รายงานการฝึกปฏิบัติบริหารโครงการ สาขาวิชาการบัญชีบริหาร

Page 181

143 ผลิ ตจนถึ งการบรรจุเป็ นเนื้ อหรื อไข่หากต้องการขอการรับรองให้ติดต่อหน่ วยตรวจรั บรอง โดย ผูผ้ ลิ ตจะต้องมีแผนการผลิ ตระบบปศุ สัตว์อินทรี ยท์ ี่ อธิ บายแผนการผลิ ตแต่ละรุ่ นตลอดปี วิธีการ จัดการฟาร์ มไม่ให้ปนเปื้ อนสารเคมีและไก่ปกติ และบันทึกการใช้ปัจจัยการผลิตการดูแลสุ ขภาพ และหลักฐานการใช้ไว้ให้ตรวจสอบ ตารางที่ 3 – 16 ตารางแสดงการปฏิบตั ิตามมาตรฐานปศุสัตว์อินทรี ย ์ รายการ 1. พื้นที่ใช้ เลี้ยงสัตว์

ต้ องทา 1. เป็ นพื้นที่อินทรี ยแ์ ละไม่เสี่ ยงต่อการ ปนเปื้ อนสารเคมี 2. มีขอบเขตชัดเจน แสดงความเป็ นอินทรี ย ์ 3. เป็ นที่โปร่ ง อากาศถ่ายเทดี สามารถควบคุม การแพร่ ระบาดของโรคได้ 2. แหล่งที่มา 1. มาจากพ่อแม่พนั ธุ์ที่เหมาะสมกับระบบการ เลี้ยงปล่อย ของสัตว์ 2. นํามาเลี้ยงในระบบอายุนอ้ ยที่สุด อายุไม่ เกิน 3 วัน 3. โรงเรื อน หลักการ : เลี้ยงไก่ไม่หนาแน่นเกินไปให้ และการเลี้ยง เหมาะสมกับพื้นที่โรงเรื อนและพื้นที่ปล่อย ปล่อย 1. มีโรงเรื อนสามารถกันแดด กันฝน กันศัตรู โปร่ ง โล่ง สบาย - ขนาดพื้นที่ภายในโรงเรื อนไม่มากกว่า 4- 5 ตัว/ตร.ม. - ไก่ไข่มีคอน และรังไข่อย่างเพียงพอ 2. มีพ้นื ที่ภายนอกโรงเรื อน ให้ไก่สามารถ ออกมาได้อย่างอิสระ และมีพืชหญ้าปกคลุม หรื อเป็ นแปลงหญ้า (EU 4 ม2/ตัว UK ไก่ไข่ 160 ตัว/ไร่ , ไก่เนื้อ 400 ตัว/ไร่ ) 3. แปลงหญ้ามีการหมุนเวียน หรื อพักแปลง ให้หญ้าได้งอกใหม่ และตัดวงจรพยาธิ 4. อาหาร หลักการ อาหารอินทรี ย ์ 100 % และสู ตร

ต้ องห้ าม 1. ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีกาํ จัดหญ้า ศัตรู พืชในพื้นที่ ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี และปลูกพืชในระบบอินทรี ยม์ าไม่ น้อยกว่า 1 ปี ก่อนนํามาให้สัตว์กิน 1. หากเป็ นพันธุ์ที่โตเร็ วต้องเลี้ยง ในระบบอินทรี ยไ์ ม่ต่าํ กว่า 10 อาทิตย์ 1. ไม่เลี้ยงขังคอกตลอดเวลา 2. ห้ามเลี้ยงไก่ไข่บนกรงตับ อาจ ขังคอกเมื่อจําเป็ นเช่น สภาพอากาศ รุ นแรง กันสัตว์ไม่ให้ได้รับ อันตราย แต่ไม่เกิน 1/3 ของช่วง ชีวติ 3. ห้ามใช้แสงไฟฟ้ าในไก่ไข่เพิ่ม แสงไม่เกิน16 ชัว่ โมง

1. ห้ามใช้วตั ถุดิบที่มาจากการตัด


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.