ศิลปะการถ่ายภาพด้วย iPhone

Page 1

>> สรางเอกลักษณ ใหภาพถายในสไตลที่เปนคุณกับสมารทโฟนสุดเจง!

iPhone The Art of

iPhoneography

เก็บเกี่ยวประสบการณ การถายภาพเชิงศิลปะที่พรอมแบงปนไดทันที  สรางมุมมองภาพถายอยางมีชั้นเชิง 

จากองคประกอบพื้นฐานทางศิลปะ

grapherรับนักถายภาพ” kie Photo By Mr. Poานo “องคประกอบศิลปสำห เจาของผลง

แตงภาพใหแปลกตาชวนหลงใหล D สอนถา ยภาพ V กับ Application ตางๆ หนังสือ + ดีวีดี ราคาพิเศษ 240.-

จใุ จกบั D



ศิลปะการถ่ายภาพด้วย iPhone The Art of iPhoneography

By Mr. Pookie Photographer


ศิลปะการถ่ายภาพด้วย iPhone ISBN ราคา

978-616-527-467-8 240 บาท

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�าส�าเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�าไปเผยแพร่บน อินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก ทางส�านักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�านักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data สุรพงษ์ บัวเจริญ. ศิลปะการถ่ายภาพด้วย iPhone.-- กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส, 2556. 260 หน้า. 1. โทรศัพท์เคลื่อนที่. 2. การถ่ายภาพ. I. ชื่อเรื่อง. 621.38456 ISBN 978-616-527-467-8 คณะผู้จัดท�า บรรณาธิการส�านักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้เขียน สุรพงษ์ บัวเจริญ ออกแบบรูปเล่ม ไพโรจน์ บรรจงใจรักษ์, ณัฐพงษ์ พยัคคง ออกแบบปก ภรณีย์ สนองผัน พิสูจน์อักษร วารีรัตน์ แตงภู่ ประสานงานฝ่ายผลิต ปวีณา ไตรเวทย์ ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช

จัดพิมพ์โดย : บริษัท ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ากัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจ�าหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้า หน้าขาดหาย ส�านักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) กรณีต้องการสั่งซื้อจ�านวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


introduction ปัจจุบนั การถ่ายภาพดิจติ อลเกิดความแพร่หลายจนกลาย เป็นส่วนหนึง่ ในชีวติ ประจ�าวันของคนในสังคมยุคการสือ่ สาร จาก เดิมที่มีเพียงกลุ่มคนบางกลุ่มที่ช่ืนชอบการถ่ายภาพพยายาม เรียนรูก้ ารใช้อปุ กรณ์และเทคนิคการถ่ายภาพหลากหลายรูปแบบ จนพัฒนาความสามารถของตนเองกลายเป็นช่างภาพ นอกจาก จะต้องพยายามเรียนรู้และฝึกฝนด้านเทคนิคการควบคุมกล้อง เทคนิคการถ่ายภาพ การใช้อปุ กรณ์เสริมมากมายเพือ่ สร้างภาพ ในเทคนิคทีแ่ ตกต่างกันแล้ว ยังต้องพกพาอุปกรณ์ทมี่ นี า�้ หนักมาก ด้วยความเพียรพยายามไปให้ถึงจุดหมายในทุกสถานที่ เพื่อ บันทึกภาพความทรงจ�ากลับมา นอกจากความพยายามในการ ถ่ายภาพแล้วยังต้องเรียนรูเ้ ทคนิคการแต่งภาพด้วยโปรแกรมต่างๆ เพิม่ เติม เพือ่ ท�าให้ภาพทีไ่ ด้มานัน้ เกิดความสมบูรณ์มากขึน้ ตาม iPhone ความต้องการของตัวเอง ความสวยงามตามความต้องการของ ตัวเองเป็นเรื่องง่าย เพราะว่าถ้าเราต้องการให้สวยงามตรงตาม ความต้องการของผูอ้ นื่ เราจะต้องเปลีย่ นตัวเองแบบไม่มวี นั จบสิน้ เพราะคนแต่ละคนมีความชอบและความรูส้ กึ ถึงความสวยงามที่ แตกต่างกัน เพราะฉะนั้นภาพถ่ายที่สวยที่สุดส�าหรับทุกคนจึง ไม่มใี นโลก ในกระบวนการถ่ายภาพและแต่งภาพล้วนต้องใช้เวลา ความพยายามที่จะรวบรวมความรูแ้ ละ สร้างสรรค์ผลงานออกมา การถ่ายภาพจึงเป็นงานศิลปะประเภทหนึ่งที่ช่างภาพต้องมีความละเอียดอ่อน หรือเข้าใจในปัจจัยหลายอย่างประกอบกันเป็นผลงาน เมื่อความแพร่หลายของการถ่ายภาพเริ่มเข้ามา มีบทบาทมากขึ้นในบุคคลทุกกลุ่ม จากกล้องถ่ายภาพขนาดใหญ่ส�าหรับมืออาชีพที่มีปุ่มส�าหรับควบคุม มากมายก็ถูกออกแบบและพัฒนาให้มีขนาดเล็กลง พกพาสะดวก แต่มีความสามารถครบครัน ท�าให้ผู้ ใช้งานไม่จ�าเป็นต้องเรียนรู้เทคนิคอะไรมากมายในการควบคุมอุปกรณ์ ก็สามารถถ่ายภาพให้สวยงาม Designed by Apple in California Assembled in China Model A1332 EMC 380A FFC ID: BCG-E3294A IC:459C-EE3480A


เพราะใช้งานได้ง่าย แถมมีลูกเล่นแปลกตาที่สร้างสรรค์ภาพออกมาจนบางครั้งช่างภาพอาชีพอาจจะท้อ ได้เลยว่าภาพสวยที่ปรากฏเหล่านั้นเป็นผลงานที่ได้จากกล้องธรรมดาตัวหนึ่ง ยิง่ เทคโนโลยีพฒ ั นาไปไกลมากเท่าไร จากวัตถุขนาดใหญ่กย็ งิ่ ถูกออกแบบให้เล็กลงมากขึน้ ในขณะ ทีป่ ระสิทธิภาพนัน้ สวนทางกันกับขนาด ความอัจฉริยะทีถ่ กู ใส่เข้าไปในกล้องถ่ายภาพไม่มที ที า่ ว่าจะหยุดนิง่ จนกระทัง่ ถูกใส่เข้าไปอยูใ่ นอุปกรณ์ทอี่ ยูใ่ นชีวติ ประจ�าวันของทุกคนนัน่ ก็คอื โทรศัพท์มอื ถือ จากโทรศัพท์ มือถือธรรมดาก็ถกู พัฒนาจนกลายเป็นสมาร์ทโฟน ซึง่ นับวันการแข่งขันด้านเทคโนโลยีของผูผ้ ลิตโทรศัพท์ มือถือก็ยังไม่หยุดนิ่ง ท�าให้เราซึ่งเป็นผู้บริโภคได้มีโอกาสใช้เทคโนโลยีเหล่านั้นได้อย่างสนุกสนานตลอด เวลา ไม่นา่ เชือ่ ว่าอุปกรณ์รปู ร่างสีเ่ หลีย่ มขนาดเล็กจะถูกบรรจุเทคโนโลยีเข้าไปอย่างมากมายจนท�าให้เรา ถอนตัวไม่ขนึ้ จากการใช้งานโทรศัพท์เหล่านัน้ แต่กอ่ นความคลัง่ ไคล้ในโทรศัพท์แค่การส่งข้อความแบบ SMS ถึงกันก็ถือว่ายอดเยี่ยมแล้ว แต่ในยุคนี้การสื่อสารยุคดิจิตอลท�าให้เหมือนเป็นการย่อโลกไว้ในมือ เพราะ โทรศัพท์มอื ถือเครือ่ งเดียวสามารถท�าให้เราส่งข้อมูลถึงกันได้อย่างรวดเร็ว อยากจะส่งภาพถ่าย ภาพวิดโี อ เสียงของสภาพแวดล้อมที่อยู่ตรงหน้าให้เพื่อนที่อยู่อีกซีกโลกหนึ่งดู ก็เพียงแค่บันทึกภาพไว้แล้วเชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ตส่งภาพถึงกันได้ทันที เกิดเป็นสังคมแห่งการแบ่งปันรูปแบบใหม่ที่สมบูรณ์แบบที่สุดในยุคนี้ เพราะไม่มีค่าใช้จ่ายในการส่งผ่านข้อมูล เพียง “Shoot and Share” ความประทับใจก็ถึงมือผู้รับทันที ส�าหรับหนังสือเล่มนี้ เราก�าลังกล่าวถึงสมาร์ทโฟนทีก่ า� ลังได้รบั ความนิยมสูงมากในตลาดคือ iPhone (ไอโฟน) ซึ่งครองใจผู้ใช้งานทั่วโลกและยังไม่มีทีท่าว่าจะลดความนิยมลงง่ายๆ โดยหนังสือเล่มนี้จะเน้น เนื้อหาเกี่ยวกับการค้นหาองค์ประกอบพื้นฐานทางศิลปะจากสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราในชีวิตประจ�าวัน มาสร้างภาพและสร้างสรรค์มุมมองในการถ่ายภาพ ความจริงแล้วสาระส�าคัญไม่ได้อยู่ที่ว่าเราใช้อุปกรณ์ อะไรในการถ่ายภาพ เพราะไม่ว่าจะใช้กล้องถ่ายภาพแบบไหน จะเล็กหรือใหญ่ แพงหรือถูก ผลลัพธ์ของ ภาพถ่ายทีไ่ ด้กใ็ ห้ผลออกมาเป็นเฟรมสีเ่ หลีย่ มเหมือนกัน คุณค่ามันจึงอยูท่ ภี่ าพถ่าย อย่าไปยึดติดกับอุปกรณ์ แต่เราจะต้องอยูเ่ หนืออุปกรณ์ “สิง่ ทีเ่ ราต้องพยายามเรียนรูก้ ค็ อื เราถ่ายภาพเพือ่ ต้องการสือ่ สารอะไร เรา จะท�าให้ภาพถ่ายมีคุณค่าได้อย่างไร จึงไม่สา� คัญว่าเราจะถ่ายภาพด้วยอุปกรณ์อะไร ทุกคนมีต้นทุนทาง ความคิดที่ไม่ต้องเสียเงินซื้อโดยการใช้จินตนาการ เพราะฉะนั้นเราจึงต้องเรียนรู้ที่จะใช้ต้นทุนนั้นสร้าง มูลค่าเพิ่มโดยการน�าไปควบคุมอุปกรณ์ที่มีอยู่ ดึงความเป็นศิลปินในตัวเรา ใส่ความคิดสร้างสรรค์ลงไป ในเฟรมสี่เหลี่ยมนั้น ให้เกิดเป็นความประทับใจแล้วแบ่งปันความสุขไปสู่ผู้อื่น” แต่ละคนมีจุดเริ่มต้นใน


การถ่ายภาพไม่เหมือนกัน งานศิลปะเป็นงานทางความคิดริเริ่ม ซึง่ ต้องมีตน้ ทุนทีส่ า� คัญมากคือความรู้ เมือ่ เรามีความรูแ้ ละเข้าใจ ในสิ่งที่รู้ ทุกๆ เสียงชัตเตอร์ที่เรากดและบันทึกความทรงจ�า ออกไปแต่ละครัง้ จะท�าให้เราเกิดประสบการณ์ และเมือ่ เรายังรักที่ จะถ่ายภาพอยู่ เราจะสามารถปรับตัวให้ถา่ ยภาพอย่างสร้างสรรค์ และสร้างภาพทีส่ วยงามมีคณ ุ ค่าได้อย่างแน่นอน ขอเพียงอย่าท้อ อย่าอ้างว่าไม่มเี วลา อย่าอ้างว่าเหนือ่ ยในการเดินทาง อย่าในทุกๆ เรือ่ งทีจ่ ะเป็นเหตุให้เราอยูเ่ ฉยๆ โดยไม่หยิบกล้องถ่ายภาพขึน้ มา ใช้งาน เพราะสิ่งเหล่านั้นเป็นสิ่งบั่นทอนความส�าเร็จในการถ่ายภาพ การเรียนรู้ด้านองค์ประกอบศิลป์ในการถ่ายภาพซึ่งเป็นพื้นฐานทางศิลปะให้เข้าใจ หลังจากนั้น เมื่อถึงเวลานั้น เราจะมองเห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวเราสามารถน�ามาสร้างสรรค์ผลงานได้แบบไม่มี ข้อจ�ากัด ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ในสภาพแวดล้อมอย่างไร เราสามารถเริ่มต้นจากสิ่งที่มีอยู่ในมือคือไอโฟน ฝึกหัดและเรียนรู้ที่จะใส่อะไรเข้าไปในช่องสี่เหลี่ยมทุกครั้งที่เราจัดองค์ประกอบภาพ จากนั้นเราค่อยมอง เรือ่ งการต่อยอดในการถ่ายภาพให้สวยงามแปลกตามากขึน้ ด้วยตัวช่วยต่างๆ เช่น เลนส์เสริมส�าหรับกล้อง ไอโฟน หรือแอปพลิเคชัน (Application) ต่างๆ ที่จะช่วยให้เราถ่ายภาพด้วยเทคนิคแบบอื่นๆ ได้ ซึ่งใน App Store มีแอปพลิเคชันที่เกี่ยวกับการถ่ายภาพอยู่มากมายให้โหลดใช้งานกันแบบฟรีในทุกสัปดาห์ จากภาพที่มีแต่เพียงองค์ประกอบสวยงาม สีสันธรรมดา ก็สามารถกลายเป็นภาพถ่ายที่สวยงามเพียงแค่ “แตะ (Tap)” เลือกภาพ เลือกตัดส่วนภาพ เลือกโทนสี เลือกกรอบภาพ เลือกใส่ตัวอักษร บันทึกภาพไว้ จากนั้นก็แบ่งปันความประทับใจให้เพื่อน สร้างสรรค์ผลงานให้เคยชิน เมื่อนั้นเราจะพบเอกลักษณ์บน ภาพถ่ายที่บ่งบอกถึงความเป็นตัวตนของเรา ขอให้ทุกคนสนุกกับการถ่ายภาพนะครับ

www.facebook.com/pookiefoto www.facebook.com/TheArtOfIphoneography

สุรพงษ์ บัวเจริญ

Mr. Pookie Photographer


“เพือ่ ให้เห็นความสามารถของไอโฟน ภาพถ่ายทัง้ หมดทีป่ รากฏอยูใ่ นหนังสือเล่มนี้ จึงถูกถ่ายด้วย กล้องถ่ายภาพของไอโฟน และผ่านการตกแต่งภาพด้วยแอปพลิเคชัน เพือ่ ความสวยงามตามความต้องการ ของผู้เขียน โดยปราศจากการตกแต่งด้วยโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์ ในหลายภาพจะเห็น Digital Grain เกิดขึ้นที่ภาพถ่าย ซึ่งเป็นสภาพที่เกิดจากกระบวนการสร้างภาพด้วยไอโฟนทั้งหมด”



Contents วัตถุประสงค์ในการถ่ายภาพด้วยไอโฟน .......................................................................2 เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกล้องไอโฟนกับกล้องดิจิตอล .................................4 ข้อได้เปรียบของไอโฟน...............................................................................................7 เลนส์เสริมส�าหรับการถ่ายภาพด้วยไอโฟน ..................................................................8 การใช้งาน Camera App ........................................................................................ 14

เมนูค�าสั่งต่างๆ ของ Camera App ...................................................................................16 การใช้งานกล้องหลักและกล้องรอง .....................................................................................25 การถ่ายภาพด้วย Camera App ......................................................................................26

การใช้งาน Photos App ......................................................................................... 40 การใช้งาน Instagram App .................................................................................... 58 รู้จักองค์ประกอบทางศิลปะ (The Art of Composition) ........................................ 82 องค์ประกอบพื้นฐานทางศิลปะ (Elements of Art) ................................................. 84

จุด (Dot) ...........................................................................................................................84 เส้น (Line) .........................................................................................................................85 รูปร่างและรูปทรง (Shape and Form) .............................................................................94 ลักษณะผิว (Texture)........................................................................................................99 ส่วนสัด (Proportion)..................................................................................................... 104 สี (Color) ....................................................................................................................... 106 น�้าหนักหรือค่าความอ่อนแก่ (Tone) ................................................................................. 110 แสงและเงา (Light and Shadow) .................................................................................. 111 ที่ว่าง (Space) ................................................................................................................ 122


องค์ประกอบหลักหรือหลักการทางศิลปะ (Principles of Art) .............................. 130 การซ�้า (Repetition) ........................................................................................................ 130 จังหวะ (Rhythm)............................................................................................................ 135 ลวดลาย (Pattern) ......................................................................................................... 137 การลดหลั่นหรือการแปรเปลี่ยน (Gradation) .................................................................. 138 ทิศทางและการเคลื่อนไหว (Direction and Movement)................................................. 140 ความกลมกลืน (Harmony) ............................................................................................ 143 การตัดกัน (Contrast)..................................................................................................... 145 ดุลยภาพ (Balance) ....................................................................................................... 147 เอกภาพ (Unity) ............................................................................................................. 151

การถ่ายภาพบุคคล (Portrait Photography)........................................................ 156 การถ่ายภาพตามท้องถนน (Street Photography) ............................................... 168 การถ่ายภาพมาโคร (Macro Photography).......................................................... 178 การถ่ายภาพภูมิทัศน์ (Landscape Photography)............................................... 190 ศิลปะการถ่ายภาพเพื่อสื่อสารด้านความรัก (The Art of Love).............................. 205 การถ่ายภาพอาหาร (Food Photography) ........................................................... 213 Before & AFTER ................................................................................................ 220



ศิลปะ

การถ่ายภาพ ด้วย iPhone By Mr. Pookie Photographer


The Art of iPhoneography

วัตถุประสงค์ในการถ่ายภาพด้วยไอโฟน วัตถุประสงค์ของการถ่ายภาพด้วยไอโฟนคือ การถ่ายภาพเพือ่ มุง่ เน้นประโยชน์ผา่ นการสร้างงานทีม่ ี มุมมองสวยงามหรือเพือ่ ความเพลิดเพลิน เพิม่ สีสนั แปลกตาและสวยงามด้วยแอปพลิเคชัน โดยผูถ้ า่ ยภาพต้อง ควบคุมกล้องให้ความสามารถของผู้ถ่ายอยู่เหนืออุปกรณ์ อย่าตัดพ้อตัวเองว่าไม่มีกล้องดีๆ ราคาแพง เพราะคุณค่าของภาพถ่ายไม่ได้วัดกันที่อุปกรณ์ ไม่ ได้การันตีได้ว่าคนหนึ่งที่ใช้อุปกรณ์ดีกว่า แพงกว่า จะถ่ายภาพได้ดีกว่าอีกคนหนึ่งที่ใช้อุปกรณ์ด้อยกว่า ถูกกว่า สิง่ ทีเ่ ราจะต้องพัฒนาตัวเองก็คอื การศึกษาหาความรูใ้ นการถ่ายภาพเชิงศิลปะ และการฝึกฝนเพือ่ น�าความรูท้ มี่ อี ยูไ่ ปประยุกต์ใช้ในทุกสถานการณ์ ดึงความเป็นศิลปินในตัวเราออกมาเพือ่ สร้างสรรค์ผลงาน ทีม่ คี ณ ุ ค่า แต่ละคนมีความเป็นศิลปินไม่เท่ากัน ถ้าเราสร้างภาพทีส่ อื่ ความหมาย มีความมุง่ หมาย ให้ความ รู้สึกทางด้านอารมณ์ สร้างภาพให้สะกดต่อสายตาผู้มองภาพถ่าย นั่นคือความส�าเร็จในการถ่ายภาพเชิง ศิลปะ วันหนึ่งข้างหน้าถ้ามีใครมองดูภาพถ่ายของเราแล้วถามว่าถ่ายภาพนี้ด้วยกล้องอะไร เราจะมีความ ภาคภูมิใจมากกว่าคนที่ใช้กล้องดีๆ แต่ไม่เคยพัฒนามุมมองของตัวเอง เมื่อถึงเวลาที่เรามีประสบการณ์ มี ศักยภาพด้านองค์ความรูท้ างศิลปะการถ่ายภาพ เมือ่ ถึงเวลานัน้ ต่อให้ในมือเราจะถือกล้องอะไรก็ไม่สา� คัญ เพราะหลักการถ่ายภาพด้วยกล้องทุกประเภทนั้นไม่มีความแตกต่างกัน

2


The Art of iPhoneography

ในการถ่ายภาพควรมองสถานการณ์รอบตัวที่จะผ่านเข้ามาในเฟรม คิดภาพในใจไว้ล่วงหน้า รอและกดชัตเตอร์ในช่วงเวลาที่เหมาะสม กรณีภาพนี้แรกเริ่มต้องการถ่ายภาพรอยแตกบนผิวถนนคอนกรีต จึงวางกล้องไว้ระดับพื้น แต่ เวลานัน้ เห็นว่าก�าลังมีคนเดินเข้ามาในเฟรม จึงเกิดความคิดในการสร้างเรือ่ งราวร่วมกับรอยแตก จากนัน้ รอ ให้คนเดินผ่านเข้ามาในเฟรมและกดชัตเตอร์ในจังหวะที่คนก้าวเท้าเหยียบรอยแตก เมื่อทุกอย่างอยู่ใน จังหวะที่เหมาะสมก็ท�าให้ภาพนี้เกิดเป็นเรื่องราวขึ้น การมีสิ่งมีชีวิตเข้ามาในภาพจะช่วยเสริมเรื่องราว ได้ดีกว่าสิ่งของที่ดูแห้งแล้งไร้ชีวิตชีวา แต่ใช่ว่าจะเป็นไปอย่างที่คิดทุกภาพเสมอไป ขึ้นอยู่กับว่าสิ่งที่อยู่ ในภาพสะท้อนเรื่องราวอะไรออกมา 3


The Art of iPhoneography

เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกล้องไอโฟน กับกล้องดิจิตอล ยกตัวอย่าง iPhone4s ซึง่ เป็นโทรศัพท์มอื ถือทีม่ กี ล้องถ่ายภาพทีม่ ปี ระสิทธิภาพและถ่ายภาพได้ สนุก เล็กกะทัดรัด ใช้งานได้คล่องตัว มีความละเอียดของภาพสูงถึง 8 ล้านพิกเซล ประกอบไปด้วยชิน้ เลนส์ 5 ชิ้น รวมกันเป็นชุดเลนส์ 1 ชุด เพื่อรวมแสงไปตกกระทบกับเซนเซอร์รับภาพ (Image Sensor) และ ใช้ตัวประมวลผลออกมาเป็นภาพถ่าย ตามสเปกที่ระบุไว้ว่าเซนเซอร์รับภาพของกล้องในไอโฟนมีขนาด 4.54 x 3.39 = 15.3 mm2 (หรือวัดทะแยงมุมได้ 5.67 มม.) แต่กล้องขนาด 35 มม. (Full Frame) มี พื้นที่ของเซนเซอร์ขนาดใหญ่กว่ามาก คือขนาด 36 x 24 = 864 mm2 จะได้ค่า Crop Factor ที่ 7.64x iPhone4s มีค่ารูรับแสง (Aperture) f/2.4 ที่ทางยาวโฟกัส (Focal Length) 4.3 มม. เมื่อมีการน�า ไอโฟนมาเทียบกับ DSLR แบบ Full Frame จึงต้องคูณค่า Crop Facture 7.64x ท�าให้ได้ค่ารูรับแสง ที่ f/22 ทางยาวโฟกัส 32.8 มม. (หรือ 33 มม.) ในการถ่ายภาพแบบหน้าชัดหลังเบลอด้วยไอโฟนท�าได้ ไม่ดนี กั เพราะรูรบั แสงยังแคบเกินไป นอกจากนีข้ นาดของเซนเซอร์ยงั เป็นปัจจัยเรือ่ งคุณภาพของภาพถ่าย ทีท่ า� ให้เกิดสัญญาณรบกวนทางดิจติ อลหรือทีเ่ รียกว่า นอยส์ (Noise) เนือ่ งจากเซนเซอร์ของกล้องไอโฟนมี ขนาดเล็ก ท�าให้การเก็บรายละเอียดมีคณ ุ ภาพด้อยกว่ากล้องทีม่ เี ซนเซอร์ขนาดใหญ่ เช่น กล้องคอมแพกต์ (Compact) หรือกล้อง DSLR ความจริงแล้วไอโฟนผลิตขึน้ มาด้วยวัตถุประสงค์ดา้ นการสือ่ สาร แต่มกี ล้อง ดิจติ อลเข้าไปเป็นตัวเสริมประสิทธิภาพ ความสามารถหรือคุณภาพจึงไม่สามารถเทียบกับกล้องคอมแพกต์ ซึง่ มีจดุ ประสงค์อย่างชัดเจนเพือ่ การถ่ายภาพ ในเมือ่ ไอโฟนไม่สามารถจะมาแทนทีก่ ล้องถ่ายภาพหลักของ เราได้อันเนื่องมาจากคุณภาพของไฟล์ เราจึงต้องใช้งานไอโฟนให้ตรงกับวัตถุประสงค์อย่างแท้จริงในเชิง ของการสื่อสาร และใช้ประโยชน์จากกล้องดิจิตอลเพื่อความเพลิดเพลินในการบันทึกความทรงจ�า

4


The Art of iPhoneography

Digital Camera Thanks : Littles Jeed ผู้บันทึกภาพผู้เขียนผ่านเลนส์ฟิชอาย (Fisheye) 5


The Art of iPhoneography

Medium Format (Kodak KAF 3900 sensor) 50.7 x 39 mm 1977 mm2

35mm “Full Frame” 36 x 24 mm 864 mm2

APS-H (Canon) 28.7 x 19 mm 548 mm2

APS-C (Nikon, etc.) -23.6 x 15.7 mm -370 mm2

APS-C (Canon) 22.2 x 14.8 mm 329 mm2

Foveon (Sigma) 20.7 x 13.8 mm 286 mm2

Four Thirds System 17.3 x 13 mm 225 mm2

1/1/7” 7.6 x 5.7 mm 43 mm2

1/1/8” 7.18 x 5.32 mm 38 mm2

1/2.5” 5.76 x 4.29 mm 25 mm2

Special Thanks : ขอบคุณภาพตัวอย่างจากอินเตอร์เน็ต

กรอบสี่เหลี่ยมสีส้มคือขนาดมาตรฐานของเซนเซอร์กล้อง DSLR แบบ Full Frame เซนเซอร์ของไอโฟนมีขนาด 4.54 x 3.39 = 15.3 mm2 ยังมีขนาดเล็กกว่าเซนเซอร์ตัวที่เล็กที่สุดของภาพตัวอย่าง 6


The Art of iPhoneography

ข้อได้เปรียบของไอโฟน แม้ไอโฟนจะเป็นเพียงโทรศัพท์เครื่องเล็กๆ แต่ก็ยังได้ชื่อว่าเป็น สมาร์ทโฟน (Smart Phone) ที่มีความสามารถเกินตัว จุดเด่นที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดในโลกของ Social Network ก็คือ ไอโฟนสามารถที่ จะส่งต่อความสุขได้ทันทีหลังถ่ายภาพ ท�าให้มีผู้คิดค้นแอปพลิเคชัน (App) มากมายมารองรับการใช้งาน อย่างทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มในเวลานีค้ อื Facebook เพราะมีความยืดหยุน่ และความเป็นส่วนตัวสูงในสังคมออนไลน์ เก็บภาพประทับใจได้ แชร์ให้เพื่อนดูได้ แสดงความคิดเห็นได้ สร้างสเตตัสเพื่อสนทนากับเพื่อนได้ และ อีกมากมาย จนหลายองค์กรผันตัวเองให้ Facebook เป็นสื่อในการขยายธุรกิจของตัวเองเพื่อเข้าถึงกลุ่ม เป้าหมายโดยที่ไม่ต้องเสียเงินในการประชาสัมพันธ์เลย นอกจากนี้ยังมีแอปประเภทแชร์ภาพถ่ายสุดฮิต คือ อินสตาแกรม (Instagram) แอปที่ใช้ในการสนทนาและแชร์ภาพถ่าย คือ ไลน์ (Line) วอทส์แอป (WhatsApp) ความจริงแล้วนี่แค่ตัวอย่างส่วนน้อยของแอปที่มีอยู่ใน App Store นอกจากนี้ยังมีแอป เกี่ยวกับการถ่ายภาพมาให้เราเลือกโหลดและเกิดขึ้นใหม่ทุกสัปดาห์ ทั้งแบบที่เสียเงินและไม่ต้องเสียเงิน ให้เลือกน�ามาใช้งานได้อย่างมากมาย ท�าให้โทรศัพท์ไอโฟนมีอัตราการขยายตัวของผู้ใช้งานอย่างรวดเร็ว ข้อได้เปรียบทีเ่ ห็นได้ชดั เจนอย่างหนึง่ ของไอโฟนก็คอื การถ่ายภาพและ ส่งต่อความสุขได้ทันที ซึ่งผู้เขียนขอใช้ค�าว่า “Shoot and Share” ไม่ว่าจะอยู่ที่ แห่งไหนในโลกนี้ ขอเพียงแค่มสี ญ ั ญาณอินเตอร์เน็ต ความสุขก็จะส่งถึงปลายทาง ได้อย่างรวดเร็ว จากเดิมโทรศัพท์มือถือที่ถ่ายภาพได้มักน�ามาใช้งานกันในกลุ่ม ครอบครัวหรือเพื่อน แต่ปัจจุบันนี้ได้พัฒนารูปแบบการใช้งานได้ไร้ข้อจ�ากัดมาก ขึ้น มีการประยุกต์ไปใช้ในการสื่อสารเชิงข่าวและเชิงการค้า เพราะการส่งข้อมูล ไม่ได้จ�ากัดอยู่แค่เพียงภาพถ่าย แต่ยังสามารถส่งข้อมูลภาพเคลื่อiPhone นไหวได้ด้วย ท�าให้การกระจายหรือส่งต่อข้อมูลมีความคล่องตัวและรวดเร็วมากขึ้น จะเห็น ได้ว่าโทรศัพท์เล็กๆ เครื่องหนึ่งสามารถน�าไปประยุกต์ใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้ อย่างหลากหลายในสังคมปัจจุบัน Designed by Apple in California Assembled in China Model A1332 EMC 380A FFC ID: BCG-E3294A IC:459C-EE3480A

7


The Art of iPhoneography

เลนส์เสริมส�าหรับการถ่ายภาพด้วยไอโฟน หลายภาพในหนังสือเล่มนี้ใช้เลนส์เสริมแบบ 3 in 1 ในการถ่ายภาพ เพื่อช่วยให้ได้ภาพที่ แตกต่างจากมุมมองปกติของกล้องไอโฟน ถึงแม้ว่าจะมีเลนส์เสริมเพื่อช่วยในการถ่ายภาพ แต่ภาพ ส่วนใหญ่ในหนังสือเล่มนี้ก็ยังเป็นภาพที่เกิดจากมุมมองปกติของกล้องไอโฟน ในการจะซื้อเลนส์เสริมมา ใช้งานจึงอาจดูตามความจ�าเป็นของแต่ละคน เลนส์เสริมส�าหรับกล้องไอโฟน ในปัจจุบนั นีม้ ผี ลิตออกมาขายมากมาย หลายชนิด เช่น เลนส์มุมกว้าง (Wide Angle Lens) เลนส์ตาปลา (Fisheye Lens) เลนส์ซูม (Tele Zoom Lens) เลนส์มาโคร (Macro Lens) หรือเลนส์ที่ มีฟลิ เตอร์แบบต่างๆ ติดอยูห่ น้าเลนส์เพือ่ สร้างเอฟเฟคให้ภาพถ่ายโดยไม่ตอ้ งน�าไป ปรับแต่งในแอปพลิเคชัน ส�าหรับหนังสือ เล่มนี้ใช้เลนส์แบบ 3 in 1 ประกอบไป ด้วยเลนส์มมุ กว้าง เลนส์ตาปลา และเลนส์ มาโคร อยูใ่ นตัวเดียวกัน ส่วนขาตัง้ และ ตัวจับยึดไอโฟนมีไว้กรณีถ่ายภาพหมู่ หรือเพื่อลดการสั่นไหวของภาพเมื่อใช้ ระบบการถ่ายภาพแบบตั้งเวลาถ่าย

8


The Art of iPhoneography

ภาพเปรียบเทียบมุมมองของเลนส์แต่ละแบบเมื่อถ่ายที่ต�าแหน่งเดียวกัน

ภาพถ่ายจากกล้องไอโฟนตามปกติ

ภาพถ่ายจากกล้องไอโฟนเมื่อติดเลนส์มุมกว้าง 9


The Art of iPhoneography

ภาพถ่ายจากกล้องไอโฟนเมื่อติดเลนส์ตาปลา จะเห็นว่าการถ่ายภาพต�าแหน่งเดียวกันจะให้มุมรับภาพที่ไม่เท่ากัน ท�าให้ได้ภาพแตกต่างกันให้เรา เลือกใช้งานตามความเหมาะสม (ความคมชัดของเลนส์แต่ละช่วงขึ้นอยู่กับมาตรฐานของผู้ผลิต) 10


The Art of iPhoneography

ภาพถ่ายจากกล้องไอโฟนเมื่อติดเลนส์มาโคร

11


iPhone

The Art of iPhoneography

สรางสรรคผลงานภาพถายแบบไร ขีดจำกัดกับไอโฟนสมารทโฟนสุดเจงแหงยุค!

มาเริ่มตนการเปนชางภาพเพื1อสรางความสุขใหกับตนเอง และแบงปนความสุขใหบุคคลรอบขาง

พรอมเรียนรูการใชอุปกรณและเทคนิคการถายภาพดวยลูกเลนที่แปลกตากับไอโฟนตัวเกงของคุณ หนังสือพรอม DVD ชุดนี้ยังไดเนนเนื้อหาเกี่ยวกับองคประกอบพื้นฐานทางศิลปะจากสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัว ชวยใหการถายภาพเกิดมุมมองแปลกใหมอยางสรางสรรคมีคุณคาและสะทอนตัวตน เจาของภาพไดอยางชัดเจน

Contents วัตถุประสงค ในการถายภาพดวยไอโฟน เปรียบเทียบความแตกตางระหวาง

กลองไอโฟนกับกลองดิจิตอล ขอไดเปรียบของไอโฟน เลนสเสริมสำหรับการถายภาพดวยไอโฟน การใชงาน Camera App การใชงาน Photos App การใชงาน Instagram App รูจักองคประกอบทางศิลปะ (The Art of Composition) องคประกอบพื้นฐานทางศิลปะ (Elements of Art)

จินตนาการ

เหนือ

ตองอยู อุ ปกรณถายภาพ

ผลงานจากไอโฟน

องคประกอบหลักหรือหลักการทางศิลปะ

(Principles of Art)

การถายภาพบุคคล (Portrait Photography) การถายภาพตามทองถนน (Street Photography) การถายภาพมาโคร (Macro Photography) การถายภาพภูมิทัศน (Landscape Photography) ศิลปะการถายภาพเพื1อสื1อสารดานความรัก

(The Art of Love)

การถายภาพอาหาร (Food Before & AFTER

ISBN 978-616-527-467-8

786165 274678

240.-

9

ผลิตโดย สำนักพิมพเอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2294-8777 (สายอัตโนมั ต)ิ โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

Photography)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.