สารานุกรมประกอบภาพ โลก

Page 1

สารานุกรมประกอบภาพ

ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ

เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น

หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป

อธิบายชัดเจน เขาใจงาย

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา

16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ

สัตว

ช�วว�ทยา

ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร

โลก

ร างกายมนุษย

ป ศาจตัวจ�๋ว

มหาสมุทร

ประวัติศาสตร

ประเทศต างๆ ในโลก

ธรรมชาติ

โลกของเรา

ว�ทยาศาสตร

อวกาศ

เทคโนโลยี

การขนส ง ISBN 978-616-527-904-8

9

786165

279048

หมวด : สารานุกรม 125.-

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา

คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 250 คำ


www.MISbook.com


สารานุกรมประกอบภาพ

ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA

EARTH www.MISbook.com


ISBN : 978-616-527-904-8 ราคา 125 บาท

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใดของ หนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่ บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่วา่ จะในรูปแบบใดๆ นอกจาก จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ

www.MISbook.com

ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA EARTH Copyright © 2012 Orpheus Books Limited Ltd. All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system or transmitted, in any form or by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder. ลิขสิทธิ์ภาษาไทย © 2559 ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้แปล ปิณฑยา ศรีโปฎก, กนก บุนนาค ศิลปกรรม วณิชยา ตันเจริญลาภ, ปรียา แซ่ตั้ง พิสูจน์อักษร ชนาภัทร พรายมี, ดุจดาว บัวทอง เสียงบรรยาย Talking Pen นิดาวรรณ อนันต์ไพศาลสิน ฝ่ายเทคนิค นงนุช เรือนมณี, ปวีณา ไตรเวทย์ ประสานงานฝ่ายผลิต บุษกร กู้หลี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช

จัดพิมพ์โดย : ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ทางส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยน ตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) กรณีตอ้ งการสัง่ ซือ้ จ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


สารานุกรมประกอบภาพ

ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA

EARTH www.MISbook.com


สารบัญ จุดก�ำเนิดของโลก

6

ดาวเคราะห์โลก

8

การเคลื่อนที่ของโลก

10

ภูเขาไฟ

12

มหาสมุทร

22

ชายฝั่ง

24

สภาพอากาศ

26

และภูมิอากาศ

28

ดัชนี

30

www.MISbook.com บรรยากาศ ฤดูกาล

ภูเขาและธารน�้ำแข็ง

14

หิน

16

แม่นำ�้ และถ�้ำ

18

ทะเลทราย

20


เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้

ต่ละคู่หน้าของหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยบทน�ำเรื่องอย่างย่อ ซึ่งเป็นการ อธิบายหัวข้อโดยรวม ตามด้วยค�ำส�ำคัญ พร้อมค�ำอธิบายสัน้ ๆ หากต้องการ ทราบข้อมูลเพิ่มเติมของหัวข้อนั้นๆ สามารถดูได้ที่ “เกร็ดน่ารู้”

บทน�ำ

อธิบายหัวข้อโดยรวมและ ให้ความรู้พื้นฐานที่จ�ำเป็น

อักษรตัวหนา

ใช้เน้นค�ำทีม่ คี วามส�ำคัญ ที่ไม่มีแสดงในรายการ ค�ำอธิบายอื่น

เลขหน้า

เลขหน้าค้นหาได้ง่ายที่ ด้านข้างของหน้าหนังสือ

www.MISbook.com

ค�ำส�ำคัญและค�ำอธิบาย

แต่ละค�ำส�ำคัญจะประกอบด้วย ค�ำอธิบายสั้นๆ ว่าหมายถึงอะไร

เกร็ดน่ารู้

เกร็ดน่ารูเ้ พิม่ เติมเกีย่ วกับหัวข้อ นั้นๆ ที่แสดงเป็นข้อๆ ซึ่งง่าย ต่อการอ่าน


จุดก�ำเนิด ของโลก

าวเคราะห์โลกเป็นหนึ่งในดาวเคราะห์ แปดดวงที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ส่วน ดวงอาทิตย์เป็นดาวดวงหนึง่ ในหลายพันล้านดวง ในดาราจักรหรือกาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซี ทางช้างเผือกเองก็เป็นหนึ่งในหลายพันล้าน กาแล็กซีในจักรวาล จักรวาลก�ำเนิดขึ้นมาเมื่อ 13.7 พันล้านปีก่อน ในขณะที่ดวงอาทิตย์และ ดาวบริวารซึ่งรวมถึงโลกของเราก�ำเนิดขึ้นมา เมื่อ 4,500 ล้านปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ไม่มี ใครสามารถระบุได้อย่างแน่ชดั ว่าโลกก�ำเนิดขึน้ มา ได้อย่างไร นักวิทยาศาสตร์หลายคนเห็นพ้องกัน ว่าการก�ำเนิดของโลกน่าจะมีลำ� ดับขัน้ ตอนตามที่ แสดงในภาพนี้

6

1 ระบบสุริยะเริ่มต้นจากกลุ่มของ ก๊าซและฝุ่นละอองที่ลอยอยู่ใน อวกาศ

2 เมฆรวมตัวเป็นกลุ่มก้อนและหมุนตัวเป็น รูปจานขนาดใหญ่จากบางสิ่งซึ่งอาจเป็นชุด ของคลื่นกระแทกที่แพร่ออกจากการระเบิด ของดวงดาวใกล้เคียง

www.MISbook.com

6 อนุภาคหนักของเหล็ก และโลหะยุบตัวเป็นแกน ของดาวเคราะห์

5 พลาเนตติ ซิ มั ล เริ่ ม ชนกั น และก่ อ ตั ว จนกลายเป็นดาวเคราะห์ 4 ดวงที่อยู่ด้านใน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร 7 วัตถุขนาดใหญ่ชนเข้ากับโลกที่เพิ่งก่อตัว ใหม่ๆ ท�ำให้เกิดเป็นดวงจันทร์

8 การชนที่ เ กิ ด ขึ้ น ท� ำ ให้ เ ศษซากต่ า งๆ จ�ำนวนมากกระจายสูอ่ วกาศรอบๆ โลก สสาร เหล่านี้รวมตัวกันจนเกิดเป็นดวงจันทร์

โลก ดวงจันทร์


3 สสารยุบตัวเข้าสู่ใจกลางซึ่งก่อให้เกิดความร้อนและ ความหนาแน่นกว่าส่วนขอบ ส่วนใจกลางนีจ้ งึ เป็นจุดก�ำเนิด ของดวงอาทิตย์

4 ฝุ ่ น ละอองที่ ห มุ น รอบดวงอาทิ ต ย์ บ างส่ ว นเริ่ ม รวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน เริ่มจากการรวมตัวเป็นกลุ่มหิน ขนาดเล็ก แล้วมีขนาดใหญ่ขึ้น จนกลายเป็นหินก้อนใหญ่ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางหลายกิโลเมตร ซึ่งรู้จักกันในนาม วัตถุก่อก�ำเนิดดาวเคราะห์หรือพลาเนตติซิมัล

www.MISbook.com

10 ท้ายที่สุดแล้ว เมื่อผิวโลกเย็นลง ก๊าซที่ถูกกักไว้ใต้พ้ืนผิว ที่แข็งตัวใหม่พุ่งออกมาจากเปลือกโลกผ่านภูเขาไฟ ก๊าซเหล่านีร้ วมตัวกันก่อให้เกิดบรรยากาศและ ไอน�ำ้ ลอยสูงขึน้ ก่อตัวเป็นเมฆขนาดใหญ่

9 ในช่วงเริ่มต้น โลกยังเป็นดาวเคราะห์ ที่แห้งแล้ง ไม่มีชั้นบรรยากาศ และถูก อุกกาบาตพุ่งชนอย่างต่อเนือ่ ง อุณหภูมิ บนพืน้ ผิวของโลกสูงขึน้ จนโลกกลายเป็น ทะเลหินหลอมเหลว 11 เมื่อพื้นผิวโลกเย็นลง น�้ำจึงเริ่มรวมตัวในแอ่งระดับล่าง และ เพิ่มปริมาณจนกลายเป็นมหาสมุทรเป็นครั้งแรก

7


ดาวเคราะห์ โลก

ชั้นภายในโลก

ลกเปรียบเหมือนลูกบอลที่ท�ำจากก้อนหิน และโลหะ โดยโลกเป็นหนึ่งในดาวเคราะห์ แปดดวงที่โคจรหรือหมุนรอบดาวฤกษ์ที่ใกล้ ที่สุดนั่นก็คือ ดวงอาทิตย์ ผิวโลกประกอบด้วย มหาสมุทรและผืนแผ่นดินที่เรียกว่า ทวีป และ มีชั้นของอากาศที่เรียกว่า บรรยากาศ ห่อหุ้ม ดาวเคราะห์ดวงนี้ไว้ทั้งดวง ชั้นนอกสุดของโลก หรือเปลือกโลกเป็นเปลือกหินบาง ด้านล่าง ของเปลือกโลกคือเนือ้ โลก ซึ่งเป็นชั้นหนาของ หินที่ร้อนและมีความหนาแน่น จุดศูนย์กลาง ของโลกคือแก่นโลกที่มีลักษณะเหมือนลูกบอล โลหะ ซึ่งมีโลหะเหลวหนืดอยู่ด้านนอกและโลหะ แข็งอยู่ด้านใน

แก่นโลก แก่นโลก ชั้นใน ชั้นนอก

ฐานธรณีภาค (Asthenosphere) ชัน้ อ่อนนุม่ ของเนือ้ 8

เนื้อโลก

เปลือกโลก

www.MISbook.com

โลกตอนบน ซึง่ อยู่ใต้ธรณีภาค (lithosphere) บางส่วน ของฐานธรณีภาคเป็นของหลอมเหลวจึงท�ำให้ธรณีภาค สามารถเคลื่อนตัวไปมาด้านบนได้

แสงออโรรา (Aurora) แสงหลากสีที่เกิดบนท้องฟ้า

ยามค�่ำคืนใกล้กับขั้วแม่เหล็กโลก ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ สนามแม่ เ หล็ ก โลกดึ ง ดู ด อนุ ภาคพลั ง งานสู ง จาก ดวงอาทิตย์ แกนโลก (Axis) เส้นสมมุติที่ลากตรงจากเหนือไปใต้ ผ่านจุดศูนย์กลางของโลก ซึ่งโลกจะหมุนหรือเหวี่ยง รอบแกนนี้

ทวีป

(Continent) หนึ่งในเจ็ดผืนแผ่นดินขนาดใหญ่บน

โลกรวมถึงไหล่ทวีป (continental shelf) ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่ยื่นเลยชายฝั่งทะเลออกไป

กระแสอุณหภูมิหมุนเวียน

(Convection current)

การเคลื่อนที่ของความร้อนผ่านของเหลวและก๊าซ เมื่อ ของเหลวและก๊าซได้รับความร้อนจากเบื้องล่างก็จะขยาย ตัวออก ท�ำให้มีความหนาแน่นน้อยลงและเคลื่อนตัวสูง ขึน้ แต่เมือ่ ของเหลวหรือก๊าซนัน้ ออกห่างจากแหล่งก�ำเนิด ความร้อนก็จะเย็นลงและยุบตัวลง ซึ่งกระแสอุณหภูมิ หมุนเวียนในเนือ้ โลกนีท้ ำ� ให้เกิดทวีปเลือ่ น (continental drift)

วงโคจรของโลกและดวงจันทร์

โลกหมุนครบรอบใช้เวลา 24 ชั่วโมง

ดวงจันทร์

ดวงอาทิตย์

โลก

ดวงจันทร์โคจรรอบโลกครบรอบ ใช้เวลา 27 วัน

แก่นโลก (Core) ส่วนทีอ่ ยู่ในสุดของโลก ซึง่ ส่วนใหญ่เป็น

เหล็กผสมกับนิกเกิลในปริมาณน้อย แก่นโลกแบ่งออกเป็น แก่นโลกชั้นนอกและแก่นโลกชั้นใน เปลือกโลก (Crust) ชั้นหินบางด้านนอกสุดของโลก แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป (continental crust) และเปลื อ กโลกใต้ ม หาสมุ ท ร (oceanic crust) เปลือกโลกภาคพื้นทวีปมีความหนา 35-70 กิโลเมตร เปลือกโลกใต้มหาสมุทรมีความหนา 5-10 กิโลเมตร แก่ น โลกชั้ น ใน (Inner core) ชั้นในสุดของโลก มีลักษณะคล้ายกับลูกบอลแข็งๆ ที่ท�ำจากโลหะจ�ำพวก เหล็ก มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2,500 กิโลเมตร แก่นโลกชัน้ ใน อยู่ภายใต้แรงดันมหาศาลท�ำให้มีสถานะเป็นของแข็ง ถึงแม้จะมีอุณหภูมิสูงถึง 5,430 องศาเซลเซียสก็ตาม ธรณีภาค (Lithosphere) ชั้นของโลกที่ประกอบด้วย เปลือกโลกและชั้นบางๆ ของเนื้อโลกตอนบน ซึ่งแยก เป็นชิ้นใหญ่ๆ เรียกว่า แผ่นธรณีภาคหรือแผ่นธรณี แปรสัณฐาน โดยการแยกตัวนี้จะอยู่บนฐานธรณีภาค

เนือ้ โลกส่วนล่าง โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ครบรอบใช้เวลา 365 วัน วงโคจรของโลก

ชั้นในของเนื้อโลก มีความหนาประมาณ 2,300 กิโลเมตร โดยทีค่ วามดันจาก ชั้นโลกต่างๆ ด้านบนป้องกันส่วนนี้ไม่ให้หลอมละลาย (Lower mantle)


สนามแม่เหล็ก

(Magnetic field) พื้ น ที่ ล ้ อ มรอบ แม่เหล็กซึ่งเป็นวัตถุที่มี 2 ขั้ว และมีแรงดึงดูดระหว่างกัน โลกของเรามีสนามแม่เหล็กซึ่งขยายออกสู่อวกาศและ ปกป้องโลกจากอนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์ ขั้วแม่เหล็ก (Magnetic pole) จุดที่มีก�ำลังแม่เหล็ก แรงทีส่ ดุ อยูท่ ปี่ ลายแต่ละด้านของแม่เหล็ก ขัว้ แม่เหล็กโลก อยูท่ บี่ ริเวณใกล้เคียงกับขัว้ โลกเหนือและขัว้ โลกใต้ ซึง่ เป็น 2 จุดที่แกนโลกตัดกับผิวโลก

แมกนีโทสเฟียร์

เนื้อ โลก (Mantle) ชั้ น หิ น ของโลกที่ อ ยู ่ ร ะหว่ า ง

เปลือกโลกและแก่นโลก ประกอบด้วยเนือ้ โลกตอนบนและ เนื้อโลกตอนล่าง

ชั้ น โมโฮ ( ชั้ น ความไม่ ต ่ อ เนื่อ งโมโฮโรวิ ซิ ก )

(Moho or Mohorovičić discontinuity) ขอบระหว่าง

เปลือกโลกกับเนื้อโลก ซึ่งถูกค้นพบเนื่องจากชั้นโมโฮ ส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือน (Seismic wave) ที่เดินทางผ่านโลก แก่นโลกชัน้ นอก (Outer core) ชัน้ นอกของแก่นโลกซึง่ มีความหนา 2,200 กิโลเมตร และประกอบด้วยเหล็กเหลว เป็นส่วนใหญ่ อุณหภูมขิ องแก่นโลกชัน้ นอกสูงถึง 4,000 Cํ แก่นโลกชัน้ นอกทีอ่ ยู่ในสถานะของเหลวหมุนรอบแก่นโลก ชั้นในตามการหมุนของโลก การเคลื่อนที่นี้เรียกว่า โรลเลอร์ ซึ่งอาจเป็นแหล่งก�ำเนิดของสนามแม่เหล็กโลก

อนุภาคพลังงานสูงจาก ดวงอาทิตย์

โลก

เกร็ดน่ารู้ เส้นผ่านศูนย์กลาง : 12,756 กิโลเมตร วัน : 23 ชั่วโมง 56 นาที ระยะทางเฉลีย่ จากดวงอาทิตย์ : 149.7 ล้านกิโลเมตร อุณหภูมิพื้นผิว : -70 Cํ ถึง +55 Cํ บรรยากาศ : ไนโตรเจน ออกซิเจน ไอน�ำ้ โลกมีอายุประมาณ 4.5 พันล้านปี โลกไม่ได้มีรูปร่างกลมจริงๆ แต่มีลักษณะแป้น เล็กน้อยทีเ่ รียกว่า ทรงกลมแบนขัว้ (oblate spheroid) ระยะทางรอบเส้นศูนย์สูตรจึงมากกว่าระยะทาง รอบโลกจากขั้วโลกหนึ่งถึงอีกขั้วโลกหนึ่ง รูปร่าง แบบทรงกลมแบนขัว้ นีเ้ กิดจากการทีโ่ ลกหมุนรอบ ตัวเองโดยการเหวี่ยงมวลหมุนรอบเส้นศูนย์สูตร ความลึกสูงสุดที่มนุษย์เคยขุดลงไปในโลกคือ 15 กิโลเมตร

www.MISbook.com หางแมกนีโทสเฟียร์

แมกนีโทสเฟียร์

แสงเหนือที่ส่องไสวในซีกโลกเหนือ

ย่านสนามแม่เหล็กก�ำลังสูงรอบโลก แมกนีโทสเฟียร์ขยายออกไป หลายพันกิโลเมตรในอวกาศและป้องกันโลกจากอนุภาค พลังงานสูงของดวงอาทิตย์ที่รู้จักในนาม พายุสุริยะ (solar wind) โดยพายุสรุ ย ิ ะนีจ้ ะพัดแมกนีโทสเฟียร์ทำ� ให้ มีรูปร่างเป็นรูปหยดน�้ำตา (Magnetosphere)

สนามแม่เหล็กโลก

โรลเลอร์

การเคลื่อนที่แบบบิดเกลียวของ เหล็กเหลวในแก่นโลกชัน้ นอก ซึง่ กระแสอุณหภูมหิ มุนเวียน ในแก่นโลกท�ำให้โลหะเหลวเกิดการหมุนวนไปรอบๆ กระแส อุณหภูมิหมุนเวียนนี้บิดเกลียวจากแรงเหวี่ยงการหมุน ของโลก ท�ำให้เกิดเป็นลักษณะการหมุนแบบเกลียว ขนาดใหญ่ที่เรียกว่า โรลเลอร์ การเคลื่อนที่นี้ท�ำให้เกิด กระแสไฟฟ้าซึ่งก่อให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบโลก เนื้อ โลกส่ ว นบน (Upper mantle) ชั้ น เนื้ อ โลก ส่วนบนทีม่ คี วามหนา 600 กิโลเมตร ประกอบด้วยผลึกของ หินเนื้อแข็งและหินเหลวแทรกระหว่างผลึกหินในบางจุด หินหลอมละลายหรือหินหนืด (magma) ที่อยู่ภายใต้ แรงดันมหาศาลและสามารถปะทุออกมาทางรูหรือ รอยแยกของเปลือกโลก เช่น ภูเขาไฟ (Roller)

ก เปลือ

พื้นมหาสมุทร

โลก

N

เนื้อโลก

S

เส้นของ แรงแม่เหล็ก

ทวีป กระแสอุณหภูมิหมุนเวียน ในโลก

แก่นโลก ชั้นนอก

9


การเคลื่อนที่ ของโลก นด้ า นนอกของโลกหรื อ ธรณี ภ าคนั้ น สามารถแบ่งได้เป็นแผ่นๆ ขนาดใหญ่ เรียกว่า แผ่นธรณีแปรสัณฐาน (tectonic plate) ซึ่งเมื่อน�ำแผ่นเหล่านี้มาเรียงต่อกันจะมีลักษณะ คล้ายกับจิก๊ ซอว์ทตี่ อ่ เป็นทรงกลม แผ่นเปลือกโลก จะลอยอยูบ่ นฐานธรณีภาคเหลว กระแสอุณหภูมิ หมุนเวียนในเนือ้ โลกผลักเปลือกโลกจนท�ำให้ เปลือกโลกเกิดการเคลื่อนที่ ในบางพื้นที่แผ่น เปลือกโลกเคลื่อนที่เข้าเกยกันและโก่งตัวขึ้น เป็นภูเขา ส่วนในบางพืน้ ทีแ่ ผ่นเปลือกโลกเคลือ่ นที่ ออกจากกันท�ำให้หินหลอมเหลวดันตัวขึ้นมา ตามช่องว่างระหว่างแผ่น และในบางครั้งหาก แผ่นเปลือกโลกที่อยู่ติดกันในชั่วระยะหนึ่งเกิด แยกตัวออกจากกันอย่างฉับพลัน เป็นสาเหตุให้ เกิดแผ่นดินไหว

ชั้

10

แผ่ น ดิ น ไหวตาม

รอยต่อของแผ่นธรณีเคลือ่ นทีเ่ ข้าหากัน (Convergent

แนวที่แผ่นธรณีแปรสัณฐานสองแผ่น ชนกัน หากแผ่นหนึ่งเป็นมหาสมุทร ขอบของแผ่นนั้น จะจมตัวลงใต้แผ่นทวีปที่หนักกว่า หากทั้งสองแผ่นเป็น แผ่นทวีป ทัง้ สองแผ่นจะชนกันและยกตัวสูงขึน้ มาเป็นภูเขา boundary)

รอยต่อของแผ่นธรณีเคลือ่ นทีอ่ อกจากกัน (Divergent boundary) แนวทีแ ่ ผ่นธรณีแปรสัณฐานสองแผ่นเคลือ่ นที่

ออกจากกัน จากนัน้ หินหลอมเหลวจะดันตัวขึน้ มาทีบ่ ริเวณ รอยแยกของแผ่น ทั้งนี้รอยต่อของแผ่นธรณีเคลื่อนที่ ออกจากกันส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่างแผ่นมหาสมุทรและ ท�ำให้เกิดเทือกเขากลางสมุทร (mid-oceanic ridge)

แผ่นดินไหว (Earthquake) การสั่นสะเทือนของพื้นดิน

เกิดจากการเคลื่อนที่อย่างกะทันหันของหินในเปลือกโลก แผ่ น ดิ น ไหวส่ ว นใหญ่ เ กิ ด ตามขอบของแผ่ น ธรณี แปรสัณฐานเมื่อชนหรือเลื่อนผ่านกัน เมื่อแผ่นธรณี แปรสัณฐานสองแผ่นติดแน่นอยูด่ ว้ ยกันก็จะท�ำให้เกิดแรงดัน มากเกินไปจนเกิดการแยกออกอย่างกะทันหัน จุดเหนือศูนย์การเกิดแผ่นดินไหว (Epicentre) จุดบน ผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์การเกิดแผ่นดินไหว ่ โ ลกทั้ ง สองนี้ แ สดงการแบ่ ง ผิ ว โลกออกเป็ น รอยเลื่อน (Fault) รอยแยกในเปลือกโลกซึ่งมีการ แผนที แผ่นธรณีแปรสัณฐาน เคลื่อนตัวสัมพันธ์กันกับรอยเลื่อน รอยเลื่อนเกิดขึ้นเมื่อ หินถูกท�ำให้ขยายตัวออกหรือท�ำให้โก่งงอ และการแตก จุดเกิดแผ่นดินไหว (Focus) จุดใต้ผิวโลกที่แผ่นหินมี ตามจุดที่ไม่แข็งแรง การหักหรือเลื่อนจนท�ำให้เกิดแผ่นดินไหว

www.MISbook.com

แผ่ น ดิ น ไหว ขนาดเล็กที่เกิดขึ้นทันทีหลังจากการเกิดแผ่นดินไหว ขนาดใหญ่ ซึ่งเกิดจากการปรับตัวของเปลือกโลก หลังจากการเกิดแผ่นดินไหวหลัก (main shock) ทวีปเลื่อน (Continental drift) การเคลื่อนตัวของ ทวีปรอบๆ โลก ทวีปติดอยู่กับแผ่นธรณีแปรสัณฐาน และเคลื่อนที่ไปพร้อมกับการเคลื่อนตัวของแผ่นธรณี แปรสัณฐานด้วย (Aftershock)

ที่ราบก้นสมุทร

ไหล่ทวีป

เทือกเขากลางสมุทร

ภูเขาใต้ทะเล ร่องลึกใต้ทะเล

รอยเลื่อน เหลื่อมข้าง เปลือกโลกใต้มหาสมุทร

เมื่อแผ่นมหาสมุทรชนกับแผ่น ทวีป แผ่นมหาสมุทรที่บางและ ภูเขาไฟ เขตมุดตัวของ ทิศทาง มีความหนาแน่นมากกว่าจะเลือ่ น เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ช่องแมกมา แผ่นเปลือกโลก กระแสความร้อน ลงไปใต้แผ่นทวีปในเขตมุดตัวของ หรือหินหนืด เปลือกโลก (subduction zone) หินบริเวณพืน้ มหาสมุทรจะจมลง

กระแสอุณหภูมิหมุนเวียน หินหลอมเหลว ยกตัวขึ้น ลึกลงไปและละลาย บางคร้​้งหินหลอมเหลวยกตัว ขึน้ สูงผ่านรอยแยกในเปลือกโลกภาคพืน้ ทวีปปะทุ ออกมาสู่ผิวโลกเช่นเดียวกับภูเขาไฟ


ชัน้ หินคดโค้ง (Fold) หินในชัน้ เปลือกโลกทีเ่ กิดการโก่งงอ

เกิดขึ้นเมื่อมีแรงดันสูงกระท�ำต่อแผ่นหินจากการเคลื่อน ตัวภายในเปลือกโลก การโก่งตัวของเปลือกโลกมีหลาย ขนาดตัง้ แต่เป็นรอยโก่งขนาดเล็กจนถึงเป็นภูเขาขนาดใหญ่

ญี่ปุ่น

มาตราเมอคัลลี (Mercalli scale) มาตราที่ใช้ในการวัด

ระดับความเสียหายจากแผ่นดินไหว โดยมีระดับตั้งแต่ 1 ซึ่งหมายถึงแผ่นดินไหวที่มีขนาดเล็กมากจนแทบ ไม่สามารถสัมผัสได้ จนถึงระดับ 12 ซึ่งเป็นแผ่นดินไหว ระดับมหาวิบตั ิ ท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของภูมปิ ระเทศ มาตราริ ก เตอร์ (Richter scale) มาตราที่ ใช้ใน การวัดความรุนแรงหรือแมกนิจูดของแผ่นดินไหว โดย แผ่นดินไหวทีม่ แี มกนิจดู น้อยกว่า 2 นัน้ ไม่สามารถสัมผัสได้ หากมีแมกนิจูด 7 หรือมากกว่าจะท�ำให้เกิดความเสียหาย มหาศาลต่อชีวิตและทรัพย์สิน

แผ่นดินไหวบางครั้งเกิดขึ้นตามแนวเขต การมุดของเปลือกโลกซึ่งแผ่นธรณีแปรสัณฐาน ที่เป็นแผ่นเปลือกมหาสมุทรเลื่อนตัวลงใต้ ขอบแผ่นทวีป มหาสมุทรแปซิฟิก

ภูเขาไฟ

เขตการมุดตัวของเปลือกโลก

การเคลื่อนตัวของ เปลือกโลกภาคพื้น ทวีป คลื​ื่นไหวสะเทือน

ไซสโมมิเตอร์

(Seismometer)

ความรุนแรงของแผ่นดินไหว

การมุดตัว

เครื่องมือใช้ในการวัด

กระบวนการซึ่งแผ่นธรณี แปรสัณฐานเลื่อนตัวมุดลงใต้อีกแผ่นหนึ่ง สถานที่ ที่เกิดปรากฏการณ์นี้เรียกว่า เขตมุดตัวของเปลือกโลก (subduction zone) โดยแผ่นมหาสมุทรที่บางกว่าและ หนาแน่นกว่ามักมุดตัวลงภายใต้แผ่นทวีปเมือ่ แผ่นทัง้ สอง ชนกัน (Subduction)

การเคลื่อนตัวของ เปลือกโลกภาคพื้น ทวีป

สึนามิ (Tsunami) คลืน่ ขนาดใหญ่ทเี่ กิดจากแผ่นดินไหว

ลึกใต้พื้นทะเล เราแทบจะไม่สามารถสังเกตเห็นสึนามิ เมื่ออยู่ ในทะเล แต่เมื่อเข้าใกล้ฝั่ง สึนามิจะยิ่งมี ขนาดใหญ่ขึ้น อาจสูงถึง 30 เมตร ซึ่งก�ำแพงคลื่นยักษ์นี้ จะถาโถมเข้าสูช่ ายฝัง่ ด้วยแรงมหาศาล ท�ำให้เกิดน�ำ้ ท่วม บริเวณชายฝั่งอย่างรวดเร็ว

www.MISbook.comเกร็ดน่ารู้ แผ่นธรณีแปรสัณฐาน (Tectonic plate) แผ่นเปลือกโลก

เมืองที่ถูกท�ำลายโดยแผ่นดินไหวที่รุนแรง

รอยแยก

สถานที่ที่เปลือกโลกแยกออกจากกัน จากการเคลื่อนตัวของแผ่นธรณีแปรสัณฐาน การแยก ท�ำให้หนิ ในเปลือกโลกแตกและเกิดเป็นรอยเลือ่ น แผ่นดิน อาจทรุดตัวลงระหว่างรอยเลื่อนท�ำให้เกิดหุบเขาทรุด (Rift)

(rift valley)

คลื่นไหวสะเทือน

คลื่นของแรงดันที่ เคลื่อนที่ผ่านโลก ซึ่งเกิดจากแผ่นดินไหว คลื่นปฐมภูมิ (primary wave) เคลื่อนที่ผ่านทุกๆ ชั้นของโลกท�ำให้ เกิดการบีบอัดและคลายตัวของหิน ในขณะทีค่ ลืน่ ทุตยิ ภูมิ (secondary wave) สร้างความไหวสะเทือนในชัน ้ หินทาง ด้านข้าง คลืน่ นีช้ า้ กว่าคลืน่ ปฐมภูมแิ ละไม่สามารถเคลือ่ นที่ ผ่านแก่นโลกชั้นนอกที่เป็นของเหลวได้ (Seismic wave)

ขนาดใหญ่ทเี่ กิดจากการแยกของผิวโลก บางครัง้ ถูกเรียกว่า แผ่นธรณีภาค (lithospheric plate) โดยที่แต่ละแผ่น ประกอบด้วย เปลือกโลกและเนื้อโลกชั้นบนบางส่วน ซึ่งรวมกันท�ำให้เกิดธรณีภาค รอยเลื่อนเหลื่อมข้าง (Transform fault) แนวระหว่าง แผ่นธรณีแปรสัณฐานที่เลื่อนผ่านกัน รอยเลื่อนซานแอนเดรียส (San Andreas Fault) ซึ่งยาว 750 ไมล์ ตามแนวชายฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือ ถือเป็น ตัวอย่างหนึ่งของรอยเลื่อนประเภทนี้ คลื่นสึนามิม้วนส่วนท้ายขึ้นเมื่อเข้าใกล้พื้นที่ตื้น

มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นประมาณ 500,000 ครั้ง ทุกปี โดยที่ประมาณ 100,000 ครั้งสามารถรู้สึก ได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือตรวจจับ ในทุกๆ 2-3 ปี จะมีเหตุแผ่นดินไหวขนาดใหญ่เกิดขึ้นและท�ำให้ ผู้คนเสียชีวิตไปเป็นจ�ำนวนมาก แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ท�ำให้มีผู้เสียชีวิตทั้ง ในเขตเมืองและหัวเมืองจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ การสัน่ สะเทือนอย่างรุนแรงทีเ่ กิดขึน้ อย่างกะทันหัน อาจท�ำให้อาคารหรือสะพานถล่ม ท่อน�ำ้ แตก รวมถึง สายไฟฟ้าขาด ซึ่งสามารถท�ำให้เกิดไฟไหม้ได้ ในบางพื้นที่ที่มักได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว การสร้างที่อยู่อาศัยมักจะออกแบบให้ทนต่อ แรงสั่นสะเทือน แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดที่ได้รับการบันทึกไว้ คือ แผ่นดินไหวทีป่ ระเทศชิลี (The Great Chilean Earthquake) เมือ ่ 22

รอยต่อของแผ่นธรณี พฤษภาคม ค.ศ.1960 เคลื่อนที่ออกจากกัน ทีม่ คี วามรุนแรงถึง 9.5 ริกเตอร์ รอยต่อของแผ่นธรณี เคลื่อนที่เข้าหากัน การเลื่อน เหลือ่ มข้าง

11


สารานุกรมประกอบภาพ

ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ

เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น

หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป

อธิบายชัดเจน เขาใจงาย

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข www.MISbook.com อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา

16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ

สัตว

ช�วว�ทยา

ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร

โลก

ร างกายมนุษย

ป ศาจตัวจ�๋ว

มหาสมุทร

ประวัติศาสตร

ประเทศต างๆ ในโลก

ธรรมชาติ

โลกของเรา

ว�ทยาศาสตร

อวกาศ

เทคโนโลยี

การขนส ง ISBN 978-616-527-904-8

9

786165

279048

หมวด : สารานุกรม 125.-

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา

คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 250 คำ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.