

1.13 นางชัชฎาพร ศิลปดอนบม

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

1.14 นางสิรีวรรณ ตติยรัตน์

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน้าที่รับผิดชอบ 1) กาหนดนโยบายและระบบพัฒนาคุณภาพ รวมทั้งแผนดาเนินงานพัฒนาคุณภาพของสานัก คอมพิวเตอร์ 2) ส่งเสริม สนับสนุน ให้คาปรึกษา แนะนา ในการดาเนินงานให้แก่คณะกรรมการต่างๆ เพื่อให้ การดาเนินการเป็นไปตามกรอบทิศทางและแนวทางที่กาหนด 3) กากับ ติดตามและเร่งรัดให้คณะกรรมการแต่ละคณะดาเนินงานและรายงานอย่างเป็นระบบ 4) พิจารณาผลการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพแต่ละคณะ 5) ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดาเนินงานเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพแต่ละคณะกรรมการเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ 6) งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. คณะกรรมการดาเนินงาน 2.1 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน สานักคอมพิวเตอร์ 2.2 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา สานักคอมพิวเตอร์ 2.3 คณะกรรมการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 2.4 คณะกรรมการจัดการความรู้ สานักคอมพิวเตอร์ โดยมีรายชื่อคณะกรรมการดาเนินงานในข้อ 2 และหน้าที่ความรับผิดชอบดังเอกสารแนบท้ายคาสั่ง ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


60

เอกสารแนบท้ายคาสั่งสานักคอมพิวเตอร์ ที่ 203/2556 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2556 ที่ปรึกษา 1. ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์ 2. หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์ หน้าที่รับผิดชอบ 1) กาหนดนโยบาย กรอบแนวทาง และทิศทางการดาเนินงาน และกากับ พิจารณากลั่นกรอง การ ดาเนินงานตามแผน หรือแนวปฏิบัติที่กาหนด ให้กับคณะกรรมการดาเนินงานทุกฝ่าย 2) ส่งเสริม สนับสนุน ให้คาปรึกษาแนะนาในเรื่องต่างๆ และอานวยความสะดวกในการดาเนินงาน แก่คณะกรรมการดาเนินงานทุกฝ่าย เพื่อให้เป็นไปตามกรอบทิศทางและแนวทางที่กาหนด 2. คณะกรรมการดาเนินงาน 2.1 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน สานักคอมพิวเตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.1.1 นางชัชฎาพร ศิลปดอนบม

ประธานกรรมการ

2.1.2 นายสิทธิ์ เอมดี

กรรมการ

2.1.3 นายธนศาสตร์ สุดจริง

กรรมการ

2.1.4 นายวงศวัฒน์ เทพาศักดิ์

กรรมการ

2.1.5 นายสถาพร ไชยปัญหา

กรรมการ

2.1.6 นายรัชพงษ์ ทะลาสี

กรรมการ

2.1.7 นายเรืองศักดิ์ แสงยศ

กรรมการ

2.1.8 นางสาวณภัทชา ไชยสิงห์

กรรมการและเลขานุการ

2.1.9 นางสาวอรวรรณ ประกอบกิจ

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


61

หน้าที่รับผิดชอบ 1) ดาเนินการวิเคราะห์ และระบุปัจจัยเสี่ยงที่อาจจะส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย ความ ล้มเหลว ลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายขององค์กร รวมทั้งจัดลากับความสาคัญของปัจจัยเสี่ยงในแต่ละ ด้าน 2) ดาเนินการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงในแต่ละด้าน ทั้งระดับสานักฯ และยุทธศาสตร์ ตาม ระบบการบริหารความเสี่ยงภายใต้มาตรฐาน COSO เสนอต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุม ภายใน โดยแผนดังกล่าวต้องกาหนดมาตรการ หรือแผนปฏิบัติการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับ บุคลากรทุกระดับ ในด้านการบริหารความเสี่ยงและการแก้ไข ลด หรือป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอย่าง เป็นรูปธรรม 3) กาหนดหลักเกณฑ์ความเสี่ยงแต่ละด้าน เพื่อเป็นเอกสารประกอบการจัดทาคู่มือการบริหาร ความเสี่ยง ทบทวน สอบทานแผนบริหารความเสี่ยง 4) เสนอแนะมาตรการ หลักการ และแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาศักยภาพการบริหารความเสี่ยง และควบคุมภายในให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 5) ติดตามผลการดาเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยงและกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา ความเสี่ยง รวมทั้งข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยง 6) ดาเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลภาพรวมตามยุทธศาสตร์การพัฒนาสานักคอมพิวเตอร์ในด้าน ต่างๆ ตลอดจนผลการดาเนินงานของหน่วยงานภายในสานักฯ เพื่อ สนับสนุนข้อมูลสารสนเทศสาหรับการ บริหารจัดการความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพและครบถ้วน 7) ประสานงานกับ ผู้รับ ผิดชอบประเด็นความเสี่ยง เพื่อดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติงาน หรือ ปฏิทิ น ที่ก าหนดการประชุ มที่ชั ดเจน และติด ตามผลการด าเนินงานตามแผนการบริห ารความเสี่ ยงที่ ผู้รับผิดชอบนาไปดาเนินการ และกาหนดแนวทาง ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยง และ เสนอรายงานต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน และเสนอมหาวิทยาลัยตามลาดับ 8) งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


62

2.2 คณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิว เตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.2.1 นางลัดดา ศรีเอี่ยม

ประธานกรรมการ

2.2.2 นายสุรเชษฐ์ ตั้งทรัพย์สกุล

กรรมการ

2.2.3 นายปิยะพงษ์ มูลศรีแก้ว

กรรมการ

2.2.4 นายสกุล สาวิสิทธิ์

กรรมการ

2.2.5 นางสาวศิริรัตน์ จันไต้

กรรมการ

2.2.6 นายชาญวิทย์ ภาแกดา

กรรมการ

2.2.7 นายศุภชัย มาฤทธิ์

กรรมการ

2.2.8 นายปุญญพัฒน์ เปนนาม

กรรมการ

2.2.9 นายวิทยา ชื่นชม

กรรมการและเลขานุการ

2.2.10 นายสุรจิต ธรรมจักร์

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน้าที่รับผิดชอบ 1) พิจารณาและวิเคราะห์งานเพื่อกาหนดตัวบ่งชี้ ดัชนีชี้วัดความสาเร็จและเกณฑ์การประเมินที่ สอดคล้องกับภารกิจหลักของหน่วยงาน และเกณฑ์การประเมินที่มหาวิทยาลัย สกอ. และสมศ. กาหนด 2) กาหนดแนวทางการดาเนินงาน มอบหมายผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้ เพื่อจัดทาแผนการดาเนินงาน และแผนพัฒนาคุณภาพด้านการประกันคุณภาพของหน่วยงาน 3) จัดทาแผนดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของสานักคอมพิวเตอร์พร้อมดาเนินงานตาม แผน 4) จั ด ท าแผนพั ฒ นาประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของหน่ ว ยงานและรายงานความก้ า วหน้ า ต่ อ คณะกรรมการประจาสานักและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 5) ติดตาม รวบรวม วิเคราะห์และสรุปผลการดาเนินงานจากผู้รับผิดชอบ รวมทั้งข้อเสนอแนะใน การปรับปรุงผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานสรุปผลการประเมินเสนอศูนย์พัฒนาและประกันคุณภาพ การศึกษา

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


63

6) จัดให้มีการประเมินผลการประกันคุ ณภาพภายในจากผู้ทรงคุณวุฒิตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัย ก าหนด รวมถึ ง การประสานงานอื่ น ๆ เช่ น ประสานงานผู้ ป ระเมิ น ศู น ย์ พั ฒ นาและประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา 7) ดาเนิน การแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาการดาเนินงานตามผลการประเมินและข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 8) วิเคราะห์ข้อมูล/เอกสารก่อนผู้รับผิดชอบจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลผ่านระบบ CHE QA Online 9) รับผิดชอบการดาเนินงานตัวชี้วัดหลักที่เกี่ยวข้องระดับมหาวิทยาลัย (ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 และตัวบ่งชี้ ที่ 7.3) 10) งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 2.3 คณะกรรมการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติ ราชการ สานักคอมพิวเตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.3.1 นางธิรดา บุญโชติยกุล

ประธานกรรมการ

2.3.2 นายวัชรชัย วีรกุลเกษตร

กรรมการ

2.3.3 นายดุลยเทพ ภัทรโกศล

กรรมการ

2.3.4 นายประยุทธ์ จ้อยนุแสง

กรรมการ

2.3.5 นายสหัสธรรม แสนแก้ว

กรรมการ

2.3.6 นายเฉลิมพล อกอุ่น

กรรมการ

2.3.7 นายไพศาล หมั่นตลุง

กรรมการ

2.3.8 นายสุเทพ อรัญมิตร

กรรมการ

2.3.9 นางสาวบัณฑิตา อวิโรธน์

กรรมการและเลขานุการ

2.3.10 นายไพฑูรณ์ ศรีพลลา

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


64

หน้าที่รับผิดชอบ 1) ประสานงานการจัดทารายละเอียดตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการตามคา รับรองการปฏิบัติราชการ 2) บันทึกตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการใน ระบบบริหารยุทธศาสตร์ 3) จัดทาคู่มือการประเมินการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 4) จัดทาปฏิทินรายงานผลการดาเนินงานและมอบหมายผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการ ตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 5) ให้คาแนะนา ชี้แจงเงื่อนไข วิธีการดาเนินการ และประสานงานกับผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดเพื่อให้ การจัดทาข้อมูลถูกต้องสมบูรณ์ 6) ติดตาม ตรวจสอบผลการดาเนินงาน การแนบหลักฐานอ้างอิงและยืนยันผลการดาเนินงานตาม คารับรองการปฏิบัติราชการในระบบบริหารยุทธศาสตร์ 7) รายงานผลการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการเสนอผู้บริหารและที่ประชุมบุคลากร ประจาทุกเดือน 8) จัดทารูปเล่มรายงานผลการดาเนินงานการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือน จัดส่งศูนย์พัฒนาและประกันคุณภาพ 9) งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 2.4 คณะกรรมการดาเนินงานจัดการความรู้ สานักคอมพิวเตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.4.1 นางสิรีวรรณ ตติยรัตน์

ประธานกรรมการ

2.4.2 นายกรธวัฒน์ มณีชม

กรรมการ

2.4.3 นางสาวสุกัญญา สิตวัน

กรรมการ

2.4.4 นายวีระศักดิ์ ศรีวงยาง

กรรมการ

2.4.5 นายวิระ เมฆวัน

กรรมการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


65

2.4.6 นายจตุพล ไชยโสดา

กรรมการ

2.4.7 นายสุชาติ สงหมื่นไวย์

กรรมการ

2.4.8 นายบุญฤทธิ์ สุขี

กรรมการ

2.4.9 นายรัตนเดช ชมภูนุช

กรรมการและเลขานุการ

2.4.10 นายนพนัย เนื่องอุดม

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน้าที่รับผิดชอบ 1) ส ารวจประเด็ น ความรู้ ก าหนดกลุ่ ม เป้ า หมาย และจั ด ท าแผนจั ด การความรู้ ใ นส านั ก คอมพิวเตอร์โดยการกาหนดนโยบาย 2) จัดทาแผนการจัดการความรู้ของสานักคอมพิวเตอร์ กาหนดแนวทางการดาเนินงาน การกากับ ดูแลและการให้คาแนะนาในการจัดการความรู้ทั้งองค์กร 3) ส่งเสริมการนากระบวนการจัดการความรู้มาใช้ในหน่วยงานภายในสานักคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอทั่วทั้งองค์กร 4) ส่งเสริมและสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านกระบวนงานภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อ มุ่งให้เกิดวัฒนธรรมการทางานขององค์กรและนาไปสู่การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และสนับสนุนความ ร่ว มมือกับ หน่ วยงานอื่น พร้ อมน าระบบฐานข้อมูล สารสนเทศมาใช้ในการจัดการความรู้และสามารถ เชื่อมต่อกับหน่วยงานภายนอก และเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์หรือบล็อก 5) ติดตามและพิจารณาผลการจัดการความรู้ของสานักฯ ให้เป็นไปตามแนวทางที่กาหนด ส่งเสริม และสนั บสนุน ความร่วมมือ พร้อมรายงานผลต่อผู้บริห ารหน่วยงานและมหาวิทยาลั ยตามระยะเวลาที่ กาหนด 6) งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


66

ผูจ้ ดั ทา ที่ปรึกษา นางสาวสุพิน ไตรแก้วเจริญ

ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

นางสาวพัตชบูล กิ่งพุ่ม

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

วิเคราะห์ข้อมูล/จัดทารูปเล่ม คณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ 1. นางลัดดา ศรีเอี่ยม

ประธานกรรมการ

2. นายสุรเชษฐ์ ตั้งทรัพย์สกุล

กรรมการ

3. นายปิยะพงษ์ มูลศรีแก้ว

กรรมการ

4. นายสกุล สาวิสิทธิ์

กรรมการ

5. นางสาวศิริรัตน์ จันไต้

กรรมการ

6. นายชาญวิทย์ ภาแกดา

กรรมการ

7. นายศุภชัย มาฤทธิ์

กรรมการ

8. นายปุญญพัฒน์ เปนนาม

กรรมการ

9. นายวิทยา ชื่นชม

กรรมการและเลขานุการ

10. นายสุรจิต ธรรมจักร์

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ผูใ้ ห้ข้อมูล บุคลากรสังกัดสานักคอมพิวเตอร์ทุกท่าน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


คานา สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้จัดทาคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามนโยบายและ แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาของสานักคอมพิวเตอร์ และเพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยกาหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพให้สอดคล้องกับ กรอบการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยมหาสารคามและให้มีความสอดคล้องกับแนวทางของ ส านั กงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดยคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อนาเสนอรายละเอียดของตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพและเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการ กากับและพัฒ นาคุณภาพของสานักคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิท ธิภ าพและเกิดประสิทธิผล รวมทั้งสร้าง ผลผลิตที่สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายของสานักคอมพิวเตอร์และมหาวิทยาลัยมหาสารคามต่อไป

(นางสาวสุพิน ไตรแก้วเจริญ) ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์


สารบัญ ส่วนที่ 1

หน้า การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์ ระบบการประกันคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

1

กลไกการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

2

นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์

3

นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555

6

แนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผลการประเมิน คุณภาพภายใน 2

11

การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ความจาเป็นและวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา

13

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกันคุณภาพการศึกษา

15

กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565)

16

การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา

18

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

19

การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและ การประเมินคุณภาพภายนอก 3

25

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษา ของสานักคอมพิวเตอร์ ความหมาย วิธีการรายงาน สูตรการคานวณ และเกณฑ์การประเมินของตัวบ่งชี้

26

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

27

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน

27

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

31

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

33

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน

35

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้

39

ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง

41

ตัวบ่งชี้ที่ 7.6 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน

44

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

46

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

48

องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 จานวนฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่ ได้รับการพัฒนาหรือปรับปรุงให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ทั้งมหาวิทยาลัย ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 การพัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้

50 52

ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 ความมีเสถียรภาพของการให้บริการระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์หลัก

53

ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ ของสานักคอมพิวเตอร์ บรรณานุกรม ภาคผนวก

56 คาสั่งสานักคอมพิวเตอร์ ที่ 203/2556 แต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์

ผู้จัดทา

55

57 66

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 (1 มิถนุ ายน 2556 ถึง 31 พฤษภาคม 2557)

สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


คานา สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้จัดทาคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามนโยบายและ แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาของสานักคอมพิวเตอร์ และเพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยกาหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพให้สอดคล้องกับ กรอบการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยมหาสารคามและให้มีความสอดคล้องกับแนวทางของ ส านั กงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดยคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อนาเสนอรายละเอียดของตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพและเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการ กากับและพัฒ นาคุณภาพของสานักคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิท ธิภ าพและเกิดประสิทธิผล รวมทั้งสร้าง ผลผลิตที่สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายของสานักคอมพิวเตอร์และมหาวิทยาลัยมหาสารคามต่อไป

(นางสาวสุพิน ไตรแก้วเจริญ) ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์


สารบัญ ส่วนที่ 1

หน้า การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์ ระบบการประกันคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

1

กลไกการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

2

นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์

3

นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555

6

แนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผลการประเมิน คุณภาพภายใน 2

11

การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ความจาเป็นและวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา

13

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกันคุณภาพการศึกษา

15

กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565)

16

การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา

18

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

19

การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและ การประเมินคุณภาพภายนอก 3

25

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษา ของสานักคอมพิวเตอร์ ความหมาย วิธีการรายงาน สูตรการคานวณ และเกณฑ์การประเมินของตัวบ่งชี้

26

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

27

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน

27

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

31

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

33

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน

35

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้

39

ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง

41

ตัวบ่งชี้ที่ 7.6 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน

44

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

46

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

48

องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 จานวนฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่ ได้รับการพัฒนาหรือปรับปรุงให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ทั้งมหาวิทยาลัย ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 การพัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้

50 52

ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 ความมีเสถียรภาพของการให้บริการระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์หลัก

53

ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ ของสานักคอมพิวเตอร์ บรรณานุกรม ภาคผนวก

56 คาสั่งสานักคอมพิวเตอร์ ที่ 203/2556 แต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์

ผู้จัดทา

55

57 66

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


1

ส่วนที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์ 1. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ วงรอบปีการศึกษา 2556 ได้ ดาเนินการตามประกาศนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ ก าหนดประกาศนโยบายการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในของส านั ก คอมพิ ว เตอร์ ส อดคล้ อ งกั บ มหาวิทยาลัยเพื่อใช้ในการปฏิบัติ และดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์ โดยให้บุคลากรของหน่วยงานทุกคนมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน ด้า นการปฏิ บั ติ ร าชการ การจั ด การความรู้ และการบริ ห ารความเสี่ ย งและควบคุ ม ภายในขั บ เคลื่ อ น กระบวนการด าเนิ น งานตั ว บ่ ง ชี้ แ ละตั ว ชี้ วั ด ที่ ด าเนิ น การด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา และ คณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสานักคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่กาหนดแนวทาง กากับ ติดตามการดาเนินงาน และการขับเคลื่อนการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ สานักคอมพิว เตอร์ กาหนดให้มีการประชุมเดือนละ 1 ครั้ง เมื่อที่ประชุมมีมติพิจารณาให้ความ เห็นชอบในประเด็นที่เป็นเชิงนโยบายแล้ว จะนาเสนอเพื่อบรรจุวาระในที่ประชุมคณะกรรมการประจา สานักคอมพิวเตอร์ พิจารณาให้ข้อเสนอแนะและความเห็นชอบอีกครั้งหนึ่ง เช่น แผนการดาเนินงานประกัน คุณภาพ ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ของหน่วยงาน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฯลฯ กรอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในจะกาหนดตามพันธกิจหลัก และใช้กรอบการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ ซึ่งสานักคอมพิวเตอร์เป็นหน่วยงานสนับสนุนการเรียน การสอน การติดตามผลการดาเนินงานตามกรอบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ดาเนินการทุก 3 เดือน และรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน คณะกรรมการประจาสานัก คอมพิวเตอร์ และมหาวิทยาลัยตามลาดับ แผนการประกันคุณภาพการศึกษาของแต่ละปีการศึกษา จะจัดทาแผนให้มีความสอดคล้องกับแนว ทางการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม และส านั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา โดยจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) เพื่อรับประเมินคุณภาพการศึกษาภายในช่วงเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตามจานวนและคุณสมบัติที่

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


2

สกอ. กาหนดเกณฑ์ไว้ หลังจากนั้นจะจัดส่งผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในเสนอมหาวิทยาลัย ต่อไป หลังจากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในแล้ว สานักคอมพิวเตอร์ จะประชุมคณะกรรมการ ดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อทบทวนผลการดาเนินงานตามผลการ ประเมิน ข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ ในการดาเนินงานของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และ ทบทวนปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ของการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในโดยให้บุคลากรจากทุก งานมีส่ ว นร่ ว ม รวมถึ งน าข้อ สนเทศจากการประเมินมาประกอบการทบทวน และจัดท าแผนประเมิ น คุณภาพการศึกษา (Improvement Plan) จากผลการประเมินวงรอบปีการศึกษาที่ผ่านมา และมีกลไกการ ยกย่องและสร้างแรงจูงใจแก่งานที่มีผลสาเร็จจากการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของแต่ละวงรอบปี การศึกษา และให้ผู้รับผิดชอบนาเสนอแนวปฏิบัติที่ดีในการดาเนินงานตัวชี้วัดที่ มีผลคะแนนในระดับดีมาก ให้บุคลากรทุกคนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และนาเผยแพร่ในการประชุมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 2. กลไกการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ 2.1 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4 คณะกรรมการดาเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ 2.2 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ (Improvement Plan) จากผลการประเมิน คุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 2.3 ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมประกันคุณภาพการศึกษา เช่น อบรมให้ ความรู้และทักษะด้านการ ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาส าหรั บ บุ ค ลากรใหม่ แ ละยั ง ไม่ มี ค วามรู้ อบรมหลั ก สู ต รผู้ ป ระเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษา อบรมหลักสูตรผู้ปฏิบัติหน้าที่กองเลขานุการผู้ประเมินคุณภาพภายใน อบรมหลักสูตรเครือข่าย การดาเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฯลฯ 2.4 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในในการประชุมบุคลากร 2.5 การประชุมคณะกรรมการและอนุกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์ กาหนดให้มีการประชุมเดือนละ 1 ครั้ง 2.6 การเผยแพร่ข้อมูลและเอกสาร 2.6.1 รายงานผลการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 2.6.2 รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) วงรอบปีการศึกษา 2555

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


3

2.6.3 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Improvement Plan) จากผลการประเมินวงรอบปีการศึกษา 2555 2.6.4 คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ วงรอบปีการศึกษา 2556 2.6.5 แผนการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 2.7 การยกย่องและสร้างแรงจูงใจ โดยจัดให้ผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้หรืองานที่มีผลประเมินการดาเนินงาน ผ่านการประเมินอยู่ในระดับดีมาก ได้มาถ่ายทอดประสบการณ์ในการทางานการจัดเก็บและรายงานข้อมูล โดยดาเนินการในรูปของการจัดการความรู้ 3. นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์ สานักคอมพิวเตอร์ ได้ตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นของการประกันคุณภาพการศึกษา ตามสาระสาคัญที่ระบุในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ประกอบกับพระราชบั ญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และ กฎกระทรวงว่าด้ว ยระบบ หลั กเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 โดยส านั ก คอมพิวเตอร์มุ่งที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับหน่วยงานอย่างยั่งยืนในการดาเนินงานตามภารกิจหลัก ของหน่วยงานคือ เป็นหน่วยงานกลางที่สนับสนุนภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยมหาสารคามด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ และเพื่อให้การดาเนินการประกันคุณภาพของสานักคอมพิวเตอร์เป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึง ได้นานโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาสารคามมาเป็นกรอบเพื่อกาหนดนโยบาย การประกันคุณภาพของสานักคอมพิวเตอร์ ประกาศเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2556 ดังนี้ 1. จัดระบบและกลไกประกันคุณภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้สอดคล้องกับแผนและการ ดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย 2. พัฒนาบุคลากรของหน่วยงานให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาและ เห็นความสาคัญของการประกันคุณภาพการปฏิบัติงาน 3. เร่งรัดและควบคุมคุณภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสังกัดสานักคอมพิวเตอร์ โดยกาหนดให้ ดาเนิ น การประกัน คุ ณ ภาพในฐานะเป็ น หน่ ว ยงานสนับ สนุ นวิ ช าการ ซึ่ง จะเน้ น องค์ ป ระกอบส าคั ญ ที่ เกี่ยวข้องกับภารกิจของสานักคอมพิวเตอร์ในด้านการบริการ 4. กาหนดตัวบ่งชี้ตามภารกิจหลักและเป็นอัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


4

5. จั ดท าแผนงาน โครงการ และกิจ กรรมที่ ตรงกับภารกิ จของหน่ ว ยงานและสอดคล้ อ งกั บ องค์ประกอบและดัชนีบ่งชี้คุณภาพที่กาหนดไว้และเผยแพร่ให้ทราบทั่วกัน 6. ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพ และปฏิบัติงานครบวงจรคุณภาพโดย การกาหนดความรับผิดชอบให้กับบุคลากรทุกคน และใช้กระบวนการประกันคุณภาพเป็นกลไกช่วยในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรทุกคน 7. ส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานอื่นๆ ในกิจกรรมด้านการ ประกันคุณภาพ 4. นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัย มหาสารคามได้ตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นของการประกันคุณภาพ การศึกษา ตามสาระสาคัญที่ระบุในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และ กฎกระทรวงว่ า ด้ ว ยระบบหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2553 โดยมหาวิทยาลัยมหาสารคามมุ่งมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพ การศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างยั่งยืน อันแสดงถึงปณิธานและความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ ในการดาเนินภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยคือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน และการท านุ บ ารุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น การด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพเป็ น ไปอย่ า ง สอดคล้องในทิศทางเดียวกันทั่วทั้งมหาวิทยาลัย จึงได้กาหนดนโยบายด้านประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (ประกาศมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2556) ดังนี้ 1) มหาวิทยาลัย จะส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเป็นเครื่องมือและกลไก พื้นฐานในการพัฒนาและบริหารมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องมุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ยั่งยืน และ รองรับการถูกประเมินจากสถาบันและองค์กรภายนอกเพื่อแสดงให้เห็นศักยภาพของการพัฒนาสถาบันสู่ สากล 2) ทุกคณะวิชาที่จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งทุกแห่งต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการจัดการศึกษา นอกสถานที่ตั้งตามประกาศของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 3) หลักสูตรวิชาชีพต้องได้รับการรับรองคุณภาพการจัดการศึกษาจากสภาวิชาชีพ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


5

4) ทุ ก หลั ก สู ต รต้ อ งปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รให้ ส อดคล้ อ งและเป็ น ไปตามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับ อุด มศึก ษาแห่ ง ชาติ (TQF) มี ค วามพร้ อมเข้ า สู่ ต ลาดแรงงานของอาเซีย น และแล้ ว เสร็ จภายใน ระยะเวลาที่ สกอ. กาหนด 5) มหาวิ ท ยาลั ย จะส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาหลั ก สู ต รให้ ส อดคล้ อ งกั บ ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ของ สถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการประกัน คุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อรองรับการพัฒนาสู่อาเซียนและสากล 6) มหาวิทยาลัยจะวางระบบและกลไกการตรวจสอบและประเมินผลการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งภายในและภายนอก ตั้งแต่ระดับหลักสูตร สาขาวิชา ภาควิชา สานักวิชาคณะวิชา และระดับสถาบัน เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานและได้รับการรับรองคุณภาพภายนอกรอบที่สี่ 7) คณะวิชาที่มีการจั ดการศึกษาร่วมหรือมีความร่วมมื อในการจัดการศึกษากับหน่วยงานหรือ องค์กรอื่น ต้องมีการวางระบบและกลไกการดาเนินงาน การตรวจสอบและประเมินผลการประกันคุณภาพ การศึกษาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง โดยให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของคณะวิชานั้นๆ 8) ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนทุกสายงานมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพ และปฏิบั ติงานครบวงจร คุณภาพ โดยกระจายอานาจและความรับผิดชอบให้ทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย และใช้กระบวนการ ประกันคุณภาพเป็นวัฒนธรรมการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงาน 9) ส่งเสริมและสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อมุ่งให้เกิดวัฒนธรรมการทางานขององค์กร และนาไปสู่การสร้างนวัตกรรมหรือแนวปฏิบัติที่ดี หรือมีผล การดาเนินงานด้านต่างๆ ที่ก่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยเพื่อนาไปสู่องค์กรแห่งการ เรียนรู้ 10) ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ใ นระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัย สู่ นิ สิตและบุ คลากร เพื่อให้ มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะและมีส่ วนร่วมในระบบประกัน คุณภาพการศึกษา เพื่อส่งเสริมการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยให้มีความเข้มแข็ง รวมทั้งให้มีการ ประกันคุณภาพกิจกรรมหรือโครงการของนิสิตและบุคลากรด้วย 11) ส่งเสริมและสนับสนุนความร่ว มมือกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานอื่นๆ ในกิจกรรมด้านการ ประกันคุณภาพ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


6

12) สนั บ สนุ น การน าระบบฐานข้อ มู ล และสารสนเทศมาใช้ ในการประกั นคุ ณภาพให้ ค รบทุ ก องค์ประกอบคุณภาพ และสามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และระดับสถาบัน รวมทั้งสามารถเชื่อมต่อกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ เช่น สกอ. สมศ. เป็นต้น 13) ส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นผลจากการดาเนินการประกันคุณภาพแก่สาธารณะเพื่อแสดง ความรับผิดชอบของสถาบันต่อสังคม 14) เชื่อมโยงผลการประเมินประกันคุณภาพกับการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทุก ระดับ 5. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555 คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในทาการศึกษาข้อมูลและตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ผลการดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามตามองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การ ประเมินคุณภาพภายในที่กาหนดเฉพาะสถานบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี (กลุ่ม ข) บูรณาการ ร่วมกับตัวบ่งชี้ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และอัตลักษณ์ของสานัก คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 21 ตัวบ่งชี้ ตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วงรอบปีการศึกษา 2555 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของสานักคอมพิวเตอร์ในภาพรวมพบว่า ค่าคะแนนที่ได้ เท่ากับ 4.63 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน)ต่ากว่าส านักคอมพิว เตอร์ประเมินตนเองคือ 4.65 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 5) หมายถึง ผลการดาเนินงานในภาพรวมของสานักคอมพิวเตอร์ได้คุณภาพระดับ ดีมาก และมติจากคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายในพิจารณาไม่นาตัวบ่งชี้ที่ 10.11 ร้อยละของ นิสิตชั้นปีสุดท้ายที่สอบผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนิสิตก่อน สาเร็จการศึกษา มาคานวณทั้งตัวตั้งและตัวหารผลการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของสานัก คอมพิวเตอร์ ซึ่งสานักคอมพิวเตอร์ได้ดาเนินการพัฒนาระบบและจัดทาข้อสอบสาหรับการทดสอบเสร็จ เรียบร้อยเพื่อจะทาการทดสอบนิสิตชั้ นปีสุดท้ายก่อนที่จะสาเร็จการศึกษาของภาคการศึกษาที่ 2/2555 เนื่องจากมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ครั้งที่ 19/2555 เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2555 ให้แต่งตั้งคณะทางานกาหนดแนวทางการดาเนินการทดสอบความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษ (MSU English Exit-Exam) และการทดสอบความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (MSU IT Exit-Exam) ก่อนสาเร็จการศึกษา และที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ครั้งที่

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


7

9/2556 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 เห็นชอบแนวทางการดาเนินงานการทดสอบความรู้ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนิสิตก่อนสาเร็จการศึกษา (MSU IT Exit-Exam) จึงทาให้การดาเนินงานไม่ เป็นไปตามแผนการดาเนินงานที่สานักคอมพิวเตอร์กาหนดไว้ และเมื่อพิจารณาผลการดาเนินงานรายตัว บ่งชี้พบว่า ตัวบ่งชี้ที่มีผลการดาเนินงานระดับดีมาก (5 คะแนน) จานวน 14ตัวบ่งชี้ คิดเป็นร้อยละ70 ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 ผลการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนโดยเน้นความยั่งยืน ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 ระดับความสาเร็จการให้บริการซ่อมบารุงและติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ต่อพ่วง ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 ระดับความสาเร็จการให้บริการห้องคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.5 ระดับความสาเร็จการให้บริการด้านซอฟท์แวร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.6 ระดับความสาเร็จการให้บริการถ่ายทอดวีดีทัศน์ทางไกล ตัวบ่งชี้ที่ 10.7 ระดับความสาเร็จการบริการข้อมูลสารสนเทศ ตัวบ่งชี้ที่ 10.8 ระดับความสาเร็จของการพัฒนา การปรับปรุงและการให้บริการระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความมั่นคง ปลอดภัย รวดเร็ว ความต่อเนื่องและ ความพร้อมใช้งาน ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะในภาพรวม 1. ควรมีระบบและกลไกในการพัฒนาบุคลากรให้มีความก้าวหน้าตามสายงาน (ต้องมีนโยบาย แผน ขั้นตอน/กฎเกณฑ์ปฏิบัติ สรุปผลและทบทวนการทางาน) เช่น โครงการส่งเสริมการเข้าสู่ตาแหน่ง โครงการ ให้ความรู้การเขียนผลงานวิชาการและการวิจัย 2. ควรมีการประเมินผลการบริหารและผู้บริหารโดยคณะกรรมการประจาสานักคอมฯและมีการนา ผลการประเมินมาปรับปรุงอย่างเป็นรูปธรรม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


8

3. ควรมีการรวบรวมความรู้ของบุคลากรเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี 4. ควรปรับเกณฑ์การวัดความสาเร็จของตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ของหน่วยงานให้ชัดเจน 5. ให้มกี ารสารวจความต้องการในลักษณะอื่นๆ เช่น บริการกลุ่มย่อย 6. ให้มองบริการแบบผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง เช่น บริการ ณ ที่ตั้ง 1. จุดเด่นและข้อเสนอแนะรายองค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธานวัตถุประสงค์ และแผนการดาเนินการ องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต จุดแข็ง

แนวทางเสริม

จุดทีค่ วรพัฒนา

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 - ควรมีระบบและกลไกในการพัฒนาบุคลากรให้มี ความก้าวหน้าตามสายงาน (ต้องมีนโยบาย แผน ขั้นตอน/กฎเกณฑ์ปฏิบัติ สรุปผลและทบทวนการ ทางาน) เช่น โครงการส่งเสริมการเข้าสู่ตาแหน่ง โครงการให้ความรู้การเขียนผลงานวิชาการและการวิจัย

องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิต (ไม่ขอรับการประเมิน) องค์ประกอบที่ 4 การวิจยั (ไม่ขอรับการประเมิน) องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สงั คม (ไม่ขอรับการประเมิน) องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


9

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ จุดแข็ง

แนวทางเสริม

จุดทีค่ วรพัฒนา

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 1. ควรมีการรวบรวมความรู้เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 1. ควรมีการนาผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากสถาบัน ไปใช้ในการปรับแผนและวิเคราะห์ในรอบปีถัดไป

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ จุดแข็ง

แนวทางเสริม

จุดทีค่ วรพัฒนา

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 1. ควรจัดทาแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่ชัดเจนครอบคลุม 35 ปี

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องค์ประกอบที่ 10อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์ จุดแข็ง

แนวทางเสริม

จุดทีค่ วรพัฒนา

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 - ควรเปลี่ยนเกณฑ์การประเมินข้อ 2 ให้เป็นการนับจานวนโครงการแทน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


10

จุดทีค่ วรพัฒนา

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 - ควรปรับตัวชี้วัดให้ชัดเจน สอดคล้องกับการประกันคุณภาพ - ควรมีคู่มือการพัฒนาระบบและการวัดประสิทธิภาพและความ ปลอดภัยของระบบ ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 - ควรปรับตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินข้อ 2 ให้มีความชัดเจนขึ้น - ควรกาหนดเงื่อนไขในการนับเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 - ควรปรับตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินข้อ 2ให้มีความชัดเจนขึ้น ตัวบ่งชี้ที่ 10.5 - ควรปรับตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินข้อ 2ให้มีความชัดเจนขึ้น - ควรเพิ่มลิ้งในการเข้าถึงการดาวน์โหลดในหน้าเว็บมหาวิทยาลัยหรือ หน้าเว็บสานักคอมพิวเตอร์ด้วย ตัวบ่งชี้ที่ 10.6 - ควรปรับตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินข้อ 2ให้มีความชัดเจนขึ้น ตัวบ่งชี้ที่ 10.7 - ควรปรับตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินข้อ 2ให้มีความชัดเจนขึ้น ตัวบ่งชี้ที่ 10.8 - ควรมีกระบวนการดาเนินงานครบวงจรPDCA ตัวบ่งชี้ที่ 10.9 - ให้ทบทวนตัวบ่งชี้ตัวนี้โดยเฉพาะเกณฑ์ในการวัดความสาเร็จ เพราะ ไม่ปรากฏระดับความสาเร็จทุกตัว เช่น มีกระบวนการทางานแต่ไม่มี เกณฑ์ในการวัดระดับความสาเร็จ - เกณฑ์ในการวัดบางตัวต้องมีการทบทวนเพราะถึงแม้จะทาได้100% แต่ผลการประเมินผู้รบั บริการยังไม่อยู่ในระดับมาก ตัวบ่งชี้ที่ 10.10 - ควรมีการทดสอบครบทุกคณะ ตัวบ่งชี้ที่ 10.12 - ให้มีการสารวจความต้องการในลักษณะอื่นๆ เช่น บริการกลุ่มย่อย - ให้มองบริการแบบผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง เช่น บริการ ณ ที่ตั้ง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


11

ผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ

องค์ประกอบ

คะแนนการประเมินเฉลีย่

ระดับคุณภาพ

(คะแนนรวมทุกตัวบ่งชี/้

0.00 - 1.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน

จานวนตัวบ่งชีท้ งั้ หมด)

1.51 - 2.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุง

คุณภาพ

2.51 – 3.50 การดาเนินงานระดับพอใช้ I

P

O

รวม

3.51 – 4.50 การดาเนินงานระดับดี 4.51 – 5.00 การดาเนินงานระดับดีมาก

องค์ประกอบที่ 1

5

5

5

องค์ประกอบที่ 2

5

5

5

องค์ประกอบที่ 3

-

องค์ประกอบที่ 4

ไม่ขอรับการประเมิน

-

องค์ประกอบที่ 5

-

องค์ประกอบที่ 6

5

5

5

5

18

4.50

องค์ประกอบที่ 7

13

องค์ประกอบที่ 8

5

5

5

องค์ประกอบที่ 9

5

5

5

50

4.54

องค์ประกอบที่ 10

3

42

5

เฉลี่ยตัวบ่งชี้สกอ.

4.71

ระดับคุณภาพ

ดีมาก

เฉลี่ยตัวบ่งชี้ สมศ.

4.77

ระดับคุณภาพ

ดีมาก

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้

4.63

ของทุกองค์ประกอบ

ระดับคุณภาพ

ดีมาก

6. แนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพภายใน ภายหลั ง จากที่ ด าเนิ น การประเมิ น คุ ณ ภาพภายในเสร็ จ สิ้ น แล้ ว ผู้ บ ริ ห ารหน่ ว ยงาน คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง นาผลการประเมินและข้อเสนอแนะมา ประชุมร่วมกัน เพื่อวางแผนพัฒนาคุณภาพหรือปรับปรุงการดาเนินภารกิจอย่างเป็นรูปธรรม โดยจัดทาเป็น แผนปฏิบัติการในการแก้ไขจุดที่ควรปรับปรุง และเสริมจุดแข็ง ซึ่งประกอบด้วย กิจกรรมที่ต้องดาเนินการ คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


12

กาหนดเวลาเริ่มต้นจนถึงเวลาสิ้น สุดกิจกรรม งบประมาณสาหรับแต่ละกิจกรรม ตลอดจนผู้รับผิดชอบ กิจกรรม รวบรวมข้อมูล เอกสาร หลักฐานการดาเนินงานที่เป็นประโยชน์ และมีการติดตาม ตรวจสอบผล การพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


13

ส่วนที่ 2 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา 1. ความจาเป็นและวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติมี 4 ประการ คือ การผลิ ตบัณฑิต การวิจัย การ ให้บ ริการทางวิชาการแก่สั งคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒ นธรรม การดาเนินการตามภารกิจทั้ง 4 ประการดังกล่าว มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปัจจุบันมีปัจจัย ภายในและภายนอกหลายประการที่ทาให้การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นสิ่งจาเป็นที่ จะต้องเร่งดาเนินการ ปัจจัยดังกล่าวคือ 1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศ มีแนวโน้มมี่จะมีความแตกต่างกัน มากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดผลเสียแก่สังคมโดยรวมของประเทศในระยะยาว 2) ความท้ าทายของโลกาภิ วั ตน์ ต่ อ การอุ ด มศึก ษา ทั้ ง ในประเด็น การบริ ก ารการศึ กษาข้ า ม พรมแดน และการเคลื่อนย้ายนักศึกษาและบัณฑิต อันเป็นผลจากกการรวมตัว ของประเทศในภูมิภาค อาเซียน ซึ่งทั้งสองประเด็นต้องการการรับประกันของคุณภาพการศึกษา 3) สถาบั น อุดมศึกษามีความจาเป็นที่จะต้องสร้างความมั่นใจแก่สั งคมว่าสามารถพัฒ นาองค์ ความรู้ และผลิตบัณฑิต ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศให้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันระดับ สากล การพัฒ นาภาคการผลิ ตจริง ทั้งอุตสาหกรรมและบริการ การ พัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ระดับท้องถิ่นและชุมชน 4) สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ข้อมูลสาธารณะ (public information) ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งนักศึกษา ผู้จ้างงาน ผู้ปกครอง รัฐบาล และประชาชนทั่วไป 5) สังคมต้องการระบบอุดมศึกษาที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วม (participation) มีความโปร่ งใส (transparency) และมี ความรั บผิ ดชอบซึ่ งตรวจสอบได้ (accountability) ตามหลั ก ธรรมาภิบาล 6) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้ สถานศึกษาทุ กแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน รวมถึงให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษาทาหน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประเมินผลการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


14

7) คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศใช้มาตรฐานการอุดมศึกษาเมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม 2549 เพื่ อ เป็ น กลไกกากับ มาตรฐานระดับ กระทรวง ระดับ คณะกรรมการการอุด มศึ ก ษา และระดั บ หน่วยงาน โดยทุกหน่วยงานระดับอุดมศึกษาจะได้ใช้เป็นกรอบการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา 8) กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เมื่อ วัน ที่ 12 พฤศจิ กายน 2551 เพื่อ เป็ น กลไกส่ ง เสริม และก ากั บ ให้ ส ถาบัน อุ ดมศึ กษาจั ด การศึก ษาให้ มี มาตรฐานตามประเภทหรือกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่ม 9) กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ มี ป ระกาศกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศแนว ทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เพื่อให้ การจัดการศึกษาระดับ อุดมศึกษาเป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อการประกันคุณภาพของ บัณฑิตในแต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา ด้วยความจาเป็นดังกล่าวสถาบันอุดมศึกษาร่วมกับต้นสังกัดจึงจาเป็นต้องพัฒนาระบบและกลไก การประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อตรวจสอบและประเมินการดาเนินงานของภาควิชา คณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าและ สถาบั น อุ ด มศึ กษาในภาพรวม ตามระบบคุ ณภาพและกลไกที่ ส ถาบัน นั้ นๆ ก าหนดขึ้ น โดยวิ เคราะห์ เปรียบเทียบผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ในทุกองค์ประกอบคุณภาพว่าเป็นไปตามเกณฑ์และได้มาตรฐาน 2) เพื่อให้ภาควิชา คณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าและสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพของ ตนเองอันจะนาไปสู่การกาหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสู่ เป้าหมาย (targets) และเป้าประสงค์ (goals) ที่ตั้งไว้ตามจุดเน้นของตนเองและเป็นสากล 3) เพื่อให้ภาควิชา คณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าและสถาบันอุดมศึกษาทราบจุดแข็ง จุดที่ควร ปรับปรุง ตลอดจนได้รับข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อเสริมจุดแข็ง และพัฒนาจุดที่ค วร ปรับปรุงของสถาบันอย่างต่อเนื่อง 4) เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะทีเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทาให้มั่นใจว่าสถาบันอุดมศึกษา สามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาหนด 5) เพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ ยวข้อง มีข้อมูลพื้นฐานที่ จาเป็นสาหรับการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางที่เหมาะสม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


15

2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกัน คุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่ม เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนด จุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพและมาตรฐาน โดยกาหนดรายละเอียดไวใน หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อใช้เป็นกลไกลในการผดุงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของ สถาบันอุดมศึกษา การประกันคุณภาพภายใน เป็นการสร้างระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบและ ประเมินการดาเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่ กาหนดโดยสถานศึกษาและหรือหน่วยงานต้นสังกัด โดยหน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษากาหนดให้มี ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงาน ประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณา และเปิ ดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการ ประกันคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายนอก เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการติดตามและ ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึ กษา โดยคานึงถึงความมุ่งหมาย หลักการและแนว การจัดการศึกษาในแต่ละระดับ ซึ่งประเมินโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือเรียกชื่อย่อว่า สมศ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้งในทุกรอบ 5 ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน ซึ่ง สมศ. ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544-2548) เสร็จสิ้น ไปแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สอง (พ.ศ. 2549-2553) และการเตรียมการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม (พ.ศ. 2554-2558) ในการประเมินรอบที่สามของ สมศ. เป็นการ ประเมินทั้งระดับสถาบันและคณะวิชา แต่หากสถาบันใดจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งหลักการประเมินจะ ครอบคลุมการจัดการนอกสถานที่ตั้งหลักทั้งหมด นอกจากนั้นการประเมินคุณภาพจะมีความสอดคล้องกับ จุดเน้นหรือกลุ่มสถาบันที่แต่ละสถาบันเลือกตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


16

รูปแบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกจะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดโดยสานักงาน รั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (องค์ ก ารมหาชน) ซึ่ ง มี ห ลั ก การส าคั ญ 5 ประการ ดังต่อไปนี้ 1) เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้นเรื่องการตัดสินการจับผิด หรือการให้คุณ-ให้โทษ 2) ยึ ด หลั ก ความเที่ ย งตรง เป็ น ธรรม โปร่ ง ใส มี ห ลั ก ฐานข้ อ มู ล ตามสภาพความเป็ น จริ ง (evidence-based) และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability) 3) มุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตรมากกว่าการกากับควบคุม 4) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและการพัฒนาการจัดการศึกษาจากทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง 5) มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของชาติ ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ให้เอกภาพเชิงนโยบาย แต่ยังคงมีความ หลากหลายในทางปฏิบัติ โดยสถาบันสามารถกาหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็ม ตามศักยภาพของสถาบันและผู้เรียน 3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ได้กาหนดแนวทางการ พัฒนาและแก้ปัญหาอุดมศึกษาที่ไร้ทิศทาง ซ้าซ้อน ขาดคุณภาพ และขาดประสิทธิภาพ โดยใช้กลไกการ ประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเป็นกลไกหลักในการดาเนินการ กล่าวคือ ให้มีการสร้างกลไกการ ประเมินคุณภาพสถาบันอุดมศึกษาตามพันธกิจของสถาบันในแต่ละกลุ่ม ซึ่งมีพื้นที่บริการและจุดเน้นระดับ การศึกษาที่ต่างกัน รวมทั้งมีพันธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศต่างกั นตาม ความหลากหลาย ทั้งการพัฒนาฐานราก สังคม เศรษฐกิจรวมถึงการกระจายอานาจในระดับท้องถิ่น การ ขับเคลื่อนภาคการผลิตในชนบท ท้องถิ่นและระดับประเทศ จนถึงการแข่งขันในโลกาภิวัตน์ ซึ่งระบบ อุดมศึกษาแต่ละกลุ่มเหล่านี้จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงอุดมศึกษา และส่งผลกระทบที่ เป็นประโยชน์ต่อ ประเทศอย่างมีนัยสาคัญ อาทิ สามารถสร้างความเป็นเลิศได้ตามพันธกิจของตัวเอง สามารถตอบสนองต่อ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศดีขึ้น ส่งผลเชิงบวกต่อการผลิต พัฒนาและการทางานของอาจารย์ สามารถ ปรับจานวนของบัณฑิตในสาขาที่เป็นความต้องการของสังคม ลดการว่างงาน โดยที่สถาบันอุดมศึกษาใน กลุ่มเหล่านี้มีกลไกร่วมกันในการประกันคุณภาพ เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อยอดถ่ายโอนแลกเปลี่ยนกันได้ คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


17

ระหว่างกลุ่ม และในระยะยาวการประเมินคุณภาพควรนาไปสู่ระบบรับรองวิทยฐานะ (accreditation) ที่นักศึกษาและสาธารณะให้ความเชื่อถือ เป็นฐานและเงื่อนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐ และการ สนับสนุนจากภาคเอกชน รวมทั้งการโอนย้ายหน่วยกิต จากกรอบแผนอุ ด มศึ ก ษาระยะยาว 15 ปี ดั ง กล่ า ว กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ มี ป ระกาศ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง มาตรฐานสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ในปี 2551 ก าหนดประเภทหรื อ กลุ่ ม สถาบันอุดมศึกษาเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่ ม ก วิทยาลั ย ชุมชน หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิ ตบัณฑิตระดับต่ากว่าปริญญาตรี จัดฝึกอบรมสนองตอบความต้องการของท้องถิ่น เพื่อเตรียมกาลังคนที่มีความรู้เข้าสู่ภาคการผลิตจริงใน ชุมชน สถาบันสนับสนุนรองรับการเปลี่ยนอาชีพพื้นฐาน เช่น แรงงานที่ ออกจากภาคเกษตรเป็นแหล่ง เรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตอันจะนาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนและการ พัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญา ตรี เพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถเป็นหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงใน ระดับ ภู มิภ าค เพื่อ รองรั บ การด ารงชีพ สถาบัน อาจมีก ารจั ด การเรี ย นการสอนในระดับ บั ณฑิ ต ศึก ษา โดยเฉพาะระดับปริญญาโทด้วยก็ได้ กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุ่ม สาขาวิชา ทั้งสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สังคมศาสตร์หรือมนุษยศาสตร์ รวมทั้งสาขาวิชาชีพเฉพาะทาง สถาบันอาจเน้นการทาวิทยานิพนธ์หรือการวิจัยหรือเน้นการผลิตบัณฑิตที่มี ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสูงหรือเน้นทั้งสองด้าน รวมทั้ง สถาบันอาจมีบทบาทในการพัฒนาภาคการผลิตจริง ทั้งอุตสาหกรรมและบริการสถาบันในกลุ่มนี้อาจจาแนก ได้เป็น 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่ 1 เป็นสถาบันที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา และลักษณะที่ 2 เป็นสถาบันที่เน้น ระดับปริญญาตรี กลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก และเน้นการ ทาวิทยานิพนธ์และการวิจัยรวมถึงการวิจัยหลังปริญญาเอก สถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตที่เป็นผู้นาทาง ความคิดของประเทศ สถาบัน มีศัก ยภาพในการขับเคลื่ อนอุดมศึกษาไทยให้อยู่ในแนวหน้าระดับสากล

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


18

มุ่งสร้างองค์ความรู้ทฤษฎี และข้อค้นพบใหม่ทางวิชาการ ดังนั้น การประกันคุณภาพการศึกษาจึงต้องสร้าง กลไกการประเมินคุณภาพให้สอดรับกับการแบ่งกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่มดังกล่าว 4. การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวด 5 ที่ว่าด้วยการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ได้กาหนดให้คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่ พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยคานึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทาง วิชาการของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดทามาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใช้เป็น กลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน เพื่อนาไปสู่การกาหนด นโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป มาตรฐานการอุดมศึกษาที่จัดทาขึ้นฉบับนี้ ได้ ใช้ มาตรฐานการศึ กษาของชาติ ที่เ ปรี ยบเสมือ นร่ม ใหญ่เ ป็น กรอบในการพัฒ นาโดยมีส าระส าคั ญ ที่ ครอบคลุ มเป้ าหมายและหลั กการของการจัด การศึกษาระดับ อุดมศึ กษาของไทยและเป็น มาตรฐานที่ คานึงถึงความหลากหลายของกลุ่มหรือประเภทของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อให้ทุกสถาบันสามารถนาไปใช้ กาหนดพันธกิจและมาตรฐานของการปฏิบัติงานได้ มาตรฐานการอุดมศึกษา ที่ปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2549 ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการ อุดมศึกษา และมาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานย่อย ทั้ ง 3 ด้ า นนี้ อยู่ ใ นมาตรฐานการศึ ก ษาของชาติ ที่ ป ระกอบด้ ว ยมาตรฐานย่ อ ย 3 มาตรฐานเช่ น กั น คือ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ แต่ละมาตรฐาน ย่อยของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคล้องและสัมพันธ์กับมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการศึกษา ของชาติเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาบรรลุตามจุดมุ่งหมายและหลักการของการจัด การศึกษาของชาติ นอกเหนือจากมาตรฐานการอุดมศึกษาที่เป็นมาตรฐานแม่บทแล้ว คณะกรรมการการ อุดมศึกษาได้จัดทามาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2551 เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และพันธกิจในการจัดตั้งที่แตกต่าง กันได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 2 ด้าน คือ มาตรฐานด้านศักยภาพ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


19

และความพร้อมในการจัดการศึกษาและมาตรฐานด้านการดาเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และกาหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับ ปริ ญญาตรี กลุ่ ม ค สถาบัน เฉพาะทาง และกลุ่ ม ง สถาบันที่เน้นการวิ จัยขั้นสู งและผลิ ตบัณฑิตระดับ บัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก นอกจากนั้นยังได้จัดทากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อเป็นการประกันคุณภาพบัณฑิตใน แต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา โดยกาหนดให้คุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและสาขาวิชาต้อง เป็นไปตามมาตรฐานผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะ ทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการการอุดมศึกษายังได้กาหนดเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆ อาทิ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑ์การขอเปิดและดาเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล หลักเกณฑ์การกาหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพการจัด การศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาได้พัฒนาด้านวิชาการและ วิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้มีความ ทัดเทียมกันและพัฒนาสู่สากล ซึ่งทาให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างยื ดหยุ่นคล่องตัว และต่ อ เนื่ อ งในทุก ระดั บ การศึ ก ษาตลอดจนสะท้ อนให้ เ ห็ นถึ ง มาตรฐานคุ ณภาพการจั ด การศึ ก ษาใน ระดับอุดมศึกษา เพื่อให้ การจั ดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาหนดทั้ง มาตรฐานการศึกษาระดับ ชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึก ษา และสัมพันธ์กับ มาตรฐานและหลั ก เกณฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาอื่ น ๆ รวมถึ ง กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จึงจาเป็นต้องมีระบบประกันคุณภาพที่พัฒนาขึ้นตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 5. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ก่อนมีประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทบวงมหาวิทยาลัยได้ตระหนักดีถึง ความสาคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาและได้จัดทาประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง นโยบายและ แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 เพื่อเป็นแนวทางในการ ประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการสาคัญ 3 ประการ คือ การให้เสรีภาพทาง คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


20

วิชาการ (academic freedom) ความมีอิสระในการดาเนินการของสถาบัน (institutional autonomy) และความพร้อมของสถาบันที่จะรับการตรวจสอบคุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ ตรวจสอบได้ (accountability) ต่อมาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ ระบุให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุ ณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบกับ พระราชบั ญญัติร ะเบี ยบบริ ห ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบ่งส่ ว น ราชการกาหนดให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนาและ มาตรฐานการอุ ดมศึ กษาที่ส อดคล้ องกับ แผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสั ง คมแห่ ง ชาติ และแผนการศึ กษา แห่งชาติสนับสนุนทรัพยากร ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดย คานึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญาตามกฎหมายว่าด้วย การจัดตั้งสถานศึกษาแต่ละแห่งและกฎหมายที่เกี่ยวข้องสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหน้าที่ ร่วมกับสถานศึกษาในการจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 5.1 กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา หลั ง จากที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ส านั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัดที่ทาหน้าที่กากับดูแล สถาบันอุดมศึกษา ได้เสนอระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อให้สอดคล้อง กับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว ซึ่งคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 21 มี นาคม 2543 ได้ มี ม ติ เ ห็ น ชอบกั บ ระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ซึ่งต่อมาได้จัดทาเป็นประกาศทบวงมหาวิทยาลัยเรื่อง ระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2545 เพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติสาระสาคัญของ ประกาศฉบับนี้ระบุให้ทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุนและส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษาจัดทาระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้ง ให้ มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุด มศึกษาจาก ภายใน หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถาบันการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับ การประเมินคุณภาพจากภายนอก รวมถึงสนับสนุนให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาขึ้นในแต่ละคณะวิชา หรือสถาบันอุดมศึกษา เพื่อกาหนดนโยบายหลั กเกณฑ์ แนวทาง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


21

วิธีการตรวจสอบและประเมินระบบกลไกและประเมินผลการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในของแต่ละคณะวิชาหรือสถาบันอุดมศึกษา หลั ง จากด าเนิ น การตามประกาศฉบั บ ปี พ.ศ. 2545 ไประยะหนึ่ ง ส านั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดทากฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลัก เกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา5 และมาตรา 47 วรรคสอง โดย สาระสาคัญเกี่ยวกับระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของกฎกระทรวงฉบับนี้ ยังคงไว้ ตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัยฯ พ.ศ. 2545 ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ถือปฏิบัติมา อย่างต่อเนื่อง ต่อมาในปี 2553 กระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกัน คุณภาพการศึก ษา พ.ศ. 2553 แทนฉบับเดิม โดยรวมการประกั นคุณภาพภายในและ ภายนอกของการศึกษาทุกระดับไว้ในฉบับเดียวกัน มีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ทาหน้าที่หลัก 2 ประการคือ 1) วางระเบียบหรืออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมสนับ สนุนและพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ 2) เสนอแนะแนวทางปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา โดยนาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไป ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีการปรับเปลี่ยนให้ระบบการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย การประเมินคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ และกาหนดให้ หน่วยงานต้นสังกัดจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้ง ผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อ สาธารณชน 5.1.1 หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพ การศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้พิจารณาจากประเด็นต่อไปนี้ 1) ระบบการประกั น คุ ณ ภ าพภายในของคณะวิ ช าและสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา โดยคานึงถึงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศ กาหนด 2) ผลการปฏิบัติงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบ การประกันคุณภาพภายในที่กาหนดไว้

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


22

3) ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดาเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพ ภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา 5.1.2 วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้ใช้แนวปฏิบัติ ดังนี้ 1) ให้ ค ณะวิ ช าและสถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจั ด ให้ มี ห น่ ว ยงานหรื อ คณะกรรมการที่รั บผิ ดชอบการดาเนิน การด้านการประกันคุณภาพขึ้ น โดยมีห น้าที่พัฒ นาบริห ารและ ติดตามการดาเนินการประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้เกิดความ มั่นใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายใน เพื่อใช้กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพภายใต้กรอบ นโยบายและหลักการที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด 3) ให้ ค ณะวิ ช าและสถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาด าเนิ น การตามระบบการ ประกันคุณภาพภายใน โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา 4) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและกลไกควบคุม คุณภาพขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ (1) หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ (2) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์ (3) สื่อการศึกษาและเทคนิคการสอน (4) ห้องสมุดและ แหล่งการเรียนรู้อื่น (5) อุปกรณ์การศึกษา (6) สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้และบริการการศึกษา (7) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักศึกษา (8) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร ทั้งนี้ให้แต่ละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามที่เห็นสมควร โดยให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาส่งเสริมและ สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารพั ฒ นาด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาในระดั บ คณะวิ ช าของสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง 5.1.3 การรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพภายในถือ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องดาเนินการ อย่ างมีร ะบบ และต่อเนื่ องสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


23

ประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่ อพิจารณา และเปิดเผยต่อสาธารณชน โดยให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์และแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 5.1.4 การติดตามตรวจสอบของต้นสังกัด ให้ ห น่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด ของสถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจั ด ให้ มี ก ารติ ด ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้นอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้งผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน 5.2 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5.2.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา สถาบั นอุดมศึกษาอาจพัฒ นาระบบประกันคุณภาพที่เหมาะสมสอดคล้ องกับ ระดั บ การพั ฒ นาของสถาบั น โดยอาจเป็ น ระบบประกั น คุ ณ ภาพที่ ใ ช้ กั น แพร่ ห ลายในระดั บ ชาติ ห รื อ นานาชาติ หรือเป็นระบบเฉพาะที่สถาบันพัฒนาขึ้นเอง แต่ไม่ว่าจะเป็นระบบคุณภาพแบบใดจะต้องมี กระบวนการทางานที่เริ่มต้นจากการวางแผน การดาเนินงานตามแผน การตรวจสอบประเมิน และการ ปรับปรุงพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินภารกิจของสถาบันบรรลุเป้าประสงค์และมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ขณะเดีย วกันก็เป็ น หลั กประกัน แก่ส าธารณชนให้ มั่นใจว่าสถาบันอุดมศึกษาสามารถสร้างผลผลิ ตทาง การศึกษาที่มีคุณภาพ 5.2.2 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินคุณภาพ

มาตรฐาน เป็ น กรอบส าคั ญ ในการด าเนิ น งานของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คื อ มาตรฐานการอุดมศึกษา อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ยังต้องดาเนินการให้ได้ตาม มาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอีกมาก เช่น มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพ ภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติราชการตามมิติด้านต่างๆ ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐ เป็นต้น

ตั ว บ่ ง ชี้ เป็ น ข้ อ ก าหนดของการประกั น คุ ณ ภาพภายในที่ พั ฒ นาขึ้ น ใน องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านที่มีความครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการอุดมศึกษาและพันธกิจ สนั บ สนุ น ได้ แก่ (1) ปรั ช ญา ปณิธ าน วัต ถุประสงค์ และแผนดาเนิ นการ (2) การผลิ ตบั ณฑิต (3) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (4) การวิจัย (5) การบริการทางวิชาการแก่สังคม (6) การทานุบารุง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


24

ศิลปะและวัฒนธรรม (7) การบริหารและการจัดการ (8) การเงินและงบประมาณ และ (9) ระบบและ กลไกการประกัน คุณภาพ ซึ่งตัวบ่ งชี้ดังกล่ าวสามารถชี้วัดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการ อุดมศึกษา มาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบคุณภาพนั้นๆ ได้ทั้งหมด ทั้งตัวบ่งชี้ ที่ใช้ประเมินปัจจัยนาเข้า กระบวนการและผลผลิตหรือผลลัพธ์นอกจากนี้

เกณฑ์การประเมิน เป็นมาตรวัดของแต่ละตัวบ่งชี้ซึ่งพัฒนาจากเกณฑ์และแนว ปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานซึ่งกาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ สมศ. ทั้งนี้ เพื่อให้การประเมินคุณภาพการศึกษามีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน 5.2.3 กลไกการประกันคุณภาพ ในด้านของกลไกการประกันคุณภาพ ผู้ที่มีความสาคัญส่งผลให้การดาเนินงาน ประสบความสาเร็จและนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง คือ คณะกรรมการระดับนโยบาย และ ผู้บริหารสูงสุดของสถาบันที่จะต้องให้ความสาคัญและกาหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่ ชัดเจน และเข้าใจร่วมกันทุกระดับ โดยมอบหมายให้หน่วยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง หน้าที่สาคัญประการหนึ่งของ คณะกรรมการหรือหน่วยงานนี้ คือ การจัดระบบประกันคุณภาพ พร้อมทั้งตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน คุณภาพที่เหมาะสมสาหรับสถาบัน ระบบประกันคุณภาพที่ใช้ต้องสามารถเชื่อมโยงให้เกิดคุณภาพของการ ปฏิบัติงาน ตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับภาควิชาหรือสาขาวิชา ระดับคณะวิชาไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจ จาเป็นต้องจั ดทาคู่มือคุณภาพในแต่ละระดับ เพื่อกากับการดาเนินงาน แต่ที่สาคัญคณะกรรมการหรือ หน่วยงานนี้ต้องประสานงานและผลักดันให้เกิดระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพซึ่งสามารถ ใช้งานร่วมกันได้ในทุกระดับ 5.2.4 ระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์และวัดผลดาเนินงานเป็นสิ่งจาเป็นในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัดและวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน จะไม่สามารถทาได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพหากปราศจาก ฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศที่เป็นจริง ถูกต้องตรงกันทุกระดับตั้งแต่ ระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และสถาบั น ตลอดจนเป็ น ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถเรี ย กใช้ ไ ด้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ดั ง นั้ น ระบบสารสนเทศที่ ดี มีประสิทธิภาพจึงเป็นปัจจัยสาคัญยิ่งที่จะส่งผลต่อความสาเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และส่งผล ต่อคุณภาพในทุกขั้นตอนการดาเนินงานตั้ งแต่การวางแผน การปฏิบัติงานประจา การตรวจสอบประเมิน ตลอดจนถึงการปรับปรุงและพัฒนา

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


25

6. การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ตามมาตรา 48 ของพระราชบั ญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุ ว่ า ให้ ห น่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด และสถานศึ ก ษาจั ด ให้ มี ร ะบบการประกั น คุ ณ ภาพภายใน สถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้อง ดาเนินการอย่างต่อเนื่องในขณะที่มาตรา 49 ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมินคุณภาพ ภายนอกไว้ว่า ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษามีฐานะเป็นองค์การมหาชน ทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทาการประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อให้มี การตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการ บริหารการศึกษาปกติที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ มี การตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานเพื่อนาไปสู่การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ด้วยเหตุนี้ระบบประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้ งปัจจัยนาเข้า (input) กระบวนการ (process) และ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (output/outcome) ซึ่งต่างจากการประเมินคุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผล การจัดการศึกษา จะเห็นว่า เมื่อสถาบันอุดมศึกษามีการดาเนินการประกันคุณภาพภายในแล้ว จาเป็นต้องจัดทา รายงานประจาปี ที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ซึ่งเป็นผลจากการประกันคุณภาพภายในหรือ เรียกว่า รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) เพื่อนาเสนอสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เอกสารดังกล่าวจะเป็นเอกสาร เชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในของสถาบัน การติดตามตรวจสอบของต้นสั งกัด และการ ประเมินคุณภาพภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องจัดทารายงานการประเมินตนเองที่มีความลุ่มลึกสะท้อน ภาพที่แท้จริงของสถาบันในทุกองค์ประกอบคุณภาพ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


26

ส่วนที่ 3 ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตามองค์ประกอบคุณภาพ 1. ความหมาย วิธกี ารรายงาน สูตรการคานวณ และเกณฑ์การประเมินของตัวบ่งชี้ สานักคอมพิวเตอร์ ได้ดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของหน่วยงานตามองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ตามองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย และปรับปรุงเพิ่มเติมให้ตรงตามภารกิจหลักของ หน่วยงาน และขอรับการประเมินเฉพาะมาตรฐานและตัวบ่งชี้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสานักคอมพิวเตอร์ได้จัดทา มาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่เป็นภารกิจของหน่วยงานโดยตรงเพิ่มเติมด้วย เพื่อจะขอรับการประเมินคุณภาพใน วงรอบปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 2556 ถึง 31 พฤษภาคม 2557) รวม 7 องค์ประกอบ 13 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

จานวน 4 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ที่ 7.6 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์

จานวน 4 ตัวบ่งชี้

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


27

ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 จานวนฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่ได้รับการพัฒนาหรือ ปรับปรุงให้สามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งมหาวิทยาลัย ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 การพัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 ความมีเสถียรภาพของการให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลัก ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการของสานัก คอมพิวเตอร์ 2. องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ วงรอบปีการศึกษา 2556 องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชีท้ ี่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์มีพันธกิจหลักคือการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเพื่อสนับสนุนการดาเนินการตามพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยมหาสารคามคือ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อให้สามารถสนับสนุนการ ดาเนินงานของมหาวิทยาลัยมหาสารคามให้บรรลุตามเป้าหมาย สานักคอมพิวเตอร์ต้องกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ตลอดจนมีการพัฒนาแผนกลยุทธ์และแผนดาเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงานของสานัก คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาแผนกลยุทธ์ นอกเหนือจากการพิจารณาพั นธกิจดังกล่าวแล้ว จะต้องคานึงถึง หลักการอุดมศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ของชาติและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รวมถึงทิศทาง การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับ และสามารถตอบสนอง พันธกิจของมหาวิทยาลัยในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม แผนกลยุทธ์ หมายถึง แผนระยะยาวของสถาบันโดยทั่วไปมักใช้เวลา 5 ปี เป็นแผนที่กาหนดทิศ ทางการพัฒนาของสถาบัน แผนกลยุทธ์ประกอบไปด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


28

ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคาม กลยุทธ์ต่างๆ ของสถาบันควรครอบคลุมทุกภารกิจ ของสถาบัน มีการกาหนดตัวบ่งชี้ความสาเร็จของแต่ละกลยุทธ์และค่าเป้าหมายของตัวบ่งชี้เพื่อวัดระดับ ความส าเร็ จ ของการดาเนิ น งานตามกลยุทธ์ โดยสถาบันนาแผนกลยุทธ์มาจัดทาแผนดาเนินงานหรือ แผนปฏิบัติงานประจาปี แผนปฏิบัติการประจาปี หมายถึง แผนระยะสั้นที่มีระยะเวลาในการดาเนินงานภายใน 1 ปี เป็น แผนที่ถ่ายทอดแผนกลยุ ทธ์ล งสู่ ภ าคปฏิบัติ เพื่อให้ เ กิดการดาเนิน งานจริงตามกลยุทธ์ ประกอบด้ว ย โครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่จะต้องดาเนินการในปีนั้นๆ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตามแผนกลยุทธ์ ตัวบ่งชี้ ความสาเร็จของโครงการหรือกิจกรรม ค่าเป้าหมายของตัวบ่งชี้เหล่านั้น รวมทั้งมีการระบุผู้รับผิดชอบหลัก หรือหัว หน้าโครงการ งบประมาณในการดาเนินการ รายละเอียดและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดาเนิน โครงการที่ชัดเจน เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของคณะกรรมการประจาสานัก คอมพิวเตอร์ โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสานักคอมพิวเตอร์ และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจา ส านั ก คอมพิว เตอร์ โดยเป็ น แผนที่ เชื่อ มโยงกับปรัช ญาหรือ ปณิธ านและพระราชบัญ ญัติมหาวิท ยาลั ย มหาสารคาม พ.ศ. 2537 ตลอดจนสอดคล้องกับจุดเน้นกลุ่มผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม (กลุ่ม ข) กรอบ แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) 2. มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับหน่วยงานไปสู่ทุกงานภายในหน่วยงาน 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์เป็นแผนปฏิบัติการประจาปีครบตามพันธกิจของหน่วยงาน 4. มีตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปี และค่าเป้าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้ เพื่อวัด ความสาเร็จของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปี 5. มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีครบตามพันธกิจของหน่วยงาน 6. มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจาปี อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารเพื่อพิจารณา 7. มีการประเมิน ผลการดาเนิ นงานตามตัว บ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่างน้อยปีล ะ 1 ครั้ง และ รายงานผลต่อผู้บริหารและคณะกรรมการประจาสานักคอมพิวเตอร์เพื่อพิจารณา

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


29

8. มี ก ารน าผลการพิ จ ารณา ข้ อ คิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะของคณะกรรมการประจ าส านั ก คอมพิวเตอร์ไปปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปี เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 8 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 หรือ 7 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 8 ข้อ

หมายเหตุ 1) การประเมินในตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ใช้วงรอบปีงบประมาณที่ตรงกับปีการศึกษาที่รับประเมินคือ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556) 2) การประเมินในระดับคณะวิชาและหน่วยงานเทียบเท่าให้ปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์ มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับหน่วยงานที่รับการประเมิน เช่น สภามหาวิทยาลัยอาจปรับเป็นกรรมการ ประจาคณะวิชา ประเด็นถาม-ตอบจากคูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัย มหาสารคาม : คาถามที่ 1 แผนยุทธศาสตร์ 4 ปี และแผนกลยุทธ์ แตกต่างกันอย่างไร คาตอบ ไม่แตกต่างกัน บางสถาบันจัดทาแผนกลยุทธ์ 3 ปีก็เป็นไปได้ แต่อย่างไรหากมีการกาหนด ปรัชญา ปณิธานไว้แล้ว ควรมีการทบทวนว่าเหมาะสมกับสภาพปัจจุบันหรือไม่ คาถามที่ 2 การมีสว่ นร่วมของบุคลากรในการจัดทาแผนฯ ต้องทุกคนหรือไม่ เท่าไหร่จึงจะถือได้ว่าเป็นการ มีส่วนร่วม คาตอบ กระบวนการจัดทาแผนโดยผ่านตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ ถือว่าเป็นการมีส่วนร่วมแต่ต้องมั่นใจ ว่าตัวแทนนั้น จะนาเอาแผนฯ ไปถ่ายทอดได้ ซึ่งการแขวนบนเว็บไซต์ก็สามารถทาได้ แต่ต้องปรากฏ หลักฐานว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนฯ ดังกล่าว ถือเป็นการให้โอกาสให้ทุก ภาคส่วนมีส่วนร่วม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


30

คาถามที่ 3 การถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ไปสู่ทุกหน่วยงานภายใน ควรเป็นไปในรูปแบบใด คาตอบ ควรใช้กระบวนการประชุมชี้แจงเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน กรณีมีตัวแทนคณบดีหรือหัวหน้า ภาค ควรมีหลักฐานว่ามีการเอาข้อมูลของแผนกลยุทธ์ไปถ่ายทอดต่อ เช่น รายงานการประชุมแต่การแจ้ง เวียนเป็นเอกสารจะไม่ถือว่าเป็นการถ่ายทอด

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


31

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชีท้ ี่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จาเป็นต้องมีการบริหารและพัฒนา บุคลากรทุกประเภทอย่างเหมาะสมทั้งในด้านเทคนิคการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ และการใช้สื่อการ สอนที่ทันสมัย รวมทั้งมีการปรับกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ผลการเรียนรู้และข้อมูลจากความคิดเห็น ของผู้ เรี ย น นอกจากนั้ น ยั งจ าเป็ น ต้อ งมีบุค ลากรสายสนับ สนุน ที่มีคุ ณภาพสอดคล้ อ งกับพั นธกิ จและ เป้าหมายของมหาวิทยาลัยและสานักคอมพิวเตอร์ เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ 2. มีการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กาหนด 3. มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกาลังใจให้บุคลากรสายสนับสนุนสามารถ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. มีระบบการติดตามให้บุคลากรสายสนับสนุนนาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ใน การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 5. มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้ถือปฏิบัติ 6. มีการประเมินผลความสาเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน 7. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสาย สนับสนุน เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 7 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


32

หมายเหตุ 1) หลักฐานสาหรับการประเมินในเกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 3 เช่น ผลการประเมิน หรือผลการ สารวจความพึงพอใจของคณาจารย์และบุคลากร ด้านสวัสดิการ การเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และการสร้าง ขวัญและกาลังใจ หรือหลักฐานเชิงประจักษ์อื่น ๆ ที่เชื่อมโยงให้เห็นการทางานได้ดีขึ้น 2) หน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอนปรับตัวบ่งชี้เป็นระบบการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ประเด็นถาม-ตอบจากคูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัย มหาสารคาม : คาถาม : การประเมินความสาเร็จของแผนฯ ควรดาเนินการอย่างไร ตอบ : ประเมินผลตามตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาบุคลากร ไม่ใช่ประเมินตามตัวชี้วัดราย โครงการในการจัดอบรมและพัฒนาบุคลากร ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรมีระบบและกลไกในการพัฒนาบุคลากรให้มีความก้าวหน้าตามสายงาน (ต้องมีนโยบาย แผน ขั้นตอน/ กฎเกณฑ์ปฏิบัติ สรุปผลและทบทวนการทางาน) เช่น โครงการส่งเสริมการเข้าสู่ตาแหน่ง โครงการให้ ความรู้การเขียนผลงานวิชาการและการวิจัย

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


33

องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชีท้ ี่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์หรือผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : ศิลปะและวัฒนธรรม เกี่ยวข้องกับความสุนทรีย์และรสนิยม เกิดรูปแบบวิถีชีวิตและ สังคม โดยมีลักษณะที่เป็นพลวัต มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จาเป็นต้องรู้ทันอย่างมีปัญญาโดยมีแผน ในการพัฒนา ให้ความรู้และประสบการณ์ด้านสุนทรียภาพในบริบทของศิลปะและวัฒนธรรม สามารถ เลือกรับ รักษาและสร้างให้ตนเองและสังคมอยู่ร่วมกันอย่างรู้คุณค่าความงามอย่างมีสุนทรีย์ที่มีรสนิยม ศิ ล ปะ

คื อ งานสร้ า งสรรค์ ที่ ส่ ง เสริ ม สร้ า งสุ น ทรี ย์ ความงาม และความสุ ข แก่ ผู้ ค น

สภาพแวดล้ อม และสังคม เพื่อพัฒ นาการยกระดับความมีรสนิยม ความสุ นทรีย์ เข้าใจคุณค่าและ ความสาคัญของศิลปะ ตลอดจนเป็นแนวทางในการพัฒนาส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริญงอกงามของมวลมนุษย์ที่ มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง เช่น เรื่อง ความคิด ความรู้ ความเชื่อ ก่อให้เกิดวัฒนธรรม โดยสามารถเห็นได้จากพฤติกรรมในวิถีชีวิตและสังคม รวมทั้งผลที่เกิดจากกิจกรรมหรือผลผลิตกิจกรรมของมนุษย์ วัฒนธรรมมีลักษณะเฉพาะและมีลักษณะ สากลเปลี่ยนแปลงตามสมัยนิยม วัฒนธรรมปัจจุบันที่ดีควรมีความสอดคล้องกับความเป็นสากล แต่มี รากฐานของวัฒนธรรมตนเองที่มีคุณค่า สาหรับวัฒนธรรมในสถาบันอุดมศึกษา หมายถึง วัฒนธรรมที่ แสดงความเป็ น อุด มศึกษาที่ถือ เป็ น แบบอย่ างที่ดี ต่อสั ง คม มีความเจริ ญงอกงามทางปัญ ญา ความรู้ ความคิด ทัศนคติ มีวัฒนธรรมในวิถีชีวิตมหาวิทยาลัยที่น่าศรัทธาเป็นที่ยอมรับ มีบทบาทต่อการปกป้อง วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย และพัฒนาแนวทางการดารงชีวิตท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมสากลได้เหมาะสม อย่างฉลาดรู้ การพัฒนาสุนทรียภาพ หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างมีแผนที่เป็นระบบเกี่ยวกับความ งามทางศิลปะและวัฒนธรรม ที่มีผลกระทบต่อบุคคล สถาบัน สภาพแวดล้อม และสังคมในแนวทางที่ดี ขึ้น โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน และเป็นที่ยอมรับร่วมกันได้ ผลการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือสร้างสิ่งใหม่ ต้องไม่เป็นการทาลายคุณค่าทางสุนทรีย์ของศิลปะและวัฒนธรรมเดิม การพัฒนาเชิ งวัฒนธรรมสามารถ สร้างวัฒนธรรมใหม่ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและมีนวัตกรรมใหม่ ทั้งทาง เทคโนโลยี ระบบสังคม เพื่อให้อยู่ร่วมกันได้อย่างเข้าใจมีความเจริญก้าวหน้าอย่างสันติสุข

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


34

สุนทรียะทางศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง คุณค่าทางความงามของศิลปะและวัฒนธรรมที่ส่งผล ต่อการรับรู้และความรู้สึก สามารถจรรโลงจิตใจให้มีความสุข มีรสนิยม ก่อให้เกิดวิถีชีวิตมนุษย์ที่งดงาม สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมที่เข้าใจและผูกพัน ตลอดจนการรับรู้ถึงคุณค่าที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมของ ศิลปะและวัฒนธรรมเชิงประวัติศาสตร์เพื่อการดารงรักษ์สืบต่อไป สะอาด หมายถึง ไม่รก มีระเบียบ รักษาง่าย ใช้สะดวก สุขลักษณะ หมายถึง สะอาด ปลอดภัย ไร้มลภาวะ สุขใจ สบายกาย สวยงาม หมายถึง มีการจัดแต่งอาคาร สภาพแวดล้อมอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับพื้นที่ แวดล้อม ไม่สิ้นเปลือง และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม เกณฑ์มาตรฐาน : 1. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในมหาวิทยาลัยที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี 2. สิ่งแวดล้อมด้านความปลอดภัยของอาคารสถานที่ สะอาดถูกสุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมี ความสุนทรีย์ 3. ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. การจัดให้มีพื้นที่และกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่งเสริมให้นิสิตและบุคลากรมีส่วนร่วม อย่างสม่าเสมอ 5. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและหรือนิสิตที่เกี่ยวกับประเด็น 1-4 ไม่ต่ากว่า 3.51 จาก คะแนนเต็ม 5 เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2555 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน : คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


35

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.1 ภาวะผูน้ าของคณะกรรมการประจาสานักและผูบ้ ริหารทุกระดับของสานักคอมพิวเตอร์ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : ปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญต่อการเจริญก้าวหน้าของมหาวิทยาลัย คือ สภามหาวิทยาลัย และผู้บ ริหารทุกระดับ มหาวิทยาลั ยนั้ นๆ หากสภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นาที่ดี มีธรรมาภิบาล รับผิดชอบต่อสังคม รักความก้าวหน้า ดูแลบุคลากรอย่างดี เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการบริหาร มีความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหา และกากับดูแล ติดตามผลการดาเนินงานของ มหาวิทยาลัยไปในทิศทางที่ถูกต้อง จะทาให้มหาวิทยาลัยเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว เกณฑ์มาตรฐาน : 1. คณะกรรมการประจาสานัก ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดครบถ้วนและมีการประเมิน ตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า 2. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ กาหนดทิศทางการดาเนินงาน และสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุ ทธ์ มีการนาข้อมูลสารสนเทศเป็นฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนา สถาบัน 3. ผู้บริหารมีการกากั บ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถ สื่อสารแผนและผลการดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ไปยังบุคลากรในสานักคอมพิวเตอร์ 4. ผู้บริหารสนับสนุนให้บุคลากรในสานักคอมพิวเตอร์มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ให้อานาจใน การตัดสินใจแก่บุคลากรตามความเหมาะสม 5. ผู้บริหารถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมพัฒนาผู้ร่วมงาน เพื่อให้สามารถทางานบรรจุวัตถุประสงค์ ของสานักคอมพิวเตอร์เต็มตามศักยภาพ 6. ผู้บริหารบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึงประโยชน์ของสานักคอมพิวเตอร์และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย 7. คณะกรรมการประจาสานักประเมินผลการบริหารงานของสานักคอมพิวเตอร์และผู้บริหารนาผล การประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอย่างเป็นรูปธรรม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


36

เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 7 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

หมายเหตุ 1. หากจะประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานข้อที่ 6 นั้น ต้องแสดงข้อมูลการบริหารงานตาม หลักธรรมาภิบาลครบถ้วนทั้ง 10 ประการ ตามนิยามศัพท์ที่ระบุไว้ ซึ่งสอดคล้องเป็นไปตามเกณฑ์ของ สมศ. หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุม ดูแลกิจการต่างๆ ให้เป็นไป ในครรลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งสามารถนาไปใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกสาร ธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้มีความหมายอย่างกว้างขวาง กล่าวคือ หาได้มีความหมายเพียงหลักธรรมทาง ศาสนาเท่านั้น แต่รวมถึงศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมและความถูกต้อง ชอบธรรมทั้งปวง ซึ่งวิญญูชนพึงมี และพึงประพฤติปฏิบัติ อาทิ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์การภายนอก เป็นต้น หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ที่เหมาะสมจะนามา ปรับใช้ในภาครัฐมี 10 องค์ประกอบดังนี้ (1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) คือ ผลการปฏิบัติราชการที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ของแผนการปฏิบัติราชการตามที่ได้รับงบประมาณมาดาเนินการ รวมถึงสามารถเทียบเคียงกับส่วนราชการ หรื อหน่ ว ยงานที่มีภ ารกิจ คล้ ายคลึ งกัน และมีผ ลการปฏิบัติงานในระดับชั้นนาของประเทศ เพื่อให้ เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชนโดยการปฏิบัติราชการจะต้องมีทิศทางยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ที่ชัดเจน มี กระบวนการปฏิบัติงานและระบบงานที่เป็นมาตรฐาน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลและพัฒนาปรับปรุง อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ (2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ การบริหารราชการตามแนวทางการกากับดูแลที่ดีที่มีการ ออกแบบกระบวนการปฏิบั ติงานโดยใช้เทคนิคและเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมให้องค์การ สามารถใช้ ท รั พ ยากรทั้ ง ด้ า นต้ น ทุ น แรงงานและระยะเวลาให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ การพั ฒ นาขี ด ความสามารถในการปฏิบัติราชการตามภารกิ จเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกกลุ่ม คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


37

(3) หลั กการตอบสนอง (Responsiveness) คือ การให้ บริ การที่ส ามารถดาเนิน การได้ ภ ายใน ระยะเวลาที่กาหนด และสร้างความเชื่อมั่น ความไว้ว างใจ รวมถึงตอบสนองความคาดหวังหรือความ ต้องการประชาชนผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีความหลากหลายและมีความแตกต่าง (4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) คือ การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่และ ผลงานต่อเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยความรับผิ ดชอบนั้นควรอยู่ในระดับที่สนองต่อความคาดหวังของ สาธารณะ รวมทั้งการแสดงถึงความสานึกในการรับผิดชอบต่อปัญหาสาธารณะ (5) หลักความโปร่งใส (Transparency) คือ กระบวนการเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา ชี้แจงได้เมื่อ มีข้อสงสัยและสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอันไม่ต้องห้ามตามกฎหมายได้อย่างเสรี โดยประชาชนสามารถ รู้ทุกขั้นตอนในการดาเนินกิจกรรมหรือกระบวนการต่างๆ และสามารถตรวจสอบได้ (6) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) คือ กระบวนการที่ข้าราชการ ประชาชนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกกลุ่มมีโอกาสได้เข้าร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทาความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหาหรือ ประเด็นที่สาคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิด แนวทาง ร่วมการแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วม กระบวนการพัฒนาในฐานะหุ้นส่วนการพัฒนา (7) หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) คือ การถ่ายโอนอานาจการตัดสินใจทรัพยากร และภารกิจจากส่วนราชการส่วนกลางให้แก่หน่วยการปกครองอื่นๆ (ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น) และภาค ประชาชนดาเนิ นการแทนโดยมีอิส ระตามสมควร รวมถึงการมอบอานาจและความรับผิ ดชอบในการ ตั ด สิ น ใจและการด าเนิ น การให้ แ ก่ บุ ค ลากร โดยมุ่ ง เน้ น การสร้ า งความพึ ง พอใจในการให้ บ ริ ก ารต่ อ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปรับปรุงกระบวนการ และเพิ่มผลิตภาพเพื่อผลการดาเนินงาที่ดีของ ส่วนราชการ (8) หลักนิติธรรม (Rule of Law) คือ การใช้อานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับในการ บริหารราชการด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และคานึงถึงสิทธิเสรีภาพของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (9) หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การได้รับการปฏิบัติและได้รับบริการอย่างเท่าเทียมกัน โดย ไม่มีการแบ่งแยกด้าน ชายหรือหญิง ถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือ สุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษา การฝึกอบรมและ อื่นๆ (10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) คือ การหาข้อตกลงทั่วไปภายในกลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นข้อตกลงที่เกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาข้อคิดเห็นจากกลุ่มบุคคลที่ได้รับ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


38

ประโยชน์และเสียประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรงซึ่งต้องไม่มีข้อ คัดค้านที่ยุติไม่ได้ใน ประเด็นที่สาคัญ โดยฉันทามติไม่จาเป็นต้องหมายความว่าเป็นความเห็นพ้องโดยเอกฉันท์ 2. การประเมินในระดับคณะวิชาและหน่วยงานเทียบเท่าให้ปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์ มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับหน่วยงานที่รับการประเมิน เช่น สภามหาวิทยาลัยอาจปรับเป็นกรรมการ ประจาคณะวิชา ประเด็นถาม-ตอบจากคูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัย มหาสารคาม : คาถาม เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 1 ที่กาหนดว่า “สภามหาวิทยาลัยปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนด ครบถ้วน และมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า” คาว่า “สภามหาวิทยาลัย” ใน ความหมายของการประเมินระดับคณะวิชา หมายถึง คณะกรรมการประจาคณะใช่หรือไม่ คาตอบ ใช่ ในกรณีเป็นการประเมินระดับคณะวิชา คาว่า “สภามหาวิทยาลัย” จะหมายถึงคณะกรรมการ ประจาคณะวิชา ที่แต่งตั้งตามข้อกาหนดของกฎหมาย หรือมติที่ประชุมของหน่วยงาน สาหรับหน่วยงาน สนับสนุนการเรียนการสอนเทียบเท่าคณะวิชา คณะกรรมการประจาหน่วยงาน หมายถึง คณะกรรมการที่ แต่งตัง้ ตามข้อกาหนดของกฎหมาย แต่หากกรณีหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอนที่กฎหมายไม่ได้ กาหนดเกี่ยวกับองค์ประกอบของคณะกรรมการประจาหน่วยงานให้แต่งตั้งโดยมติที่ประชุมหน่วยงาน หรือ ได้รับความเห็นชอบจากอธิการบดี

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


39

ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสูส่ ถาบันเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : มาตรฐานการอุดมศึกษาข้อที่ 3 กาหนดให้มหาวิทยาลัยมีการสร้างและพัฒนาสังคม ฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งต้องมีการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ โดยมี การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็น ระบบ เพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด กระบวนการในการ บริหารจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัยประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บ ความรู้ ก ารเข้ า ถึง ข้ อ มูล และการแลกเปลี่ ย นความรู้ ทั้ งภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย การสร้ า ง บรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ ภายในมหาวิทยาลัยการกาหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัยให้ดียิ่งขึ้น เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีการกาหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ หน่วยงานอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจหลัก 2. กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่ กาหนดในข้อ 1 3. มี ก ารแบ่ ง ปั น และแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ จ ากความรู้ ทั ก ษะของผู้ มี ป ระสบการณ์ ต รง ( Tacit Knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้ อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากร กลุ่มเป้าหมายที่กาหนด 4. มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้ อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) 5. มีการนาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ผ่านมาที่เป็น ลายลั ก ษณ์อั ก ษร (Explicit

Knowledge) และจากความรู้ ทั ก ษะของผู้ มี ประสบการณ์ ต รง (Tacit

Knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


40

เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรมีการรวบรวมความรู้เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


41

ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.4 ระบบบริหารความเสีย่ ง ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : เพื่อให้มหาวิทยาลัยมีระบบบริหารความเสี่ยง โดยการบริหารและควบคุมปัจจัย กิจกรรม และกระบวนการดาเนินงานที่อาจเป็นมูลเหตุของความเสียหาย (ทั้งในรูปของตัวเงิน หรือไม่ใช่ตัว เงิน เช่น ชื่อเสียง และการฟ้องร้องจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความคุ้มค่า) เพื่อให้ระดับความเสี่ยง และขนาดของความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อยู่ในระดับที่ยอมรับและควบคุมได้ โดยคานึงถึงการเรียนรู้วิธีการป้องกันจากการคาดการณ์ปัญหาล่วงหน้า และโอกาสในการเกิด เพื่อป้องกันหรือบรรเทาความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งการมีแผนสารองต่อภาวะ ฉุกเฉิน เพื่อให้มั่นใจว่าระบบงานต่างๆ มีความพร้อมใช้งาน มีการปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่องและทันต่อ การเปลี่ยนแปลงเพื่อการบรรลุเป้าหมายของมหาวิทยาลัยตามยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์เป็นสาคัญ เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผู้บริหารระดับสูงและ ตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบันร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทางาน 2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงอย่างน้อย 3 ด้าน ตาม บริบทของสถาบัน จากตัวอย่างต่อไปนี้ - ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่) - ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์ของสถาบัน - ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหาร งานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ - ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาธิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์ และบุคลากร - ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลาดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ ในข้อ 2 4. มีการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดาเนินการตามแผน คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


42

5. มีการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และรายงานต่อสภาสถาบันเพื่อพิจารณา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6. มีการนาผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากสถาบันไปใช้ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความ เสี่ยงในรอบปีถัดไป เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 6 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

หมายเหตุ 1) คะแนนการประเมินจะเท่ากับ 0 หากพบว่าเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงขึ้นภายในมหาวิทยาลัยในรอบ ปีการประเมินที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและความปลอดภัยของนิสิต คณาจารย์ บุคลากร หรือต่อชื่อเสียง ภาพลั ก ษณ์ หรื อ ต่ อ ความมั่ น คงทางการเงิ น ของมหาวิ ท ยาลั ย อั น เนื่ อ งมาจากความบกพร่ อ งของ มหาวิทยาลัยในการควบคุม หรือจัดการกับความเสี่ยง หรือปัจจัยเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ โดยมี หลักฐานประกอบที่ชัดเจน ตัวอย่างความเสี่ยงร้ายแรงที่ให้ผลประเมินเป็นศูนย์ (0) คะแนน เช่น (1) มีการเสียชีวิตและถูกทาร้ายร่างกายหรือจิตใจอย่างรุนแรงของนิสิต คณาจารย์ บุคลากร ภายในมหาวิทยาลัย ทั้ง ๆ ที่อยู่ในวิสัยที่มหาวิทยาลัยสามารถป้องกันหรือลดผลกระทบในเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นได้ แต่ไม่พบแผนการจัดการความเสี่ยงหรือไม่พบความพยายามของมหาวิทยาลัยในการระงับ เหตุการณ์ดังกล่าว (2) มหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานเสื่อมเสียชื่อเสียงหรือมีภาพลักษณ์ที่ไม่ดีอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น คณาจารย์ นั กวิจั ย หรื อบุ คลากรขาดจริยธรรม จรรยาบรรณการไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน หรือ กฎกระทรวง และเกิดเป็นข่าวปรากฏให้เห็นตามสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ ข่าว online เป็นต้น (3) มหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานขาดสภาพคล่องในด้านการเงินจนทาให้ต้องปิดหลักสูตรหรื อไม่ สามารถปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ ส่งผลกระทบต่อนิสิตปัจจุบันที่เรียนอยู่อย่างรุนแรง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


43

** หากมีคณะใดคณะหนึ่งได้คะแนนการประเมินเป็นศูนย์ (0) แล้ว มหาวิทยาลัยก็จะได้คะแนน การประเมินเป็นศูนย์ (0) ด้วยเช่นกัน หากเป็นไปตามเงื่อนไขที่กล่าวไว้ข้างต้นการไม่เข้าข่ายที่ทาให้ผลการ ประเมินได้คะแนนเป็นศูนย์ (0) ได้แก่ (1) มหาวิทยาลัยมีการวิเคราะห์และจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงเชิงป้องกัน หรือมีแผนรองรับเพื่อ ลดผลกระทบสาหรับความเสี่ยงที่ทาให้เกิดเรื่องร้ายแรงดังกล่าวไว้ล่วงหน้า และดาเนินการตามแผน (2) เป็นเหตุสุดวิสัยอยู่นอกเหนือการบริหารจัดการ (การควบคุมหรือการป้องกัน) ของมหาวิทยาลัย (3) เหตุการณ์ร้ายแรงดังกล่าวมีความรุนแรงที่ลดน้อยลงมากจากแผนรองรับผลกระทบที่ได้กาหนด ไว้ล่วงหน้า 2) การประเมินในระดับคณะวิชาและหน่วยงานเทียบเท่าให้ปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์ มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับหน่วยงานที่รับการประเมิน เช่น สภามหาวิทยาลัย อาจปรับเป็นกรรมการ ประจาคณะวิชา 3) การประเมิน ในตัว บ่งชี้ที่ 7.4 ใช้ว งรอบปีงบประมาณที่ตรงกับปีการศึกษาที่รับประเมินคือ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556) ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรมีการนาผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากสถาบันไปใช้ในการปรับแผนและวิเคราะห์ในรอบปีถัดไป

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


44

ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.6 การปฏิบัตติ ามบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารสานักคอมพิวเตอร์ ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์หรือผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : การประเมินผลตามหน้าที่และบทบาทของผู้บริหารในการบริหารและการจัดการให้ บรรลุผลสาเร็จตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติงานประจาปีของสานักคอมพิวเตอร์ จะมุ่งเน้นการประเมิน คุณภาพของการบริหารตามนโยบายของคณะกรรมการประจาสานัก ประสิทธิผลของแผลปฏิบัติการ ประจาปี ความสามารถในการบริหารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้ค่าคะแนนการประเมินผลผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้ง (คะแนนเต็ม 5) เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการได้ครบเกณฑ์การพิจารณา 5 ข้อ 5 คะแนน ข้อมูลประกอบการพิจารณา : 1. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการกาหนดหรือทบทวนนโยบายการกากับดูแลสานัก คอมพิวเตอร์ รวมทั้งทบทวนกรอบทิศทางการดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ตามหน้าที่และบทบาทของ ผู้บริหารสานักคอมพิวเตอร์ 2. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการดาเนินการตามระบบการกากับดูแลสานัก คอมพิวเตอร์ โดยมีเอกสารหรือหลักฐานหรือรายงานหรือบันทึกการประชุมที่แสดงให้เห็นว่าผู้บริหาร สถาบันได้กาหนดให้มีกระบวนการที่เป็นรูปธรรมในการจัดการเพื่อให้เกิดการควบคุมและตรวจสอบการ ดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ 3. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าผู้บริหารสานักคอมพิวเตอร์มีการติดตามผลการ ดาเนินงานสาคัญ เช่น ระบบในด้านนโยบายและแผน ด้านการบริการงานบุคคล ด้านการเงินละ งบประมาณ โดยเฉพาะการดาเนินงานตามภารกิจหลักของสานักคอมพิวเตอร์ที่เป็นมติคณะกรรมการ ประจาสานัก หรือสภาสถาบัน 4. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงนโยบายของสานักคอมพิวเตอร์ที่กาหนดให้มีระบบการ ประเมินผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้งและมีการดาเนินงานระบบนั้น

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


45

5. รายงานการสังเคราะห์มติหรือนโยบาย รวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจของผู้บริหาร สานักคอมพิวเตอร์ หมายเหตุ : 1. ระดับสถาบัน ผู้บริหารหมายถึง อธิการบดี 2. ระดับคณะวิชา ผู้บริหารหมายถึง คณบดี 3. ระดับหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอน ผู้บริหารหมายถึง ผู้อานวยการ 4. กรณีหน่วยงานที่สภามหาวิทยาลัยไม่ได้แต่งตั้งกรรมการมาประเมินผู้บริหารหน่วยงาน ดังนั้น หน่วยงานไม่ต้องรับการประเมินในตัวบ่งชี้นี้

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


46

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชีท้ ี่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : มหาวิทยาลัยจะต้องมีระบบในการจัดหาและจัดสรรเงินอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมี แผนกลยุทธ์ทางด้านการเงินซึ่งเป็นแผนจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนต่างๆ ที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ ของมหาวิทยาลัยให้สามารถดาเนินการได้ มีการวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จ่ายของการดาเนินงาน ทั้ งจาก งบประมาณแผ่ น ดิน และเงิน รายได้อื่น ๆ ที่มหาวิทยาลั ยได้รับ มีการจัดสรรงบประมาณและการจัดทา รายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบครบทุกพันธกิจ มีระบบการตรวจสอบการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ รายงานทางการเงิน ต้องแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายในทุกพันธกิจ โครงการกิจกรรมเพื่อให้ สามารถ วิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมั่นคงของมหาวิทยาลัย เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสานักคอมพิวเตอร์ 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน หลักเกณฑ์การจัดสรร และการวางแผนการใช้เงิน อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3. มีงบประมาณประจาปี ที่ส อดคล้ องกับแผนปฏิบัติงานในแต่ล ะพันธกิจและการพัฒนาส านัก คอมพิวเตอร์และบุคลากร 4. มีการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ และรายงานต่อ คณะกรรมการประจาสานัก อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 5. มีการนาข้อมูลทางการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และวิเคราะห์สถานะทางการเงินและ ความมั่นคงของสานักคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 6. มีหน่ วยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทาหน้าที่ตรวจ ติดตามการใช้เงินให้ เป็นไปตาม ระเบียบและกฎเกณฑ์ที่สานักคอมพิวเตอร์กาหนด 7. ผู้บริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใช้เงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย และนาข้อมูลจากรายงาน ทางการเงินไปใช้ในการวางแผนและการตัดสินใจ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


47

เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 7 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

หมายเหตุ 1. แผนกลยุทธ์ทางการเงิน เป็นแผนระยะยาวที่ระบุที่มาและใช้ไปของทรัพยากรทางการเงินของ มหาวิทยาลัยที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยให้สามารถดาเนินการได้ แผนกลยุทธ์ทาง การเงินจะสอดรับไปกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยควรประเมินความต้องการทรัพยากรที่ ต้องจัดหาสาหรับการดาเนิน งานตามกลยุทธ์แต่ละกลยุทธ์ และประเมินมูลค่าของทรัพยากรออกมาเป็น เงิน ทุน ที่ต้อ งการใช้ ซึ่งจะเป็ น ความต้องการเงินทุนในระยะยาวเท่ากับเวลาที่มหาวิทยาลั ยใช้ในการ ดาเนินการให้กลยุทธ์นั้นบังเกิดผล จากนั้นจึงจะกาหนดให้เห็นอย่างชัดเจนถึงที่มาของเงินทุนที่ต้องการใช้ว่ า สามารถจัดหาได้จากแหล่งเงินทุนใด เช่น รายได้ค่าธรรมเนียมการศึกษา งบประมาณแผ่นดินหรือเงิน อุดหนุนจากรัฐบาล เงินทุนสะสมของหน่วยงาน เงินบริจาคจากหน่วยงานภายนอกหรือศิษย์เก่า หรือ มหาวิทยาลัยจะต้องมีการระดมทุนด้วยวิธีการอื่น ๆ อีกเพิ่มเติม เช่น การแปลงทรัพย์ สินทางปัญญาเป็น มูลค่า รวมทั้งมีการวิเคราะห์ต้นทุนของการดาเนินงานด้วย เช่น ต้นทุนต่อหน่วยในการผลิตบัณฑิตในแต่ละ หลั ก สู ต ร โดยที่ ร ะยะเวลาของแผนกลยุ ท ธ์ ท างการเงิ น จะเท่ า กั บ ระยะเวลาของแผนกลยุ ท ธ์ ข อง มหาวิทยาลัย 2. การประเมิน ในตัว บ่ งชี้ที่ 8.1 ใช้ว งรอบปีงบประมาณที่ ตรงกับปีการศึกษาที่รับประเมิน คือ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556) ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรจัดทาแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่ชัดเจนครอบคลุม 3-5 ปี

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


48

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชีท้ ี่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็นภารกิจของมหาวิทยาลัยตามที่กาหนดไว้ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งมหาวิทยาลัยต้อง สร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ ประเมินผลและพัฒนาการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยให้ เป็ น ไปตามนโยบาย เป้ าประสงค์ และระดับ คุณ ภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยมหาวิ ทยาลั ยและ หน่วยงานต้นสังกัด ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการวัดผลสาเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน รวมทั้งการรายงานผลการประกันคุณภาพต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน มีการประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมีนวัตกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดี การประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน ถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการสร้าง จิตสานึกให้เห็นว่าเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้เพื่อเป็น หลักประกันแก่สาธารณชนให้มั่นใจได้ว่ามหาวิทยาลัยสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและ พัฒนาการของหน่วยงาน และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 2. มี ก ารก าหนดนโยบายและให้ ค วามส าคั ญ เรื่ อ งการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน โดย คณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน 3. มีการกาหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของหน่วยงาน 4. มีการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การ ควบคุม ติดตามการดาเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพเสนอต่อคณะกรรมการประจาหน่วยงาน และมหาวิทยาลัย ตามกาหนดเวลา โดยเป็นรายงานที่มี ข้อมูลครบถ้วนตามที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนดใน CHE QA Online และ 3) การนา ผลการประเมินคุณภาพไปทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยงาน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


49

5. มีการนาผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุงการทางาน และส่งผลให้ มีการ พัฒนาผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้ 6. มี ร ะบบสารสนเทศที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล สนั บ สนุ น การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในครบ ทุ ก องค์ประกอบที่หน่วยงานรับการประเมิน 7. มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะผู้ใช้บริการตาม พันธกิจของหน่วยงาน 8. มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างหน่วยงานภายใน มหาวิทยาลัย และมีกิจกรรมร่วมกัน 9. มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจัยด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่หน่วยงานพัฒนาขึ้น และ เผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นสามารถนาไปใช้ประโยชน์ เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 9 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 หรือ 6 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 7 หรือ 8 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 9 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


50

องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.1 จานวนฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่ได้รบั การพัฒนาหรือปรับปรุง ให้สามารถใช้รว่ มกันได้ทั้งมหาวิทยาลัย ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจให้สอดรับกับ นโยบายและการวางแผนระดับมหาวิทยาลัย เพื่อให้เป็นระบบที่สมบูรณ์สามารถเชื่อมโยงกับทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกเป็นระบบที่ใช้งานได้ เพื่อการบริหารการวางแผนและการตัดสินใจของ ผู้บริหารทุกระดับ การปฏิบัติงานตามภารกิจทุกด้านของบุคลากร การติดตามตรวจสอบและประเมินการ ดาเนินงานตลอดจนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนามหาวิทยาลัย ทั้งนี้ระบบดังกล่าวต้องมีความสะดวกในการ ใช้งาน โดยประเมินจากความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 7 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพภายใต้การเรียนการสอนที่ทันสมัยตามเกณฑ์มาตรฐานของ ชาติและสากล รวมทั้งเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก ยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ และพัฒนานวัตกรรมที่สร้างมูลค่าเพิ่มหรือใช้ ประโยชน์ให้กับชุมชนและสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และบริการวิชาการชั้นนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการนาทุนทางวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมและภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและยกระดับการบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยให้ได้รับการยอมรับและพัฒนาเป็น มหาวิทยาลัยในระดับสากล ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนาสู่มหาวิทยาลัยสีเขียวและรักษ์สิ่งแวดล้อม เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการได้อย่างน้อย 5 ยุทธศาสตร์

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


51

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 1 ยุทธศาสตร์

คะแนน 2 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 2 ยุทธศาสตร์

คะแนน 3 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 3 ยุทธศาสตร์

คะแนน 4 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 4 ยุทธศาสตร์

คะแนน 5 มีฐานข้อมูลสนับสนุน ได้อย่างน้อย 5 ยุทธศาสตร์

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


52

ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.2 การพัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์ มีการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้วยการ พัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเผยแพร่แหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ โดยมี การนาผลการประเมินระบบและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้มาพัฒนาและ ปรับปรุงแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เกณฑ์มาตรฐาน: 1. มีกระบวนการพัฒนาระบบแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ 2. มีแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกับพันธกิจของสานัก คอมพิวเตอร์อย่างน้อยปีการศึกษาละ 2 รายวิชา 3. มีแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้อย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 โครงการ 4. มีการเผยแพร่แหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น 5. มีการประเมินประสิทธิภาพระบบและมีการประเมินผลความพึงพอใจของการใช้บริการแหล่ง นวัตกรรมการเรียนรู้ ไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 และมีการนาข้อมูลจากการประเมินมาปรับปรุงและ พัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


53

ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.3 ความมีเสถียรภาพของการให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลัก ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์ ให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลักอย่างต่อเนื่อง และมี เสถีย รภาพของการให้ บ ริ การระบบเครื อข่า ยคอมพิว เตอร์ ห ลั ก โดยการเชื่อมโยงโครงข่ายพื้นฐานที่ มี ประสิทธิภาพและครอบคลุมพื้นที่ของการให้บริการ มีความเร็วและคุณภาพการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพื่อให้ ผู้ใช้บริการเข้าถึงและแลกเปลี่ยนข้อมูล และมีระบบเครือข่ายสารองในกรณี ฉุกเฉิน การให้บริการต่างๆ ที่ กล่าวมาข้างต้น จะอยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค ครอบคลุม ทั่วถึง เพียงพอต่อสัดส่วนปริมาณการใช้ งานทรัพยากรสารสนเทศของผู้รับบริการ และภายใต้มาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ การเข้าถึงคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต (Compliance) เพื่อให้การให้บริการดังกล่าวสามารถตอบสนอง เป้าประสงค์ของมหาวิทยาลัยที่ต้องการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาสนับสนุนการเรียนการ สอน การพัฒนานิสิต การวิจัย การบริการวิชาการ และอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกณฑ์มาตรฐาน: 1. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ในการให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความปลอดภัย (Security) 3. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความมั่นคง (Stability) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของระบบที่ ให้บริการ 4. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความรวดเร็ว (Speed) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของระบบที่ ให้บริการ 5. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไม่สามารถให้บริการได้ (Downtime) ไม่เกินร้อยละ 5 ของ ระยะเวลาที่ให้บริการตลอดปี เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


54

หมายเหตุ Downtime หมายถึง ระยะเวลาในการที่ระบบหยุดให้บริการ โดยนับตามที่กาหนดไว้ใน SLA Service Level Agreement (SLA) หมายถึง เป็นข้อตกลงของระดับของการบริการระหว่างผู้ให้บริการกับ ผู้รับบริการ ซึ่งอาจไม่เกี่ยวข้องกับ High Availability เพราะไม่จาเป็นต้องระดับ 90% ขึ้นไป

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


55

ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.4 ร้อยละความพึงพอใจของผูร้ บั บริการต่อการให้บริการของสานักคอมพิวเตอร์ ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์มีการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีการให้การแก่ ผู้รับบริการในแต่ละกระบวนงานบริการที่หน่วยงานจัดให้บริการ จานวน 10 งาน 1. งานบริการห้องคอมพิวเตอร์ 2. งานบริการซอฟต์แวร์ 3. งานบริการถ่ายทอดวิดีทัศน์ทางไกล 4. งานบริการระบบโทรศัพท์ 5. งานซ่อมบารุงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง 6. งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 7. งานพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ 8. งานพัฒนาระบบสารสนเทศ 9. งานบริการข้อมูลสารสนเทศ 10. งานพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่ ง การให้ บ ริ ก ารจะมี คุ ณ ภาพมากน้ อ ยเพี ย งใดจะสามารถสะท้ อ นได้ จ ากความพึ ง พอใจของ ผู้รับบริการโดยจะทาการวัดความสาเร็จของการดาเนินการให้บริการในกระบวนงานแต่ละงานของสานัก คอมพิวเตอร์จากสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการไม่น้อยกว่า 80 ผู้รับบริการ หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานมหาวิทยาลัย ลูกจ้างชั่วคราว และนิสิต ผู้มารับบริการโดยตรงทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกจากสานักคอมพิวเตอร์ เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการได้รอ้ ยละ 80 ขึน้ ไปจานวน 8 งานขึน้ ไป เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 2 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 3 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 4 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 5 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

จานวน 4 งาน

จานวน 5 งาน

จานวน 6 งาน

จานวน 7 งาน

จานวน 8 งานขึ้นไป

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


56

บรรณานุกรม สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 (ฉบับเดือนพฤศจิกายน 2553). กรุงเทพมหานคร : มปพ, 2553. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. คูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556. มหาสารคาม : ศูนย์พัฒนาและประกันคุณภาพ, พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน 2556.

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


57

ภาคผนวก

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


58

คาสั่งสานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ 203/2556 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์ เพื่ อให้การบริหารจัด การและพั ฒนาคุณภาพของส านักคอมพิว เตอร์เป็ น ไปด้ ว ยความเรีย บร้อยเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด สามารถตรวจสอบได้ และสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาศัยอานาจตามคาสั่งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ 0650/2553 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2553 เรื่อง

มอบอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ และมอบอานาจปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีให้ผู้อานวยการสถาบัน ผู้อานวยการส านัก ผู้อานวยการศูนย์ จึงแต่งตั้งบุคลากรดังรายชื่อท้ายคาสั่งเป็นคณะกรรมการพัฒนา คุณภาพสานักคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. คณะกรรมการอานวยการ 1.1 ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ประธานกรรมการ

1.2 รองผู้อานวยการทุกฝ่าย

กรรมการ

1.3 นายวงศวัฒน์ เทพาศักดิ์

กรรมการ

1.4 นายสุรจิต ธรรมจักร์

กรรมการ

1.5 นายไพฑูรณ์ ศรีพลลา

กรรมการ

1.6 นายธนศาสตร์ สุดจริง

กรรมการ

1.7 นายดุลยเทพ ภันทรโกศล

กรรมการ

1.8 นางสาวณภัทชา ไชยสิงห์

กรรมการ

1.9 นายรัชพงษ์ ทะลาสี

กรรมการ

1.10 หัวหน้าสานักงานเลขานุการ

กรรมการและเลขานุการ

1.11 นางธิรดา บุญโชติยกุล

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

1.12 นางลัดดา ศรีเอี่ยม

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


59

1.13 นางชัชฎาพร ศิลปดอนบม

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

1.14 นางสิรีวรรณ ตติยรัตน์

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน้าที่รับผิดชอบ 1) กาหนดนโยบายและระบบพัฒนาคุณภาพ รวมทั้งแผนดาเนินงานพัฒนาคุณภาพของสานัก คอมพิวเตอร์ 2) ส่งเสริม สนับสนุน ให้คาปรึกษา แนะนา ในการดาเนินงานให้แก่คณะกรรมการต่างๆ เพื่อให้ การดาเนินการเป็นไปตามกรอบทิศทางและแนวทางที่กาหนด 3) กากับ ติดตามและเร่งรัดให้คณะกรรมการแต่ละคณะดาเนินงานและรายงานอย่างเป็นระบบ 4) พิจารณาผลการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพแต่ละคณะ 5) ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดาเนินงานเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพแต่ละคณะกรรมการเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ 6) งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. คณะกรรมการดาเนินงาน 2.1 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน สานักคอมพิวเตอร์ 2.2 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา สานักคอมพิวเตอร์ 2.3 คณะกรรมการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 2.4 คณะกรรมการจัดการความรู้ สานักคอมพิวเตอร์ โดยมีรายชื่อคณะกรรมการดาเนินงานในข้อ 2 และหน้าที่ความรับผิดชอบดังเอกสารแนบท้ายคาสั่ง ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


60

เอกสารแนบท้ายคาสั่งสานักคอมพิวเตอร์ ที่ 203/2556 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2556 ที่ปรึกษา 1. ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์ 2. หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์ หน้าที่รับผิดชอบ 1) กาหนดนโยบาย กรอบแนวทาง และทิศทางการดาเนินงาน และกากับ พิจารณากลั่นกรอง การ ดาเนินงานตามแผน หรือแนวปฏิบัติที่กาหนด ให้กับคณะกรรมการดาเนินงานทุกฝ่าย 2) ส่งเสริม สนับสนุน ให้คาปรึกษาแนะนาในเรื่องต่างๆ และอานวยความสะดวกในการดาเนินงาน แก่คณะกรรมการดาเนินงานทุกฝ่าย เพื่อให้เป็นไปตามกรอบทิศทางและแนวทางที่กาหนด 2. คณะกรรมการดาเนินงาน 2.1 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน สานักคอมพิวเตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.1.1 นางชัชฎาพร ศิลปดอนบม

ประธานกรรมการ

2.1.2 นายสิทธิ์ เอมดี

กรรมการ

2.1.3 นายธนศาสตร์ สุดจริง

กรรมการ

2.1.4 นายวงศวัฒน์ เทพาศักดิ์

กรรมการ

2.1.5 นายสถาพร ไชยปัญหา

กรรมการ

2.1.6 นายรัชพงษ์ ทะลาสี

กรรมการ

2.1.7 นายเรืองศักดิ์ แสงยศ

กรรมการ

2.1.8 นางสาวณภัทชา ไชยสิงห์

กรรมการและเลขานุการ

2.1.9 นางสาวอรวรรณ ประกอบกิจ

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


61

หน้าที่รับผิดชอบ 1) ดาเนินการวิเคราะห์ และระบุปัจจัยเสี่ยงที่อาจจะส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย ความ ล้มเหลว ลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายขององค์กร รวมทั้งจัดลากับความสาคัญของปัจจัยเสี่ยงในแต่ละ ด้าน 2) ดาเนินการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงในแต่ละด้าน ทั้งระดับสานักฯ และยุทธศาสตร์ ตาม ระบบการบริหารความเสี่ยงภายใต้มาตรฐาน COSO เสนอต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุม ภายใน โดยแผนดังกล่าวต้องกาหนดมาตรการ หรือแผนปฏิบัติการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับ บุคลากรทุกระดับ ในด้านการบริหารความเสี่ยงและการแก้ไข ลด หรือป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอย่าง เป็นรูปธรรม 3) กาหนดหลักเกณฑ์ความเสี่ยงแต่ละด้าน เพื่อเป็นเอกสารประกอบการจัดทาคู่มือการบริหาร ความเสี่ยง ทบทวน สอบทานแผนบริหารความเสี่ยง 4) เสนอแนะมาตรการ หลักการ และแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาศักยภาพการบริหารความเสี่ยง และควบคุมภายในให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 5) ติดตามผลการดาเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยงและกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา ความเสี่ยง รวมทั้งข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยง 6) ดาเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลภาพรวมตามยุทธศาสตร์การพัฒนาสานักคอมพิวเตอร์ในด้าน ต่างๆ ตลอดจนผลการดาเนินงานของหน่วยงานภายในสานักฯ เพื่อ สนับสนุนข้อมูลสารสนเทศสาหรับการ บริหารจัดการความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพและครบถ้วน 7) ประสานงานกับ ผู้รับ ผิดชอบประเด็นความเสี่ยง เพื่อดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติงาน หรือ ปฏิทิ น ที่ก าหนดการประชุ มที่ชั ดเจน และติด ตามผลการด าเนินงานตามแผนการบริห ารความเสี่ ยงที่ ผู้รับผิดชอบนาไปดาเนินการ และกาหนดแนวทาง ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยง และ เสนอรายงานต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน และเสนอมหาวิทยาลัยตามลาดับ 8) งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


62

2.2 คณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิว เตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.2.1 นางลัดดา ศรีเอี่ยม

ประธานกรรมการ

2.2.2 นายสุรเชษฐ์ ตั้งทรัพย์สกุล

กรรมการ

2.2.3 นายปิยะพงษ์ มูลศรีแก้ว

กรรมการ

2.2.4 นายสกุล สาวิสิทธิ์

กรรมการ

2.2.5 นางสาวศิริรัตน์ จันไต้

กรรมการ

2.2.6 นายชาญวิทย์ ภาแกดา

กรรมการ

2.2.7 นายศุภชัย มาฤทธิ์

กรรมการ

2.2.8 นายปุญญพัฒน์ เปนนาม

กรรมการ

2.2.9 นายวิทยา ชื่นชม

กรรมการและเลขานุการ

2.2.10 นายสุรจิต ธรรมจักร์

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน้าที่รับผิดชอบ 1) พิจารณาและวิเคราะห์งานเพื่อกาหนดตัวบ่งชี้ ดัชนีชี้วัดความสาเร็จและเกณฑ์การประเมินที่ สอดคล้องกับภารกิจหลักของหน่วยงาน และเกณฑ์การประเมินที่มหาวิทยาลัย สกอ. และสมศ. กาหนด 2) กาหนดแนวทางการดาเนินงาน มอบหมายผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้ เพื่อจัดทาแผนการดาเนินงาน และแผนพัฒนาคุณภาพด้านการประกันคุณภาพของหน่วยงาน 3) จัดทาแผนดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของสานักคอมพิวเตอร์พร้อมดาเนินงานตาม แผน 4) จั ด ท าแผนพั ฒ นาประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของหน่ ว ยงานและรายงานความก้ า วหน้ า ต่ อ คณะกรรมการประจาสานักและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 5) ติดตาม รวบรวม วิเคราะห์และสรุปผลการดาเนินงานจากผู้รับผิดชอบ รวมทั้งข้อเสนอแนะใน การปรับปรุงผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานสรุปผลการประเมินเสนอศูนย์พัฒนาและประกันคุณภาพ การศึกษา

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


63

6) จัดให้มีการประเมินผลการประกันคุ ณภาพภายในจากผู้ทรงคุณวุฒิตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัย ก าหนด รวมถึ ง การประสานงานอื่ น ๆ เช่ น ประสานงานผู้ ป ระเมิ น ศู น ย์ พั ฒ นาและประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา 7) ดาเนิน การแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาการดาเนินงานตามผลการประเมินและข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 8) วิเคราะห์ข้อมูล/เอกสารก่อนผู้รับผิดชอบจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลผ่านระบบ CHE QA Online 9) รับผิดชอบการดาเนินงานตัวชี้วัดหลักที่เกี่ยวข้องระดับมหาวิทยาลัย (ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 และตัวบ่งชี้ ที่ 7.3) 10) งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 2.3 คณะกรรมการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติ ราชการ สานักคอมพิวเตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.3.1 นางธิรดา บุญโชติยกุล

ประธานกรรมการ

2.3.2 นายวัชรชัย วีรกุลเกษตร

กรรมการ

2.3.3 นายดุลยเทพ ภัทรโกศล

กรรมการ

2.3.4 นายประยุทธ์ จ้อยนุแสง

กรรมการ

2.3.5 นายสหัสธรรม แสนแก้ว

กรรมการ

2.3.6 นายเฉลิมพล อกอุ่น

กรรมการ

2.3.7 นายไพศาล หมั่นตลุง

กรรมการ

2.3.8 นายสุเทพ อรัญมิตร

กรรมการ

2.3.9 นางสาวบัณฑิตา อวิโรธน์

กรรมการและเลขานุการ

2.3.10 นายไพฑูรณ์ ศรีพลลา

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


64

หน้าที่รับผิดชอบ 1) ประสานงานการจัดทารายละเอียดตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการตามคา รับรองการปฏิบัติราชการ 2) บันทึกตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการใน ระบบบริหารยุทธศาสตร์ 3) จัดทาคู่มือการประเมินการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 4) จัดทาปฏิทินรายงานผลการดาเนินงานและมอบหมายผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการ ตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 5) ให้คาแนะนา ชี้แจงเงื่อนไข วิธีการดาเนินการ และประสานงานกับผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดเพื่อให้ การจัดทาข้อมูลถูกต้องสมบูรณ์ 6) ติดตาม ตรวจสอบผลการดาเนินงาน การแนบหลักฐานอ้างอิงและยืนยันผลการดาเนินงานตาม คารับรองการปฏิบัติราชการในระบบบริหารยุทธศาสตร์ 7) รายงานผลการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการเสนอผู้บริหารและที่ประชุมบุคลากร ประจาทุกเดือน 8) จัดทารูปเล่มรายงานผลการดาเนินงานการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือน จัดส่งศูนย์พัฒนาและประกันคุณภาพ 9) งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 2.4 คณะกรรมการดาเนินงานจัดการความรู้ สานักคอมพิวเตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.4.1 นางสิรีวรรณ ตติยรัตน์

ประธานกรรมการ

2.4.2 นายกรธวัฒน์ มณีชม

กรรมการ

2.4.3 นางสาวสุกัญญา สิตวัน

กรรมการ

2.4.4 นายวีระศักดิ์ ศรีวงยาง

กรรมการ

2.4.5 นายวิระ เมฆวัน

กรรมการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


65

2.4.6 นายจตุพล ไชยโสดา

กรรมการ

2.4.7 นายสุชาติ สงหมื่นไวย์

กรรมการ

2.4.8 นายบุญฤทธิ์ สุขี

กรรมการ

2.4.9 นายรัตนเดช ชมภูนุช

กรรมการและเลขานุการ

2.4.10 นายนพนัย เนื่องอุดม

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน้าที่รับผิดชอบ 1) ส ารวจประเด็ น ความรู้ ก าหนดกลุ่ ม เป้ า หมาย และจั ด ท าแผนจั ด การความรู้ ใ นส านั ก คอมพิวเตอร์โดยการกาหนดนโยบาย 2) จัดทาแผนการจัดการความรู้ของสานักคอมพิวเตอร์ กาหนดแนวทางการดาเนินงาน การกากับ ดูแลและการให้คาแนะนาในการจัดการความรู้ทั้งองค์กร 3) ส่งเสริมการนากระบวนการจัดการความรู้มาใช้ในหน่วยงานภายในสานักคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอทั่วทั้งองค์กร 4) ส่งเสริมและสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านกระบวนงานภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อ มุ่งให้เกิดวัฒนธรรมการทางานขององค์กรและนาไปสู่การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และสนับสนุนความ ร่ว มมือกับ หน่ วยงานอื่น พร้ อมน าระบบฐานข้อมูล สารสนเทศมาใช้ในการจัดการความรู้และสามารถ เชื่อมต่อกับหน่วยงานภายนอก และเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์หรือบล็อก 5) ติดตามและพิจารณาผลการจัดการความรู้ของสานักฯ ให้เป็นไปตามแนวทางที่กาหนด ส่งเสริม และสนั บสนุน ความร่วมมือ พร้อมรายงานผลต่อผู้บริห ารหน่วยงานและมหาวิทยาลั ยตามระยะเวลาที่ กาหนด 6) งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


66

ผูจ้ ดั ทา ที่ปรึกษา นางสาวสุพิน ไตรแก้วเจริญ

ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

นางสาวพัตชบูล กิ่งพุ่ม

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

วิเคราะห์ข้อมูล/จัดทารูปเล่ม คณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ 1. นางลัดดา ศรีเอี่ยม

ประธานกรรมการ

2. นายสุรเชษฐ์ ตั้งทรัพย์สกุล

กรรมการ

3. นายปิยะพงษ์ มูลศรีแก้ว

กรรมการ

4. นายสกุล สาวิสิทธิ์

กรรมการ

5. นางสาวศิริรัตน์ จันไต้

กรรมการ

6. นายชาญวิทย์ ภาแกดา

กรรมการ

7. นายศุภชัย มาฤทธิ์

กรรมการ

8. นายปุญญพัฒน์ เปนนาม

กรรมการ

9. นายวิทยา ชื่นชม

กรรมการและเลขานุการ

10. นายสุรจิต ธรรมจักร์

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ผูใ้ ห้ข้อมูล บุคลากรสังกัดสานักคอมพิวเตอร์ทุกท่าน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


คานา สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้จัดทาคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามนโยบายและ แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาของสานักคอมพิวเตอร์ และเพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยกาหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพให้สอดคล้องกับ กรอบการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยมหาสารคามและให้มีความสอดคล้องกับแนวทางของ ส านั กงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดยคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อนาเสนอรายละเอียดของตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพและเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการ กากับและพัฒ นาคุณภาพของสานักคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิท ธิภ าพและเกิดประสิทธิผล รวมทั้งสร้าง ผลผลิตที่สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายของสานักคอมพิวเตอร์และมหาวิทยาลัยมหาสารคามต่อไป

(นางสาวสุพิน ไตรแก้วเจริญ) ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์


สารบัญ ส่วนที่ 1

หน้า การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์ ระบบการประกันคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

1

กลไกการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

2

นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสานักคอมพิวเตอร์

3

นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555

6

แนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผลการประเมิน คุณภาพภายใน 2

11

การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ความจาเป็นและวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา

13

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกันคุณภาพการศึกษา

15

กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565)

16

การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา

18

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

19

การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและ การประเมินคุณภาพภายนอก 3

25

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษา ของสานักคอมพิวเตอร์ ความหมาย วิธีการรายงาน สูตรการคานวณ และเกณฑ์การประเมินของตัวบ่งชี้

26

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายใน สานักคอมพิวเตอร์

27

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน

27

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

31

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

33

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน

35

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้

39

ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง

41

ตัวบ่งชี้ที่ 7.6 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน

44

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

46

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

48

องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 จานวนฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่ ได้รับการพัฒนาหรือปรับปรุงให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ทั้งมหาวิทยาลัย ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 การพัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้

50 52

ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 ความมีเสถียรภาพของการให้บริการระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์หลัก

53

ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการ ของสานักคอมพิวเตอร์ บรรณานุกรม ภาคผนวก

56 คาสั่งสานักคอมพิวเตอร์ ที่ 203/2556 แต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์

ผู้จัดทา

55

57 66

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


13

ส่วนที่ 2 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา 1. ความจาเป็นและวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติมี 4 ประการ คือ การผลิ ตบัณฑิต การวิจัย การ ให้บ ริการทางวิชาการแก่สั งคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒ นธรรม การดาเนินการตามภารกิจทั้ง 4 ประการดังกล่าว มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปัจจุบันมีปัจจัย ภายในและภายนอกหลายประการที่ทาให้การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นสิ่งจาเป็นที่ จะต้องเร่งดาเนินการ ปัจจัยดังกล่าวคือ 1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศ มีแนวโน้มมี่จะมีความแตกต่างกัน มากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดผลเสียแก่สังคมโดยรวมของประเทศในระยะยาว 2) ความท้ าทายของโลกาภิ วั ตน์ ต่ อ การอุ ด มศึก ษา ทั้ ง ในประเด็น การบริ ก ารการศึ กษาข้ า ม พรมแดน และการเคลื่อนย้ายนักศึกษาและบัณฑิต อันเป็นผลจากกการรวมตัว ของประเทศในภูมิภาค อาเซียน ซึ่งทั้งสองประเด็นต้องการการรับประกันของคุณภาพการศึกษา 3) สถาบั น อุดมศึกษามีความจาเป็นที่จะต้องสร้างความมั่นใจแก่สั งคมว่าสามารถพัฒ นาองค์ ความรู้ และผลิตบัณฑิต ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศให้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันระดับ สากล การพัฒ นาภาคการผลิ ตจริง ทั้งอุตสาหกรรมและบริการ การ พัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ระดับท้องถิ่นและชุมชน 4) สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ข้อมูลสาธารณะ (public information) ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งนักศึกษา ผู้จ้างงาน ผู้ปกครอง รัฐบาล และประชาชนทั่วไป 5) สังคมต้องการระบบอุดมศึกษาที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วม (participation) มีความโปร่ งใส (transparency) และมี ความรั บผิ ดชอบซึ่ งตรวจสอบได้ (accountability) ตามหลั ก ธรรมาภิบาล 6) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้ สถานศึกษาทุ กแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน รวมถึงให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษาทาหน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประเมินผลการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


14

7) คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศใช้มาตรฐานการอุดมศึกษาเมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม 2549 เพื่ อ เป็ น กลไกกากับ มาตรฐานระดับ กระทรวง ระดับ คณะกรรมการการอุด มศึ ก ษา และระดั บ หน่วยงาน โดยทุกหน่วยงานระดับอุดมศึกษาจะได้ใช้เป็นกรอบการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา 8) กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เมื่อ วัน ที่ 12 พฤศจิ กายน 2551 เพื่อ เป็ น กลไกส่ ง เสริม และก ากั บ ให้ ส ถาบัน อุ ดมศึ กษาจั ด การศึก ษาให้ มี มาตรฐานตามประเภทหรือกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่ม 9) กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ มี ป ระกาศกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศแนว ทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เพื่อให้ การจัดการศึกษาระดับ อุดมศึกษาเป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อการประกันคุณภาพของ บัณฑิตในแต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา ด้วยความจาเป็นดังกล่าวสถาบันอุดมศึกษาร่วมกับต้นสังกัดจึงจาเป็นต้องพัฒนาระบบและกลไก การประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อตรวจสอบและประเมินการดาเนินงานของภาควิชา คณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าและ สถาบั น อุ ด มศึ กษาในภาพรวม ตามระบบคุ ณภาพและกลไกที่ ส ถาบัน นั้ นๆ ก าหนดขึ้ น โดยวิ เคราะห์ เปรียบเทียบผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ในทุกองค์ประกอบคุณภาพว่าเป็นไปตามเกณฑ์และได้มาตรฐาน 2) เพื่อให้ภาควิชา คณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าและสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพของ ตนเองอันจะนาไปสู่การกาหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสู่ เป้าหมาย (targets) และเป้าประสงค์ (goals) ที่ตั้งไว้ตามจุดเน้นของตนเองและเป็นสากล 3) เพื่อให้ภาควิชา คณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าและสถาบันอุดมศึกษาทราบจุดแข็ง จุดที่ควร ปรับปรุง ตลอดจนได้รับข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อเสริมจุดแข็ง และพัฒนาจุดที่ค วร ปรับปรุงของสถาบันอย่างต่อเนื่อง 4) เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะทีเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทาให้มั่นใจว่าสถาบันอุดมศึกษา สามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาหนด 5) เพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ ยวข้อง มีข้อมูลพื้นฐานที่ จาเป็นสาหรับการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางที่เหมาะสม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


15

2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกัน คุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่ม เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนด จุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพและมาตรฐาน โดยกาหนดรายละเอียดไวใน หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อใช้เป็นกลไกลในการผดุงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของ สถาบันอุดมศึกษา การประกันคุณภาพภายใน เป็นการสร้างระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบและ ประเมินการดาเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่ กาหนดโดยสถานศึกษาและหรือหน่วยงานต้นสังกัด โดยหน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษากาหนดให้มี ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงาน ประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณา และเปิ ดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการ ประกันคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายนอก เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการติดตามและ ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึ กษา โดยคานึงถึงความมุ่งหมาย หลักการและแนว การจัดการศึกษาในแต่ละระดับ ซึ่งประเมินโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือเรียกชื่อย่อว่า สมศ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้งในทุกรอบ 5 ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน ซึ่ง สมศ. ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544-2548) เสร็จสิ้น ไปแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สอง (พ.ศ. 2549-2553) และการเตรียมการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม (พ.ศ. 2554-2558) ในการประเมินรอบที่สามของ สมศ. เป็นการ ประเมินทั้งระดับสถาบันและคณะวิชา แต่หากสถาบันใดจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งหลักการประเมินจะ ครอบคลุมการจัดการนอกสถานที่ตั้งหลักทั้งหมด นอกจากนั้นการประเมินคุณภาพจะมีความสอดคล้องกับ จุดเน้นหรือกลุ่มสถาบันที่แต่ละสถาบันเลือกตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


16

รูปแบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกจะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดโดยสานักงาน รั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (องค์ ก ารมหาชน) ซึ่ ง มี ห ลั ก การส าคั ญ 5 ประการ ดังต่อไปนี้ 1) เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้นเรื่องการตัดสินการจับผิด หรือการให้คุณ-ให้โทษ 2) ยึ ด หลั ก ความเที่ ย งตรง เป็ น ธรรม โปร่ ง ใส มี ห ลั ก ฐานข้ อ มู ล ตามสภาพความเป็ น จริ ง (evidence-based) และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability) 3) มุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตรมากกว่าการกากับควบคุม 4) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและการพัฒนาการจัดการศึกษาจากทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง 5) มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของชาติ ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ให้เอกภาพเชิงนโยบาย แต่ยังคงมีความ หลากหลายในทางปฏิบัติ โดยสถาบันสามารถกาหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็ม ตามศักยภาพของสถาบันและผู้เรียน 3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ได้กาหนดแนวทางการ พัฒนาและแก้ปัญหาอุดมศึกษาที่ไร้ทิศทาง ซ้าซ้อน ขาดคุณภาพ และขาดประสิทธิภาพ โดยใช้กลไกการ ประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเป็นกลไกหลักในการดาเนินการ กล่าวคือ ให้มีการสร้างกลไกการ ประเมินคุณภาพสถาบันอุดมศึกษาตามพันธกิจของสถาบันในแต่ละกลุ่ม ซึ่งมีพื้นที่บริการและจุดเน้นระดับ การศึกษาที่ต่างกัน รวมทั้งมีพันธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศต่างกั นตาม ความหลากหลาย ทั้งการพัฒนาฐานราก สังคม เศรษฐกิจรวมถึงการกระจายอานาจในระดับท้องถิ่น การ ขับเคลื่อนภาคการผลิตในชนบท ท้องถิ่นและระดับประเทศ จนถึงการแข่งขันในโลกาภิวัตน์ ซึ่งระบบ อุดมศึกษาแต่ละกลุ่มเหล่านี้จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงอุดมศึกษา และส่งผลกระทบที่ เป็นประโยชน์ต่อ ประเทศอย่างมีนัยสาคัญ อาทิ สามารถสร้างความเป็นเลิศได้ตามพันธกิจของตัวเอง สามารถตอบสนองต่อ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศดีขึ้น ส่งผลเชิงบวกต่อการผลิต พัฒนาและการทางานของอาจารย์ สามารถ ปรับจานวนของบัณฑิตในสาขาที่เป็นความต้องการของสังคม ลดการว่างงาน โดยที่สถาบันอุดมศึกษาใน กลุ่มเหล่านี้มีกลไกร่วมกันในการประกันคุณภาพ เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อยอดถ่ายโอนแลกเปลี่ยนกันได้ คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


17

ระหว่างกลุ่ม และในระยะยาวการประเมินคุณภาพควรนาไปสู่ระบบรับรองวิทยฐานะ (accreditation) ที่นักศึกษาและสาธารณะให้ความเชื่อถือ เป็นฐานและเงื่อนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐ และการ สนับสนุนจากภาคเอกชน รวมทั้งการโอนย้ายหน่วยกิต จากกรอบแผนอุ ด มศึ ก ษาระยะยาว 15 ปี ดั ง กล่ า ว กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ มี ป ระกาศ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง มาตรฐานสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ในปี 2551 ก าหนดประเภทหรื อ กลุ่ ม สถาบันอุดมศึกษาเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่ ม ก วิทยาลั ย ชุมชน หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิ ตบัณฑิตระดับต่ากว่าปริญญาตรี จัดฝึกอบรมสนองตอบความต้องการของท้องถิ่น เพื่อเตรียมกาลังคนที่มีความรู้เข้าสู่ภาคการผลิตจริงใน ชุมชน สถาบันสนับสนุนรองรับการเปลี่ยนอาชีพพื้นฐาน เช่น แรงงานที่ ออกจากภาคเกษตรเป็นแหล่ง เรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตอันจะนาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนและการ พัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญา ตรี เพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถเป็นหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงใน ระดับ ภู มิภ าค เพื่อ รองรั บ การด ารงชีพ สถาบัน อาจมีก ารจั ด การเรี ย นการสอนในระดับ บั ณฑิ ต ศึก ษา โดยเฉพาะระดับปริญญาโทด้วยก็ได้ กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุ่ม สาขาวิชา ทั้งสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สังคมศาสตร์หรือมนุษยศาสตร์ รวมทั้งสาขาวิชาชีพเฉพาะทาง สถาบันอาจเน้นการทาวิทยานิพนธ์หรือการวิจัยหรือเน้นการผลิตบัณฑิตที่มี ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสูงหรือเน้นทั้งสองด้าน รวมทั้ง สถาบันอาจมีบทบาทในการพัฒนาภาคการผลิตจริง ทั้งอุตสาหกรรมและบริการสถาบันในกลุ่มนี้อาจจาแนก ได้เป็น 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่ 1 เป็นสถาบันที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา และลักษณะที่ 2 เป็นสถาบันที่เน้น ระดับปริญญาตรี กลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก และเน้นการ ทาวิทยานิพนธ์และการวิจัยรวมถึงการวิจัยหลังปริญญาเอก สถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตที่เป็นผู้นาทาง ความคิดของประเทศ สถาบัน มีศัก ยภาพในการขับเคลื่ อนอุดมศึกษาไทยให้อยู่ในแนวหน้าระดับสากล

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


18

มุ่งสร้างองค์ความรู้ทฤษฎี และข้อค้นพบใหม่ทางวิชาการ ดังนั้น การประกันคุณภาพการศึกษาจึงต้องสร้าง กลไกการประเมินคุณภาพให้สอดรับกับการแบ่งกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่มดังกล่าว 4. การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวด 5 ที่ว่าด้วยการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ได้กาหนดให้คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่ พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยคานึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทาง วิชาการของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดทามาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใช้เป็น กลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน เพื่อนาไปสู่การกาหนด นโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป มาตรฐานการอุดมศึกษาที่จัดทาขึ้นฉบับนี้ ได้ ใช้ มาตรฐานการศึ กษาของชาติ ที่เ ปรี ยบเสมือ นร่ม ใหญ่เ ป็น กรอบในการพัฒ นาโดยมีส าระส าคั ญ ที่ ครอบคลุ มเป้ าหมายและหลั กการของการจัด การศึกษาระดับ อุดมศึ กษาของไทยและเป็น มาตรฐานที่ คานึงถึงความหลากหลายของกลุ่มหรือประเภทของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อให้ทุกสถาบันสามารถนาไปใช้ กาหนดพันธกิจและมาตรฐานของการปฏิบัติงานได้ มาตรฐานการอุดมศึกษา ที่ปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2549 ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการ อุดมศึกษา และมาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานย่อย ทั้ ง 3 ด้ า นนี้ อยู่ ใ นมาตรฐานการศึ ก ษาของชาติ ที่ ป ระกอบด้ ว ยมาตรฐานย่ อ ย 3 มาตรฐานเช่ น กั น คือ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ แต่ละมาตรฐาน ย่อยของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคล้องและสัมพันธ์กับมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการศึกษา ของชาติเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาบรรลุตามจุดมุ่งหมายและหลักการของการจัด การศึกษาของชาติ นอกเหนือจากมาตรฐานการอุดมศึกษาที่เป็นมาตรฐานแม่บทแล้ว คณะกรรมการการ อุดมศึกษาได้จัดทามาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2551 เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และพันธกิจในการจัดตั้งที่แตกต่าง กันได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 2 ด้าน คือ มาตรฐานด้านศักยภาพ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


19

และความพร้อมในการจัดการศึกษาและมาตรฐานด้านการดาเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และกาหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับ ปริ ญญาตรี กลุ่ ม ค สถาบัน เฉพาะทาง และกลุ่ ม ง สถาบันที่เน้นการวิ จัยขั้นสู งและผลิ ตบัณฑิตระดับ บัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก นอกจากนั้นยังได้จัดทากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อเป็นการประกันคุณภาพบัณฑิตใน แต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา โดยกาหนดให้คุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและสาขาวิชาต้อง เป็นไปตามมาตรฐานผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะ ทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการการอุดมศึกษายังได้กาหนดเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆ อาทิ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑ์การขอเปิดและดาเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล หลักเกณฑ์การกาหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพการจัด การศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาได้พัฒนาด้านวิชาการและ วิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้มีความ ทัดเทียมกันและพัฒนาสู่สากล ซึ่งทาให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างยื ดหยุ่นคล่องตัว และต่ อ เนื่ อ งในทุก ระดั บ การศึ ก ษาตลอดจนสะท้ อนให้ เ ห็ นถึ ง มาตรฐานคุ ณภาพการจั ด การศึ ก ษาใน ระดับอุดมศึกษา เพื่อให้ การจั ดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาหนดทั้ง มาตรฐานการศึกษาระดับ ชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึก ษา และสัมพันธ์กับ มาตรฐานและหลั ก เกณฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาอื่ น ๆ รวมถึ ง กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จึงจาเป็นต้องมีระบบประกันคุณภาพที่พัฒนาขึ้นตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 5. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ก่อนมีประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทบวงมหาวิทยาลัยได้ตระหนักดีถึง ความสาคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาและได้จัดทาประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง นโยบายและ แนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 เพื่อเป็นแนวทางในการ ประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการสาคัญ 3 ประการ คือ การให้เสรีภาพทาง คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


20

วิชาการ (academic freedom) ความมีอิสระในการดาเนินการของสถาบัน (institutional autonomy) และความพร้อมของสถาบันที่จะรับการตรวจสอบคุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ ตรวจสอบได้ (accountability) ต่อมาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ ระบุให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุ ณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบกับ พระราชบั ญญัติร ะเบี ยบบริ ห ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบ่งส่ ว น ราชการกาหนดให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนาและ มาตรฐานการอุ ดมศึ กษาที่ส อดคล้ องกับ แผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสั ง คมแห่ ง ชาติ และแผนการศึ กษา แห่งชาติสนับสนุนทรัพยากร ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดย คานึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญาตามกฎหมายว่าด้วย การจัดตั้งสถานศึกษาแต่ละแห่งและกฎหมายที่เกี่ยวข้องสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหน้าที่ ร่วมกับสถานศึกษาในการจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 5.1 กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา หลั ง จากที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ส านั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัดที่ทาหน้าที่กากับดูแล สถาบันอุดมศึกษา ได้เสนอระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อให้สอดคล้อง กับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว ซึ่งคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 21 มี นาคม 2543 ได้ มี ม ติ เ ห็ น ชอบกั บ ระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ซึ่งต่อมาได้จัดทาเป็นประกาศทบวงมหาวิทยาลัยเรื่อง ระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2545 เพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติสาระสาคัญของ ประกาศฉบับนี้ระบุให้ทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุนและส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษาจัดทาระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้ง ให้ มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุด มศึกษาจาก ภายใน หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถาบันการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับ การประเมินคุณภาพจากภายนอก รวมถึงสนับสนุนให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาขึ้นในแต่ละคณะวิชา หรือสถาบันอุดมศึกษา เพื่อกาหนดนโยบายหลั กเกณฑ์ แนวทาง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


21

วิธีการตรวจสอบและประเมินระบบกลไกและประเมินผลการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในของแต่ละคณะวิชาหรือสถาบันอุดมศึกษา หลั ง จากด าเนิ น การตามประกาศฉบั บ ปี พ.ศ. 2545 ไประยะหนึ่ ง ส านั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดทากฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลัก เกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา5 และมาตรา 47 วรรคสอง โดย สาระสาคัญเกี่ยวกับระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของกฎกระทรวงฉบับนี้ ยังคงไว้ ตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัยฯ พ.ศ. 2545 ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ถือปฏิบัติมา อย่างต่อเนื่อง ต่อมาในปี 2553 กระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกัน คุณภาพการศึก ษา พ.ศ. 2553 แทนฉบับเดิม โดยรวมการประกั นคุณภาพภายในและ ภายนอกของการศึกษาทุกระดับไว้ในฉบับเดียวกัน มีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ทาหน้าที่หลัก 2 ประการคือ 1) วางระเบียบหรืออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมสนับ สนุนและพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ 2) เสนอแนะแนวทางปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา โดยนาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไป ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีการปรับเปลี่ยนให้ระบบการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย การประเมินคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ และกาหนดให้ หน่วยงานต้นสังกัดจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้ง ผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อ สาธารณชน 5.1.1 หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพ การศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้พิจารณาจากประเด็นต่อไปนี้ 1) ระบบการประกั น คุ ณ ภ าพภายในของคณะวิ ช าและสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา โดยคานึงถึงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศ กาหนด 2) ผลการปฏิบัติงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบ การประกันคุณภาพภายในที่กาหนดไว้

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


22

3) ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดาเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพ ภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา 5.1.2 วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้ใช้แนวปฏิบัติ ดังนี้ 1) ให้ ค ณะวิ ช าและสถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจั ด ให้ มี ห น่ ว ยงานหรื อ คณะกรรมการที่รั บผิ ดชอบการดาเนิน การด้านการประกันคุณภาพขึ้ น โดยมีห น้าที่พัฒ นาบริห ารและ ติดตามการดาเนินการประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้เกิดความ มั่นใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายใน เพื่อใช้กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพภายใต้กรอบ นโยบายและหลักการที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด 3) ให้ ค ณะวิ ช าและสถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาด าเนิ น การตามระบบการ ประกันคุณภาพภายใน โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา 4) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและกลไกควบคุม คุณภาพขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ (1) หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ (2) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์ (3) สื่อการศึกษาและเทคนิคการสอน (4) ห้องสมุดและ แหล่งการเรียนรู้อื่น (5) อุปกรณ์การศึกษา (6) สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้และบริการการศึกษา (7) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักศึกษา (8) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร ทั้งนี้ให้แต่ละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามที่เห็นสมควร โดยให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาส่งเสริมและ สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารพั ฒ นาด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาในระดั บ คณะวิ ช าของสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง 5.1.3 การรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพภายในถือ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องดาเนินการ อย่ างมีร ะบบ และต่อเนื่ องสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


23

ประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่ อพิจารณา และเปิดเผยต่อสาธารณชน โดยให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์และแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 5.1.4 การติดตามตรวจสอบของต้นสังกัด ให้ ห น่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด ของสถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจั ด ให้ มี ก ารติ ด ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้นอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้งผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน 5.2 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5.2.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา สถาบั นอุดมศึกษาอาจพัฒ นาระบบประกันคุณภาพที่เหมาะสมสอดคล้ องกับ ระดั บ การพั ฒ นาของสถาบั น โดยอาจเป็ น ระบบประกั น คุ ณ ภาพที่ ใ ช้ กั น แพร่ ห ลายในระดั บ ชาติ ห รื อ นานาชาติ หรือเป็นระบบเฉพาะที่สถาบันพัฒนาขึ้นเอง แต่ไม่ว่าจะเป็นระบบคุณภาพแบบใดจะต้องมี กระบวนการทางานที่เริ่มต้นจากการวางแผน การดาเนินงานตามแผน การตรวจสอบประเมิน และการ ปรับปรุงพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินภารกิจของสถาบันบรรลุเป้าประสงค์และมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ขณะเดีย วกันก็เป็ น หลั กประกัน แก่ส าธารณชนให้ มั่นใจว่าสถาบันอุดมศึกษาสามารถสร้างผลผลิ ตทาง การศึกษาที่มีคุณภาพ 5.2.2 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินคุณภาพ

มาตรฐาน เป็ น กรอบส าคั ญ ในการด าเนิ น งานของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คื อ มาตรฐานการอุดมศึกษา อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ยังต้องดาเนินการให้ได้ตาม มาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอีกมาก เช่น มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพ ภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติราชการตามมิติด้านต่างๆ ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐ เป็นต้น

ตั ว บ่ ง ชี้ เป็ น ข้ อ ก าหนดของการประกั น คุ ณ ภาพภายในที่ พั ฒ นาขึ้ น ใน องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านที่มีความครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการอุดมศึกษาและพันธกิจ สนั บ สนุ น ได้ แก่ (1) ปรั ช ญา ปณิธ าน วัต ถุประสงค์ และแผนดาเนิ นการ (2) การผลิ ตบั ณฑิต (3) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (4) การวิจัย (5) การบริการทางวิชาการแก่สังคม (6) การทานุบารุง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


24

ศิลปะและวัฒนธรรม (7) การบริหารและการจัดการ (8) การเงินและงบประมาณ และ (9) ระบบและ กลไกการประกัน คุณภาพ ซึ่งตัวบ่ งชี้ดังกล่ าวสามารถชี้วัดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการ อุดมศึกษา มาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบคุณภาพนั้นๆ ได้ทั้งหมด ทั้งตัวบ่งชี้ ที่ใช้ประเมินปัจจัยนาเข้า กระบวนการและผลผลิตหรือผลลัพธ์นอกจากนี้

เกณฑ์การประเมิน เป็นมาตรวัดของแต่ละตัวบ่งชี้ซึ่งพัฒนาจากเกณฑ์และแนว ปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานซึ่งกาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ สมศ. ทั้งนี้ เพื่อให้การประเมินคุณภาพการศึกษามีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน 5.2.3 กลไกการประกันคุณภาพ ในด้านของกลไกการประกันคุณภาพ ผู้ที่มีความสาคัญส่งผลให้การดาเนินงาน ประสบความสาเร็จและนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง คือ คณะกรรมการระดับนโยบาย และ ผู้บริหารสูงสุดของสถาบันที่จะต้องให้ความสาคัญและกาหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่ ชัดเจน และเข้าใจร่วมกันทุกระดับ โดยมอบหมายให้หน่วยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง หน้าที่สาคัญประการหนึ่งของ คณะกรรมการหรือหน่วยงานนี้ คือ การจัดระบบประกันคุณภาพ พร้อมทั้งตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน คุณภาพที่เหมาะสมสาหรับสถาบัน ระบบประกันคุณภาพที่ใช้ต้องสามารถเชื่อมโยงให้เกิดคุณภาพของการ ปฏิบัติงาน ตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับภาควิชาหรือสาขาวิชา ระดับคณะวิชาไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจ จาเป็นต้องจั ดทาคู่มือคุณภาพในแต่ละระดับ เพื่อกากับการดาเนินงาน แต่ที่สาคัญคณะกรรมการหรือ หน่วยงานนี้ต้องประสานงานและผลักดันให้เกิดระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพซึ่งสามารถ ใช้งานร่วมกันได้ในทุกระดับ 5.2.4 ระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์และวัดผลดาเนินงานเป็นสิ่งจาเป็นในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัดและวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน จะไม่สามารถทาได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพหากปราศจาก ฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศที่เป็นจริง ถูกต้องตรงกันทุกระดับตั้งแต่ ระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และสถาบั น ตลอดจนเป็ น ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถเรี ย กใช้ ไ ด้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ดั ง นั้ น ระบบสารสนเทศที่ ดี มีประสิทธิภาพจึงเป็นปัจจัยสาคัญยิ่งที่จะส่งผลต่อความสาเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และส่งผล ต่อคุณภาพในทุกขั้นตอนการดาเนินงานตั้ งแต่การวางแผน การปฏิบัติงานประจา การตรวจสอบประเมิน ตลอดจนถึงการปรับปรุงและพัฒนา

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


25

6. การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ตามมาตรา 48 ของพระราชบั ญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุ ว่ า ให้ ห น่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด และสถานศึ ก ษาจั ด ให้ มี ร ะบบการประกั น คุ ณ ภาพภายใน สถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้อง ดาเนินการอย่างต่อเนื่องในขณะที่มาตรา 49 ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมินคุณภาพ ภายนอกไว้ว่า ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษามีฐานะเป็นองค์การมหาชน ทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทาการประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อให้มี การตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการ บริหารการศึกษาปกติที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ มี การตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานเพื่อนาไปสู่การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ด้วยเหตุนี้ระบบประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้ งปัจจัยนาเข้า (input) กระบวนการ (process) และ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (output/outcome) ซึ่งต่างจากการประเมินคุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผล การจัดการศึกษา จะเห็นว่า เมื่อสถาบันอุดมศึกษามีการดาเนินการประกันคุณภาพภายในแล้ว จาเป็นต้องจัดทา รายงานประจาปี ที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ซึ่งเป็นผลจากการประกันคุณภาพภายในหรือ เรียกว่า รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) เพื่อนาเสนอสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เอกสารดังกล่าวจะเป็นเอกสาร เชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในของสถาบัน การติดตามตรวจสอบของต้นสั งกัด และการ ประเมินคุณภาพภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องจัดทารายงานการประเมินตนเองที่มีความลุ่มลึกสะท้อน ภาพที่แท้จริงของสถาบันในทุกองค์ประกอบคุณภาพ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


26

ส่วนที่ 3 ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตามองค์ประกอบคุณภาพ 1. ความหมาย วิธกี ารรายงาน สูตรการคานวณ และเกณฑ์การประเมินของตัวบ่งชี้ สานักคอมพิวเตอร์ ได้ดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของหน่วยงานตามองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ตามองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย และปรับปรุงเพิ่มเติมให้ตรงตามภารกิจหลักของ หน่วยงาน และขอรับการประเมินเฉพาะมาตรฐานและตัวบ่งชี้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสานักคอมพิวเตอร์ได้จัดทา มาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่เป็นภารกิจของหน่วยงานโดยตรงเพิ่มเติมด้วย เพื่อจะขอรับการประเมินคุณภาพใน วงรอบปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 2556 ถึง 31 พฤษภาคม 2557) รวม 7 องค์ประกอบ 13 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

จานวน 4 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ที่ 7.6 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

จานวน 1 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์

จานวน 4 ตัวบ่งชี้

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


27

ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 จานวนฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่ได้รับการพัฒนาหรือ ปรับปรุงให้สามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งมหาวิทยาลัย ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 การพัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 ความมีเสถียรภาพของการให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลัก ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการของสานัก คอมพิวเตอร์ 2. องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ วงรอบปีการศึกษา 2556 องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชีท้ ี่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์มีพันธกิจหลักคือการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเพื่อสนับสนุนการดาเนินการตามพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยมหาสารคามคือ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อให้สามารถสนับสนุนการ ดาเนินงานของมหาวิทยาลัยมหาสารคามให้บรรลุตามเป้าหมาย สานักคอมพิวเตอร์ต้องกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ตลอดจนมีการพัฒนาแผนกลยุทธ์และแผนดาเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงานของสานัก คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาแผนกลยุทธ์ นอกเหนือจากการพิจารณาพั นธกิจดังกล่าวแล้ว จะต้องคานึงถึง หลักการอุดมศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ของชาติและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รวมถึงทิศทาง การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับ และสามารถตอบสนอง พันธกิจของมหาวิทยาลัยในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม แผนกลยุทธ์ หมายถึง แผนระยะยาวของสถาบันโดยทั่วไปมักใช้เวลา 5 ปี เป็นแผนที่กาหนดทิศ ทางการพัฒนาของสถาบัน แผนกลยุทธ์ประกอบไปด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


28

ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคาม กลยุทธ์ต่างๆ ของสถาบันควรครอบคลุมทุกภารกิจ ของสถาบัน มีการกาหนดตัวบ่งชี้ความสาเร็จของแต่ละกลยุทธ์และค่าเป้าหมายของตัวบ่งชี้เพื่อวัดระดับ ความส าเร็ จ ของการดาเนิ น งานตามกลยุทธ์ โดยสถาบันนาแผนกลยุทธ์มาจัดทาแผนดาเนินงานหรือ แผนปฏิบัติงานประจาปี แผนปฏิบัติการประจาปี หมายถึง แผนระยะสั้นที่มีระยะเวลาในการดาเนินงานภายใน 1 ปี เป็น แผนที่ถ่ายทอดแผนกลยุ ทธ์ล งสู่ ภ าคปฏิบัติ เพื่อให้ เ กิดการดาเนิน งานจริงตามกลยุทธ์ ประกอบด้ว ย โครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่จะต้องดาเนินการในปีนั้นๆ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตามแผนกลยุทธ์ ตัวบ่งชี้ ความสาเร็จของโครงการหรือกิจกรรม ค่าเป้าหมายของตัวบ่งชี้เหล่านั้น รวมทั้งมีการระบุผู้รับผิดชอบหลัก หรือหัว หน้าโครงการ งบประมาณในการดาเนินการ รายละเอียดและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดาเนิน โครงการที่ชัดเจน เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของคณะกรรมการประจาสานัก คอมพิวเตอร์ โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสานักคอมพิวเตอร์ และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจา ส านั ก คอมพิว เตอร์ โดยเป็ น แผนที่ เชื่อ มโยงกับปรัช ญาหรือ ปณิธ านและพระราชบัญ ญัติมหาวิท ยาลั ย มหาสารคาม พ.ศ. 2537 ตลอดจนสอดคล้องกับจุดเน้นกลุ่มผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม (กลุ่ม ข) กรอบ แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) 2. มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับหน่วยงานไปสู่ทุกงานภายในหน่วยงาน 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์เป็นแผนปฏิบัติการประจาปีครบตามพันธกิจของหน่วยงาน 4. มีตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปี และค่าเป้าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้ เพื่อวัด ความสาเร็จของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปี 5. มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีครบตามพันธกิจของหน่วยงาน 6. มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจาปี อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารเพื่อพิจารณา 7. มีการประเมิน ผลการดาเนิ นงานตามตัว บ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่างน้อยปีล ะ 1 ครั้ง และ รายงานผลต่อผู้บริหารและคณะกรรมการประจาสานักคอมพิวเตอร์เพื่อพิจารณา

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


29

8. มี ก ารน าผลการพิ จ ารณา ข้ อ คิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะของคณะกรรมการประจ าส านั ก คอมพิวเตอร์ไปปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปี เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 8 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 หรือ 7 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 8 ข้อ

หมายเหตุ 1) การประเมินในตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ใช้วงรอบปีงบประมาณที่ตรงกับปีการศึกษาที่รับประเมินคือ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556) 2) การประเมินในระดับคณะวิชาและหน่วยงานเทียบเท่าให้ปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์ มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับหน่วยงานที่รับการประเมิน เช่น สภามหาวิทยาลัยอาจปรับเป็นกรรมการ ประจาคณะวิชา ประเด็นถาม-ตอบจากคูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัย มหาสารคาม : คาถามที่ 1 แผนยุทธศาสตร์ 4 ปี และแผนกลยุทธ์ แตกต่างกันอย่างไร คาตอบ ไม่แตกต่างกัน บางสถาบันจัดทาแผนกลยุทธ์ 3 ปีก็เป็นไปได้ แต่อย่างไรหากมีการกาหนด ปรัชญา ปณิธานไว้แล้ว ควรมีการทบทวนว่าเหมาะสมกับสภาพปัจจุบันหรือไม่ คาถามที่ 2 การมีสว่ นร่วมของบุคลากรในการจัดทาแผนฯ ต้องทุกคนหรือไม่ เท่าไหร่จึงจะถือได้ว่าเป็นการ มีส่วนร่วม คาตอบ กระบวนการจัดทาแผนโดยผ่านตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ ถือว่าเป็นการมีส่วนร่วมแต่ต้องมั่นใจ ว่าตัวแทนนั้น จะนาเอาแผนฯ ไปถ่ายทอดได้ ซึ่งการแขวนบนเว็บไซต์ก็สามารถทาได้ แต่ต้องปรากฏ หลักฐานว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนฯ ดังกล่าว ถือเป็นการให้โอกาสให้ทุก ภาคส่วนมีส่วนร่วม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


30

คาถามที่ 3 การถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ไปสู่ทุกหน่วยงานภายใน ควรเป็นไปในรูปแบบใด คาตอบ ควรใช้กระบวนการประชุมชี้แจงเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน กรณีมีตัวแทนคณบดีหรือหัวหน้า ภาค ควรมีหลักฐานว่ามีการเอาข้อมูลของแผนกลยุทธ์ไปถ่ายทอดต่อ เช่น รายงานการประชุมแต่การแจ้ง เวียนเป็นเอกสารจะไม่ถือว่าเป็นการถ่ายทอด

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


31

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชีท้ ี่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จาเป็นต้องมีการบริหารและพัฒนา บุคลากรทุกประเภทอย่างเหมาะสมทั้งในด้านเทคนิคการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ และการใช้สื่อการ สอนที่ทันสมัย รวมทั้งมีการปรับกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ผลการเรียนรู้และข้อมูลจากความคิดเห็น ของผู้ เรี ย น นอกจากนั้ น ยั งจ าเป็ น ต้อ งมีบุค ลากรสายสนับ สนุน ที่มีคุ ณภาพสอดคล้ อ งกับพั นธกิ จและ เป้าหมายของมหาวิทยาลัยและสานักคอมพิวเตอร์ เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ 2. มีการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กาหนด 3. มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกาลังใจให้บุคลากรสายสนับสนุนสามารถ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. มีระบบการติดตามให้บุคลากรสายสนับสนุนนาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ใน การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 5. มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้ถือปฏิบัติ 6. มีการประเมินผลความสาเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน 7. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาบุคลากรสาย สนับสนุน เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 7 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


32

หมายเหตุ 1) หลักฐานสาหรับการประเมินในเกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 3 เช่น ผลการประเมิน หรือผลการ สารวจความพึงพอใจของคณาจารย์และบุคลากร ด้านสวัสดิการ การเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และการสร้าง ขวัญและกาลังใจ หรือหลักฐานเชิงประจักษ์อื่น ๆ ที่เชื่อมโยงให้เห็นการทางานได้ดีขึ้น 2) หน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอนปรับตัวบ่งชี้เป็นระบบการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ประเด็นถาม-ตอบจากคูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัย มหาสารคาม : คาถาม : การประเมินความสาเร็จของแผนฯ ควรดาเนินการอย่างไร ตอบ : ประเมินผลตามตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาบุคลากร ไม่ใช่ประเมินตามตัวชี้วัดราย โครงการในการจัดอบรมและพัฒนาบุคลากร ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรมีระบบและกลไกในการพัฒนาบุคลากรให้มีความก้าวหน้าตามสายงาน (ต้องมีนโยบาย แผน ขั้นตอน/ กฎเกณฑ์ปฏิบัติ สรุปผลและทบทวนการทางาน) เช่น โครงการส่งเสริมการเข้าสู่ตาแหน่ง โครงการให้ ความรู้การเขียนผลงานวิชาการและการวิจัย

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


33

องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชีท้ ี่ 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์หรือผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : ศิลปะและวัฒนธรรม เกี่ยวข้องกับความสุนทรีย์และรสนิยม เกิดรูปแบบวิถีชีวิตและ สังคม โดยมีลักษณะที่เป็นพลวัต มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จาเป็นต้องรู้ทันอย่างมีปัญญาโดยมีแผน ในการพัฒนา ให้ความรู้และประสบการณ์ด้านสุนทรียภาพในบริบทของศิลปะและวัฒนธรรม สามารถ เลือกรับ รักษาและสร้างให้ตนเองและสังคมอยู่ร่วมกันอย่างรู้คุณค่าความงามอย่างมีสุนทรีย์ที่มีรสนิยม ศิ ล ปะ

คื อ งานสร้ า งสรรค์ ที่ ส่ ง เสริ ม สร้ า งสุ น ทรี ย์ ความงาม และความสุ ข แก่ ผู้ ค น

สภาพแวดล้ อม และสังคม เพื่อพัฒ นาการยกระดับความมีรสนิยม ความสุ นทรีย์ เข้าใจคุณค่าและ ความสาคัญของศิลปะ ตลอดจนเป็นแนวทางในการพัฒนาส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริญงอกงามของมวลมนุษย์ที่ มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง เช่น เรื่อง ความคิด ความรู้ ความเชื่อ ก่อให้เกิดวัฒนธรรม โดยสามารถเห็นได้จากพฤติกรรมในวิถีชีวิตและสังคม รวมทั้งผลที่เกิดจากกิจกรรมหรือผลผลิตกิจกรรมของมนุษย์ วัฒนธรรมมีลักษณะเฉพาะและมีลักษณะ สากลเปลี่ยนแปลงตามสมัยนิยม วัฒนธรรมปัจจุบันที่ดีควรมีความสอดคล้องกับความเป็นสากล แต่มี รากฐานของวัฒนธรรมตนเองที่มีคุณค่า สาหรับวัฒนธรรมในสถาบันอุดมศึกษา หมายถึง วัฒนธรรมที่ แสดงความเป็ น อุด มศึกษาที่ถือ เป็ น แบบอย่ างที่ดี ต่อสั ง คม มีความเจริ ญงอกงามทางปัญ ญา ความรู้ ความคิด ทัศนคติ มีวัฒนธรรมในวิถีชีวิตมหาวิทยาลัยที่น่าศรัทธาเป็นที่ยอมรับ มีบทบาทต่อการปกป้อง วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย และพัฒนาแนวทางการดารงชีวิตท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมสากลได้เหมาะสม อย่างฉลาดรู้ การพัฒนาสุนทรียภาพ หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างมีแผนที่เป็นระบบเกี่ยวกับความ งามทางศิลปะและวัฒนธรรม ที่มีผลกระทบต่อบุคคล สถาบัน สภาพแวดล้อม และสังคมในแนวทางที่ดี ขึ้น โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน และเป็นที่ยอมรับร่วมกันได้ ผลการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือสร้างสิ่งใหม่ ต้องไม่เป็นการทาลายคุณค่าทางสุนทรีย์ของศิลปะและวัฒนธรรมเดิม การพัฒนาเชิ งวัฒนธรรมสามารถ สร้างวัฒนธรรมใหม่ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและมีนวัตกรรมใหม่ ทั้งทาง เทคโนโลยี ระบบสังคม เพื่อให้อยู่ร่วมกันได้อย่างเข้าใจมีความเจริญก้าวหน้าอย่างสันติสุข

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


34

สุนทรียะทางศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง คุณค่าทางความงามของศิลปะและวัฒนธรรมที่ส่งผล ต่อการรับรู้และความรู้สึก สามารถจรรโลงจิตใจให้มีความสุข มีรสนิยม ก่อให้เกิดวิถีชีวิตมนุษย์ที่งดงาม สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมที่เข้าใจและผูกพัน ตลอดจนการรับรู้ถึงคุณค่าที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมของ ศิลปะและวัฒนธรรมเชิงประวัติศาสตร์เพื่อการดารงรักษ์สืบต่อไป สะอาด หมายถึง ไม่รก มีระเบียบ รักษาง่าย ใช้สะดวก สุขลักษณะ หมายถึง สะอาด ปลอดภัย ไร้มลภาวะ สุขใจ สบายกาย สวยงาม หมายถึง มีการจัดแต่งอาคาร สภาพแวดล้อมอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับพื้นที่ แวดล้อม ไม่สิ้นเปลือง และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม เกณฑ์มาตรฐาน : 1. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในมหาวิทยาลัยที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี 2. สิ่งแวดล้อมด้านความปลอดภัยของอาคารสถานที่ สะอาดถูกสุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมี ความสุนทรีย์ 3. ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. การจัดให้มีพื้นที่และกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่งเสริมให้นิสิตและบุคลากรมีส่วนร่วม อย่างสม่าเสมอ 5. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและหรือนิสิตที่เกี่ยวกับประเด็น 1-4 ไม่ต่ากว่า 3.51 จาก คะแนนเต็ม 5 เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2555 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน : คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


35

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.1 ภาวะผูน้ าของคณะกรรมการประจาสานักและผูบ้ ริหารทุกระดับของสานักคอมพิวเตอร์ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : ปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญต่อการเจริญก้าวหน้าของมหาวิทยาลัย คือ สภามหาวิทยาลัย และผู้บ ริหารทุกระดับ มหาวิทยาลั ยนั้ นๆ หากสภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นาที่ดี มีธรรมาภิบาล รับผิดชอบต่อสังคม รักความก้าวหน้า ดูแลบุคลากรอย่างดี เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการบริหาร มีความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหา และกากับดูแล ติดตามผลการดาเนินงานของ มหาวิทยาลัยไปในทิศทางที่ถูกต้อง จะทาให้มหาวิทยาลัยเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว เกณฑ์มาตรฐาน : 1. คณะกรรมการประจาสานัก ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดครบถ้วนและมีการประเมิน ตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า 2. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ กาหนดทิศทางการดาเนินงาน และสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุ ทธ์ มีการนาข้อมูลสารสนเทศเป็นฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนา สถาบัน 3. ผู้บริหารมีการกากั บ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถ สื่อสารแผนและผลการดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ไปยังบุคลากรในสานักคอมพิวเตอร์ 4. ผู้บริหารสนับสนุนให้บุคลากรในสานักคอมพิวเตอร์มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ให้อานาจใน การตัดสินใจแก่บุคลากรตามความเหมาะสม 5. ผู้บริหารถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมพัฒนาผู้ร่วมงาน เพื่อให้สามารถทางานบรรจุวัตถุประสงค์ ของสานักคอมพิวเตอร์เต็มตามศักยภาพ 6. ผู้บริหารบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึงประโยชน์ของสานักคอมพิวเตอร์และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย 7. คณะกรรมการประจาสานักประเมินผลการบริหารงานของสานักคอมพิวเตอร์และผู้บริหารนาผล การประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอย่างเป็นรูปธรรม

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


36

เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 7 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

หมายเหตุ 1. หากจะประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานข้อที่ 6 นั้น ต้องแสดงข้อมูลการบริหารงานตาม หลักธรรมาภิบาลครบถ้วนทั้ง 10 ประการ ตามนิยามศัพท์ที่ระบุไว้ ซึ่งสอดคล้องเป็นไปตามเกณฑ์ของ สมศ. หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุม ดูแลกิจการต่างๆ ให้เป็นไป ในครรลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งสามารถนาไปใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกสาร ธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้มีความหมายอย่างกว้างขวาง กล่าวคือ หาได้มีความหมายเพียงหลักธรรมทาง ศาสนาเท่านั้น แต่รวมถึงศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมและความถูกต้อง ชอบธรรมทั้งปวง ซึ่งวิญญูชนพึงมี และพึงประพฤติปฏิบัติ อาทิ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์การภายนอก เป็นต้น หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ที่เหมาะสมจะนามา ปรับใช้ในภาครัฐมี 10 องค์ประกอบดังนี้ (1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) คือ ผลการปฏิบัติราชการที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ของแผนการปฏิบัติราชการตามที่ได้รับงบประมาณมาดาเนินการ รวมถึงสามารถเทียบเคียงกับส่วนราชการ หรื อหน่ ว ยงานที่มีภ ารกิจ คล้ ายคลึ งกัน และมีผ ลการปฏิบัติงานในระดับชั้นนาของประเทศ เพื่อให้ เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชนโดยการปฏิบัติราชการจะต้องมีทิศทางยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ที่ชัดเจน มี กระบวนการปฏิบัติงานและระบบงานที่เป็นมาตรฐาน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลและพัฒนาปรับปรุง อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ (2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ การบริหารราชการตามแนวทางการกากับดูแลที่ดีที่มีการ ออกแบบกระบวนการปฏิบั ติงานโดยใช้เทคนิคและเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมให้องค์การ สามารถใช้ ท รั พ ยากรทั้ ง ด้ า นต้ น ทุ น แรงงานและระยะเวลาให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ การพั ฒ นาขี ด ความสามารถในการปฏิบัติราชการตามภารกิ จเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกกลุ่ม คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


37

(3) หลั กการตอบสนอง (Responsiveness) คือ การให้ บริ การที่ส ามารถดาเนิน การได้ ภ ายใน ระยะเวลาที่กาหนด และสร้างความเชื่อมั่น ความไว้ว างใจ รวมถึงตอบสนองความคาดหวังหรือความ ต้องการประชาชนผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีความหลากหลายและมีความแตกต่าง (4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) คือ การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่และ ผลงานต่อเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยความรับผิ ดชอบนั้นควรอยู่ในระดับที่สนองต่อความคาดหวังของ สาธารณะ รวมทั้งการแสดงถึงความสานึกในการรับผิดชอบต่อปัญหาสาธารณะ (5) หลักความโปร่งใส (Transparency) คือ กระบวนการเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา ชี้แจงได้เมื่อ มีข้อสงสัยและสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอันไม่ต้องห้ามตามกฎหมายได้อย่างเสรี โดยประชาชนสามารถ รู้ทุกขั้นตอนในการดาเนินกิจกรรมหรือกระบวนการต่างๆ และสามารถตรวจสอบได้ (6) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) คือ กระบวนการที่ข้าราชการ ประชาชนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกกลุ่มมีโอกาสได้เข้าร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทาความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหาหรือ ประเด็นที่สาคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิด แนวทาง ร่วมการแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วม กระบวนการพัฒนาในฐานะหุ้นส่วนการพัฒนา (7) หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) คือ การถ่ายโอนอานาจการตัดสินใจทรัพยากร และภารกิจจากส่วนราชการส่วนกลางให้แก่หน่วยการปกครองอื่นๆ (ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น) และภาค ประชาชนดาเนิ นการแทนโดยมีอิส ระตามสมควร รวมถึงการมอบอานาจและความรับผิ ดชอบในการ ตั ด สิ น ใจและการด าเนิ น การให้ แ ก่ บุ ค ลากร โดยมุ่ ง เน้ น การสร้ า งความพึ ง พอใจในการให้ บ ริ ก ารต่ อ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปรับปรุงกระบวนการ และเพิ่มผลิตภาพเพื่อผลการดาเนินงาที่ดีของ ส่วนราชการ (8) หลักนิติธรรม (Rule of Law) คือ การใช้อานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับในการ บริหารราชการด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และคานึงถึงสิทธิเสรีภาพของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (9) หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การได้รับการปฏิบัติและได้รับบริการอย่างเท่าเทียมกัน โดย ไม่มีการแบ่งแยกด้าน ชายหรือหญิง ถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือ สุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษา การฝึกอบรมและ อื่นๆ (10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) คือ การหาข้อตกลงทั่วไปภายในกลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นข้อตกลงที่เกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาข้อคิดเห็นจากกลุ่มบุคคลที่ได้รับ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


38

ประโยชน์และเสียประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรงซึ่งต้องไม่มีข้อ คัดค้านที่ยุติไม่ได้ใน ประเด็นที่สาคัญ โดยฉันทามติไม่จาเป็นต้องหมายความว่าเป็นความเห็นพ้องโดยเอกฉันท์ 2. การประเมินในระดับคณะวิชาและหน่วยงานเทียบเท่าให้ปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์ มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับหน่วยงานที่รับการประเมิน เช่น สภามหาวิทยาลัยอาจปรับเป็นกรรมการ ประจาคณะวิชา ประเด็นถาม-ตอบจากคูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัย มหาสารคาม : คาถาม เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 1 ที่กาหนดว่า “สภามหาวิทยาลัยปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนด ครบถ้วน และมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า” คาว่า “สภามหาวิทยาลัย” ใน ความหมายของการประเมินระดับคณะวิชา หมายถึง คณะกรรมการประจาคณะใช่หรือไม่ คาตอบ ใช่ ในกรณีเป็นการประเมินระดับคณะวิชา คาว่า “สภามหาวิทยาลัย” จะหมายถึงคณะกรรมการ ประจาคณะวิชา ที่แต่งตั้งตามข้อกาหนดของกฎหมาย หรือมติที่ประชุมของหน่วยงาน สาหรับหน่วยงาน สนับสนุนการเรียนการสอนเทียบเท่าคณะวิชา คณะกรรมการประจาหน่วยงาน หมายถึง คณะกรรมการที่ แต่งตัง้ ตามข้อกาหนดของกฎหมาย แต่หากกรณีหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอนที่กฎหมายไม่ได้ กาหนดเกี่ยวกับองค์ประกอบของคณะกรรมการประจาหน่วยงานให้แต่งตั้งโดยมติที่ประชุมหน่วยงาน หรือ ได้รับความเห็นชอบจากอธิการบดี

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


39

ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสูส่ ถาบันเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : มาตรฐานการอุดมศึกษาข้อที่ 3 กาหนดให้มหาวิทยาลัยมีการสร้างและพัฒนาสังคม ฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งต้องมีการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ โดยมี การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็น ระบบ เพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด กระบวนการในการ บริหารจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัยประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บ ความรู้ ก ารเข้ า ถึง ข้ อ มูล และการแลกเปลี่ ย นความรู้ ทั้ งภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย การสร้ า ง บรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ ภายในมหาวิทยาลัยการกาหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัยให้ดียิ่งขึ้น เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีการกาหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ หน่วยงานอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจหลัก 2. กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่ กาหนดในข้อ 1 3. มี ก ารแบ่ ง ปั น และแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ จ ากความรู้ ทั ก ษะของผู้ มี ป ระสบการณ์ ต รง ( Tacit Knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้ อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากร กลุ่มเป้าหมายที่กาหนด 4. มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้ อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) 5. มีการนาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ผ่านมาที่เป็น ลายลั ก ษณ์อั ก ษร (Explicit

Knowledge) และจากความรู้ ทั ก ษะของผู้ มี ประสบการณ์ ต รง (Tacit

Knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


40

เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรมีการรวบรวมความรู้เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


41

ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.4 ระบบบริหารความเสีย่ ง ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : เพื่อให้มหาวิทยาลัยมีระบบบริหารความเสี่ยง โดยการบริหารและควบคุมปัจจัย กิจกรรม และกระบวนการดาเนินงานที่อาจเป็นมูลเหตุของความเสียหาย (ทั้งในรูปของตัวเงิน หรือไม่ใช่ตัว เงิน เช่น ชื่อเสียง และการฟ้องร้องจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความคุ้มค่า) เพื่อให้ระดับความเสี่ยง และขนาดของความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อยู่ในระดับที่ยอมรับและควบคุมได้ โดยคานึงถึงการเรียนรู้วิธีการป้องกันจากการคาดการณ์ปัญหาล่วงหน้า และโอกาสในการเกิด เพื่อป้องกันหรือบรรเทาความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งการมีแผนสารองต่อภาวะ ฉุกเฉิน เพื่อให้มั่นใจว่าระบบงานต่างๆ มีความพร้อมใช้งาน มีการปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่องและทันต่อ การเปลี่ยนแปลงเพื่อการบรรลุเป้าหมายของมหาวิทยาลัยตามยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์เป็นสาคัญ เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผู้บริหารระดับสูงและ ตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบันร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทางาน 2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงอย่างน้อย 3 ด้าน ตาม บริบทของสถาบัน จากตัวอย่างต่อไปนี้ - ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่) - ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์ของสถาบัน - ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหาร งานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ - ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาธิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์ และบุคลากร - ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลาดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ ในข้อ 2 4. มีการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดาเนินการตามแผน คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


42

5. มีการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และรายงานต่อสภาสถาบันเพื่อพิจารณา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6. มีการนาผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากสถาบันไปใช้ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความ เสี่ยงในรอบปีถัดไป เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 6 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

หมายเหตุ 1) คะแนนการประเมินจะเท่ากับ 0 หากพบว่าเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงขึ้นภายในมหาวิทยาลัยในรอบ ปีการประเมินที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและความปลอดภัยของนิสิต คณาจารย์ บุคลากร หรือต่อชื่อเสียง ภาพลั ก ษณ์ หรื อ ต่ อ ความมั่ น คงทางการเงิ น ของมหาวิ ท ยาลั ย อั น เนื่ อ งมาจากความบกพร่ อ งของ มหาวิทยาลัยในการควบคุม หรือจัดการกับความเสี่ยง หรือปัจจัยเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ โดยมี หลักฐานประกอบที่ชัดเจน ตัวอย่างความเสี่ยงร้ายแรงที่ให้ผลประเมินเป็นศูนย์ (0) คะแนน เช่น (1) มีการเสียชีวิตและถูกทาร้ายร่างกายหรือจิตใจอย่างรุนแรงของนิสิต คณาจารย์ บุคลากร ภายในมหาวิทยาลัย ทั้ง ๆ ที่อยู่ในวิสัยที่มหาวิทยาลัยสามารถป้องกันหรือลดผลกระทบในเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นได้ แต่ไม่พบแผนการจัดการความเสี่ยงหรือไม่พบความพยายามของมหาวิทยาลัยในการระงับ เหตุการณ์ดังกล่าว (2) มหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานเสื่อมเสียชื่อเสียงหรือมีภาพลักษณ์ที่ไม่ดีอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น คณาจารย์ นั กวิจั ย หรื อบุ คลากรขาดจริยธรรม จรรยาบรรณการไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน หรือ กฎกระทรวง และเกิดเป็นข่าวปรากฏให้เห็นตามสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ ข่าว online เป็นต้น (3) มหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานขาดสภาพคล่องในด้านการเงินจนทาให้ต้องปิดหลักสูตรหรื อไม่ สามารถปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ ส่งผลกระทบต่อนิสิตปัจจุบันที่เรียนอยู่อย่างรุนแรง

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


43

** หากมีคณะใดคณะหนึ่งได้คะแนนการประเมินเป็นศูนย์ (0) แล้ว มหาวิทยาลัยก็จะได้คะแนน การประเมินเป็นศูนย์ (0) ด้วยเช่นกัน หากเป็นไปตามเงื่อนไขที่กล่าวไว้ข้างต้นการไม่เข้าข่ายที่ทาให้ผลการ ประเมินได้คะแนนเป็นศูนย์ (0) ได้แก่ (1) มหาวิทยาลัยมีการวิเคราะห์และจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงเชิงป้องกัน หรือมีแผนรองรับเพื่อ ลดผลกระทบสาหรับความเสี่ยงที่ทาให้เกิดเรื่องร้ายแรงดังกล่าวไว้ล่วงหน้า และดาเนินการตามแผน (2) เป็นเหตุสุดวิสัยอยู่นอกเหนือการบริหารจัดการ (การควบคุมหรือการป้องกัน) ของมหาวิทยาลัย (3) เหตุการณ์ร้ายแรงดังกล่าวมีความรุนแรงที่ลดน้อยลงมากจากแผนรองรับผลกระทบที่ได้กาหนด ไว้ล่วงหน้า 2) การประเมินในระดับคณะวิชาและหน่วยงานเทียบเท่าให้ปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์ มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับหน่วยงานที่รับการประเมิน เช่น สภามหาวิทยาลัย อาจปรับเป็นกรรมการ ประจาคณะวิชา 3) การประเมิน ในตัว บ่งชี้ที่ 7.4 ใช้ว งรอบปีงบประมาณที่ตรงกับปีการศึกษาที่รับประเมินคือ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556) ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรมีการนาผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากสถาบันไปใช้ในการปรับแผนและวิเคราะห์ในรอบปีถัดไป

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


44

ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.6 การปฏิบัตติ ามบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารสานักคอมพิวเตอร์ ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์หรือผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : การประเมินผลตามหน้าที่และบทบาทของผู้บริหารในการบริหารและการจัดการให้ บรรลุผลสาเร็จตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติงานประจาปีของสานักคอมพิวเตอร์ จะมุ่งเน้นการประเมิน คุณภาพของการบริหารตามนโยบายของคณะกรรมการประจาสานัก ประสิทธิผลของแผลปฏิบัติการ ประจาปี ความสามารถในการบริหารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้ค่าคะแนนการประเมินผลผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้ง (คะแนนเต็ม 5) เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการได้ครบเกณฑ์การพิจารณา 5 ข้อ 5 คะแนน ข้อมูลประกอบการพิจารณา : 1. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการกาหนดหรือทบทวนนโยบายการกากับดูแลสานัก คอมพิวเตอร์ รวมทั้งทบทวนกรอบทิศทางการดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ตามหน้าที่และบทบาทของ ผู้บริหารสานักคอมพิวเตอร์ 2. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการดาเนินการตามระบบการกากับดูแลสานัก คอมพิวเตอร์ โดยมีเอกสารหรือหลักฐานหรือรายงานหรือบันทึกการประชุมที่แสดงให้เห็นว่าผู้บริหาร สถาบันได้กาหนดให้มีกระบวนการที่เป็นรูปธรรมในการจัดการเพื่อให้เกิดการควบคุมและตรวจสอบการ ดาเนินงานของสานักคอมพิวเตอร์ 3. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าผู้บริหารสานักคอมพิวเตอร์มีการติดตามผลการ ดาเนินงานสาคัญ เช่น ระบบในด้านนโยบายและแผน ด้านการบริการงานบุคคล ด้านการเงินละ งบประมาณ โดยเฉพาะการดาเนินงานตามภารกิจหลักของสานักคอมพิวเตอร์ที่เป็นมติคณะกรรมการ ประจาสานัก หรือสภาสถาบัน 4. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงนโยบายของสานักคอมพิวเตอร์ที่กาหนดให้มีระบบการ ประเมินผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้งและมีการดาเนินงานระบบนั้น

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


45

5. รายงานการสังเคราะห์มติหรือนโยบาย รวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจของผู้บริหาร สานักคอมพิวเตอร์ หมายเหตุ : 1. ระดับสถาบัน ผู้บริหารหมายถึง อธิการบดี 2. ระดับคณะวิชา ผู้บริหารหมายถึง คณบดี 3. ระดับหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอน ผู้บริหารหมายถึง ผู้อานวยการ 4. กรณีหน่วยงานที่สภามหาวิทยาลัยไม่ได้แต่งตั้งกรรมการมาประเมินผู้บริหารหน่วยงาน ดังนั้น หน่วยงานไม่ต้องรับการประเมินในตัวบ่งชี้นี้

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


46

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชีท้ ี่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : มหาวิทยาลัยจะต้องมีระบบในการจัดหาและจัดสรรเงินอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมี แผนกลยุทธ์ทางด้านการเงินซึ่งเป็นแผนจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนต่างๆ ที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ ของมหาวิทยาลัยให้สามารถดาเนินการได้ มีการวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จ่ายของการดาเนินงาน ทั้ งจาก งบประมาณแผ่ น ดิน และเงิน รายได้อื่น ๆ ที่มหาวิทยาลั ยได้รับ มีการจัดสรรงบประมาณและการจัดทา รายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบครบทุกพันธกิจ มีระบบการตรวจสอบการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ รายงานทางการเงิน ต้องแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายในทุกพันธกิจ โครงการกิจกรรมเพื่อให้ สามารถ วิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมั่นคงของมหาวิทยาลัย เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสานักคอมพิวเตอร์ 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน หลักเกณฑ์การจัดสรร และการวางแผนการใช้เงิน อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3. มีงบประมาณประจาปี ที่ส อดคล้ องกับแผนปฏิบัติงานในแต่ล ะพันธกิจและการพัฒนาส านัก คอมพิวเตอร์และบุคลากร 4. มีการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ และรายงานต่อ คณะกรรมการประจาสานัก อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 5. มีการนาข้อมูลทางการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และวิเคราะห์สถานะทางการเงินและ ความมั่นคงของสานักคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 6. มีหน่ วยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทาหน้าที่ตรวจ ติดตามการใช้เงินให้ เป็นไปตาม ระเบียบและกฎเกณฑ์ที่สานักคอมพิวเตอร์กาหนด 7. ผู้บริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใช้เงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย และนาข้อมูลจากรายงาน ทางการเงินไปใช้ในการวางแผนและการตัดสินใจ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


47

เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 7 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

หมายเหตุ 1. แผนกลยุทธ์ทางการเงิน เป็นแผนระยะยาวที่ระบุที่มาและใช้ไปของทรัพยากรทางการเงินของ มหาวิทยาลัยที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยให้สามารถดาเนินการได้ แผนกลยุทธ์ทาง การเงินจะสอดรับไปกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยควรประเมินความต้องการทรัพยากรที่ ต้องจัดหาสาหรับการดาเนิน งานตามกลยุทธ์แต่ละกลยุทธ์ และประเมินมูลค่าของทรัพยากรออกมาเป็น เงิน ทุน ที่ต้อ งการใช้ ซึ่งจะเป็ น ความต้องการเงินทุนในระยะยาวเท่ากับเวลาที่มหาวิทยาลั ยใช้ในการ ดาเนินการให้กลยุทธ์นั้นบังเกิดผล จากนั้นจึงจะกาหนดให้เห็นอย่างชัดเจนถึงที่มาของเงินทุนที่ต้องการใช้ว่ า สามารถจัดหาได้จากแหล่งเงินทุนใด เช่น รายได้ค่าธรรมเนียมการศึกษา งบประมาณแผ่นดินหรือเงิน อุดหนุนจากรัฐบาล เงินทุนสะสมของหน่วยงาน เงินบริจาคจากหน่วยงานภายนอกหรือศิษย์เก่า หรือ มหาวิทยาลัยจะต้องมีการระดมทุนด้วยวิธีการอื่น ๆ อีกเพิ่มเติม เช่น การแปลงทรัพย์ สินทางปัญญาเป็น มูลค่า รวมทั้งมีการวิเคราะห์ต้นทุนของการดาเนินงานด้วย เช่น ต้นทุนต่อหน่วยในการผลิตบัณฑิตในแต่ละ หลั ก สู ต ร โดยที่ ร ะยะเวลาของแผนกลยุ ท ธ์ ท างการเงิ น จะเท่ า กั บ ระยะเวลาของแผนกลยุ ท ธ์ ข อง มหาวิทยาลัย 2. การประเมิน ในตัว บ่ งชี้ที่ 8.1 ใช้ว งรอบปีงบประมาณที่ ตรงกับปีการศึกษาที่รับประเมิน คือ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556) ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน วงรอบปีการศึกษา 2555 - ควรจัดทาแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่ชัดเจนครอบคลุม 3-5 ปี

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


48

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชีท้ ี่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็นภารกิจของมหาวิทยาลัยตามที่กาหนดไว้ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งมหาวิทยาลัยต้อง สร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ ประเมินผลและพัฒนาการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยให้ เป็ น ไปตามนโยบาย เป้ าประสงค์ และระดับ คุณ ภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยมหาวิ ทยาลั ยและ หน่วยงานต้นสังกัด ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการวัดผลสาเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน รวมทั้งการรายงานผลการประกันคุณภาพต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน มีการประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมีนวัตกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดี การประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน ถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการสร้าง จิตสานึกให้เห็นว่าเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้เพื่อเป็น หลักประกันแก่สาธารณชนให้มั่นใจได้ว่ามหาวิทยาลัยสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและ พัฒนาการของหน่วยงาน และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 2. มี ก ารก าหนดนโยบายและให้ ค วามส าคั ญ เรื่ อ งการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน โดย คณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน 3. มีการกาหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของหน่วยงาน 4. มีการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การ ควบคุม ติดตามการดาเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพเสนอต่อคณะกรรมการประจาหน่วยงาน และมหาวิทยาลัย ตามกาหนดเวลา โดยเป็นรายงานที่มี ข้อมูลครบถ้วนตามที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนดใน CHE QA Online และ 3) การนา ผลการประเมินคุณภาพไปทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยงาน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


49

5. มีการนาผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุงการทางาน และส่งผลให้ มีการ พัฒนาผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้ 6. มี ร ะบบสารสนเทศที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล สนั บ สนุ น การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในครบ ทุ ก องค์ประกอบที่หน่วยงานรับการประเมิน 7. มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะผู้ใช้บริการตาม พันธกิจของหน่วยงาน 8. มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างหน่วยงานภายใน มหาวิทยาลัย และมีกิจกรรมร่วมกัน 9. มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจัยด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่หน่วยงานพัฒนาขึ้น และ เผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นสามารถนาไปใช้ประโยชน์ เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 9 ข้อ เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 หรือ 6 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 7 หรือ 8 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 9 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


50

องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์ของสานักคอมพิวเตอร์ ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.1 จานวนฐานข้อมูลตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่ได้รบั การพัฒนาหรือปรับปรุง ให้สามารถใช้รว่ มกันได้ทั้งมหาวิทยาลัย ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจให้สอดรับกับ นโยบายและการวางแผนระดับมหาวิทยาลัย เพื่อให้เป็นระบบที่สมบูรณ์สามารถเชื่อมโยงกับทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกเป็นระบบที่ใช้งานได้ เพื่อการบริหารการวางแผนและการตัดสินใจของ ผู้บริหารทุกระดับ การปฏิบัติงานตามภารกิจทุกด้านของบุคลากร การติดตามตรวจสอบและประเมินการ ดาเนินงานตลอดจนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนามหาวิทยาลัย ทั้งนี้ระบบดังกล่าวต้องมีความสะดวกในการ ใช้งาน โดยประเมินจากความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 7 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพภายใต้การเรียนการสอนที่ทันสมัยตามเกณฑ์มาตรฐานของ ชาติและสากล รวมทั้งเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก ยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ และพัฒนานวัตกรรมที่สร้างมูลค่าเพิ่มหรือใช้ ประโยชน์ให้กับชุมชนและสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และบริการวิชาการชั้นนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการนาทุนทางวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมและภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและยกระดับการบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยให้ได้รับการยอมรับและพัฒนาเป็น มหาวิทยาลัยในระดับสากล ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนาสู่มหาวิทยาลัยสีเขียวและรักษ์สิ่งแวดล้อม เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการได้อย่างน้อย 5 ยุทธศาสตร์

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


51

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 1 ยุทธศาสตร์

คะแนน 2 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 2 ยุทธศาสตร์

คะแนน 3 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 3 ยุทธศาสตร์

คะแนน 4 มีฐานข้อมูล สนับสนุนได้ 4 ยุทธศาสตร์

คะแนน 5 มีฐานข้อมูลสนับสนุน ได้อย่างน้อย 5 ยุทธศาสตร์

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


52

ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.2 การพัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์ มีการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้วยการ พัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเผยแพร่แหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ โดยมี การนาผลการประเมินระบบและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้มาพัฒนาและ ปรับปรุงแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เกณฑ์มาตรฐาน: 1. มีกระบวนการพัฒนาระบบแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ 2. มีแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกับพันธกิจของสานัก คอมพิวเตอร์อย่างน้อยปีการศึกษาละ 2 รายวิชา 3. มีแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้อย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 โครงการ 4. มีการเผยแพร่แหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น 5. มีการประเมินประสิทธิภาพระบบและมีการประเมินผลความพึงพอใจของการใช้บริการแหล่ง นวัตกรรมการเรียนรู้ ไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 และมีการนาข้อมูลจากการประเมินมาปรับปรุงและ พัฒนาแหล่งนวัตกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


53

ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.3 ความมีเสถียรภาพของการให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลัก ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์ ให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลักอย่างต่อเนื่อง และมี เสถีย รภาพของการให้ บ ริ การระบบเครื อข่า ยคอมพิว เตอร์ ห ลั ก โดยการเชื่อมโยงโครงข่ายพื้นฐานที่ มี ประสิทธิภาพและครอบคลุมพื้นที่ของการให้บริการ มีความเร็วและคุณภาพการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพื่อให้ ผู้ใช้บริการเข้าถึงและแลกเปลี่ยนข้อมูล และมีระบบเครือข่ายสารองในกรณี ฉุกเฉิน การให้บริการต่างๆ ที่ กล่าวมาข้างต้น จะอยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค ครอบคลุม ทั่วถึง เพียงพอต่อสัดส่วนปริมาณการใช้ งานทรัพยากรสารสนเทศของผู้รับบริการ และภายใต้มาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ การเข้าถึงคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต (Compliance) เพื่อให้การให้บริการดังกล่าวสามารถตอบสนอง เป้าประสงค์ของมหาวิทยาลัยที่ต้องการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาสนับสนุนการเรียนการ สอน การพัฒนานิสิต การวิจัย การบริการวิชาการ และอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกณฑ์มาตรฐาน: 1. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ในการให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความปลอดภัย (Security) 3. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความมั่นคง (Stability) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของระบบที่ ให้บริการ 4. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความรวดเร็ว (Speed) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของระบบที่ ให้บริการ 5. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไม่สามารถให้บริการได้ (Downtime) ไม่เกินร้อยละ 5 ของ ระยะเวลาที่ให้บริการตลอดปี เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการ 5 ข้อ เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


54

หมายเหตุ Downtime หมายถึง ระยะเวลาในการที่ระบบหยุดให้บริการ โดยนับตามที่กาหนดไว้ใน SLA Service Level Agreement (SLA) หมายถึง เป็นข้อตกลงของระดับของการบริการระหว่างผู้ให้บริการกับ ผู้รับบริการ ซึ่งอาจไม่เกี่ยวข้องกับ High Availability เพราะไม่จาเป็นต้องระดับ 90% ขึ้นไป

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


55

ตัวบ่งชีท้ ี่ 10.4 ร้อยละความพึงพอใจของผูร้ บั บริการต่อการให้บริการของสานักคอมพิวเตอร์ ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สานักคอมพิวเตอร์มีการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีการให้การแก่ ผู้รับบริการในแต่ละกระบวนงานบริการที่หน่วยงานจัดให้บริการ จานวน 10 งาน 1. งานบริการห้องคอมพิวเตอร์ 2. งานบริการซอฟต์แวร์ 3. งานบริการถ่ายทอดวิดีทัศน์ทางไกล 4. งานบริการระบบโทรศัพท์ 5. งานซ่อมบารุงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง 6. งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 7. งานพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ 8. งานพัฒนาระบบสารสนเทศ 9. งานบริการข้อมูลสารสนเทศ 10. งานพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่ ง การให้ บ ริ ก ารจะมี คุ ณ ภาพมากน้ อ ยเพี ย งใดจะสามารถสะท้ อ นได้ จ ากความพึ ง พอใจของ ผู้รับบริการโดยจะทาการวัดความสาเร็จของการดาเนินการให้บริการในกระบวนงานแต่ละงานของสานัก คอมพิวเตอร์จากสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการไม่น้อยกว่า 80 ผู้รับบริการ หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานมหาวิทยาลัย ลูกจ้างชั่วคราว และนิสิต ผู้มารับบริการโดยตรงทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกจากสานักคอมพิวเตอร์ เป้าหมายการดาเนินการปีการศึกษา 2556 ดาเนินการได้รอ้ ยละ 80 ขึน้ ไปจานวน 8 งานขึน้ ไป เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 2 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 3 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 4 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

คะแนน 5 ร้อยละ 80 ขึ้นไป

จานวน 4 งาน

จานวน 5 งาน

จานวน 6 งาน

จานวน 7 งาน

จานวน 8 งานขึ้นไป

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


56

บรรณานุกรม สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 (ฉบับเดือนพฤศจิกายน 2553). กรุงเทพมหานคร : มปพ, 2553. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. คูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556. มหาสารคาม : ศูนย์พัฒนาและประกันคุณภาพ, พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน 2556.

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


57

ภาคผนวก

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


58

คาสั่งสานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ 203/2556 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพสานักคอมพิวเตอร์ เพื่ อให้การบริหารจัด การและพั ฒนาคุณภาพของส านักคอมพิว เตอร์เป็ น ไปด้ ว ยความเรีย บร้อยเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด สามารถตรวจสอบได้ และสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาศัยอานาจตามคาสั่งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ 0650/2553 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2553 เรื่อง

มอบอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ และมอบอานาจปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีให้ผู้อานวยการสถาบัน ผู้อานวยการส านัก ผู้อานวยการศูนย์ จึงแต่งตั้งบุคลากรดังรายชื่อท้ายคาสั่งเป็นคณะกรรมการพัฒนา คุณภาพสานักคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. คณะกรรมการอานวยการ 1.1 ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ประธานกรรมการ

1.2 รองผู้อานวยการทุกฝ่าย

กรรมการ

1.3 นายวงศวัฒน์ เทพาศักดิ์

กรรมการ

1.4 นายสุรจิต ธรรมจักร์

กรรมการ

1.5 นายไพฑูรณ์ ศรีพลลา

กรรมการ

1.6 นายธนศาสตร์ สุดจริง

กรรมการ

1.7 นายดุลยเทพ ภันทรโกศล

กรรมการ

1.8 นางสาวณภัทชา ไชยสิงห์

กรรมการ

1.9 นายรัชพงษ์ ทะลาสี

กรรมการ

1.10 หัวหน้าสานักงานเลขานุการ

กรรมการและเลขานุการ

1.11 นางธิรดา บุญโชติยกุล

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

1.12 นางลัดดา ศรีเอี่ยม

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


59

1.13 นางชัชฎาพร ศิลปดอนบม

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

1.14 นางสิรีวรรณ ตติยรัตน์

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน้าที่รับผิดชอบ 1) กาหนดนโยบายและระบบพัฒนาคุณภาพ รวมทั้งแผนดาเนินงานพัฒนาคุณภาพของสานัก คอมพิวเตอร์ 2) ส่งเสริม สนับสนุน ให้คาปรึกษา แนะนา ในการดาเนินงานให้แก่คณะกรรมการต่างๆ เพื่อให้ การดาเนินการเป็นไปตามกรอบทิศทางและแนวทางที่กาหนด 3) กากับ ติดตามและเร่งรัดให้คณะกรรมการแต่ละคณะดาเนินงานและรายงานอย่างเป็นระบบ 4) พิจารณาผลการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพแต่ละคณะ 5) ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดาเนินงานเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพแต่ละคณะกรรมการเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ 6) งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. คณะกรรมการดาเนินงาน 2.1 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน สานักคอมพิวเตอร์ 2.2 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา สานักคอมพิวเตอร์ 2.3 คณะกรรมการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 2.4 คณะกรรมการจัดการความรู้ สานักคอมพิวเตอร์ โดยมีรายชื่อคณะกรรมการดาเนินงานในข้อ 2 และหน้าที่ความรับผิดชอบดังเอกสารแนบท้ายคาสั่ง ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


60

เอกสารแนบท้ายคาสั่งสานักคอมพิวเตอร์ ที่ 203/2556 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2556 ที่ปรึกษา 1. ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์ 2. หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์ หน้าที่รับผิดชอบ 1) กาหนดนโยบาย กรอบแนวทาง และทิศทางการดาเนินงาน และกากับ พิจารณากลั่นกรอง การ ดาเนินงานตามแผน หรือแนวปฏิบัติที่กาหนด ให้กับคณะกรรมการดาเนินงานทุกฝ่าย 2) ส่งเสริม สนับสนุน ให้คาปรึกษาแนะนาในเรื่องต่างๆ และอานวยความสะดวกในการดาเนินงาน แก่คณะกรรมการดาเนินงานทุกฝ่าย เพื่อให้เป็นไปตามกรอบทิศทางและแนวทางที่กาหนด 2. คณะกรรมการดาเนินงาน 2.1 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน สานักคอมพิวเตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.1.1 นางชัชฎาพร ศิลปดอนบม

ประธานกรรมการ

2.1.2 นายสิทธิ์ เอมดี

กรรมการ

2.1.3 นายธนศาสตร์ สุดจริง

กรรมการ

2.1.4 นายวงศวัฒน์ เทพาศักดิ์

กรรมการ

2.1.5 นายสถาพร ไชยปัญหา

กรรมการ

2.1.6 นายรัชพงษ์ ทะลาสี

กรรมการ

2.1.7 นายเรืองศักดิ์ แสงยศ

กรรมการ

2.1.8 นางสาวณภัทชา ไชยสิงห์

กรรมการและเลขานุการ

2.1.9 นางสาวอรวรรณ ประกอบกิจ

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


61

หน้าที่รับผิดชอบ 1) ดาเนินการวิเคราะห์ และระบุปัจจัยเสี่ยงที่อาจจะส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย ความ ล้มเหลว ลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายขององค์กร รวมทั้งจัดลากับความสาคัญของปัจจัยเสี่ยงในแต่ละ ด้าน 2) ดาเนินการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงในแต่ละด้าน ทั้งระดับสานักฯ และยุทธศาสตร์ ตาม ระบบการบริหารความเสี่ยงภายใต้มาตรฐาน COSO เสนอต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุม ภายใน โดยแผนดังกล่าวต้องกาหนดมาตรการ หรือแผนปฏิบัติการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับ บุคลากรทุกระดับ ในด้านการบริหารความเสี่ยงและการแก้ไข ลด หรือป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอย่าง เป็นรูปธรรม 3) กาหนดหลักเกณฑ์ความเสี่ยงแต่ละด้าน เพื่อเป็นเอกสารประกอบการจัดทาคู่มือการบริหาร ความเสี่ยง ทบทวน สอบทานแผนบริหารความเสี่ยง 4) เสนอแนะมาตรการ หลักการ และแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาศักยภาพการบริหารความเสี่ยง และควบคุมภายในให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 5) ติดตามผลการดาเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยงและกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา ความเสี่ยง รวมทั้งข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยง 6) ดาเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลภาพรวมตามยุทธศาสตร์การพัฒนาสานักคอมพิวเตอร์ในด้าน ต่างๆ ตลอดจนผลการดาเนินงานของหน่วยงานภายในสานักฯ เพื่อ สนับสนุนข้อมูลสารสนเทศสาหรับการ บริหารจัดการความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพและครบถ้วน 7) ประสานงานกับ ผู้รับ ผิดชอบประเด็นความเสี่ยง เพื่อดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติงาน หรือ ปฏิทิ น ที่ก าหนดการประชุ มที่ชั ดเจน และติด ตามผลการด าเนินงานตามแผนการบริห ารความเสี่ ยงที่ ผู้รับผิดชอบนาไปดาเนินการ และกาหนดแนวทาง ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยง และ เสนอรายงานต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน และเสนอมหาวิทยาลัยตามลาดับ 8) งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


62

2.2 คณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิว เตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.2.1 นางลัดดา ศรีเอี่ยม

ประธานกรรมการ

2.2.2 นายสุรเชษฐ์ ตั้งทรัพย์สกุล

กรรมการ

2.2.3 นายปิยะพงษ์ มูลศรีแก้ว

กรรมการ

2.2.4 นายสกุล สาวิสิทธิ์

กรรมการ

2.2.5 นางสาวศิริรัตน์ จันไต้

กรรมการ

2.2.6 นายชาญวิทย์ ภาแกดา

กรรมการ

2.2.7 นายศุภชัย มาฤทธิ์

กรรมการ

2.2.8 นายปุญญพัฒน์ เปนนาม

กรรมการ

2.2.9 นายวิทยา ชื่นชม

กรรมการและเลขานุการ

2.2.10 นายสุรจิต ธรรมจักร์

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน้าที่รับผิดชอบ 1) พิจารณาและวิเคราะห์งานเพื่อกาหนดตัวบ่งชี้ ดัชนีชี้วัดความสาเร็จและเกณฑ์การประเมินที่ สอดคล้องกับภารกิจหลักของหน่วยงาน และเกณฑ์การประเมินที่มหาวิทยาลัย สกอ. และสมศ. กาหนด 2) กาหนดแนวทางการดาเนินงาน มอบหมายผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้ เพื่อจัดทาแผนการดาเนินงาน และแผนพัฒนาคุณภาพด้านการประกันคุณภาพของหน่วยงาน 3) จัดทาแผนดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของสานักคอมพิวเตอร์พร้อมดาเนินงานตาม แผน 4) จั ด ท าแผนพั ฒ นาประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของหน่ ว ยงานและรายงานความก้ า วหน้ า ต่ อ คณะกรรมการประจาสานักและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 5) ติดตาม รวบรวม วิเคราะห์และสรุปผลการดาเนินงานจากผู้รับผิดชอบ รวมทั้งข้อเสนอแนะใน การปรับปรุงผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานสรุปผลการประเมินเสนอศูนย์พัฒนาและประกันคุณภาพ การศึกษา

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


63

6) จัดให้มีการประเมินผลการประกันคุ ณภาพภายในจากผู้ทรงคุณวุฒิตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัย ก าหนด รวมถึ ง การประสานงานอื่ น ๆ เช่ น ประสานงานผู้ ป ระเมิ น ศู น ย์ พั ฒ นาและประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา 7) ดาเนิน การแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาการดาเนินงานตามผลการประเมินและข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 8) วิเคราะห์ข้อมูล/เอกสารก่อนผู้รับผิดชอบจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลผ่านระบบ CHE QA Online 9) รับผิดชอบการดาเนินงานตัวชี้วัดหลักที่เกี่ยวข้องระดับมหาวิทยาลัย (ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 และตัวบ่งชี้ ที่ 7.3) 10) งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 2.3 คณะกรรมการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติ ราชการ สานักคอมพิวเตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.3.1 นางธิรดา บุญโชติยกุล

ประธานกรรมการ

2.3.2 นายวัชรชัย วีรกุลเกษตร

กรรมการ

2.3.3 นายดุลยเทพ ภัทรโกศล

กรรมการ

2.3.4 นายประยุทธ์ จ้อยนุแสง

กรรมการ

2.3.5 นายสหัสธรรม แสนแก้ว

กรรมการ

2.3.6 นายเฉลิมพล อกอุ่น

กรรมการ

2.3.7 นายไพศาล หมั่นตลุง

กรรมการ

2.3.8 นายสุเทพ อรัญมิตร

กรรมการ

2.3.9 นางสาวบัณฑิตา อวิโรธน์

กรรมการและเลขานุการ

2.3.10 นายไพฑูรณ์ ศรีพลลา

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


64

หน้าที่รับผิดชอบ 1) ประสานงานการจัดทารายละเอียดตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการตามคา รับรองการปฏิบัติราชการ 2) บันทึกตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการใน ระบบบริหารยุทธศาสตร์ 3) จัดทาคู่มือการประเมินการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 4) จัดทาปฏิทินรายงานผลการดาเนินงานและมอบหมายผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการ ตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 5) ให้คาแนะนา ชี้แจงเงื่อนไข วิธีการดาเนินการ และประสานงานกับผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดเพื่อให้ การจัดทาข้อมูลถูกต้องสมบูรณ์ 6) ติดตาม ตรวจสอบผลการดาเนินงาน การแนบหลักฐานอ้างอิงและยืนยันผลการดาเนินงานตาม คารับรองการปฏิบัติราชการในระบบบริหารยุทธศาสตร์ 7) รายงานผลการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการเสนอผู้บริหารและที่ประชุมบุคลากร ประจาทุกเดือน 8) จัดทารูปเล่มรายงานผลการดาเนินงานการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือน จัดส่งศูนย์พัฒนาและประกันคุณภาพ 9) งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 2.4 คณะกรรมการดาเนินงานจัดการความรู้ สานักคอมพิวเตอร์ ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษา

2.4.1 นางสิรีวรรณ ตติยรัตน์

ประธานกรรมการ

2.4.2 นายกรธวัฒน์ มณีชม

กรรมการ

2.4.3 นางสาวสุกัญญา สิตวัน

กรรมการ

2.4.4 นายวีระศักดิ์ ศรีวงยาง

กรรมการ

2.4.5 นายวิระ เมฆวัน

กรรมการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


65

2.4.6 นายจตุพล ไชยโสดา

กรรมการ

2.4.7 นายสุชาติ สงหมื่นไวย์

กรรมการ

2.4.8 นายบุญฤทธิ์ สุขี

กรรมการ

2.4.9 นายรัตนเดช ชมภูนุช

กรรมการและเลขานุการ

2.4.10 นายนพนัย เนื่องอุดม

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน้าที่รับผิดชอบ 1) ส ารวจประเด็ น ความรู้ ก าหนดกลุ่ ม เป้ า หมาย และจั ด ท าแผนจั ด การความรู้ ใ นส านั ก คอมพิวเตอร์โดยการกาหนดนโยบาย 2) จัดทาแผนการจัดการความรู้ของสานักคอมพิวเตอร์ กาหนดแนวทางการดาเนินงาน การกากับ ดูแลและการให้คาแนะนาในการจัดการความรู้ทั้งองค์กร 3) ส่งเสริมการนากระบวนการจัดการความรู้มาใช้ในหน่วยงานภายในสานักคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอทั่วทั้งองค์กร 4) ส่งเสริมและสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านกระบวนงานภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อ มุ่งให้เกิดวัฒนธรรมการทางานขององค์กรและนาไปสู่การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และสนับสนุนความ ร่ว มมือกับ หน่ วยงานอื่น พร้ อมน าระบบฐานข้อมูล สารสนเทศมาใช้ในการจัดการความรู้และสามารถ เชื่อมต่อกับหน่วยงานภายนอก และเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์หรือบล็อก 5) ติดตามและพิจารณาผลการจัดการความรู้ของสานักฯ ให้เป็นไปตามแนวทางที่กาหนด ส่งเสริม และสนั บสนุน ความร่วมมือ พร้อมรายงานผลต่อผู้บริห ารหน่วยงานและมหาวิทยาลั ยตามระยะเวลาที่ กาหนด 6) งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


66

ผูจ้ ดั ทา ที่ปรึกษา นางสาวสุพิน ไตรแก้วเจริญ

ผู้อานวยการสานักคอมพิวเตอร์

นางสาวพัตชบูล กิ่งพุ่ม

หัวหน้าสานักงานเลขานุการสานักคอมพิวเตอร์

วิเคราะห์ข้อมูล/จัดทารูปเล่ม คณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักคอมพิวเตอร์ 1. นางลัดดา ศรีเอี่ยม

ประธานกรรมการ

2. นายสุรเชษฐ์ ตั้งทรัพย์สกุล

กรรมการ

3. นายปิยะพงษ์ มูลศรีแก้ว

กรรมการ

4. นายสกุล สาวิสิทธิ์

กรรมการ

5. นางสาวศิริรัตน์ จันไต้

กรรมการ

6. นายชาญวิทย์ ภาแกดา

กรรมการ

7. นายศุภชัย มาฤทธิ์

กรรมการ

8. นายปุญญพัฒน์ เปนนาม

กรรมการ

9. นายวิทยา ชื่นชม

กรรมการและเลขานุการ

10. นายสุรจิต ธรรมจักร์

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ผูใ้ ห้ข้อมูล บุคลากรสังกัดสานักคอมพิวเตอร์ทุกท่าน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วงรอบปีการศึกษา 2556 สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.