รายงานการฝึกปฏิบัติบริหารโครงการ สาขาวิชาการบัญชีบริหาร

Page 1

รายงาน การฝึ กปฏิบัตกิ ารบริหารโครงการ เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พัชนิจ เนาวพันธ์ โดย คณะผู้จดั ทา

รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาวิชา หลักการบัญชีต้นทุน 2 รหัสวิชา 03760331 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการบัญชีบริหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา


(1)

บทสรุปผลการฝึ กปฏิบตั กิ ารบริหารโครงการ โครงการการบูรณาการเรี ยนการเรี ยนรู ้ จากชั้นเรี ยนสู่ การปฏิ บตั ิจริ ง ของสาขาการบัญชี บริ หารจึงได้ตระหนักถึ งความสําคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ที่เป็ นทุนการสังคมของการ พัฒนาประเทศ โดยคํานึ งถึงหลักตามกระบวนทัศน์พระราชทานในการจัดการกระบวนการเรี ยน การสอนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ที่ว่า “เรี ยนความรู้ ทําการงาน และทําความดี ” และ คุณลักษณะของบัณฑิ ตของสาขาการบัญชี บริ หาร ตามมาตรฐานคุณวุฒิบณ ั ฑิต หลักสู ตร บธ.บ. (สาขาวิชาการบัญชี บริ หาร) พ.ศ. 2554ของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ กําหนดวัตถุประสงค์สาํ คัญที่ถือว่าเป็ นความรับผิดชอบของสถาบัน เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ ดังนี้ มีคุณธรรม จริ ยธรรม ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม มีความรอบรู ้ ในศาสตร์ ทางการ บัญชี ทักษะทางวิชาชี พและศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องในระดับสากล และตรงตามความต้องการของธุ รกิ จ รวมถึ งทันต่อการเปลี่ ยนแปลงทางเทคโนโลยี มี ความสามารถคิ ดอย่างเป็ นระบบ วิเคราะห์ และ แก้ปัญหาโดยการใช้ความรู ้ในสาขาวิชาและสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องมีความสามารถในการสื่ อสารและ ทํางานร่ วมกับบุคคลอื่นได้ทุกระดับอย่างเหมาะสม มีความรู้ดา้ นเทคโนโลยีที่ทนั สมัยและสามารถ ใช้ไ ด้อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ มี ก ารพัฒนาตนเองทั้ง ด้า นความรู ้ ทัก ษะวิช าชี พและคุ ณธรรมอย่า ง ต่อเนื่อง มีความเป็ นผูน้ าํ มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล ความคิดในทางสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการ ความรู ้ และประสบการณ์ ในทางธุ รกิ จ มาประยุกต์กบั การดํารงชี พ เพื่อประโยชน์ต่อตนเองและ สังคม นอกจากนี้ยงั เป็ นการปลูกจิตสํานึกในเรื่ องของคุณธรรม จริ ยธรรม ของนิสิตนักศึกษา ในการ ร่ วมแก้ไขวิกฤตการณ์ ปัญหาความไม่มนั่ คงทางอาหาร โดยโครงการได้จดั ทําขึ้ นเพื่อสร้ างพื้นที่ อาหารให้กบั น้องโรงเรี ยนวิธีพุทธปูทะเล และเป็ นแหล่ งเรี ยนรู้ ของเกษตรกร ประชาชนทัว่ ไป นัก เรี ยน นิ สิตนัก ศึ ก ษา ที่ เข้ามาเรี ย นรู ้ ในมูล นิ ธิก สิ ก รรมธรรมชาติ มาบเอื้ อง โดยมุ่ งศึ กษาแนว ทางการประยุกต์ใช้ความรู ้จากการเรี ยนภาคทฤษฎีสู่การลงมือปฏิบตั ิงานจริ ง การปลูกจิตสํานึ กที่ดี และการทําประโยชน์เพื่อสังคมและชุมชน โดยโครงการการฝึ กปฏิ บ ตั ิ ก ารบริ หารโครงการมี วตั ถุ ป ระสงค์เพื่ อสร้ า งพื้ น ที่ อ าหาร สําหรั บน้องโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ให้เพียงพอต่อการบริ โภคตลอดทั้งปี และยังเป็ นการสร้ าง พื้นที่การเรี ยนรู ้สาํ หรับเด็กโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์และเกษตรกรที่เข้ามาเรี ยนรู ้ ณ มูลนิ ธิกสิ กรรม ธรรมชาติมาบเอื้ อง ซึ่ งเป็ นแหล่ งเรี ยนรู ้ หลักการพึ่งพาตนเอง ตามแนวคิ ดเศรษฐกิ จพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเป็ นการบูรณาการการเรี ยนของสาขาการบัญชี บริ หารในการ ประยุกต์ใช้ความรู้จากการเรี ยนในภาคทฤษฎีจากการเรี ยนมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิงานจริ ง การ


(2) แก้ไ ขปั ญหาในสถานการณ์ ต่างๆ และประเด็ นสําคัญคื อ การคิ ดอย่างเป็ นระบบ วิเคราะห์ และ แก้ปัญหาโดยการใช้ความรู ้ ในสาขาวิชาและสาขาอื่นที่เกี่ ยวข้อง และฝึ กกระบวนการทํางาน การ บริ หารโครงการ การงานเป็ นทีม นอกจากนี้ ยงั เป็ นการสร้ างความสัมพันธ์อนั ดี และความสามัคคี ระหว่างรุ่ นในสาขาการบัญชีบริ หารและเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริ ยธรรม ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และสังคม จากการดําเนิ นโครงการการฝึ กปฏิ บตั ิบริ หารโครงการสามารถสร้ างพื้นที่อาหารสําหรั บ น้องโรงเรี ยนวิถี พุทธปู ทะเลย์ให้เพียงพอต่อการบริ โภคตลอดทั้งปี และสามารถสร้ างพื้นที่ การ เรี ยนรู้สาํ หรับเด็กโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์และเกษตรกรที่เข้ามาเรี ยนรู้ ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้องได้สาํ เร็ จเป้ าหมายที่กาํ หนดไว้ โดยสามารถส่ งมอบพื้นที่อาหารและพื้นที่การเรี ยนรู ้ให้กบั น้องโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์และศูนย์มูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องได้ตามกําหนดการที่วาง ไว้ น้องโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ศูนย์มูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง อาสาสมัคร บุคคลทัว่ ไป หรื อเกษตรกรที่ เข้ามาศึ กษาเรี ย นรู ้ ที่ มูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้ อง และผูฝ้ ึ กปฏิ บ ตั ิ บริ หาร โครงการมีความพึงพอใจในความสําเร็ จของผลงานและสามารถเป็ นแหล่งพื้นที่อาหารได้เพียงพอ สําหรั บการบริ โภคตลอดทั้งปี ของน้องโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ และเป็ นแหล่ งเรี ยนรู ้ ในการฝึ ก ปฏิ บตั ิสําหรับน้องโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ บุคคลทัว่ ไปหรื อเกษตรกรที่สนใจศึกษา รวมถึ งผูฝ้ ึ ก ปฏิ บตั ิบริ หารของโครงการเอง โดยผูฝ้ ึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการสามารถฝึ กการคิดอย่างเป็ นระบบ วิเคราะห์ และแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ใช้ความรู ้ ในสาขาวิชาและสาขาอื่นที่เกี่ ยวข้องมาในการ ปฏิบตั ิงานในพื้นที่จริ ง ได้ฝึกการทํางานตามกระบวน การบริ หารโครงการ การงานเป็ นทีม ซึ่ งนอก จะได้ฝึกการบูรณาการการเรี ยนแล้ว ยังเป็ นการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีและความสามัคคีร ะหว่าง รุ่ นในสาขาการบัญชี บริ หาร และเพื่อปลู กฝั งคุ ณธรรม จริ ยธรรมความรั บผิดชอบต่อหน้าที่ และ สังคมให้แก่ผฝู ้ ึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ ซึ่ งเป็ นการสร้างเสริ มประสบการณ์จากการปฏิบตั ิงานจริ ง ซึ่ งจากการเรี ยนทฤษฎี ใ นหนั ง สื อหรื อในห้ อ งเรี ยนไม่ ส ามารถทํา ได้ และยัง ได้ ฝึ กทัก ษะ กระบวนการคิด การแก้ปัญหา ทักษะการเป็ นผูน้ าํ ทักษะที่ได้จากการปฏิ บตั ิงานจริ ง ฝึ กการแสดง ความคิดเห็น การประสานงาน เรี ยนรู ้กระบวนการทํางานจริ ง และการเรี ยนรู ้ในการทํางานร่ วมกัน กับผูอ้ ื่น การนอกจากนี้ ยงั ทําให้ผฝู ้ ึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการได้ปลูกจิตสํานึ กในการเสี ยสละ การทํา ประโยชน์ให้กบั สังคม ทดแทนบุญคุ ณของแผ่นดิ น สํานึ กรั กในแผ่นดิ น และการเรี ยนรู ้ หลักการ พึ่งพาตนเอง ตามแนวคิ ดเศรษฐกิ จพอเพียง โดยสามารถนําความรู ้ และประสบการณ์ จากการฝึ ก ปฏิ บตั ิ บริ หารโครงการมาประยุกต์ให้เกิ ดประโยชน์แก่ ผูฝ้ ึ กปฏิ บตั ิ บ ริ หารโครงการ สั งคม และ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประเทศ


(3)

คานิยม

ภาพที่ 1 ดร.วิวฒั น์ ศัลยกําธร ประธานมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ โครงการฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการของสาขาการบัญชีบริ หารเป็ นกิจกรรมที่ดี อย่างน้อยสิ่ ง ที่ได้ คือ การปลูกฝังทั้งทฤษฎี ทั้งความชํานาญ ทั้งทักษะ ทั้งปฏิ บตั ิการ ในขณะเดียวกันก็เป็ นการ ปลูกฝังความเสี ยสละไปพร้อมกัน อย่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงตรัสไว้วา่ “our loss is our gain” การเสี ยสละเป็ นสิ่ งที่ดี ยิ่งให้ก็ยิ่งได้ ทุกคนก็ได้ประโยชน์ท้ งั ครู อาจารย์ นักเรี ยนที่อยูท่ ี่ มู ล นิ ธิ นัก ศึ ก ษา ชาวบ้า น อาสาสมัค รที่ เข้า มาเรี ย นรู ้ ก็ จะเห็ นจากการปฏิ บ ัติ ข องโครงการทั้ง นักศึกษา อาจารย์ ซึ่ งเป็ นตัวอย่างของการเสี ยสละ นัน่ แหล่ะยิง่ กว่าการสอนด้วยปาก เห็นแล้วก็รู้สึก ประทับใจ เป็ นรู ปแบบของการจัดการศึกษาที่ดีมาก ปรัชญาการศึกษาของบ้านเรา ดั้งเดิมมาถือเป็ นระบบที่คลาสสิ กมาก คือเราเอาจัดการศึกษา โดยเอาศาสนามาเป็ นตัวกํากับ ความรู ้ ยิ่งรู ้มาก ถ้าคุณธรรมตํ่าจะเกิ ดโทษ ถ้ารู ้ นอ้ ยคุ ณธรรมตํ่าเกิ ด โทษน้อย ยิง่ รู ้มากความคุณธรรมก็ยงิ่ มากเท่าเทียมกัน เหมือนวัวเทียมเกวียน มันเดินเร็ วมันจะเป๋ ไป เรื่ อย อีกตัวเดิ นเร็ วก็จะเป๋ ไป ก็เหมือนคู่หน้าคู่กนั ไป พระเจ้าแผ่นดิ นองค์น้ ี จึงบอกว่า “ความรู ้ กบั คุณธรรมมันเป็ นเรื่ องคู่กนั มันเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งไปด้วยกัน และมันจะนํามาซึ่ งความพอเหมาะพอดี ” ทุกอย่างมันจะพอดี ๆ รวยก็ไม่ได้รวยเกินไป พอดีๆ มีความสุ ขมันก็ไม่ได้มีความสุ ขจัดเกิ น อะไร มันพอดี มันพอเหมาะพอเจาะ พอเหมาะพอดีเหลือเกิน มันจะเกิดได้ตอ้ งรู ้คุณธรรม แต่ถา้ เก่งมากมี ความรู้จบ ดร.10 สาขา ทํา อะไรก็เชี่ ยวชาญหมดแต่เอาเปรี ยบคน ไม่ซื่อสัตย์สุจริ ต ให้เก่งยังไงก็ไร้ ค่าเกิดโทษด้วยซํ้าไป เพราะฉะนั้นทํายังไงถึงจะมีพอเหมาะ คุณธรรมอะไร ความเพียร เก่งมากแต่ข้ ี เกียจ เจอปั ญหาอุปสรรคขวาง ท้อ มันก็ไม่สําเร็ จ ความสําเร็ จ ความพอดีมนั จะเกิดได้เพราะ ความ เพียร เพราะฉะนั้นคู่น้ ีจะอยูต่ อ้ งจัดการศึกษาให้มีธรรม ต้องทําให้คนเป็ นคนดีมีวินยั มาก่อน ต้องทํา ให้พึงตนเองได้ตามวัย สร้างความพอเพียงเป็ นขั้นเป็ นตอน และต้องเชี่ยวชาญสักอย่าง และที่สําคัญ


(4) คื อต้องมี ความกตัญํู เพราะฉะนั้นการจัดการการศึ กษาต้องมี อย่างน้อย 4 อย่างนี้ คื อ คุ ณธรรม ความเพียร ความเชี่ยวชาญ และความกตัญํู ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ที่พยายามบอก พยายาม ทําให้ การศึกษาคือการพัฒนามนุ ษย์ ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงคือปรัชญาการศึกษา ปรัชญาพัฒนา มนุษย์ที่สาํ เร็ จสู งสุ ดในโลก

ภาพที่ 2 คุณศลิษา ศัลยกําธร ผูอ้ าํ นวยการศูนย์มาบเอื้อง โครงการการฝึ กปฏิ บ ัติ บ ริ ห ารโครงการของสาขาการบัญ ชี บ ริ ห ารเป็ นกิ จ กรรมที่ มี ประโยชน์มาก ในการปฏิบตั ิงานจริ งก็เหมือนกับการทดลอง เป็ นการทําสิ่ งที่เรี ยนรู ้มาตลอด ไม่วา่ จะเป็ นทักษะเบื้องต้น การคํานวณ การออกแบบ ต้นทุน โดยการประยุกต์ใช้ความรู้จากวิชาชีพมาใช้ ในการปฏิ บ ัติ ง านจริ ง ยิ่ ง กว่ า สิ่ ง ที่ อ ยู่ใ นตํา รา รู ้ จ ัก คํา ว่า อดทน การแก้ปั ญ หา จนงานประสบ ความสําเร็ จ การสร้างตําราหนึ่ งเล่มไว้บนพื้นแผ่นดิน บางคนเขียนตําราบนหนังสื อ แต่วา่ เราเขียนตํารา บนพื้นดิน เราไม่ได้ใช้ปากกาเขียน แต่เราใช้จอบ เสี ยม ใช้มือทั้งสองในการช่วยกันสร้างพื้นที่ตรงนี้ ก็เห็นถึงความสําคัญ และคุณค่าในการทํางานครั้งนี้ วันสุ ดท้ายที่เราประสบความสําเร็ จเราก็ได้คุย กันว่า คําพูดคํานึงในเวลาที่เราทํางานแล้วท้อแท้ก็ให้เรากลับมาทบทวนเป็ นในเรื่ องของคําสอนของ ในหลวงว่า “ความขาดแคลนไม่เป็ นปั ญหา ถ้ามีปัญญา และความอดทน” การทํางานในครั้งนี้ ก็ได้ เห็ นถึ งการที่ เราทําตามที่ ในหลวงสอน แล้วมันระเบิ ดออกมาจากข้างใน มันออกมาจากสิ่ งที่ เรา อยากจะทํากันจริ งๆ


(5)

ภาพที่ 3 พี่มิตร อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง โครงการฝึ กปฏิ บ ัติบ ริ หารโครงการของสาขาการบัญชี บ ริ หารถื อ ว่า เป็ นโครงการที่ ดี เพราะเป็ นการทําประโยชน์ อย่างเช่ นถ้าเป็ นห้องสมุด น้องๆ ก็จะได้มีหนังสื ออ่านเพิ่มมากขึ้น ถ้า เป็ นภาคแปลงเกษตร ก็ดีที่มาปลูกไว้ ถ้าจะให้ดีมากกว่านี้ ก็ตอ้ งมาดูแลหลังจากนี้ ถ้ามีเวลาว่างก็มา ดูผลงานของตัวเอง และมาดูเมล็ดพันธุ์ หรื อพันธุ์ไม้ที่เราปลูกไป มันเจริ ญเติบโตมันได้ผลผลิตไหม หรื อ พวกเราก็จะได้ภูมิใจกับทุนที่เราไปขอรับบริ จาค ที่เอามาเข้าโครงการ เอามารวมเอามาร่ วมแรง ร่ วมใจมาช่วยทําให้เกิดผล มันมีผลผลิตงามเราก็จะได้ดีใจ แล้วก็จะได้มีกาํ ลังใจรู ้สึกขอบคุณก็อยาก ให้พวกเราทําอย่างนี้ทาํ ต่อไป


(6)

ภาพที่ 4 นายสิ ทธิกุล เดชพรเทวัญ ประธานโครงการ โครงการนี้เราก็จะมาร่ วมพัฒนาพื้นที่แหล่งการเรี ยนรู ้โดยหลักๆเราก็จะมีการสร้างบ่อปลา มีการปลูกพื้นตามที่เราได้วางแผนไว้ มีการสร้ างเป็ นเล้าไก่ แล้วก็มีการพัฒนาห้องสมุดนะครับ แล้วก็มีการซ่อมโรงครัวด้วย แล้วก็มีหน่วยรับบริ จาคพวกหนังสื อ หรื อว่าของใช้ที่ เกี่ยวกับโรงครัว แล้วก็รับบริ จาคหนังสื อมาอยูใ่ นห้องสมุดเพื่อที่นอ้ งๆ โรงเรี ยนปูทะเลย์จะได้มาศึกษาหาความรู ้ ก็ก่ อนเริ่ มโครงการนะครั บ เราก็ จะมี ก ารหาทุ นก่ อน การหาทุ นก็ จะมี ค วามยากลํา บาก เพราะจํานวนเงินมันเยอะ และการประมาณโครงการนั้นงบมันสู งมาก จึงเกิดปั ญหาการหาทุน แต่วา่ ผ่า นมาด้วยดี เ พราะทุ ก คนก็ ร่ วมมื อ กัน ตั้ง กล่ อ งรั บ บริ จาค จัด หาทุ น จากบริ ษ ัท บ้า ง พอมาเริ่ ม โครงการ ทุ ก คนก็ ร่ว มแรงร่ วมใจกันดี ก็ ม าช่ ว ยงานกันทุ ก คนก็ เ หน็ ด เหนื่ อ ยกัน มาก แต่ ง าน โดยรวมก็ออกมาดีก็เป็ นไปตามที่คาดหวังไว้


(7)

ภาพที่ 5 นายปรี ชา ประสิ ทธิ์ ไพรศาล หัวหน้าทีมระบบนํ้า โครงการที่ได้จดั ทําขึ้นเป็ นโครงการที่ดีและสามารถนําความรู ้ที่ได้รับเรี ยนมาในห้องเรี ยน มาประยุกต์ใช้และยังได้ความรู ้ ใหม่ๆที่หาไม่ได้จากในห้องเรี ยนอีกด้วย รวมถึ งยังสอนให้รับรู้ถึง การบริ หารจัดการด้านต่างๆ ทั้งเวลา คน และการทํางาน ตลอดจนยังเรี ยนรู ้การวางแผนให้เป็ นขั้น เป็ นตอนแต่โครงการนี้ ก็มีอุปสรรค์อยูไ่ ม่น้อยทั้งด้านการเดินทาง ด้านเวลาที่มีจาํ กัด ตลอดจนการ จัดหาอุปกรณ์ที่ไม่เพียงพอ แต่อย่างไรก็ตามก็รู้สึกดีที่มีโครงการแบบนี้ ข้ ึนทําให้รู้สึกว่าเพื่อนๆและ รวมถึงตัวเองมีความสามัคคีในการทํางาน จนทําให้งานประสบความสําเร็ จ

ภาพที่ 6 นางสาวชัญญานุช อุปมาสิ นธุ หัวหน้าทีมสื่ อการเรี ยนรู้ โครงการนี้ เป็ นโครงการที่ ดีที่เน้นให้เกิ ดการปฏิ บ ตั ิ จริ ง ทํา ให้เกิ ดทักษะความสามารถ ใหม่ๆ การทํางานทุกอย่างย่อมมีอุปสรรค แต่ทุกอย่างจะผ่านไปได้ ถ้าสามัคคี


(8)

ภาพที่ 7 นายฐิติพงศ์ สุ ทธิ โสม หัวหน้าทีมวางแผนกําลังคน สํ า หรั บ งานกํา ลัง คนก็ คื อ แบ่ ง คนงานเข้า ทํา งานในจุ ด ต่ า งๆ เช่ น แบ่ ง ไปโรงครั ว ห้องสมุด สื่ อการเรี ยนรู ้ พื้นที่อาหาร แล้วก็กระชังปลา ระบบนํ้าคับผม การแบ่งคนก็คือดูว่าใคร ถนัดด้านไหนก็จดั ไว้ดา้ นนั้นเพื่อให้งานดําเนิ นได้อย่างราบรื่ นปั ญหาส่ วนใหญ่ก็คือสภาพอากาศ ทางธรรมชาตินะคับแล้วก็อุบตั ิเหตุที่เกิดจากงานสภาพอากาศทางธรรมชาติเราก็คิดกันแล้วว่าฝนจะ ตก แต่วา่ ฝนตกหนักทําให้พ้ืนที่การทํางานได้ยากลําบาก เช่ น พื้นดิ นในการปลูกพืช มันก็จะแฉะ ทําให้ไม่สามารถปลูกพืชได้ และมันก็จะทําให้เกิดอุบตั ิเหตุ เช่น เพื่อนอาจจะโดนจอบบาดเท้า โดน หนาม โดนหญ้าที่พ้นื ตําทําให้เกิดบาดแผลได้ แต่ทางเราก็ได้เตรี ยมพร้อมไว้แล้ว


(9)

ภาพที่ 8 นางสาวทิพวัลย์ จรู ญพันธ์พนู ทวี ทีมงานโปรตีนพืช จากโครงการสร้ า งแหล่ ง พื้ น ที่ ก ารเรี ย นรู ้ ใ ห้ ก ับ น้อ งๆ บ้า นปู ท ะเลย์ ที่ ศู น ย์ก สิ ก รรม ธรรมชาติ ม าบเอื้ องถื อว่า มี ส่ วนสํา คัญมากฝึ กการวางแผน ตั้ง แต่ วิสั ย ทัศ น์ พันธกิ จ และบรรลุ วัตถุ ประสงค์ที่ต้ งั ไว้ เสริ มสร้ างการเป็ นผูน้ าํ ฝึ กการทํางานร่ วมกันเป็ นหมู่คณะ โครงการถือเป็ น ส่ วนหนึ่งในการเสริ มสร้างฝึ กทักษะ การวางแผน ทําตามแผน ตรวจสอบและแก้ไข ฝึ กการทํางาน ที่นอกเหนื อจากเรี ยนรู ้ ในห้องเรี ยน และถื อเป็ นโครงการที่ประโยชน์ต่อน้องๆและศูนย์กสิ กรรม ธรรมชาติมาบเอื้อง ส่ วนงานที่ ไ ด้ดาํ เนิ นการคื อสร้ า งพื้ นที่ อาหารให้ก ับน้องๆ และศู นย์กสิ กรรมธรรมชาติ เพื่อให้มีบริ โภคได้ตลอดปี โดยทํา 3 ส่ วนงานด้วยกัน คื อ ทางเข้าและรอบหอประชุ มแปลงแก้ว มังกรหลังบ้านดิน และแปลงแก้วมังกรหน้าหอประชุม ซึ่ งงานแต่ละงานที่สําเร็ จได้ก็มาจากการร่ วม แรงร่ วมใจกัน สามัค คี กนั ในหมู่ ค ณะ ทํา ให้ไ ด้เรี ย นรู ้ ป ระสบการณ์ ก ารทํา งานจริ ง และฝึ กการ แก้ปัญหาจริ งเมื่องานมีจุดบกพร่ อง ได้เรี ยนรู ้ประโยชน์จากการทํางานอีกด้วยค่ะ


(10)

ภาพที่ 9 นางสาวศิวพร สายพานทอง หัวหน้าทีมห้องสมุด การทํางานและฝึ กทักษะการช่ างงานเครื่ องมื อเครื่ องใช้ทางด้านงานช่ าง การบูรณาการ ความรู ้ เรื่ องเศรษฐกิ จพอเพียง การบริ หารจัดการต้นทุนทําให้กลุ่มของข้าพเจ้ามีความรู ้ มากขึ้นซึ่ ง ทักษะข้างต้นที่กล่าวถึ งนั้นไม่สามารถหาได้จากในห้องเรี ยน สี่ เหลี่ ยมที่ให้เพียงแค่ทฤษฎี เท่านั้น การได้มาทํางานจัดการปั ญหาเฉพาะหน้าช่วยสร้างเสริ มประสบการณ์ให้ สามารถนําทักษะไปใช้ได้ ในการดําเนินตามหลักทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดําเนินชีวติ ที่มนั่ คง และยัง่ ยืน ศูนย์การเรี ยนรู ้กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง จ.ชลบุรี ได้ให้ความรู ้ เพิ่มความเข้าใจในเรื่ อง การดําเนิ นชี วิตตามหลักทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง บันได 9 ขั้น ทําให้สามารถเข้าใจ และเข้าถึงการ ใช้หลักการได้อย่างแท้จริ ง เพื่อต่อต้านกับวิกฤตการณ์ และปั ญหาต่างๆ ที่มีในปั จจุบนั ให้สามารถ เผชิญหน้ากับอุปสรรคได้อย่างมัน่ คง และดําเนินชีวติ ได้อย่างสงบสุ ข


(11)

ภาพที่ 10 นายกริ นทร์ อาสาฬห์ประกิต ทีมงานไบโอแก๊ส ไบโอแก๊ส คื อเป็ นการผลิ ตเชื้ อเพลิ ง ที่ เป็ นรู ปแบบแก๊สออกมาเองโดยการผลิ ตจากถังที่ เหมือนกับถังปกติปริ มาณ 200 ลิตรขึ้นมาเพื่อใช้ในครัวเรื อน ปกติแก๊สหุ งต้มต้องซื้ อเองอย่างเดียว แต่ถา้ เราผลิ ตไบโอแก๊สขึ้นมานั้นจะเป็ นการผลิ ตเพื่อที่จะใช้เองแล้วก็เป็ นการหมักจากเศษอาหาร หรื อว่ามูลสัตว์ที่ได้จากก๊าซธรรมชาติทวั่ ไป ในการทําไบโอแก๊สคือปั ญหาอย่างแรกคือมันมีตน้ ทุน ในการที่จะต้องซื้ อถังมาผลิตเองแล้วก็บางรายคิดว่าการซื้ อถังมามันไม่คุม้ ทุน เพราะปริ มาณที่ได้จะ ใช้ได้น้อย ถ้าเกิ ดว่าจะผลิ ตทั้งทีอาจจะต้องผลิ ตในปริ มาณขนาดใหญ่ถึงจะคุ ม้ มากกว่าผลิ ตขนาด เล็ ก ๆที่ เราได้ท าํ การสาธิ ตไป คื อการทํา สาธิ ต ไปเป็ นแค่ ตวั แบบเพื่ อให้ช าวบ้า นมาศึ ก ษาต่ อว่า รู ปแบบการทําไบโอแก๊สเป็ นยังไง


(12)

ภาพที่ 11 นางสาวยุวดี ฤทธิรงค์ หัวหน้าทีมสารสนเทศโครงการ โครงการเป็ นโครงการที่ ดี ที่ สามารถนําเอาความรู้ ได้จากการศึ กษาทฤษฎี มาใช้ในงาน ปฏิบตั ิในพื้นที่จริ ง ซึ่ งทําให้เราได้เรี ยนรู ้มากมายทั้งในด้านการบริ หารโครงการ การปลูกจิตสํานึกที่ ดีต่อการทําประโยชน์เพื่อสังคม การเสี ยสละ ฝึ กการเป็ นผูน้ าํ ฝึ กกระบวนการคิด ฝึ กการแก้ไข ปั ญ หาได้เ รี ย นรู ้ ถึ ง กระบวนการทํา งานเป็ นที ม และสิ่ ง ที่ สํา คัญ คื อ ฝึ กความอดทน อดทนต่ อ อุปสรรคทุกอย่างที่จะเข้ามาเพื่อที่จะให้โครงการสามารถบรรลุตามเป้ าหมาย ถึ งแม้ส่วนงานสารสนเทศโครงการจะเป็ นส่ วนงานบริ หารไม่ใช่ ส่วนงานปฏิ บตั ิ แต่วนั ปฏิ บ ัติที ม งานทุ ก คนก็ ล งพื้ นที่ ช่ วยเหลื อส่ วนของที ม งานปฏิ บ ตั ิ แต่ ข องเราก็ ไ ด้จ ัดทํา เกี่ ย วกับ กระบวนการวางแผน การจัดเตรี ยมเอกสาร รวบรวมเอกสารในแต่ละส่ วนงาน รวมถึงการจัดทํา เอกสารสรุ ป โครงการต่ า งๆ เพื่ อ เป็ นการประชาสั ม พัน ธ์ สํ า หรั บ ผูท้ ี่ ส นใจที่ จ ะศึ ก ษา และผูท้ ี่ เกี่ ยวข้อง ถึ งแม้จะประสบปั ญหาต่ างๆ แต่ สิ่งที่ สําคัญคื อเราได้ฝึกตัวเราเองไม่ให้ยอมแพ้ต่ออุ ป สรรค์ง่ายๆ


(13)

ภาพที่ 12 นางสาวจิรารัตน์ ไม้ไหว หัวหน้าทีมประชาสัมพันธ์ โครงการนี้ ทาํ ให้ได้ศึกษาการดําเนิ นชีวิตแบบพึ่งตนเอง การทําเกษตรกรรมแบบพอเพียง ที่ทุกคนสามารถทําได้จริ ง มีหลักการนําวิชาต้นทุนมาใช้ในการดําเนิ นงานโดยมีการวางแผนและ งบประมาณต้นทุ น ซึ่ งช่ วยในการลดต้นทุ นต่ างๆ ส่ วนความรู ้ สึก ต่อศู นย์ก สิ กรรมมาบเอื้ องนั้น มีความประทับใจที่ ช่วยฝึ กอบรม ถ่ ายทอด และเผยแพร่ ความรู ้ ที่เกี่ ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพและ ส่ งเสริ มให้ทุกคนมีการใช้ชีวิตแบบพอเพียง พึ่งตนเอง มีน้ าํ ใจเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่แก่เพื่อนมนุ ษย์ดว้ ยกัน เน้นการอนุรักษ์ธรรมชาติและใส่ ใจต่อสิ่ งแวดล้อม


(14)

คานา รายงานฉบับนี้จดั ทําขึ้นเพื่อรายงานผลการฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการและประกอบการเรี ยน วิชา 03760331หลัก การบัญชี ต้นทุน 2 โดยมี วิสัยทัศน์เพื่อร่ วมสร้ างพื้นที่ การเรี ยนรู ้ เศรษฐกิ จ พอเพียง โดยเฉพาะอย่างยิง่ โรงเรี ยนวิถีพุทธ เพื่อการพึ่งพาตนเอง ในพื้นที่มูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง ซึ่ งมีพนั ธกิ จเพื่อสร้ างพื้นที่การเรี ยนรู ้ ให้ท้ งั นักเรี ยนโรงเรี ยนวิถีพุทธและเกษตรกรที่เข้า ฝึ กอบรมหรื อดู งานในพื้นที่ มูล นิ ธิกสิ ก รรมธรรมชาติ มาบเอื้ อง และร่ วมสร้ างสิ่ ง ฐานทรั พยากร ให้กบั โรงเรี ยน เพื่อให้สามารถเป็ นโรงเรี ยนพึ่งตนเองได้ ทั้งด้านสื่ อการเรี ยน ห้องสมุด โรงครัว พื้นที่อาหาร โดยฐานทรัพยากรต่างๆ ที่โครงการมอบให้ จะต้องมีคุณสมบัติเป็ นทั้งทรัพยากรและ จะต้องสามารสร้างการเรี ยนรู้ให้ได้นกั เรี ยนและกลุ่มเกษตรที่เข้าฝึ กอบรมได้พ้ืนที่อาหารจะต้องถูก ออกแบบให้โรงเรี ยนสามารถพึ่งตนเองได้ตลอดทั้งปี มีการจัดซื้ ออาหารให้กบั นักเรี ยนน้อยที่สุด และมี ว ตั ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เพื่ อ ให้ ผู ้เ รี ย นได้มี ค วามรู ้ ค วามสามารถทั้ง ทางทฤษฏี แ ละปฏิ บ ัติ จ ริ ง ตลอดจนปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มแห่ ง คุ ณ ธรรม อี ก ทั้ง ยัง เป็ นการจัด กระบวนการเรี ย นรู ้ ใ ห้เ ป็ นไปตาม กระบวนทัศน์พระราชทานแห่ งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว ที่วา่ " เรี ยนความรู ้ ทําการงาน เสริ มสร้างความสามารถ และทําความดี" บัดนี้การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการดังกล่าวได้ดาํ เนิ นการเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ทางสาขาวิชา การบัญชี บริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา จึงได้จดั ทํา รายงานสรุ ปผลการฝึ กปฏิบตั ิการบริ หารโครงการและขอขอบคุณทางมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบ เอื้ อ ง ที่ ไ ด้เ ปิ ดพื้ น ที่ สํ า หรั บ การฝึ กปฏิ บ ัติ เ รี ย นรู้ แ ละฝึ กอบรม ขอขอบคุ ณ ผู้บ ริ จ าค ผูใ้ ห้ก าร สนับสนุ นและผูป้ กครองนิ สิตที่มีส่วนช่ วยสนับสนุ นการดําเนิ นงานโครงการของนิ สิต ที่ให้การ สนับ สนุ นและช่ วยเหลื อ และที่ สํ า คัญขอบขอบคุ ณผูช้ ่ ว ยศาสตราจารย์พ ชั นิ จ เนาวพัน ธ์ ที่ ใ ห้ คําปรึ กษา กรุ ณาตรวจ ให้คาํ แนะนําเพื่อแก้ไข ให้ขอ้ เสนอแนะตลอดการดําเนิ นงานการฝึ กบริ หาร โครงการจนกระทัง่ สามารถทําการฝึ กปฏิบตั ิการบริ หารโครงการจนสําเร็ จ คณะผูจ้ ดั ทํา 21 ตุลาคม 2556


(15)

สารบัญ บทสรุ ปผลการฝึ กปฏิบตั ิการบริ หารโครงการ คํานิยม คํานํา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขั้นตอนการฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ บทที่ 2 การบริ หารโครงการตามแนวทางการบัญชีบริ หารตามกระบวนการจัดการกลยุทธ์ การบริ หารโครงการ การบริ หารงานโดยระบบทีมงาน การบริ หารงานด้วยวงจรเดมมิ่ง กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ การใช้ขอ้ มูลทางการบัญชีเพื่อการบริ หารกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ บทที่ 3 การฝึ กปฏิบตั ิการบริ หารโครงการ การศึกษาขั้นต้นเพื่อการวางแผน มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง การวางแผนก่อนเข้าศึกษาพื้นที่จริ ง การศึกษาพื้นที่จริ งขั้นต้น ผลการศึกษาพื้นที่จริ ง การวิเคราะห์ผลการศึกษาพื้นที่จริ ง การวางแผนโครงการ การกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ

หน้า (1) (3) (14) (15) (25) (28) 1 3 3 5 6 7 10 13 14 16 16 17 19 25 25 33 36 36 36


(16)

สารบัญ(ต่ อ) หน้า วัตถุประสงค์โครงการ การกําหนดโครงสร้างการบริ หารและทีมงาน แผนผังการดําเนินงานในภาครวม กําหนดเวลาแผนดําเนินงาน แผนงบประมาณ ดัชนีประเมินผลโครงการ การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ-ทีมจัดสรรกําลังคนและกิจกรรมอาสา ข้อมูลเกี่ยวกับทีมงาน สมาชิกทีมงาน และหน้าที่ พันธกิจหลักของทีมงาน ดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ข้อมูลทางวิชาการ การจัดสรรกําลังคน แผนการดําเนินงาน แผนงบประมาณ กําหนดเวลาแผนดําเนินงานและการดําเนินงาน ภาพการดําเนินงาน สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการ การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ-ทีมประสัมพันธ์ ข้อมูลเกี่ยวกับทีมงาน สมาชิกและหน้าที่งาน คําอธิบายลักษณะงานตามหน้าที่ วิสัยทัศน์ของทีม พันธกิจของทีม ดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

37 37 38 38 39 39 40 40 40 40 40 41 41 41 42 42 44 45 46 46 46 47 47 48 48 49 49


(17)

สารบัญ(ต่ อ) หน้า การวางแผนก่อนเข้าศึกษาพื้นที่จริ ง ผลการศึกษาพื้นที่จริ ง การวิเคราะห์ผลการศึกษาพื้นที่จริ ง วัตถุประสงค์ของทีม แผนการดําเนินงาน แผนงบประมาณ กําหนดเวลาแผนดําเนินงาน กําหนดระยะเวลากิจกรรมการดําเนินงาน กิจกรรมดําเนินงาน ผลการดําเนินงานโครงการ ผลการดําเนินงานด้านการจัดกิจกรรมอาสาสมัคร ผลประเมินผลการเรี ยนรู้ สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการ การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ-ทีมพื้นที่อาหารประเภทพืช ข้อมูลเกี่ยวกับทีมงาน สมาชิกและหน้าที่ทีมงาน พันธกิจหลักของทีมงาน ดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ข้อมูลทางวิชาการ เกษตรอินทรี ยแ์ ละสวนสมรม แนวคิดการทําการเกษตรแบบสวนสมรม ความสําคัญของการศึกษาด้านอาหาร การวางแผนการปลูกพืชสําหรับพื้นที่มาบเอื้อง แผนผังพื้นที่เพาะปลูก แผนผังการดําเนินงานในภาครวม แผนการดําเนินงาน

50 50 51 51 51 52 52 53 54 57 57 57 57 58 58 58 59 59 60 60 60 62 63 63 64 65 65


(18)

สารบัญ(ต่ อ) หน้า แผนงบประมาณ การดําเนินงาน แผนงบประมาณเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายจริ ง สรุ ปผลการดําเนินงาน รายงานการประชุมทีม การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ-ทีมระบบนํ้า ข้อมูลเกี่ยวกับทีมงาน สมาชิกทีมงาน และหน้าที่งาน คําอธิบายลักษณะงานตามหน้าที่ พันธกิจหลัก ดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ข้อมูลทางวิชาการ การออกแบบระบบให้น้ าํ ปริ มาณนํ้าที่ตอ้ งให้แก่พืช การเลือกรู ปแบบของหัวจ่ายนํ้า หลักในการเลือกสปริ งเกอร์ ( Sprinkler) ที่ดี ควรพิจารณาจาก การเลือกอัตราการจ่ายนํ้าที่เหมาะสม การออกแบบท่อ การเลือกตัวกรองนํ้าในระบบเกษตร การตรวจสอบการใช้งานและการบํารุ งรักษาระบบให้น้ าํ วิธีการดําเนิ นงานก่อสร้างระบบท่อนํ้าแต่ละชนิด ระบบนํ้าหยดเป็ นเทคโนโลยีใหม่สาํ หรับเกษตรไทยจึงมีขอ้ จํากัด อุปกรณ์จ่ายปุ๋ ยในระบบนํ้าหยด หลักการทํางานของอุปกรณ์จ่ายปุ๋ ย วิธีการก่อสร้างระบบท่อนํ้าแบบสปริ งเกอร์ กําหนดแผนงานดําเนินงานในภาครวม

67 70 77 82 83 84 84 85 86 87 88 89 90 90 90 91 92 92 93 94 95 96 98 98 99 100 101


(19)

สารบัญ(ต่ อ) หน้า การวางแผนกําลังคนในการดําเนินงาน แผนงบประมาณ กําหนดระยะเวลาการดําเนิ นงาน การดําเนินงาน แผนงบประมาณเปรี ยบเทียบกับค่าใช้จ่ายจริ ง สรุ ปผลการดําเนินงาน การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ-ทีมโปรตีนปลา ข้อมูลที่เกี่ยวกับทีมงาน สมาชิกทีมงานและหน้าที่ พันธกิจหลักของทีมงาน ดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ข้อมูลทางวิชาการ ความมัน่ คงทางด้านอาหารและการพัฒนาชาติ การเพาะเลี้ยงปลา การศึกษาวิธีการเลี้ยงปลา อาหารและการลดต้นทุนค่าอาหาร เทคนิคการทําอาหารปลาเพื่อลดต้นทุน การใช้น้ าํ หมักชีวภาพในกระบวนการเลี้ยง การจัดการระบบนํ้าในการเลี้ยง การจัดการเกี่ยวกับโรค ด้วยเทคนิคทางชีวภาพ การวางแผนการเพาะเลี้ยงปลาสําหรับพื้นที่มาบเอื้อง ผลการศึกษาพื้นที่จริ ง การวิเคราะห์ผลการศึกษาพื้นที่จริ ง แผนการดําเนินการ แผนผังการดําเนินงานในภาพรวม การดําเนินงาน

102 103 104 105 108 109 110 110 110 111 111 111 112 112 113 114 117 117 118 119 120 120 122 122 122 123 124


(20)

สารบัญ(ต่ อ) หน้า แผนงบประมาณ กําหนดระยะเวลาการดําเนิ นงาน แผนงบประมาณเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายจริ ง การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ-ทีมไข่ไก่ชีวภาพ ข้อมูลเกี่ยวกับทีมงาน สมาชิกทีมงาน และหน้าที่งาน พันธกิจหลักของทีมงาน ดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ข้อมูลทางวิชาการ แนวคิดการเลี้ยงไก่ไข่ชีวภาพ สุ ขภาพสัตว์และความเสี่ ยงต่อโรคระบาดในการเลี้ยงไก่ไข่ แบบปล่อย คําแนะนํา การเลี้ยงสัตว์ปีกอินทรี ยต์ ามมาตรฐานปศุสัตว์อินทรี ย ์ เทคนิคการเลี้ยงไก่ไข่แบบปล่อย ภูมิปัญญาไทยการใช้สมุนไพรและเทคนิคชีวภาพในการ ป้ องกันโรคสัตว์ สมุนไพรที่ใช้มากในไก่ คุณค่าทางโภชนะของไข่ไก่ที่เลี้ยงแบบปล่อยแปลง โรงเรื อนเลี้ยงไก่อินทรี ย ์ อุปกรณ์การให้แสง อาหาร สู ตรอาหารทําให้ ไข่แดง ใหญ่ และคลอเลสเตอรอลตํ่า สู ตรอาหารทําให้ไข่ใบใหญ่ การให้หญ้าสด ช่วยให้แม่ไก่ออกไข่สมบูรณ์ ไข่ดกมีคุณภาพ การทํารังไข่ดว้ ยใบตะไคร้ ป้ องกันและกําจัดไรรบกวนแม่ไก่ สู ตรนํ้าหมักบํารุ งเสริ มสร้างภูมิตา้ นทานโรค

127 128 132 139 139 139 139 140 140 141 141 144 144 147 149 150 150 151 151 152 154 154 155 155 156


(21)

สารบัญ (ต่ อ) หน้า สู ตรนํ้าหมักเสริ มความแข็งแรงกระดูก สู ตรนํ้าหมักเสริ มสร้างภูมิตา้ นทานและรักษาโรคหวัด โรคที่ไก่มกั ป่ วยบ่อยและสมุนไพรรักษา แผนการดําเนินงาน แผนผังการดําเนินงานในภาครวม แผนงบประมาณ กําหนดระยะเวลาการดําเนินงาน การดําเนินงาน แผนงบประมาณเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายจริ ง สรุ ปผลการดําเนินงาน รายงานการประชุมทีม การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ-ทีมโรงครัวและไบโอแก๊ส171 ข้อมูลเกี่ยวกับทีมงาน สมาชิกทีมงาน พันธกิจหลัก ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การวิเคราะห์ผลการศึกษาพื้นที่จริ ง ข้อมูลทางวิชาการ ที่มาของแนวคิดเรื่ อง TQM วัตถุประสงค์ทวั่ ไปของ TQM วัตถุประสงค์สาํ คัญของ TQM หลักการของ TQM องค์ประกอบหลักของ TQM แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ TQM เตาแก๊สชีวภาพ วิธีการประกอบถังเก็บก๊าซ กระบวนการการเกิดแก๊สชีวภาพ

157 158 158 158 159 160 160 161 168 169 169 171 171 172 172 172 174 174 175 176 176 178 179 180 182 183


(22)

สารบัญ (ต่ อ) หน้า ประเภทของขยะอินทรี ยท์ ี่นามาใช้หมัก ขั้นตอนการผลิตแก๊สชีวภาพ การดูแลรักษาและข้อควรระวัง แผนการดําเนินงาน กําหนดระยะเวลาการดําเนิ นงาน การดําเนินงาน การกําหนดกําลังคนในการดําเนินงาน สรุ ปผลการดําเนินงาน รายงานการประชุม การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ-ทีมสื่ อการเรี ยนรู้ ข้อมูลเกี่ยวกับทีมงาน สมาชิกภายในกลุ่ม พันธกิจ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การวางแผนก่อนการเข้าศึกษาพื้นที่จริ ง ข้อมูลวิชาการ ลักษณะสื่ อการเรี ยนรู้ การเลือกใช้สื่อการเรี ยนรู้ การพัฒนาสื่ อการเรี ยนรู้ การศึกษาขั้นต้นเพื่อการวางแผน การศึกษาพื้นที่จริ ง การวิเคราะห์ผลการศึกษาพื้นที่จริ ง ผลการดําเนินงานโครงการ ผลประเมินผลการเรี ยนรู้ ภาพการดําเนินงาน สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการ รายงานการประชุมทีม

184 184 185 185 185 187 193 194 195 196 196 196 197 198 198 199 199 200 201 201 201 202 202 212 213 214 215


(23)

สารบัญ(ต่ อ) หน้า การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ-ทีมห้องสมุด ข้อมูลเกี่ยวกับทีมงาน สมาชิกทีมงาน และหน้าที่งาน พันธกิจหลักของทีมงาน ดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ข้อมูลทางวิชาการ ปั ญหาการอ่านของคนไทยในปั จจุบนั 6 ปั ญหาการอ่านของคนไทยในปั จจุบนั การจัดหมวดหมู่หนังสื อ : ระบบทศนิยมดิวอี้ การใช้สีทาผนังภายในห้องสมุด แผนการดําเนินงาน แผนผังการดําเนินงานในภาครวม (2D, 3D) แผนงบประมาณ การดําเนินงาน แผนงบประมาณเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายจริ ง ข้อมูลสื่ อการเรี ยนรู ้ที่นาํ เสนอไว้ในพื้นที่เพื่อผูฝ้ ึ กอบรมที่มูลนิธิมาบเอื้อง สรุ ปผลการดําเนินงาน รายงานการประชุมทีม การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ-ทีมสารสนเทศโครงการ ข้อมูลเกี่ยวกับทีมงาน สมาชิกทีมงาน กระบวนการดําเนินงาน ดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จ ดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สรุ ปผลการดําเนินงาน

216 216 216 217 217 217 218 218 219 222 226 227 228 228 229 235 237 237 238 239 239 240 241 241 242 242 242


(24)

สารบัญ (ต่ อ) หน้า บทที่ 4 ผลการดําเนินงานในภาครวม การดําเนิ นงานในช่วงเตรี ยมการ การจัดกําลังคนในการเข้าดําเนินงานจริ ง กําหนดการเข้าปฏิบตั ิการในพื้นที่จริ ง ผลสัมฤทธิ์ การดําเนินงานในภาพรวม บทที่ 5 การประเมินผลการฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ ผลประเมินการเรี ยนรู้การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ ทัศนคติ ความพึงพอใจ ของกลุ่มบุคคลต่างๆ ที่มีต่อการบริ หารโครงการ ผูบ้ ริ จาค สนับสนุนโครงการ ผูป้ กครองนิสิตที่มีส่วนช่วยสนับสนุนการดําเนินงานโครงการของนิสิต ประธานมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ ผูอ้ าํ นวยการศูนย์มาบเอื้อง อาสาสมัครมูลนิธิ บุคคลทัว่ ไป นักเรี ยนโรงเรี ยนปูทะเลฑ์วชิ ชาลัย สรุ ปผลโครงการในภาพรวม บรรณานุกรม ภาคผนวก

243 244 245 246 253 254 254 254 256 266 269 273 276 277 279 283


(25)

สารบัญตาราง ตารางที่

หน้า

3–1

ตารางการสํารวจพื้นที่และอุปกรณ์ภายในโรงครัว

30

3–2

ตารางกําหนดแผนดําเนินงาน

38

3–3

ตารางแผนงบประมาณ

39

3–4

ตารางงบประมาณค่าใช้จ่ายทีมจัดสรรกําลังคนและกิจกรรมอาสา

42

3–5

ตารางสรุ ปวัสดุ อุปกรณ์ และเงินทุนที่ตอ้ งการในการจัดหาเงินทุน

52

3–6

ตารางแผนงบประมาณการดําเนินการ-พื้นที่อาหาร

68

3–7

ตารางแผนงบประมาณค่าใช้จ่ายจริ งทีมโปรตีนพืช

77

3 –8

ตารางการจัดซื้ อทีมโปรตีนพืช

79

3–9

ตารางเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่าย ทีมงานโปรตีนพืช

81

3 – 10

รายงานการประชุมทีมโปรตีนพืช

83

3 – 11

ตารางการกําหนดดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จของทีมระบบนํ้า

88

3 –12

ตารางงบประมาณค่าใช้จ่ายทีมระบบนํ้า

103

3 - 13

ตารางงบประมาณค่าใช้จ่ายที่จ่ายจริ งทีมระบบนํ้า

108


(26)

สารบัญตาราง (ต่ อ) ตารางที่

หน้า

3 – 14

ตารางแผนงบประมาณทีมโปรตีนปลา

127

3 – 15

ตารางแผนงบประมาณเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายจริ งทีมโปรตีนปลา

132

3 – 16

ตารางแสดงการปฏิบตั ิตามมาตรฐานปศุสัตว์อินทรี ย ์

143

3 – 17

ตารางรู ปแบบการเลี้ยงปล่อย

146

3 – 18

การเปรี ยบเทียบไข่ทวั่ ไปกับไข่ไก่เลี้ยงปล่อย

149

3 – 19

ตารางสู ตรอาหารสําหรับไก่เล็ก

150

3 – 20

ตารางแผนงบประมาณค่าใช้จ่ายทีมงานไข่ไก่ชีวภาพ

160

3 – 21

ตารางแผนงบประมาณเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายจริ ง ทีมงานไข่ไก่ชีวภาพ

168

3 –22

ตารางรายงานการประชุมทีมไข่ไก่ชีวภาพ

169

3 – 23

ตารางการกําหนดดัชนีช้ ีวดั และการกําหนดค่าเป้ าหมาย ของกลุ่มชีวติ ความเป็ นอยูด่ า้ นโภชนาการ ณ โรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ศนู ย์กสิ กรรมมาบเอื้อง

173

ตารางเปรี ยบเทียบแผนงบประมาณ และค่าใช้จ่ายที่จ่ายจริ งทีมไบโอแก๊ส

181

3 – 24


(27)

สารบัญตาราง (ต่ อ) ตารางที่

หน้า

3 – 25

ตารางรายงานการประชุมทีมงานไบโอแก๊ส

195

3 – 26

การกําหนดดัชนีช้ ีวดั และการกําหนดค่าเป้ าหมายของสื่ อการ เรี ยนการสอนที่มีคุณภาพ ณ ศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้อง อําเภอบ้านบึงจังหวัดชลบุรีวนั ที่ 16 เดือน กันยายนปี 2556

197

3 – 27

ตารางระยะเวลาการดําเนินงานของทีมสื่ อการเรี ยนรู้

202

3 – 28

ตารางแผนงบประมาณและการดําเนินงาน ทีมสื่ อการเรี ยนรู้

204

3 – 29

ตารางสรุ ปผลการจัดหาทุนทีมสื่ อการเรี ยนรู้

211

3 – 30

ตารางแผนงบประมาณค่าใช้ในการปรับปรุ งห้องสมุด

228

3 – 31

ตารางสรุ ปงบประมาณค่าใช้จ่ายในการปรับปรุ งห้องสมุด

235

3 – 32

ตารางงบประมาณการจัดหา (การรับบริ จาค) ทีมห้องสมุด

236

3 –33

ตารางรายงานประชุมทีมห้องสมุด

238

3 –34

ตารางรายชื่อสมาชิกในทีมสารสนเทศโครงการ

240

4–1

การจัดกําลังคนในการเข้าดําเนินงานจริ ง

244


(28)

สารบัญภาพ ภาพที่

หน้า

2–1

ภาพต้นทุนโครงการ

7

2–2

ภาพกระบวนการบริ หารเชิงกลยุทธ์

13

3–1

ทางสายกลางตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

17

3–2

ภาพศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

25

3–3

ภาพธนาคารขยะ มูลนิธิกสิ กรรมธรรชาติ

25

3–4

ภาพระบบบําบัดนํ้าเสี ย มูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติ

26

3–5

ภาพเลี้ยงหมูในพื้นที่จากธรรมชาติ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

26

3–6

ภาพการศึกษาวิธีการทําถ่านจากเศษไม้มลู นิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

27

3–7

ภาพการศึกษาพื้นที่ปลูกสําหรับโปรตีนพืช มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

27

3–8

ภาพการศึกษาการทําปุ๋ ยหมักชีวภาพ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

28

3–9

โครงสร้างการบริ หารและทีมงาน

37

3 – 10

แผนผังการดําเนินงานในภาพรวม

38

3 – 11

ภาพการดําเนินงานของทีมจัดสรรกําลังคนและจิตอาสา

45


(29)

สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่

หน้า

3 – 12

ภาพการดําเนินงานของทีมจัดสรรกําลังคนและจิตอาสา

45

3 – 13

ภาพการดําเนินงานของทีมจัดสรรกําลังคนและจิตอาสา

46

3 – 14

ภาพการจัดหากองทุนโดยการขายเสื้ อรักโลกในงานเกษตรแฟร์

54

3 – 15

ภาพป้ ายโครงการศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

55

3 – 16

ภาพถ่ายวิดีโอในขั้นตอนการทาดาเนินงานของแต่ละกลุ่ม สัมภาษณ์ประสบการที่ได้รับตามแผนกต่างๆ

55

3 – 17

ภาพการจัดหาทุนทีมประชาสัมพันธ์

56

3 – 18

ภาพการดําเนินงานจัดหาทุน ทีมประชาสัมพันธ์ วันที่ 14-16 ตุลาคม 2556

56

3 – 19

ภาพพื้นที่เพาะปลูก

64

3 – 20

ภาพผังการดําเนินงานกลุ่มโปรตีนพืช

65

3 – 21

ภาพพื้นที่ก่อนลงมือปฏิบตั ิจริ งทีมพื้นที่อาหารประเภทพืช

72

3 – 22

ภาพวันลงมือปฎิบตั ิจริ ง

73


(30)

สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่ 3 – 23

3 – 24

หน้า ภาพการขนย้ายต้นกล้า ขุดหลุมเพาะปลูกตามพื้นที่ บริ เวณทางเข้า และแปลงแก้วมังกรหน้าหอประชุม

74

ภาพการทําค้างไม้ไผ่ และปลูกพืชในแปลงรู ปหัวใจ ขุดร่ องนํ้าเพื่อระบายนํ้าออกแปลง ป้ องกันนํ้าที่มากเกินไป

75

3 – 25

ภาพไวนิลข้อมูลของสวนสมรม

76

3 – 26

ภาพหน้าที่งานทีมระบบนํ้า

86

3 – 27

ภาพวิธีการต่อระบบนํ้า

100

3 – 28

ภาพการปฏิบตั ิงานทีมระบบนํ้า วันที่ 13 กันยายน 2556 ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

105

ภาพการปฏิบตั ิงานทีมระบบนํ้า วันที่ 14 กันยายน 2556 ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

106

ภาพการปฏิบตั ิงานทีมระบบนํ้า วันที่ 15 กันยายน 2556 ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

107

3 – 31

ภาพการประชุมทีมระบบนํ้า

109

3 – 32

ภาพปลานิล

114

3 – 29

3 – 30


(31)

สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่

หน้า

3 – 33

ภาพปลาตะเพียนขาว

115

3 – 34

ภาพปลาดุกอุย

116

3 – 35

ภาพพื้นที่ขดุ บ่อ ทีมโปรตีนปลา ณ มูลนิธิกสิ กรรมชาติมาบเอื้อง

120

3 – 36

ภาพพื้นที่ลงกระชัง ทีมโปรตีนปลา ณ มูลนิธิกสิ กรรมชาติมาบเอื้อง

121

3 – 37

ภาพพื้นที่บ่ออนุบาล ทีมโปรตีนปลา ณ มูลนิธิกสิ กรรมชาติมาบเอื้อง

121

3 – 38

ภาพการเข้าพื้นที่จริ งเตรี ยมงานในบริ เวณแปลงแก้วมังกรสําหรับขุดบ่อ

124

3 – 39

ภาพการวัดขนาดบ่อและลงมือขุดบ่อตามขนาดที่กาํ หนดไว้

124

3 – 40

ภาพขุดบ่อปลาดุก

125

3 – 41

ภาพการตัดต้นไผ่สาํ หรับสร้างโครงกระชังและสําหรับปักกระชัง

125

3 – 42

ภาพการปูพลาสติกรองบ่อปลาดุก

126

3 – 43

ภาพการต่อกระชังปลาลงปั กตัวกระชังในบ่อและปล่อยปลา

126

3 – 44

ภาพไวนิลการเพาะเลี้ยงปลาและพืชแบบ Aquaponics

130

3 – 45

ภาพไวนิลการเลี้ยงปลาในกระชัง

131


(32)

สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่

หน้า

3 – 46

ภาพการดําเนินงานในภาครวมทีมงานไข่ไก่ชีวภาพ

159

3 – 47

ภาพพื้นที่จดั สร้างโรงเรื อนไก่ไข่อินทรี ยห์ ลังปรับปรุ ง

162

3 – 48

ภาพขึ้นโครงสร้างตัวโรงเรื อนด้วยไม้ไผ่

162

3 – 49

ภาพทําหลังคาโรงเรื อนด้วยการผูกตับหญ้าคาโดยเรี ยงทับขึ้นไปเป็ นชั้นๆ

163

3 – 50

ภาพนําไม้ไผ่มาตัดเพื่อทํารั้วล้อมรอบโรงเรื อนกันสัตว์ดุร้ายซึ่ งเป็ นศัตรู ของไก่

163

3 – 51

ภาพการนําไม้ไผ่มาตอกตะปูกบั คานล้อมโรงเรื อนเพื่อติดผนังไผ่สาน

164

3 – 52

ภาพทําการผูกอวนโดยยึดอวนกับไม้ไผ่ที่ทาํ เป็ นหลักไว้ในขั้นต้น

164

3 – 53

ภาพการนําแกลบที่มีอยูแ่ ล้วในศูนย์ฯมาปูพ้นื เพื่อให้ไก่ได้ขยุ้ เขี่ยอาหารจาก ธรรมชาติ 165

3 – 54

ภาพการติดไวนิลเพื่อเป็ นข้อมูลให้นอ้ งๆ ได้ศึกษาความรู้ในการเลี้ยง ไก่ไข่อินทรี ย ์

165

3 – 55

ภาพไวนิลการเลี้ยงไก่ชีวภาพ

166

3 – 56

ภาพไวนิลการเลี้ยงไก่ชีวภาพ

167

3 –57

ภาพองค์ประกอบของระบบ TQM

179


(33)

สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่

หน้า

3 – 58

ภาพวิธีการประกอบถังเก็บก๊าซ

183

3 – 59

ภาพจากการสํารวจพื้นที่จริ งในการทําโรงครัว

187

3 – 60

ภาพพื้นที่บริ เวณโรงครัวมีการจัดสร้างอาคารขึ้นโดยใช้งบประมาณ ของทางศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

187

3 – 61

ภาพภายในโรงครัว มีการปูนกระเบื้องและทําฐานในการวางอ่างล้างจาน และ บริ เวณภายนอกตัวอาคาร มีการทําผนังโดยใช้ไม้ซี่ในการทํา เพื่อให้อากาศ ถ่ายเทได้สะดวก 188

3 – 62

ภาพพื้นที่ภายในโรงครัวในปั จจุบนั

188

3 – 63

ภาพการนับอุปกรณ์เครื่ องครัวและทําการจัดเก็บระบบTQM

189

3 – 64

ภาพการทําฐานรองเตาแก๊ส

190

3 – 65

ภาพขั้นตอนการทําถังไบโอแก๊ส

190

3 – 66

ภาพมูลสัตว์ที่ใช้หมักแก็สเศษอาหารเหลือที่ใช้หมักแก๊ส

191

3 – 67

ภาพไวนิลไบโอแก๊ส

192

3 – 68

ภาพการทําการขนย้ายของบริ จาค (หนังสื อเรี ยน อุปกรณ์การเรี ยน)

213


(34)

สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่

หน้า

3 – 69

ภาพการจัดทําสื่ อการเรี ยนรู้ในห้องเรี ยน (แบบฝึ ดหัด/ข้อสอบ)

213

3 – 70

ภาพจัดทําสื่ อการเรี ยนรู้นอกห้องเรี ยน (ป้ ายสื่ อการเรี ยนรู้)

214

3 – 71

ภาพแผนผังการดําเนินงานในภาครวมของห้องสมุด

228

3 – 72

ภาพห้องสมุดก่อนลงมือปฏิบตั ิจริ ง

229

3 – 73

ภาพการเก็บกวาดห้องสมุด

230

3 – 74

ภาพทาสี และปรับปรุ งพื้นที่

230

3 – 75

ภาพการติดประตูห้องสมุด

231

3 – 76

ภาพการทาสี ภายนอกห้องสมุด

231

3 – 77

ภาพประกอบชั้นวางหนังสื อ

232

3 – 78

ภาพการเปลี่ยนป้ ายห้องสมุด

232

3 – 79

ภาพการคัดแยกหนังสื อเข้าห้องสมุด

233

3 –80

ภาพซ่อมแซมรู รั่วบนหลังดา

233

3 – 81

ภาพโบกปูนทําเสา

234


(35)

สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่

หน้า

3-82

ภาพจัดเรี ยงหนังสื อเข้าชั้น

234

3-83

ภาพปรับปรุ งทัศนียภาพห้องสมุด

235

4– 1

ภาพผลสัมฤทธิ์ การดําเนินงานทีมพื้นที่อาหารประเภทพืช

247

4– 2

ภาพผลสัมฤทธิ์ การดําเนินงานทีมโปรตีนปลา

248

4– 3

ภาพผลสัมฤทธิ์ ทีมไข่ไก่ชีวภาพ

249

4– 4

ภาพผลสัมฤทธิ์ ทีมโรงครัวและไบโอแก๊ส

249

4– 5

ภาพผลสัมฤทธิ์ ทีมโรงครัวและไบโอแก๊ส

250

4– 6

ภาพผลสัมฤทธิ์ ทีมโรงครัวและไบโอแก๊ส

250

4– 7

ภาพผลสัมฤทธิ์ ทีมสื่ อการเรี ยนรู ้

251

4– 8

ภาพการส่ งมอบงานของทีมห้องสมุด

251

4–9

ภาพผลสัมฤทธิ์ ทีมห้องสมุด

252

5–1

ภาพคุณพีรพัฒน์ อุปมาสิ นธุ ผูบ้ ริ จาคและสนับสนุนโครงการ

254

5–2

ภาพคุณประสาน มารศรี ผูป้ กครองของนางสาวณัฏฐิกา มารศรี

254


(36)

สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่

หน้า

5–3

ภาพดร.วิวฒั น์ ศัลยกําธรประธานมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

256

5–4

ภาพคุณศลิษา ศัลยกําธรผูอ้ าํ นวยการมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

266

5–5

พี่มิตร อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

269

5–6

พี่นน อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

270

5–7

พี่แมค อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

271

5–8

พี่ฝ้าย อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

271

5–9

พี่ยกั ษ์ อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

272

5 – 10

ภาพที่เผยแพร่ ลงสังคมออนไลน์ของทีมโปรตีนปลาพร้อมความเห็นของบุคคล ทัว่ ไป 273

5 – 11

ภาพที่เผยแพร่ ลงสังคมออนไลน์ของทีมไข่ไก่ชีวภาพพร้อมความเห็นของบุคคล ทัว่ ไป 274

5 – 12

ภาพที่เผยแพร่ ลงสังคมออนไลน์ของทีมพื้นที่อาหารประเภทพืช พร้อมความเห็นของบุคคลทัว่ ไป

274

ภาพที่เผยแพร่ ลงสังคมออนไลน์ของทีมพื้นที่อาหารประเภทพืช พร้อมความเห็นของบุคคลทัว่ ไป

275

5 – 13


(37)

สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่ 5 – 14

5 – 15

หน้า ภาพที่เผยแพร่ ลงสังคมออนไลน์ของทีมระบบนํ้า พร้อมความเห็นของบุคคลทัว่ ไป

275

น้องมิ้นน้องๆ โรงเรี ยนปูทะเลย์ที่ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

276


บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ทรัพยากรมนุษย์เป็ นสิ่ งที่สาํ คัญในการพัฒนาชาติ เปรี ยบเสมือนเป็ นการสร้างฐานกําลังคน ที่ ม นั่ คงให้ก ับ ประเทศ และเป็ นประเด็นการพัฒนาที่ สํา คัญในฐานะปั จจัย หลักของการเพิ่ ม ขี ด ความสามารถหรื อแม้แต่ดาํ รงไว้ในการแข่งขันของประเทศในเชิงเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกัน หากจะ พิจารณาในมิติดา้ นสังคมนั้น การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ นับเป็ นการเพิ่มคุ ณภาพให้กบั “ทุนทาง สังคม” ที่มีคุณค่าและความหมายมากยิง่ ขึ้น โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดภาวะชะลอตัวด้านเศรษฐกิจ ทํา ให้ได้ตระหนักว่าสิ่ งหนึ่งซึ่ งประเทศไทยยังคงมีอยูแ่ ละไม่ได้สูญสิ้ นไปคือทรัพยากรคนหรื อทุนทาง สังคม ที่จะสามารถพัฒนาและปรับตัวสนองตอบต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ภายใต้ก ระแสโลกาภิ วตั น์ และการขยายตัวของระบบเศรษฐกิ จใหม่ ที่ เน้นฐานความรู ้ โดยจาก กระบวนทัศ น์พ ระราชทานในการจัด การกระบวนการเรี ย นการสอนของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั “เรี ยนความรู้ ทําการงาน และทําความดี” คือนอกจากจะต้องเรี ยนความรู้แล้วยังต้องหัดทํา การงานและทําความดีดว้ ยเพราะการทํางานจะช่วยให้มีความสามารถ มีความขยันอดทนพึ่งตนเอง ได้ และการทําดีน้ นั จะช่วยให้มีความสุ ขความเจริ ญ ทั้งป้ องกันตนไว้ไม่ให้ตกตํ่าซึ่ งตามมาตรฐาน คุณวุฒิบณ ั ฑิต หลักสู ตร บธ.บ. (สาขาวิชาการบัญชี บริ หาร) พ.ศ. 2554 ของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้กาํ หนดวัตถุ ประสงค์สําคัญที่ถือว่าเป็ นความรับผิดชอบของสถาบัน เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ ดัง นี้ มีคุณธรรม จริ ยธรรม ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคมมี ความรอบรู ้ในศาสตร์ ทางการบัญชี ทักษะทางวิชาชีพและศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องในระดับสากล และตรง ตามความต้องการของธุ รกิจ รวมถึงทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี มีความสามารถคิดอย่าง เป็ นระบบ วิ เ คราะห์ และแก้ปั ญ หาโดยการใช้ค วามรู ้ ใ นสาขาวิ ช าและสาขาอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้อ ง มี ความสามารถในการสื่ อสารและทํางานร่ วมกับบุคคลอื่นได้ทุกระดับอย่างเหมาะสม มีความรู ้ ดา้ น เทคโนโลยีที่ ทนั สมัย และสามารถใช้ได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ มี การพัฒนาตนเองทั้งด้านความรู ้ ทักษะวิชาชีพและคุณธรรมอย่างต่อเนื่ อง มีความเป็ นผูน้ าํ มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีความคิดในทาง สร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการความรู ้และประสบการณ์ในทางธุ รกิจมาประยุกต์กบั การดํารงชี พ เพื่อประโยชน์ต่อตนเองและสังคม


2 โดยในปั จจุบนั หลายประเทศทัว่ โลกก็ได้ประสบปั ญหาเกี่ยวกับวิกฤตการณ์เศรษฐกิจและ ความไม่มนั่ คงทางอาหาร รวมถึ งประเทศไทยเองก็ประสบกับปั ญหานั้นเช่นกัน ซึ่ งเกิดจากปั ญหา ต่างๆ เช่ นปั ญหาความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร ปั ญหาของระบบการผลิตอาหารที่ไม่ ยัง่ ยื น ระบบการผลิ ต อาหารของไทยซึ่ งในอดี ต เป็ นระบบการผลิ ต แบบผสมผสาน ได้ค่ อ ยๆ เปลี่ยนเป็ นการผลิตเชิ งเดี่ ยวที่มี การปลูกพืชหรื อเลี้ ยงสัตว์อย่างเดี ยวไม่กี่ชนิ ดในพื้นที่ขนาดใหญ่ หรื อมีปริ มาณมากๆ ทําให้เกิ ดปั ญหาต่างๆตามมาหลายประการปั ญหาโครงสร้ างของที่ ดินทํากิ น และสิ ทธิ ในการเข้าถึ งทรั พยากร การเปลี่ ยนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิ ต อาหาร วัฒนธรรมอาหารต่างชาติครอบงําวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น การขาดนโยบายเกี่ยวกับความ มัน่ คงทางอาหาร เป็ นต้น ซึ่ งปั ญหาดังกล่าวก็ได้ส่งผลกระทบกับประชาชนทุกคนไม่วา่ จะเป็ น ข้ารา การ เกษตรกร นักเรี ยน นิ สิตนักศึกษาหรื อประชาชนทัว่ ไปโดยทางมูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติได้ ตระหนัก ถึ ง ปั ญ หาดัง กล่ า วซึ่ งได้นํา หลัก การพึ่ ง พาตนเองตามแนวคิ ด เศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็ จพระเจ้า อยู่หัว โดยการเรี ยนรู ้ ที่ จะใช้ป ระโยชน์จากการจัดการพื้ นที่ ท าํ กิ น การ อนุ รักษ์ดินและนํ้าควบคู่กนั ไปอีกทั้งยังให้รู้จกั การปลูกป่ า 3 อย่าง ได้ประโยชน์ 4 อย่าง ให้พออยู่ พอกิน พอใช้ และเป็ นประโยชน์ต่อระบบนิ เวศ สร้างความสมบูรณ์และก่อให้เกิดความหลากหลาย ทางชี วภาพในพื้นที่ป่าเป็ นการสร้ างความสมดุ ลและแก้ปัญหาด้านปั จจัยสี่ อนั เป็ นพื้นฐานในการ ดํารงชีวติ เป็ นแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของเกษตรกรซึ่ งเป็ นประชากรส่ วนใหญ่ของประเทศ โดยทางมูลนิ ธิได้มีการเปิ ดพื้นที่ ให้ประชาชนทัว่ ไป เกษตรกร นักเรี ยน นิ สิตนักศึกษาได้เข้ามา ทําการศึกษา อบรม และการเรี ยนรู ้ ผ่านการลงมือทํา ลงมือปฏิ บตั ิจริ ง นอกจากนี้ ยงั มีการส่ งเสริ ม การปลู ก จิ ตสํานัก ที่ ดี และการตระหนักถึ งเศรษฐกิ จพอเพียง โดยเน้นหลักคุ ณธรรมและความรู ้ ไ ม่ ใ ช่ ห ลั ก ท า ง เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ที่ เ น้ น เ งิ น เ ป็ น ห ลั ก เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ท า ง ด้ า น ผู ้ ก่ อ ตั้ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ให้ปรัชญาไว้วา่ "เงินทองเป็ นของมายา ข้าวปลาซิ ของจริ ง" โครงการการบูรณาการเรี ยนการเรี ยนรู ้ จากชั้นเรี ยนสู่ การปฏิ บตั ิจริ ง ของสาขาการบัญชี บริ หารจึงได้ตระหนักถึ งความสําคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ที่เป็ นทุนการสังคมของการ พัฒนาประเทศ โดยคํานึ งถึงหลักตามกระบวนทัศน์พระราชทานในการจัดการกระบวนการเรี ยน การสอนและคุณลักษณะของบัณฑิตของสาขาการบัญชี บริ หาร นอกจากนี้ ยงั เป็ นการปลูกจิตสํานึ ก ในเรื่ องของคุ ณธรรม จริ ยธรรม ของนิ สิตนักศึ กษา ในการร่ วมแก้ไขวิกฤตการณ์ ปัญหาความไม่ มัน่ คงทางอาหาร โดยโครงการได้จดั ทําขึ้ นเพื่อสร้ างพื้นที่ อาหารให้กบั น้องโรงเรี ยนวิถี พุทธปู ทะเลย์ และเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ของเกษตรกร ประชนชนทัว่ ไป นักเรี ยน นิ สิตนักศึกษาที่เข้ามาเรี ยนรู ้


3 ในมูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้ องโดยมุ่งศึ กษาแนวทางการประยุกต์ใช้ความรู ้ จากการเรี ยน ภาคทฤษฎี สู่การลงมื อปฏิ บตั ิ งานจริ ง การปลู กจิ ตสํานึ กที่ ดีและการทําประโยชน์เพื่อสังคมและ ชุมชน

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างพื้นที่อาหารสําหรับเด็กโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ 2. เพื่อสร้ างพื้นที่ การเรี ยนรู ้ สําหรับเด็กโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์และเกษตรกรที่ เข้ามาเรี ยนรู ้ ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง 3. เพื่อการบูรณาการการเรี ยนของสาขาการบัญชีบริ หาร 4. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อนั ดีและความสามัคคีระหว่างรุ่ นในสาขาการบัญชีบริ หาร 5. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริ ยธรรม ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม

ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้ รับ 1. ด้ านการปลูกฝังค่ านิยม ยึดหมั่นคุณธรรมและการทาความดี 1.1 สามารถสร้างกระบวนการมีส่วนร่ วมและสร้างจิตสํานึกใหม่แบบพึ่งพาตนเอง 1.2 เป็ นการปลูกฝังให้นิสิตคิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน 1.3 เป็ นการพัฒนาให้นิสิตตระหนักถึงคุณธรรมและจริ ยธรรมที่มีต่อสังคม 2. ด้ านผลการเรียนรู้ การบริหารโครงการจริง 2.1 เป็ นการพัฒนาทีมงานเพื่อให้การทํางานมีประสิ ทธิภาพและสําเร็ จตามเป้ าหมาย 2.2 สามารถวางแผนการทํางานได้อย่างเป็ นระบบจนเกิดแรงจูงใจในการทําความดีเพื่อสังคม 3. ด้ านทักษะมนุษย์ สัมพันธ์ (ทีม)บริหารโครงการ 3.1 เป็ นการพัฒนาบุคลิกภาพตลอดจนเกิดความรักความสามัคคีที่ดีต่อกัน


4 3.2 ส่ งเสริ มให้มีการทํางานเป็ นทีมและการยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น 3.3 เป็ นการสร้างความสัมพันธ์และความสามัคคีในหมู่คณะในการทํากิจกรรมร่ วมกัน 4. ด้ านการใช้ ข้อมูลทางการบัญชี เพือ่ กระบวนการบริหาร 4.1 สามารถนําสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้มาใช้ในกระบวนการบริ หารจัดการได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4.2 สามารถนําความรู ้ มาใช้ในการตัดสิ นใจเพื่อส่ งผลให้เกิ ดแนวปฏิ บตั ิที่ถูกต้องสามารถนํา ข้อมูลทางการบัญชีมาใช้ในการวางแผนเพื่อบริ หารจัดการเชิงกลยุทธ์ 5. ด้ านการใช้ เทคโนโลยีและสารสนเทศเพือ่ การดาเนินงาน 5.1 ช่วยให้ติดต่อสื่ อสารระหว่างกันอย่างสะดวกรวดเร็ ว 5.2 ช่ วยในการศึ กษาและค้นคว้าข้อมูลในเชิ งบูรณาการให้เข้ากับรู ปแบบการดํา เนิ นงานที่ แท้จริ ง 5.3 ช่ วยในการตรวจสอบการดําเนิ นงาน เมื่อแผนงานถู กนําไปปฏิ บตั ิในช่ วงระยะเวลาหนึ่ ง แสดงให้เห็นผลการดําเนินงานว่าสอดคล้องกับเป้ าหมายที่ตอ้ งการเพียงไร 6. ด้ านทักษะการนาเสนองาน 6.1 สามารถนําสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้ไปประยุกต์ใช้ในการนําเสนอเชิงธุ รกิจได้ 6.2 ได้รับความรู ้เกี่ยวกับรู ปแบบ เทคนิค วิธีการนําเสนอ การเตรี ยมความพร้อมในการนําเสนอ ที่มีประสิ ทธิภาพ 6.3 มีทกั ษะและความเชื่ อมัน่ ในการพูดการนําเสนอโดยมีการวิเคราะห์และกําหนดประเด็นให้ สอดคล้องความสนใจของผูฟ้ ัง 6.4 สามารถสื่ อสารและนําเสนอได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงานในแต่ละงาน ได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล


5

ขั้นตอนการฝึ กปฏิบตั บิ ริหารโครงการ ในการฝึ กปฏิบตั ิงานของสาขาการบัญชีบริ หารแบ่งขั้นตอนการฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ ออกเป็ น 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การศึกษาขั้นต้นเพื่อการวางแผน 1.1 การศึกษาและรวบรวมข้อมูลทางวิชาการ 1.2 การวางแผนก่อนเข้าศึกษาพื้นที่จริ ง 2. การศึกษาพื้นที่จริ งขั้นต้น 2.1 ประมวลผลการศึกษาพื้นที่จริ ง 2.2 การวิเคราะห์ผลการศึกษาพื้นที่จริ ง 3. การวางแผนโครงการ 3.1 การกําหนดวิสัยทัศน์ 3.2 กําหนดพันธกิจ 3.3 กําหนดวัตถุประสงค์โครงการ 3.4 การกําหนดโครงสร้างการบริ หารและทีมงาน 3.5 กําหนดแผนการดําเนินงานในภาครวม 3.6 กําหนดเวลาแผนดําเนินงาน 3.7 กําหนดแผนงบประมาณ 3.8 กําหนดดัชนีประเมินผลโครงการ 4. การปฏิบตั ิงานในพื้นที่จริ ง 5. การส่ งมอบงาน 6. การติดตาม ประเมินผล


บทที่ 2 การบริหารโครงการตามแนวทางการบัญชีบริหาร ตามกระบวนการจัดการกลยุทธ์ การบริหารโครงการ โครงการ (project) : งานย่อย ๆ ที่ถูกจับมาไว้ดว้ ยกันหรื อนํามาทําร่ วมกัน โดยต้องมีผล (output) เกิดขึ้น และมีเวลาสิ้ นสุ ดที่แน่นอนของโครงการ การบริ หารโครงการ (projectmanagement)1 : เป็ นขบวนการจัดการอย่างหนึ่ งที่นาํ เอา ความรู ้, เครื่ องมือ และเทคโนโลยีมาบริ หารโครงการนั้น ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของเจ้าของ โครงการที่จะได้ผลจากโครงการนั้น ๆ ต้ นทุนของโครงการมาจาก 3 สิ่ ง คือ P (performance : ประสิ ทธิภาพในการทํางาน) T (time : เวลา) S (scope/objective : ขอบเขตหรื อวัตถุประสงค์ของงาน)

1

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. การบริ หารโครงการ[ออนไลน์].21 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มา www.bus.tu.ac.th/usr/sboonitt/im203/sum3.doc‎www.bus.tu.ac.th/usr/sboonitt/im203/sum3.doc


7

good T

chea

C

P/S

quic

p k ภาพที่ 2 - 1 ภาพต้นทุนโครงการ ที่มา : www.bus.tu.ac.th/usr/sboonitt/im203/sum3.doc‎

การบริหารงานโดยระบบทีมงาน การทํางานเป็ นทีม (Team Work)2หมายถึง การร่ วมกันทํางานของสมาชิ กที่มากกว่า 1 คน โดยที่สมาชิ กทุกคนนั้นจะต้องมีเป้ าหมายเดี ยวกันจะทําอะไรแล้วทุกคนต้องยอมรับร่ วมกันมีการ วางแผนการทํางานร่ วมกัน การทํางานเป็ นทีม มีความสําคัญในทุกองค์กร การทํางานเป็ นทีม เป็ นสิ่ งจําเป็ นสําหรับ การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลของการบริ หารงาน การทํางานเป็ นทีมมีบทบาทสําคัญที่จะ นําไปสู่ ความสําเร็ จของงานที่ตอ้ งอาศัยความร่ วมมือของกลุ่มสมาชิกเป็ นอย่างดี ลักษณะของทีมลักษณะทีส่ าคัญของทีม 4 ประการได้แก่ 1. การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของบุคคล หมายถึง การที่สมาชิ กตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมีความ เกี่ยวข้องกันในกิ จการของกลุ่ม/ทีม ตระหนักในความสําคัญของกันและกัน แสดงออก ซึ่ งการยอมรั บ การให้ เ กี ย รติ ก ัน สํ า หรั บ กลุ่ ม ขนาดใหญ่ ม ัก มี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ ก ัน เป็ น เครื อข่ายมากกว่าการติดต่อกันตัวต่อตัว

2

สํานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริ หารงานบุคคลส่ วนท้องถิ่น. การทํางานเป็ นทีม

[ออนไลน์]. 21 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มาhttp://www.local.moi.go.th/team.html


8 2. มีจุดมุ่งหมายและเป้ าหมายร่ วมกัน หมายถึ ง การที่สมาชิ กกลุ่มจะมีส่วนกระตุน้ ให้เกิ ด กิ จกรรมร่ วมกันของทีม/กลุ่ ม โดยเฉพาะจุดประสงค์ของสมาชิ กกลุ่มที่สอดคล้องกับ องค์การมักจะนํามาซึ่ งความสําเร็ จของการทํางานได้ง่าย 3. การมีโครงสร้ างของทีม/กลุ่ม หมายถึ ง ระบบพฤติกรรมซึ่ งเป็ นแบบแผนเฉพาะกลุ่ ม สมาชิ ก กลุ่ ม จะต้องปฏิ บ ตั ิ ตามกฏหรื อมติ ของกลุ่ ม ซึ่ ง อาจจะเป็ นกลุ่ ม แบบทางการ (Formal Group) หรื อกลุ่มแบบไม่เป็ นทางการ (Informal Group) ก็ได้สมาชิ กทุกคนของ กลุ่มจะต้องยอมรับและปฏิบตั ิตามเป็ นอย่างดี สมาชิ กกลุ่มย่อย อาจจะมีกฎเกณฑ์แบบ ไม่เป็ นทางการ มีความสนิทสนมกันอย่างใกล้ชิดระหว่างสมาชิกด้วยกัน 4. สมาชิกมีบทบาทและมีความรู ้สึกร่ วมกัน การรักษาบทบาทที่มนั่ คงในแต่ละทีม/กลุ่ม จะ มีความแตกต่างกันตามลักษณะของกลุ่ม รวมทั้งความรู ้ความสามารถของสมาชิ ก โดย การจั ด แบ่ ง บทบาทและหน้ า ที่ ความรั บ ผิ ด ชอบ กระจายงานกั น ตามความรู ้ ความสามารถ และความถนัดของสมาชิ ก คุณลักษณะของทีม ทีมที่จะประสบความสําเร็ จในการทํางานคือกลุ่มของบุคคลที่ทาํ งานร่ วมกันเพื่อให้บรรลุ เป้ าหมายของ ทีม ต่อไปนี้เป็ นสิ่ งที่ท่านและเพื่อนร่ วมทีมจะต้องยึดถือเป็ นกรอบเพื่อทํางานร่ วมกัน มีความเป็ นหนึ่งเดียวกันจัดการด้วยตนเองพึ่งพาตัวเอง ขนาดของกลุ่มที่พอเหมาะ มีความเป็ นหนึ่ งเดียวกันสมาชิ กของทีมที่ประสบความสําเร็ จในการทํางานจะต้องมีความ เป็ นหนึ่ งเดี ยวกัน ทุก ๆ คนจะถูกดึงเข้ามาในทิศทางเดียวกันเพื่อให้บรรลุ ความสําเร็ จในงานและ/ หรื อบรรลุ เป้ าหมายร่ วมกัน โดยทัว่ ไปแล้วงานและ/หรื อเป้ าหมายอาจบรรลุ ได้เมื่อทํางานร่ วมกัน แทนที่จะต่างคนต่างทํา ทีมงานที่มีประสิ ทธิ ภาพจะมีลกั ษณะโดดเด่นและสมาชิ กทุกคนมีความรู ้สึก ว่าตนเองมีส่วนร่ วมในความสําเร็ จด้วย จัดการด้วยตนเอง ทีมงานที่ประสบความสําเร็ จในการทํางานมีแนวโน้มว่าจะสร้างโครงสร้างเฉพาะตนขึ้นมา เนื่ องจากสมาชิ กยอมรับบทบาท ของตนในเวลาต่างๆกันคล้อยตามความจําเป็ นความต้องการและ ความสามารถของตน บางคนอาจมีประสบการณ์ในงานเฉพาะอย่างจึงอาจเป็ นคนจัดการให้คนอื่นๆ ทําตามคนอื่นๆก็จะทําหน้าที่ในกิจกรรมของตนไปในงานที่เขาคุน้ เคยพฤติกรรมเหล่านี้ จะถูกพัฒนา


9 ไปในแนวของโครงสร้างองค์กร และสมาชิกทุกคนจะต้องปฏิบตั ิตามพึ่งพาตัวเองสมาชิกของทีมที่ ประสบความสํ า เร็ จ ในการทํา งานจะร่ ว มมื อ กับ คนอื่ น ๆ เพื่ อ ทํา งานชิ้ น ใดชิ้ น หนึ่ ง หรื อ ทํา ให้ เป้ าหมายสําเร็ จอย่างไม่หลี กเลี่ ยงร่ วมกันทํางานตามกําลังความสามารถของตนเอง ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําและชักจูงเมื่อจําเป็ น ร่ วมประสานงานในหน้าที่และแก้ไขปั ญหาอุปสรรคร่ วมกันทุกคนต่าง เอื้ออาทรช่ วยเหลือกันและมีความเป็ นหนึ่ งเดียวกัน ถ้ามีบุคคลหนึ่ งบุคคลใดทํางานเกิ นกําลังหรื อ ประสบปั ญหายุ่งยากอันใดพวกเขาจะร่ วมมื อกัน เช่ น อาจปกปิ ดคนที่มาทํางานสายหรื อเลิ กงาน ก่อนเวลา ขนาดของกลุ่มที่พอเหมาะโดยทัว่ ไปแล้วทีมงานที่ประสบความสําเร็ จในการทํางานมักจะ มี ข นาดพอเหมาะไม่ ใ หญ่ โตเกิ นไปนัก เพื่ อให้ส มาชิ ก ทุ ก คนในกลุ่ ม สามารถเข้า มามี ส่ วนร่ ว ม สร้ า งสรรค์แ ละจัด การด้ว ยตัว เองได้ แบ่ ง งานกัน ทํา อย่ า งยุ ติ ธ รรม แบ่ ง ปั น ความคิ ด เห็ น และ ความรู ้สึกอย่างเปิ ดเผย ร่ วมกันคิดแก้ปัญหาอย่างฉับไวและทันกาล สมาชิ กสัก 5 คนต่อทีมเป็ น ขนาดที่กาํ ลังพอดี ถ้ามากไปกว่านั้นอาจเสี ยเวลาในการอภิปรายกลุ่ม ในขณะที่สมาชิ กคนหนึ่ งหรื อ สองคนกําลังทํางาน คนอื่น ๆ อาจไม่เข้าไปมีส่วนร่ วมมากนัก อาจมีการจัดกลุ่มที่มีสมาชิ กน้อยกว่า 5 คน ซึ่ งจะมีบุคคลที่มีความสามารถไม่เพียงพอ หรื อมีความรู ้ไม่เพียงพอ รวมทั้งความเชี่ ยวชาญใน งานก็อาจไม่เพียงพอที่จะทําให้งานสําเร็ จอย่างเรี ยบร้อย แต่ไม่วา่ กลุ่มจะมีสมาชิ กมากน้อยเพียงใดก็ ตาม ท่ า นอาจไม่ อยู่ใ นสถานะที่ จ ะคัด เลื อกได้ จํา นวนสมาชิ ก เลขคี่ จ ะดู ส มเหตุ ส มผลกว่า เพื่ อ หลี กเลี่ ยงการเผชิ ญปั ญหาเสี ยงครึ่ งหนึ่ งเห็ นอย่างหนึ่ งเสี ยงอี ก ครึ่ งหนึ่ งเห็ นอี กแบบหนึ่ งในการ ตัดสิ นปั ญหาใดๆ การรู ้จกั เพื่อนร่ วมทีมอีกอย่างหนึ่ งที่ควรจําก็คือท่านไม่ควรมีทศั นะต่อเพื่อนร่ วม ทีมทุกคนว่าจะมีประสิ ทธิ ภาพเป็ นแบบเดี ยวกัน เพราะทุ กคนจะมีบุคลิ กภาพที่แตกต่างกันไป จึ ง ควรพิจารณาให้ต่างทัศนะกันไป อย่างไรก็ตามบางคนก็อาจมี บุคลิ กที่ คล้ายคลึ งกันแบบที่ เราจะ กล่าวต่อไป แต่โปรดระมัดระวังอย่าไปคิดว่าคุณลักษณะที่สมบูรณ์ ของแต่ละคนจะไม่เหมือนกัน ทีเดียวนัก เพราะว่าเขาหรื อเธออาจมีเพียงบางอย่างที่สอดคล้องกันจึงจําเป็ นต้องรู ้ จกั คนแต่ละคน เป็ นอย่างดี สมาชิ กของทีมมักจะเป็ นดังต่อไปนี้ คือเป็ นนักคิดเป็ นนักจัดองค์กร เป็ นนักปฏิบตั ิการ เป็ นสมาชิกของทีม เป็ นนักตรวจสอบ เป็ นนักประเมินผล


10

การบริหารงานด้ วยวงจรเดมมิ่ง การบริ หารงานด้ วยวงจรเดมมิ่ง 3การบริ หารคุณภาพเป็ นการจัดระบบการทํางาน เพื่อให้ ผลงานได้สร้ างความพึงพอใจความประทับ ใจและความมัน่ ใจแก่ ลูกค้า ทั้งภายนอกและภายใน สามารถแบ่งระดับการดําเนินตามระดับของบุคลากรได้ 3 ระดับ 1. การบริ หารคุ ณภาพ หมายถึ ง การกํา หนดทิ ศ ทาง หรื อแนวทางอย่า งกว้า งๆ ในการ ดําเนินการ ซึ่ งเป็ นภารกิจของผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ด 2. การจัดการคุ ณภาพ หมายถึ ง การนํา นโยบายคุ ณภาพมากํา หนดให้ เ ป็ น เป้ าหมาย คุ ณภาพ จากนั้นจะต้องมีการกําหนดเป็ นแผนคุ ณภาพสําหรับกําหนด การดําเนิ นงาน ต่อไปซึ่ งจะเป็ นภารกิจของผูบ้ ริ หารระดับรองลงมา 3. การดําเนินการให้เกิดคุ ณภาพ หมายถึง การดําเนิ นการปฏิบตั ิการให้ผลงานเป็ นไปตาม คุณภาพ ซึ่ งจะต้องมีการตรวจติดตาม ปรับปรุ งแก้ไข รวมถึงการป้ องกันปั ญหาต่อไป การบริ หารคุ ณภาพต้อ งอาศัย การทํา งาน ที่ ต้องประสานกันด้วยดี เปรี ย บเสมื อนการ ประสานเสี ยงดนตรี ดงั นั้นในการบริ หารคุณภาพ จึงมีภารกิจหลัก 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การวางแผน (plan)การวางแผนงานจะช่วยพัฒนาความคิดต่างๆ เพื่อ นําไปสู่ รูปและแบบที่เป็ นจริ งขึ้นมาในรายละเอียดให้พร้อมในการเริ่ มต้นลงมือปฏิบตั ิ (do) แผนที่ดีมีลกั ษณะ 5 ประการ 1. เป็ นไปได้จริ ง (realistic) 2. สามารถเข้าใจได้ (understandable) 3. สามารถตรวจวัดได้ (measurable) 3

วรรณิ การ์ .การบริ หารด้วยระบบเดมมิ่ง[ออนไลน์]. 2556


11 4. ใช้หลักพฤติกรรมนิยม (behavioral) 5. บรรลุผลสําเร็ จได้ (achievable) ขั้นตอนการวางแผน 1. กําหนดขอบเขตของปั ญหาให้ชดั เจน 2. กําหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย 3. กําหนดวิธีการที่จะบรรลุ ถึงวัตถุ ประสงค์ และเป้ าหมายให้ชดั เจนและถูกต้อง แม่นยําที่สุด เท่าที่เป็ นไปได้ ขั้นตอนที่ 2 ปฏิบัติการ (do)ประกอบด้วยการทํางาน 3 ระยะ 1.การวางกําหนดการ 1.1 การแยกแยะกิจกรรมต่างๆ ที่ตอ้ งกระทํา 2.2 กําหนดเวลาที่คาดว่าต้องใช้ในกิจกรรมแต่ละอย่าง 2.3 การจัดสรรทรัพยากรต่างๆ 2.การจัดการแบบแมทริ กซ์ (matrix management)การจัดการแบบนี้ สามารถช่วย ดึงเอาผูเ้ ชี่ยวชาญหลายแขนงจากแหล่งต่างๆ มาได้ และเป็ นวิธีช่วยประสานงาน ระหว่างฝ่ ายต่างๆ 3.การพัฒนาขีดความสามารถในการทํางานของผูร้ ่ วมงาน 3.1 ให้ผรู ้ ่ วมงานเข้าใจถึงงานทั้งหมดและทราบเหตุผลที่ตอ้ งกระทํานั้น 3.2 ให้ผูร้ ่ วมงานพร้ อมในการใช้ดุลยพินิจอันเหมาะสมในการปฏิ บตั ิงานด้วย ความยืดหยุน่ ภายใต้ขีดจํากัดของแนวทางที่กาํ หนดไว้ 3.3 สอนให้ผรู ้ ่ วมงานฝึ กกระบวนการทางความคิด โดยการฝึ กฝนด้วยการทํางาน 3.3.1 อธิ บาย / แสดงให้เห็นว่าทําอย่างไร 3.3.2 ให้ผเู้ ข้าฝึ กอบรมได้ลองปฏิบตั ิจริ ง 3.3.3 ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนขณะกําลังฝึ กฝน


12 3.3.4 ยอมรั บ ฟั ง คํา วิ จ ารณ์ ข องผู ้อื่ น เพื่ อ นํ า มาให้ ผู ้ร่ วมงานได้ ปรับปรุ งงาน 3.3.4 ใช้เอกสารการวางแผนเป็ นอุปกรณ์ในการสอน ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบ (check)การตรวจสอบทําให้รับรู้สภาพการณ์ของงานที่ เป็ นอยูเ่ ปรี ยบเทียบกับสิ่ งที่วางแผนซึ่ งมีกระบวนการ ดังนี้ 1.กําหนดวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 2.รวบรวมข้อมูล 3.พิจารณากระบวนการเป็ นตอน เพื่อแสดงจํานวน และคุณภาพของผลงานที่ได้รับ ในแต่ละขั้นตอน เปรี ยบเทียบกับที่ได้วางแผนไว้ 4.การรายงานจะเสนอผลการประเมินรวมทั้งมาตรการป้ องกันความผิดพลาดหรื อ ความล้มเหลว 4.1 รายงานเป็ นทางการอย่างสมบูรณ์ 4.2 รายงานแบบย่ออย่างไม่เป็ นทางการ ขั้นตอนที่ 4 การแก้ ไขปั ญหา (act)ผลการตรวจสอบหากพบว่า เกิ ดข้อบกพร่ อง เกิดขึ้น ทําให้งานที่ได้ไม่ตรงเป้ าหมายหรื อผลงานไม่ได้มาตรฐาน ให้ปฏิบตั ิการแก้ไขตามลักษณะ ปัญหาที่พบ 1. ถ้าผลงานเบี่ยงเบนไปจากเป้ าหมาย ต้องแก้ไขที่ตน้ เหตุ 2. ถ้า พบความผิดปกติ ใ ดๆ ให้ส อบสวนค้นหาสาเหตุ แล้วทํา การป้ องกัน เพื่ อ ไม่ให้ความผิดปกติน้ นั เกิดขึ้นซํ้าอีก


13

กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ กําหนด วิสยั ทัศน์

กําหนด

กําหนด

และ

วัตถุประสงค์

กลยุทธ์

พันธกิจ

การนํา

การตรวจสอบ

แผน

ประเมินผล

กลยุทธ์

และ

ไปปฏิบตั ิ

ทําการแก้ไข

ใช้

ดําเนิน การซํ้าถ้า จําเป็ น

ดําเนิน การซํ้าถ้า จําเป็ น

ดําเนิน การซํ้าถ้า จําเป็ น

ดําเนิน การซํ้าถ้า จําเป็ น

ดําเนิน การซํ้าถ้า จําเป็ น

ภาพที่ 2 - 2 ภาพกระบวนการบริ หารเชิงกลยุทธ์ ที่มา : พัชนิจ เนาวพันธ์ (2549 : 3) การกาหนดวิสัยทัศน์ (vision) คือ การกําหนดทิศทางการดําเนินงานขององค์การ เพื่อให้ทุก คนในองค์การมีทิศทางเดียวกันในการปฏิบตั ิงาน การกาหนดพันธกิจ (mission) คือ การแปลงวิสัยทัศน์ให้เป็ นนามธรรม เป็ นการกําหนด แนวทางสิ่ งที่ตอ้ งทําเพื่อให้บรรลุวสิ ัยทัศน์ที่กาํ หนดไว้ การก าหนดวัต ถุ ประสงค์ (objective) คื อ การแปลงวิ สั ย ทัศ น์และพันธกิ จให้อยู่ใ นรู ป ผลลัพธ์ ที่ตอ้ งการ โดยทัว่ ไปการกํา หนดวัตถุ ประสงค์ แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิ ดคือ วัตถุ ประสงค์ ทางด้ านการเงิน (financial objective) เป็ นการกําหนดวัตถุ ประสงค์เพื่อกําหนดผลตอบแทนที่ องค์การได้รับเกี่ยวกับฐานะการเงิน เช่น การเพิ่มขึ้นของยอดรายได้ ผลตอบแทนทางด้านการลงทุน โดยการจ่ายเงินปั นจ่ายให้ผถู ้ ือหุ ้นสู งขึ้น หรื อ ราคาหุ ้นมีเสถียรภาพ เป็ นต้น นอกจากนี้ การกําหนด


14 วัตถุ ประสงค์ ทางด้ านกลยุทธ์ (strategic objective) เป็ นการกําหนดเพื่อกําหนดผลตอบแทนที่ องค์การควรจะได้รับเช่นกันแต่เกี่ยวกับความเข้มแข็งขององค์การ เช่น การมีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น การเป็ นผูน้ าํ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ความสามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า เป็ นต้น

การใช้ ข้อมูลทางการบัญชีเพือ่ การบริหารกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ ความสาคัญของการบัญชี บริ หารกับกลยุทธ์ ขององค์ กร4 จากการเผชิ ญกับการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆอย่างรวดเร็ วในหลายรู ปแบบผูป้ ระกอบธุ รกิ จ จําเป็ นต้องเตรี ยมองค์กรให้พร้ อมที่จะรับมือกับทุกการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิ ดขึ้นบุคลากรของส่ วน งานต่างๆต้องมีความเข้าใจและมีส่วนร่ วมในการสนับสนุ น “กลยุทธ์” (strategy) ขององค์กรโดย ผูเ้ ขียนจะได้อธิ บายความหมายของการบริ หารเชิงกลยุทธ์ (strategic management) ที่นกั บัญชีตอ้ ง เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างพอสังเขปดังนี้ แนวคิดเชิงกลยุทธ์ (strategic concepts) : เป็ นการมองหาแนวทางหรื อวิธีการที่นาํ ธุ รกิ จ ไปสู่ ความสําเร็ จโดยผ่านเป้ าหมายที่สาํ คัญหลายประการได้แก่คุณภาพ (quality) ตามมาตรฐานที่ได้ กําหนดและตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าต้นทุน (Cost) ที่สามารถแข่งขันได้โดยไม่กระทบ กับคุณภาพของสิ นค้าบริ การการส่ งมอบ (delivery) ตรงเวลาและได้ประสิ ทธิ ภาพความยืดหยุน่ ใน การปรับตัวและการสร้างนวัตกรรมใหม่ (flexibility and innovation) รวมทั้งการตระหนักถึงเรื่ อง ความปลอดภัย (safety) ขวัญกําลังใจของพนักงาน (morale) สิ่ งแวดล้อม (environment) และ จริ ย ธรรมในการดําเนิ นธุ รกิ จ (ethics) ผูบ้ ริ หารระดับสู งจําเป็ นต้องปรับตัวและเรี ยนรู้ ที่ จะ ดําเนินงานภายใต้สภาวะแวดล้อมใหม่ซ่ ึ งได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมจากทั้งในประเทศและ ต่างประเทศที่สามารถได้รับข้อมูลทัว่ ถึ งกันอย่างรวดเร็ วจากการสื่ อสารที่ไร้ พรมแดนนํามาสู่ การ เปลี่ ย นแปลงภายในองค์กรในมิ ติต่างๆอันประกอบไปด้วยเรื่ องเหล่ านี้ ก ารเปลี่ ยนแปลงทิ ศทาง เชิ ง กลยุ ท ธ์ ข องกิ จ การต้อ งพิ จ ารณาหาแนวทางการแข่ ง ขัน ที่ เ หมาะสมเพื่ อ ให้ อ งค์ก รอยู่ร อด ปลอดภัยโดยเน้นตอบสนองความต้องการของลู กค้าทั้งในและนอกองค์ก รการปรั บ โครงสร้ า ง องค์กรระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของกลยุทธ์การลงทุนเพื่อพัฒนา

4

จุลสาร คณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ (2556 : online) ความสําคัญของการบัญชีบริ หารกับกล ยุทธ์ขององค์กร


15 กระบวนการการสร้างนวัตกรรมใหม่รวมถึงการส่ งเสริ มทุนมนุ ษย์ (human Capital) โดยเฉพาะการ เปลี่ยนแปลงทัศนคติของพนักงานในทุกระดับเพื่อนําไปสู่ “ระบบการบริ หารงานคุณภาพโดยรวม ทัว่ ทั้งองค์กร” (TQM : total quality management) ระบบ TQM เป็ นปรัชญาการบริ หารที่เน้นการ พัฒนาอย่างต่อเนื่ องของกระบวนการดําเนิ นงานทั้งหมดขององค์กรโดยมุ่งไปคุณภาพของงานเพื่อ ตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าซึ่ งระบบข้อมูล ทางการบัญชีบริ หารจะเข้าไปมีบทบาทที่สําคัญ มากในการกําหนดกลยุทธ์ขององค์กรดังกล่าวเพราะสามารถให้ขอ้ มูลที่ผา่ นกระบวนการวิเคราะห์ อย่า งเป็ นระบบทั้ง ข้อมู ล ทางด้า นการเงิ นและข้อมู ล ที่ ไ ม่ เกี่ ย วกับ ด้า นการเงิ นแต่ จาํ เป็ นต่ อการ ขับเคลื่อนและสนับสนุนการดําเนินงานในภาพรวมขององค์ กรข้อมูลทางด้านการเงินมักมุ่งเน้นไป ยังข้อมูลต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตซึ่ งประกอบไปด้วยต้นทุนทางตรง (direct cost) และ ต้นทุนทางอ้อม (indirect cost) ที่จะต้องมีวิธีการปั นส่ วนอย่างเหมาะสมเข้าสู่ หน่ วยสิ นค้าและ บริ การผูบ้ ริ หารในสายงานบัญชีจะต้องคํานึงถึง “คุณภาพ” ของข้อมูลอย่างเคร่ งครัดทั้งในแง่มุมของ ความครบถ้วนความถูกต้องและความทันต่อเวลาการใช้งานนักบัญชี บริ หารในปั จจุบนั จึงถื อเป็ น ส่ วนหนึ่งของ”ทีมบริ หาร” ซึ่ งมีส่วนเกี่ยวข้องโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่มีประสิ ทธิ ภาพ นําไปสู่ การตัดสิ นใจที่ถูกต้องเรื่ องราวของ TQM และการปรับตัวขององค์กรเพื่อความอยู่รอด


บทที่ 3 การฝึ กปฏิบัติการบริหารโครงการ การศึกษาขั้นต้ นเพือ่ การวางแผน มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ เศรษฐกิ จพอเพียงเป็ นปรั ชญาชี้ แนวทางการดํารงอยู่และปฏิ บตั ิ ตนของประชาชนในทุ ก ระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครั ว ระดับชุ มชน ถึ งระดับรั ฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศ ให้ ดําเนิ นไป ในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิ จเพื่อให้กา้ วทันต่อยุคโลกาภิวฒั น์ ความ พอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กันใน ตัว ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนําวิชา ต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและดําเนิ นการทุกขั้นตอน และขณะเดี ยวกันจะต้องเสริ มสร้ างพื้นฐาน จิตใจ ของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุ รกิ จในทุกระดับ ให้มีสํานึ ก ในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุ จริ ตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความ เพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่าง รวดเร็ วกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคมสิ่ งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี


17

ภาพที่ 3 - 1 ทางสายกลางตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ที่มา http://goodness.cpportal.net

มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติมาบเอือ้ ง ประวัติความเป็ นมา5 มู ล นิ ธิ ก สิ ก รรมธรรมชาติ ม าบเอื้ อ งได้ก่ อ ตั้ง ขึ้ น มาจากแนวคิ ด “ทฤษฎี ใ หม่ เศรษฐกิ จ พอเพียง” ที่เป็ นแรงบันดาลใจในการออกรณรงค์เผยแพร่ และให้ความรู ้ ในเรื่ องการทํากสิ กรรม ธรรมชาติ และพิสูจน์ให้เห็ นว่าสามารถทําการเกษตร และอยู่อย่างพอเพียงได้จริ ง การดําเนิ นงาน ครั้งแรกเริ่ มที่ อ.วิวฒั น์ ลงมือทําเองจากการผลิตเอ็นไซม์สมุนไพรธรรมชาติใช้กนั เองในนาข้าว พืช ชนิ ดอื่นๆ ทั้งพืชผักและไม้ผล รวมถึงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ ด้วย โดยทําการทดลองที่ ศูนย์กสิ กรรม ธรรมชาติ ม าบเอื้ อง ต.หนองบอนแดง อ.บ้านบึ ง จ.ชลบุ รี และนํา ประสบการณ์ ที่ป ฏิ บตั ิ จริ งไป เผยแพร่ ค วามรู ้ ใ ห้แก่ เ กษตรกร ขณะเดี ย วกันทํา การศึ ก ษาค้น คว้า และวิ จยั เทคโนโลยีก ารผลิ ต เอ็นไซม์สมุนไพรธรรมชาติ สมุนไพรไล่แมลง โดยทําการทดลองและเผยแพร่ ในพื้นที่ของเกษตรกรกว่า 50 จังหวัดทัว่ ทุกภาคของประเทศ โดยได้ทดลองกับพืชหลากหลายชนิ ด เช่ น ข้าว ข้าวโพด พืชตระกูลแตง พืชตระกูลถัว่ หอมแดง 5

มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ. ประวัติความเป็ นมา [ออนไลน์]. 21 ตุลาคม 2556. http://www.agrinature.or.th

แหล่งที่มา


18 หอมแบ่ง หน่อไม้ฝรั่ง มันสําปะหลัง ไม้ไผ่ตง อ้อย ยางพารา ทุเรี ยน มังคุ ด ขนุ น ลองกอง มะม่วง มะไฟ ส้ม ลําไย ฯลฯ ส่ วนในด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ ได้แก่ การเลี้ยงกุง้ กุลาดํา-กุง้ ก้ามกราม การ เลี้ยงปลาดุก และปลานิล เป็ นต้น การดําเนินกิจกรรมของมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติได้เปิ ดพื้นที่ฝึกอบรมให้ความรู้ เป็ นแหล่ง เรี ยนรู้ในการฝึ กปฏิ บตั ิงานจริ ง และช่ วยเหลื อเกษตรกรที่สนใจ และพร้อมให้การสนับสนุ นการ ดําเนิ นงาน โดยได้เผยแพร่ แนวทางการดํารงชี วิตและการประกอบอาชี พตามหลักการพึ่งพา ตนเอง ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็ นศูนย์คน้ คว้าวิจยั พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการกสิ กรรม การเพาะเลี้ยงสัตว์ การปศุ

สัตว์ การพลังงานการแพทย์เภสัชกรรมการจัดการสิ่ งแวดล้อมโดยใช้ภูมิปัญญาตะวันออก 2. เพื่อเป็ นศูนย์ฝึกอบรม ถ่ายทอด และเผยแพร่ ความรู ้ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ ให้กบั

เกษตรกร นักเรี ยนนักศึกษา ข้าราชการและประชาชน 3. เพื่อเป็ นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีประจําตําบลภายใต้โครงการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4. เพื่อเป็ นสถานที่จดั ทําแปลงสาธิ ต ในเรื่ องของการนําเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้กบั สมุนไพร ไม้

ดอกไม้ประดับพืชผักสวนครัวและนาข้าวเพื่อให้ความรู้ และเป็ นแปลงตัวอย่างให้กบั กลุ่ม เกษตรกรในท้องถิ่นและเกษตรกรอื่นๆ ที่สนใจ 5. เพื่อเป็ นแหล่งรวบรวมอุปกณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ในการเกษตรในอดีต โดยจะตั้งเป็ นพิพิธภัณฑ์

ชาวนาต่อไป 6. เพื่อเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวให้กบั ผูท้ ี่สนใจทางด้านการเกษตรแบบธรรมชาติเข้าแวะชม และ

แสวงหาความรู้


19 7. เพื่อเป็ นศูนย์ฝึกอบรมที่เปิ ดให้กบั หน่วยงานองค์กรภาครัฐ และภาคเอกชนต่างๆ ที่สนใจใช้

เป็ นสถานที่จดั อบรมในเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรทุกประเภท ปรัชญาของมูลนิธิ คําตอบของแผ่นดิ นอยู่ที่มาบเอื้อง “ให้เรี ยกชื่ อว่านี้ คือ ปฏิ ญญามาบเอื้อง อันเป็ น ข้อตกลงร่ วมกัน ของผองกัลยานมิตร” ที่จะก้าวไปตามรอยเท้าพ่อ เพื่อสร้างสังคมไทยด้วยศาสตร์ ของพระราชา หลักแห่ งปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพียง ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง ตําบลหนอง บอนแดง อําเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี คือศูนย์แม่ที่ถ่ายทอดทักษะความรู ้ ฝึ กฝนอบรมเป็ นศูนย์แห่ ง การเรี ยนรู ้ ที่เป็ นตัวอย่างของ ผูท้ ี่เป็ นจริ ง ฝึ กฝนฝึ กอบรมให้เป็ นคนได้ลึกซึ้ ง เข้าใจง่าย และทําได้ จริ ง ในการสร้ า งชุ มชนเครื อข่ า ยแห่ ง การพึ่ ง ตนเอง ด้วยศาสตร์ ความรู ้ ตามแนวคิ ดหลัก ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียง 16 ปี ของการเดินตามรอยเท้าพ่อ จนบันทึกตรวจตราในสิ่ งที่พ่อสอน ติดตามงาน ในหน่ ว ยงาน พนัก งาน คณะกรรมการที่ ท ํา งานเกษตร เพื่ อ ประสานงานตามโครงการ อัน เนื่ องมาจากพระราชดําริ สํานักนายกรัฐมนตรี แรงศรัทธาที่เห็นการทรงงานของท่าน ชี วิตนี้ จะเดิ น ตามรอยเท้า พ่อ ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้ อง จึ งเกิ ดขึ้ น ฝึ กฝน สอน และอบรมทฤษฏี ใหม่ เศรษฐกิจพอเพียงให้ผคู ้ นมาศึกษาเรี ยนรู ้ มาแล้วนับแสนคน ณ มหาวิทยาลัยคอกหมู แห่งมาบเอื้อง

การวางแผนก่อนเข้ าศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง แบบสารวจห้ องสมุด เรื่ อง อาคารห้องสมุด 1. ลักษณะของตัวอาคาร 2. ขนาดพื้นที่ท้ งั หมดของห้องสมุด 3. บริ เวณโดยรอบอาคารห้องสมุด 4. สํารวจความชํารุ ดหรื อบริ เวณที่ตอ้ งทาการซ่อมแซมของอาคาร 5. พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด


20 6. จํานวนพัดลม หลอดไฟ 7. จํานวนหน้าต่างประตู เรื่ องความต้องการจํานวนชั้นวางหนังสื อ 1. จํานวนชั้นหนังสื อที่มีอยูภ่ ายในห้องสมุดและความต้องการชั้นหนังสื อ 1.1 ที่นาํ มาใช้ในการทําชั้นวางหนังสื อ 1.2 ลักษณะชั้นวางหนังสื อที่ตอ้ งการ 2. จํานวนความกว้างความยาวและความสู งของชั้นวางหนังสื อ 3. จํานวนชั้นหรื อช่องในการจัดวางหนังสื อ 4. ความสู งของชั้นหรื อช่องวางหนังสื อ เรื่ องการปรับปรุ งทัศนียภาพภายในห้องสมุด 1. พื้นที่ภายในห้องสมุดที่ตอ้ งการปรับปรุ ง/แก้ไข 2. จํานวนโต๊ะอ่านหนังสื อที่มีก่อนทําการปรับปรุ ง 3. สี ที่ตอ้ งการทาภายในห้องสมุด 4. อุปกรณ์ตกแต่งที่ตอ้ งการเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความรู้ภายในห้องสมุด 5. จํานวนสิ่ งอํานวยความสะดวกที่มีก่อนทําการปรับปรุ ง 6. ความต้องการป้ ายที่ใช้บอกข้อจํากัดในห้องสมุดเช่นข้อห้าม , คําแนะนํา ,หมวดหมู่หนังสื อ


21 7. ก่อนปรับปรุ งมีการจัดเรี ยงหนังสื อแบ่งแยกเป็ นหมวดหมู่ 8. ช่วงอายุของผูท้ ี่เข้าใช้บริ การห้องสมุดในแต่ละวัน. เรื่ องสร้างมุมนัง่ เล่นอ่านหนังสื อ 1. พื้นที่ในการทํามุมนัน่ เล่นอ่านหนังสื อ 2. จํานวนโต๊ะเล็กสําหรับเด็กเล็กเพื่อใช้ในมุมนัน่ เล่น 3. ลักษณะของชั้นวางเพื่อการตกแต่ง 4. อุปกรณ์ตกแต่งที่ตอ้ งการเพิ่มเติมในมุมนัง่ เล่นสบายสําหรับเด็ก แบบสารวจการเกษตร เรื่ อง พื้นที่การเกษตร 1. พืชสวนครัวจําพวกเครื่ องปรุ ง หอม กระเทียม หอมหัวใหญ่ กะเพรา โหระพา แมงลัก พริ กไทย ตะไคร้ กระชาย ขิงข่า ขมิ้นใบมะกูด มะนาว มะขาม ผักชี ต้นหอม คื่นช่าย พริ กขี้หนู พริ กหยวก พริ กหนุ่ม ตะ ลิงปิ ง ผักหวาน 2. ผักเลื้อย บวบหอม ถัว่ พู ฟักทอง ตําลึง นํ้าเต้า ฟักเขียว มะระ มะระขี้นก แตงกวา แตงร้าน ถัว่ ฝักยาว ชะอม ใบย่านาง แฟง แตงโม สารแหน่ บวบ เหลี่ยม ชะพลู แตงไทยรางจืด ถัว่ ลันเตา ผักกระเฉด 3. ผักตระกูลกะหลํ่า กะหลํ่า ดอก กะหลํ่า ดาว กะหลํ่า ปลี กวางตุ ้ง คะน้ า ปู เ ล่ ปวยเล้ ง ผัก กาดขาวปลี ผักกาดหอมบร็ อคโคลี่


22 4. ผักตระกูลหัวใต้ดิน มันเทศมันสําปะหลัง มันแกว เผือก เปราะหอม แครอทหัวไชเท้า แห้ว กลอย แก่นตะวัน หน่อไม้ หัวไช้เท้า 5. ผักตระกูลอื่นๆ มะเขือยาว มะเขือเปราะ มะเขือเทศ ถัว่ งอก ข้าวโพด กระเจี๊ยบ อัญชัญ เห็ดฟาง เห็ดนางฟ้ า ดําเห็ดเป๋ าฮื๋อ ผักโขม ใบเตย 6. ผลไม้ กล้วยนํ้าว้า กระท้อน มะม่วง มะปราง มะพร้าว ขนุน ชมพู่ มะยม ฝรั่ง ส้มจี๊ด พุทรา ส้มโอ มะละกอ สับปะรด น้อยหน่า แก้วมังกร เงาะโรงเรี ยน หมาก แบบสอบถามโปรตีนพืช เรื่ อง ความต้องการเพาะเห็ด 1. ความต้องการเพาะเห็ด 2. สถานที่เหมาะสมต่อการเพาะเห็ดและสภาพแวดล้อมในการเพาะเห็ด 3. การเพาะเห็ดไว้อยูแ่ ล้ว และพอมีความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเพาะเห็ด ชนิดเห็ด 1. เห็ดขอนขาว 2. เห็ดนางฟ้ า 3. เห็ดนางรมฮังการี 4. เห็ดฟาง


23 5. เห็ดหูหนู 6. เห็ดนางรม แบบสํารวจการเพาะปลูกถัว่ ถัว่ ฝัก (Bean):ถัว่ พูถวั่ ฝักยาวถัว่ แขกถัว่ แปบถัว่ เหลืองถัว่ ปากอ้าถัว่ เขียวถัว่ แดงถัว่ แระถัว่ แดงหลวงถัว่ ดํา ถัว่ เมล็ดกลม (Pea) : ถัว่ ลันเตาถัว่ ชิกพี ถัว่ ลิสงถัว่ ลายถัว่ พุม่ แบบสอบถามปศุสัตว์ เรื่ อง พันธุ์ไก่ไข่และเล้าไก่ 1. ต้องการไก่ไข่กี่ตวั ในศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง 2. ลักษณะของไก่สายพันธุ์ไก่ไข่ 3. ประมาณนํ้าหนักของไก่เพศผูแ้ ละเพศเมียกี่กิโลกรัม 4. สายพันธุ์ไหนที่ตอ้ งการมากที่สุด 5. ช่วงอายุของพันธ์ไก่ไข่ 6. ราคาของไก่สายพันธุ์ไข่ไก่ประมาณกี่บาท 7. อายุเวลาไก่ไข่โดยประมาณการออกไข่ 8. อาหารของไก่ไข่


24 9. วิธีการเริ่ มต้นเลี้ยงไก่ไข่ 10. จํานวนประชากรของศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง 11. มีพ้นื ที่ที่เหมาะสําหรับการเลี้ยงไก่ประมาณเท่าไหร่ 12. มีพ้นื ที่พร้อมสําหรับสร้างโรงพักไก่ที่ห่างจากที่พกั อาศัย 13. มีพ้นื ที่ขนาด 4*4 เมตร 14. มีแสลนด์สาํ หรับโรงพักไก่ 15. ที่พ้นื ที่ที่พรมด้วยหญ้าให้ไก่ได้ออกมาใช้ชีวิตตามธรรมชาติ 16. มีภาชนะสําหรับใส่ อาหารและนํ้าสําหรับเลี้ยงไก่ 17. มีกล่องหรื อเข่งสําหรับเป็ นรังไข่


25

การศึกษาพืน้ ที่จริงขั้นต้ น ผลการศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง

ภาพที่ 3 - 2 ภาพศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง ที่มา : ภาพถ่ายจากสถานที่จริ ง

ภาพที่ 3 - 3 ภาพธนาคารขยะ มูลนิธิกสิ กรรมธรรชาติ ที่มา : ภาพถ่ายจากสถานที่จริ ง จัดทําธนาคารขยะ แยกขยะออกเป็ นประเภท จะทําให้ขยะไม่เป็ นปั ญหากับมนุ ษย์และ สิ่ งแวดล้อม ช่วยลดปริ มาณขยะการทําให้ปริ มาณขยะที่จะทิ้งลดลง อาจโดยการนําสิ่ งที่เป็ นขยะ นั้นกลับมาใช้ประโยชน์อีก


26

ภาพที่ 3-4 ภาพระบบบําบัดนํ้าเสี ย มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ ที่มา : ภาพถ่ายจากสถานที่จริ ง

ภาพที่ 3 - 5 ภาพเลี้ยงหมูในพื้นที่จากธรรมชาติ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ ที่มา : ภาพถ่ายจากสถานที่จริ ง


27

ภาพที่ 3 - 6 ภาพการศึกษาวิธีการทําถ่านจากเศษไม้มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ ที่มา : ภาพถ่ายจากสถานที่จริ ง

ภาพที่ 3 – 7 ภาพการศึกษาพื้นที่ปลูกสําหรับโปรตีนพืช มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ ที่มา : ภาพถ่ายจากสถานที่จริ ง


28

ภาพที่ 3 - 8 ภาพการศึกษาการทําปุ๋ ยหมักชีวภาพ มูลนิธิกสิ กรรมชาติ ที่มา : ภาพถ่ายจากสถานที่จริ ง ทีมพืน้ ทีอ่ าหารประเภทพืช จากการเก็บรวมรวมข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ร่วมกัน จะมีการแบ่งพื้นที่ในการ เพาะปลูก สําหรับพื้นที่วา่ งเปล่า ที่ไม่มีการเพาะปลูก และปรับปรุ งสภาพพื้นดินที่มีความเสื่ อมโทรม ให้เกิดความ อุดมสมบูรณ์และก่อให้ เกิดความสมดุลในพื้นที่การเพาะปลูกแบบผสมผสานนั้นๆ สามารถแบ่งพื้นที่ การเพาะปลูก เป็ น 3 ส่ วนดังนี้ 1. พื้นที่บริ เวณด้านหน้าประตูและทางเดินเข้าศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง 2. แปลงแก้วมังกรหลังบ้านดิน 3. แปลงแก้วมังกรด้านหน้าหอประชุม จากการศึ กษาพื้นที่ โดยรอบของศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง พบว่ามี พ้ืนที่ เหมาะกับการเพาะปลูกพืชเพื่อเป็ นพื้นที่อาหาร 3 ที่คือ


29 1. พื้นที่ บริ เวณด้านหน้าประตูและทางเดิ นเข้าศู นย์ก สิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง เป็ นพื้นที่ว่างและมี ตน้ ไม้ใหญ่จาํ นวนมากจึ งเหมาะแก่การ ปลูกพืชเลื้อย 2. แปลงแก้วมังกรหลังบ้านดิน เป็ นพื้นที่กว้างรู ปหัวใจเหมาะแก่การปลูก พืชอายุที่มีการเจริ ญเติบโตง่ายและมีขนาดต้นที่ไม่ใหญ่มาก 3. แปลงแก้วมังกรด้านหน้าหอประชุ ม เป็ นพื้นที่สําหรับการเพาะปลูกอยู่ แล้ว เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชที่มีอายุไม่เกินหนึ่งปี เพื่อใช้เป็ นอาหาร ตลอดทั้งปี หลังจากนั้นจะทําการวางแผนกระบวนการดําเนิ นงาน ว่าควรมีการเพาะปลูกพืช ชนิดใด ให้มีความเหมาะสมกับสภาพดิน ปั จจัยการรับแสงแดด ความชื้น และอื่นๆถัดไป ทีมระบบนา้ ผลการประเมินพื้นที่จริ ง จากการได้เข้าสํารวจพื้นที่จริ ง ที่ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้องนั้นได้ผลสรุ ปว่า พื้นที่ตอ้ งทําการรื้ อถอนและปรับพื้นที่ใหม่หมดก่อนการทํางานจริ งตาม แผนที่วางไว้ เนื่ องจากพื้นที่ค่อนข้างต่างระดับเป็ นอย่างมากจนทําให้ไม่สามารถวางระบบนํ้าตาม แผนที่วางไว้ได้ โดยพื้นที่จริ งนั้นนอกจากพื้นที่จะต่างระดับแล้วนั้น ยังมีพ้ืนที่บางส่ วนที่ตอ้ งทําการ เข้ารื้ อถอนหญ้าที่สูงและกําจัดแมลงรวมถึงสัตว์มีพิษออก ก่อนวางระบบท่อนํ้าตามแผนที่วางไว้ ทีมโปรตีนปลา จากการที่ได้ไปลงพื้นที่ล่วงหน้าก่อนที่จะลงมือปฏิ บตั ิจริ งทําให้ทีมงานและทาง ศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้องได้มีความเห็นที่ตรงกันว่าจะทําการขุดบ่อเพื่อเลี้ยงปลาที่ร่องระหว่างแปลง แก้วมัง กรบ่อที่ ใ ช้สํา หรั บ อนุ บ าลปลาก็จะเป็ นบ่ อบริ เวณข้า งสํา นักงานส่ วนกระชังปลาก็จะลง บริ เวณบ่อบริ เวณทางเข้าด้านหน้า


30 ทีมไก่ไข่ ชีวภาพ จากการสํ า รวจพื้ น ที่ จ ริ งภายในวัน ศุ ก ร์ 21มิ ถุ น ายน 2556 ณ ศู น ย์ก สิ ก รรม ธรรมชาติ มาบเอื้ อง ได้สํา รวจและตรวจสอบสถานที่ เดิ มที่ เคยเป็ นเพี ย งพื้ นที่ รกร้ างที่ ไ ม่ไ ด้ใ ช้ ประโยชน์และจากสภาพพื้นที่มีเสาให้แล้วจํานวน 9 ต้นซึ่งหากมีการสร้างเล้าไก่ในพื้นที่น้ ีก็สามารถ นําเสามาเป็ นโครงสร้างได้เลยเนื่ องจากมีความแข็งแรงพอสมควร จากการสอบถามเจ้าหน้าที่ ทาง มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องพบว่าเคยมีการเลี้ยงไก่ แต่เนื่องจากบริ เวณพื้นที่มีศตั รู ของไก่เป็ น จํานวนมากได้แก่ สุ นขั งู ตัวเงินตัวทอง จึงทําให้การเลี้ยงไก่ที่ผา่ นมาไม่ประสบความสําเร็ จ ทีมโรงครัวและไบโอแก๊ส ตารางที่ 3 - 1 ตารางการสํารวจพื้นที่และอุปกรณ์ภายในโรงครัว รายการ 1.วัสดุและอุปกรณ์ การทาโรงครัว 1.1 ไม้ 1.2 ปูน 1.3 เสาปูน 1.4 ตะปู 1.5 ค้อน 1.6 จอบ 1.7 เกียง 1.8 ที่ฉาบปูน 1.9 สว่าน 1.10 บุง้ กี๋ 1.11 รถขนดิน 1.12 กระบะผสมปูน 1.13 กระเบื้องปูพ้นื 1.14 กระเบื้องมุงหลังคา 1.15 เสื่ อนํ้ามัน 1.16 โครงเหล็ก

มี (ปริ มาณ)

ไม่มี P P P P P P P P P P P P P P P P

หมายเหตุ


31 รายการ 1.17 รางนํ้าฝน 1.18 ดิน 1.19 ขนาดพื้นที่ 2.พืน้ ทีป่ รุ งอาหาร 2.1 หัวเตาแก๊ส 2.2 ไบโอแก๊ส 3.พืน้ ทีเ่ รียนและรับประทานอาหาร 3.1 โต๊ะ 3.2 เก้าอี้ 3.3 พัดลม 3.4 หลอดไฟ 3.5 ถังนํ้าดื่ม 3.6 สื่ อการเรี ยนรู้ดา้ นโภชนาการ 4.พืน้ ทีจ่ ัดเก็บ 4.1 อุปกรณ์รับประทานอาหาร - ช้อน - ส้อม - จาน - ชาม - ถ้วย - แก้วนํ้า 4.2 อุปกรณ์ทาํ อาหาร - กระทะ - หม้อ - ตะหลิว - ครก - เขียง - มีด

มี (ปริ มาณ)

ไม่มี P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P

หมายเหตุ


32 รายการ - ถุงมือทําอาหาร - ผ้ากันเปื้ อน - กระชอน - ทับพี - กระบวย 4.3 จัดเก็บอาหารสด - ตูเ้ ย็น 4.4 จัดเก็บอาหารแห้ง - ตูเ้ ก็บอาหารแห้ง 5.พืน้ ทีล่ ้าง 5.1 ซิ้งค์ลา้ งจาน 5.2 ก้อกนํ้า 5.3 ผ้าเช็ดจาน 5.4 ผ้าขี้ริ้ว 5.5 สก็อตไบท์ 5.6 โอ่งรองนํ้าฝน 5.7 ที่ควํ่าจาน 5.8 ตะแกรงดักเศษอาหาร 5.9 ฝอยขัดหม้อ 6.การจัดการกับเศษอาหาร 6.1 บ่อดัก - ท่อ PVC - ตะแกรงดักเศษอาหาร 7.การจัดการนา้ เสี ยทางธรรมชาติ 7.1 ท่อนํ้าทิง้ ที่มา : จากการสํารวจจริ ง

มี (ปริ มาณ)

ไม่มี P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P

หมายเหตุ


33 ทีมห้ องสมุด จากการสํารวจพื้นที่จริ งพบว่าห้องสมุดเดิมทางศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้องเคยใช้เป็ น ร้ า นขายของ บรรยากาศโดยรอบบริ เวณห้องสมุ ดมี ล ัก ษณะมื ดทึ บ อี กทั้ง ไม่ ส ะอาดและไม่ ถู ก สุ ขลักษณะ และไม่ปลอดโปร่ ง ผนังชํารุ ด ไม้ผุพงั หลังคาชํารุ ดทําให้หนังสื อเปี ยกชื้ นเวลาฝนตก ไม่มีประตูปิดเพื่อกันสัตว์เข้าไปทําลายหนังสื อ ชั้นวางหนังสื อไม่เพียงพอ หนังสื อไม่มีการแยกเป็ น กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ พื้นที่ นั่งอ่านหนังสื อไม่เป็ นสัดส่ วน และไม่มีผูด้ ู แลรั กษาห้องสมุ ด ทําให้ ห้องสมุดไม่น่าเข้าใช้บริ การ อีกทั้งยังมีอ่างล้างจานเก็บไว้ในพื้นที่หอ้ งสมุด

การวิเคราะห์ ผลการศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง ทีมพืน้ ทีอ่ าการประเภทพืช บริ เวณหน้าประตูทางเข้าจากการสํารวจสภาพพื้นที่พบว่ามีหญ้าขึ้นบริ เวณรอบๆ แต่ไม่สูงมากมีแสงแดดน้อย เนื่องจากมีไม้ยนื ต้นทําให้พ้นื ที่บริ เวณนี้ ได้รับแสงแดดน้อยสภาพดินมี ลักษณะที่แข็งเนื่ องจากดินขาดสารอาหาร และมีลกั ษณะเป็ นดินร่ วนปนดินเหนี ยว จึงทําให้ดินดูด ซับนํ้าไม่ดีพอ พื้นที่เพาะปลูกอยูใ่ กล้แหล่งนํ้าโดยบริ เวณด้านข้างประตูจะมีบ่อนํ้า แต่ยงั ไม่มีระบบ การให้น้ าํ ที่เพียงพอ และพบวัชพืชและศัตรู พืชในบริ เวณนั้นเล็กน้อยเนื่องจากมีหญ้าปกคลุมไม่มาก พื้นที่ทางเข้าด้านขวาสภาพพื้นที่ มีการปลูกพืชหลายชนิ ดทั้งพืชชั้นสู งและพืชชั้น ตํ่าแบบผสมผสานดินมีลกั ษณะเป็ นดินลูกรัง ต้องทําการปรับปรุ งหน้าดินก่อนทําการเพาะปลูก โดย นํ้า มี แหล่ ง นํ้าบางช่ วงของทางเดิ นแต่ ยงั ไม่มีการวางระบบนํ้าอย่างเพียงพอและทัว่ ถึ ง ทางด้าน แสงแดด เนื่ องจากมีไม้ยืนต้นจํานวนมากทําให้พ้ืนที่บริ เวณนี้ ได้รับแสงแดดน้อยและพบศัตรู พืช เนื่องจากในพื้นที่เพาะปลูกเป็ นพื้นที่ภูเขา และมีหอยทากจํานวนมาก แปลงแก้วมังกรหลังบ้านดินจากการสํารวจสภาพพื้นที่พบว่ามีหญ้าขึ้นรกทึบ มีตน้ แก้วมังกรที่ ตายแล้วและมี เสาปู นสํา หรั บ คํ้า ต้นแก้วมัง กรจํา นวนมากสภาพดิ นมี ล ัก ษณะที่ แข็ง เนื่ องจากดิ นขาดสารอาหาร และมีลกั ษณะเป็ นดินร่ วนปนดินเหนี ยว จึงทําให้ดินดูดซับนํ้าไม่ดีพอ ทางด้านนํ้า มีการวางระบบนํ้าแบบสปริ งเกอร์ เพื่อให้น้ าํ ได้สะดวกแสงแดด มีแดดแรงและเนื่ องจาก พื้นที่เพาะปลูกเป็ นที่โล่ง ทําให้ได้รับแสงแดดอย่างทัว่ ถึ ง และพบสัตว์มีพิษในพื้นที่ เนื่ องจากใน พื้นที่มีหญ้ารกสู ง เป็ นที่อยูข่ องสัตว์มีพิษ


34 แปลงแก้วมังกรหน้าหอประชุ มสภาพพื้นที่ มีการต้นแก้วมังกรอยู่แล้ว และมีผกั ปั ญญาอ่ อนปลู ก แซมแปลงแก้วมังกรเล็ก น้อย แต่ย งั ใช้พ้ื นที่ ไ ม่ คุ ้มค่ า สภาพดิ นมี ล กั ษณะที่ แข็ง เนื่ องจากดิ นขาดสารอาหาร และมีลกั ษณะเป็ นดินร่ วนปนดินเหนี ยว จึงทําให้ดินดูดซับนํ้าไม่ดีพอ สภาพนํ้า พื้นที่เพาะปลูกอยูห่ ่างไกลแหล่งนํ้า และไม่มีระบบการให้น้ าํ ต้องใช้วิธีการเดินรดนํ้า และ แสงแดด มีแดดแรงและเนื่องจากพื้นที่เพาะปลูกเป็ นที่โล่ง ทําให้ได้รับแสงแดดอย่างทัว่ ถึง ทีมระบบนา้ จากการไปสํารวจพื้นที่จริ ง ณ ศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้องพบว่าทางศูนย์ไม่มีจาํ นวน คนเพียงพอที่จะใช้ในระบบรดนํ้า พืชและต้นไม้ ตลอดแปลงแก้วมังกรและจากการสํารวจพื้นที่ที่จะ มีการก่อสร้างเพิ่มเติม ที่ตอ้ งใช้ระบบนํ้าและครอบคลุมทั้งหมด ทางกลุ่มของเราจึงได้วางแผนและ แก้ไขปั ญหานี้โดยการต่อระบบนํ้าของแก้วมังกรตลอดจนพื้นที่ก่อสร้างเพิ่มเติมเข้ากับระบบนํ้าของ ทางศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ โดยสามารถกระจายนํ้าได้อย่างทัว่ ถึ ง โดยใช้ระบบ นํ้าหยด สปิ งเกอร์ และปล่อยนํ้าให้สถานที่ที่ตอ้ งการเพิ่มเติมและยังเดิ นระบบนํ้าเพิ่มเติมเข้าไปให้ทางศูนย์กสิ กรรม ธรรมชาติไว้ใช้ต่อไปในอนาคต ตลอดจนสามารถให้ความรู ้ต่อผูเ้ ข้ามาศึกษาที่นนั่ ได้สามารถนําไป ประยุกต์ใช้กบั ฟาร์ มหรื อการหรื อการเกษตรของตนเอง ทีมโปรตีนปลา จากการสํารวจพื้นที่จริ งได้ตกลงกันว่าจะลงมือขุดบ่อปลาตรงร่ องแปลงแก้วมังกร เพราะเป็ นพื้นที่ที่เหมาะ เป็ นที่สูงเหมาะแก่การทําบ่อปลา นํ้าไม่สามารถท่วมถึงสามารถตักนํ้าจาก บ่อปลาขึ้ นมารดนํ้าแปลงผักได้ ส่ วนแหล่งอนุ บาลปลาก็ได้ทาํ การตกลงกันว่าจะเป็ นบ่อปลาข้าง สํา นักงานเพราะเป็ นที่ อนุ บาลปลาอยู่ก่ อนแล้ว แต่ ป ลาได้พ น้ ช่ วงการอนุ บ าลแล้วจึ งได้นาํ ปลา ออกไปเลี้ยงต่อในบ่อของภาคอีสานและภาคใต้ของศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องเพื่อให้ปลาได้ เจริ ญเติบโตในแหล่งนํ้าธรรมชาติต่อไปและบ่อสุ ดท้ายคือการลงกระชังปลาซึ่ งตอนแรกได้วางแผน กันว่าจะลงตรงข้างโรงครัว แต่พอใกล้วนั ปฏิบตั ิจริ งนํ้าในบริ เวณนั้นก็แห้งขอด จึงได้ตกลงกันใหม่ ว่าจะลงที่บริ เวณทางเข้าด้านหน้า


35 ทีมไข่ ไก่ชีวภาพ จากการสํารวจพื้นที่จริ ง สําหรับสร้างเล้าไก่น้ นั ได้ทาํ การประชุ มและวิเคราะห์ถึง สิ่ งที่จะสามารถทําได้เพื่อให้การเลี้ยงไก่เป็ นไปด้วยดี ทางกลุ่มได้ทาํ การแบ่งส่ วนงานดังนี้ เข้าป่ าไผ่ เพื่อตัดไม้นาํ มาทําเป็ นโครงสร้างเล้าไก่ท้ งั หมด มุงหลังคาด้วยหญ้าคา และปิ ดผนังด้วยไผ่สานเพื่อ ป้ องกันแดดและฝน ขุดพื้นที่รอบบริ เวณเพื่อทํารั้วจากไม้ไผ่และฝังอวนเพื่อป้ องกันศัตรู ของไก่ ขึง อวนโดยรอบรวมถึ งปิ ดด้านบนเพื่อป้ องกันการแพร่ เชื้ อจากนก ทั้งหมดนี้ เป็ นแผนงานย่อยที่ จะ ปฏิบตั ิจริ งในวันลงพื้นที่ มีวตั ถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ ส่ งเสริ มการดํารงชี วิต ร่ วมกับธรรมชาติโดยการพึ่งพากันระหว่ามนุษย์และธรรมชาติ ทีมโรงอาหารและไบโอแก๊ส จากการสํารวจพื้นที่และสอบถามข้อมูลแล้ว พบว่าในส่ วนของการปรับพื้นที่และ โครงสร้างภายนอก ทางด้านศูนย์การเรี ยนรู้กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องจะเป็ นผูด้ าํ เนิ นการในส่ วน นี้ หากมีการดําเนิ นการแล้ว เสร็ จทางศูนย์ฯ จะประสานงานมาทางหัวหน้าทีม โดยมีทุนบางส่ วนที่ เหลื อจากการทําโครงสร้ า ง มาใช้ใน การจัดทําพื้ นที่ ภายในโรงครั วต่ อไป ซึ่ ง ในส่ วนของพื้นที่ ภายในโรงครัว อาทิเช่น ตูจ้ ดั เก็บอุปกรณ์เครื่ องครัวและการจัดหาอุปกรณ์ จําพวก โต๊ะ เก้าอี้ สื่ อการ เรี ยนรู ้ และอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ภายในโรงครัว ทางทีมงานจะเป็ นผูด้ าํ เนินการและจัดหาอุปกรณ์และ วัสดุ ที่ให้ในการดําเนิ นงาน โดยการจัดหาทุนเพิ่มเติมในการสร้ างโรงครัว จะมาจากการระดมทุน จากแหล่งต่างๆ ทีมห้ องสมุด จากการสํารวจพื้นที่จริ ง สําหรับห้องสมุดนั้น ได้ทาํ การประชุ มรวมกลุ่มกันและ วิเคราะห์ถึงสิ่ งที่จะสามารถปรับปรุ ง และแก้ไข พื้นที่เพื่อให้เกิดแหล่งการเรี ยนรู ้ที่สามารถใช้งาน ได้จริ ง โดยทําการแยกเป็ นโครงงานย่อยๆ ดังนี้ ทําความสะอาดบริ เวณพื้นที่โดยรอบ ซ่ อมแซมและ ต่อเติมส่ วนที่ชาํ รุ ด ติดประตู ทาสี ผนังห้องภายในและภายนอกประกอบชั้นวางหนังสื อปูพ้ืนด้วยสื่ อ นํ้ามันบริ เวณภายในห้องสมุดจัดเรี ยงหนังสื อตามหมวดหมู่และนําเข้าชั้นวางภายในห้องสมุดและ ทําการส่ งมอบห้องสมุดให้กบั ทางโรงเรี ยนปูทะเลย์เพื่อใช้หอ้ งสมุดในการศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม


36

การวางแผนโครงการ การกาหนดวิสัยทัศน์ ร่ วมสร้างพื้นที่การเรี ยนรู ้ เศรษฐกิจพอเพียง โดยเฉพาะอย่างยิง่ โรงเรี ยนวิถีพุทธเพื่อการ พึ่งพาตนเอง ในพื้นที่มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติเอื้อง

พันธกิจ 1. สร้างพื้นที่การเรี ยนรู ้ให้ท้ งั นักเรี ยนโรงเรี ยนวิถีพุทธและเกษตรกรที่เข้าฝึ กอบรมหรื อดู งานในพื้นที่มูลนิธิ 2. ร่ วมสร้างสิ่ งฐานทรัพยากรให้กบั โรงเรี ยน เพื่อให้สามารถเป็ นโรงเรี ยนพึ่งตนเองได้ ทั้ง ด้านสื่ อการเรี ยน ห้องสมุด โรงครัว พื้นที่อาหาร 3. ฐานทรัพยากรต่างๆ ที่โครงการมอบให้ จะต้องมีคุณสมบัติเป็ นทั้งทรัยพากรและจะต้อง สามารสร้างการเรี ยนรู้ให้ได้นกั เรี ยนและกลุ่มเกษตรที่เข้าฝึ กอบรมได้ 4. พื้นที่อาหารจะต้องถูกออกแบบให้โรงเรี ยนสามารถพึ่งตนเองได้ตลอดทั้งปี มีการจัดซื้ อ อาหารให้กบั นักเรี ยนน้อยที่สุด

วัตถุประสงค์ โครงการ 1. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้มีความรู ้ความสามารถทั้งทางทฤษฏีและปฏิบตั ิจริ ง ตลอดจนปลูกฝัง ค่านิยมแห่งคุณธรรม 2. เพื่อจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ให้เป็ นไปตามกระบวนทัศน์พระราชทานแห่งองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ที่วา่ " เรี ยนความรู ้ ทําการงานเสริ มสร้างความสามารถ และทําความดี"


37

การกาหนดโครงสร้ างการบริหารและทีมงาน คณะกรรมการบริหาร ประธานโครงการ

สายงานปฏิบต ั กิ าร

สายงานสนับสนุน

ห ้องสมุด -ปรับปรุงอาคาร ั ้ วาง -ชน -หนังสอื และสอื่

สารสนเทศโครงการ -สารสนเทศวิชาการ -แผนและรายงานผลการดาเนินงานโครงการ -ประเมินผลโครงการ

พื้นทีพ ่ ช ื อาหาร -พื้นทีอ ่ าหารและการเรียนรู ้ -ระบบการให ้น้ า -จัดหาอุปกรณ์

แผนกาลังคนและกิจกรรมอาสาสมัคร -กาลังคน -ยานพาหนะ -ประสานงานชวั่ โมงกิจกรรม -พิธก ี าร ั ทนาการ -สน -สวัสดิการ -ประเมินผลการเรียนรู ้และความพึงพอใจร่วมกิจกรรม -จัดหา/สง่ คืนอุปกรณ์

ั ว์ โปรตีนสต -ไก่ไข่ -ปลา

โรงครัว -อุปกรณ์ภายในโรงครัว -เครือ่ งครัว -อาหารแห ้งและเครือ่ งปรุง -ไบโอแก๊ส

สอื่ การเรียนรู ้ -คอมพิวเตอร์มอ ื สอง -หนังสอื -อุปกรณ์การเรียน วางระบบน้ าโครงการ

การบัญช ี การเงิน -งบประมาณ -จัดหาทุน -เงินรับ -เงินจ่าย ั พันธ์และสอื่ ข ้อมูลโครงการ ประชาสม -เว็บบล็อก -ศลิ ปกรรม -วิดโี อ ั พันธ์ << แผนงานระบุสอื่ ทีใ่ ชทั้ ง้ หมด -ประชาสม

ภาพที่ 3 - 9 โครงสร้างการบริ หารและทีมงาน


38

แผนผังการดาเนินงานในภาพรวม

ภาพที่ 3-10 แผนผังการดําเนินงานในภาพรวม

กาหนดเวลาแผนดาเนินงาน ตารางที่ 3 – 2 ตารางกําหนดแผนดําเนินงาน ที่ 1 2 3 4 5 6 7

รายละเอียด ศึกษาพื้นที่เบื้องต้น ประชุมวางแผนงานในภาครวม ประชุมวางแผนกําลังคน จัดทําแผนการดําเนินงานเฉพาะด้าน จัดส่งแผนงานทั้งหมด ดําเนินงานในขั้นตอนก่อนลงพื้นที่ ลงพื้นที่ดาํ เนินงาน

8

รายงานและประเมินผลการดําเนินงาน ณ พื้นที่

9

ส่งรายงาน "การฝึ กปฏิบตั ิการบริ หาร โครงการ"

ที่มา : จากการวางแผนการดําเนินงาน

มิถุนายน กรกฎาคม สิ งหาคม กันยายน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4


39

แผนงบประมาณ ตารางที่ 3 - 3 ตารางแผนงบประมาณโครงการ ฝ่ ายงาน

จานวน

1.ห้องสมุด 2.พื้นทีอ่ าหาร 3 ระบบน้ า 4.ไก่ไข่ 5.ปลา 6.โรงครัว 7.ไบโอแก๊ส 8.สื่อการเรี ยนรู้ 9.งานศึกษาการบัญชี บริ หาร 10.แผนกาลังคนในกิจกรรมอาสาสมัคร 11.ประชาสัมพันธ์และสื่อข้อมูลโครงการ

15,601.00 35,360.00 11,700.00 15,210.00 3,980.00 14,636.00 2,325.00 8,500.00 500.00 72,000.00 3,000.00

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

รวมงบประมาณทั้งโครงการ

182,812.00

บาท

ดัชนีประเมินผลโครงการ 1. ตัวชี้วดั เชิงปริ มาณ 1.1 จํานวนพื้นที่อาหารเพิม่ ขึ้นไม่ต่าํ กว่าร้อยละ 70 1.2 จํานวนพื้นที่การเรี ยนรู ้เพิ่มขึ้นไม่ต่าํ กว่าร้อยละ 70 1.3 จํานวนผูเ้ ข้าร่ วมโครงการไม่ต่าํ กว่าร้อยละ 80 2. ตัวชี้วดั เชิงคุณภาพ 2.1 สมาชิกมีความรู ้ความเข้าใจในโครงการและมีความสัมพันธ์อนั ดีต่อกัน(สังเกตและ สัมภาษณ์) 2.2 ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการมีจิตสํานึกที่ดีในการทําประโยชน์เพื่อสังคมและชุมชน


40

การฝึ กปฏิบัตบิ ริหารโครงการ – ทีม จัดสรรกาลังคนและกิจกรรมอาสา ข้ อมูลเกีย่ วกับทีมงาน สมาชิกทีมงาน และหน้ าที่ 1. นาย ฐิติพงศ์ สุ ทธิโสม รหัสนิสิต 5430111121 หน้ าที่ จัดสรรกําลังคนและติดต่อประสานงาน พันธกิจหลักของทีมงาน 1. จัดสรรกําลังคนเข้าปฏิบตั ิการในทีมงานฝ่ ายปฏิบตั ิการ 2. ติดต่อขอใช้ยานพาหนะเพื่อใช้ในการเดินทางไปปฏิบตั ิงานจริ ง 3. จัดหาอาหารเข้าให้ผเู ้ ข้าร่ วมปฏิบตั ิงานในวันงาน 4. ติดต่อประสานงานอาหารกลางวันที่ศูนย์กสิ กรรม 5. ติดต่อประสานงานที่พกั สําหรับนิสิตที่ตอ้ งการค้างคืนที่ศูนย์กสิ กรรม ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ 1. เชิงปริ มาณ 1.1 ผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรมอาสามากกว่าร้อยละ 90ได้ลงมือปฏิบตั ิงานในพื้นที่จริ ง 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรมอาสาได้ปฏิบตั ิงานในพื้นที่จริ งได้อย่างเหมาะสม


41 ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1. ได้นาํ ความรู้จากการศึกษาทางทฤษฎี และได้นาํ มาปฏิบตั ิจริ ง 2. ได้เรี ยนรู ้ประสบการณ์การทํางานจริ ง ที่ไม่สามารถหาได้จากในห้องเรี ยน 3. ฝึ กทักษะกระบวนการคิด การวางแผนการทํางาน 4. ฝึ กการทํางานเป็ นทีม รู ้จกั แบ่งหน้าที่การทํางาน

ข้ อมูลทางวิชาการ การจัดสรรกาลังคน6 1. ความหมายของกําลังคนนั้น อาจกํา หนดไว้ได้เป็ น 4 ลัก ษณะด้วยกันดัง นี้ กําลังคนหมายถึง 1.1 คนที่ถูกนําไปใช้หรื อจะถูกนําไปใช้ในการปฏิบตั ิหน้าที่ และงานต่างๆ 1.2 ประชากรในวัยแรงงานซึ่ งรวมทั้งประชากรที่อยูใ่ นและนอกกําลังแรงงาน และทั้งผูท้ ี่มีงานทําและผูว้ า่ งงาน 1.3 กําลังแรงงาน และ 1.4 ทรัพยากรมนุษย์ในรู ปของปัจจัยการผลิต 2. กํา ลัง คนเป็ นปั จจัยการผลิ ตที่ สําคัญต่ อระบบเศรษฐกิ จเพราะกําลังคนเป็ น ตัวกําหนดยอดรวมของผลผลิ ตรวมของประเทศ ระดับการบริ โภคระดับการ ออมและระดับการลงทุ น และในทางกลับกันระบบเศรษฐกิ จหรื อปั จจัยทาง เศรษฐกิ จเอง ก็เป็ นตัวกําหนดกําลังคนในแง่ ของคุ ณภาพปริ มาณ โครงสร้ าง การกระจาย และการเคลื่อนไหของกําลังคน

6

บ้านจอมยุทธ์. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ กาํ ลังคน[ออนไลน์]. 21ตุลาคม 2556 แหล่งที่มาhttp://www.baanjomyut.com/library_2/extension-4/manpower_economics/index.html


42

แผนการดาเนินงาน 1. รับรู ้จาํ นวนผูท้ ี่เข้าร่ วมกิจกรรมอาสา 2. จัดแบ่งคนให้เข้าตามกลุ่มปฏิบตั ิงานให้เหมาะสม 3. ติดต่อประสานงานยานพาหนะที่ใช้ในการเดินทาง 4. ติดต่อเรื่ องอาหารของผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรมอาสา 5. ประสานงานกับทางศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ

แผนงบประมาณ ตารางที่ 3 – 4 ตารางงบประมาณค่าใช้จ่ายทีมจัดสรรกําลังคนและกิจกรรมอาสา งบประมาณเดิม ลาดับ

รายการ

1 2

รถทัวร์ปรับอากาศ อาหารเช้า

3

นํ้าเปล่า

ราคาหน่ วยละ

จานวน

จานวนวัน หน่ วยนับ

รวมราคา

3,500.00 20.00

4 180

3 3

คัน กล่อง

42,000.00 10,800.00

55.00

15

1

แพ็ค

825.00

สรุ ปยอดรวมงบประมาณ

53,625.00


43 ค่ าใช้ จ่ายทีจ่ ่ ายจริง ลาดับ 1 2 3 4 5

รายการ รถทัวร์ปรับ อากาศ–เทศบาล แหลมฉบัง รถทัวร์ปรับอากาศ - ศรี ราชาทัวร์ อาหารเช้า - รวม กับข้าว อาหารเช้า - แยก กับข้าว นํ้าเปล่า

ราคาหน่ วยละ จานวน

จานวนวัน หน่ วยนับ รวมราคา

3,500.00

4

2

คัน

28,000.00

7,000.00

4

1

คัน

28,000.00

20.00

45

3

กล่อง

2,700.00

25.00

135

3

กล่อง

10,125.00

55.00

15

1

แพ็ค

825.00

สรุ ปยอดรวมงบประมาณ

69,650.00

ผลต่ า งของยอดงบประมาณ และค่ า ใช้จ่า ยจริ ง 16,025.00 บาท เนื่ องมาจากรถเทศบาล แหลมฉบังไม่สามารถให้บริ การได้ จึงได้ติดต่อใช้บริ การของ ศรี ราชาทัวร์ โดยมีค่าเช่าต่อคันวันละ 7000 บาท โดยวัน ที่ เ สาร์ ที่ 14 ใช้ร ถในการเดิ น ทาง 3 คัน คันละ 4,000 บาท ค่ า รถในวันนี้ คื อ 12,000 บาท วันอาทิตย์ที่ 15 ใช้รถในการเดินทาง 4 คัน คันละ 4,000 บาท ค่ารถในวันนี้ คือ 16,000 บาท และวันอาทิตย์ที่ 15 นําเงิน 800 บาทเป็ นสิ นน้าใจให้พนักงานขับรถ โดยค่าอาหารกลางวัน เป็ น เงินที่จะนําไปสมทบช่วยค่าอาหารกลางวันที่โรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ อาจมากกว่าหรื อน้อย กว่าก็ได้


44

กาหนดเวลาแผนดาเนินงานและการดาเนินงาน วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน 2556 เวลา 05.00 น. 06.00 น. 07.30 น. 07.45 น. 08.10 น. 08.20 น. 12.00 น. 13.00 น. 18.00 น. 19.00 น.

กิจกรรม เริ่ มรวมตัวและเช็คชื่อบริ เวณอาคาร 9 ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เดินทางถึงศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง เริ่ มพิธีเปิ ดโครงการสร้างพื้นที่อาหารโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ ประชุมจัดแบ่งงานและหน้าที่รับผิดชอบ แยกย้ายปฏิบตั ิงานที่ได้รับมอบหมาย พักรับประทานอาหารกลางวัน เริ่ มปฏิบตั ิงานในช่วงบ่าย เก็บอุปกรณ์ รวมตัวเช็คชื่ อสมาชิก และสรุ ปงานที่ได้ปฏิบตั ิไปแล้ว เดินทางกลับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วันเสาร์ ที่ 14 กันยายน 2556 เวลา 05.00 น. 06.00 น. 07.30 น. 08.00 น. 12.00 น. 13.00 น. 18.00 น. 19.00 น.

กิจกรรม เริ่ มรวมตัวและเช็คชื่อบริ เวณอาคาร 9 ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เดินทางถึงศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง แยกย้ายปฏิบตั ิงานในส่ วนที่ยงั ไม่สาํ เร็ จ พักรับประทานอาหารกลางวัน เริ่ มปฏิบตั ิงานในช่วงบ่าย เก็บอุปกรณ์ รวมตัวเช็คชื่ อสมาชิก และสรุ ปงานที่ได้ปฏิบตั ิไปแล้ว เดินทางกลับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


45 วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน 2556 เวลา 05.00 น. 06.00 น. 07.30 น. 08.00 น. 12.00 น. 13.00 น. 16.00 น. 17.00 น. 18.30 น.

กิจกรรม เริ่ มรวมตัวและเช็คชื่อบริ เวณอาคาร 9 ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เดินทางถึงศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง เริ่ มแยกย้ายเก็บงานที่ยงั ไม่เสร็ จให้เรี ยบร้อย พักรับประทานอาหารกลางวัน เริ่ มเก็บงานในช่วงบ่าย เริ่ มการส่ งมอบงานต่างๆให้กบั ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง พิธีปิดโครงการสร้างพื้นที่อาหารโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ สิ้ นสุ ดโครงการและเดินทางกลับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ภาพการดาเนินงาน

ภาพที่ 3 – 11 ภาพการดําเนินงานของทีมจัดสรรกําลังคนและจิตอาสา

ภาพที่ 3 – 12ภาพการดําเนินงานของทีมจัดสรรกําลังคนและจิตอาสา


46

ภาพที่ 3 – 13 การดําเนินงานของทีมจัดสรรกําลังคนและจิตอาสา

สรุปผลการดาเนินงานโครงการ สามารถดําเนินงานที่กาํ หนดไว้ได้สาํ เร็ จลุล่วงตามวันเวลาที่กาํ หนดอย่างมีประสิ ทธิภาพ และมีประสิ ทธิ ผล พร้อมทั้งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ร่วมของโครงการและผลปฏิบตั ิงานบรรลุ วัตถุประสงค์ที่วางไว้

การฝึ กปฏิบัตบิ ริหารโครงการ-ทีมประชาสัมพันธ์ ข้ อมูลเกีย่ วกับทีมงาน ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่หลักในการเก็บรวบรวมข้อมูลหลักฐานจากทุกๆฝ่ ายปฏิบตั ิงาน ตั้งแต่การสํารวจพื้นที่ก่อน-หลังของกระบวนการทํางาน รวมไปถึงการเข้าทํางานพื้นที่จริ ง ณ ศูนย์ กสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้ อง ที มงานของเราจึ งแบ่ งหน่ วยงานย่อยๆ ได้แก่ ฝ่ ายถ่ ายภาพนิ่ ง ฝ่ าย ถ่ายภาพวีดีโอ ฝ่ ายประสานงานกับหน่ วยงานต่างๆ รวมไปถึ งฝ่ ายเบื้องหลังที่ทาํ การตัดต่อวีดีโอ เพื่อรายงานผลการคืบหน้าความสําเร็ จของงาน ออกมาในรู ปแบบของสื่ อ ตลอดจนสามารถให้ ความรู ้ต่อผูท้ ี่มาศึกษาหรื อผูท้ ี่สนใจ เพื่อนําไปประยุกต์ใช้และเป็ นวิทยาทานได้


47 สมาชิกและหน้ าที่งาน 1. นางสาวจิรารัตน์ 2. นางสาวสมิตา 3. นางสาวชนาพร 4. นางสาวณวัน 5. นางสาวหทัยรัตน์ 6. นางสาวลักษณารี ย ์ 7. นางสาวชิดชนก 8. นางสาวนภาภรณ์ 9. นางสาวอรวรรณ 10.นางสาวดวงกมล 11.นางสาวจุฑามาศ

ไม้ไหว เกียรติสารสกุล คงอ้วน จันทร เหล่าสําราญ ศรี สุขใส มีรัตน์ แซ่โหงว พรศิริพนั ธุ์ แสงทินกร ใสสด

หัวหน้าฝ่ าย รองหัวหน้าฝ่ าย ถ่ายภาพ ถ่ายภาพ ถ่ายภาพเคลื่อนไหว พิธีกร จัดทําวีดีโอ จัดทําวีดีโอ จัดทําวีดีโอ ประสานงาน ประสานงาน

คาอธิบายลักษณะงานตามหน้ าที่ 1. หัวหน้ าฝ่ าย (นางสาวจิรารัตน์ ไม้ ไหว)ผูร้ ับผิดชอบฝ่ ายประชาสัมพันธ์ให้ เป็ นไปตามวิสัยทัศน์และพันธกิจที่ต้ งั ไว้ โดยจะมอบหมายงานย่อยๆ โดย กระจายงานให้ฝ่ายต่างๆ ที่จะกล่าวถึงต่อไป 2. รองหัวหน้ าฝ่ าย(นางสาวสมิตา เกียรติสารสกุล)มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลงานที่ ได้รั บ มอบหมายอย่า งใกล้ชิ ด ติ ด ตามผลคื บ หน้ า ความสํ า เร็ จ งานของฝ่ าย ประชาสัมพันธ์ รายงานต่อหัวหน้าฝ่ ายต่อไป 3. ฝ่ ายถ่ ายภาพ(นางสาวชนาพร คงอ้ วนและ นางสาวณวัน จันทร)มี หน้าที่เก็บ รวบรวมภาพผลการปฏิ บ ตั ิ ก ารของหน่ วยงานทุ ก ๆหน่ วยงานให้ออกมาใน รู ปแบบของภาพนิ่ง ตั้งแต่กระบวนการแรก ตลอดจนกระบวนการสุ ดท้าย โดย การจัดเก็บทุกอย่างให้ออกมาอยูใ่ นรู ปแบบของหลักฐาน 4. ฝ่ ายถ่ ายภาพเคลื่อนไหว (นางสาวหทัยรัตน์ เหล่ าสาราญ)มีหน้าที่เก็บรวบรวม ภาพผลการปฏิบตั ิงานของหน่ วยงานทุกๆหน่วยงานให้ออกมาในรู ปแบบของ


48 ภาพเคลื่ อนไหว เพื่อนําเสนอเป็ นข่าวสาร เอกสารการบรรยายให้ความรู ้ รวม ไปถึ ง การออกสื่ อ สารสนเทศให้ บุ ค คลภายนอกได้รู้ ถึ ง การทํา กิ จ กรรมที่ มี ประโยชน์ ณ ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง 5. ฝ่ ายพิธีกร(นางสาวลักษณารี ย์ ศรี สุขใส)มีหน้าที่รับผิดชอบในการสัมภาษณ์ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ โครงการ เพื่ อ นํา เสนอร่ ว มกับ สื่ อ วี ดี โ อ และเอกสาร บรรยายให้ความรู ้ต่อบุคคลภายในและภายนอก 6. ฝ่ ายจัดทาวีดีโอ/สื่ อ (น.ส. ชิ ดชนก มีรัตน์ ,น.ส. นภาภรณ์ แซ่ โหงว และ น.ส. อรวรรณ พรศิ ริพันธุ์ )มี หน้าที่ จดั ทําวีดีโอในภาพรวมทั้ง หมดของโครงการ ตั้งแต่ตน้ จนจบ นําเสนอออกมาเป็ นข่าวสาร เอกสารให้ความรู ้ รวมไปถึงการ ออกสื่ อสารสนเทศให้บุคคลภายนอกถึงกิจกรรมที่มีประโยชน์ ณ ศูนย์กสิ กรรม ธรรมชาติมาบเอื้อง 7. ฝ่ ายประสานงาน(นางสาวดวงกมล แสงทินกรและ นางสาวจุ ฑามาศ ใสสด)มี หน้าที่ รับผิดชอบติ ดต่ อ สื่ อสาร และประสานงานกับหน่ วยงานภายในและ ภายนอก ประสานงานของความร่ วมมื อในการเก็บ รวบรวมข้อมู ลหลักฐาน รวมไปถึงการกําหนดวัน เวลา สถานที่ ในการจัดกิจกรรมต่างๆที่มีประโยชน์ วิสัยทัศน์ ของทีม มุ่งสร้ างสารสนเทศ การสื่ อสารประชาสัมพันธ์ และกระจายแหล่งการเรี ยนรู ้ ที่มี ประสิ ทธิภาพ พันธกิจ ของทีม 1. ทีม งานทุ ก คนสามารถนําความรู้ ที่ ไ ด้ศึ ก ษามาปฏิ บตั ิ ไ ด้จริ งในการสื่ อสาร ประชาสัมพันธ์ 2. ทางศูนย์ กสิ กรรมฯ สามารถเผยแพร่ แหล่งการเรี ยนรู ้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ในระยะยาว


49 3. การเป็ นสื่ อกลางในการประชาสัมพันธ์ที่ทางทีมงานได้จดั ทําสามารถใช้งาน ได้จริ งและประโยชน์ต่อศูนย์กสิ กรรม ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ 1. ผูค้ นภายนอกรู ้จกั ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องมีจาํ นวนเพิ่มขึ้น 2. มีการจัดทําแหล่งประชาสัมพันธ์ให้เผยแพร่ ได้สะดวกและน่าสนใจมากขึ้น 3. มีการติดต่อในการใช้พ้นื ที่ในศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมากขึ้น 4. มีผเู้ ข้ามาชมศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องมากขึ้น ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1. ทําให้นิสิตสามารถนําสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้ มาประยุกต์ใช้ได้จริ งในชีวติ ประจําวัน 2. การสื่ อสารประชาสัมพันธ์ สามารถใช้ได้จริ งและก่อให้เกิ ดประโยชน์ต่อศูนย์ กสิ กรรมธรรมชาติ 3. การสื่ อสารประชาสัมพันธ์ สามารถใช้ได้ในระยะยาว 4. การสื่ อสารประชาสัมพันธ์จะช่ วยให้ศูนย์กสิ กรรมได้รับความสะดวกในการ ช่วยให้ผอู ้ ื่นได้เข้ามาใช้ เป็ นแหล่งการเรี ยนรู ้ เป็ นพื้นที่อบรม ช่วยสร้างรายได้ ให้กบั ศูนย์กสิ กรรม


50 การวางแผนก่อนเข้ าศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง 1. ศึ ก ษาข้อ มู ล ของมู ล นิ ธิ ศู นย์ก สิ ก รรมธรรมชาติ ม าบเอื้ อ ง ว่า มี ค วามเป็ นมา อย่างไร 2. จัดตั้งบอร์ ดบริ หารเพื่อดําเนินโครงการนี้ 3. แบ่งกลุ่มสายปฏิบตั ิการออกเป็ น 8 สาย ได้แก่ พื้นที่อาหาร เล้าไก่ บ่อปลา โรง ครัว ไบโอแก๊ส ระบบนํ้า ห้องสมุดและ สื่ อการเรี ยนรู ้ 4. แบ่งกลุ่มสายงานสนับสนุ นออกเป็ น 5 สาย ได้แก่ สารสนเทศโครงการ แผน กํา ลัง คนและกิ จ กรรมอาสาสมัค ร การบัญ ชี การเงิ น และประชาสั ม พัน ธ์ สื่ อข้อมูลโครงการ 5. สายการปฏิบตั ิการที่ได้รับมอบหมายคือ ประชาสัมพันธ์ 6. ประชุ ม กลุ่ ม เพื่ อวางแผนการดํา เนิ น งาน ก่ อ นเข้า ศึ ก ษาพื้ นที่ จริ ง ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ผลการศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง จากการไปสํารวจพื้นที่จริ ง ณ ศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้อง พบว่า ทางศูนย์ไม่มีจาํ นวน คนเพียงพอที่จะใช้ในการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร เอกสารการบรรยายให้ความรู ้แต่ละพื้นที่ การออก สื่ อสารสนเทศให้บุคคลภายนอกได้รู้ถึงการทํากิจกรรมที่มีประโยชน์ การจัดหากองทุนบริ จาค เช่น รับบริ จาคเงิน รับบริ จาคเป็ นสิ่ งของ และการช่วยเหลือในเรื่ องของแรงคน การประชาสัมพันธ์ให้คน ภายนอกได้รับรู ้ ถึงกสิ กรรมธรรมชาติ การใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิ จพอเพียง ทางกลุ่ มของเราจึ งได้ วางแผนและแก้ไขปั ญหานี้ โดยการเป็ นสื่ อกลางในการกระจายข้อมูลข่าวสารให้ผอู ้ ื่ นได้รับรู ้ การ ดําเนิ นชี วิตแบบเศรษฐกิ จพอเพียงเพื่อให้เป็ นประโยชน์ แนะนําให้ผอู ้ ื่นได้รู้ถึงกิจกรรมที่ทางศูนย์ กสิ กรรมธรรมชาติได้จดั ทํา เพื่อให้ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติเป็ นแหล่งการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูค้ นทัว่ ไปใน อนาคต ตลอดจนสามารถให้ความรู ้ต่อผูเ้ ข้ามาศึกษาที่น้ นั ได้สามารถนําไปประยุคใช้กบั ของตนเอง และให้การช่วยเหลือทางศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้องได้


51 การวิเคราะห์ ผลการศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง หลัง จากที่ ไ ด้ท ํา การศึ ก ษาพื้ น ที่ จ ริ ง แล้ว ได้ท ํา การวิ เ คราะห์ แ ละสรุ ป ผลการ ดําเนินงานที่ประชาสัมพันธ์จะเข้าไปปรับปรุ งดังต่อไปนี้ 1. การจัดหาทุนเพื่อใช้ในการซื้ อวัสดุอุปกรณ์ให้กลุ่มอื่นๆ 2. การทําป้ ายโครงการเพื่อสารความสนใจให้กบั ผูท้ ี่อยากหาความรู ้ การเลี้ ยงชี พ อย่างพอเพียง 3. การจัดทําคลิปวิดีโอเพื่อเป็ นแหล่งข้อมูลในการศึกษา

วัตถุประสงค์ ของทีม 1. เพื่อศึกษาวิธีการทําสื่ อสารสนเทศ เช่น การทําวิดีโอ การสัมภาษณ์ เป็ นต้น 2. มุ่งให้ประโยชน์แก่ทางศูนย์กสิ กรรมในการนําไปใช้ในอนาคต 3. เป็ นการเผยแพร่ แหล่งการเรี ยนรู ้มุ่งให้ผอู ้ ื่นได้รับประโยชน์อย่างแท้จริ ง 4. เพื่อความสะดวกในการเผยแพร่ แหล่งเรี ยนรู ้ได้เป็ นการประหยัดเวลา

แผนการดาเนินงาน 1. เปิ ดกล่องรับบริ จาคที่งานเกษตรแฟร์ 2. จัดทําป้ ายประชาสัมพันธ์โครงการ 3. เผยแพร่ โครงการกสิ กรรมธรรมชาติ 4. จัดทําเสื้ อรักโลกขายเผือ่ เป็ นการหากองทุน


52 5. ลงเว็ปไซต์มหาลัย เว็ปไซต์คณะวิทยาการจัดการ เพื่อกระจายข้อมูล 6. จัดทําวิดีโอในการดําเนินงานของแต่ละกลุ่มเพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้

แผนงบประมาณ ตารางที่ 3 – 5ตารางสรุ ปวัสดุ อุปกรณ์ และเงินทุนที่ตอ้ งการในการจัดหาเงินทุน ลาดับ รายการ 1 กล่องกระดาษลังเปล่า 2 กระดาษห่ อพัสดุ 3 สก็อตเทป 4 ฟิ วเจอร์ บอร์ ด 5 เสื้อรักโลก สรุ ปยอดรวมงบประมาณ

ราคาหน่ วยละ 2.00 15.00 60.00 18.00 100.00

จานวน 20 25 5 6 100

หน่ วยนับ กล่อง ใบ ม้ วน แผ่น ตัว

ราคา 40.00 375.00 300.00 108.00 10,000.00 10,823.00

กาหนดเวลาแผนดาเนินงาน 1สิ งหาคม 2556 4 สิ งหาคม 2556 11สิ งหาคม 2556 22สิ งหาคม 2556 13 กันยายน 2556 14 กันยายน 2556 15 กันยายน 2556 25กันยายน 2556

ติดต่อลงข้อมูลของโครงการในเว็ปมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดหากองทุนโดยการเปิ ดกล่องรับบริ จาคเงินที่งานเกษตรแฟร์ จัดหากองทุนโดยการขายเสื้ อรักโลกในงานเกษตรแฟร์ จัดทําป้ ายโครงการศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง แบ่งงานกันไปถ่ายวิดีโอในขั้นตอนการทําดําเนิ นงานของแต่ละ กลุ่ม แบ่งงานกันไปถ่ายวิดีโอในขั้นตอนการทําดําเนิ นงานของแต่ละ กลุ่ม แบ่งงานกันไปถ่ายวิดีโอในขั้นตอนการทําดําเนิ นงานของแต่ละ กลุ่มสัมภาษณ์ประสบการที่ได้รับ สรุ ปเรี ยบเรี ยงวิดีโอที่ได้ถ่ายในวันปฏิบตั ิงาน


53

กาหนดระยะเวลากิจกรรมการดาเนินงาน วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556 การปฏิบตั ิงาน – ทําการเก็บภาพ และบันทึกวีดี การเริ่ มปฏิบตั ิงานจริ ง และพื้นที่ก่อนเริ่ ม ปฏิบตั ิงาน วันเสาร์ ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556 การปฏิบตั ิงาน - ทําการเก็บภาพ และบันทึกวีดี กระบวนการ และขั้นตอนการทํางาน แต่ละ กลุ่ม วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556 การปฏิบตั ิงาน – ทําการเก็บภาพ และบันทึกวีดี ผลการดําเนินงานที่เสร็ จสมบูรณ์ สัมภาษณ์ ความรู ้สึกต่างๆที่มีต่อโครงการ การวางแผนกําลังคนในการดําเนินงาน วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556 แบ่งกําลังคนเดินถ่ายภาพและบันทึกวีดีโอแต่ละกลุ่มปฏิบตั ิ กลุ่มละ 2 คน วันเสาร์ ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556 แบ่งกําลังคนเดินถ่ายภาพและบันทึกวีดีโอแต่ละกลุ่มปฏิบตั ิ กลุ่มละ 2 คน วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556 แบ่งคนแยกย้ายกันสัมภาษณ์ความรู ้สึก ผูล้ งมือปฏิบตั ิ พี่อาสา และ ผูอ้ าํ นวยการ


54

กิจกรรมดาเนินงาน

ภาพที่ 3 – 14 การจัดหากองทุนโดยการขายเสื้ อรักโลกในงานเกษตรแฟร์ ประชาสัมพันธ์โครงการว่า “รายได้จากกาญจําหน่ายสมทบทุนในโครงการสร้าง พื้นที่อาหารและห้องสมุดสําหรับน้องๆโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ ในวันที่ 13-15 กันยายน 2556”


55

ภาพที่ 3 – 15 ภาพป้ ายโครงการศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

ภาพที่ 3 – 16 ภาพถ่ายวิดีโอในขั้นตอนการทําดําเนินงานของแต่ละกลุ่ม สัมภาษณ์ประสบการที่ ได้รับตามแผนกต่างๆ


56 จัดหาทุนด้ วยการรับบริจาค

ภาพที่ 3 - 17ภาพการจัดหาทุนทีมประชาสัมพันธ์

ภาพที่ 3 - 18 ภาพการดําเนินงานจัดหาทุน ทีมประชาสัมพันธ์ วันที่ 14-16 ตุลาคม 2556


57

ผลการดาเนินงานโครงการ การดําเนิ นบรรลุผลไปได้อย่างดีตามวัตถุประสงค์ และ เป้ าหมายที่ต้ งั ไว้คือสามารถจัดหา ทุนได้ตามเป้ าหมายที่วางไว้

ผลการดาเนินงานด้ านการจัดกิจกรรมอาสาสมัคร 1. ผลการดําเนินงานเป็ นไปตามแผนการที่กาํ หนดไว้ทุกประการ 2. การจัดกิจกรรมอาสาครั้งนี้ส่งผลให้มีปฏิสัมพันธ์กบั เพื่อนในสาขามากขึ้น 3. มีการดําเนินงานเป็ นทีม แต่ละคนรับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็ นอย่างดี 4. มีการช่วยเหลือซึ่ งกันและกันเพื่อให้งานสําเร็ จลุล่วงตามเวลาที่กาํ หนดแม้จะไม่ใช่หน้าที่ ของตนเอง

ผลประเมินผลการเรียนรู้ จากวัต ถุ ป ระสงค์ข องโครงการในเรื่ องที่ ต้องการให้ผูเ้ รี ย นได้มี ค วามรู้ ทางทฤษฎี และ สามารถนําความรู ้ทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้เพื่อให้ปฏิบตั ิงานจริ งและเกิ ดความเข้าใจทั้งทางทฤษฎี และทางปฏิ บตั ิ จากการที่ได้ผูเ้ รี ยนไปปฏิ บตั ิ งานในพื้นที่จริ งทําให้ผูเ้ รี ยนมี ความสามารถในการ ปฏิ บตั ิงานจริ งทําให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ที่นอกเหนื อจากการเรี ยนในห้องเรี ยน เสริ มสร้างประสบการณ์ ในชี วิ ต และสามารถทํา ให้ เ กิ ด การจัด การกระบวนการเรี ย นรู ้ ที่ ใ ห้ เ ป็ นไปตามกระบวนทัศ น์ พระราชทานแห่ ง องค์พ ระบาทสมเด็ จพระเจ้า อยู่หัว ที่ ว่า “เรี ย นความรู้ ทํา การงานเสริ ม สร้ า ง ความสามารถ

สรุปผลการดาเนินงานโครงการ จากที่ได้วางแผนและได้ดาํ เนินงานตามแผนที่วางไว้การจัดหาทุนด้วยวิธีต่างๆ เข้าโครงการ เรี ยนรู ้และพึ่งพาตนเองอย่างยัง่ ยืนประสบความสําเร็ จมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลเป็ นอย่างมาก ซึ่ งสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ได้โดย สามารถตอบสนองวัตถุประสงค์ได้อย่างดี


58

การฝึ กปฏิบัตบิ ริหารโครงการ-ทีมพืน้ ที่อาหารประเภทพืช ข้ อมูลเกีย่ วกับทีมงาน สมาชิกและหน้ าที่ทมี งาน ประธานทีมพืน้ ทีอ่ าหาร 1. 5430111031 นางสาวทิพวัลย์ จรู ญพันธ์พน ู ทวี

พืน้ ทีท่ างเดินขวาและรอบหอประชุ ม 1. 2. 3. 4. 5. 6.

5430110507 5430110361 5430110566 5430110833 5430110868 5430111341

นางสาวพรพิมล สุ พรรณพงศ์ นางสาวธนิดา กวีสุทธิกล นางสาวมณฑนรรห์ นรการผดุง นางสาวสุ ชญา สกุลวงศ์ นางสาวสุ วชิ ชา รุ่ งราม นางสาวชนิดา นามสุ ดโท

แปลงแก้วมังกรหลังบ้ านดิน 1. 5430111309 2. 5430110043 3. 5430110116 4. 5430110132 5. 5430110299 6. 5430110370 7. 5430110400 8. 5430110469 9. 5430110493 10.5430110574 11.5430110604 12.5430110876

นางสาวณัฐกานต์ นางสาวกมลทิพย์ นางสาวกันทิมา นางสาวกุลปริ ยา นางสาวณัชชา นางสาวธัชภาวี นางสาวนิรชา นางสาวปาริ ชาติ นางสาวพรชญา นางสาวมนัชญา นางสาวรัศมี นางสาวเสาวลักษณ์

ตะพานทอง ถนอม ลัว่ สกุล มานะธัญญา ทําดี ฉลาดธัญกิจ จันทรัพย์ กรเกษม เอี่ยมประภัสสร เด่นดํารงกุล พุกบุญมี ศรี รัตน์


59 13.5430110906 นางสาวอรวรรณ 14.5430111091 นางสาวกรรณิ การ์ 15. 5430111261 นางสาวกนกวรรณ 16. 5430111325 นางสาวสุ ธาสิ นี

ไก่แก้ว ปราณนัทธี พานิชชีวะ ปิ่ นประดับ

แปลงแก้ วมังกรหน้ าหอประชุ ม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

5430111074 นางสาวปทุมพร 5430110051 นางสาวกมลพรรณ 5430110540 นางสาวพิมพ์ชนก 5430110809 นางสาวสิ ริพรรณ์ 5430110825 นางสาวสุ ขวสา 5430110841 นางสาวสุ ภาภรณ์ 5430110957 นางสาวศศิมล 5430111031 นางสาวทิพวัลย์ 5430111180 นางสาวกมลรัตน์

บุญประคอง(Head) มัญชุวาท ไชยสถาน โกมลรัตน์มงคล รุ ้งสิ ริเดชา ตันติวงศ์ ศรี พินิจ จรู ญพันธ์พนู ทวี ภู่ทรานนท์

พันธกิจหลักของทีมงาน 1. สร้างและพัฒนาพื้นที่ให้มีความเหมาะสมต่อการเพาะปลูก 2. สร้างพื้นที่อาหารที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการบริ โภค โดยการบริ หารจัดการ ต้นทุนที่ต่าํ สร้างแหล่งเรี ยนรู ้และส่ งเสริ มการถ่ายทอดความรู ้ดา้ นการเพาะปลูก แบบผสมผสานที่ปลอดภัย ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ 1. ใช้พ้นื ที่เพาะปลูกได้คุม้ ค่าและมีพืชผักผลไม้เก็บเกี่ยวได้ตลอดปี มีปริ มาณ อาหารเพียงพอต่อการบริ โภคสําหรับบุคคลภายในศูนย์กสิ กรรมเกษตรมาบ เอื้อง ลดค่าใช่จ่ายค่าอาหารและสามารถพึ่งตนเองได้


60 2. มีแหล่งเรี ยนรู ้การเพาะปลูกเพิ่มขึ้น ให้บุคคลที่มีความสนใจได้เข้ามาศึกษา ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1. สร้างพื้นที่อาหารให้มีเพียงพอต่อความต้องการตลอดทั้งปี 2. มีแหล่งการเรี ยนรู ้ในการเพาะปลูกสามารถให้บุคคลภายนอกศึกษาได้ 3. สามารถลดค่าใช้จ่าย ลดต้นทุนได้ มีพืชผักไว้กินเอง 4. ฝึ กทักษะด้านการวางแผน รู้จกั การใช้พ้นื ที่ที่มีให้เกิดประโยชน์

ข้ อมูลทางวิชาการ เกษตรอินทรีย์และสวนสมรม เกษตรอินทรีย์และการพัฒนาชาติ เกษตรอิ นทรี ย ์7คื อ อะไรเป็ นคําสั่ งที่ ไม่ แน่ ใ จว่าผูค้ นจะลึ กซึ้ งมากน้อย เพียงใดดังที่กล่าวมาแล้วว่าเกษตรอินทรี ยเ์ กิดขึ้นในยุโรปดังนั้นนิ ยามของเกษตรอินทรี ยจ์ ะแตกต่าง กัน ไปตามข้อ กํา หนดของหน่ ว ยงานรั บ รองมาตรฐานเกษตรอิ น ทรี ย ์ข องแต่ ล ะประเทศ ซึ่ งมี ความหมายที่แตกต่างจากผักไร้สารพิษ ผักปลอดภัยจากสารพิษ และผักอนามัยดังนี้ เกษตรอินทรี ย ์ คือระบบการผลิตที่คาํ นึงถึงสภาพแวดล้อมรักษาสมดุลของธรรมชาติและความหลากหลายของทาง ชี ว ภาพโดยมี ร ะบบการจัด การนิ เ วศวิ ท ยาที่ ค ล้า ยคลึ ง กับ ธรรมชาติ แ ละหลี ก เลี่ ย งการใช้ ส าร สังเคราะห์ไม่วา่ จะเป็ นปุ๋ ยเคมี สารเคมีกาํ จัดศัตรู พืชและฮอร์ โมนต่าง ๆ ตลอดจนไม่ใช้พืชหรื อสัตว์ ที่เกิดจากการตัดต่อทางพันธุ กรรมที่อาจเกิดมลพิษในสภาพแวดล้อมเน้นการใช้อินทรี ยวัตถุ เช่น ปุ๋ ย คอก ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยพืชสด และ ปุ๋ ยชีวภาพ8ในการปรับปรุ งบํารุ งให้มีความอุดมสมบูรณ์ เพื่อให้ตน้ พืช 7

กรมส่ งเสริ มการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เกษตรอินทรี ย[์ ออนไลน์]. 21 ตุลาคม 2556 2556. แหล่งที่มา www.doae.go.th 8 กรมส่ งเสริ มการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปุ๋ ยชีวภาพ[ออนไลน์]. 21 ตุลาคม 2556 2556. แหล่งที่มา www.doae.go.th


61 มีความแข็งแรงสามารถต้านทานโรคและแมลงด้วยตนเอง รวมถึงการนําเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ ประโยชน์ดว้ ย ผลผลิตที่ได้จะปลอดภัยจากสารพิษตกค้างทําให้ปลอดภัยทั้งผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภคและ ไม่ทาํ ให้สภาพแวดล้อมเสื่ อมโทรมอีกด้วย (กรมวิชาการเกษตร) ผักไร้ สารจากสารพิษ คือ ผักที่มี ระบบการผลิ ตที่ไม่ใช้สารเคมีใด ๆ ทั้งสิ้ นไม่ว่าจะเป็ นสารเคมี เพื่อป้ องกันเพื่อปราบศัตรู พืชหรื อ ปุ๋ ยเคมีทุกชนิ ด แต่จะใช้ปุ๋ยอินทรี ยท์ ้ งั หมด และผลผลิ ตที่เก็บเกี่ยวแล้วต้องไม่มีสารพิษใดๆทั้งสิ้ น ผักปลอดภัยจากสารพิษ คือผักที่มีระบบการผลิตที่มีการใช้สารเคมีในการป้ องกันและปราบศัตรู พืช รวมทั้งปุ๋ ยเคมีเพื่อการเจริ ญเติบโตผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ยงั มีสารพิษตกค้างไม่เกินปริ มาณที่กาํ หนด ไว้ เพื่อความปลอดภัยของผูบ้ ริ โภค ตามประกาศกระทรวงสาธารณะสุ ข ฉบับที่163 พ.ศ. 2538 ผั ก อนามัย คือผักที่มีระบบการผลิ ตที่มีการใช้สารเคมีในการป้ องกันและปราบศัตรู พืช รวมทั้งปุ๋ ยเคมี เพื่ อการเจริ ญ เติ บ โตผลผลิ ตที่ เก็ บ เกี่ ย วได้ย งั มี ส ารตกค้า งไม่ เกิ นปริ ม าณที่ ก าํ หนดไว้เพื่ อความ ปลอดภัย ของผูบ้ ริ โ ภคและมี ค วามสะอาดผ่า นกรรมวิ ธี ก ารปฏิ บ ัติ ก่ อ นและหลัง การเก็ บ เกี่ ย ว ตลอดจนการขนส่ ง และการบรรจุหีบห่ อ ได้คุณสมบัติมาตรฐานทําไมต้องเกษตรอินทรี ยแ์ ละรวม ไปถึงการพัฒนาชาติการใช้ทรัพยากรดินโดยไม่คาํ นึงถึงผลเสี ยของปุ๋ ยเคมีสังเคราะห์ก่อให้เกิดความ ไม่ ส มดุ ล ในแร่ ธ าตุ และกายภาพของดิ นทํา ให้สิ่ ง มี ชีวิตที่ มีป ระโยชน์ ใ นดิ นนั้นสู ญหายและไร้ สมรรถภาพความไม่สมดุ ลนี้ เป็ นอันตรายอย่างยิ่ง กระบวนการนี้ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะก่อให้เกิดความ เสี ยหายอย่างต่อเนื่ อง ผืนดิ นที่ถูกผลาญไปนั้นได้สูญเสี ยความสามารถในการดูดซับแร่ ธาตุ ทําให้ ผลิตผลมี แร่ ธาตุ วิตามิน และพลังชีวติ ตํ่า เป็ นผลทําให้เกิดการขาดแคลนธาตุอาหารรองของพืช พืช จะอ่อนแอขาดภูมิตา้ นทานโรค และทําให้การคุกคามของแมลงเชื้ อโรคเกิ ดขึ้นได้ง่าย จึงจะนําไปสู่ ใช้สารเคมีสังเคราะห์กาํ จัดวัชพืช ข้อบกพร่ องเช่ นนี้ ก่อให้เกิ ดวิกฤติ ในห่ วงโซอาหารและระบบ การเกษตรของเรา ซึ ง ก่ อให้เกิ ดปั ญหาทางสุ ข ภาพและสิ่ ง แวดล้อมอย่า งยิ่ง ในโลกปั จจุ บ นั จาก รายงานการสํารวจขององค์กรการอาหารและการเกษตรแห่ งประชาชาติ เมื่ อปี พ.ศ. 2543 พบว่า ประเทศไทยมีเนื้อที่ทาํ การเกษตรอันดับที่ 48 ของโลก แต่ใช้ยาฆ่าแมลงเป็ นอันดับ 5 ของโลก ใช้ยา ฆ่ายาเป็ นอันดับ4 ของโลก ใช้ฮอร์ โมนเป็ นอันดับ 4 ของโลก ประเทศไทยนําเข้าสารเคมีสังเคราะห์ ทางการเกษตร เป็ นเงินสามหมื่นล้านบาทต่อปี เกษตรต้องมีปัจจัยการผลิตที่เป็ นสารเคมีสังเคราะห์ ในการเพาะปลูก ทําให้เกิดการลงทุนสู งและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ขณะที่ราคาผลผลิตในรอบยี่สิบปี ไม่ได้สูงขึ้นตามสัดส่ วนของต้นทุนที่สูงขึ้นนั้นมีผลให้เกษตรขาดทุน มีหนี้สิน การเกษตรอินทรี ยจ์ ะ เป็ นหนทางของการแก้ปัญหาเหล่านั้นได้


62 แนวคิดการทาการเกษตรแบบสวนสมรม สวนสมรมคื อ การปลู ก พื ช หลายชนิ ด ในพื้ น ที่ เ ดี ย วกัน และ พึ่ ง พาอาศัย กั น เหมือนกับครัวมีพอ่ แม่ ลูก หลาน พึ่งพาอาศัยกัน ช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน สวนสมรม 9 เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่ นในอดี ตของภาคใต้ ที่ ปลู กไม้ผล ไม้ดอก ไม้ ประดับ พืชผัก พืช สมุนไพรในพื้นที่เดียวกัน โดยไม่ทาํ ลายพืชดั้งเดิมที่มีอยู่ ทําให้พืชได้พ่ ึงพาอาศัย กันเองตามธรรมชาติ เช่น ใบของต้นไม้หลากหลายชนิ ดในสวนสมรม จะหล่นลงสู่ ดินเป็ นปุ๋ ย ช่วย ปกคลุ มดิ น ป้ องกันการสู ญเสี ยนํ้าและความชื้ นของหน้าดิ น การปลู กดอกไม้สีสด เช่ น บานชื่ น ทานตะวัน บานไม่รู้โรยไว้ในสวนสมรม สี ของดอกไม้จะช่วยดึงดูดแมลงช่วยให้แมลงทําลายพืชอื่น ๆ น้อยลง รวมทั้ง การปลูกพืชหลากหลายชนิ ดก็จะมีแมลงมากชนิ ดมาตอม ซึ่ งแมลงบางชนิ ดเป็ น ศัตรู ตามธรรมชาติ ของแมลงศัตรู พืช จึ งเกิ ดความสมดุ ล โอกาสที่แมลงศัตรู พืชจะระบาดจนเกิ ด ความเสี ยหายจึงมีนอ้ ย และการปลูกพืชสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้หอม สะเดา ใบยาสู บ สามารถ นํามาเป็ นสารกําจัดแมลงศัตรู พืชได้โดยไม่ตอ้ งใช้สารเคมีการปลูกพืชแบบสวนสมรม นอกจากจะ ช่วย อนุ รักษ์ความหลากหลายของพืชในท้องถิ่ น ยังทําให้เกษตรกรได้รับผลผลิ ตที่หลากหลาย ทํา ให้มีกินมีใช้ และมีสุขภาพดี ไม่ตอ้ งเสี ยค่ายารักษาโรค และมีสิ่งแวดล้อมที่ดี สวนสมรม หรือสมลม เป็ นคําภาษาถิ่ น หมายถึ ง สวนขนาดเล็ก ที่ปลูกผสมปนเปกันของ ผลไม้นานาชนิ ด ไม่มีการแยกแปลงแยกชนิ ด อาศัยธรรมชาติ ให้เกื้ อกูลกันเอง นับเป็ นภูมิปัญญา ของชาวบ้า นอย่า งแท้จ ริ ง เพราะผลไม้แ ต่ ล ะชนิ ดออกผลผลิ ตไม่ พ ร้ อมกัน ทํา ให้ เจ้า ของสวน สามารถจําหน่ ายผลผลิ ตได้ท้ งั ปี และช่ วยแก้ปัญหาผลผลิ ตล้นตลาดด้วย ในสวนสมรมจะมีผลไม้ ชนิดต่าง ๆ เช่น ทุเรี ยน มังคุด ลางสาด จําปาดะ หมาก สะตอ ลูกเนี ยง ฯลฯชาวบ้านประกอบอาชีพ ทําสวนผลไม้ ที่ เรี ย กกันว่า สวนสมรม ในสวนหนึ่ ง ๆเราอาจจะพบมัง คุ ดและลางสาดอยู่ใ ต้ต้น ทุเรี ยน ต้นมะพร้ าว หรื อจําปาดะ ใกล้ ๆกันจะพบต้นหมากสลับต้นลูกเนี ยง มีตน้ เหรี ยง ต้นสะตอ กอระกําอยูข่ า้ งขนํา บางสวนยังมีไม้ใหญ่ เช่น ตะเคียน จําปา ในระยะหลัง ๆบริ เวณที่ราบจะมีการ ปลูกผลไม้แยกเฉพาะกันบ้าง ซึ่ งส่ วนใหญ่จะเป็ นสวนมังคุด ลองกอง แต่ก็ยงั มีผลไม้อื่นปนอยูบ่ า้ ง จากลักษณะดังกล่าวทําให้ชาวบ้านสามารถเก็บผลผลิ ตได้ทุกปี เพราะถ้าหากอย่างหนึ่ งไม่ออกผล อีกอย่างหนึ่ งจะให้ผลแทน เช่น ปี นี้ มงั คุดไม่เป็ นลูก ก็ขายหมากแทน หรื อมังคุดราคาถูก ก็ได้ขาย 9

หม่อนไม้. แนวคิดสวนสมรม[ออนไลน์]. 21 ตุลาคม 2556 2556 แหล่งที่มา www.monmai.com,


63 จําปาดะในราคาดี ซึ่ งชาวบ้านบอกว่า ถ้าปลูกพืชชนิ ดเดียวกันทั้งหมดก็อาจไม่มีผลผลิตออกขายได้ เพราะการทําสวนโดยอาศัยธรรมชาติ เป็ นการทํากันมาตามบรรพบุรุษ ซึ่ งนักเกษตรรุ่ นใหม่เรี ยกว่า เกษตรแบบผสมผสาน เกษตรธรรมชาติหรื อเกษตรธาตุสี่ แต่ชาวบ้านยังเรี ยกว่า “สวนสมรม” ความสาคัญของการศึกษาด้ านอาหาร การได้อาหารที่เพียงพอและถูกสัดส่ วนเป็ นสิ่ งจําเป็ นที่สุดสําหรับมนุ ษย์ เพื่อให้มี สุ ข ภาพที่ แ ข็ ง แรงประเทศใดก็ ต ามที่ ป ระชาชนที่ กิ น ดี ย่อ มมี ภ าวะโภชนาการที่ ส มบู ร ณ์ แ ละ ได้ เ ปรี ยบ มี ขุ ม พลั ง ในการพัฒ นาประเทศถ้ า หากประชาช นสนใจและเข้ า ใจในเรื่ อง โภชนาการ สามารถนําความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เป็ นประโยชน์ในชี วิตประจําวันของตนเอง และครอบครัวแล้ว จะเป็ นกําลังสําคัญในการแก้และลดปั ญหาทางโภชนาการ10 ที่ประเทศไทยเรา ประสบอยู่ ซึ่ งการที่ เราได้ศึกษาในเรื่ องของอาหาร ทําให้เรามี ความรู ้ ในแต่ละเรื่ องมากขึ้ น เช่ น อาหารแต่ละประเภทประเภทไหนเหมาะกับตัวผูบ้ ริ โภคไหม มีคุณและมีโทษต่อผูบ้ ริ โภคอย่างไร และควรจะศึกษาวิธีการดูแลรักษาอาหารได้อย่างถูกสุ ขอนามัย ซึ่ งกรณี ศึกษาเหล่านี้ มีประโยชน์ต่อ ตัวผูศ้ ึกษาเอง

การวางแผนการปลูกพืชสาหรับพืน้ ทีม่ าบเอือ้ ง ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 7

10

มีการเข้าไปสํารวจพื้นที่ที่จะเข้าไปทําการเพาะปลูกเบื้องต้น มีการตรวจสอบพื้นที่ ดิน อากาศ แสงแดด เพื่อการเพาะปลูกพืชให้ เหมาะสมกับพืชแต่ละประเภท มีการสํารวจแหล่งนํ้าว่ามีเพียงพอหรื อไม่ ประชุมวางแผนงานในการเพาะปลูกในภาพรวม ทําการเลือกทําเลพื้นที่ที่จะเพาะปลูก สํารวจพื้นที่จริ งและวัดพื้นที่ในการเพาะปลูก การวางแผนการปลูกพืชให้เหมาะสมในแต่ละพื้นที่มีการวิเคราะห์พ้นื ที่ และศึกษาความยากง่ายของการดูแลพืชชนิดนั้นๆ รวมทั้งสภาพอากาศซึ่ง มีความสัมพันธ์กบั โรคและแมลงในแต่ละพื้นที่

Thaigoodview. ปัญหาทางโภชนาการ[ออนไลน์]. 21 ตุลาคม 2556.แหล่งที่มา www.thaigoodview.com


64 จัดหาอุปกรณ์เมล็ดพันธุ์มาทําการเพาะปลูก เข้าเคลียร์ พ้ืนที่บางส่ วนตัดไม้ ยกร่ อง เคลี ยร์ พ้ืนที่ ซ่ อมเช็คสปริ งเกอร์ ที่ ใช้ได้ ทําการขุดหลุม11พร้อมปลูกพืชตามจุดต่างๆที่กาํ หนดไว้ บันทึกค่าใช้จ่าย และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อเป็ นแนวทางในการควบคุม ปรับ เพิ่มหรื อลด รวมถึงการคาดการณ์หรื อดําเนินการในอนาคตได้ เลือกระบบนํ้าที่จะใช้ให้เหมาะกับพื้นที่และพืชที่จะปลูก และดําเนิ นการ ติ ด ตั้ง ระบบนํ้าที่ ใ ช้ใ ห้ เ หมาะสม เช่ น ในพื้ น ที่ ดิ น ทรายมี แ หล่ ง นํ้า จํากัด อาจใช้ระบบไร่ การให้น้ าํ แบบสปริ งเกอร์ หรื อ แบบหยด (ดู ตาม ความเหมาะสมของพืชที่ปลูกด้วย) หรื อในพื้นที่ดินเหนี ยวร่ วน ที่ต่าํ มีน้ าํ เพียงพอ อาจใช้เป็ นระบบยกร่ องการให้น้ าํ โดยใช้เรื อรดนํ้า มีการดูแลต้นพืชที่ปลูก ในส่ วนนี้ ที่สําคัญ หมัน่ สังเกตความเปลี่ยนแปลง ของการเจริ ญเติบโตทั้งในทางที่ดีหรื อไม่ดี ปัญหาเรื่ องโรคแมลง และรี บ ปรั บปรุ งแก้ไข โดยหากไม่ทราบวิธีแก้ไขควรปรึ กษาผูร้ ู ้ หากปล่ อยทิ้ง ไว้ อาจมี ผ ลต่ อ เนื่ อ งไปถึ ง ความสามารถในการให้ ผ ลผลิ ต คุ ณ ภาพ ผลผลิต รวมถึงอายุการให้ผลผลิต ฯลฯ ซึ่ งล้วนเป็ นผลเสี ยทั้งสิ้ น

ขั้นตอนที่ 8 ขั้นตอนที่ 9 ขั้นตอนที่ 10 ขั้นตอนที่ 11 ขั้นตอนที่ 13

ขั้นตอนที่ 14

แผนผังพืน้ ทีเ่ พาะปลูก

/

/

/

ภาพที่ 3 -19 ภาพพื้นที่เพาะปลูก 11

เกษตรพอเพียง.คอม. วิธรการขุดหลุมเพาะปลูก[ออนไลน์]. 21 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มา www.kasetporpeang.com


65

แผนผังการดาเนินงานในภาครวม

ภาพที่ 3 –20 ภาพผังการดําเนินงานทีมพื้นที่อาหารประเภทพืช

แผนการดาเนินงาน พืน้ ทีห่ น้ าประตูทางเข้ าทําการปลูกไม้ประดับเป็ นระดับชั้นตกแต่งบริ เวณประตูทางเข้า 1. ประตูทางเข้าฝั่งซ้าย ชั้นที่ 1 ปลูกข่าจํานวน 12 ต้น ชั้นที่ 2 ปลูกเอื้องหมายนาจํานวน 7 ต้น ชั้นที่ 3 คุณนายตื่นสายจํานวน 1 ต้น ชั้นที่ 4 ปลูกว่านกาบหอยล้อมรอบแปลง จํานวน 6 ต้น 2. ประตูทางเข้าฝั่งขวา ชั้นที่ 1 ปลูกชบาหลอด 3 ต้น ดอกแก้ว 3 ต้น พุดเศรษฐี 1 ต้น ชั้นที่ 2 ปลูกต้นกุหลาบวาเลนไทน์ จํานวน 3 ต้น ต้นมะลิ 6 ต้น ชั้นที่ 3 ปลูกต้นหงอนไก่ จํานวน 9 ต้น ต้นฤษีผสม จํานวน 3 ต้น


66 ชั้นที่ 4 ปลูกต้นโกสน จํานวน 3 ต้น จะปลูกด้านข้างสําหรับล้อมรอบแปล พืน้ ทีท่ างเดินเข้ าด้ านขวามือทําการปลูกพืชเสริ มเป็ นชั้นเพื่อเพิ่มแหล่งพื้นที่อาหาร ชั้นที่ 1 ปลูกพริ กไทยพันธุ์เลื้อยตามต้นไม้ใหญ่ จํานวน 15 ต้น ชั้นที่ 2 ปลูกข่า จํานวน 25 ต้น ชั้นที่ 3 ปลูกส้มจี้ด จํานวน 6 ต้น ปลูกมะนาว จํานวน 6 ต้น พืน้ ทีแ่ ปลงแก้วมังกร 1. ทําค้างผักเลื้อย 2 ค้างตลอดแนวแปลงแก้วมังกร ปลูกถัว่ พู33 ต้น และถัว่ ฝักยาว33 ต้นพื้นที่ดา้ นหน้าแปลงใช้ท่อ PVC เก่ามาต่อ กันทําเป็ นค้างผักเลื้อย ปลูกมะระจีน 20 ต้น มะระขี้นก 20 ต้น และฟักเขียว10 ต้น 2. ด้านหน้าแปลง ปลูกมะละกอและกล้วยนํ้าว้าสลับกันไปตลอดแนว อย่างละ 15 ต้น 3. ด้านหลังแปลง(ฝั่งป่ าไผ่)ปลูก ตะลิงปิ ง10 ต้นตลอดแนว 4. พื้นที่บนคันดินด้านหลังแปลง ปลูก กล้วย 10 ต้น พริ กขี้หนู 15 ต้น และปลูก ขมิ้นรอบต้อนกล้วยนํ้าว้าและกระชาย10 ต้น 5. รอบบ่อปลาดุก ปลูกขมิ้นและเตยหอม ร่ องนํ้าข้างบ่อปลาดุกปลูก ใบบัวบก 5 ต้น 6. พื้นที่บริ เวณป่ ากระถิน ปลูกมะกรู ด 10 ต้น ชะมวง3 ต้น ใบยอ 5 ต้น แค 5 ต้น และ มะรุ ม 5ต้น 7. พื้นที่ในแปลงปลูก มะนาว 20 ต้น มะเขือเปราะ 33 มะเขือพวง 33 ต้น และพริ กขี้หนู 25 ต้น

ต้น มะเขื อ ยาว 33 ต้น


67 8. พื้ น ที่ ว่า งในแปลงที่ เ หลื อ ทํา การยกร่ อ งเพื่ อ ปลู ก ผัก อายุ ส้ ั น จํา พวก คะน้ า กวางตุง้ ผักบุง้ อย่างละ 3 ซอง แปลงรู ปหัวใจ บริ เวณด้านนอกปลูกหญ้าแฝกตามขอบเป็ นแนวกั้นดินถล่ม ภายในแปลงรู ปหัวใจ จะแบ่งออกเป็ นโซนคือ โซนที่ 1 ปลูกว่านกาบหอย โซนที่ 2 ปลูกข่าตะไคร้ โซนที่ 3 แว่นแก้วใบเตย โซนที่ 4 ผักกูด โซนที่ 5 แก่นตะวัน12แมงลัก พริ ก โซนที่ 6 โหระพาอ่อมแซบ โซนที่ 7 วอเตอร์ เกต

แผนงบประมาณ 1. โควตาการจัดหาทุน 2. ผลการจัดหาทุน เบิกจากฝ่ ายการเงิน รวม 3. งบประมาณค่าใช้จ่าย

12

35,000 6,648.50 10,000 16,649

แก่นตะวัน.com. แก่นตะวัน[ออนไลน์]. 21 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มา www.แก่นตะวัน.com


68 ตารางที่ 3 – 6ตารางแผนงบประมาณการดําเนินการ-พื้นที่อาหาร รายการงบประมาณ ลาดับ รายการ จานวน ราคาต่ อหน่ วย ราคารวม พืชพันธุ์ผกั 1 กุหลาบวาเลนไทน์ 3 40 120 2 มะลิ 6 20 120 3 กระดุมทอง 6 50 300 4 ดอกรัก 2 50 100 5 ตะไคร้ 25 30 750 6 ชบาหลอด 3 80 240 7 ดอกแก้ว 3 150 450 8 พุทธชาด 2 50 100 9 เตยหอม 6 30 180 10 เอื้องหมายนา 9 35 315 11 โกสน 3 7 21 12 บานไม่รู้โรย 5 25 125 13 ดาวเรื อง 5 25 125 14 ดาวกระจาย 5 25 125 15 ข่า 16 5 80 16 พริ กไทยพันธุ์เลื้อย 15 60 900 17 กระทือ 10 10 100 18 กระชาย 10 20 200 19 มะกรู ด 10 60 600 20 มะเขือเปราะ 33 15 495 21 ตะลิงปิ ง 10 35 350 22 มะนาว 20 75 1500 23 พริ กขี้หนู 72 15 1080 24 ส้มจี๊ด 10 150 1500 25 มะขาม 6 70 420

เพาะปลูก เอง

จัดซื้อ แล้ว 100 120

750 240 360 180 300 20 125 125 125 80 900 100 200 600 462 350 1,500 1,008 860 420


69 ลาดับ 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52

รายการงบประมาณ รายการ จานวน ราคาต่ อหน่ วย ราคารวม ชะมวง 3 25 75 มะม่วง 2 90 180 กะเพรา 20 3 60 โหรพา 20 3 60 แมงลัก 10 3 30 กล้วยนํ้าว้า 20 30 600 ถัว่ พู 33 15 495 ถัว่ ฝักยาว 33 15 495 แตงกวา 20 15 300 มะระจีน 20 15 300 มะระขี้นก 20 15 300 มะเขือยาว 33 15 495 มะเขือพวง 33 15 495 กวางตุง้ 3 15 45 ผักบุง้ 3 15 45 คะน้า 3 15 45 สาระแหน่ 2 15 30 คื่นช่าย 2 15 30 ผักชีลาว 2 15 30 ผักชีฝรั่ง 2 15 30 มะละกอ 15 15 225 ลองกอง 2 80 160 เชอร์รี่ 1 50 50 มะยม 1 25 25 ใบยอ 5 15 75 พุดซ้อน 1 100 100 ใบบัวบก 5 50 250

เพาะปลูก เอง

จัดซื้อ แล้ว 75 180 60 60 30

600

135

420 462 60 60 60 462 462 45 45 45 45 45 45 45 84 160 50 20 70 100 250


70 ลาดับ 53 54 55 56 57 วัสดุอุปกรณ์ 58 59 60 61 62 63 64

รายการงบประมาณ รายการ จานวน ราคาต่ อหน่ วย ราคารวม ต้นกระเฉด 20 25 500 ต้นชมจันทร์ 2 80 160 ผักหวาน 10 50 500 มะรุ ม 5 15 75 แค 5 15 75

ดินดํา 150 ถุงเพาะ 9 เชือกฟาง 4 ฟางห่มดิน 200 ไวนิว 5 ไม้ทาํ โครง 20 แผ่นไม้ 3 รวมงบประมาณ ยอดเงินคงเหลือนําส่ งส่ วนกลาง

16.67 70 30 42 350 60 80

เพาะปลูก เอง

2,500 630 120 8400 1750 1200 240 31,471

จัดซื้อ แล้ว

70 70 2,500 630 120

1,845

14,645 2,004

การดาเนินงาน การเตรียมงานทีไ่ ด้ ดาเนินการไปแล้ว จากผลการดําเนินงานที่ได้ไปปฏิบตั ิสรุ ปได้วา่ 1. พบปั ญหาศัตรู พืช13 เนื่ องจากในพื้นที่เพาะปลูกเป็ นพื้นที่ภูเขา และมีหอยทาก จํานวนมาก ส่ งผลให้หอยทากในพื้นที่กดั กินยอดพืชที่กาํ ลังเติบโต โดยเฉพาะ ไม้เลื้อย ทําให้ไม้เลื้อยที่ทาํ การปลูกไว้ตายทั้งหมด 13

สารสนเทศ ส่ งเสริ มการเกษตร. ปั ญหาศัตรู พืช[ออนไลน์]. 22 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มา www.agriinfo.doae.go.th


71 2. ในพื้ น ที่ เ พาะปลู ก มี แ สงแดดส่ อ งผ่ า นน้ อ ย ทํา ให้ พื ช ที่ ต้อ งการแสงแดด เจริ ญเติบโตช้า 3. เนื่ องจากหญ้าแฝกที่ได้รับบริ จาคมีจาํ นวนมาก แต่มีขอ้ จํากัดของพื้นที่ เพราะ ปลูกและปั ญหาการขาดแคลนดินเพาะปลูก ส่ งผลให้หญ้าแฝกล้มตายทั้งหมด 4. จากปั ญหาข้างต้นส่ งผลให้จาํ นวนของต้นกล้าที่ตอ้ งการไม่เพียงพอ จึงต้องทํา การติ ด ต่ อ ซื้ อ ต้น กล้า จากศู น ย์เ พาะปลู ก จากเอกชนภายนอกส่ ง ผลให้ ต้อ ง คํานวณงบประมาณใหม่ เพราะมีความต้องการใช้งบประมารที่สูงขึ้น การดาเนินงานเพิม่ เติม 1. ติดต่อร้าน มณี แดงการ์ เด้น เพื่อทําการติดต่อซื้ อพืชแต่ละชนิ ดตามตาราง มีการ สอบถามราคาและนัดวันรับต้นไม้ ในวันที่ 6 กันยายน 2. พืชอายุส้ ันทําการแบ่งเมล็ดไปให้สมาชิ กในกลุ่มรายชื่ อตามตารางรับผิดชอบ เพื่อนําไปปลูกที่หอพักของตนเอง การดาเนินงานในพืน้ ทีจ่ ริง จากการปฏิ บตั ิงานในพื้นที่จริ งในภาพรวมไม่เป็ นที่น่าพอใจ การปฏิบตั ิงานล่าช้า เนื่องจากปั ญหาจากปั จจัยภายในและปั จจัยภายนอกได้แก่ 1. ปั ญหาการขาดแคลนกําลังคน เนื่ องจากพื้นที่มีขนาดใหญ่ และต้องทําการรื้ อ ถอนเสาปลูกแก้วมังกรในพื้นที่ท้ งั หมด ส่ งผลให้การดําเนินงานล่าช้า 2. ปั ญหาการขาดทักษะในการทํางาน เนื่ องจากการใช้อุปกรณ์ทางการเกษตรมี ลักษณะการทํางานเฉพาะตัว จึงทําให้การทํางานไม่มีประสิ ทธิ ภาพ 3. ปั ญหาสภาพอากาศ เนื่ องจากพื้นที่ปฏิ บตั ิงานตั้งอยู่ในภูมิภาคที่ได้รับอิทธิ พล จากลมมรสุ ม ส่ ง ผลให้ มี ฝ นตก จึ ง ทํา ให้ ก ารปฏิ บ ัติ ง านหยุด ชะงัก และจะ ดําเนินงานได้เมื่อฝนหยุดตก ส่ งผลให้การทํางานล่าช้า


72 4. ปั ญหาสัตว์มีพิษ เนื่ องจากในพื้นที่มีหญ้ารกสู ง เป็ นที่อยู่ของสัตว์มีพิษ เช่ น งู ตะขาบ แมงป่ อง ส่ งผลให้งานหยุดชะงักและล่าช้า การดาเนินการแก้ไข 1. ทําการรั บสมัค รอาสาสมัค รเพื่อร่ วมดําเนิ นการในพื้นที่ จริ งเพิ่ มเติ มเพื่อเพิ่ ม ศักยภาพในการทํางาน 2. จัดการให้ความรู ้เบื้องต้นแก่สมาชิ กก่อนการลงมือปฏิ บตั ิงานในพื้นที่จริ ง เพื่อ เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทํางาน

ภาพที่ 3 – 21 พื้นที่ก่อนลงมือปฏิบตั ิจริ งทีมพื้นที่อาหารประเภทพืช


73

ภาพที่ 3 – 22 ภาพวันลงมือปฏิบตั ิจริ ง


74

ภาพที่ 3 – 23 ภาพขนย้ายต้นกล้า ขุดหลุมเพาะปลูกตามพื้นที่ บริ เวณทางเข้า และแปลงแก้วมังกร หน้าหอประชุม


75

ภาพที่ 3 – 24 ภาพทําค้างไม้ไผ่ และปลูกพืชในแปลงรู ปหัวใจ ขุดร่ องนํ้าเพื่อระบายนํ้าออกแปลง ป้ องกันนํ้าที่มากเกินไป


76 การเผยแพร่ ข้อมูลการเรียนรู้ ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอือ้ ง

ภาพที่ 3 – 25 ไวนิขอ้ มูลของสวนสมรม


77

แผนงบประมาณเปรียบเทียบค่ าใช้ จ่ายจริง ตารางที่ 3 –7 ตารางแผนงบประมาณค่าใช้จ่ายจริ งทีมโปรตีนพืช ราคาทุน (บาท) 29,952.00 21,553.00 200.00

อายุ (ปี ) 3.00 3.00 2.00

@

จํานวน เงิน

อายุ (ปี )

3.33 4.28

2,500.00 428.00

1.00 1.00

2,500.00 428.00

750.00 100.00

300.00 14.00 0.35 1.20

1.00 1.00 1.00 1.00

300.00 14.00 0.35 1.20 315.55

100.00

30.00 21.00 80.00 3.94 0.24 135.18

24.00

งบประมาณการลงทุน ระบบนํ้า ระบบไฟ ถาดเพาะ ปริ มาณ จัดซื้อ ค่ าใช้ จ่ายในการเพาะปลูก/กาจัด ศัตรู พชื 1 ดินเพาะ 2 ปุ๋ ยหมัก 3 เชื้อบีทีชีวภาพปราบหนอน บาซิลลัส ธูริงเจนซิส นมข้นหวาน นํ้าตาลทราย นํ้า รวม 4 สูตรกําจัดหนอนแมลงศัตรู พืช ยาเส้น นํ้าส้มสายชู เหล้าขาว นํ้ายาล้างจาน นํ้า รวม 5 ยาฆ่าแมลงสูตรอย่างง่าย ยาเส้น เหล้าขาว

750.00 100.00 1.00 1.00 15.00 100.00

300.00 1.00 1.00 45.00 20.00

15.00 150.00

กก. กก.

ขวด 300.00 กระป๋ อง 14.00 กรัม 0.02 ลิตร 0.01

กรัม ขวด ขวด กรัม ลิตร

กรัม มล.

0.10 21.00 80.00 0.09 0.01

0.10 0.13

30.00 21.00 80.00 3.94 0.24

1.50 19.05

1.00 1.00 1.00 1.00 1.00

1.00 1.00

ค่าเสื่ อม ราคา/ปี (บาท) 9,984.00 7,184.33 100.00 17,268.33 ค่าใช้จ่าย/ปี ปริ มาณ (บาท) ผลิตได้

1.50 19.05


78 ปริ มาณ จัดซื้อ 6

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

@

จํานวน เงิน

อายุ (ปี )

รวม สูตรป้ องกัน กําจัด เพลี้ยไฟ นํ้าซาวข้าว

1.00

ลิตร

ยาเส้น นํ้าส้มสายชูกลัน่ กากนํ้าตาล เหล้าขาว 35 ดีกรี รวม

30.00 250.00 250.00 630.00

กรัม มล. กรัม มล.

รวม พืชมีอายุเกิน 1 ปี กระชาย มะกรู ด มะนาว พริ กขี้หนู ตะไคร้ กะเพรา โหรพา มะเขือเปราะ มะเขือยาว มะเขือพวง ตะลิงปิ ง ชะมวง มะรุ ม แค ใบยอ มะละกอ

0.50 10.00 20.00 1.00 1.00 1.00 1.00 2.00 3.00 3.00 10.00 3.00 5.00 5.00 5.00 15.00

กก. ต้น ต้น ซอง กก. ซอง ซอง ซอง ซอง ซอง ต้น ต้น ต้น ต้น ต้น ต้น

มีอยู่ แล้ว 0.10 0.04 1.50 0.13

50.00 60.00 75.00 15.00 8.00 15.00 15.00 15.00 15.00 15.00 35.00 25.00 15.00 15.00 15.00 10.00

ค่าใช้จ่าย/ปี (บาท)

ปริ มาณ ผลิตได้

20.55

0.15

0.00

1.00

0.00

3.00 11.00 375.00 80.00

1.00 1.00 1.00 1.00

3.00 11.00 375.00 80.00

25.00 600.00 1,500.00 15.00 8.00 15.00 15.00 30.00 45.00 45.00 350.00 75.00 75.00 75.00 75.00 150.00

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 3.00 3.00 4.00 4.00 4.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 5.00

469.00 3,868.28

2.23 976.38

5.00 120.00 300.00 3.00 1.60 5.00 5.00 7.50 11.25 11.25 35.00 7.50 7.50 7.50 7.50 30.00

20.00 167.00 300.00 75.00 50.00 10.00 10.00 165.00 165.00 198.00 250.00 150.00 10.00 50.00 50.00 450.00

564.60

2,120.00


79 ปริ มาณ จัดซื้อ

17 18 19 20 21 22 23 24 25

พืชมีอายุไม่ เกิน 1 ปี หอมแดง ถัว่ พู ถัว่ ฝักยาว มะระจีน มะระขี้นก กวางตุง้ ผักบุง้ คะน้า แว่นแก้ว

0.50 3.00 3.00 2.00 4.00 2.00 3.00 1.00 5.00

กก. ซอง ซอง ซอง ซอง ซอง ซอง ซอง กระถาง

@

จํานวน เงิน

95.00 15.00 15.00 15.00 15.00 15.00 15.00 15.00 50.00

47.50 45.00 45.00 30.00 60.00 30.00 45.00 15.00 250.00

รวม

อายุ (ปี )

ค่าใช้จ่าย/ปี (บาท)

ปริ มาณ ผลิตได้

47.50 45.00 45.00 30.00 60.00 30.00 45.00 15.00 250.00 567.50

1.00 247.50 49.50 150.00 100.00 0.90 1.50 1.20 50.00 601.60

22,268.71

2,721.60

ตารางที่ 3 –8ตารางการจัดซื้ อทีมโปรตีนพืช ปริ มาณ จัดซื้ อ เชื้อบีทชี ีวภาพปราบหนอน บาซิลลัส ธูริงเจนซิส 1.00 ขวด นมข้นหวาน 1.00 กระป๋ อง นํ้าตาลทราย 15.00 กรัม นํ้า 100.00 ลิตร รวม

@ 300.00 14.00 0.0235 0.0120

จํานวนเงิน 300.00 14.00 0.35 1.20 315.55


80 ปริ มาณ @ จํานวนเงิน จัดซื้ อ สู ตรกาจัดหนอนแมลงศัตรู พืช ยาเส้นหัน่ ฝอย 1,000.00 กรัม 0.1 100.00 ใบสะเดาป่ า 3.00 กก. มีอยูแ่ ล้ว 0.00 เหล้าขาว 630.00 มล. 0.1270 80.00 นํ้า 24.00 ลิตร 0.0120 0.29 รวม 180.29 สู ตรป้องกันกาจัดแมลงวันทองเจาะผลพริก ยาเส้น 300.00 กรัม 0.10 30.00 นํ้าส้มสายชู 1.00 ขวด 21.00 21.00 เหล้าขาว 1.00 ขวด 80.00 80.00 นํ้ายาล้างจาน 45.00 กรัม 0.0875 3.9375 นํ้า 20.00 ลิตร 0.0120 0.24 รวม 135.18 ยาฆ่ าแมลงสู ตรอย่ างง่ าย ยาเส้น 15.00 กรัม 0.10 1.50 เหล้าขาว 150.00 มล. 0.1270 19.05 รวม 20.55 สู ตรป้องกัน กาจัด เพลีย้ ไฟ นํ้าซาวข้าว 1.00 ลิตร มีอยูแ่ ล้ว ยาเส้น 30.00 กรัม 0.10 3.00 นํ้าส้มสายชูกลัน่ 250.00 มล. 0.044 11.00 กากนํ้าตาล 250.00 กรัม 1.50 375.00 เหล้าขาว 35 ดีกรี 630.00 มล. 0.1270 80.00 รวม 469.00


81 ต้ นทุนการเพาะปลูกเอง ตารางที่ 3 – 9 ตารางเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่าย ทีมงานโปรตีนพืช ปริ มาณ (กก.) 2,721.60

จํานวนเงิน (บาท) 22,268.71

ต้ นทุนจัดซื้ออ้ างอิงราคาตลาด ณ วันที่ 1 กันยายน 2556 ราคาตลาดถ้า ปริ มาณ จํานวนเงิน ซื้ อ รายการ บาท/กก. (กก.) (บาท) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

หอมแดง กระชาย มะกรู ด มะนาว พริ กขี้หนู ตะไคร้ กะเพรา โหรพา มะเขือเปราะ ถัว่ พู ถัว่ ฝักยาว มะระจีน มะระขี้นก มะเขือยาว มะเขือพวง กวางตุง้

64.00 56.00 50.00 160.00 18.00 20.00 16.00 16.00 50.00 40.00 22.00 18.00 18.00 20.00 56.50 11.00

1.00 20.00 167.00 300.00 75.00 50.00 10.00 10.00 165.00 247.50 49.50 150.00 100.00 165.00 198.00 0.90

64.00 1,120.00 8,350.00 48,000.00 1,350.00 1,000.00 160.00 160.00 8,250.00 9,900.00 1,089.00 2,700.00 1,800.00 3,300.00 11,187.00 9.90

17

ผักบุง้

13.00

1.50

19.50


82 ปริ มาณ (กก.) 2,721.60

จํานวนเงิน (บาท) 22,268.71

18 19

คะน้า แว่นแก้ว

21.00 17.00

1.20 50.00

25.20 850.00

20 21 22 23 24

ตะลิงปิ ง ชะมวง มะรุ ม แค ใบยอ

25.00 40.00 27.00 25.00 20.00

250.00 150.00 10.00 50.00 50.00

6,250.00 6,000.00 270.00 1,250.00 1,000.00

25

มะละกอ

20.00

450.00

9,000.00

2,721.60

123,104.60

รวม

สรุปผลการดาเนินงาน เป็ นโครงการที่ มุ่ ง สร้ า งจิ ต สํา นึ ก และรณรงค์ใ ห้นัก เรี ย น บุ ค ลากร และผูท้ ี่ ส นใจได้ ตระหนักถึ งความสําคัญของการทําเกษตรแบบธรรมชาติ มีการปลูกพืชผัก พืชไร่ พืชสวน พืช สมุนไพร รวมทั้งเข้าใจถึ งวิถีชีวิต วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่ นในการทําเกษตรในรู ปแบบ ต่างๆ เช่น เกษตรแบบพึ่งตนเอง14 ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า หันกลับมา พึ่งตนเองโดยใช้ของที่ผลิตได้ เช่ น การใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยชี วภาพ15 ฯลฯ นอกจากนั้น ยังร่ วม ดําเนินการป้ องกัน แก้ไข และฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

14

ไทยเอ็นจีโอ. เกษตรแบบพึ่งพาตนเอง[ออนไลน์]. 22 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มา www.thaingo.org 15 เกษตรพอเพียง.คอม. ปุ๋ ยชีวภาพ[ออนไลน์]. 22 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มา www.kasetporpeang.com


83

รายงานการประชุมทีม กาหนดเวลาแผนดาเนินงาน ตารางที่ 3 – 10รายงานการประชุมทีมโปรตีนพืช ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

รายการ ศึกษาพื้นที่เบื้องต้น ประชุมวางแผนงานในภาครวม สํารวจพื้นที่ที่ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ วัดพื้นที่ในการเพาะปลูก ทําการวาดแผนภาพแบบแปลนเสนออาจารย์ แบ่งหัวข้อให้เพื่อนทํารายงาน ค้นคว้าหาข้อมูลจากเว็บไซต์ ส่ งแบบแปลนให้อาจารย์ผจู ้ ดั ทําโครงการ จัดหาอุปกรณ์เมล็ดพันธ์มาทําการเพาะปลูก ลงมือเพาะต้นกล้าที่ประตู3 จัดซื้ ออุปกรณ์เพื่อมาเพาะต้นกล้า ลงมือเพาะต้นกล้าที่ประตู3 จัดซื้ ออุปกรณ์เพื่อมาเพาะต้นกล้า จัดหาหญ้าแฝกที่กรมพัฒนาที่ดิน (10,000 ต้น) แบ่งหัวข้อให้กลุ่มย่อยจัดทํารายงาน รวบรวมข้อมูลที่ได้เป็ นไฟล์งานเดียวกัน ลงมือเพาะต้นกล้าส่ วนที่เหลือที่ประตู3 จัดหาอุปกรณ์สาํ หรับเพาะพันธุ์ ส่ งงานให้อาจารย์ผจู ้ ดั โครงการรอบ1 แก้ไขงานหลังจากที่ส่งงาน ประชุมเพื่อนเพื่อที่จะแบ่งงาน จัดหางบประมาณทํากล่องบริ จาค ประชุมบอร์ ดบริ หาร แจกจ่ายเมล็ดผักเพื่อไปปลูกที่หอพัก ตั้งกล่องรับบริ จาคที่งานเกษตรแฟร์

ว/ด/ป ศ. 21 มิ.ย. 56 ศ. 28 มิ.ย. 56 ส. 29 มิ.ย. 56 ส. 29 มิ.ย. 56 อา. 30 มิ.ย. 56 อ. 2 ก.ค. 56 พ. 3 ก.ค. 56 ศ. 5 ก.ค. 56 จ. 8 ก.ค. 56 จ. 8 ก.ค. 56 อ. 9 ก.ค. 56 อ. 9 ก.ค. 56 อ. 9 ก.ค. 56 พ. 10 ก.ค. 56 ศ. 12 ก.ค. 56 ศ. 12 ก.ค. 56 ศ. 12 ก.ค. 56 อา. 14 ก.ค. 56 พ. 17 ก.ค. 56 ศ. 19 ก.ค. 56 ศ. 19 ก.ค. 56 ศ. 23 ส.ค. 56 ส. 24 ส.ค.56 จ. 26 ส.ค.56


84 ลาดับ 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

รายการ ประชุมบอร์ ดบริ หาร เคลื่อนย้ายผักไปที่ศูนย์มาบเอื้องก่อนและเคลียร์ พ้นื ที่บางส่ วน ตัดไม้ ยกร่ อง เคลียร์ พ้นื ที่ ซ่ อมเช็คสปริ งเกอร์ ที่ใช้ได้ ขุดหลุมพร้อมปลูกพืชตามจุดต่างๆที่กาํ หนดไว้ เก็บรายละเอียดงานทั้งหมดพร้อมถ่ายทําวีดีโอส่ งมอบงาน จัดทําพิธีผกู ข้อมือรับขวัญน้องปี 1 ประชุมกับเพื่อนเพื่อนําข้อมูลมารวบรวมกัน รวบรวมข้อมูลมาจัดทําผลการดําเนินงาน สรุ ปผลการดําเนินงานที่ได้รับ แก้ไขงานหลังจากที่ส่งงาน ส่ งงาน

ว/ด/ป พ. 27 ส.ค.56 อา. 8 ก.ย. 56 ศ. 13 ก.ย. 56 ส. 14 ก.ย. 56 อา. 15 ก.ย. 56 อา. 15 ก.ย. 56 จ. 16 ก.ย. 56 จ. 16 ก.ย. 56 พ. 18 ก.ย. 56 ศ. 20 ก.ย. 56 จ. 23ก.ย. 56

การฝึ กปฏิบัตบิ ริหารโครงการ-ทีมระบบนา้ ข้ อมูลเกีย่ วกับทีมงาน จากการไปสํารวจพื้นที่จริ ง ณ ศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้อง พบว่า ทางศูนย์ไม่มีจาํ นวนคนเพียง พอที่จะใช้ในระบบรดนํ้า พืชและต้นไม้ ตลอดแปลงแก้วมังกรและจากการสํารวจพื้นที่ที่จะมีการ ก่อสร้างเพิ่มเติม ที่ตอ้ งใช้ระบบนํ้าและครอบคลุมทั้งหมด ทางกลุ่มของเราจึงได้วางแผนและแก้ไข ปั ญหานี้ โดยการต่อระบบนํ้าของแก้วมังกรตลอดจนพื้นที่ก่อสร้ างเพิ่มเติมเข้ากับระบบนํ้าของทาง ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ โดยสามารถกระจายนํ้าอย่างทัว่ ถึ ง โดยใช้ระบบ นํ้าหยด สปริ งเกอร์ และ ปล่ อยนํ้า ให้ส ถานที่ ที่ ต้องการเพิ่ ม เติ ม และยัง เดิ น ระบบนํ้า เพิ่ ม เติ ม เข้า ไปให้ท างศู น ย์ก สิ ก รรม ธรรมชาติไว้ใช้ต่อไปในอนาคต ตลอดจนสามารถให้ความรู ้ต่อผูเ้ ข้ามาศึกษาที่น้ นั ได้สามารถนําไป ประยุคใช้กบั ฟาร์ มหรื อการเกษตรของตนเอง


85 สมาชิกทีมงาน และหน้ าที่งาน 1. นาย ปรี ชา 2. นาย จักรทิพย์ 3. นาย กฤตภาส 4. นาย กฤษฎา 5. นาย กมลาศ 6. นาย ทรงชม 7. นาย ธีรทัศน์ 8. นาย เสฏฐพัฒน์ 9. นาย ณัฐชนน 10.นาย ธีรัตม์ 11.นาย ปฐมณัฐ 12. นาย ชวนันท์ 13. นาย ชนินทร์ 14. นางสาว ปิ ยวรรณ 15. นางสาว รัชนิดา 16. นางสาว สุ ธญ ั ญา 17. นางสาว ธัญญาภรณ์ 18 นางสาว ธนัชชา 19. นางสาว นวพร

ประสิ ทธิ์ ไพศาล ตั้งกิตติรุ่งเรื อง กาญจนจงกล ด้วงช้าง ชตารัตน์ นภาจันทร์ เด่น แทนทํานุ เติมต่อ เลิศศิล วิริยะกมลพันธ์ ศิริสวัสดิ์ พละชัย เสริ มดารารัตน์ วิโรจน์แดนไทย หนูแก้ว ธรรมรัตน์ ยลปราโมทย์ เพ็ญสันต์ วรานันตกุล

หัวหน้าฝ่ าย รองหัวหน้าฝ่ าย ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการ


86 หน้ าที่งาน

ภาพที่ 3 –26 ภาพหน้าที่งานทีมระบบนํ้า คาอธิบายลักษณะงานตามหน้ าที่ 1. หัว หน้ า งาน (นาย ปรี ช า ประสิ ทธิ์ ไ พศาล)ผูร้ ั บ ผิดชอบโครงการระบบนํ้า ทั้ง หมดเพื่ อ ให้ ร ะบบนํ้า เป็ นไปตามวิสั ย ทัศ น์ แ ละพัน ธกิ จ ที่ ต้ ังไว้ โดยจะ มอบหมายงานย่อยเพื่อให้หวั หน้างานย่อยกระจายงานให้ฝ่ายปฏิบตั ิต่อไป 2. หัวหน้ างานย่อย (นางสาว ธัญญาภรณ์ ยลปราโมทย์ )มีหน้าที่รับผิดชอบจัดหา ทุ นและจัดเตรี ยมอุ ป กรณ์ ที่จะใช้สํา หรั บการเดิ นระบบนํ้าทั้ง 3 ระบบ และ กระจายงานย่อยให้กลุ่มปฏิบตั ิในทีมเพื่อให้ช่วยกันจัดหาเงินทุนรวมถึงจัดหา Supplier เพื่ อ ตรวจสอบและจัด ซื้ อ วัส ดุ ที่ มี คุ ณ ภาพและราคาประหยัด ตลอดจนหัวหน้างานฝ่ ายนี้ยงั ร่ วมประชุ มวางแผนกับหัวหน้างาน และหัวหน้า ฝ่ ายย่อยด้านปฏิบตั ิการอื่นของระบบนํ้า


87 3. 3.หัวหน้ างานย่ อย ( นาย จักรทิพย์ ตั้งกิตติร่ ุ งเรือง )มีหน้ารับผิดชอบส่ วนงาน ปฏิบตั ิการวางระบบนํ้าทั้ง 3 ระบบ และกระจายงานย่อยให้กลุ่มปฏิบตั ิในทีม เพื่อดําเนิ นงานให้มีประสิ ทธิ ภาพตลอดจนสามารถบรรลุวตั ถุ ประสงที่ต้ งั ไว้ รวมถึงยังมีการอบรมสมาชิกในระบบนํ้าที่อยูภ่ ายใต้การควบคุมให้ปฏิบตั ิงาน ออกมาในรู ป แบบที่ ไ ด้ว างแผนไว้ และหัว หน้า งานฝ่ ายนี้ ยัง ร่ ว มประชุ ม วางแผนกับหัวหน้างาน และหัวหน้าฝ่ ายย่อยด้านปฏิบตั ิการอื่นของระบบนํ้า 4. ฝ่ ายปฏิบัติการด้ านจัดเตรี ยมอุปกรณ์ และเงินทุนเพื่อการวางระบบน้า( ฝ่ าย ปฏิบัติจานวน 5 คน )มีหน้าที่รับผิดชอบในส่ วนของการจัดหาเงินบริ จาคเพื่อ นําเงินที่ได้มาเตรี ยมไว้เพื่อที่ จดั ซื้ ออุ ปกรณ์ ต่างๆที่ จะใช้ในการวางระบบนํ้า และหากอุ ป กรณ์ ช นิ ด ใดสามารถทํา การยื ม ได้ก็ จ ะทํา หน้ า ที่ ติ ด ต่ อ และ ประสานงานเพื่อขอยืมอุปกรณ์ มาใช้ในการปฏิบตั ิงาน และหลังจากทําการ สอบถามข้อมูลจากหัวหน้าโครงการเพื่อให้ทราบถึงข้อมูลอุปกรณ์ที่จะใช้ใน การดําเนิ นงานก็จะทําการติดต่อหา Supplier เพื่อจัดซื้ ออุปกรณ์ และตรวจเช็ค อุปกรณ์ที่ทาํ การจัดซื้ อว่ามีคุณภาพและมีปริ มาณเพียงพอหรื อไม่ 5. ฝ่ ายปฏิบัติการด้ านการวางระบบนา้ 3 ระบบ (ฝ่ ายปฏิบัติจานวน 11 คน) มี หน้าที่ รับผิดชอบการวางระบบนํ้า โดยจะแบ่งเป็ น 3 ระบบ คื อ 1.ระบบนํ้า สปริ งเกอร์ 2. ระบบนํ้าหยด 3.ระบบนํ้าบริ เวณเล้าไก่ โดยจะต้องทําการเดิ น ระบบท่อนํ้าหลักที่รับนํ้าจากทางศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติเป็ นอันดับแรก แล้ว ค่อยกระจายระบบนํ้าไปตามส่ วนที่ตอ้ งใช้งานต่อไป พันธกิจหลัก 1.ทีมงานทุกคนสามารถนําความรู ้ที่ได้ศึกษามาปฏิบตั ิได้จริ งในการวางระบบนํ้า หยดเพื่อพืช 2.ทางศูนย์ กสิ กรรมฯ สามารถใช้ระบบนํ้าหยดเพื่อพืชได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพใน ระยะยาว 3.ทางศูนย์ กสิ กรรม มีความพึงพอใจต่อการจัดทําระบบนํ้าหยดเพื่อพืชของทีมงาน


88 4.ระบบนํ้าหยดที่ทางทีมงานได้จดั ทําสามารถใช้งานได้จริ งและประโยชน์ต่อพืช ในพื้นที่ศูนย์ กสิ กรรมธรรมชาติ ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ ตารางที่ 3 –11 ตารางการกําหนดดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จของทีมระบบนํ้า ที่

โครงการย่อย

ผลสัมฤทธิ์ หลัก

ตัวชี้วดั

ระดับเป้ าหมาย 1

2

3

จัดเตรี ยม จัดหาทุนเพื่อใช้ มีเงินเพียงพอซื้ อ จํานวนเงิน จํานวนเงิน จํานวนเงิน 1 อุปกรณ์เพื่อการ ซื้ ออุปกรณ์ที่ อุปกรณ์ที่ตอ้ งใชใน น้อยกว่าแผน เพียงพอที่จะ มากกว่าแผน เดินระบบนํ้า เกี่ยวข้อง การวางระบบนํ้า ที่ได้วางไว้ ซื้ ออุปกรณ์ ที่วางไว้ จํานวนอุป ตรวจเช็ค จํานวน กรณื ไม่ จํานวน อุปกรณ์ที่ตอ้ งใช้ ปริ มาณจํานวน อุปกรณ์มาก เพียงพอกว่า อุปกรณ์ ว่าครบถ้วน อุปกรณ์แต่ละชนิด เพียงพอกรณี ที่คาดการณ์ เพียงพอ หรื อไม่ เกิดการชํารุ ด ไว้ ขนาดของท่อ ตัดท่อเพื่อ ขนาดของท่อ ไม่เท่ากับที่ ขนาดของท่อ นําไปใช้ใน ขนาดของท่อที่จะ แตกต่างจาก วัดไว้ไม่ พอดีกบั ที่วดั ระบบนํ้าสปิ ง ใช้เพื่อวางระบบนํ้า ที่วดั ไว้ สามารถ ไว้ เกอร์ เล็กน้อย นําไปใช้ได้ มากกว่าที่ ตัดไม้ไผ่เพื่อ ไม่เพียงพอ กําหนดเพื่อ นํามาคํ้าท่อ ปริ มาณไม้ไผ่ที่ตอ้ ง ต้องไปตัด เพียงพอ เกิดการชํารุ ด สําหรับระบบนํ้า ใช้ เพิม่ ระหว่างการ หยด ทํางาน


89 ที่

โครงการย่อย

ผลสัมฤทธิ์ หลัก

2

วางระบบนํ้าสปิ ง เกอร์ ,ระบบนํ้า หยดและเดินท่อ นํ้าบริ เวณเล้าไก่

วางระบบนํ้า สปิ งเกอร์

วางระบบนํ้า หยด

เดินท่อนํ้า บริ เวณเล้าไก่

ตัวชี้วดั

1 ระบบสปิ ง ปริ มาณนํ้าเพียงพอ เกอร์ ไม่ ต่อพืชทั้งหมดที่ สามารถทน ปลูก ต่อแรงดันนํ้า ได้ ระบบนํ้า หยดไม่ สามารถให้น้ าํ ได้ สามารถ อย่างทัว่ ถึงและ กระจายนํ้า สมํ่าเสมอ ได้อย่าง ทัว่ ถึง ระบบนํ้าของ ฟาร์ มไก่ไม่ มีน้ าํ เพียงพอต่อ สามารถ ความต้องการใช้ใน กระจายนํ้า ฟาร์ มไก่ ได้ตามความ ต้องการ

ระดับเป้ าหมาย 2 3 ระบบสปิ ง ระบบสปิ ง เกอร์สามารถ เกอร์สามารถ ทนต่อ ทนต่อ แรงดันนํ้าได้ แรงดันนํ้าได้ บางส่ วน ทั้งระบบ ระบบนํ้า ระบบนํ้า หยดสามารถ หยดสามารถ กระจายนํ้า กระจายนํ้า ได้เพียง ได้ตลอด บางส่ วน ระบบ ระบบนํ้าของ ระบบนํ้าของ ฟาร์ มไก่ ฟาร์ มไก่ สามารถ กระจายนํ้า กระจายนํ้า ได้ในระดับ ได้ตามความ ปานกลาง ต้องการ

ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1. ทําให้นิสิตสามารถนําสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้ มาประยุกต์ใช้ได้จริ งในชีวติ ประจําวัน 2. การวางระบบท่อ สามารถใช้ได้จริ งและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อศูนย์กสิ กรรม ธรรมชาติ 3. การวางระบบท่อ สามารถใช้ได้ในระยะยาว


90 4. การวางระบบท่อจะช่วยให้ศูนย์กสิ กรรมได้รับความสะดวกในการช่วยดูแล พืชผลในเรื่ องของการให้น้ าํ

ข้ อมูลทางวิชาการ การออกแบบระบบให้ นา้ การออกแบบระบบนํ้า สํา หรั บ การเกษตรกรรมนั้นเป็ นสิ่ ง ที่ จาํ เป็ นและควรให้ ความสําคัญเป็ นอย่างมาก เพราะระบบนํ้าที่มีประสิ ทธิ ภาพจะช่ วยให้สามารถพัฒนาผลผลิ ตทั้งใน ด้านปริ มาณและในด้านคุ ณภาพได้มากขึ้ นด้วย จึ งไม่น่าแปลกใจว่า ปั จจุ บนั ได้มีการพัฒนาและ คิดค้นการวางระบบนํ้าขึ้นอย่างต่อเนื่ อง จากสมัยก่ อนที่ เกษตรกรเคยให้น้ าํ กับพืชผล ต้นไม้ทาง การเกษตรด้วยวิธีการรดนํ้าด้วยสายยาง แต่ปัจจุ บนั นั้นได้ถูกปรับเปลี่ ยนและพัฒนาให้มีการวาง ระบบให้น้ าํ แบบท่อแรงดันที่มีสปริ งเกอร์ ( sprinkler ) แบบต่างๆซึ่ งวิธีการเหล่านี้ กาํ ลังเป็ นที่ได้รับ ความนิยมเป็ นอย่างมากในปั จจุบนั เพราะฉะนั้นการศึกษาและเรี ยนรู ้ขอ้ มูล เทคนิ ค วิธีการต่างๆใน เรื่ องการออกแบบระบบการให้น้ าํ จึงเป็ นเรื่ องที่ไม่ควรมองข้าม เพราะถ้าเกษตรกรสามารถออกแบบ ระบบการให้ น้ ํา ในสวนของตนเองได้ด้ว ยเทคนิ ค ที่ ดี ก็ จ ะทํา ให้ ร ะบบการให้ น้ ํา ในสวนของ เกษตรกรนั้นทํางานได้โดยไม่เกิดปั ญหาตามมา นอกจากนี้ การออกแบบระบบนํ้าที่มีประสิ ทธิ ภาพ ยังช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น ค่าลงทุน ค่าวัสดุ ค่านํ้ามัน ค่าไฟฟ้ า และค่านํ้าประปาอีกด้วย การรู ้จกั การให้น้ าํ อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการนํ้าของพืชแต่ละชนิ ดนั้น จะส่ งผล ให้เกษตรกรมีระบบการให้น้ าํ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดอีกด้วย โดยหลักๆแล้วนั้นการออกแบบระบบให้น้ าํ ที่ถูกต้อง ควรจะเริ่ มพิจารณาจากหลัก ที่วา่ จะต้องให้น้ าํ ในปริ มาณกี่ลิตร ระยะเวลาในการให้น้ าํ ในแต่ละครั้งนานเท่าใด และจํานวนรอบ เวรที่ให้น้ าํ กี่วนั /ครั้ง รวมถึงการเลือกสปริ งเกอร์ ให้เหมาะสมกับชนิดของดินและพืชด้วย ปริมาณนา้ ทีต่ ้ องให้ แก่พชื ปริ มาณนํ้าที่ ตอ้ งให้พืชนั้นจะมากหรื อน้อยขึ้ นอยู่กบั ปั จจัยหลายด้าน เช่ น ชนิ ด และอายุของพืช สภาพอากาศ ความเร็ วลม อุ ณหภูมิ ความชื้ นสัมพัทธ์ นอกจากนี้ การออกแบบ ระบบนํ้ายังต้องคํานึ งถึงค่าปริ มาณการใช้น้ าํ ของพืชในช่วงที่สูงที่สุด นั้นคือ คิดจากความต้องการ นํ้าของพืชตอนโตเต็มที่และอยูใ่ นระยะติดผลและอยูใ่ นสภาพอากาศร้อนเดือนมีนาคม-เมษายน ซึ่ ง


91 ถือว่าเป็ นช่วงที่ตอ้ งการนํ้ามาก ทําให้สามารถนําไปคํานวณระบบท่อและเครื่ องสู บนํ้าให้เหมาะสม ต่อไปได้ การหาปริ มาณการใช้น้ าํ ของพืชทําได้โดยการคํานวณจากข้อมูลภูมิอากาศโดยวิธี ต่างๆซึ่ งได้มีผคู ้ ิดค้นวิธีคาํ นวณไว้มากมาย การเปรี ยบเทียบปริ มาณการใช้น้ าํ ของพืชกับค่าระเหย ของนํ้าในถาดวัดการระเหยที่มีตามสถานี ตรวจอากาศเกษตรเป็ นวิธีหนึ่ งที่สะดวกและถูกต้อง ซึ่ ง จากการประมาณการพบว่าช่วงที่วกิ ฤตที่พืชต้องการนํ้ามากที่สุดต้องกําหนดปริ มาณนํ้าสู งสุ ดเผื่อไว้ การเลือกรู ปแบบของหัวจ่ ายนา้ สปริ งเกอร์ น้ นั มีหลากหลายรู ปแบบแตกต่างกันออกไปตามการใช้งาน ซึ่ งสามารถ แบบได้กว้างๆ ดังนี้ 1. สปริ งเกอร์ แบบนํ้าหยด เป็ นสปริ งเกอร์ ที่มีอตั ราจ่ายนํ้าน้อยมาก ประมาณ 120 ลิตร/ชม. จ่ายนํ้าออกมาในลักษณะเป็ นหยดหรื อถ้าอัตราการจ่ายนํ้าสู งก็จะ ไหลเป็ นสายนํ้า เหมาะสําหรับผูท้ ี่มีประสบการณ์ในการงานระบบนํ้ามาก่อน เนื่ องจากมี ปัจจัยหลายอย่างที่ จะก่ อให้เกิ ดการอุคตันได้ง่าย พืชที่เหมาะแก่ การใช้หัวจ่ายแบบนํ้าหยด ได้แก่ การปลู กพืชระยะสั้น พืชผัก ไม้ดอก ไม้ กระถาง เป็ นต้น ไม่เหมาะสําหรับการปลูกไม้ผล เพราะอายุการใช้งานสั้น เป็ นการลงทุนที่สูงเกินไป 2. สปริ ง เกอร์ แบบหัวพ่นฝอย เป็ นสปริ ง เกอร์ ที่ พ่นกระจายนํ้าแบบเป็ นฟอง ละอองขนาดเล็กหรื อเป็ นเส้น มีรัศมีการกระจายนํ้าใกล้ๆ ระยะประมาณไม่ เกิน 1.5 เมตร เหมาะสําหรับการใช้งานที่ตอ้ งการรัศมีการพ่นน้อย เช่น แปลง ผัก ต้นไม้ หรื อพุ่มไม้เล็กๆตามสวนในบ้าน ไม้ผลไม้ยืนต้นที่ทรงพุ่มไม้ไม่ ใหญ่ เป็ นต้น 3. แบบหัวมินิสปริ งเกอร์ เหมาะสําหรับไม้ผลเนื่ องจากมีการกระจายนํ้าให้เลือก หลากหลายครอบคลุ มการใช้งานตั้งแต่ เล็ก จนโตเต็ม ที่ หัวจ่ายนํ้าแบบมิ นิ สปริ งเกอร์ ปกติจะใช้งานที่แรงดันประมาณ 15-20 เมตร สปริ งเกอร์ มีอตั รา การจ่ายนํ้าที่หลากหลายขนาด การเลื อกอัตราจ่ายนํ้าน้อยๆมีขอ้ ดี ที่ใช้ขนาด


92 ท่อส่ งนํ้าและเครื่ องสู บนํ้าเล็กได้ แต่มีขอ้ เสี ยที่ใช้เวลาในการให้น้ าํ นานกว่า หัวมินิสปริ งเกอร์ ที่มีอตั ราการจ่ายนํ้าสู ง และนอกจากนี้ ยงั มีโอกาสที่จะเกิ ด ปั ญหาอุดตันที่รูฉีดหรื อนมหนูได้ง่ายเนื่ องจากรู ฉีดมีขนาดเล็ก หลักในการเลือกสปริงเกอร์ ( Sprinkler) ทีด่ ี ควรพิจารณาจาก 1. สปริ งเกอร์ ที่มีการกระจายนํ้าให้เหมาะสมกับชนิ ดและอายุของพืช เกษตรกร ไม่ควรเลื อกสปริ งเกอร์ ที่มีการกระจายนํ้าเกินเขตรากหรื อเขตทรงพุ่ม เพราะ ถ้าเกินจะทําให้เกิดการสู ญเสี ยนํ้าโดยเปล่าประโยชน์ หลักการที่ถูกต้องคือควร ให้อยูภ่ ายในเขตราก เช่น 60-80% ของเขตราก 2. สปริ งเกอร์ ที่ได้มาตรฐานและมี อตั ราการไหลและการกระจายนํ้าสมํ่าเสมอ สปริ งเกอร์ ที่มีมาตรฐานควรมีคุณสมบัติดงั นี้ 2.1 มีรูปแบบการกระจายนํ้าอย่าสมํ่าเสมอ ไม่จ่ายนํ้ามากด้านหนึ่ งและจ่ายนํ้า น้อยอีกด้านหนึ่ง หรื อรัศมีเหวีย่ งนํ้ากว้างไม่เท่ากัน 2.2 มีขนาดรู ฉีดที่เป็ นมาตรฐานเดีย วกัน ซึ่ งจะทําให้มีความคลาดเคลื่อนของ อัตราการจ่ายนํ้าจากสปริ งเกอร์ ต่างกันน้อย 2.3 ชิ้ น ส่ ว นต่ า งๆคงทนและไม่ สึ ก หรอง่ า ยๆ จนกระทั่ง เป็ นเหตุ ใ ห้ ก าร กระจายนํ้าและอัตราการไหลของนํ้าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเมื่อมีการใช้ งานไปนานๆ 2.4 ควรจะทํา จากวัส ดุ ที่ มี ค วามคงทน ทนแดด ทนลม ไม่ ก รอบแตกหัก เสี ยหายในระยะเวลาสั้นๆ การเลือกอัตราการจ่ ายนา้ ทีเ่ หมาะสม เลื อ กสปริ ง เกอร์ ที่ มี อ ัตราการจ่ า ยนํ้า ไม่ เ กิ น อัต ราการซึ ม ของนํ้า ของดิ น ดิ น ที่ ค่อนข้างเหนี ยวนั้นจะมีความสามารถในการระบายนํ้าได้ไม่ค่อยดีนกั ซึ่ งอาจจะทําให้เกิดการไหล่ บ่าของนํ้าออกนอกเขตราก เนื่ องจากนํ้าซึ มลงดิ นได้ไม่ทนั โดยเฉพาะเมื่อเลื อกใช้สปริ งเกอร์ ที่มี อัตราการจ่ายนํ้าสู ง เกินกว่าประมาณ 150 ลิตร/ชม. และเมื่อมีการให้ปุ๋ยนั้น อาจทําให้ปุ๋ยออกนอก


93 เขตรากไปด้วยเช่ นกัน ทั้งนี้ การเลื อกสปริ งเกอร์ น้ นั จะต้องดูลกั ษณะของดิ นและความต้องการนํ้า ของพืชว่ามากน้อยเพียงใดด้วย 1. ถ้าคํานึ งถึงค่าใช้จ่ายในการลงทุนที่มีอยูอ่ ย่างจํากัดแล้วนั้น ไม่ควรเลือกสปริ ง เกอร์ อตั ราสู ง เพราะจะทําให้ระบบต่างๆมีอุปกรณ์ท่อ วาล์ว ปั๊ ม และอื่นๆใหญ่ เกินความจําเป็ น ถ้าเงินในการลงทุนมีอยูอ่ ย่างจํากัดมากควรพิจารณาอัตราไม่ เกินประมาณ 150 ลิตร/ชม. 2. เลื อกสปริ งเกอร์ มีรูฉีดไม่เล็กเกิ นไป ไม่ควรเลื อกอัตราจ่ายนํ้าที่น้อยเกิ นไป กล่ าวคื อน้อยกว่า ประมาณ 70 ลิ ตร/ชม. เนื่ องจากรู ฉีดขนาดเล็ กจะทําให้มี โอกาสเสี่ ยงต่อการเกิดการอุดตันได้ง่าย โดยเฉพาะกรณี ที่มีสารแขวนลอยมาก และไม่ค่อยมีเวลาบํารุ งรักษามากนัก การออกแบบท่อ ท่อและอุปกรณ์ต่างๆเช่น วาล์วต่างๆต้องมีขนาดไม่เล็กเกินไปจนส่ งผลให้น้ าํ ไหล ได้ไม่สะดวก หรื อเกิดการสู ญเสี ยแรงดันมากทําให้ส่งนํ้าไปได้ไม่ไกล การที่ขนาดของท่อนั้นถูกรี ด ให้เล็กลงจะทําให้เห็ นว่านํ้าไหลไปในท่อด้วยความเร็ วสู ง แต่อย่างไรก็ตาม ความเร็ วที่สูงขึ้นนั้น กลับเป็ นโทษที่ทาํ ให้น้ าํ ไหลปั่ นป่ วนจนทําให้แรงดันตกมากขึ้นในระยะทางยาวๆ ซึ่ งถ้าเทียบกัน แล้วนั้นจะเห็นได้วา่ มีความสามารถในการส่ งนํ้านั้นน้อยกว่าท่อใหญ่ๆ ดังนั้น ท่อยิง่ ใหญ่ยิ่งทําให้น้ าํ ไหลได้สะดวกและไหลได้ไกลมากยิ่งขึ้น แต่ราคาของท่อนั้นจะแพงมากขึ้นตามขนาดของท่อ สรุ ป คือ ควรเลือกท่อให้มีขนาดเหมาะสม ไม่เล็กเกินไปจนสู ญเสี ยแรงดันมาก ส่ งนํ้าได้นอ้ ย และไม่ใหญ่ เกินไปจนต้องลงทุนสู งเกินความจําเป็ น 1. ขนาดท่อแขนง ท่อแขนงเป็ นท่อที่ใช้ติดตั้งสปริ งเกอร์ มักใช้ท่อพีอี ซึ่ งเป็ นท่อ อ่อนทําด้วยพลาสติกพีอีสีดาํ ขนาด 16 , 20 ,25 ม.ม. การตัดสิ นใจว่าจะใช้ ขนาดเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กบั หลักเกณฑ์ว่าจะต้องเลื อกท่อที่มีขนาดใหญ่พอที่จะ ไม่ทาํ ให้เกิ ดการสู ญเสี ยแรงดันในท่อแขนงมากเกิ นไป เพราะจะทําให้น้ าํ ที่ ไหลออกจากสปริ งเกอร์ ไม่สมํ่าเสมอตลอดความยาวเส้นท่อ เนื่ องจากเพราะมี แรงดันที่หวั จ่ายนํ้าที่แตกต่างกันมากเกินไป กล่าวคือ ต้นๆท่อนั้นจะมีแรงดัน นํ้า ที่ สูง กว่า บริ เวณปลายท่ อ ทางตรงกันข้า ม ถ้าใช้ท่อที่ มีข นาดเล็ก เกิ นไป


94 แรงดันสู ญเสี ยมาก แรงดันที่บริ เวณปลายๆท่อเหลื อน้อย นํ้าจึงไหลน้อยกว่า บริ เวณต้นๆท่อ หรื อบางครั้งหัวสปริ งเกอร์ หมุนได้ไม่เต็มที่ 2. ขนาดท่ อเมนหรื อท่ อย่อยในแปลง ท่ อเมนและท่อย่อยในแปลง ส่ วนใหญ่ เลื อกใช้ท่อพีวีซีหรื อท่อพีอี การหาขนาดท่อที่ เหมาะสม ควรจะพิจารณาว่า ไม่ ใ ห้ ท่ อ มี ข นาดเล็ ก เกิ น ไปจนนํ้า ไหลในท่ อ เร็ ว มากจนเกิ น ไป คื อ ไหล มากกว่า 1.5 เมตร/วินาที เพราะถ้านํ้าในท่อไหลเร็ วมากอาจก่อให้เกิ ดปั ญหา ได้ เช่ น แรงดันนํ้า สู ญเสี ย มากจะต้องใช้ปั๊ ม ที่ มี แรงดันมากขึ้ น ใช้ก าํ ลัง ม้า เครื่ องยนต์หรื อมอเตอร์ มากขึ้นและขนาดใหญ่ข้ ึนด้วย ซึ่ งจะส่ งผลต่อค่านํ้ามัน ค่าไฟฟ้ า และค่าบํารุ งซ่ อมแซมรักษา ที่จะเพิ่มมากตามไปด้วย แต่ถา้ ท่อใหญ่ เกิ นไป แม้จะมี แรงดันสู ญเสี ยน้อยแต่จะเสี ยค่าท่อและอุ ปกรณ์ แพงขึ้ นตาม ขนาดอุปกรณ์และท่อที่โตขึ้นเช่นกัน การเลือกตัวกรองนา้ ในระบบเกษตร เครื่ องกรองนํ้านั้นถือเป็ นอุปกรณ์ที่สาํ คัญในระบบการให้น้ าํ แก่พืชผลเกษตรกรรม ปั จจัยหนึ่ง หากเครื่ องกรองนั้นมีประสิ ทธิ ภาพก็จะส่ งผลต่อการให้น้ าํ และปุ๋ ยแก่พืชผลการเกษตรที่ ทัว่ ถึงกว่า ดังนั้นการลงทุนเรื่ องเครื่ องกรองนํ้าถือเป็ นปั จจัยสําคัญในการช่วยลดความเสี ยหายที่อาจ เกิดขึ้นจากความไม่มีประสิ ทธิ ภาพของกําลังแรงงานที่ทาํ หน้าที่ลา้ งแคะสิ่ งอุดตันหัวฉี ด ซึ่ งความไม่ มีประสิ ทธิ ภาพเหล่านี้ อาจทําให้ตน้ ไม้ได้น้ าํ ได้ปุ๋ยอย่างไม่ทวั่ ถึ งและส่ งผลเสี ยที่ ตามมาต่อพืชผล เกษตรได้ เครื่ องกรองนํ้าปกติน้ นั มีหลายรู ปแบบ แบบไซโคลนเหมาะสําหรับนํ้าที่มีทรายมาก กรอง ทรายเหมาะสําหรั บการกรองที่ มีอนุ ภาคที่ ละเอียดมักใช้กบั ระบบนํ้าหยด ข้อแนะนําที่ สําคัญอี ก ประการหนึ่งคือ ระบบให้น้ าํ อย่างน้อยนั้นจะต้องมีเครื่ องกรองนํ้าแบบตะแกรงหรื อแบบดิสก์ แบบ ตะแกรงนั้นจะมีราคาถูกกว่า แต่ประสิ ทธิ ภาพในด้านการกรองนั้นจะด้อยกว่าแบบดิ สก์ เนื่ องจาก เพราะมีการกรองเพียงแค่ผิวตาข่ายกรองเท่านั้น แต่การกรองแบบดิสก์จะทํางานในลักษณะกรองที่ ผิวและมี ความลึ กของการกรองด้วย การกรองแบบดิ สก์จึงมี ประสิ ทธิ ภาพและให้ประสิ ทธิ ผลที่ ดีกว่า


95 การตรวจสอบการใช้ งานและการบารุ งรักษาระบบให้ นา้ นอกจากการออกแบบการวางระบบนํ้าและการเลื อกรู ป แบบ ขนาด อุ ปกรณ์ ที่ เหมาะสมกับระบบนํ้าแล้วนั้น การหมัน่ ตรวจสอบการใช้งานและการบํารุ งรักษาระบบการให้น้ าํ ถือ ว่าเป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่มีความสําคัญมากต่อการทําเกษตรกรรมที่สมบูรณ์แบบ เกษตรกรจึงควรหมัน่ ตรวจสอบการทํางานของระบบจ่ายนํ้าว่าสามารถทําให้มีการปล่อยนํ้าออกมาได้สมํ่าเสมอและมี ประสิ ทธิ ภาพที่ดีในการให้น้ าํ หรื อไม่ เริ่ ม จากประการแรก การพิ จารณาว่า ติ ดตั้ง สปริ ง เกอร์ ถู ก ต้อ งหรื อ ไม่ มัน่ คงหรื อไม่ อยูใ่ นตําแหน่งที่ฉีดนํ้าแล้วมีการกระจายออกนอกเขตรากหรื อไม่ เป็ นต้น ประการที่สอง ควรตรวจตราเรื่ องการอุดตันของหัวจ่ายนํ้า ซึ่ งการอุดตัน ของหัวจ่ายนํ้านี้ มกั จะเกิ ดขึ้ นเฉพาะบริ เวณมากกว่าการเกิ ดพร้ อมกันหมดทั้งระบบ และหากเมื่ อ เกิ ดขึ้นที่ใดที่หนึ่ ง ก็จะทําให้บริ เวณนั้นได้รับนํ้าและปุ๋ ยน้อยกว่าที่อื่นๆ เพราะฉะนั้นต้องมีการใส่ เครื่ องกรองนํ้าที่เหมาะสมและล้างทําความสะอาดหัวจ่ายนํ้าที่อุดตัน รวมถึ งการล้างไล่ตะกอนใน ท่อ เป็ นต้น ประการทีส่ าม ควรเปิ ดนํ้าล้างตะกอนในท่อเมนและท่อแขนง โดยเปิ ดไล่ ทีละส่ วนเพื่อให้มีความแรงและแรงดันในนํ้ามากพอที่จะล้างทําความสะอาดภายในท่อได้ ควรจะ ล้างอย่างน้อยทุกๆ 2 สัปดาห์ ประการที่สี่ ควรหมัน่ เช็ ค การรั่ วซึ มของนํ้า ออกนอกระบบ เพราะการ รั่ วซึ ม ของนํ้า นั้นเป็ นสาเหตุ ใ ห้สู ญ เสี ย นํ้า และปุ๋ ยเป็ นผลให้ ป ระสิ ท ธิ ภาพการให้ น้ าํ ลดน้อ ยลง เทคนิ คก็คือ การติดตั้งมาตรวัดนํ้าหรื อมอเตอร์ น้ าํ จะช่ วยให้ทราบการเปลี่ ยนแปลงอัตราการไหล ของนํ้าที่ ผิดปกติ ไปจากเดิ ม กล่ าวคื อ ถ้าอัตราการไหลน้อยลง อาจจะหมายถึ งการอุ ดตันของสิ่ ง แปลกปลอมหรื อตะกอน แต่ถา้ ไหลมากผิดปกติ แสดงว่าอาจจะมีการรั่วและแตกของท่อเกิดขึ้น ประการสุ ด ท้ า ย ตรวจสอบเครื่ องกรองนํ้า โดยปกติ ค วรจะต้อถอดไส้ กรองมาล้างเป็ นครั้งคราว โดยขึ้นอยูก่ บั ความสกปรกของนํ้า ถ้าล้างบ่อยก็จะมีขอ้ ดีคือเป็ นการป้ อง การการฝั งตัวแน่ นของคราบและสิ่ งสกปรกต่างๆ ทําให้สามารถล้างออกได้ง่ายขึ้ น และก่อนการ


96 หยุดจ่ายนํ้าในระยะยาว ควรล้างแล้วถอดออกเพื่อป้ องกันการจับตัวของตะกอนซึ่ งจะทําให้ลา้ งออก จากไส้กรองได้ลาํ บากมากยิง่ ขึ้นหากทิ้งไว้16 วิธีการดาเนินงานก่อสร้ างระบบท่ อนา้ แต่ ละชนิด วิธีการก่อสร้างระบบท่อนํ้าแบบนํ้าหยด ระบบนํ้าหยด เป็ นเทคโนโลยีการชลประทานวิธีหนึ่งในหลายวิธี เป็ นการให้น้ าํ แก่ พืช โดยการส่ งนํ้าผ่านระบบท่อและปล่อยนํ้าออกทางหัวนํ้าหยด ซึ่ งติดตั้งไว้บริ เวณโคนต้นพืช นํ้า จะหยดซึ มลงมาบริ เวณรากช้า ๆ สมํ่าเสมอในอัตรา 4-20 ลิตร ต่อชัว่ โมง ที่แรงดัน 5-25 PSI ขึ้นอยู่ กับระบบ ชนิดพืช ขนาดพื้นที่ และชนิ ดของดิน ทําให้ดินมีความชื้ นคงที่ในระดับที่พืชต้องการและ เหมาะสมตลอดเวลา ส่ งผลให้พืชเจริ ญเติบโตอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ข้อดีของนํ้าหยดมีหลายประการ 1. ประหยัดนํ้ามากกว่าทุก ๆ วิธี ไม่วา่ รดด้วยมือหรื อใช้สปริ งเกอร์ หรื อวิธีอื่นใด ก็ตามและแก้ปัญหาภาวะวิกฤตการขาดแคลนนํ้าในบางฤดู ซ่ ึ งเริ่ มเกิ ดขึ้ นใน ปัจจุบนั 2. ประหยัดต้นทุนในการบริ หารจัดการ กล่าวคือ ลงทุนครั้งเดียวแต่ให้ผลคุม้ ค่า ในระยะยาว การติดตั้งอุปกรณ์ไม่ยุ่งยาก ติดตั้งครั้งเดี ยวและใช้งานได้ตลอด อายุ สามารถควบคุ มการ เปิ ด-ปิ ดนํ้า โดยใช้ระบบ manual และ automatic หรื อ micro controlerโดยเฉพาะระบบตั้งเวลาและตรวจจับความชื้ นทําให้ ประหยัดค่าแรง มีรายงานการใช้แรงงานดูแลและบํารุ งรักษาระบบในแปลง องุ่ นที่ รัฐแคลิ ฟ อร์ เนี ย สหรั ฐ พบว่า ใช้แรงงาน 1 แรง ต่ อพื้ นที่ 50 เอเคอร์ (100 ไร่ ) ต่อวัน

16

kanokproduct.com. การออกแบบระบบให้น้ าํ [ออนไลน์]. 22 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มา http://www.kanokproduct.com/content-การออกแบบระบบการให้น้ าํ ในสวน-4-191931211-1.html


97 3. ใช้ได้กบั พื้นที่ทุกประเภทไม่ว่าดิ นร่ วน ดิ นทราย หรื อดิ นเหนี ยว รวมทั้งดิ น เค็มและดินด่าง นํ้าหยดและไม่ละลายเกลือมาตกค้างอยูท่ ี่ผวิ ดินบน 4. สามารถใช้กบั พืชประเภทต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิด ยกเว้นพืชที่ตอ้ งการนํ้าขัง 5. เหมาะสําหรับพื้นที่ขาดแคลนนํ้า ต้องการใช้น้ าํ อย่างประหยัด 6. ให้ประสิ ทธิ ภาพในการใช้น้ าํ สู งที่สุด 75-95 เปอร์ เซ็นต์ ซึ่ งทําให้มีการสู ญเสี ย นํ้าน้อยที่สุด และเมื่อเทียบกับการปล่อยนํ้าท่วมขัง มีประสิ ทธิ ภาพเพียง 25-50 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ในระบบสปริ งเกอร์ แบบติ ด ตายตัว มี ป ระสิ ทธิ ภ าพ 70-80 เปอร์ เซ็ นต์ และในระบบสปริ งเกอร์ แบบเคลื่ อนย้ายมี ประสิ ทธิ ภาพ 65-75 เปอร์ เซ็นต์ ประหยัดเวลาทํางาน ไม่ตอ้ งคอยเฝ้ า ใช้เวลาไปทําอย่างอื่นได้เต็มที่ ไปพร้อม ๆ กับการใช้น้ าํ 7. ประหยัดเวลาทํางาน ไม่ตอ้ งคอยเฝ้ า ใช้เวลาไปทํางานอย่างอื่ นได้เต็มที่ ไป พร้อม ๆ กับการให้น้ าํ 8. ลดการระบาดของศัตรู พืชบางชนิดได้ดี เช่น โรคพืช และวัชพืช 9. ได้ผ ลผลิ ต สู ง กว่า การใช้ ร ะบบชลประทานแบบอื่ น ทั้ง ด้า นปริ ม าณและ คุณภาพ ในขณะเดียวกันก็ประหยัดต้นทุนนํ้า ทําให้มีกาํ ไรสู งกว่า 10. ระบบนํ้าหยด สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นละลายไปกับนํ้าพร้ อม ๆ กันทํา ให้ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาใส่ ปุ๋ย พ่นยาอี ก ทั้งนี้ ตอ้ งติ ดตั้งอุปกรณ์ จ่ายปุ๋ ย (injector) เข้ากับระบบ


98 ระบบนา้ หยดเป็ นเทคโนโลยีใหม่ สาหรับเกษตรไทยจึงมีข้อจากัดอยู่ ต้องใช้ตน้ ทุนสู งในระยะแรก การติดตั้งต้องอาศัยผูเ้ ชี่ ยวชาญมาให้คาํ แนะนํา และ เกษตรกรจะต้องมีความรู ้ปริ มาณการใช้น้ าํ ของพืชแต่ละชนิดที่ปลูก เช่น มะเขือเทศ ต้องการปริ มาณ นํ้าประมาณ 40 มิลลิเมตร/ไร่ /วัน หรื อประมาณ 1.5 ลิตร/ต้น/วัน เป็ นต้น นอกจากนี้ เกษตรกรต้องมี การค้นคว้าหาแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบติดตั้ง และบริ หาร ระบบ จะต้องคํา นึ ง ถึ ง การจัดการระบบ เช่ น ระยะเวลาให้น้ าํ การใช้ปุ๋ย ชนิ ดปุ๋ ย ตลอดจนต้อง คํานึงถึงปั จจัยแวดล้อมอื่น ๆ พืชจึงจะได้ปุ๋ย หรื อสารเคมี ใช้อย่างพอทุกช่วงการเจริ ญเติบโต การบริ หารระบบนํ้าหยดให้ได้ผลสู งสุ ด มี 3 ประการ 1. การให้น้ าํ ปริ มาณที่เหมาะสม กับความต้องการของพืชแต่ละชนิด 2. การให้ปุ๋ยปริ มาณที่เหมาะสม ซึ่ งจะละลายผ่านเข้าสู่ ระบบ 3. การวางแผนการบํารุ งรักษาระบบ อุปกรณ์ จ่ายปุ๋ ยในระบบนา้ หยด อุปกรณ์จ่ายปุ๋ ยในระบบนํ้าหยด ซึ่ งเป็ นอุปกรณ์ที่ติดตั้งเพิ่มเติม จุดหนึ่ งของระบบ นํ้าหยด ทําหน้าที่ช่วยดูดสารละลายปุ๋ ยเข้าสู่ ระบบ นํ้ากับปุ๋ ยจะละลายปนกันไปจ่ายออกทางหัวนํ้า หยด ปั จ จุ บ ัน อุ ป กรณ์ จ่ า ยปุ๋ ยที่ มี จ าํ หน่ า ยเป็ นของต่ า งประเทศ นํา เข้า มาใช้ก ันอยู่บ ้า งแต่ ย งั ไม่ แพร่ หลายมากนัก เนื่ องจากมีราคาแพงมาก ซึ่ งถ้าเป็ นเกษตรกรรายย่อยทัว่ ไป ไม่สามารถหาซื้ อมา ใช้ในการเพาะปลูกเพราะไม่เหมาะกับการลงทุนและมีขอ้ จํากัดบางประการ โดยเฉพาะถ้ามีการอุด ตัน ในช่ อ งดู ด ปุ๋ ยจะทํา ความสะอาดได้ ย าก เนื่ อ งจากช่ อ งดู ด ปุ๋ ยมี ล ัก ษณะเป็ นช่ อ งแบนรู ป สี่ เหลี่ ยมผืนผ้าแคบ ๆ นอกจากนี้ ก ารผลิ ต ต้องใช้ระบบการหลอมและขึ้ นรู ปพลาสติ กในระบบ โรงงานเพี ย งอย่า งเดี ย ว ไม่ ส ามารถใช้ว สั ดุ และภู มิ ปั ญญาในท้องถิ่ น ทํา ได้ หรื อถ้า ทํา ได้ก็ ต้อ ง ออกแบบใหม่หรื อทําเลียนแบบ ซึ่ งอาจมีความผิด ฐานละเมิดสิ ทธิบตั ร


99 วัต ถุ ป ระสงค์ห ลัก ในการประดิ ษ ฐ์ อุ ป กรณ์ จ่ า ยปุ๋ ย ในระบบนํ้า หยดในครั้ งนี้ นอกจากเพื่อให้เกษตรกรมีโอกาสได้ใช้ของมีราคาถูก โดยได้ออกแบบและประดิษฐ์ไม่ซ้ าํ แบบของ ต่างประเทศในขนาดเดี ยวกัน พบว่ามีราคาถูกกว่าของต่างประเทศกว่า 10 เท่าตัว มีประสิ ทธิ ภาพ การใช้ง านดี ก ว่า คื อ อุ ดตันได้ย ากกว่า แต่ ใ ช้หลัก การทํา งานแบบเดี ย วกัน กล่ า วคื อ เป็ นระบบ venturi tube ซึ่ งง่ายต่อการติดตั้งและใช้งานโดยเฉพาะอุปกรณ์น้ ี สามารถผลิตได้โดยใช้วสั ดุและ เครื่ องมืออุ ตสาหกรรมขนาดเล็กที่มีอยู่ในท้องถิ่ น หรื อสามารถหลอมขึ้ นรู ปพลาสติ กให้เป็ นชิ้ น เดียวกันในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางก็ได้ ซึ่ งราคาไม่รวมเครื่ องปั๊ มนํ้า ประมาณไม่เกิ น 100 บาท หรื อแพงกว่านี้ข้ ึนอยูก่ บั วัสดุที่ใช้ ลักษณะทัว่ ไปของอุปกรณ์จ่ายปุ๋ ยในระบบนํ้าหยดที่ประดิษฐ์ มีลกั ษณะที่เป็ นท่อ 2 ส่ วน คือท่อหลักกับท่อแยก ซึ่ งทั้ง 2 ส่ วนนี้เชื่อมต่อกันตรงกลางคล้ายท่อสามทาง ท่อหลัก มีลกั ษณะเป็ นรู ปทรงกระบอกกลวงใน บริ เวณตอนกลางท่อภายในจะมี ผนังหนาและมีรูคอคอดขนาดเล็กทะลุ ถึงกัน ผนังคอคอดด้านเข้า มีลกั ษณะเป็ นกรวยสอบเข้าหารู ส่ วนทางด้านนํ้าออกผนังภายในตัดตรงตั้งฉากกับผิวเท่ารู คอคอด มีลกั ษณะเป็ นรู กลม ขนาดเท่ากัน ตลอด ส่ วนที่ 2 คือ ท่อแยก เป็ นท่อสั้นและมีขนาดเล็กกว่าท่อหลัก วางตั้งฉากติดกับท่อ หลัก ภายในมีรูคอคอดเช่นกัน จุดเชื่อมของรู คอคอดภายในระหว่าง 2 ท่อนี้ ทํามุม a ที่ปลายอีกด้าน หนึ่ งของท่อแยกนี้ ใช้ต่อกับท่อพลาสติก ทําหน้าที่ดูดสารละลายปุ๋ ยเข้าไป ในรู คอคอดของท่อหลัก ผสมกับนํ้าส่ งออกไปยังหัวนํ้าหยดต่อไป หลักการทางานของอุปกรณ์ จ่ายปุ๋ ย การให้ปุ๋ยผ่านระบบนํ้าหยด โดยใช้อุปกรณ์จ่ายปุ๋ ย มีหน้าที่ดูดปุ๋ ยที่เป็ นสารละลาย เข้า ไปในระบบท่ อ โดยไม่ ต้อ งใช้ ปั๊ ม เครื่ อ งยนต์ ก ลไกที่ เ คลื่ อ นไหวจากไฟฟ้ าหรื อ นํ้า มัน ให้ สิ้ น เปลื อ ง แต่ เ ป็ นการใช้พ ลัง งานจากมวลและความเร็ วของนํ้า ที่ อ ยู่ใ นท่ อ นั่น เอง ไม่ ต้อ งเสี ย ค่าใช้จ่าย ซึ่ งเป็ นปรากฏการณ์ ความสัมพันธ์ของธรรมชาติที่มีท้ งั พลังงานศักย์ พลังงานจลน์ และ แรงดันของนํ้า ภายในท่ออุ ป กรณ์ จ่า ยปุ๋ ยระบบนํ้า หยด ที่ ใช้กนั อยู่ในปั จจุ บนั มี 2 ประเภท คื อ ประเภทท่อที่มีช่องคอคอด ซึ่ งไม่มีชิ้นส่ วนที่เคลื่อนไหว และประเภทที่มีชิ้นส่ วนที่เคลื่อนไหวคือ มี ลูกสู บเคลื่อนที่ดว้ ยพลังนํ้า หรื อเป็ นชนิ ดใช้ไฟฟ้ า สําหรับประเภท venture tube ทํางานโดยอาศัย


100 หลักการของ Daniel Bernoulli ซึ่ งเป็ นนักวิทยาศาสตร์ ชาวสวิตเซอร์ แลนด์ เป็ นผูต้ ้ งั โดยให้นิยามว่า เมื่อของเหลวหรื อก๊าซ เคลื่อนที่เร็ วขึ้นความดันจะลดลง หรื อเมื่อความเร็ วลดลงความดันของมันจะ เพิ่มขึ้น ผลงานของ Bernoulli ที่นาํ มาประยุกต์ใช้ในปั จจุบนั ตัวอย่างเช่ น ระบบคาร์ บูเรเตอร์ ใน รถยนต์ ระบบปั๊ มสุ ญญากาศ ระบบลูกยางสเปรย์น้ าํ หอม และระบบท่อ venture ของเครื่ องจ่ายปุ๋ ย ในระบบนํ้าหยด เป็ นต้น วิธีการก่อสร้ างระบบท่อนา้ แบบสปริงเกอร์

ภาพที่3 –27 ภาพวิธีการต่อระบบนํ้า ที่มา http://www.mitkaset.biz/home-4 การเดิ นระบบนํ้าที่ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องโดยจะทําการดําเนิ นการวางระบบนํ้า ให้ครอบคลุมกับพื้นที่ที่จาํ เป็ นต้องใช้น้ าํ ทั้งหมด โดยระบุจะดําเนิ นงานตามแผนที่ได้วางไว้รวมถึ ง คบคุมต้นทุนที่เกิดขึ้นให้ต่าํ ที่สุด


101

กาหนดแผนงานดาเนินงานในภาครวม วันที่ 1 1. จัดกลุ่มตามรายชื่อที่จดั เรี ยงไว้ ตามโซนพื้นที่ของภาคแต่ละภาค 2. กระจายกลุ่มที่ได้จดั เรี ยงไว้ไปยังพื้นที่ของแต่ละภาค เพื่อจัดเตรี ยมพื้นที่ใน การขุดแนวท่อนํ้าเพื่อที่จะวางระบบท่อนํ้า 3. รื้ อท่อเก่าจากระบบท่อนํ้าที่เคยวางไว้ เอานํามาใช้กบั ระบบท่อนํ้าที่จะวางใหม่ เพื่อลดต้นทุน 4. ดําเนิ นกระบวนการ ขุดดิ นเพื่อที่จะวางระบบท่อนํ้า จุดที่ดาํ เนิ นกระบวนการ คือ สวนสมรม 5. ติดตั้งท่อ PE โดยใช้ระบบนํ้าหยดในบริ เวณตั้งแต่ทางเข้าศูนย์กสิ กรรมมาบ เอื้อง จนถึงบ้านดิน วันที่ 2 1. โดยให้แต่ละคนเตรี ยมท่อ PVC ทํารั้วถัว่ ฝักยาว 2. วางระบบท่อนํ้าตามที่ได้วางแผนไว้ 3. ทําการตรวจสอบและแก้ไขระบบนํ้าท่อ PE ที่วางไว้ 4. ตัดไม้ไผ่สาํ หรับเป็ นฐานยึดตัวท่อสปริ งเกอร์ ตามแปลงแก้วมังกร 5. ติดตั้งระบบสปิ งเกอร์ จนเสร็ จ 6. ทดสอบระบบนํ้าทั้งหมด


102 วันที่ 3 1. ต่อระบบท่อนํ้าไปยังเล้าไก่ 2. ซ่อมแซมระบบหัวสปริ งเกอร์ ตามแนวแปลงแก้วมังกร 3. ทดสอบและทําการแก้ไขจุดบกพร่ องของ ระบบท่อนํ้า 4. ทําการแนะนําและบรรยายเกี่ยวกับ ระบบท่อนํ้าที่ได้ทาํ ได้วางระบบไว้ให้กบั ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง 5. ส่ งมอบงานให้ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง 6. ทําระบบนํ้าหยดจากถุงนํ้าเกลือ 7. ตัดไม้ค้ าํ ของระบบนํ้าหยด

การวางแผนกาลังคนในการดาเนินงาน วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556 1. แบ่งคนจํานวน 15 คน ในการขุดแนววางท่อนํ้าหลัก ตลอดทั้งสาย 2. ทําการแบ่งคนส่ วนที่เหลือในการวางท่อนํ้าหลัก วันเสาร์ ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556 1. ทําการเดินระบบนํ้าส่ วนย่อยเข้าในพื้นที่ต่างๆ โดยแบ่งคนในส่ วนของพืชเตี้ย 15คนและฟาร์มสัตว์ 5คน ส่ วนของแปลงแก้วมังกรนั้นจะใช้คนที่เหลือ ทั้งหมด


103 วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556 1. จัดการใส่ หวั สปริ งเกอร์ ของแปลงแก้วมังกรทุกจุด 2. จัดการใส่ ระบบนํ้ามาตรฐานที่ฟาร์ มสัตว์ 3. ทดสอบนํ้าทั้งระบบที่ได้ทาํ การวางไว้ 4. ส่ งมอบระบบนํ้าให้กบั ทางมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

แผนงบประมาณ ตารางที่ 3 - 12ตารางงบประมาณค่าใช้จ่ายทีมระบบนํ้า ลาดับ

รายการ

จานวน

หน่ วยนับ

ราคาหน่ วยละ

ราคารวม

1

ท่อ 2 นิ้ว

35

เส้น

60.00

2,100.00

2

ท่อ 6 หุน

200

เส้น

22.00

4,400.00

3

หัวสปริ งเกอร์ 6 หุน

200

ตัว

10.00

2,000.00

4

ข้อต่อ 3 ทาง 6 หุน

140

ตัว

8.00

1,120.00

5

ข้อต่อ 3 ทาง 2 นิ้ว ออก 6 หุน

35

ตัว

10.00

350.00

6

ข้องอ 6 หุน

35

ตัว

6.00

210.00

7

วาวล์ปิดเปิ ด 6 หุน

35

ตัว

30.00

1,050.00

8

วาวล์ปิดเปิ ด 2 นิ้ว

1

ตัว

90.00

90.00

9

ข้อต่อตรง 2 นิ้ว

1

ตัว

20.00

20.00

10

ข้อต่อ 3 ทาง 2 นิ้ว

2

ตัว

45.00

90.00

11

ตัวปิ ด 2 นิ้ว

2

ตัว

60.00

120.00

12

กาวป๋ อง

1

กระป๋ อง

150.00

150.00

13 14

ท่อPE 6 หุน ลวด

200 5

เมตร ขด

88.00

1,200.00 440.00


104 ลาดับ 15

รายการ

จานวน

หน่ วยนับ

30

คู่

ถุงมือ รวมแผนงบประมาณระบบท่ อนา้

ราคาหน่ วยละ 240.00

ราคารวม 8.00 13,580.00

กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556 การปฏิบตั ิงาน – ทําการขุดดิ นเพื่อหาแนวท่อเก่าที่ยงั สามารถใช้ได้นาํ มาใช้ ประโยชน์และขุดดินเพื่อวางแนวท่อใหม่ในการวางระบบนํ้า วันเสาร์ ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556 การปฏิบตั ิงาน – ทําการวางระบบท่อนํ้าในพื้นที่ต่างๆและวางระบบหยดนํ้าหน้า ทางเข้าศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556 การปฏิ บตั ิงาน – ทําการติดสปริ งเกอร์ รอบๆแปลงผัก และตรวจสอบระบบการ ไหลเวียนของนํ้า ความแรง ว่าออกครบทุกอันรึ ป่าวและเช็คความเรี ยบร้อยของตัวท่อและ ปรับปรุ งแก้ไขให้มีประสิ ทธิ ภาพ


105

การดาเนินงาน วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556

ภาพที่ 3 –28 ภาพการปฏิบตั ิงานทีมระบบนํ้า วันที่ 13 กันยายน 2556 ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ สําหรับวันศุกร์ ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556ทางระบบนํ้าจะทําการขุดดิ นและจัดเตรี ยมพื้นที่ บริ เวณที่จะวางท่อนํ้าเพื่อที่จะทําการต่อท่อP/E เพื่อเพิ่มทางเดินนํ้าให้กระจายนํ้าไปในส่ วนต่างๆ เมื่อทําการขุดดิ นเพื่อวางท่อเสร็ จแล้วก็จะทําการต่อท่อไปในส่ วนแรกคือบริ เวณแปลงแก้วมังกรที่ จะวางระบบนํ้าสปิ งเกอร์ สําหรับพืชที่ตอ้ งการการดูแลเป็ นประจํา และทําการเดินท่อนํ้าไปในส่ วน ที่สอง คือ บริ เวณเล้าไก่เพื่อที่จะทําการต่อท่อก๊อกนํ้าไว้ใช้บริ เวณนั้นเพื่ออํานวยความสะดวกในการ ทําความสะอาดเล้าไก่ และได้ทาํ การวางระบบนํ้าหยดบริ เวณทางหน้าศูนย์กสิ กรรมเสร็ จสิ้ นภายใน ตอนเย็น


106 วันเสาร์ ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556

ภาพที่ 3 –29 ภาพการปฏิบตั ิงานทีมระบบนํ้า วันที่ 14 กันยายน 2556 ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ สําหรับวันเสาร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556 ทางระบบนํ้าจะทําการต่อท่อลงไปในแต่ละแปลง เพื่อทําการวางท่อสําหรับต่อหัวสปริ งเกอร์ แต่ละหัวให้สามารถกระจายนํ้าให้พืชได้อย่างทัว่ ถึง เมื่อ วางท่อเสร็ จก็จะทําการต่อหัวสปริ งเกอร์ ลงไปและใช้เทปพันท่อพันเพื่อไม่ให้หัวสปริ งเกอร์ หลุ ด ออกจากท่อนํ้า เมื่ อพันหัวสปริ งเกอร์ เสร็ จก็จะทําการเปิ ดนํ้าเพื่อตรวจเช็ ดว่ามี อะไรที่ ตอ้ งแก้ไ ข เพิ่มเติมหรื อไม่


107 วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556

ภาพที่ 3 –30 ภาพการปฏิบตั ิงานทีมระบบนํ้า วันที่ 15 กันยายน 2556 ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ ในวันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556 จะเป็ นการปฏิบตั ิงานต่อท่อในบริ เวณเล้าไก่ คือ การเดิ น ระบบนํ้า เข้า สู่ เ ล้า ไก่ โดยดํา เนิ นงานต่ อท่ อเข้า กับ ท่ อ นํ้า หลัก ที่ ไ ด้วางไว้ต้ งั แต่ วนั ที่ 13 หลังจากต่อระบบนํ้าเข้ากับเล้าไก่ เสร็ จแล้วนั้นได้ทาํ การตรวจสอบระบบนํ้าทั้งหมด และแก้ไ ข จุดบกพร่ องหรื อรอยแตกให้เรี ยบร้อย หลังจากนั้นจึงทําการส่ งมอบงานให้ทางศูนย์


108

แผนงบประมาณเปรียบเทียบกับค่ าใช้ จ่ายจริง ตารางที่ 3 – 13 ตารางงบประมาณค่าใช้จ่ายที่จ่ายจริ งทีมระบบนํ้า ลาดับ

รายการ

จานวน หน่ วยนับ ราคาหน่ วยละ ราคารวม

1

ท่อ 2 นิ้ว

35

เส้น

60.00

2,100.00

2

ท่อ 6 หุน

115

เส้น

22.00

2,530.00

3

หัวสปริ งเกอร์ 6 หุน

80

ตัว

10.00

800.00

4

ข้อต่อ 3 ทาง 6 หุน

70

ตัว

8.00

560.00

5

ข้อต่อ 3 ทาง 2 นิ้ว ออก 6 หุน

18

ตัว

10.00

180.00

6

ข้องอ 6 หุน

25

ตัว

6.00

150.00

7

วาวล์ปิดเปิ ด 6 หุน

18

ตัว

30.00

540.00

9

วาวล์ปิดเปิ ด 2 นิ้ว

5

ตัว

90.00

450.00

10

ข้อต่อตรง 2 นิ้ว

4

ตัว

20.00

80.00

11

ข้อต่อ 3 ทาง 2 นิ้ว

6

ตัว

45.00

270.00

12

ตัวปิ ด 2 นิ้ว

3

ตัว

60.00

180.00

13

กาวกระป๋ องใหญ่

2

กระป๋ อง

150.00

300.00

14

กาวกระป๋ องเล็ก

5

กระป๋ อง

35.00

175.00

15

ท่อPE 6 หุน

200

เมตร

-

900.00

16

ลวด

4

ขด

88.00

352.00

17

ถุงมือ

35

คู่

8.00

280.00

18

หัวฟู

100

ตัว

2.00

200.00

19

ครี มตัดเหล็ก

1

อัน

80.00

80.00

20

ตลับเมตร

1

อัน

590.00

590.00

21

เทปขาวพันเกรี ยว

4

อัน

15.00

60.00

รวมแผนงบประมาณระบบท่ อนา้

ผลต่ างจากการวางแผนงบประมาณไว้ ผลต่างที่เกิดขึ้นทั้งหมด 2,803 บาท

10,777.00


109 สาเหตุทเี่ กิดผลต่ างจากการวางแผนงบประมาณและงบประมาณจริง สาเหตุ ที่ เกิ ดผลต่ า งจากงบประมาณที่ ไ ด้วางไว้เนื่ องจากทางกลุ่ มได้ท าํ การขุด ระบบท่อเดิ มของศูนย์กสิ กรรมเพื่อที่ จะนําท่อเดิ มมาใช้ในการวางระบบนํ้าที่ได้วางแผนไว้ทาํ ให้ ช่วยลดต้นทุนค่าท่อที่ไม่ตอ้ งซื้ อเท่ากับจํานวนที่วางแผนไว้

สรุปผลการดาเนินงาน จากที่ ได้วางแผนและได้ดาํ เนิ น งานตามแผนที่ วางไว้ โครงการระบบท่อนํ้าสําหรั บการ เรี ยนรู ้และพึ่งพาตนเองอย่างยัง่ ยืน ประสบความสําเร็ จมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลเป็ นอย่างมาก ซึ่ งสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ได้โดย สามารถตอบสนองวัตถุประสงค์ “มุ่งสร้างระบบนํ้า เพื่อพืชตามบริ เวณที่กาํ หนดให้สาํ เร็ จและสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ” และยังสามารถ ให้ความรู ้ แก่ผทู ้ ี่เข้ามาศึกษาดูงานตลอดจนนําไปปฏิบตั ิในฟาร์ มหรื อธุ รกิจตลอดจนการดํารงชี วิต ในปัจจุบนั

รายงานการประชุมทีม

ภาพที่ 3 –31 ภาพการประชุมทีมระบบนํ้า


110 จากการประชุมและหารื อจัดสรรและแบ่งงานต่างๆในแต่ละครั้งได้ผลสรุ ปการดําเนิ นงาน ดังต่อไปนี้ 1. วางแผนการดําเนินงานทั้งหมดของระบบนํ้าและส่ วนงานอื่นที่ตอ้ งใช้น้ าํ 2. จัดสรรวัสดุที่ตอ้ งใช้และประเมินแรงดันนํ้าที่มีของศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ 3. จัดกําลังคนให้เพียงพอในแต่ละจุดเพื่อให้ทนั ต่อเวลาที่มีอย่างจํากัด 4. ทบทวนการประชุมครั้งสุ ดท้ายก่อนการปฏิบตั ิงาน และดําเนินงานตามแผนที่วางไว้

การฝึ กปฏิบัติงานโครงการ- ทีมโปรตีนปลา ข้ อมูลทีเ่ กีย่ วกับทีมงาน สมาชิกทีมงานและหน้ าที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

นางสาวญาณภัฏ นางสาวศิริลกั ษณ์ นางสาวเบญจาภรณ์ นางสาวชนิดา นางสาวปณิ ตา นางสาวกัลยรัตน์ นางสาวฑิตฐิตา นางสาวฉัตร์สมนต์ นางสาวกฤษณา นางสาวกังสดาล นางสาววิภาวิน นายสารัช นางสาวดลนภา

อิทธิ โชติ ทองศรี ชูวฒั นวิทย์ คิดเฉพาะ เทศมงคล อรรถาเวช แซ่ต้ งั ขุนทอง ลิ้มสุ วรรณ วังศรี สมบัติ กาลอินทร์ นุชปาน แก้วประสิ ทธิ์

หัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า เลขา ประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ สวัสดิการ สวัสดิการ บัญชี จัดซื้ อ การเงิน วิชาการ วิชาการ จัดซื้ อ


111 พันธกิจหลักของทีมงาน 1. สร้ า งพื้ น ที่ ก ารเรี ย นรู ้ ใ ห้ ท้ ัง นัก เรี ย นโรงเรี ย นวิ ถี พุ ท ธและเกษตรกรที่ เ ข้า ฝึ กอบรมหรื อดูงานในพื้นที่มูลนิธิ 2. ร่ วมสร้างฐานทรัพยากรให้กบั โรงเรี ยนเพื่อให้สามารถเป็ นโรงเรี ยนพึ่งตนเอง ได้ ทั้งด้านสื่ อการเรี ยนห้องสมุด โรงครัว พื้นที่อาหาร 3. ฐานทรั พยากรต่างๆ ที่ โครงการมอบให้จะต้องมี คุณสมบัติเป็ นทั้งทรั พยากร และจะต้อ งสามารถสร้ า งการเรี ย นรู ้ ใ ห้ ไ ด้นั ก เรี ยนและกลุ่ ม เกษตรที่ เ ข้า ฝึ กอบรมได้ 4. พื้นที่อาหารจะต้องถูกออกแบบให้โรงเรี ยนสามารถพึ่งตนเองได้ตลอดทั้งปี มี การจัดซื้ ออาหารให้กบั นักเรี ยนน้อยที่สุด ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ 1. มีความร่ วมมือร่ วมใจ ก่อเกิดความสามัคคีในการทํางานร่ วมกันเป็ นทีม 2. ความสําเร็ จของโครงการหรื อชิ้นงานได้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ 3. การเจริ ญเติบโตของปลาที่ได้ดาํ เนินการ สามารถให้นกั เรี ยนโรงเรี ยนปูทะเลย์ วิชชาลัยสามารถพึ่งพาตนเองได้ ลดการจัดซื้ ออาหาร ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1. เพิม่ พื้นที่ทางอาหารแก่นกั เรี ยนโรงเรี ยนปูทะเลย์วชิ ชาลัย เพื่อการพึ่งตนเอง โดยไม่ตอ้ งจัดซื้ ออาหาร 2. เป็ นพื้นที่การเรี ยนรู ้สาํ หรับนักเรี ยนโรงเรี ยนปูทะเลย์วชิ ชาลัย และเกษตรกรที่ เข้าใช้พ้นื ที่


112

ข้ อมูลทางวิชาการ ความมั่นคงทางด้ านอาหารและการพัฒนาชาติ แนวคิดและคํานิยามของความมัน่ คงทางอาหาร (food security: concepts and definitions) ความมัน่ คงทางอาหารได้กลายเป็ นปั ญหาความมัน่ คงรู ปแบบใหม่ที่หลายประเทศ ทัว่ โลกกําลังเผชิญและสร้างมาตรการรับมือกับความท้าทายดังกล่าวเพื่อความอยูร่ อดของประชากร ในประเทศและประชากรโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกําลังพัฒนาที่ ปัญหานี้ กาลังทวีความ รุ นแรงมากขึ้ นอั น เป็ นผลจากสภาวะแวดล้ อ มระหว่ า งประเทศที่ เ กิ ด วิ ก ฤติ ด้ า นพลั ง งาน สภาพแวดล้อมและความสําคัญของการผลิ ตพืชอาหารลดลงทําให้ราคาพืชอาหารสู งขึ้นจนทําให้ ประชากรที่ยากจนไม่สามารถเข้าถึงอาหารได้ แนวคิดความมัน่ คงทางอาหารมิใช่เพิ่งเกิดขึ้นหากแต่มีการพัฒนาแนวคิดมาตั้งแต่ ช่วงทศวรรษที่ 1970 โดยมีการให้คาํ นิยาม คําจํากัดความไว้มากมาย ความหมายของแนวคิด “ความ มัน่ คงทางอาหาร” ถูกพัฒนาให้มีมิติที่ซบั ซ้อนขึ้นตามพลวัติความเข้าใจของผูค้ นในเรื่ องบทบาท ของอาหารหรื อแม้แต่ความแตกต่างในแต่ละประเทศและภูมิภาค1 อย่างไรก็ตามคํานิ ยามของความ มัน่ คงทางอาหารที่ได้รับการนํามาใช้อา้ งอิงและเป็ นที่รู้จกั มากที่สุดมาจากการประชุ มอาหารโลก (World Food Summit) ที่กรุ งโรมประเทศอิตาลี ในปี ค.ศ. 1996 คือ “Food security, at the individual, household, national, regional and global levels (is achieved) when all people at all times have physical and economic access to sufficient, safe and nutritious foods to meet theirdietary needs and food preferences for an active healthy life” นอกจากความหมายของความมัน่ คงทางอาหาร ที่ตอ้ งการให้คนทุกคน ทุกเวลามี ความสามารถเข้าถึงอาหารทั้งในทางกายภาพและเศรษฐกิจอย่างเพียงพอ ปลอดภัยและมีคุณค่าทาง โภชนาการ ที่ตรงกับรสนิยมของตนเอง เพื่อการมีชีวติ ที่ดีและสุ ขภาพที่แข็งแรง แล้วองค์การอาหาร และเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ได้แบ่งความหมายด้านความมัน่ คงออกเป็ น 4 มิติ คือ


113 ความพอเพี ย ง (availability)ของปริ มาณอาหารที่ อ าจได้ ม าจากการผลิ ต ภายในประเทศหรื อการนาเข้ารวมถึงความช่วยเหลือด้านอาหาร การเข้ าถึง (access)ทรัพยากรที่พอเพียงของบุคคลเพื่อได้มาซึ่ งอาหารที่เหมาะสม และมี โภชนาการทรั พยากรดัง กล่ า วหมายถึ ง ความสามารถของบุ คคลที่ จะกํา หนดควบคุ มกลุ่ ม สิ นค้าหนึ่งๆได้ภายใต้บริ บททางกฎหมาย การเมือง เศรษฐกิจและสังคมของชุ มชนที่บุคคลอาศัยอยู่ (รวมถึงสิ ทธิ ตามประเพณี เช่นการเข้าถึงทรัพยากรส่ วนรวมของชุมชน) การใช้ ประโยชน์ (utilization)ด้านอาหารผ่านอาหารที่เพียงพอนํ้าสะอาดและการ รักษาสุ ขภาพและสุ ขอนามัยเพื่อที่ จะเข้าถึ งภาวะความเป็ นอยู่ที่ดีทางโภชนาการซึ่ งความต้องการ ทางกายภาพทั้งหมดได้รับการตอบสนองโดยนัยยะนี้ ความมัน่ คงทางอาหารจึงสัมพันธ์กบั ปั จจัยนา เข้าที่ไม่ใช่อาหารด้วยและมิติสุดท้ายคือ เสถียรภาพ (stability)ทางอาหาร ที่ประชาชนครัวเรื อนและบุคคลจะต้องเข้าถึ ง อาหารที่เพียงพอตลอดเวลาไม่ตอ้ งเสี่ ยงกับการไม่สามารถเข้าถึ งอาหารอันเป็ นผลมาจากวิกฤตที่ เกิ ดขึ้ นอย่างกะทันหันเช่ น วิกฤตทางเศรษฐกิ จหรื อสภาพภูมิอากาศ หรื อเหตุการณ์ ที่เป็ นไปตาม วงจร เช่ นภาวะความไม่มนั่ คงทางอาหารตามฤดู กาล ซึ่ งในความหมายนี้ ความมัน่ คงทางอาหาร ครอบคลุมถึงมิติความพอเพียงและการเข้าถึงอาหารด้วย การเพาะเลีย้ งปลา ปลานิล (oreochromisnilotica) เป็ นปลานํ้าจืดชนิดหนึ่ง ซึ่ งมีคุณค่าทางเศรษฐกิจนับตั้งแต่ปี 2508 เป็ นต้น มา เป็ นปลาที่ เลี้ ย งง่ าย เจริ ญเติ บ โตเร็ ว และเป็ นที่ นิยมของผูบ้ ริ โภค เนื้ อปลามี รสชาติ ดีปัจจุ บ นั เกษตรกรนิ ยมเลี้ ยงปลานิ ลกันอย่างกว้างขวาง ซึ่ งการเพาะเลี้ ยงปลานิ ลของไทยส่ วนใหญ่เป็ นการ เลี้ยงในบ่อดิน ส่ วนที่เหลือนั้นเลี้ยงในนาข้าวและร่ องสวน


114 ปลาตะเพียนขาว (puntiusgonionotus) (bleeker) ปลาตะเพียนขาวมีลกั ษณะลําตัวแบนข้าง หัวเล็กปากเล็ก ริ มฝี ปาก ขอบ ส่ วนหลังโค้งยกสู งขี้นความยาวจากสุ ดหัวจรดปลายหาง 2.5 เท่าของความสู ง จะงอยปากแหลมมี หนวดเส้นเล็กๆ 2 คู่ ต้นของครี บหลังอยู่ตรงข้ามกับเกล็ด ที่สิบของเส้นข้างตัว เกล็ดตามแนวเส้น ข้างตัวมี 29 -31 เกล็ด ลําตัวมีสีเงิน ส่ วนหลังมีสีคลํ้า ส่ วนท้องสี ขาวที่โคนของเกล็ดมีสีเทาจนเกือบ ดํา ปลาตะเพียนขาวขนาดโตเต็มที่มีลาํ ตัวยาวสู งสุ ดถึง 50 เซนติเมตร ปลาดุกอุย ( clariasmacrocephalus ) เป็ นปลาพื้นบ้านของไทยชนิ ดไม่มี เกล็ด รู ปร่ างเรี ยวยาว มีหนวด 4 เส้น ที่ริมฝี ปาก ผิวหนังมีสีน้ าํ ตาลเนื้ อมีสีเหลืองรสชาติอร่ อยนุ่มนวลสามารถนํามาปรุ งแต่งเป็ นอาหาร ชนิดต่าง ๆ ได้มากมายประเทศไทยมีพนั ธุ์ปลาดุกอยูจ่ าํ นวน 5 ชนิ ด แต่ที่เป็ นที่รู้จกั ทัว่ ๆไปคือปลา ดุกอุยและปลาดุกด้าน ซึ่ งในอดีตทั้งปลาดุกอุยและปลาดุกด้านได้มีการเพาะเลี้ยงกันอย่าง การศึกษาวิธีการเลีย้ งปลา ปลานิล17 (oreochromisnilotica)

ภาพที่ 3 – 32 ภาพปลานิล ที่มา : http://www.tuvayanon.net/9food5302262207.html

17

กรมประมง. การเลี้ยงปลานิล [ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มา http://www.fisheries.go.th/sf-

naratiwas/tapian.html


115 การให้อาหารการใส่ ปุ๋ยเป็ นการให้อาหารแก่ปลานิ ลที่สําคัญมากวิธีหนึ่ ง เพราะจะได้อาหารธรรมชาติที่มีโปรตีนสู งและราคาถูกแต่เพื่อเป็ นการเร่ งให้ปลาที่เลี้ยงเจริ ญเติบโต เร็ วขึ้นหรื อถูกต้องตามหลักวิชาการจึงควรให้อาหารจําพวกคาร์ โบไฮเดรทเป็ นอาหารสมบทด้วย เช่ น รํา ปลายข้าว กากมะพร้ าวมันสําปะหลัง หัน่ ต้มให้สุกและเศษเหลื อของอาหารที่มีโปรตีนสู ง เช่ นกากถัว่ เหลื องจากโรงทําเต้าหู ้กากถัว่ ลิ สง อาหารผสมซึ่ งมีปลาป่ น รําข้าวปลายข้าวมีจาํ นวน โปรตีนประมาณ ๒๐% เศษอาหารที่ เหลื อจากโรงครั วหรื อภัตตาคารอาหารประเภทพืชผัก เช่ น แหนเป็ ดสาหร่ าย ผักตบชวาสับให้ละเอียด เป็ นต้นอาหารสมทบเหล่านี้ ควรเลือกชนิ ดที่มีราคาถูก และหาได้สะดวก ส่ วนปริ มาณที่ ให้ก็ไม่ควรเกิ น ๔% ของนํ้าหนักปลาที่เลี้ ยงหรื อจะใช้วิธีสังเกต จากปลาที่ข้ ึนมากินอาหารจากจุดที่ให้เป็ นประจําคือถ้ายังมีปลานิ ลออกันอยูม่ ากเพื่อรอกินอาหารก็ เพิ่มจํานวนอาหารมากขึ้นตามลําดับทุก๑-๒ สัปดาห์ ในการให้อาหารสมทบมีขอ้ พึงควรระวัง คือ ถ้าปลากินไม่หมด อาหารจมพื้นบ่อหรื อละลายนํ้ามากก็จะทําให้เกิดความเสี ยหายขึ้นหลายประการ เช่ น เสี ยค่าใช้จ่ายไปโดยเปล่าประโยชน์ทาํ ให้น้ าํ เน่ าเสี ยเป็ นอันตรายต่อปลาที่เลี้ยง และหรื อต้อง เพิ่มค่าใช้จ่ายในการสู บถ่าย เปลี่ยนนํ้าบ่อย ๆ เป็ นต้น ปลาตะเพียนขาว18 (puntiusgonionotus) (bleeker)

ภาพที่ 3 –33 ภาพปลาตะเพียนขาว ที่มา :http://www.biogang.net/biodiversity_view.php?menu=biodiversity&uid=44796&id=171669

18

กรมประมง. การเลี้ยงปลาตะเพียน [ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มาhttp://www.fisheries.go.th/sf-

naratiwas/tapian.html


116 การให้อาหารปลาตะเพียนขาวจะให้ในอัตรา 3 – 10 % ของนํ้าหนักปลาที่เลี้ยง (ปลา 100 กรัมให้อาหาร3 – 10 กรัม)ขึ้นอยูก่ บั อายุและขนาดของปลาปลาขนาดเล็กจะต้องการ อาหารที่ มากกว่าปลาขนาดใหญ่ โดยให้วนั ละ 1 – 2 ครั้ งการให้อาหารควรให้ตรงเวลาและ สมํ่า เสมอในบริ เวณเดี ย วกัน ทุ ก ครั้ งปลาตะเพี ย นมี ก ารตอบสนองต่ อ การเปลี่ ย นแปลงของ สภาพแวดล้อมได้ค่อนข้างไวเช่ นการเปลี่ ยนอุ ณหภูมิในรอบวันปริ มาณออกซิ เจนที่ละลายในนํ้า ความเป็ นกรด – ด่างของนํ้าตลอดจนสารพิษต่าง ๆที่มากระทบดังนั้นการจัดการด้านคุณภาพนํ้าที่ใช้ เลี้ยงปลามีความจําเป็ นเพราะเป็ นการป้ องกันการเกิดโรคไว้ล่วงหน้าก่อน ปลาดุกอุย19 ( clariasmacrocephalus )

ภาพที่ 3 –34 ภาพปลาดุกอุย ที่มา :http://www.biogang.net/biodiversity_view.php?menu=biodiversity&uid=44796&id=171669 ให้อาหารปลาดุกเล็กโดยให้ในแต่ละมื้อควรให้ปลากินหมดภายใน30 นาทีช่วงนี้ ควรเริ่ มฝึ กให้ปลากินอาหารเป็ นที่โดยให้อาหารจุดเดิมประจําปละเคาะหลักไม้ทุกครั้งเมื่อมีการให้ อาหารการให้อาหารปลาจะให้ 2 มื้อ ต่อวันให้อาหารปลาดุกเล็กจนลูกปลามีอายุ 2 เดือน ให้อาหาร ปลาดุ กใหญ่ปริ มาณที่ ให้แต่ละมื้อจะต้องให้ปลากิ นหมดภายใน 30 นาที่ โดยให้อาหาร 2 มื้อ ใน กรณี ปลาป่ วยหรื อกิ นอาหารลดลงให้ลดปริ มาณอาหารลงครึ่ งหนึ่ งของปริ มาณที่ให้ปกติ ในกรณี เกิดจากสภาพนํ้าหรื อการเปลี่ยนแปลงของอากาศให้ปรับสภาพนํ้าโดยทําการเปลี่ยนถ่ายนํ้า หรื อใส่ เกลื อ หรื อ ปู น ขาวถ้า พบว่า ปลาที่ เกิ ด จากเชื้ อ แบคที เรี ย ให้ ผ สมปฏิ ชี วนะ 3-5 กรั ม ต่ ออาหาร 1 19

กรมประมง. การเลี้ยงปลาดุก [ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มาhttp://www.fisheries.go.th/if-

korat/index.php?option=com_content&view=article&id=26:2009-09-09-08-36-02&catid=1:200908-04-06-15-39&Itemid=51 ,


117 กิโลกรัม ให้กินติดต่อกัน 7 วัน เช่ นอาออกชี เตตร้ าซัยคลิ น ถ้าเกิ ดจากพยาธิ ภายนอกให้รักษาตาม ลัก ษณะของพยาธิ น้ นั ๆ เช่ นถ้า พบปลิ งใส เห็ บ ระฆัง เกาะจํา นวนมากหรื อเริ่ ม ทยอยตายให้ใ ช้ ฟอร์มาลินเข้มข้น 30-40 ซี ซี/นํ้า 1,000 ลิตรฉี ดพ่นหรื อสาดลงในบ่อแช่ทิ้งตลอด อาหารและการลดต้ นทุนค่ าอาหาร20 ให้อาหารมีชีวิตขนาดเล็กแก่ปลาวัยอ่อน ให้อาหารมีชีวิตหรื อไม่มีชีวิตขนาดใหญ่ แก่ปลากินเนื้อ และให้อาหารสําเร็ จรู ปสําหรับปลากินพืช คุณภาพของอาหารต้องได้มาตรฐานเหมาะสม สอดคล้องกับช่วงอายุและชนิ ดของ ปลา ควรให้ตามความต้องการของปลา ถ้าจําเป็ นต้องให้อาหารประเภทสัตว์น้ าํ มีชีวติ เทคนิคการทาอาหารปลาเพือ่ ลดต้ นทุน ส่ วนผสม 1. รํา 6 กิโลกรัม 2. เปลือกถัว่ เหลือง 1 กิโลกรัม 3. เศษผัก 3 กิโลกรัม 4. เนื้อหอยเชอรี่ บดละเอียด 2 กิโลกรัม

20

ปลาไทย.คอม. การลดต้นทุนค่าอาหาร[ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มาhttp://www.plathai.com/index.php/79-2011-02-07-16-01-07-2011-02-07-15-5952/2011-02-07-16-01-07/100-2011-05-28-07-28-27


118 วิธีการทา นํารํา เปลื อกถัว่ เหลื อง และเศษผักในอัตราส่ วนที่กาํ หนด มาต้มรวมกัน ต้ม ไว้ประมาณ 20 นาที ผสมกับ เนื้ อหอยเชอรี่ บ ดละเอี ยด (หากต้องการเพิ่ม โปรตี นให้ปลา) ก็ สามารถนําไปเทให้ปลากินได้ โดยให้กินวันละ 1 ครั้ง การใช้ นา้ หมักชีวภาพในกระบวนการเลีย้ ง21 ในการเลี้ยงปลา สิ่ งที่หลีกเลี่ ยงไม่ได้ก็คือปั ญหานํ้าที่เน่าเสี ย จึงมีการแก้ไขปั ญหา โดยสู ตรนํ้าหมักชี วภาพสําหรับบ่อปลาท่อทัว่ ไปซึ่ งจะช่ วยทําให้สภาพนํ้าในบ่อมีสภาพดี ไม่ตอ้ ง เปลี่ยนนํ้าบ่อย และลดต้นทุนได้ดว้ ย ขั้นแรกเตรี ยมอุปกรณ์ 1. มะละกอสุ ก หรื อ กล้วยนํ้าว้าสุ ก (จะเป็ นฟักทองสุ กก็ได้ครับ) จํานวน 3 กิโลกรัม 2. กากนํ้าตาล หรื อนํ้าตาลทรายแดง จํานวน 1 กิโลกรัม 3. สารเร่ ง พด. 6 (ขอได้จากกรมพัฒนาที่ดินที่ท่านอยูค่ รับ) จํานวน 1 ซอง วิธีทา 1. นํามะละกอสุ ก (ทั้งเปลือก) หัน่ หรื อสับให้ละเอียด

21

สู ตรกําจัดกลิ่นเหม็นในบ่อเลี้ยงปลานิล[ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มา http://xn-q3cd4ab7dn.blogspot.com/2012/10/blog-post_5010.html


119 2. นําสารเร่ ง พด.6 ผสมกับนํ้า 1 ลิ ตร (ขอให้ใช้น้ าํ ฝนหรื อนํ้าประปาที่ ไม่ มีค ลอรี นนะครั บ) รวมกับ กากนํ้า ตาล 1 กิ โลกรั ม คนให้เข้า กัน โดยใช้เวลาประมาณ 5 -10 นาที 3. นําส่ วนผสมทั้งหมดผสมเข้า ด้วยกัน หมักทิ้ งไว้ใ นภาชนะทึ บ แสง (พลาสติ ก) ปิ ดฝาไม่ตอ้ งสนิ ท ไม่ใ ห้โดนแสงแดด ไม่ตอ้ งคนหรื อ กวนเป็ นเวลา 15 วัน (จะเกิดราขาว) กรองเอาแต่น้ าํ ใช้ การนาไปใช้ ใช้อตั ราส่ วน 1 ต่อ 500 หรื อประมาณ 1 ช้อนแกงต่อนํ้า 20 ลิ ตรเทลงใน บ่อปลา การจัดการระบบนา้ ในการเลีย้ ง22 1. ควรมีการตรวจสอบควบคุ มคุ ณสมบัติของนํ้าที่ใช้ในการเลี้ ยงปลาสมํ่าเสมอ และควรมีการจัดการให้น้ าํ มีคุณสมบัติเหมาะสม มีออกซิ เจนเพียงพอ 2. ทําการบําบัดนํ้าก่อนใช้เลี้ยงปลา ถ้าใช้น้ าํ ประปาหรื อนํ้าที่ผา่ นการฆ่าเชื้ อโรค ด้วยคลอรี น ต้องทิ้งไว้จนกว่าคลอรี นจะระเหยหมด 3. ทําการเปลี่ยนถ่ายนํ้าเพื่อให้สภาพนํ้าเหมาะสมแก่การเลี้ยงปลาเป็ นประจําและ โดยการใช้น้ าํ หมักชีวภาพ ในการป้ องกันหรื อบําบัดนํ้าเสี ย

22

รศ.ดร. เกรี ยงศักดิ์ เม่งอําพัน. การเลี้ยงสัตว์น้ าํ [ออนไลน์]. 2556 . แหล่งที่มา http://coursewares.mju.ac.th:81/e-learning47/section2/fa301/Lession/lession8.html


120 การจัดการเกีย่ วกับโรค ด้ วยเทคนิคทางชีวภาพ23 ในการเลี้ ย งปลามัก มี ปั ญหาเกี่ ย วกับ โรคต่ า งๆที่ เกิ ด ขึ้ นใน ความปลอดภัย ทาง ชี วภาพหรื อไบโอซี เคียวริ ต้ ี(biosecurity) ซึ่ งหมายถึง มาตรการโดยรวมของการกําจัดเชื้ อก่อโรค การป้ องกันการแพร่ ระบาด หรื อลดโอกาสในการนําเชื้ อก่อโรคเข้าสู่ หรื อออกจากบ่อเลี้ยง โดยการ ใช้เทคนิคทางชี วภาพ “นํ้าหมักชี ภาพ”ช่วยควบคุมคุณภาพนํ้าในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ าํ ช่ วยแก้ปัญหาโรค พยาธิ ในนํ้า ช่วยรักษาโรคแผลต่างๆได้ ช่วยลดปริ มาณขี้เลนในบ่อ ช่วยให้เลนไม่เน่าเหม็น

การวางแผนการเพาะเลีย้ งปลาสาหรับพืน้ ทีม่ าบเอือ้ ง การวางแผนก่อนเข้ าศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง ได้มีการออกแบบรู ปแบบการเลี้ยงปลาก่อนการสํารวจพื้นที่โดยมีการสอบถามถึง พื้นที่บ่อที่สามารถใช้เลี้ยงปลาได้ได้มีการออกแบบรู ปแบบการเลี้ยงปลาก่อนการสํารวจพื้นที่โดยมี การสอบถามถึงพื้นที่บ่อที่สามารถใช้เลี้ยงปลาได้ การศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง 1. พื้นที่ขดุ บ่อ

ภาพที่ 3 –35 ภาพพื้นที่ขดุ บ่อ ทีมโปรตีนปลา ณ มูลนิธิกสิ กรรมชาติมาบเอื้อง

23

โรคและการรักษา[ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มาhttp://www.feed-auto.com/disease.html


121 2. พื้นที่ลงกระชัง

ภาพที่ 3 –36 ภาพพื้นที่ลงกระชัง ทีมโปรตีนปลา ณ มูลนิ ธิกสิ กรรมชาติมาบเอื้อง 3. บ่ออนุบาล

ภาพที่ 3 –37 ภาพพื้นที่บ่ออนุ บาล ทีมโปรตีนปลา ณ มูลนิ ธิกสิ กรรมชาติมาบเอื้อง


122

ผลการศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง จากการที่ได้ไปลงพื้นที่ล่วงหน้าก่อนที่จะลงมือปฏิบตั ิจริ งทําให้เราและทางศูนย์กสิ กรรม ธรรมชาติมาบเอื้องได้มีความเห็นที่ตรงกันว่าจะทําการขุดบ่อเพื่อเลี้ยงปลาที่ร่องระหว่างแปลงแก้ว มังกรบ่อที่ใช้สาํ หรับอนุบาลปลาก็จะเป็ นบ่อบริ เวณข้างสํานักงานส่ วนกระชังปลาก็จะลงบริ เวณบ่อ บริ เวณทางเข้าด้านหน้า

การวิเคราะห์ ผลการศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง การที่ตกลงกันว่าจะลงมือขุดบ่อปลาตรงร่ องแปลงแก้วมังกรเพราะเป็ นพื้นที่ที่เหมาะ เป็ นที่ สู งเหมาะแก่การทําบ่อปลา นํ้าไม่สามารถท่วมถึงสามารถตักนํ้าจากบ่อปลาขึ้นมารดนํ้าแปลงผักได้ ส่ วนแหล่งอนุ บาลปลาก็ได้ทาํ การตกลงกันว่าจะเป็ นบ่อปลาข้างสํานักงานเพราะเป็ นที่อนุ บาลปลา อยูก่ ่อนแล้ว แต่ปลาได้พน้ ช่วงการอนุบาลแล้วจึงได้นาํ ปลาออกไปเลี้ยงต่อในบ่อของภาคอีสานและ ภาคใต้ของศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องเพื่อให้ปลาได้เจริ ญเติบโตในแหล่งนํ้าธรรมชาติต่อไป และบ่อสุ ดท้ายคือการลงกระชังปลาซึ่ งตอนแรกได้วางแผนกันว่าจะลงตรงข้างโรงครัว แต่พอใกล้ วันปฏิบตั ิจริ งนํ้าในบริ เวณนั้นก็แห้งขอด จึงได้ตกลงกันใหม่วา่ จะลงที่บริ เวณทางเข้าด้านหน้า

แผนการดาเนินการ 1.สํารวจพื้นที่โดยการสอบถามและสํารวจความต้องการว่าต้องการสร้างตรงไหนเพื่อให้มี ความเห็นในทิศทางที่ตรงกัน 2.จัดทําแผนโครงการ โดยการกําหนด 2.1 วิสัยทัศน์โครงการ 2.2 พันธกิจหลัก 2.3 วัตถุประสงค์โครงการ 2.4 แผนผังการดําเนินงานในภาครวม 2.5 แผนการดําเนินงาน 2.6 กําหนดเวลาแผนดําเนินงาน 2.7 แผนงบประมาณ 2.8 ดัชนีช้ ีวดั ความสําเร็ จ


123 3.จัดหางบประมาณ โดยการระดมทุนภายในสาขาบัญชี บริ หารทุกชั้นปี 4.ทําการจัดซื้ อวัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือต่างๆรวมถึงพันธุ์ปลาที่จะนํามาเลี้ยง 5.ลงมือปฏิบตั ิจริ ง ณ ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

แผนผังการดาเนินงานในภาพรวม 1. ศึกษาพื้นที่เบื้องต้น 2. ประชุมวางแผนงานในภาพรวม 3. ประชุมวางแผนกําลังคน 4. สํารวจพื้นที่จริ ง ณ ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง 5. ค้นหาข้อมูล 6. ลงพื้นที่จริ งทําการปรับพื้นที่ 7. จัดเตรี ยมอุปกรณ์เพื่อลงพื้นที่จริ ง 8. ลงมือปฏิบตั ิจริ งในงานขุดบ่อดินเลี้ยงปลา 9. แบ่งหัวข้อจัดทํารายงาน 10.รวบรวมข้อมูลที่ได้เป็ นไฟล์งานเดียวกัน 11.ติดตามผลการปฏิบตั ิงานหลังจากส่ งมอบ 12.ส่ งงานให้อาจารย์ผจู้ ดั โครงการ


124

การดาเนินงาน

ภาพที่ 3 – 38 ภาพการเข้าพื้นที่จริ งเตรี ยมงานในบริ เวณแปลงแก้วมังกรสําหรับขุดบ่อ

ภาพที่ 3 – 39 ภาพการวัดขนาดบ่อและลงมือขุดบ่อตามขนาดที่กาํ หนดไว้


125 วันที่ 13-15 กันยายน 2556 เข้าพื้นที่ปฏิบตั ิงานจริ งตามแผนที่ได้วางไว้ โดยแบ่งกลุ่มงาน ออกเป็ นสามกลุ่มงาน ได้แก่ บ่อปลาดุก บ่อปลากระชัง และบ่ออนุบาลปลา

ภาพที่ 3 – 40 ภาพการขุดบ่อปลาดุก

ภาพที่ 3 – 41 ภาพการตัดต้นไผ่สาํ หรับสร้างโครงกระชังและสําหรับปักกระชัง


126

ภาพที่ 3 – 42 ภาพการปูพลาสติกรองบ่อปลาดุก

ภาพที่ 3 – 43 ภาพต่อกระชังปลาลงปั กตัวกระชังในบ่อและปล่อยปลา


127

แผนงบประมาณ ตารางที่ 3 – 14 ตารางแผนงบประมาณทีมโปรตีนปลา ลาดับ

รายการ

จานวน หน่ วยนับ

ราคา หน่ วยละ

ราคารวม

คาดว่ า จะซื้อ

ไม่ ต้อง ซื้อ

หมาย เหตุ

1

ตะปู

1

กล่อง

100.00

100.00

100.00

ขอยืม

2

ไม้ไผ่ ยาว 4 เมตร

8

ลํา

70.00

560.00

560.00

ตัดเอง

3

กระชังสําเร็ จรู ป กว้าง 2 ยาว 4 ลึก 1.5 เมตร

1

กระชัง

340.00

340.00

4

จอบด้ามยาว

10

ด้าม

200.00

2,000.00

2,000.00

ขอยืม

5

เสี ยมด้ามยาว

5

ด้าม

150.00

750.00

750.00

ขอยืม

6

บุง้ กี๋

5

อัน

60.00

300.00

300.00

ขอยืม

7

ผ้าใบพลาสติกรองบ่อ กว้าง 3.6 ม.

10

เมตร

50.00

500.00

500.00

8

เชือกไนล่อน

2

กก.

100.00

200.00

200.00

9

ปลานิล

100

ตัว

2.00

200.00

200.00

10

ปลาดุก

300

ตัว

2.00

600.00

600.00

11

ปลาตะเพียน

100

ตัว

2.00

200.00

200.00

12

ตาข่ายกั้นรอบบ่อ หน้ากว้าง 0.9 ม.

26

เมตร

90.00

2,340.00 2,340.00

13

ทุ่นลอยนํ้า

2

ใบ

500.00

1,000.00 1,000.00

14

อาหารปลา 20 กก.

2

กระสอบ

340.00

680.00

680.00

15

แปรงขัดพื้นด้ามยาว

5

อัน

75.00

375.00

375.00

16

ถุงมือ

1

โหล

100.00

100.00

100.00

18

สแลนกันแดด กว้าง 2 ม.

24

เมตร

25.00

600.00

600.00

17

อุปกรณ์เพิ่มเติมอื่นๆ

รวมแผนงบประมาณบ่อเลี้ยง ปลา

2,500.00

340.00

2,500.00 2,500.00 13,345.00 9,635.00 3,710.00


128 งบประมาณที่คาดการณ์ไว้ 13,345.00 งบประมาณที่คาดว่าจะไม่ได้ใช้ 3,710.00 งบประมาณที่คาดว่าจะใช้จริ ง 9,635.00 มี ง บประมาณที่ คาดการณ์ ไ ว้ท้ งั หมด 13,345 บาท มี ง บประมาณส่ วนหนึ่ งสามารถ จัดหาเป็ นอุปกรณ์ หรื อวัสดุที่ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่าย จํานวน 3,710 บาททํา ให้ ง บประมาณที่ ค าดว่ า จะต้องทําการจัดซื้ อเหลือจํานวน 9,635 บาท

กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน 7 กันยายน 2556 ได้มี ก ารลงพื้ น ที่ จ ริ ง ไปสํ า รวจพื้ น ที่ ใ นการระบุ ต ํา แหน่ ง ลงกระชัง ปลาใหม่ เนื่ องจากตํา แหน่ ง เดิ มที่ ได้ระบุ ไ ด้น้ ันในหน้า แล้งนํ้าจะแห้ง ขอดไม่ส ามารถลงกระชัง ได้ จึ งได้ ตําแหน่งใหม่ที่จะลงกระชังคือบริ เวณคูน้ าํ ด้านข้างทางเข้า ภาคอีสานลงมือปรับพื้นที่ที่จะขุดเป็ นบ่อ สําหรับเป็ นบ่อพลาสติกเลี้ยงปลาดุ ก โดยมีพี่ที่ศูนย์ และอาสาสมัครมาช่วยทําการถางหญ้าทําการ ถางหญ้าขุดร่ องทําบ่อ ขยายขนาดตามที่ได้กาํ หนดไว้การดําเนินงานเป็ นไปร้อยละ 40 12 กันยายน 2556 จัดซื้ ออุปกรณ์ ต่างๆที่ตอ้ งการใช้งานเพื่อการลงมือปฏิ บตั ิงานจริ งขุดบ่อต่อจากที่ ได้มาดําเนิ นงานล่ วงหน้าไว้ให้ได้ตามขนาดที่ตอ้ งการปรับพื้นที่กน้ บ่อและขอบบ่อให้เสมอกันปู ด้วยผ้าพลาสติกที่กน้ บ่อ ใส่ น้ าํ ให้น้ าํ ปรับสภาพตัดไม้ไผ่เพื่อต่อกระชังปลาและโครงสร้ างสําหรับ รั้วและคานหลังคาบ่อพลาสติก 14 กันยายน 2556 ล้างบ่ออนุบาลปลาข้างสํานักงานทําการตัดไม้ไผ่ขนาดที่ตอ้ งการทําการต่อกระชัง และติดตั้งกระชังบริ เวณทางเข้าภาคอีสานเอาต้นแก้วมังกรออกตัดไม้ไผ่ทาํ โครงรั้ว และหลังคาและ ปรั บพื้นที่ ด้านข้างบ่อให้เรี ยบร้ อยนําปลามาปล่ อยในบ่ออนุ บาลข้างสํานักงานบ่อพลาสติก และ กระชังปลา


129 15 กันยายน 2556 ต่อโครงบ่อพลาสติกให้เสร็ จนํารั้วพลาสติกมาติดตั้งและกางสแลนกักแดดให้ปลา ตรวจสอบความเรี ย บร้ อ งของงานส่ ง มอบงานให้ ก ับ คุ ณ ครู แ ละนัก เรี ย นโรงเรี ย นปู ท ะเลย์นํา กระเบื้องเก่ามากั้นเป็ นรั้วอีกชั้นเพื่อเพิ่มความแข็งแรง


130 การเผยแพร่ ข้อมูลการเรียนรู้ ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอือ้ ง

ภาพที่ 3 – 44 ภาพไวนิลการเพาะเลี้ยงปลาและพืชแบบ Aquaponics


131 การเผยแพร่ ข้อมูลการเรียนรู้ ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอือ้ ง

ภาพที่ 3 – 45 ไวนิลการเลี้ยงปลาในกระชัง


แผนงบประมาณเปรียบเทียบค่ าใช้ จ่ายจริง ตารางที่ 3 – 15 ตารางแผนงบประมาณเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายจริ งทีมโปรตีนปลา ลาดับ 1 2 3 4 5 6

รายการ ไม่ไผ่ 2.5 ม. ไม้ไผ่ 4.5 ม. ไม้ไผ่ 6 ม. ไม้ไผ่ 3.5 ม. เชือกไน ล่อน กระชัง ขนาด 2x4x1.5

จานวน งบประมาณ

8

หน่ วย นับ

ลํา

จานวน ใช้ จริง

หน่ วย นับ

ราคาหน่ วยละ ราคาหน่ วยละ ราคารวม ราคารวม ส่ วนต่ าง หมายเหตุ (งบประมาณ) (ใช้ จริง) (งบประมาณ) (ใช้ จริง)

6

ลํา

2

ลํา

18

ลํา

-

-

ตัดเอง

5

ลํา

-

-

ตัดเอง

70.00

-

-

560.00

2

ม้วน

1

กก.

100.00

75.00

200.00

1

กระชัง

1

กระชัง

340.00

340.00

340.00

-

ตัดเอง -560.00

75.00 -125.00 340.00

0.00

ตัดเอง


133 ลาดับ

รายการ

7

บุง้ กี๋ พลาสติก PC หน้า กว้าง 3.6 เมตร ผ้ากันแสง หน้ากว้าง 3 ม. ตาข่าย พลาสติก หน้ากว้าง 1 ม.

8

9

10

11

ปลานิล

จานวน งบประมาณ

หน่ วย นับ

จานวน ใช้ จริง

หน่ วย นับ

5

อัน

5

อัน

60.00

60.00

300.00

-

-300.00

10

เมตร

20

เมตร

50.00

50.00

500.00

1,000.00

500.00

24

เมตร

40

เมตร

25.00

45.00

600.00

1,800.00 1,200.00

26

เมตร

35

เมตร

90.00

21.00

2,340.00

100

ตัว

300

ตัว

ราคาหน่ วยละ ราคาหน่ วยละ ราคารวม ราคารวม ส่ วนต่ าง หมายเหตุ (งบประมาณ) (ใช้ จริง) (งบประมาณ) (ใช้ จริง)

2.00

0.20

200.00

ขอยืม

735.00

1,605.00

-

ได้รับ -200.00 ความ อนุเคราะห์


134 ลาดับ

รายการ

จานวน งบประมาณ

หน่ วย นับ

จานวน ใช้ จริง

หน่ วย นับ

ราคาหน่ วยละ ราคาหน่ วยละ ราคารวม ราคารวม ส่ วนต่ าง หมายเหตุ (งบประมาณ) (ใช้ จริง) (งบประมาณ) (ใช้ จริง) ได้รับ 2.00 0.60 600.00 180.00 -420.00 ความ อนุเคราะห์ ได้รับ 2.00 0.30 200.00 -200.00 ความ อนุเคราะห์

12

ปลาดุก

300

ตัว

600

ตัว

13

ปลา ตะเพียน

100

ตัว

100

ตัว

2

กระสอบ

1

กระสอบ

340.00

450.00

680.00

450.00 -230.00

5

อัน

2

อัน

75.00

70.00

375.00

140.00 -235.00

10

ด้าม

10

ด้าม

200.00

-

2,000.00

-

5

ด้าม

5

ด้าม

150.00

-

750.00

-

14

15 16 17

อาหาร ปลา 20 กก. แปรงขัด พื้นด้าม ยาว จอบด้าม ยาว เสี ยมด้าม

2,000.00 -750.00

ขอยืม ขอยืม


135 ลาดับ

รายการ

จานวน งบประมาณ

หน่ วย นับ

จานวน ใช้ จริง

หน่ วย นับ

ราคาหน่ วยละ ราคาหน่ วยละ ราคารวม ราคารวม ส่ วนต่ าง หมายเหตุ (งบประมาณ) (ใช้ จริง) (งบประมาณ) (ใช้ จริง)

1 1

โหล กล่อง

1 0

โหล กล่อง

100.00 100.00

-

100.00 100.00

2

ใบ

0

ใบ

500.00

-

1,000.00

ยาว 18 19 20

ถุงมือ ตะปู ทุ่นลอย นํ้า อุปกรณ์ เพิ่มเติม อื่นๆ

60.00

60.00 -40.00 -100.00 1,000.00 2,500.00

2,500.00 0

แผ่น

40

แผ่น

0

10.00

-

-

ลวด

0

ขด

2

ขด

0

90.00

-

-

แปรงขัด พื้นด้าม สั้น

0

ด้าม

2

อัน

0

35.00

-

70.00

กระเบื้อง

วัสดุเหลือ ใช้ วัสดุเหลือ 0.00 ใช้ 0.00

70.00


136 ลาดับ

รายการ กระบวย รดนํ้า ค่า นํ้ามัน รวม

จานวน งบประมาณ

หน่ วย นับ

จานวน ใช้ จริง

หน่ วย นับ

0

อัน

2

อัน

ราคาหน่ วยละ ราคาหน่ วยละ ราคารวม ราคารวม ส่ วนต่ าง หมายเหตุ (งบประมาณ) (ใช้ จริง) (งบประมาณ) (ใช้ จริง) 0

60.00

-

13,345.00

120.00

120.00

300.00

300.00

5,270.00

8,075.00

งบประมาณที่คาดว่าจะเกิดขึ้นทั้งหมด 13,345.00 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริ ง 5,270.00 มีส่วนลดเกิดขึ้น 8,075.00 จากงบประมาณที่คาดการณ์ไว้ท้ งั หมดจํานวน 13,345 บาท ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการจัดซื้ อจัดหาจํานวน 5,540 บาทมีส่วนลดเกิดขึ้นจํานวน 8,075 บาท โดยเกิดจากเครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ตอ้ งจัดซื้ อการได้รับการอนุเคราะ


137

การฝึ กปฏิบัติบริการโครงการ-ทีมไก่ไข่ ชีวภาพ ข้ อมูลเกีย่ วกับทีมงาน สมาชิกทีมงาน และหน้ าที่งาน 1. นายเนติวทั ธ์ บัวเงิน 2. นายสุ รินทร์ มาศแท้ 3. นายกฤษฎากรณ์บรรเลงจิต 4. นายธนพัฒน์ สร้อยเพ็ชร์ 5. นายเอกภาพ ฮึกหาญสู้ศตั รู 6. นางสาวณัฐณิ ชา ว่องวรรธนะกุล 7. นางสาวศิรประภา รัศมี 8. นายธนกฤต ภัควีรภัทร 9. นางสาวกฤติยา จันธรรมาพิทกั ษ์ 10. นางสาวณัฏฐิกา มารศรี 11. นางสาวชุติรัตน์ แจ่มสว่าง 12. นางสาววัลวิภา วงศ์กวีวทิ ย์ 13. นางสาวหัทยา เซ็นหลวง

หัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้ากลุ่ม เลขานุการ ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ ายสวัสดิการ ฝ่ ายสวัสดิการ ฝ่ ายจัดซื้ อ ฝ่ ายจัดซื้ อ ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายบัญชี ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ

พันธกิจหลักของทีมงาน 1. พัฒนาประสิ ทธิ ภาพการผลิตไข่ไก่ให้คุณภาพดี ปลอดภัยปราศจากสารเคมีแม่ ไก่มีอิสระ 2. ป้ องกันและควบคุมการเกิดโรคในสัตว์ปีกโดยการใช้น้ าํ หมักชีวภาพ 3. ส่ ง เสริ มและพัฒนาให้ก ารเลี้ ย งไก่ ไข่ เป็ นมิ ตรกับ สิ่ ง แวดล้อมโดยการไม่ ใ ช้ สารเคมี เน้นความเป็ นธรรมชาติ


138 ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ 1. มีความสามารถในการผลิ ตอาหารเพื่อใช้อุปโภคบริ โภคได้อย่างเพียงพอกับ จํา นวนผูอ้ ยู่อาศัย และกลุ่ ม เกษตรกรที่ ม าศึ ก ษาการทําเกษตรแบบผสมและ ศึกษาวิถีชีวติ ความเป็ นอยูต่ ามธรรมชาติได้ตลอดทั้งปี 2. เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้งานทางปศุสัตว์แก่ผทู ้ ี่สนใจ เพื่อศึกษาวิถีชีวิตที่สามารถพึ่งพา ตนเองได้อย่างถาวร 3. เป็ นตัวอย่างของรู ปแบบการพัฒนาชุ มชนที่เข้มแข็ง จนสามารถอยูร่ อดได้ตวั ตนเองโดยการพึ่งพาธรรมชาติ 4. นําองค์ความรู ้ที่ได้จากการลงมือปฏิบตั ิมาถ่ายทอดแก่ชุมชนใกล้เคียงที่มีความ ต้องการความสนใจในการทําเกษตรแบบผสมผสาน และเป็ นการสานสัมพันธ์ ระหว่างชุมชนให้มีความรักหวงแหนในแผ่นดินเกิดของตนเอง 5. ช่วยเพิ่มความรู ้แก่ผทู ้ ี่มีความสนใจในการทําปศุสัตว์อย่างง่ายทั้งในด้านเงินทุน การผลิต และโครงสร้างทางการออกแบบอย่างถูกวิธี ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1. ได้เรี ย นรู ้ ท้ งั ภาคทฤษฎี และการปฏิ บ ตั ิ จริ งในสถานที่ จริ ง ได้รับ การปลู กฝั ง ค่านิยมแห่งคุณธรรม 2. ได้จดั กระบวนการเรี ยนรู ้ให้เป็ นไปตามกระบวนทัศน์แห่ งองค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั โดยนําความรู ้ไปใช้ทาํ งานให้เกิดประโยชน์ เสริ มสร้างศักยภาพ ของตนเอง และนําความรู ้ความสามารถไปช่วยเหลือผูอ้ ื่น


139

ข้ อมูลทางวิชาการ แนวคิดการเลีย้ งไก่ไข่ ชีวภาพ การเลี้ยงไก่ไข่แบบปศุสัตว์อินทรี ยม์ ีแนวความคิดตั้งแต่การระบาดของโรคไข้หวัด นกในปี 2547 เมื่อประเทศไทยประกาศเป็ นประเทศที่เกิ ดการระบาดของโรคไข้หวัดนกและมีคน เสี ยชีวติ เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2547 ทําให้การเลี้ยงสัตว์ปีกมีการปรับตัวเปลี่ยนแปลงอย่างมาก และ เกิดผลกระทบจากการระบาด คือ ประชาชนตื่นตระหนก ขาดความรู ้ ความเชื่อมัน่ ทําให้ผลผลิตขาย ไม่ได้ประมาณ 2-3 เดื อน จึงเกิ ดแนวความคิดที่ว่าจะดําเนิ นธุ รกิ จเลี้ ยงไก่ไข่ต่อไปอย่างมัน่ คงได้ อย่า งไรในภาวะวิ ก ฤติ เช่ น ปั จ จุ บ ัน อุ ด มชัย ฟาร์ ม จึ ง กลับ มาสํ า รวจจุ ด อ่ อ นจุ ด แข็ ง ของเราว่า มี อะไรบ้าง จึงเริ่ มลดค่าใช้จ่ายเป็ นลําดับแรก และเปลี่ยนระบบบริ หารจัดการ ดังนี้ 1. งดซื้ อยาปฏิ ชีวนะและวิตามิ นผสมนํ้า เนื่ องจากในอดี ตการเลี้ ยงไก่เริ่ มตั้งแต่ ลูกไก่ไข่จนถึงไก่ไข่กาํ ลังให้ไข่ จะต้องมีการวางโปรแกรมการให้ยาปฏิ ชีวนะ และวิตามิ นผสมนํ้า อย่า งน้อ ยเดื อนละ 1-2 ครั้ ง ในยามอากาศปกติ แต่ หาก สภาพอากาศไม่ดี เช่ น ฝนตก อากาศชื้ น หนาวหรื อร้อนจัด ก็จะเพิ่มความถี่ใน การให้ ย าและวิ ต ามิ น ซึ่ งเป็ นการเพิ่ ม ต้ น ทุ น ในการเลี้ ยงสั ต ว์ แ ละใน ขณะเดียวกันอาจพบสารตกค้างในผลผลิตและอาจมีผลกระทบในด้านสุ ขภาพ ต่อผูบ้ ริ โภค 2. ลดปริ มาณการเลี้ยงให้เหมาะสมกับความต้องการ ให้เกิดเสถียรภาพและมัน่ คง โดยเน้นสุ ขภาพสัตว์และผลผลิ ตที่ปลอดภัยทั้งทางเคมี และชี วภาพ จากการ ระบาดของไข้หวัดนกในปี พ.ศ.2547 ความต้องการบริ โภคไข่ไก่ลดลงอย่าง รุ นแรง ทําให้กาํ ลังการผลิตเกิ นความต้องการบริ โภค ปั ญหาไข่ไก่ลน้ ตลาดจึง เป็ นผลที่ตามมาซึ่ งอุดมชัยฟาร์ มตระหนักเสมอว่าการประกอบอาชี พเลี้ยงสัตว์ จําเป็ นต้องดําเนิ นตามแนวเศรษฐกิ จพอเพียง จึงลดกําลังการผลิ ตจาก 450000 ตัว เหลือเพียง 50000 ตัวในปั จจุบนั และปรับโครงสร้างการเลี้ยงจากเลี้ยงไก่ไข่ แบบเคมีมาเป็ นไก่ไข่อินทรี ย ์ จากการลดปริ มาณการเลี้ยงทําให้ไก่ไข่มีสุขภาพ แข็งแรงไม่ตอ้ งใช้ยาเพื่อรักษา ไข่ไก่ที่ได้จึงปราศจากสารเคมีและเป็ นไข่ไก่เพื่อ สุ ขภาพโดยแท้จริ ง


140 3. ผลิตอาหารไก่ไข่ที่มีคุณภาพ สะอาดและปลอดภัย ตามหลักโภชนะของสัตว์ใน การเลี้ ย งสั ต ว์น้ ัน อาหารสั ต ว์เ ป็ นปั จ จัย สํา คัญ การดํา เนิ น ธุ ร กิ จเลี้ ย งไก่ ไ ข่ อาหารย่อมเป็ นปั จจัยต้นๆของความแข็งแรงและสมบูรณ์ ของแม่ไก่ไข่ เพราะ ไม่เพียงเพื่อดํารงชี วิตของตัวแม่ไก่ไข่เอง แต่แม่ไก่ไข่ยงั ต้องนําอาหารไปผลิ ต เป็ นไข่ไก่ที่มีคุณภาพ สะอาดและปลอดภัยอีกด้วย ดังนั้น อุดมชัยฟาร์ มจึงมีโรง ผลิตอาหารเพื่อใช้เลี้ยงไก่ไข่ข้ ึนเองภายใน เพื่อผลิตอาหารที่มีคุณภาพตรงตาม ความต้องการของแม่ไก่ไข่ และยังสร้างความมัน่ คงในอาชี พการเลี้ยงไก่ไข่อีก ด้วย การผลิ ตอาหารจะคํานึ งถึ งความเป็ นธรรมชาติ กล่าวคื อ จะไม่นาํ เอาสารเร่ งและ สารปรุ งแต่งใส่ ไปในอาหารเพื่อเลี้ ยงแม่ไก่ไข่โดยเด็ดขาดและวัตถุดิบที่นาํ มาผลิตอาหารไก่ไข่น้ นั ยังเป็ นวัตถุดิบที่ผลิตได้ภายในประเทศทั้งหมด เช่น ข้าวโพด กากถัว่ เหลือง ปลาป่ นและรําละเอียด (รําสด) จึงปราศจากพืชตัดแต่งพันธุ กรรม (Genetically Modified Organisms or GMOs) โดยสิ้ นเชิง 4. จากการงดใช้ยาปฏิ ชีวนะและเคมีภณ ั ฑ์ จึงต้องให้ความสําคัญของสมุนไพร ไทยที่สามารถหาได้จากท้องถิ่ น เพื่อเสริ มสร้ างระบบภูมิคุม้ กันและรักษาโรค ในบางโอกาส สมุนไพรไทย ได้แก่ ฟ้ าทะลายโจรและขมิ้นชัน ฯลฯ การดูแล สุ ขภาพไก่ให้แข็งแรง ไม่เลี้ยงในเชิงปริ มาณแต่จะเน้นที่คุณภาพ โดยนอกจากมี การให้สมุนไพรไทยแล้ว นํ้าหมักชี วภาพที่ผลิ ตขึ้นใช้เองงภายในฟาร์ มก็เป็ น อีกหนึ่ งทางเลื อก เพื่อช่ วยลดความเครี ยด เพิ่มประสิ ทธิ ภาพให้กบั ระบบการ ย่อ ยและดู ด ซึ ม อาหาร เสริ ม สร้ า งระบบภู มิ คุ ้ม กัน โรคให้ ก ับ แม่ ไ ก่ แ ละยัง สามารถลดและดับกลิ่ นไม่พึงประสงค์ภายในโรงเรื อนนอกจากนี้ ยงั สามารถ รักษาระบบนิเวศวิทยา 5. ประยุกต์ใช้ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) จึงปลอดภัยจากโรค ไข้หวัดนกและโรคที่ทาํ ให้เกิดความเสี ยหายในสัตว์ และยังนําความรู ้ดงั กล่าว เสนอแนะคณะกรรมการพิ จ ารณาแก้ไ ขปั ญ หาโรคไข้ห วัด นก โดยมี ร อง นายกรัฐมนตรี นายจาตุรนต์ ฉายแสง เป็ นประธาน จนสามารถควบคุ มโรค ดังกล่าว และได้รับโล่เกียรติคุณจากกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2548


141 6. รั ก ษาระบบนิ เวศวิท ยาในการเลี้ ย งสั ตว์ คื อ ไม่ ตดั โค่ นต้น ไม้ยืน ต้น แต่ จ ะ อนุ รั ก ษ์ แ ละปลู ก เพิ่ ม เพื่ อ ลดภาวะโลกร้ อ นและรั ก ษาสมดุ ล ทางระบบ นิ เวศวิทยา กล่ าวคือ การเลี้ ยงสัตว์ตอ้ งอาศัยระบบเกื้ อกูลซึ่ งกันและกัน การ เลี้ ยงไก่ไข่มีอายุการเลี้ ยงที่ยาวนาน ดังนั้นจึงมีหลายปั จจัยที่อาจส่ งผลกระทบ กับตัวสัตว์แล้วอาจโน้มนําและก่อให้เกิดปั ญหาด้านสุ ขภาพตามมา เช่น ระบบ หายใจ ระบบทางเดิ น อาหาร เป็ นต้ น ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ สุ ขภาพสั ต ว์ น้ ั น นอกเหนื อจากตัวสัตว์เองแล้ว การจัดการฟาร์ มก็เป็ นอีกปั จจัยพื้นฐานที่สําคัญ ในการป้ องกันและแก้ไขในกรณี ที่เกิดปั ญหา สภาพแวดล้อมที่สัตว์อยูอ่ าศัยเป็ น อีกตัวแปรหนึ่ งที่ไม่ควรมองข้าม การรักษาไม้ยืนต้นที่มีอยู่เดิ นตามธรรมชาติ นอกจากช่ ว ยในด้า นอากาศและร่ ม เงาแล้ว ยัง เป็ นการอนุ รั ก ษ์พ ัน ธุ์ ไ ม้ใ น ท้ อ งถิ่ น ด้ ว ย ทางฟาร์ ม มี น โยบายปลู ก ต้ น ไม้ เ พิ่ ม เติ ม เพื่ อ ช่ ว ยในเรื่ อง สภาพแวดล้อมภายในฟาร์ มและเพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อนอีก 7. ส่ งเสริ มให้ปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อบริ โภค หากมีเหลื อก็แจกจ่ายให้กบั ลูกค้า เพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรื อน นอกจากนี้ ยงั ปลอดภัยจากยาเคมีหรื อสิ่ งปนเปื้ อน จากภายนอกจึงมัน่ ใจในความปลอดภัยของผักและผลไม้ที่ผลิตได้ภายในฟาร์ ม อีกด้วย การทําเกษตรอินทรี ย ์ หรื อปศุ สัตว์อินทรี ย ์ คื อการคํานึ งถึ งสภาพแวดล้อมและ สมดุลทางธรรมชาติ เน้นการใช้อินทรี ยวัตถุหลีกเลี่ยงสารเคมี โดยอาศัยวัฎจักรธรรมชาติในการเพิ่ม ผลผลิต เสริ มสร้างให้พืชและสัตว์มีความแข็งแรงในการต้านทานโรคได้ดว้ ยตัวเอง เนื่องจากปั จจุบนั ไก่พ้นื เมืองที่เกษตรกรเลี้ยงด้วยวิถีอินทรี ย ์ เป็ นที่นิยมบริ โภคมาก ในประเทศเพื่อนบ้าน จนผลิตไม่พอขาย ด้วยวัสดุที่มีอยูใ่ นชุ มชน ทําให้เนื้ อไก่ที่ได้ไม่มีสารตกค้าง เมื่ อนํามาบริ โภคมี รสชาติ ที่ ช วนกิ น เนื้ อแน่ นและนุ่ ม จึ ง มี ก ารสั่ง นํา เข้า จากประเทศเพื่อนบ้า น จํานวนมาก


142 ขณะที่ไข่ไก่อินทรี ยก์ ็เช่ นกัน ขณะนี้ เกษตรกรที่เลี้ ยงไก่ไข่อินทรี ย ์ ผลิ ตไข่ไก่ไม่ เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ทางจังหวัดสระแก้วจึงเร่ งส่ งเสริ มให้เกษตรกรหันมาเลี้ยงไก่ไข่ อินทรี ยใ์ ห้มากขึ้น เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของผูบ้ ริ โภค24 สุ ขภาพสั ตว์ และความเสี่ ยงต่ อโรคระบาดในการเลีย้ งไก่ ไข่ แบบปล่ อย ประเด็นปั ญหาการเกิดโรคระบาดโดยเฉพาะความเสี่ ยงต่อโรคไข้หวัดนกในการ เลี้ ย งไก่ แบบปล่ อยและการเลี้ ย งแบบอุ ตสาหกรรมนั้น เป็ นที่ วิพ ากษ์วิจารณ์ และหาข้อสรุ ป เชิ ง วิทยาศาสตร์ พบว่าการเกิ ดโรคจะเกิ ดขึ้ นได้ทุ กระบบของการเลี้ ยง แต่ค วามรุ นแรงของโรคจะ แตกต่างกัน ไก่เลี้ยงปล่อยมีโอกาสเสี่ ยงต่อนกป่ าที่ติดเชื้ อมากกว่าไก่ที่เลี้ยงในโรงปิ ดก็จริ ง แต่หาก ดู แลให้ไก่ แข็งแรงด้วยการจัดการที่ ดี มี ภูมิต้านทานโรคโดยธรรมชาติ เมื่ อได้รับเชื้ อแล้วจะไม่ รุ นแรง และโอกาสกระจายมีนอ้ ยเพราะเลี้ยงไม่หนาแน่น แต่การเลี้ ยงแบบอุตสาหกรรมหากได้รับ เชื้ อจะระบาดรุ นแรง เพราะตามหลักพันธุ ศาสตร์ สัตว์ที่คดั เลือกมาให้มีพนั ธุ กรรมที่ให้ผลผลิตสู ง จะอ่อนแอง่ายต่อการติดโรค และการเลี้ยงหนาแน่นสร้างโอกาสการสัมผัสกันของไก่ตวั ต่อตัวไปได้ อย่างรวดเร็ วทําให้เชื้ อโรคแข็งแรงขึ้น ดังนั้นจึงเป็ นข้อสรุ ปว่าทุกระบบมีโอกาสการสัมผัสโรคแต่ ความรุ นแรงขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยสิ่ งแวดล้อมการจัดการเลี้ยงดู และสุ ขอนามัยของสัตว์ (commission to the european communities, brussels, 8.10.2008,COM(2007) 865 final)25 คาแนะนา การเลีย้ งสั ตว์ ปีกอินทรี ย์ตามมาตรฐานปศุสัตว์ อนิ ทรีย์ หลัก การพื้ นฐานการเลี้ ย งสั ตว์ปี กอิ นทรี ย ์ คื อ จะต้องไม่ ข งั กรงการเลี้ ย งปล่ อย (access to outdoor) มีโรงเรื อนที่เหมาะสม ไม่หนาแน่น และเปิ ดให้สัตว์ได้ออกพื้นที่โล่งภายนอก โรงเรื อนได้ตลอดเวลา พื้นที่ภายนอกควรมีหญ้าหรื อพืชธรรมชาติปกคลุม (Free range) เพื่อให้สัตว์ ได้คุย้ เขี่ย หากิ นพืช สัตว์ แมลงตามธรรมชาติ สัมผัสแสงแดด อากาศภายนอกโรงเรื อน อาหารที่ ได้รั บ รวมทั้ง แปลงหญ้า ต้อ งเป็ นอิ น ทรี ย ์ ไม่ ใ ช้ย าปฏิ ชี ว นะ ยาเคมี สั ง เคราะห์ ไม่ ใ ช้สิ่ ง มี ชี วิ ต ดัดแปลงพันธุ กรรม และการจัดการสิ่ งแวดล้อมที่ดี ส่ งเสริ มสวัสดิภาพสัตว์ มีระบบป้ องกันโรคที่ดี เพื่อส่ งเสริ มสุ ขภาพสัตว์ให้แข็งแรง เป็ นไปตามธรรมชาติของสัตว์รักษาความเป็ นอินทรี ยต์ ้ งั แต่การ 24

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. แนวคิดการเลี้ยงไก่ชีวภาพ[ออนไลน์]. 22 ตุลาคม 2556.แหล่งที่มา http://www.mfu.ac.th. 25 กรมปศุสัตว์. สุ ขภาพสัตว์และความเสี่ ยงต่อโรคระบาดในการเลี้ยงไก่ไข่แบบปล่อย[ออนไลน์]. 22 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มาhttp://www.dld.go.th


143 ผลิ ตจนถึ งการบรรจุเป็ นเนื้ อหรื อไข่หากต้องการขอการรับรองให้ติดต่อหน่ วยตรวจรั บรอง โดย ผูผ้ ลิ ตจะต้องมีแผนการผลิ ตระบบปศุ สัตว์อินทรี ยท์ ี่ อธิ บายแผนการผลิ ตแต่ละรุ่ นตลอดปี วิธีการ จัดการฟาร์ มไม่ให้ปนเปื้ อนสารเคมีและไก่ปกติ และบันทึกการใช้ปัจจัยการผลิตการดูแลสุ ขภาพ และหลักฐานการใช้ไว้ให้ตรวจสอบ ตารางที่ 3 – 16 ตารางแสดงการปฏิบตั ิตามมาตรฐานปศุสัตว์อินทรี ย ์ รายการ 1. พื้นที่ใช้ เลี้ยงสัตว์

ต้ องทา 1. เป็ นพื้นที่อินทรี ยแ์ ละไม่เสี่ ยงต่อการ ปนเปื้ อนสารเคมี 2. มีขอบเขตชัดเจน แสดงความเป็ นอินทรี ย ์ 3. เป็ นที่โปร่ ง อากาศถ่ายเทดี สามารถควบคุม การแพร่ ระบาดของโรคได้ 2. แหล่งที่มา 1. มาจากพ่อแม่พนั ธุ์ที่เหมาะสมกับระบบการ เลี้ยงปล่อย ของสัตว์ 2. นํามาเลี้ยงในระบบอายุนอ้ ยที่สุด อายุไม่ เกิน 3 วัน 3. โรงเรื อน หลักการ : เลี้ยงไก่ไม่หนาแน่นเกินไปให้ และการเลี้ยง เหมาะสมกับพื้นที่โรงเรื อนและพื้นที่ปล่อย ปล่อย 1. มีโรงเรื อนสามารถกันแดด กันฝน กันศัตรู โปร่ ง โล่ง สบาย - ขนาดพื้นที่ภายในโรงเรื อนไม่มากกว่า 4- 5 ตัว/ตร.ม. - ไก่ไข่มีคอน และรังไข่อย่างเพียงพอ 2. มีพ้นื ที่ภายนอกโรงเรื อน ให้ไก่สามารถ ออกมาได้อย่างอิสระ และมีพืชหญ้าปกคลุม หรื อเป็ นแปลงหญ้า (EU 4 ม2/ตัว UK ไก่ไข่ 160 ตัว/ไร่ , ไก่เนื้อ 400 ตัว/ไร่ ) 3. แปลงหญ้ามีการหมุนเวียน หรื อพักแปลง ให้หญ้าได้งอกใหม่ และตัดวงจรพยาธิ 4. อาหาร หลักการ อาหารอินทรี ย ์ 100 % และสู ตร

ต้ องห้ าม 1. ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีกาํ จัดหญ้า ศัตรู พืชในพื้นที่ ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี และปลูกพืชในระบบอินทรี ยม์ าไม่ น้อยกว่า 1 ปี ก่อนนํามาให้สัตว์กิน 1. หากเป็ นพันธุ์ที่โตเร็ วต้องเลี้ยง ในระบบอินทรี ยไ์ ม่ต่าํ กว่า 10 อาทิตย์ 1. ไม่เลี้ยงขังคอกตลอดเวลา 2. ห้ามเลี้ยงไก่ไข่บนกรงตับ อาจ ขังคอกเมื่อจําเป็ นเช่น สภาพอากาศ รุ นแรง กันสัตว์ไม่ให้ได้รับ อันตราย แต่ไม่เกิน 1/3 ของช่วง ชีวติ 3. ห้ามใช้แสงไฟฟ้ าในไก่ไข่เพิ่ม แสงไม่เกิน16 ชัว่ โมง

1. ห้ามใช้วตั ถุดิบที่มาจากการตัด


144 รายการ สัตว์

ต้ องทา อาหารเหมาะสมกับสัตว์ วิธีปฏิบตั ิ 1. อาหารสัตว์ควรปลูกภายในฟาร์มหรื อ เครื อข่ายบริ เวณใกล้เคียง เช่น รํา ปลายข้าว ข้าวโพด มันสําปะหลัง หยวกกล้วย 2. สร้างแหล่งอาหารธรรมชาติ เช่นพืชผักสี เขียว แมลง หนอน ปลวก ให้สัตว์ได้คุย้ เขี่ยกิน ตามธรรมชาติมากที่สุด 3. หากพื้นที่ปล่อยไม่มีพืชสี เขียว ควรมีอาหาร หยาบสดให้กินทุกวัน เช่น พืช ผัก สมุนไพร 4. หากไก่ได้รับอาหารธรรมชาติ เช่นพืช ผักสี เขียว ผลไม้ สมุนไพร และแมลง ไม่เพียงพอ ผู ้ เลี้ยงจําเป็ นต้องเรี ยนรู ้การทํานํ้าหมักชีวภาพ และนํ้าหมักสมุนไพร ให้ไก่ได้กิน เพื่อให้ สุ ขภาพแข็งแรง เพิ่มภูมิตา้ นทานโรค และช่วย ย่อยอาหาร 5. การจัดการ 1. หมัน่ ตรวจสุ ขภาพสัตว์เป็ นประจํา สุ ขภาพ 2. ป้ องกันโรคด้วยวัคซี นได้ในกรณี ที่เสี่ ยง 3. หากสัตว์ป่วยต้องรักษา แต่มีระยะหยุดยา เป็ น 2 เท่า ควรแยกสัตว์ป่วยออกจากฝูง 4. มีมาตรการกักโรค ก่อนรวมฝูง 5. มีมาตรการป้ องกันโรค คน สัตว์พาหะเข้า ฟาร์ มที่ดี ให้อาหารในคอก ป้ องกันนกกิน อาหาร 6. ทําความสะอาดคอก โรงเรื อน สมํ่าเสมอ 6. การขนส่ ง 1. ปฏิบตั ิต่อสัตว์อย่างมีมนุษยธรรมให้เกิด การรวบรวม ความเครี ยดต่อสัตว์นอ้ ยที่สุด และการ 2. การชําแหละที่คาํ นึงถึงความปลอดภัยของ ชําแหละ อาหาร

ต้ องห้ าม ต่อพันธุ กรรม เช่น ข้าวโพด ถัว่ เหลืองนําเข้า 2. ห้ามใช้ปฏิชีวนะยากันบิด ฮอร์ โมนสังเคราะห์ สารเร่ งการ เจริ ญเติบโต 3. ห้ามใช้เนื้อกระดูกป่ น จากสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม 4. ห้ามใช้กรดอะมิโนสังเคราะห์ ยกเว้น กรณี จาํ เป็ น

1. ห้ามตัดปากไก่ ยกเว้นในกรณี จําเป็ นต้องตัดอย่างเหมาะสม เพื่อให้ไก่ได้จิกกินตามธรรมชาติ ได้ 2. ห้ามบังคับผลัดขน

1. ไม่นาํ สัตว์อินทรี ยป์ ะปนกับสัตว์ ที่เลี้ยงแบบปกติ


145 รายการ

ต้ องทา 3. การเก็บไข่ การคัดแยก การบรรจุ ต้องไม่ ปะปนกับไข่ปกติ

ต้ องห้ าม

เทคนิคการเลีย้ งไก่ไข่ แบบปล่ อย การจัดการเลี้ ยงไก่ไข่แบบปล่อย ตั้งแต่การปล่อยพื้นในโรงเรื อนจนถึ งการปล่อย อิสระสู่ พ้ืนที่ภายนอกไม่จาํ กัด (barn to free range) นั้น ผูเ้ ลี้ยงต้องมีความเข้าใจความต้องการทาง พฤติกรรมของไก่ และจัดหาอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพและปริ มาณเพียงพอ ให้สัตว์ได้รับแสงแดด มี ร่ มเงา ต้นไม้ คอก โรงเรื อน กันแดดกันฝน และทําความสะอาดคอก รางนํ้า รางอาหาร และมูลสัตว์ สมํ่าเสมอ เพื่อประกอบกับการจัดการฟาร์ ม ประเด็นสําคัญในการพิจารณา ดังนี้ 1. พันธุ์ ไก่ ไข่ ควรเลื อกใช้พนั ธุ์ ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมการเลี้ ยงแบบปล่อย สามารถหากินตามธรรมชาติได้ดี ใช้อาหารสัตว์ที่มีในท้องถิ่นได้ดีแข็งแรง ทน โรค ให้ผลผลิตดี และไม่ตดั ปาก 2. เลือกพืน้ ที่ เป็ นพื้นที่ห่างจากที่อยูอ่ าศัย อาจเป็ นสวนหลังบ้าน สวนผลไม้ สวน ป่ า หรื อที่ โล่งมีหญ้าปกคลุ ม เมื่อเลื อกพื้นที่ได้แล้วกั้นบริ เวณด้วยอวนตาข่าย จํานวนไก่ ที่เลี้ ยงไม่ควรเกิ น 200-300 ตัว/ไร่ ขึ้นอยู่กบั ความหลากหลายทาง ชี ว ภาพธรรมชาติ ข องอาหารที่ ไ ก่ ไ ด้จิ ก กิ น ภายในพื้ น ที่ อ าจกั้น เป็ นแปลง หมุนเวียนก็ได้ 3. โรงเรือน เป็ นที่หลบแดด ฝน หลบภัยให้กบั สัตว์ พื้นที่ภายในโรงเรื อน 4-5 ตัว/ ตร.ม. ภายในโรงเรื อนมีคอนนอน มีรังไข่อย่างน้อย 7 แม่/รัง 4. อาหารสั ตว์ อาหารสัตว์ส่วนหนึ่ งมาจากธรรมชาติ โจทย์การเลี้ ยงไก่ ไข่แบบ ปล่อย คือการใช้วตั ถุ ดิบอาหารสัตว์ทอ้ งถิ่ น ฉะนั้นสู ตรอาหารสัตว์จะไม่เป็ น สู ตรสําเร็ จขึ้นกับสภาพการเลี้ ยงปล่อย โดยผูเ้ ลี้ยงจะต้องทดลองด้วยตนเอง มี หลักเกณฑ์พิจารณาดังนี้


146 ตารางที่ 3 – 17 ตารางรู ปแบบการเลี้ยงปล่อย รู ปแบบการเลีย้ งปล่ อย 1. ปล่อยอิสระ Freerangeมีความ หลากหลายทางชีวภาพ เช่น หญ้า สมุนไพร แมลง หนอน สัตว์ ธรรมชาติ

อาหารจากธรรมชาติ ไก่ได้รับ โปรตีน ไวตามินแร่ ธาตุ สารต้านอนุมูลอิสระ สมุนไพรจาก ธรรมชาติอย่าง เพียงพอ

อาหารเสริม เสริ มด้วยแหล่ง พลังงานเช่น รํา ปลายข้าว ข้าวโพด มันสําปะหลัง

2. ปล่อยอิสระ Freerangeแต่มีความ หลากหลายทางชีวภาพ ไม่เพียงพอ เช่นเป็ น พื้นที่ดินเปลือย ไม่มี พืช หญ้า สมุนไพร ปก คลุม อย่างเพียงพอต่อสัตว์

ได้รับสารอาหารจาก ธรรมชาติ โปรตีน ไวตามิน แร่ ธาตุ สาร ต้านอนุมูลอิสระ อาจ ไม่เพียงพอ

เสริ มด้วย แหล่ง พลังงาน โปรตีน โปรไบโอติก เอ็นไซม์ กรดอะมิโน ฮอร์โมนจาก กระบวนการหมัก ด้วยจุลินทรี ย ์

3. ปล่อยในพื้นที่ สารอาหารจาก ภายนอกคอก Access ธรรมชาติ to outdoorไม่มีความ ไม่เพียงพอ หลากหลายทางชีวภาพ อย่างเพียงพอ

การใช้ ตามภูมิปัญญา หยวกกล้วย รํา ปลายข้าว หรื อข้าวเปลือก

- หยวกกล้วย ผัก พืชสี เขียว - รํา ปลายข้าว ข้าวโพด - นํ้าหมักเศษปลา หอย เชอรี่ หรื อ ถัว่ เหลือง ถัว่ เขียวคัว่ บด ใบกระถิน ใบ มันสําปะหลังแห้ง - นํ้าหมักผลไม้รวม - ใช้สมุนไพร บอระเพ็ด ฟ้ าทะลายโจร ขมิ้นชัน ไพล เป็ นต้น ต้องได้รับสารอาหาร เช่นเดียวกับสู ตรในข้อ 2 ครบหมู่

5. เทคนิคการดูแลสุ ขภาพแบบองค์ รวม“อาหารเสริ มสุ ขภาพของระบบย่อยอาหาร Nutraceuticalconceptfor gut health” เป็ นวิทยาการด้านอาหารสัตว์ในปั จจุบนั เดิ ม ในยุค 40 ปี ก่ อนการคํา นวณสู ตรอาหารจะคํา นึ ง ถึ ง โภชนะที่ ย่อยได้ใ ห้


147 เพียงพอต่อความต้องการของสัตว์ ในยุคต่อมาเสริ มด้วยไวตามิน แร่ ธาตุ ต่อมา มีการเสริ มด้วยกรดอะมิโนสังเคราะห์ แต่ในปั จจุบนั วิทยาการด้านอาหารสัตว์ จะต้อ งมี ก ารเชื่ อ มต่ อ ความรู ้ ห ลายสาขามากขึ้ น เช่ น การให้ อ าหารที่ สั ต ว์ สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ทนั ที เช่นเอนไซม์ กรดอะมิโนที่ได้จากการหมัก บ่มด้วยจุลินทรี ยแ์ ละอาหารเป็ นยาเช่นสมุนไพรเป็ นต้น สุ ขภาพของทางเดินอาหารเป็ นกลไกสําคัญในการใช้ประโยชน์ของสารอาหาร ใน ลําไส้เล็ก มี villi ทําหน้าที่เป็ นตัวกรองและอนุญาตให้สารอาหารที่ยอ่ ยสมบูรณ์ผา่ นเข้ากระแสเลือด ไปเลี้ยงเซลล์ต่างๆ ของร่ างกาย ถ้าสมดุลของจุลินทรี ยไ์ ม่เหมาะสม หรื อมีจุลินทรี ยก์ ่อโรค หรื อ เชื้ อ โรคมากทําให้ขบั สารพิษออกมายึดเกาะ villi เกิ ดภาวะทําให้ Villi ดูดซึ มอาหารไม่หมดและไม่ สามารถกรองเชื้ อโรคได้ ทําให้เข้าไปในกระแสเลื อดเกิ ดโรคต่างๆ ขึ้น นอกจากนี้ ในลําไส้มีต่อม นํ้าเหลืองเป็ นส่ วนสําคัญในการสร้างภูมิคุม้ กันกรณี มีเชื้อแปลกปลอมเข้าไปในร่ างกาย ภูมิปัญญาไทยการใช้ สมุนไพรและเทคนิคชี วภาพในการป้องกันโรคสั ตว์ ในปัจจุบนั เกษตรกรได้พฒั นาเทคนิ คนํ้าหมักชี วภาพ และสารสกัดสมุนไพรมาใช้ เลี้ ยงสัตว์ แต่เป็ นการใช้ตามภูมิปัญญาและการเรี ยนรู ้ ของเกษตรกรผลการใช้ไม่แน่ นอน จากการสํารวจเบื้องต้นพบรู ปแบบการใช้ดงั นี้ 1. การใช้แบบภู มิปั ญญาดั้งเดิ ม ในการเลี้ ยงสัตว์หลัง บ้า น เช่ น การใช้ บอระเพ็ด ฟ้ าทะลายโจร ขมิน้ ชันแช่น้ าํ ให้สัตว์กินเพื่อป้ องกันโรคและ บํารุ งกําลังการใช้หมากสุ กให้ไก่กินเพื่อถ่ายพยาธิ ในไก่ การใช้น้ าํ คั้น มะเกลือถ่ายพยาธิ โคกระบือ เป็ นต้น 2. การใช้สมุนไพรแห้งบดผสมในอาหารไก่และสุ กร พบในการเลี้ยงสัตว์ ฟาร์มเพื่อการค้าขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เป็ นการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ชาวบ้านคัดเลือกสมุนไพรที่มีสรรพคุณตามที่ตอ้ งการใช้ในสัตว์ โดย ใช้สมุนไพรหลายชนิ ดผสมกันเพื่อให้คุณสมบัติป้องกันโรคทางเดิ น อาหารและทางเดินหายใจกําจัดกลิ่นในมูลสัตว์ และกําจัดพยาธิ โดยใช้ องค์ความรู ้ด้ งั เดิมจากสรรพคุณของสมุนไพร


148 3. การใช้ น้ ําหมัก ชี ว ภาพ และนํ้าหมัก ชี ว ภาพสมุ น ไพร ซึ่ งมี สู ต รที่ หลากหลายมาก ขึ้นอยูก่ บั ชนิ ดของพืช สัตว์ และจุลินทรี ยท์ ี่เป็ นตัวตั้ง ต้นให้เกิดกระบวนการหมัก สมุนไพรทีใ่ ช้ มากในไก่ ได้แก่ขมิ้นชัน กระเทียม ฟ้ าทะลายโจร พริ กแดง มะระขี้นก บอระเพ็ดผักคราดหัว แหวน ข่า ตะไคร้ กระทือ ผักคาวตอง สะเดาโคก ลูกยอ เป็ นต้น คุณค่ าทางโภชนะของไข่ ไก่ ที่เลีย้ งแบบปล่ อยแปลง จากรายงานของ Mather earth news egg testing projectได้วิเคราะห์ไข่ไก่ที่เลี้ยง แบบปล่อยแปลงหญ้าตลอดเวลา จํานวน 14 ฟาร์ มในสหรัฐอเมริ กา เปรี ยบเทียบกับข้อมูลวิเคราะห์ ไข่ไก่ที่เลี้ยงแบบอุตสาหกรรมของ USDA พบว่า ไข่ไก่ที่เลี้ยงปล่อยแปลงหญ้าตลอดเวลา ให้ไก่ได้ จิกกิ นพืชหญ้าสี เขี ยว แมลง หนอน ซึ่ งมี ไวตามินแร่ ธาตุ และโปรตีนจากพืชสัตว์ธรรมชาติ เสริ ม เฉพาะธัญพืช ทําให้มีคุณค่าทางโภชนะสู งกว่าคือ 1. มีคลอเรสเตอรอล น้อยกว่า 1/3 2. มีกรดไขมันอิ่มตัว น้อยกว่า ¼ 3. มีไวตามิน เอ มากกว่า 2/3 4. มีกรดไขมัน โอเมก้า 3 มากกว่า 2 เท่า 5. มีไวตามิน อี มากกว่า 3 เท่า 6. มี เบต้าแคโรตีน มากกว่า 7 เท่า


149 นอกจากนี้ไข่ไก่จากฟาร์ มเหล่านี้ได้รับการตอบรับจากผูบ้ ริ โภคที่ติดใจในรสชาติ ที่เป็ นธรรมชาติของไข่ ลักษณะภายในของไข่ที่ขน้ และเป็ นขาประจําที่ยอมจ่ายเงินซื้ อไข่ในราคาที่ สู งกว่าไข่ไก่ปกติ26 ตารางที่ 3 – 18การเปรี ยบเทียบไข่ทวั่ ไปกับไข่ไก่เลี้ยงปล่อย ไข่ทวั่ ไป ไข่ไก่เลี้ยงปล่อย 1. เลี้ยงด้วยอาหารสําเร็ จรู ป ใช้โปรตีนจาก 1. ไก่จิกกินพืช ผัก สมุนไพร หนอน แมลง พืช สัตว์ธรรมชาติ เป็ นสารต้านอนุมูลอิสระ จาก ปลาป่ น ไวตามินแร่ ธาตุสังเคราะห์ สาร ธรรมชาติ เสริ มด้วย ธัญพืช รํา ปลายข้าว ปฏิชีวนะ ยากันเครี ยด ใส่ สารสี ข้าวโพด ไม่ใช้ยาเคมี สารสังเคราะห์ใดๆ สังเคราะห์ ผล - เนื้อไข่ขาวเหลว ไข่แดงไม่นูนเด่น มีสี ผล - ไข่ขาวข้นเห็นได้ชดั เจน ไข่แดงนูนเด่น แดงจากสารสี รสชาติดี - เสี่ ยงต่อสุ ขภาพ การดื้อยาปฏิชีวนะใน - ไม่เสี่ ยงต่อสารเคมี ยาสัตว์ตกค้าง คน - มีคุณค่าทางโภชนาการสู งกว่า โรงเรือนเลีย้ งไก่อินทรีย์ เลี้ยงแบบครึ่ งกักครึ่ งปล่อย คือ มีหลังคาให้หลบฝน แดด ได้ และมีรังไข่ ไว้ให้ ไก่เข้าไปไข่ แต่ก้ นั บริ เวณให้ไก่เดิน คุย้ เขี่ย ในบริ เวณที่จาํ กัด27 อุปกรณ์ การให้ แสง เนื่ องจากแสงสว่างมีความจําเป็ นต่อการมองเห็นของไก่ ไม่ว่าเวลากินอาหาร กิ น นํ้า หรื ออื่นๆ นอกจากนี้ แสงยังมีความสําคัญต่อการให้ไข่ของไก่ ดังนั้น ภายในโรงเรื อนจะต้องมี

26

กรมปศุสัตว์. คุณค่าทางโภชนะของไข่ไก่ที่เลี้ยงแบบปล่อยแปลง [ออนไลน์]. 22 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มาhttp://www.dld.go.th 27

บ้านสวนพอเพียง. โรงเรื อนเลี้ยงไก่อินทรี ย[์ ออนไลน์]. 22 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มา

http://www.bansuanporpeang.com


150 อุปกรณ์การให้แสงสว่างอย่างเพียงพอ โดยทัว่ ไปนิยมติดตั้งหลอดไฟ หลอดไฟที่นิยมใช้กนั มาก คือ หลอดกลมธรรมดาและหลอดฟลูออกรสเซนต์หรื อหลอดนีออน28 อาหาร 1. อาหารสาหรับไก่เล็ก สู ตรอาหารไก่ไข่เล็ก (อายุแรกเกิด-6 สัปดาห์)29 ตารางที่ 3 – 19ตารางสู ตรอาหารสําหรับไก่เล็ก วัตถุดิบอาหารสั ตว์ (ก.ก.) ปลายข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่ าง มันเส้น รําละเอียด กากถัว่ เหลือง ปลาป่ น ไดแคลเซียมฟอสเฟต เกลือ พรี มิกซ์ไก่ไข่เล็ก รวม

สู ตรที่ 1 56 112 22 8 1 0.5 0.5 100

สู ตรที่ 2 61.2 10 18.8 8 1 0.5 0.5 100

สู ตรที่ 3 59.3 12 18.7 8 1 0.5 0.5 100

สู ตรที่ 4 46.2 15 26.8 10 1 0.5 0.5 100

2. อาหารมื้อหลัก (สู ต รประหยัดต้ นทุ น)สู ตรอาหารไก่ ไข่ เพื่ อประหยัดต้นทุ น และช่วยให้ไก่เจริ ญอาหาร ไข่ดี ไข่ดก ซึ่ งสู ตรดังกล่าวมีส่วนผสม ดังนี้ 28

กรมปศุสัตว์. อุปกรณ์การให้แสง [ออนไลน์]. 22 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มา http://www.dld.go.th 29 กรมปศุสัตว์. การให้อาหารและสู ตรอาหารไก่ไข่[ออนไลน์]. 22 ตุลาคม 2556. แหล่งที่มาhttp://www.dld.go.th


151 ส่ วนผสม 1. ปลายข้าว 10 กิโลกรัม 2. รําละเอียด 10 กิโลกรัม 3. 3. ปลาป่ น 1 กิโลกรัม วิธีการทา 1. ผสมปลายข้าว รําละเอียด และปลาป่ นให้เข้ากัน วิธีการใช้ นําส่ วนผสมที่ ได้มาใส่ รางให้ไ ก่ กิน วันละ 1 ครั้ ง และเสริ มด้วยหยวก กล้วยสับในบางวัน จะช่วยให้เจริ ญอาหาร ประหยัดต้นทุนในการซื้ ออาหารกระสอบ และไก่ไข่ได้ มากขึ้น30 อาหารเสริมประเภทผักและสมุนไพร ขมิน้ ชั น มีฤทธิ์ ลดการอักเสบ รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้ อรา เหง้าขมิ้นตําผสม กับพลูคลุกกับปูนกินหมาก ใช้รักษาแผลให้ชา้ งทั้งแผลสด แผลมีหนองและกันแมลงบริ เวณแผล ฟ้าทะลายโจร แก้หวัด ทอนซิ ลอักเสบ มี การทดลองนําฟ้ าทะลายโจร ขมิ้นและ ไพลมา ผสมอาหารให้ไ ก่ กิ นในอัตราส่ วน 50-75 กรั ม ต่ ออาหาร 3 กิ โลกรั ม พบว่า สามารถลด ค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคต่างๆในสัตว์ ไพล มีฤทธิ์ ขยายหลอดลม ใช้ภายนอกเป็ นยาประคบร้ อน พอกแก้ฟกชํ้า บวม ลดการ อักเสบ ทําให้ประสาทชาช่วยลดอาการปวดได้ ส้ มป่ อย นํามาต้มอาบให้ไก่สดชื่ น กระปรี้ กระเปร่ า กล้ามเนื้ อคลายตัว ช่ วยรักษา โรคกลากเกลื้ อนและเชื้ อรา นํ้าต้มใบส้มป่ อยและฝั กใช้หยอดให้ไก่กินช่ วยขับเสลด เมล็ดนํามาตํา 30

รักบ้านเกิด. สู ตรอาหารไก่ไข่ตน้ ทุนตํ่า[ออนไลน์]. 2555. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com


152 หรื อบดให้ละเอียดผสมนํ้าผึ้งปั้ นเป็ นลูกกลอนให้ไก่กินเป็ นยาถ่ายได้ นอกจากนี้ ใบส้มป่ อยยังใช้ แก้ ท้องอืด ท้องผูก ถ่ายพยาธิ ให้ชา้ ง กระเทียม แก้จุกเสี ยด แน่นเฟ้ อขับลม ขับลมเสมหะนํ้าลายเหนี ยว และรักษาอาการบวมชํ้าภายในของไก่ชนใบ มะขาม ต้มรวมกับ ตะไคร้ ใบส้ ม ป่ อย ทําให้ไ ก่ คึ ก คัก สบายตัว แก้หวัดทํา ให้ หายใจคล่อง รู ขนเปิ ด สู ตรอาหารทาให้ ไข่ แดง ใหญ่ และคลอเลสเตอรอลต่า สู ตรการทําให้ไข่ไก่ มีไข่แดงขนาดใหญ่ เหนี ยว รสชาติมนั อร่ อย และยังช่วยเพิ่ม ปริ มาณวิตามิน ลดคลอเลสเตอรอลในไข่ โดยการใช้น้ าํ ส้มควันไม้ ซึ่ งสามารถทําได้ง่ายๆ ดังนี้ คือ ให้นาํ นํ้าส้มควันไม้ 2 ลิตร ผสมกับผงถ่านบดละเอียด จํานวน 8 กก. แล้วนําผงถ่านที่ชุ่มด้วยนํ้าส้ม ควันไม้น้ ี มาผสมกับอาหารสัตว์จาํ นวน 990 กก. ก็จะได้อาหารสัตว์ 1 ตันพอดี จากนั้นนําไปให้สัตว์ กิน วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น หมายเหตุ : นํ้าส้มควันไม้จะมีประโยชน์ ในการช่วยปรับปรุ งคุณภาพไข่ ทําให้ไข่ แดงใหญ่และเหนี ยวขึ้น อีกทั้งยังเพิ่มปริ มาณวิตามินและลดคลอเลสเตอรอลในไข่ แต่การนํานํ้าส้ม ควันไม้มาผสมอาหารโดยตรงโดยไม่ผสมนํ้านั้น จะทําให้สัตว์รังเกี ยจกลิ่ นควันไฟ จึงควรนําไป ผสมกับผงถ่านหุ งต้มก่อน เพื่อดับกลิ่นควันไฟ และผงถ่านยังช่วยดูดและขับสารพิษออกจากร่ างกาย ได้อีกด้วย31 สู ตรอาหารทาให้ ไข่ ใบใหญ่ ผักตาลึง ให้นาํ เถาผักตําลึงสดๆ มาแขวนหรื อวางไว้ในโรงเรื อนเลี้ยงไก่ไข่ เพื่อให้ ไก่ไข่ได้จิกกิ นผักตําลึงเป็ นอาหารเสริ ม ปล่อยให้ไก่ไข่จิกกินตามสบายเพียงสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ผัก ตําลึ งจะมี สารอาหารที่ จาํ เป็ นต่อการสร้ างไข่ไก่ เป็ นอาหารเสริ มอย่างดี ผลที่ ได้จะพบว่าไข่ไก่ มี ขนาดฟองโตกว่าไก่ไข่ที่ไม่ได้เลี้ยงด้วยผักตําลึง ช่วยไม่ให้ไก่ที่เลี้ยงรวมกันจิกกันเอง ช่วยให้ไก่ไม่

31

รักบ้านเกิด. เทคนิคการทําให้ ไข่แดง ใหญ่ และคลอเลสเตอรอลตํ่า[ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com


153 เครี ย ด ซึ่ ง มี ข อแนะนําเพิ่ม เติ มสําหรั บการนํา ไปใช้กบั ไก่ พ นั ธุ์ ไข่ คื อ อย่า ให้กินผัก ตํา ลึ ง ทุ ก วัน เพราะจะทําให้ไข่ไก่มีขนาดฟองโตมาก ส่ งผลให้ไก่ไข่ออกไข่ไม่ได้32 การให้ หญ้ าสด ช่ วยให้ แม่ ไก่ ออกไข่ สมบูรณ์ ไข่ ดกมีคุณภาพ นําหญ้าสดมาล้างนํ้าให้สะอาด สับให้เป็ นชิ้ นเล็กๆ แล้วนําไปใส่ ในรางให้แม่ไก่ กิ น ตอนเย็น เป็ นอาหารเสริ ม ทุ ก วัน ซึ่ ง เป็ นอาหารเสริ มตามธรรมชาติ ที่ ประกอบด้ว ยโปรตี น วิตามิ นเอ แคลเซี ยมและกากใยอาหารที่ ช่วยให้แม่ไก่ โตไว แข็งแรง และยังช่ วยให้แม่ไก่ออกไข่ สมบู รณ์ มี ไ ข่ ดก จะได้ไ ข่ ไ ก่ ที่ มี คุ ณ ภาพดี (ไข่ ไ ก่ อนามัย ) ซึ่ ง เป็ นที่ ต้อ งการของผูบ้ ริ โภคใน ปัจจุบนั 33 การทารังไข่ ด้วยใบตะไคร้ ป้องกันและกาจัดไรรบกวนแม่ ไก่ ใบตะไคร้ ที่เหลื อจากการตอนทิ้ง สามารถนําไปใช้ประโยชน์กบั ไก่ที่เลี้ ยงไว้ได้ วิธีการทํารังไข่จากใบตะไคร้ จะช่ วยในเรื่ องของการกําจัดไร และแมลงที่มารบกวนแม่ไก่ที่กาํ ลัง ออกไข่และกําลังฟักไข่ นอกจากนั้นแล้วยังช่ วยในเรื่ องของการรักษาสุ ขภาพของไก่ ช่ วยไม่ให้ไก่เครี ยด เพราะกลิ่ นของตระไคร้ จ ะเหมื อนสมุ นไพรหอม ทั้ง แม่ ไ ก่ และลู ก เจี๊ ย บที่ ฟั ก ออกมาเป็ นตัวจะ สมบูรณ์ และแข็งแรง การตัดใบตระไคร้ ใบทํารังไข่ สามารถตัดได้ท้ งั ใบอ่อนและใบแก่ โดยแบ่ง ออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ส่ วนแรกจะถูกนํามาตากให้แห้งประมาณ 3 วัน แล้วนําไปทํารังไข่ ในส่ วนที่ 2 จะใช้ใบตะไคร้ดิบๆ การนําไปทํารัง ให้ใช้ใบตระไคร้ดิบใส่ ลงในไม้ไผ่สานที่เป็ นรู ปสําหรับรังไข่ก่อน ในปริ มาณที่พอเหมาะ จากนั้นนําใบตระไคร้ ที่ตากแห้งใส่ ปิดทับตามลงไปให้มิดใบดิบ แล้วนํารัง ไข่มาวางหรื อมัดไว้ใต้ถุน จากนั้นแม่ไก่ก็จะมาไข่ในรังที่เราสร้างให้มนั ไว้34

32

รักบ้านเกิด. เลี้ยงไก่ไข่ดว้ ยผักตําลึงช่วยให้ไข่ไก่ฟองโต [ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com 33 รักบ้านเกิด. การเลี้ยงไก่ไข่ดว้ ยหญ้าสด ช่วยให้แม่ไก่ออกไข่สมบูรณ์ ไข่ดกมีคุณภาพ[ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มาhttp://www.rakbankerd.com 34 รักบ้านเกิด. การทํารังไข่ดว้ ยใบตะไคร้ ป้ องกันและกําจัดไรรบกวนแม่ไก่[ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มาhttp://www.rakbankerd.com


154 สู ตรนา้ หมักบารุ งเสริมสร้ างภูมิต้านทานโรค วิธีการทําโดยเตรี ยมสมุนไพรและส่ วนผสม ดังนี้ 1. ใบพญาวานร (ฮว่านง็อก) 1.5 กิโลกรัม 2. ใบเหงือกปลาหมอสด 1.5 กิโลกรัม 3. กากนํ้าตาล 1 ลิตร 4. นํ้าซาวข้าว 10 ลิตร วิธีการทา 1. นําใบพญาวานรสดหรื อที่เรี ยกว่า"ฮว่านง็อก"และเหงือกปลาหมอนํามาสับให้ พอละเอียด หมักรวมกับกากนํ้าตาลในถังหมักโดยไม่ตอ้ งเติมนํ้าเปล่า หมักทิ้ง ไว้ 15 วัน 2. หลังจากครบ 15 วันแล้ว ให้เปิ ดฝาถังหมัก จากนั้นเติ มนํ้าซาวข้าวลงไป 10 ลิ ตร แล้วคนให้เข้ากัน หมัก ต่ อไปอี ก 1 เดื อนจะได้น้ าํ หมัก สมุ นไพรบํา รุ ง สุ ขภาพไก่พ้นื เมือง (ถ้าหมักนาน 1 ปี จะดีมาก) วิธีการนาไปใช้ 1. กรองนํ้าหมักสมุนไพรบํารุ งสุ ขภาพไก่พ้ืนเมืองแล้วนํามาผสมกับนํ้าที่ใช้เลี้ยง ไก่ โดยใช้น้ าํ หมัก สมุ นไพร 4 ช้อนโต๊ะ ผสมกับ นํ้า เปล่ า 10 ลิ ตร และเติ ม นํ้า ตาลทรายแดงลงไปอี ก 2 ช้ อ นโต๊ ะ จากนั้น นํา ไปเลี้ ยงไก่ พ้ื น เมื อ งได้ ตามปกติแทนการใช้น้ าํ เปล่าเลี้ยง สามารถใช้ได้กบั ไก่พ้นื เมืองในทุกช่วงอายุ ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ 1. สร้างภูมิคุม้ กันโรคในไก่พ้ืนเมือง ป้ องกันไวรัสไข้หวัดไก่ ลดการอักเสบและ แผลต่างๆ บํารุ งระบบทางเดินอาหาร ช่วยให้ระบบย่อยอาหารของไก่พ้ืนเมือง


155 ดี ข้ ึ น ทําให้เจริ ญเติบโตดี นํ้าหนักดี กิ นอาหารได้มาก ลดความเครี ยดในไก่ สุ ขภาพดีไม่เป็ นโรคง่าย35 สู ตรนา้ หมักเสริมความแข็งแรงกระดูก ส่ วนผสม 1. EM ( อีเอ็ม ) 1 ลิตร 2. กากนํ้าตาล 1 กิโลกรัม 3. นํ้าสะอาด 20 ลิตร วิธีทา นําส่ วนผสมทั้งหมดผสมคนให้เข้ากันหมักทิ้งไว้ 3 – 4 วัน ปิ ดฝาให้สนิท เป็ นหัว เชื้อสู ตรเข้มข้น

วิธีใช้ ใช้หวั เชื้ อสู ตรเข้มข้นผสมนํ้าอัตรา 1 ลิตร + นํ้า 200 ลิตร ให้ไก่กินทุกวัน หรื อให้ สัตว์เลี้ยงอื่นกิน เช่น หมู เป็ ด เป็ นต้น36

35

รักบ้านเกิด. สู ตรนํ้าหมักบํารุ งเสริ มสร้างภูมิตา้ นทานโรค[ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com 36 รักบ้านเกิด. สู ตรนํ้าหมักเสริ มความแข็งแรงกระดูก[ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com


156 สู ตรนา้ หมักเสริมสร้ างภูมิต้านทานและรักษาโรคหวัด ส่ วนผสม ยาฉุ น ดอกมะลิแห้ง ผิวมะกรู ดตากแห้ง อย่างละ 1ส่ วน พิมเสน การบูร อย่างละ เล็กน้อย การปรุ งยา เอาตัวยามารวมเข้าด้วยกัน บดให้ละเอียดเป็ นผงเก็บเอาไว้ในขวด ปิ ดฝาแน่น เก็บ เอาไว้ใช้ได้ ขนาดการใช้ เอามาใส่ ในสําลี ให้ไก่ดม สู ดเอาไอระเหยของตัวยาเข้าไป โดยเอาอังไว้ตรงจมูก ไก่พอประมาณ วันละหลายๆครั้ง37 โรคทีไ่ ก่ มักป่ วยบ่ อยและสมุนไพรรักษา ในการเลี้ ย งไก่ ไ ข่ ใ ห้ป ระสบผลสํ า เร็ จ นั้น ต้องเลี้ ย งไก่ ใ ห้มี สุ ข ภาพดี สมบู ร ณ์ แข็งแรง จึงจะให้ผลผลิตสู ง ดังนั้นเราต้องรู ้จกั โรคและการป้ องกันโดยถือหลักว่า "กันไว้ดีกว่าแก้" โดยทัว่ ไปแล้วโรคที่มกั จะทําความเสี ยหายให้กบั การเลี้ยงไก่ไข่ ได้แก่ 1. โรคนิวคาสเซิ ล เป็ นโรคติดต่อที่ร้ายแรงที่สุดของไก่ในประเทศไทย เกิ ดจาก เชื้ อไวรัสชนิ ดหนึ่ ง การแพร่ ระบาดเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว โดยการหายใจเอาเชื้ อ หรื อกิ นนํ้า อาหารที่มีเชื้ อปนเข้าไป จากอุจจาระ นํ้ามูก นํ้าลาย และสิ่ งขับถ่าย อื่นๆ ของไก่ป่วย ไก่ที่ป่วยจะมีอาการทางระบบหายใจและระบบประสาท เช่น หายใจลําบาก มีเสี ยงดังเวลาหายใจ มีน้ าํ มูกไหล หัวสั่น กระตุก ขาและปี กเป็ น อัมพาต คอบิ ด เดิ นเป็ นวงกลม หัวซุ กใต้ปีก สําหรั บแม่ไก่ที่กาํ ลังให้ไข่จะไข่ ลดลงทันที่ และมักจะตายภายใน 3-4 วัน หลังจากแสดงอาการป่ วย สมุนไพรรักษา ใช้ขมิ้นชัน 37

รักบ้านเกิด. สู ตรนํ้าหมักเสริ มสร้างภูมิตา้ นทานและรักษาโรคหวัด[ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มาhttp://www.rakbankerd.com


157 2. โรคหลอดลมอักเสบติดต่ อ เป็ นโรคทางเดินหายใจที่แพร่ หลายที่สุด เกิดจากเชื้ อ ไวรัส สามารถเกิดขึ้นได้กบั ไก่ทุกอายุ แต่มกั จะมีความรุ นแรงในลูกไก่ มีอตั รา การตายสู งมาก ไก่ที่เป็ นโรคนี้จะมีอาการ อ้าปากและโก่งคอเวลาหายใจ หายใจ ลําบาก เวลาหายใจมีเสี ยงครื ดคราดในลําคอ ไอ นํ้ามูกไหล ตาแฉะ เซื่ องซึ ม เบื่ออาหาร ในไก่ไข่จะไข่ลดลงอย่างกะทันหัน สมุนไพรรักษา ใช้ขมิ้นชัน ชะอม ตําลึง (ต้น) นําไปทุบแล้วแช่ในนํ้าให้ไก่กินหรื อ ตําผสมกับข้าวสารให้ไก่กิน 3. โรคอหิวาต์ ไก่ เป็ นโรคติดต่อที่ร้ายแรงชนิ ดหนึ่ ง เกิดจากเชื้ อแบคทีเรี ย เข้าสู่ ร่ า งกายทางอาหารและนํ้า ไก่ ที่ เป็ นโรคนี้ จะมี อาการหงอย ซึ ม เบื่ ออาหาร กระหายนํ้าจัด ท้องร่ วง อุจจาระมีสีเหลื อง เหนี ยงมี สีคลํ้ากว่าปกติ ถ้าไก่ เป็ น โรคนี้อย่างร้ายแรง ไก่อาจตายโดยไม่แสดงอาการป่ วยให้เห็น สมุนไพรรักษา ใช้ฟ้าทะลายโจรผง และบอระเพ็ดผสมให้ไก่กิน ซึ่ งฟ้ าทะลายโจร ใช้ได้ทาํ ก้านและใบ นํามาบดผสมเข้ากับบอระเพ็ด อัตราส่ วนโดยประมาณ ฟ้ าทะลายโจร 1 ตัน ผสมบอระเพ็ด 2 กก. แล้วนําไปผสมอาหารให้ไก่กิน 4. โรคฝี ดาษไก่ เป็ นโรคที่ ม ัก เป็ นกับ ลู ก ไก่ แ ละไก่ รุ่ น ซึ่ งเกิ ด จากเชื้ อ ไวรั ส ติดต่อกันโดยการสัมผัส เช่น อยูร่ วมฝูงกัน และยุงเป็ นพาหะของโรคกัด โรคนี้ ไม่แสดงอาการป่ วยถึ งตาย ไก่ ที่เป็ นโรคนี้ จะแสดงอาการมีจุดสี เทาพองตาม บริ เวณใบหน้า หงอน เหนี ยง และผิวหนัง และเมื่อจุดพองขยายตัวและแตก ออกเป็ นสะเก็ดลูกไก่จะหงอยซึ ม ไม่กินอาหารและตายในที่สุด สมุนไพรรักษา ใช้บอระเพ็ด ให้กินสดหรื อหัน่ เป็ นชิ้นพอคํา 5. โรคหวัดติดต่ อหรือหวัดหน้ าบวม เป็ นโรคทางเดินหายใจมักเกิดกับไก่รุ่นและ ไก่ใหญ่ ซึ่ งเกิดจากเชื้ อแบคทีเรี ยที่ปะปนอยูใ่ นเสมหะ นํ้ามูก และนํ้าตาของไก่ ป่ วย ไก่ที่เป็ นโรคนี้จะแสดงอาการอย่างรวดเร็ ว โดยมีอาการจาม มีน้ าํ ตา นํ้ามูก อยู่ในช่ องจมูกและเปี ยกเปรอะถึ งปาก และมีกลิ่ นเหม็น เมื่อเป็ นรุ นแรง ตาจะ แฉะจนปิ ด หน้าบวม เหนียงบวม ไก่กินอาหารน้อยลง ไก่ที่กาํ ลังให้ไข่จะไข่ลด


158 สมุนไพรรักษา ใช้ฟ้าทะลายโจรผง และบอระเพ็ดผสมให้ไก่กิน ซึ่ งฟ้ าทะลายโจร ใช้ได้ทาํ ก้านและใบ นํามาบดผสมเข้ากับบอระเพ็ด อัตราส่ วนโดยประมาณ ฟ้ าทะลายโจร 1 ตัน ผสมบอระเพ็ด 2 กก. แล้วนําไปผสมอาหารให้ไก่กิน38

แผนการดาเนินงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานไก่ 1. ประชุมร่ วมกันและวางแผนปฏิบตั ิงาน 2. ประมาณการงบประมาณที่ตอ้ งใช้ท้ งั หมด 3. จัดหาพันธุ์ไก่ที่ตอ้ งการตามจํานวนที่ตอ้ งการ 4. จัดการเพาะปลูกต้นกะเพราและดาวเรื องเพื่อเป็ นอาหารเสริ มให้ไก่ 5. ปรับปรุ งพื้นที่สาํ หรับใช้ในการก่อสร้างไก่ *ก่อนการก่อสร้างต้องทําการปรับปรุ งพื้นที่ให้มีระดับสู งกว่าพื้นปกติเพื่อเป็ นการป้ องกัน ปั ญหานํ้าไหลเข้าโรงเรื อนในฤดูฝนและช่วยในด้านการระบายอากาศให้ถ่ายเทได้สะดวก จัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้างโรงเรื อน ได้แก่ อวนตับจากไผ่สานหลอดไฟสายไฟไม้ ไผ่หินภาชนะใส่ น้ าํ ภาชนะใส่ อาหารฟาง 6. ขึ้นโครงสร้างโรงเรื อนตามรู ปแบบที่ได้กาํ หนดไว้ 6.1 ขึ้นโครงด้วยเสาคอนกรี ตที่ความสู งจากพื้นดินถึงคาน2.5 เมตร 6.2 ใช้ตบั หญ้าคามุงหลังคาโดยให้สูงจากคาน 0.5 เมตร 6.3 ขึงอวนล้อมรอบโรงเรื อน ทั้ง 4 ด้าน 38

รักบ้านเกิด. โรคที่มกั ป่ วยและสมุนไพรรักษา[ออนไลน์]. 2556. http://www.rakbankerd.com

แหล่งที่มา


159 6.4 ขุดดินล้อมรอบโรงเรื อนโดยมีความลึก 20 ซม.และนําอวนผูกติดกับไม้ไผ่ และฝังลงในดินเพื่อให้อวนไม่เกิดการหย่อนได้ 6.5 ด้านบนของโรงเรื อนใช้อวนในปิ ดช่ องว่างเพื่อไม่ให้สัตว์อื่นเข้าภายใน โรงเรื อนและป้ องกันพาหะนําโรค เช่น นก หนูแมลงสาบ 6.6 ติดหลอดไฟ 2 หลอดไว้ภายในโรงเรื อน 6.7 นํา ภาชนะใส่ อาหาร ภาชนะใส่ น้ าํ และฟางจัดวางให้เรี ย บร้ อยภายใน โรงเรื อน 7. ทดสอบความแข็งแรงทนทานของโรงเรื อนและทําความสะอาดโรงเรื อนให้ เรี ยบร้อย 8. นําไก่มาปล่อยในโรงเรื อนที่จดั เตรี ยมไว้

แผนผังการดาเนินงานในภาครวม

ภาพที่3 – 46 ภาพการดําเนินงานในภาครวมทีมงานไข่ไก่ชีวภาพ


160

แผนงบประมาณ ตารางที่ 3 - 20ตารางแผนงบประมาณค่าใช้จ่ายทีมงานไข่ไก่ชีวภาพ ลาดับ 1 2 3 4 5 6 ลาดับ 7 8 9 10 11 12 13 14 15

รายการ

จานวน หน่ วยนับ 4 กล่อง 2 แผ่น 2 เล่ม 1 เส้น 100 อัน 10 แผ่น จานวน หน่ วยนับ 20 ตัว 3 อัน 1 บาน 4 อัน 5 เส้น

ราคาหน่ วยละ 100.00 120.00 200.00 80.00 20.00 170.00 ราคาหน่ วยละ 200.00 900.00 500.00 20.00 80.00

ราคารวม 400.00 240.00 400.00 80.00 2,000.00 1,700.00 ราคารวม 4,000.00 2,700.00 500.00 80.00 400.00 1,000.00

ชุด แกลลอน

450.00 150.00

900.00 300.00 1,000.00 15,700.00

ตะปู ใบเลื่อย มีด เชือก ตับหญ้าคา ไม้ไผ่สานถัก รายการ ไก่ไข่ (ไก่โร๊ ด) ตะข่ายอวน ประตู บานพับ ลวด ภาชนะใส่ อาหารไก่+ตะกร้า+ถัง อุปกรณ์ให้แสง สว่าง 2 นํ้าหมักชีวภาพ 2 อาหารไก่ รวมแผนงบประมาณโรงเรื อนเลี้ยงไก่

กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน กําหนด การสร้างโรงเรื อนเลี้ยงไก่ ณ ศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้อง13-15 กันยายน 2556 วันศุกร์ 13 กันยายน 2556 ขึ้นโครงสร้างตัวเล้าไก่ในส่ วนของโรงเรื อนและทําการมุงหลังคาด้วยตับหญ้าคา


161 วันเสาร์ 14 กันยายน 2556 ทํารั้วเป็ นแนวกั้นพื้นที่โดยรอบและขึ้นโครงสร้างผนังของโรงเรื อน วันอาทิตย์ 15 กันยายน 2556 ขึ ง อวนทั้ง สี่ ด้ า นปิ ดผนั ง ด้ ว ยไผ่ ส าน เก็ บ รายละเอี ย ดและปล่ อ ยไก่ เ ข้า เล้ า

การดาเนินงาน กาหนดกิจกรรมการดาเนินงาน วันศุกร์ ที่ 13 กันยายนพ.ศ.2556 1. ในช่วงเช้าตัดไม้ไผ่จากป่ าไผ่และวัดขนาดให้เหมาะสมเพื่อนําไปทําโครง หลังคา 2. ในช่วงบ่ายตอกไม้ตรงส่ วนหลังคาเพื่อเป็ นโครงยึด แบ่งคนบางส่ วนขุดหลุม รอบพื้นที่และเลื่อยไม้ขนาดประมาณ 60 – 80 เซนติเมตรเพื่อเตรี ยมทํารั้ว 3. ในช่วงเย็นนําตับขึ้นผูกด้วยตอกจนเต็มและนําไม้ไผ่ยาวนํามาทําเป็ นโครง กําแพงและรั้ว วันเสาร์ ที่ 14 กันยายนพ.ศ. 2556 1. ในช่ วงเช้าเก็บรายละเอียดจากการทําหลังคา และตัดไม้ไผ่เพิ่มเพื่อเตรี ยมทํา กําแพงตรงส่ วนเล้าไก่ 2. ในช่ ว งบ่ า ยและเย็น ขนไม้ที่ เ หลื อในตอนเช้า และเลื่ อ ยไม้ใ ห้ไ ด้ข นาดตาม ต้องการและตอกไม้สูงประมาณ60 - 80เซนติเมตรลงดินรอบพื้นที่พร้ อมทั้ง ตอกตะปูกบั โครงเพื่อทํารั้วล้อมรอบเล้า วันอาทิตย์ 15 กันยายนพ.ศ. 2556 1. ในช่ วงเช้า ตอกไม้ไ ผ่ย าวรอบเล้า ไก่ เป็ นกํา แพงติ ดผนัง ด้วยไผ่ส านถักและ เสริ มรั้วไม้ไผ่ส้ นั เพิม่ ให้แน่นหนายิง่ ขึ้น


162 2. ในช่ ว งบ่ า ยขึ ง อวนทั้ง ด้า นข้า งและด้า นบนเพื่ อ ป้ องกัน สั ต ว์ต่ า งๆ ฝั ง เสา คอนกรี ตรอบพื้นที่และฝั งดิ นกลบเพื่อป้ องกันสุ นขั จัดวางอุปกรณ์ ต่างๆเพื่อ เตรี ยมพร้อมสําหรับไก่ และขนแกลบเพื่อปูพ้นื เล้าไก่

ภาพที่ 3 – 47 ภาพพื้นที่จดั สร้างโรงเรื อนไก่ไข่อินทรี ยห์ ลังปรับปรุ ง

ภาพที่ 3 – 48 ภาพขึ้นโครงสร้างตัวโรงเรื อนด้วยไม้ไผ่


163

ภาพที่ 3 – 49 ภาพทําหลังคาโรงเรื อนด้วยการผูกตับหญ้าคาโดยเรี ยงทับขึ้นไปเป็ นชั้นๆ

ภาพที่ 3 – 50 ภาพนําไม้ไผ่มาตัดเพื่อทํารั้วล้อมรอบโรงเรื อนกันสัตว์ดุร้ายซึ่ งเป็ นศัตรู ของไก่


164

ภาพที่ 3 – 51 ภาพนําไม้ไผ่มาตอกตะปูกบั คานล้อมโรงเรื อนเพื่อติดผนังไผ่สาน

ภาพที่ 3 – 52 ภาพทําการผูกอวนโดยยึดอวนกับไม้ไผ่ที่ทาํ เป็ นหลักไว้ในขั้นต้น


165

ภาพที่ 3 – 53 ภาพนําแกลบที่มีอยูแ่ ล้วในศูนย์ฯมาปูพ้นื เพื่อให้ไก่ได้ขยุ้ เขี่ยอาหารจากธรรมชาติ

ภาพที่ 3 – 54 ภาพติดไวนิลเพื่อเป็ นข้อมูลให้นอ้ งๆ ได้ศึกษาความรู ้ในการเลี้ยงไก่ไข่อินทรี ย ์


166 การเผยแพร่ ข้อมูลการเรียนรู้ ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอือ้ ง

ภาพที่ 3-55 ภาพไวนิลการเลี้ยงไก่ชีวภาพ


167 การเผยแพร่ ข้อมูลการเรียนรู้ ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอือ้ ง

ภาพที่ 3 - 56 ไวนิลการเลี้ยงไก่ชีวภาพ


168

แผนงบประมาณเปรียบเทียบค่ าใช้ จ่ายจริง ตารางที่ 3 – 21 ตารางแผนงบประมาณเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายจริ งทีมงานไข่ไก่ชีวภาพ ลาดับ

รายการ

จานวน

หน่ วยนับ ราคาหน่ วยละ

ราคารวม

1

ตะปูขนาด 2 นิ้ว

1

กล่อง

50.00

50.00

2

ตะปูขนาด 2 นิ้วครึ่ ง

2

กล่อง

55.00

55.00

3

ตะปูขนาด 3 นิ้ว

1

กล่อง

47.50

95.00

4

ตะปูหมวก

2

กล่อง

30.00

30.00

5

ใบเลื่อย

1

แผ่น

115.00

230.00

6

เชือก

155

เส้น

70.00

70.00

7

ตับหญ้าคา

10

อัน

16.00

2,480.00

8

ไม้ไผ่สานถัก

20

แผ่น

170.00

1,700.00

9

ไก่ไข่ (ไก่โร๊ ด)

3

ตัว

150.00

3,000.00

10

ตะข่ายอวน

5

อัน

600.00

1,800.00

11

ลวด

2

ขด

88.00

440.00

12

1

แกลลอน

150.00

300.00

13

นํ้าหมักชีวภาพ ตอก

1

มัด

80.00

80.00

14

กรรไกร

35

อัน

65.00

65.00

15

ถุงมือ

2

คู่

8.00

280.00

16

มีด

5

เล่ม

200.00

400.00

17

แผ่นคลอบหลังคา

1

แผ่น

39.00

195.00

18

สายไฟ

1

ขด

800.00

800.00

19

หลอดไฟ

1

หลอด

130.00

130.00

20

ขั้วเกรี ยว

1

ชิ้น

15.00

15.00

21

ปลัก๊ ตัวผู ้

ตัว

15.00

15.00

22

ภาชนะใส่ อาหารไก่+ตะกร้า+ถัง

655.00

23

ค่านํ้ามัน

1,500.00


ลาดับ 24

รายการ

จานวน

หน่ วยนับ ราคาหน่ วยละ

ค่าพิมพ์เอกสาร

169 ราคารวม 80.00

รวมแผนงบประมาณโรงเรื อนเลี้ยงไก่

14,465.00

สรุปผลการดาเนินงาน จากการดําเนินการสร้างเล้าไก่ที่ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง ทางกลุ่มได้มีการจัดสร้าง เล้าไก่แบบกึ่ งเปิ ดกึ่ งปิ ดคือมีการสร้ างเป็ นโรงเรื อนมีหลังคาเพื่อให้ไก่ได้หลบแดดหลบฝน และมี พื้นที่ให้ไก่ได้เดิ นเล่นออกกําลังกายและดําเนิ นการสร้างรั้วเพื่อป้ องกันอันตรายจากสัตว์ดุร้ายที่จะ สามารถมาทําร้ ายไก่ ส่ วนพื้นเล้าไก่ปูดว้ ยแกลบเพื่อให้ไก่ได้จิกหาอาหารกินตามธรรมชาติ จาการ ลงพื้นที่ปฏิบตั ิงานจริ งเป็ นเวลาสามวันทาง กลุ่มได้ดาํ เนิ นการสร้ างทุกอย่างได้ตามเป้ าหมายเสร็ จ ทันเวลาและได้มีการส่ งมอบเล้าไก่และอธิ บายการดูแลเลี้ยงดูไก่ บอกวิธีการทําอาหารไก่และการให้ อาหารเสริ มแก่ น้องๆโรงเรี ยนปูทะเลย์เป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้วถื อว่าการดําเนิ นงานในทุ กขั้นตอนสํา ฤทธิ์ ผลเป็ นไปได้ดว้ ยดี

รายงานการประชุมทีม กระบวนการจัดการศึกษาและกาหนดเวลา ตารางที่ 3 - 22 ตารางรายงานการประชุมทีมไข่ไก่ชีวภาพ รายการ ลาดับ 1 ศึกษาพื้นที่เบื้องต้น ลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม (สํารวจและวัดขนาด 2 พื้นที่) 3 ประชุมภายในกลุ่มหาข้อมูลในการจัดทํา 4 แบ่งหัวข้อการทํารายงานให้สมาชิกภายในกลุ่ม รวบรวมข้อมูลการปฏิบตั ิงานจริ งและวาดภาพ 5 คร่ าวๆนําเสนอต่ออาจารย์ผจู้ ดั ทําโครงการ 6 สํารวจราคาตลาดของวัสดุ 7 จัดหาอุปกรณ์สาํ หรับสร้างเล้าไก่

ว/ด/ป ศ 21 มิ.ย. 56 ศ 28 มิ.ย. 56 ส 29 มิ.ย. 56 ส 29 มิ.ย. 56 พ 3 ก.ค. 56 ศ 12 ก.ค. 56 อา 14 ก.ค. 56


170 ลาดับ 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

รายการ ส่ งงานให้อาจารย์ผจู ้ ดั โครงการรอบ1 แก้ไขงานหลังจากที่ส่งงาน ประชุมเพื่อแบ่งกําลังคนในการปฏิบตั ิงาน ส่ งงานให้อาจารย์ผจู ้ ดั โครงการรอบ2 แก้ไขงานหลังจากที่ส่งงาน รําเรี ยงวัสดุก่อสร้างไปยังพื้นที่จริ ง เพาะต้นกะเพราและดาวเรื องเพื่อใช้เป็ นอาหารเสริ ม ให้ไก่ ลงมือปฏิบตั ิงานตามสายงานย่อยที่ได้รับ ลงมือปฏิบตั ิงานตามสายงานย่อยที่ได้รับ ลงมือปฏิบตั ิงานตามสายงานย่อยที่ได้รับ

ว / ด /ป อา 14 ก.ค. 56 พฤ.18 ก.ค. 56 พฤ.18 ก.ค. 56 อ 23 ก.ค. 56 พ 24 ก.ค. 56 ส 24 ส.ค. 56 อา 25 ส.ค. 56 ศ 13 ก.ย. 56 ส 14 ก.ย. 56 อา 15 ก.ย. 56

สร้ างพื้นที่ การเรี ยนรู ้ ให้กบั น้องๆ โรงเรี ยนปูทะเลย์ได้สําเร็ จตามเป้ าหมาย ซึ่ งพื้นที่ การ เรี ยนรู ้ของกลุ่มคือเล้าไก่ เป็ นการสร้างพื้นที่อาหารเพิ่มขึ้น และเป็ นแนวทางสําหรับผูท้ ี่สนใจในการ เลี้ ยงไก่ไข่อินทรี ย ์ และมีแนวคิดในการเลี้ ยงไก่แบบอินทรี ย ์ คือไม่มีการใช้สารเคมี ยึดหลักความ เป็ นธรรมชาติ สามารถสร้างการเรี ยนรู ้ให้กบั น้องๆ จากการลงมือจริ งทําให้ส มาชิ กในกลุ่มได้เรี ยนรู ้ การปฏิ บตั ิ งานจริ งสามารถนําความรู ้ ท้ งั เรื่ องต้นทุ นและความรู ้ ดา้ นงานช่ างที่ได้จากการปฏิ บตั ิงานในสถานที่จริ ง โดยสามารถนําความรู ้ จากการทํางานครั้งนี้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ในอนาคตเพิ่มทักษะให้กบั ตัวเอง และยังสามารถนํา ความรู ้ไปช่วยเหลือผูอ้ ื่นได้อีกด้วย


171 การฝึ กปฏิบัติบริหารโครงการ-ทีมโรงครัวและไบโอแก๊ส

ข้ อมูลเกีย่ วกับทีมงาน สมาชิกทีมงาน 1.นางสาวกนกพร 2.นายกริ นทร์ 3.นายชนธาร 4.นายชินชาติ 5.นางสาวเฌนิศา 6.นายบวร 7.นางสาวพรรณภา 8. นางสาวพิชญา 9. นายภูมิรพี 10.นายวชิระ 11.นางสาวศิรประภา 12. นางสาวสุ ภาณี 13.นางสาวปิ ยะสิ ณี 14.นางสาวพิรานันท์ 15.นางสาวนนทยา 16.นางสาวมานิดา 17.นางสาวปาลิณี 18.นางสาวปารวี 19.นางสาวกมลชนก 20.นางสาวนิชาภา 21.นางสาวสิ นีนาถ 22.นางสาวจิราพร 23.นางสาวธัญลักษณ์ 24.นางสาวเจนจิรา 25.นายวุฒิชยั

ศิริบาล อาสาฬห์ประกิต ชูสาตร์ โชคชัยเจริ ญสิ น เจริ ญวสุ ธร ธรรมวิริยารักษ์ พึ่งเจริ ญ เข็มทรัพย์ ไพทยะทัตย์ บุญช่วยแล้ว สัมมากสิ พงศ์ พลวิเศษ พลวนอาจ จันทคาท วชิระโภชน์ ม่วงทอง เพ่งยิง่ พรมจันทร์ อินวะษา อเนกพรวัฒนา สมศักดิ์ ทัดสุ ขสกุล ถุงแก้ว ศิริมงคล ถนอมเงิน

รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต

5430110027 5430110060 5430110213 5430110256 5430110353 5430110426 5430110515 5430110523 5430110558 5430110621 5430110728 5430110965 5430111007 5430111015 5430111040 5430111295 5430110477 5430110451 5430110035 5430110191 5430110795 5430110183 5330100119 5330110041 5330102359


172 26.นางสาวธัญญพัฒน์ 27.นางสาวอารี ย ์ 28.นายศตคุณ 29.นายอภิสิทธิ์

เวียงอินทร์ โมหิรัญ รักบ้านเกิด โล่ภิญโญสิ ริ

รหัสนิสิต รหัสนิสิต รหัสนิสิต รี หสั นิสิต

5330102880 5330111145 5330110891 5330160961

พันธกิจหลัก 1. จัดหาเครื่ องครัวที่มีคุณภาพและทําการจัดเก็บในระบบ TQM 2. การหมักแก๊สชีวภาพ (biogas) ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1.เพื่อใช้ในการประกอบอาหารในชีวติ ประจําวันได้ 2.เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ทกั ษะทางด้านการประกอบอาหาร 3.เพื่อสร้างเสริ มสุ ขลักษณะนิสัยที่ดีภายในโรงอาหาร การวิเคราะห์ ผลการศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง จากการสํารวจพื้นที่และสอบถามข้อมูลแล้วพบว่าในส่ วนของการปรับพื้นที่และ โครงสร้างภายนอกทางด้านศูนย์การเรี ยนรู ้กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องจะเป็ นผูด้ าํ เนิ นการในส่ วนนี้ หากมีการดําเนิ นการแล้วเสร็ จทางศูนย์ฯ จะประสานงานมาทางหัวหน้ากลุ่ม โดยมีทุนบางส่ วนที่ เหลือจากการทําโครงสร้าง มาใช้ในการจัดทําพื้นที่ภายในโรงครัวต่อไป ซึ่งในส่ วนของพื้นที่ภายใน โรงครัว อาทิเช่น ตูจ้ ดั เก็บอุปกรณ์เครื่ องครัวและการจัดหาอุปกรณ์ จําพวก โต๊ะ เก้าอี้ สื่ อการเรี ยนรู ้ และอุปกรณ์ ต่างๆที่ใช้ภายในโรงครัว ทางกลุ่มของข้าพเจ้าจะเป็ นผูด้ าํ เนิ นการและจัดหาอุปกรณ์ และวัสดุ ที่ให้ในการดําเนิ นงาน โดยการจัดหาทุนเพิ่มเติมในการสร้างโรงครัวจะมาจากการระดม ทุนจากแหล่งต่างๆ


173 ตารางที่ 3 – 23 ตารางการกําหนดดัชนีช้ ีวดั และการกําหนดค่าเป้ าหมายของกลุ่มชีวิตความเป็ นอยูด่ า้ นโภชนาการ โรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ ศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้อง วันที่ ….. เดือน ……. ปี … ที่ 1

2

3

โครงการย่ อย การขอรับบริ จาค

สมทบทุนในการจัดซื้อ

ไบโอแก๊ส

ผลสั มฤทธิ์หลัก

ตัวชี้วัด

การขอรับบริ จาคเครื่ องครัว

ปริ มาณเครื่ องครัวที่ได้รับ

การขอรับบริ จาคข้าวสาร อาหารแห้ง

ปริ มาณข้าวสาร อาหารแห้งที่ได้รับ

การขอรับบริ จาคเครื่ องปรุ ง

ปริ มาณเครื่ องปรุ งที่ได้รับ

การจัดซื้อเครื่ องมือและอุปกรณ์ในการสร้างโรงครัว การจัดซื้อเครื่ องครัว

ปริ มาณเครื่ องมือและอุปกรณ์ในการสร้างโรงครัว ปริ มาณเครื่ องครัว

การจัดซื้อข้าวสาร อาหารแห้ง

ปริ มาณข้าวสาร อาหารแห้ง

การจัดซื้อเครื่ องปรุ ง

ปริ มาณเครื่ องปรุ ง

การจัดทําไบโอแก๊สเพื่อลดต้นทุนเชื้อเพลิงในการ ประกอบอาหาร

ร้อยละความสําเร็ จในการจัดทําไบโอแก๊ส

1 จํานวนน้อย กว่า 10 ชิ้น น้อยกว่า 5 กิโลกรัม น้อยกว่า 5 กิโลกรัม จํานวนน้อย กว่า 15 ชิ้น

ระดับเป้าหมาย 2 จํานวน 10 ชิ้น

5 กิโลกรัม 5 กิโลกรัม จํานวน 15 ชิ้น

น้อยกว่า 5 กิโลกรัม น้อยกว่า 5 ประเภท

5 กิโลกรัม

50

70

5 ประเภท

น้าหนัก 3 จํานวน มากกว่า 10 ชิ้น มากกว่า 5 กิโลกรัม มากกว่า 5 กิโลกรัม จํานวน มากกว่า 15 ชิ้น มากกว่า 5 กิโลกรัม มากกว่า 5 ประเภท 90


174

ข้ อมูลทางวิชาการ การศึกษาทางด้ านระบบบริ หารเชิ งคุณภาพรวมและวิธีการจัดทาเตาแก๊สชีวภาพ TQM (Total Quality Management) ทีม่ าของแนวคิดเรื่อง TQM 39

แนวคิ ด TQM ถู ก คิ ดค้นในช่ วงหลัง สงครามโลกครั้ งที่ 2 โดย W.Edwards Deming เพื่อปรับปรุ งคุณภาพการผลิตสิ นค้าและบริ การ แต่ชาวอเมริ กายังไม่ได้มีการนํามาใช้ อย่างจริ งจัง สําหรับการนําแนวคิดการบริ หารงานโดยใช้ TQM มาใช้ในการบริ หารงานอย่าง จริ ง จัง นั้น ได้เริ่ ม ตั้ง แต่ ป ลายปี 1940 โดยความพยายามของบุ ค คลที่ มี บทบาทในการบริ หาร คุณภาพ เช่น Juran , Feigenbaum และ Deming ในปี 1951 Feigenbaum ได้แต่งหนังสื อ เรื่ อง Total Quality Control และในปี เดี ยวกัน Joseph M. Juran เขียนหนังสื อ เรื่ อง Juran’s Quality Control Handbook TQM ได้รับความนิ ยมและมีผลในทางปฏิบตั ิมากในประเทศญี่ปุ่นซึ่ งทําให้เกิด การเปลี่ยนแปลงในระดับชาติ ที่เน้นการผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพดี ทั้งนี้ เนื่ องจากญี่ปุ่นเป็ นประเทศที่ แพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 (WWII) และต้องการฟื้ นฟูประเทศโดยการผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพส่ งออก เพื่อนําเงินตราเข้าประเทศ ในขณะนั้นประเทศสหรัฐอเมริ กาเป็ นผูน้ าํ ทางด้านการผลิตอุตสาหกรรม และสิ นค้าของสหรัฐเป็ นที่ตอ้ งการของลูกค้าทัว่ โลก ดังนั้นสหรัฐจึงไม่มีความจําเป็ นต้องปรับปรุ ง หรื อเปลี่ยนแปลงใดๆ ในด้านการผลิ ต โดยไม่รู้ตวั ว่าคุณภาพของสิ นค้าจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง ใหญ่หลวง ในทศวรรษต่อมา ในปี 1951 ประเทศญี่ปุ่นโดยสมาคมนักวิทยาศาสตร์ แ ละวิศวกรแห่ ง ประเทศญี่ปุ่น (Japanese Union of Scientists and Engineers : JUSE) ได้จดั ทํารางวัล Deming Prize เพื่อมอบให้กบั บริ ษทั ที่มีผลงานด้านคุณภาพที่ดีเด่นในแต่ละปี รางวัลดังกล่าวมีผลต่อการส่ งเสริ ม การปรับปรุ งคุณภาพสิ นค้าในญี่ปุ่นเป็ นอย่างมาก ในปี 1987 รัฐบาลสหรัฐอเมริ กาได้มอบรางวัล คุณภาพแห่ งปี ที่เรี ยกว่า Malcolm Baldrigre Award แก่องค์กรที่มีผลงานด้านการประกันคุณภาพ ยอดเยีย่ ม

39

ยาเป็ น เรื องจรู ญศรี . ที่มาของแนวคิดเรื่ อง TQM[ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มาhttp://www.kroobannok.com/blog/32307


175 ปรัชญาของ TQM มุ่งหวังให้บุคลากรทุกคนทุกฝ่ ายร่ วมมือกันในการสร้างคุณภาพ ของงานขององค์กร หลักการของ “Kaizen” ในประเทศญี่ปุ่นต้องการให้ พนักงานทุกคนค้นหา ปั ญหาเพื่อกาปรับปรุ งอย่างต่อเนื่ อง TQM สอนให้ป้องกันของเสี ย ซึ่ งหมายรวมถึ งความไม่พึง พอใจในการปฏิบตั ิงาน ไม่วา่ จะเป็ นสิ นค้า ข้อมูลข่าวสาร หรื อความสําเร็ จของเป้ าหมายตามที่ลูกค้า ทัว่ ทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งฝ่ ายบริ หารคาดหวัง TQM ยังหมายรวมถึงระบบการตรวจหรื อ สื บค้น เพื่อสามารถระบุปัญหาได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ ว ได้รับการแก้ไขปรับปรุ ง TQM (total quality management) ระบบบริ หารเชิงคุณภาพรวม คือการจัดระบบ และวินยั ในการทํางาน เพื่อป้ องกันความผิดพลาดเสี ยหาย และมุ่งสร้างคุณค่าในกระบวนการทํางาน ในทุกขั้นตอน ซึ่ งจะเป็ นปั จจัยสําคัญในการก้าวไปสู่ ความเป็ นเลิศทั้งด้านการบริ หารองค์กร การ บริ หารการผลิต การบริ หารการตลาด การบริ หารการค้า การบริ หารบุคลากร การบริ หารการเงิน เป็ นระบบการบริ หารทางซี กโลกตะวันตก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริ กา เป็ นระบบการจัดการที่ร่วมมือ กันของพนักงานทัว่ ทั้งองค์กรในรู ปแบบต่าง ๆ เพื่อสร้างให้เกิดคุณภาพในทุกคนและทุกระดับของ องค์กร ซึ่ งนําไปสู่ คุณภาพโดยรวมได้ วัตถุประสงค์ ทวั่ ไปของ TQM 1. เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า 2. เพื่อพัฒนาและปรับปรุ งอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมทุกด้าน 3. เพื่อความอยูร่ อดขององค์กรและสามารถเจริ ญเติบโตอย่างไม่หยุดยั้ง ภายใต้ ภาวการณ์ แข่งขันที่รุนแรง 4. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวติ ของพนักงานทุกคน 5. เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ 6. เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม


176 วัตถุประสงค์ สาคัญของ TQM เพื่อการพัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ศกั ยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่ โดยการมี ส่ วนร่ วมในการปรับปรุ งงานและปรับปรุ งคุณภาพของสิ นค้าหรื อบริ การ อันจะทําให้คุณภาพชีวิต ของพนักงานทุกคนดีข้ ึน อย่างต่อเนื่อง หลักการของ TQM 40

TQM เป็ นปรัชญาของความมุ่งมัน่ และการยอมรับอย่างกว้างขวางภายในองค์การ ที่จะร่ วมกันทําการปรั บปรุ งอย่างต่อเนื่ อง โดยเน้นการทํางานเป็ นทีม การเพิ่มความพอใจให้แก่ ลูกค้าและการลดต้นทุนให้ต่าํ ลง การทํางานของ TOM เป็ นความร่ วมมือและมีการประสานงานใน ทุกหน้าที่ ครอบคลุ มทั้งลูกค้าและผูบ้ ริ หาร พนักงานจะได้รับการฝึ กอบรม และมอบอํานาจ เพื่อ ตัดสิ นใจซึ่งจะทําให้องค์การสามารถบรรลุตามมาตรฐานคุณภาพสู งได้ ถือเป็ นวิวฒั นาการความคิด ทางการบริ หารประเภทหนึ่ ง และเปลี่ ยนแปลงจากแนวคิ ดที่ มี ส่วนงานการควบคุ มคุ ณภาพด้วย ตนเอง องค์ก ารที่ มี ก ารควบคุ ม คุ ณ ภาพและใช้ก ารมี ส่ ว นร่ ว มกว้า งขวางต้อ งทํา การ เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม และคุณค่าขององค์การให้สอดคล้องไปด้วย ผูบ้ ริ หารและพนักงานต้องเปิ ด ใจกว้าง เพราะ TQM ไม่ได้ตอ้ งการเพียงการมีส่วนร่ วมเท่านั้น แต่ตอ้ งการให้ทุกคนมีเป้ าหมายอยูท่ ี่ ของเสี ยเป็ นศูนย์ในที่สุด ซึ่ งแตกต่างจากการควบคุมคุณภาพแบบดั้งเดิม ที่สนับสนุ นความพยายาม ให้เกิ ดมาตรฐานการปฏิ บตั ิงานที่ ยอมรั บได้โดยกําหนดให้มีของเสี ยน้อยที่ สุดเท่านั้น TQM จึง เปรี ยบเสมือนการปรับปรุ งอย่างต่อเนื่ องตลอดเวลา หลักการ TQM ได้เป็ นมาตรฐานการจัดการในหลายธุ รกิจ ที่มีการนําแนวคิด คุณภาพของ Guru ด้านคุณภาพของ Joseph Juan และ Phillip Granby ซึ่ งมีแนวทางควบคลุมดังนี้ 1. การฝึ กอบรมทางคุณภาพทัว่ ทั้งองค์กร 2. การบริ หารโครงการเพื่อเป็ นแนวทางปรับปรุ งอย่างต่อเนื่ อง 40

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. หลักการของ TQM [ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มา http://uhost.rmutp.ac.th/kanlayanee.so/L2/2-3-1-1.htm


177 3. การให้คาํ มัน่ จากผูบ้ ริ หารระดับสู งต่อความมีส่วนร่ วมในทุกกิจกรรมของ TQM 4. การใช้กฎพาเรโต้สนับสนุนแนวคิดบริ หารคุณภาพ 5. ทําสั่งที่ถูกต้องตั้งแต่ครั้งแรก 6. ลดสิ่ งเสี ยเป็ นศูนย์ ปัจจุบนั TQM ยังเชื่อมโยงกับแนวทางบริ การลูกค้า เช่น การบริ หารความสัมพันธ์ กับลูกค้า (customer relationship management: CRM) รวมทั้งการบริ หารความสัมพันธ์กบั คู่คา้ ซึ่ ง สอดคล้องกับปรัชญาการปรับปรุ งอย่างต่อเนื่อง จากสรุ ปโปรแกรมการควบคุมคุณภาพ ที่ประสบความสําเร็ จจากบริ ษทั ชั้นนําต่าง ๆ สรุ ปได้วา่ ความในการควบคุมอย่างเป็ นระบบที่จะทําให้บรรลุความสําเร็ จเกิดจาก 1. การบริ หารต้องสะท้อนถึงความมุ่งมัน่ สู่ คุณภาพอย่างแท้จริ ง 2. มีความเอาใจใส่ กบั การป้ องกันมากกว่าการประเมินผลและความถูกต้อง 3. เน้นการวัดคุณภาพ โดยการใช้ขอ้ มูลย้อนกลับ 4. มีการให้รางวัลด้านคุณภาพ ในรู ปของผลตอบแทนและการลงโทษ 5. เน้นให้เกิดการฝึ กอบรมด้านคุณภาพทุกระดับ 6. มีการเน้นการระบุปัญหาและแนวทางแก้ไขโดยการใช้ทีมงานร่ วมหารื อ 7. สนับสนุนวัตกรรมาและการปรับปรุ งต่อเนื่อง 8. สนับสนุนการมีส่วนร่ วมทั้งหมด


178 9. เน้นมาตรฐานการปฏิบตั ิงานสู งโดยมีของเสี ยเป็ นศูนย์ 10. จัดให้มีการคํานวณและรายงานต้นทุนที่ประหยัดได้ การควบคุ มคุ ณภาพกลายเป็ นการทําธุ รกิ จวันต่อวันของพนักงานทุกคน ผูบ้ ริ หารต้องการ ประเมินค่าของคุณภาพในรู ปแบบผลการปฏิบตั ิงานโดยรวม มากกว่าวาแสดงถึงอัตราส่ วนร้อยละ จากระบบควบคุ มทางการเงิ นเท่านั้น วิธีล งมื อปฏิ บตั ิ ในการควบคุ มคุ ณภาพโดยรวม มี ลกั ษณะ เช่นเดี ยวกับวิธีการควบคุ มคุ ณภาพแบบอื่น มีการกําหนดเป้ าหมายเพื่อให้พนักงานมีส่วนร่ วมและ กําหนดมาตรฐานคุณภาพที่ตอ้ งการ พนักงานจะได้รับการฝึ กฝนให้คิดในรู ปแบบการป้ องกันไม่ใช่ การตรวจจับหรื อสื บค้น ผูบ้ ริ หารต้องอํานวยความสะดวดในการจัดหา การอบรม ระบบข้อมูล และ การสนับสนุนตามความต้องการของพนักงานเพื่อให้บรรลุมาตรฐานคุณภาพที่ตอ้ งการ องค์ ประกอบหลักของ TQM การนํา TQM ไปใช้ให้ประสบความสําเร็ จต้องยึดถือองค์ประกอบหลัก 7 ประการ คือ 1. ภาวะผูน้ าํ ของผูบ้ ริ หาร (leadership) 2. การได้รับการศึกษาและการอบรมของบุคลากร (education and training) 3. การจัดโครงสร้างที่ เกื้อหนุน (supportive structure) 4. การมีช่องการติดต่อสื่ อสาร (communication) ที่ มีประสิ ทธิภาพ 5. การพิจารณารางวัลและความชอบ (reward and recognition) 6. การใช้กระบวนการทางสถิติ (statistical process control) หรื อ การวัดผลการ ปฏิบตั ิงาน (measurement) และ


179 7.

การทํางานเป็ นทีม (teamwork)

ภาพที่ 3 –57 ภาพองค์ประกอบของระบบ TQM ที่มา http:/http://www.gotoknow.org/posts/345316 แนวคิดพืน้ ฐานเกีย่ วกับ TQM คุณภาพ หมายถึงการดําเนินงานให้เป็ นไปตามมาตรฐาน หรื อข้อกําหนดที่ตอ้ งการ โดยสร้ า งความพอใจให้ ก ับ ลู ก ค้า และมี ต้น ทุ น การดํา เนิ น งานที่ ต่ าํ ที่ สุ ด โดยสามารถอธิ บ าย พัฒนาการของแนวคิดด้านคุ ณภาพของนักคิดด้านการจัดการคุ ณภาพดังนี้ โดยสรุ ปพัฒนาการของ แนวคิดด้านคุณภาพสามารถ แบ่งได้ 4 ระดับ ได้แก่ 1.เหมาะสมกับมาตรฐาน (Fitness to Standard) การกําหนดคุณภาพตามาตรฐาน จะเป็ นการกํา หนดคุ ณภาพตามความต้องการของผูอ้ อกแบบ โดยผูค้ วบคุ ม คุณภาพจะทดสอบว่าผลิตภัณฑ์เป็ นไปตามมาตรฐานหรื อไม่ และพยายามรักษา คุณภาพจากการตรวจสอบในกระบวนการผลิต


180 2.เหมาะสมกับประโยชน์ ใช้ สอย (Fitness to Use) การสร้างสิ นค้าหรื อบริ การที่มี คุ ณภาพ และตอบสนองความต้องการใช้ง าน จะมี ค วามละเอี ย ดอ่ อนในการ ดําเนิ นงานที่ทุกกระบวนการในการผลิ ตโดยการบริ การจะต้องเชื่ อมโยงและ สร้ างคุ ณค่า ในการใช้ง านแก่ ลู กค้า โดยศึ กษาความต้องการ เพื่อนํา มาพัฒนา ปรับปรุ งการดําเนินงานของธุ รกิจอยูเ่ สมอ 3.เหมาะสมกับต้ นทุน (Fitness to Cost)ผูท้ ี่ผลิตสิ นค้า หรื อบริ การที่มีคุณภาพสู ง และต้นทุนตํ่าจะสามารถกําหนดราคาที่เหมาะสม และสามารถแข่งขันกับคู่แข่ง ได้ในรู ปแบบที่ หลากหลาย โดยเฉพาะกลยุทธ์การเป็ นผูน้ ําด้านต้นทุน (Cost Leadership) ซึ่ งผูผ้ ลิ ตจะใช้เทคนิ คการบริ หาร กระบวนการ เทคโนโลยี และ ทรัพยากรมนุ ษย์ เพื่อลดความผิดพลาด และอุปสรรคในการดําเนิ นงานให้ต่ าํ ที่สุด 4.เหมาะสมกับความต้ องการที่แฝงเร้ น (Fitness to Latent Requirements) องค์การค้าธุ รกิ จในยุคโลกาภิวตั น์ ไม่เพียงแต่จะต้องสร้ างสิ นค้าและบริ การใน รู ปแบบเดิ ม แต่ จะต้องศึ กษา ค้นหา และนําเสนอความต้องการที่ลู กค้ ายังไม่ ตระหนัก ซึ่ งจะสร้างคุณค่าเพิ่ม (Value Added) ให้แก่ผลิตภัณฑ์ และบริ การเพื่อ สร้างความชื่นชมจากลูกค้า ซึ่ งจะช่วยสร้างความก้าวหน้าและความสําเร็ จให้แก่ ธุ รกิจ เตาแก๊สชีวภาพ 41

แก๊สชีวภาพ หรื อไบโอแก๊ส คือ แก๊สที่เกิดจากการย่อยสลายของสารอินทรี ย ์ โดย จุลินทรี ยภ์ ายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิ เจน แก๊สชี วภาพประกอบด้วยแก๊สหลายชนิ ด ส่ วนใหญ่ เป็ นแก๊สมีเทน (CH4) ประมาณ 50-70% และแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) ประมาณ 30-50% ส่ วนที่เหลื อเป็ นแก๊สชนิ ดอื่น ๆ เช่น ไฮโดรเจน (H2) ออกซิ เจน (O2) ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไนโตรเจน (N2) และไอนํ้า

41

โรงเรี ยนอาชีวเกษตรสงเคราะห์สระบุรี. การหมักแก๊สชีวภาพ (ไบโอแก๊ส) [ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มาhttp://weetouch.wordpress.com


181 วัตถุประสงค์ 1. เพี่ อ การพึ่ ง พาตนเองและใช้ ท รั พ ยากรให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง โดยผลิตเป็ นก๊าซหุ งต้มในครัวเรื อน และเศษที่เหลือจากการ หมักผลิตเป็ นปุ๋ ยหมักใช้ในครัวเรื อน 2. เพื่อสุ ขภาวะที่ดี ลดปั ญหาแมลงรบกวนและโรคติดต่อ 3. เพื่อลดปัญหามลพิษจากขยะ ลดปั ญหาปฏิกิริยาก๊าซเรื อนกระจก ตารางที่ 3 – 24 ตารางเปรี ยบเทียบแผนงบประมาณและค่าใช้จ่ายที่จ่ายจริ งทีมไบโอแก๊ส ตารางวิเคราะห์ ต้นทุนค่ าใช้ จ่ายจากการใช้ เตาแก๊ สชี วภาพเปรียบเทียบต้ นทุนการใช้ ก๊าซหุ้งต้ ม งบประมาณการลงทุนและค่ าใช้ จ่ายต่ อปี สาหรับก๊ าซชี วภาพ รายการ จานวน @ จานวนเงิน 1. ถังพลาสติก ขนาด 200 ลิตรแบบปิ ดฝา 1ถัง 750 750 2. ถังพลาสติก ขนาด 200 ลิตรแบบเปิ ดฝา 1 ถัง 550 550 3. ถังพลาสติก ขนาด 150 ลิตร แบบเปิ ดฝา 1 ถัง 500 500 4.ท่อ PVC กว้าง 4 นิ้ว ยาว 1 เมตร 1 เส้น 120 120 5. ท่อ PVC ขนาด 3/4 1เส้น 55 55 6. ข้อต่อสามทาง ขนาด 3/4 4 ชิ้น 10 40 7. ข้อต่อสามทาง ขนาด 1 นิ้ว 1 ชิ้น 14 14 8. ข้องอเกลียวนอก ขนาด 3/4 3 ชิ้น 12 36 รายการ จํานวน @ จํานวนเงิน 9. หัวกันไหลเกลียวนอกขนาด 3/4 4 ชิ้น 10 40 10. สายยาง ขนาด 3/4 2 เมตร 19 38 11. ข้อต่อตรงเกลียวใน 2 ชิ้น 10 20 12. ข้อต่อตรงเกลียวนอก ขนาด 3/4 2 ชิ้น 8 16 13. บอลวาล์ว ขนาด 3/4 1 ชิ้น 35 35 14. นํ้ายาประสานท่อ 1 กระป๋ อง 55 55


182 รายการ

จานวน 3ชิ้น 4 ชิ้น

15. ข้องอ ขนาด 3/4 16. เข็มขัดรัดต่อ ส่ วนลด รวม คิดเป็ นค่าเสื่ อมราคา(ค่าใช้จ่าย) ต่อปี รวมค่าใช้จ่ายต่อปี ค่าใช้จ่ายต่อปี ของก๊าซหุ งต้มในท้องตลาด 1.ชุดอุปกรณ์เตาแก๊ส 1 ชุด รายการ 2. ถังแก๊ส ขนาด 15 กก. คิดเป็ นค่าเสื่ อมราคา(ค่าใช้จ่าย)ต่อปี 3. ค่าก๊าซถัวเฉลี่ยเดือนละ 1 ถัง รวมค่าใช้จ่ายต่อปี

จํานวน 1 ถัง 12 ถัง

@ 8 8

1,519 @

จานวนเงิน 24 32 ( 118 ) 2,207 220.7 2,427.7 1,519 จํานวนเงิน

1,700

1,700

500

425 6,000 8,794

เปรียบเทียบค่ าใช้ จ่าย ค่าใช้จ่ายต่อปี สําหรับก๊าซชีวภาพ = 2,427.7บาท ค่าใช้จ่ายต่อปี ของก๊าซหุ งต้มในท้องตลาด = 8,794 บาท สรุ ปได้ว่า ค่าใช้จ่ายต่อปี สําหรั บก๊าซชี วภาพ จะน้ อยกว่ าค่าใช้จ่ายต่อปี ของก๊าซหุ งต้มในท้องตลาด เท่ากับ 6,366.3 บาท วิธีการประกอบถังเก็บก๊าซ 1. ถังหมักแก๊สเป็ นถังพลาสติกขนาด 200 ลิตร ใส่ มูลสัตว์และเศษอาหารเพื่อทํา การย่ อ ยสลายจนเกิ ด แก๊ ส โดยมี ช่ อ งใส่ ว ตั ถุ ดิ บ ขนาดกว้า ง 3-4 นิ้ ว ยาว ประมาณ 40 เซนติเมตร (โดยทําการเจาะฝาถัง ต่อท่อพีวซี ี ติดกับฝา)


183 2. ต่อท่อนํ้าล้นและบอลวาล์วปล่อยของเสี ย จากถังหมักแก๊สเหนื อก้นถังประมาณ 15 เซนติเมตรและต่อท่อ PVC เพื่อระบายนํ้าล้นออกจากถัง 3. นําถังพลาสติกขนาด 200 ลิ ตร แบบเปิ ดฝาหงายขึ้นและนําถังพลาสติกขนาด 150 ลิตร ควํ่าลงไปโดยที่ถงั พลาสติก 150 ลิตรเจาะรู ตรงกลางก้นถัง ต่อท่อสาม ทาง และต่อข้อต่อเกลียวนอกออกจากข้อต่อสามทางพร้อมกับเติมนํ้าลงไป 4. นําสายยางต่อกันและเชื่อมกับตัวเตาแก๊สเป็ นอันเสร็ จ

กร ถังหมักแก๊ส

ถังพลาสติก

เมื่อเชื่ อมรวมกัน

ภาพที่ 3 – 58 ภาพวิธีการประกอบถังเก็บก๊าซ ที่มา http://www.clinictech.most.go.th/online/techlist/techlist_display.asp?tid=30 กระบวนการการเกิดแก๊สชีวภาพ ขั้นตอนการย่อยสลายอินทรีย์สารเมื่อนําเศษอาหารเข้าสู่ ถงั หมักแบคทีเรี ยกลุ่มแรก จะทําการย่อยอินทรี ยส์ ารที่มีโมเลกุลใหญ่เช่นโปรตีนคาร์ โบไฮเดรตไขมันให้มีโมเลกุลเล็กลงและ เปลี่ยนไปอยูใ่ นรู ปสารละลาย ขั้นตอนการเกิดกรดแบคทีเรี ยกลุ่มที่ 2 ที่ไม่ตอ้ งการอากาศ เปลี่ยนสารละลายใน ขั้น ตอนแรกเป็ นกรดนํ้า ส้ ม แอลกอฮอล์ คาร์ บ อนไดซ์ อ อกไซด์ และไฮโดรเจน ซึ่ งจะผ่ า น กระบวนการทางเคมีจนกลายเป็ นก๊าซมีเทนในที่สุด


184 ขั้นตอนการเกิดแก๊ ส จะเป็ นการทํางานของแบคทีเรี ยเมทาโนเจนิค หรื อเมทาโน เจนส์ซ่ ึ งทํางานในสภาพอับอากาศที่เปลี่ยนกรดนํ้าส้ม แอลกอฮอล์ คาร์ บอนไดซ์ออกไซด์เป็ นแก๊ส มีเทน ด้วยกระบวนการทางชีวเคมี ประเภทของขยะอินทรีย์ทนี่ ามาใช้ หมัก 1. มูลสัตว์ 2. เศษอาหารที่ยอ่ ยสลายได้ง่าย ขั้นตอนการผลิตแก๊สชีวภาพ 1. นํามูลสัตว์ผสมนํ้าในสัดส่ วนเท่าๆ กันใส่ ลงถังหมักให้สูง 1 ใน 4 ของถัง หมัก ไว้นาน 10 - 15 วัน 2. เติ มนํ้าลงไปให้สูงขึ้ นมาเป็ น 1 ใน 3 ของถังหมัก ใส่ เศษอาหารลงไปใน ช่วงแรกเพียง 1-2 กิโลกรัม กระบวนการหมักจะเกิดขึ้นภายใน 24 ชัว่ โมง 3. เมื่อถังควํ่าในส่ วนถังเก็บแก๊สดันตัวสู งขึ้นแสดงว่าเกิดแก๊ส ทําการปล่อยทิ้งไป ก่อนเพราะจะเป็ นก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เสี ยส่ วนใหญ่ ให้จุดไฟใช้งานใน ส่ วนการผลิตแก๊สในถังที่สองจะติดไฟง่ายกว่า 4. เมื่อใช้งานระบบไปได้ 1-2 สัปดาห์ สามารถเติมวัตถุดิบต่อวันเพิ่มขึ้นได้แต่ไม่ ควรเกิน 10 กิโลกรัมต่อวัน ก๊าซจะเกิดให้ใช้อย่างต่อเนื่ องวันละ 40 นาที โดย เมื่อใช้แก๊สหมดในแต่ละครั้งให้เติมวัตถุดิบต่อเพื่อเดินระบบ การดูแลรักษาและข้ อควรระวัง 1. เมื่อใช้งานได้ 7 เดือน ถึง 1 ปี ให้เปิ ดฝาระบายกากออก เพราะอาจมีการอุดตัน ของกากเดิม สังเกตได้โดยเมื่อใส่ วตั ถุดิบในถังหมักแล้วนํ้าไม่ลน้ ออกจากท่อ รวมถึงแก๊สเริ่ มเกิดน้อยลงแม้จะมีการใส่ วตั ถุดิบตามปกติ


185 2. ไม่ควรใส่ เศษอาหารเปรี้ ยว เพราะจะทําให้แบคที เรี ยไม่ทาํ งาน เนื่ องจากค่า ความเป็ นกรด 3. พยายามอย่าให้ถงั กระทบกระเทือนมากเพราะกาวจะกะเทาะออกได้จนเกิ ด การรั่ว หากตรวจสอบเจอรอยรั่วควรใช้กาวทาซ่อม แผนการดาเนินงาน 1. จัดหาและขอรับบริ จาคอุปกรณ์เครื่ องครัวและข้าวสาร อาหารแห้ง 2. วางแผนการจัดทําพื้นที่ภายในโรงครัวและไบโอแก๊ส 3. ศึกษาหาข้อมูล วิธีการจัดเก็บอุปกรณ์เครื่ องครัวในระบบ TQM และวิธีการจัดทําไบโอ แก๊ส 4. จัดทําพื้นที่ในการจัดเก็บอุปกรณ์เครื่ องครัวและจัดทําการประกอบอุปกรณ์ในการ หมักไบโอแก๊ส 5. จัดทําทะเบียนสิ นทรัพย์ 6. ส่ งมอบห้องสมุดให้กบั น้องๆโรงเรี ยนปูทะเลย์ กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน 2556 1. นําตูเ้ ก็บอุปกรณ์ สําเร็ จรู ป จัดวางในพื้นที่ ภายในโรงครัว แล้วจัดทําการเก็บ ระบบ TQM เพื่อป้ องกัน อุปกรณ์เครื่ องครัวหาย โดยระบุดงั นี้ 1.1 ตะกร้าสําหรับเก็บช้อน-ส้อม 1.2 ตะกร้าเก็บจาน-ชาม 1.3 ชั้นควํ่าแก้ว


186 1.4 ตูเ้ ก็บอุปกรณ์เครื่ องครัว จะระบุปริ มาณเครื่ องครัว แต่ละชนิ ดในจํานวนที่ มีอยู่ 1.5 จัดทําที่แขวนไว้บนผนัง และระบุตาํ แหน่งการจัดเก็บที่แน่ชดั และทราบ ถึงจํานวนอุปกรณ์ ว่า ณ ปั จจุบนั มีอุปกรณ์เครื่ องครัวครบหรื อไม่ 2. นําโต๊ะและเก้าอี้สาํ หรับทานอาหาร มาจัดวางบริ เวณภายในโรงครัว 3. จัดทําการประกอบอุปกรณ์ ในการทําไบโอแก๊ส และทําการหมักมูลสัตว์และ เศษอาหาร วันเสาร์ ที่ 14 กันยายน 2556 1. จัดทําโต๊ะวางเตาแก๊ส 2. ขนย้ายอุปกรณ์เครื่ องครัวและอาหารแห้ง เข้าไปจัดเก็บไว้ภายในโรงครัว ตาม พื้นที่ที่ได้กาํ หนดไว้ 3. จัดทําทะเบียนสิ นทรัพย์ 4. สมาชิกภายในกลุ่ม จะแบ่งไปช่วยทําในส่ วนงานอื่นๆ นอกเหนือจากโรงครัว วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน 2556 1. ตรวจความเรี ยบร้อยภายในโรงครัวให้เสร็ จสมบูรณ์ตามแผนที่วางไว้ 2. ส่ งมอบโรงครัวให้กบั คุณครู และนักเรี ยนโรงเรี ยนปูทะเลย์


187

การดาเนินงาน

ภาพที่ 3 – 59 ภาพจากการสํารวจพื้นที่จริ งในการทําโรงครัว

ภาพที่ 3 – 60 พื้นที่บริ เวณโรงครัวมีการจัดสร้างอาคารขึ้น โดยใช้งบประมาณของทาง มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง


188

ภาพที่ 3 – 61 ภาพภายในโรงครัว มีการปูนกระเบื้องและทําฐานในการวางอ่างล้างจาน และบริ เวณ ภายนอกตัวอาคาร มีการทําผนังโดยใช้ไม้ซี่ในการทํา เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก

ภาพที่ 3 – 62 ภาพพื้นที่ภายในโรงครัวในปั จจุบนั


189 1. ได้จดั ซื้ ออุปกรณ์ในการทําไบโอแก๊สและนําไปจัดเก็บไว้ที่ศูนย์กสิ กรรมฯแล้ว ซึ่ ง ทางกลุ่มของเราได้ติดต่อกับวิทยากร ให้วิทยากรเข้ามาสอนการประกอบอุปกรณ์ และการหมักไบโอแก๊ส ในวันศุกร์ ที่ 13 กันยายน 2556 2. มีการขนย้ายของบริ จาคจําพวก สก็อตไบร์ ท แก้วนํ้า ชา-กาแฟ ไปจัดเก็บไว้ที่ศูนย์ กสิ กรรมฯแล้วบางส่ วนซึ่งได้รับบริ จาคมาจากโรงเรี ยนวัดบางสะแกใน 3. การจัดทําการเก็บอุปกรณ์เครื่ องใช้ภายในครัว ระบบ TQM ทางกลุ่มได้มีการแจ้ง ไว้กบั เจ้าหน้าที่ทางศูนย์กสิ กรรมฯแล้ว ว่าจะมี การออกแบบการจัดเก็บอุ ปกรณ์ เครื่ องใช้ภายในครัวให้ และทางศูนย์กสิ กรรมฯได้แจ้งกับทางกลุ่มว่าจะมีแม่ครัว จากในวัง มาสอนทําอาหารให้กบั น้องๆและจะมีการทําที่จดั เก็บอุปกรณ์เครื่ องครัว บางส่ วน แต่ไม่ทราบว่าจะได้จดั ทําหรื อเปล่า จึงให้เราช่ วยออกแบบพื้นที่จดั เก็บ ไปก่อนล่วงหน้า ถ้ามีความคืบหน้าในการทําที่จดั เก็บอุปกรณ์เครื่ องครัว จะมีแจ้ง ให้ ท ราบผ่า นทางเว็บ ไซต์ข องศู น ย์ก สิ ก รรมฯ (เรามี ก ารออกแบบการจัด เก็ บ อุปกรณ์เครื่ อง ระบบ TQM ไว้แล้วแบบคร่ าวๆ)

ภาพที่ 3 – 63 ภาพการนับอุปกรณ์เครื่ องครัวและทําการจัดเก็บระบบTQM


190

ภาพที่ 3 – 64 ภาพการทําฐานรองเตาแก๊ส

ภาพที่ 3 – 65 ภาพขั้นตอนการทําถังไบโอแก๊ส


191

ภาพที่ 3 – 66 ภาพมูลสัตว์ที่ใช้หมักแก็สเศษอาหารเหลือที่ใช้หมักแก๊ส


192 การเผยแพร่ ข้อมูลการเรียนรู้ ณ มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอือ้ ง

ภาพที่ 3 – 67 ไวนิลไบโอแก๊ส


193

การกาหนดกาลังคนในการดาเนินงาน วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน 2556 1. ล้าง ทําความสะอาดอุปกรณ์ภายในโรงครัว 3 คน 2. จัดนับอุปกรณ์ภายในโรงครัวทั้งหมด 4 คน 3. จัดทําที่แขวนกระทะและระบุจาํ นวนของกระทะ 2 คน 4. จัดทําราวแขวนเครื่ องปรุ งจําพวก หอม กระเทียม 2 คน 5. จัดทําการประกอบอุปกรณ์ในการหมักไบโอแก๊ส 5 คน 6. แบ่งเพื่อนในกลุ่มไปช่วยงานส่ วนอื่น 13 คน วันเสาร์ ที่ 14 กันยายน 2556 1. จัดทําโต๊ะเพื่อยกระดับพื้นที่การวางเตาแก๊ส 5 คน 2. จัดทําทะเบียนสิ นทรัพย์ 3 คน 3. จัดเรี ยงอุปกรณ์เครื่ องครัวให้เป็ นสัดส่ วน และระบุจาํ นวนเครื่ องครัวใน

บริ เวณที่จดั เก็บ 5 คน 4. แบ่งเพื่อนในกลุ่มไปช่วยงานส่ วนอื่น 16 คน


194 วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน 2556 1. ทาสี โต๊ะวางเตาแก๊ส 4 คน 2. ตรวจเช็คพื้นที่การจัดเก็บว่าถูกต้องตามวัตถุประสงค์หรื อไม่ 5 คน 3. แบ่งเพื่อนในกลุ่มไปช่วยงานส่ วนอื่น 20 คน 4. ส่ งมอบพื้นที่โรงครัวและไบโอแก๊สให้กบั โรงเรี ยนปูทะเลย์และพี่ทางศูนย์ กสิ กรรมธรรมชาติฯ สรุ ปผลการดาเนินงาน การจัดกิ จกรรมอาสาสมัคร ผูจ้ ดั ทําได้เริ่ มดําเนิ นงานตามขั้นตอน การดําเนิ นงานโดยเริ่ ม ตั้งแต่ การสํารวจพื้นที่จริ งจากผูท้ ี่ดูแลโรงครัวว่ามีความต้องการในด้านใดบ้าง และได้ทาํ การจัดทํา ราวแขวนกระเทียม ที่แขวนอุปกรณ์เครื่ องครัว ราวสําหรับแขวนอุปกรณ์ทาํ ครัวต่างๆ ได้ทาํ การนับ จํานวนของอุปกรณ์เครื่ องครัวที่มีอยูเ่ พื่อการจัดทําทะเบียนสิ นทรัพย์และทําตามกระบวนการ TQM และได้เสริ มระดับด้วยฐานรองเตาแก๊สเพื่อให้สะดวกต่อการประกอบอาหาร ผลการดําเนิ นการไบ โอแก๊สจะเริ่ มตั้งแต่การติดต่อผูเ้ ชี่ ยวชาญทางด้านการทําไบโอแก๊ส ทําการศึกษาค้นคว้าจัดเตรี ยม อุปกรณ์ และลงมือทํา หลังจากนั้นมีการจัดทําข้อมูลวิธีการทําศึกษาและวิธีการทําลงในแผ่นป้ ายไว นิ ล เพื่ อ เป็ นการให้ ค วามรู ้ แ ก่ ผู ้ที่ ส นใจในการทํา ไบโอแก๊ ส ได้รั บ รู ้ ถึ ง ต้น ทุ น ในการผลิ ต และ เปรี ยบเทียบการใช้แก๊สหุ งต้มที่ตามครัวเรื อน


195

รายงานการประชุม ตารางที่ 3 – 25 ตารางรายงานการประชุมทีมงานไบโอแก๊ส ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

กระบวนการจัดการศึกษาและกาหนดเวลา รายการ

ว/ด/ป

ศึกษาพื้นที่เบื้องต้น ลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม (สํารวจและวัดขนาดพื้นที่) ประชุมภายในกลุ่มหาข้อมูลในการจัดทํา แบ่งหัวข้อการทํารายงานให้สมาชิกภายในกลุ่ม รวบรวมข้อมูลการปฏิบตั ิงานจริ งและวาดภาพคร่ าวๆนําเสนอต่อ อาจารย์ผจู้ ดั ทําโครงการ สํารวจพื้นที่ครั้งที่ 2

ศ 21 มิ.ย. 56 ศ 21 มิ.ย. 56 ส 29 มิ.ย. 56 ส 29 มิ.ย. 56

สํารวจพื้นที่ครั้งที่ 3 ส่ งงานให้อาจารย์ผจู ้ ดั โครงการรอบ 1 แก้ไขงานหลังจากที่ส่งงาน ประชุมเพื่อแบ่งกําลังคนในการปฏิบตั ิงาน ส่ งงานให้อาจารย์ผจู ้ ดั โครงการรอบ 2 แก้ไขงานหลังจากที่ส่งงาน ขนย้ายของบริ จาคไปยังศูนย์กสิ กรรมฯ รอบที่ 1 ขนย้ายของบริ จาคไปยังศูนย์กสิ กรรมฯ รอบที่ 2 ลงมือปฏิบตั ิงานตามสายงานย่อยที่ได้รับ ลงมือปฏิบตั ิงานตามสายงานย่อยที่ได้รับ ลงมือปฏิบตั ิงานตามสายงานย่อยที่ได้รับ

จ 29 ก.ค. 56 อา 14 ก.ค. 56 พฤ18 ก.ค. 56 พฤ18 ก.ค. 56 อ 23 ก.ค. 56 พ 24 ก.ค. 56 อา 1 ก.ย. 56 ส 7 ส.ค. 56 ศ 13 ก.ย. 56 ส 14 ก.ย. 56 อา 15 ก.ย. 56

พ 3 ก.ค. 56 ศ 12 ก.ค. 56


196

การฝึ กปฏิบัติบริการโครงการ-ทีมสื่ อการเรียนรู้ ข้ อมูลเกีย่ วกับทีมงาน สมาชิ กภายในกลุ่ม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.

นายครณิ นทร์ นางสาวชัญญานุช นายณัฐพล นางสาวนฤมล นายปรี ดาพล นางสาวพงษ์สุดา นางสาวศุทธิกานต์ นางสาวรัฐจิต นางสาวรี นริ นทร์ นางสาววรรณิ ศา นางสาววรัญญา นางสาวศิริพร นายสิ ทธิกุล นางสาวแสงอรุ ณ นางสาวสุ ชาวดี นายฐิติพงศ์ นายยงยศ

ธนะอนันต์มงคล อุปมาสิ นธุ โลหะสวรรค์กุล แต่งสวน ใยสวัสดิ์ สิ ทธิศร สนขุดทด เห่งนาเลน ทวีชยั ทัศน์ ศรี สุไชย ประภาพันธ์ สาธร เดชพรเทวัญ เสื อสละ พรหมรุ่ งสวัสดิ์ สุ ทธิโสม วัฒนะมงคล

รหัสนิสิต 5430110519 รหัสนิสิต 5430110248 รหัสนิสิต 5430110311 รหัสนิสิต 5430110396 รหัสนิสิต 5430110442 รหัสนิสิต 5430110485 รหัสนิสิต 5430110582 รหัสนิสิต 5430110591 รหัสนิสิต 5430110612 รหัสนิสิต 5430110639 รหัสนิสิต 5430110647 รหัสนิสิต 5430110736 รหัสนิสิต 5430110779 รหัสนิสิต 5430110884 รหัสนิสิต 5430111112 รหัสนิสิต 5430111121 รหัสนิสิต 5430111147

พันธกิจ 1. การสร้างสื่ อการเรี ยนการสอนภายในห้องเรี ยน 2. การสร้างสื่ อการเรี ยนการสอนภายนอกห้องเรี ยน 3. การขอรับบริ จาค


197 ตารางที่ 3 – 26 การกําหนดดัชนีช้ ีวดั และการกําหนดค่าเป้ าหมายของสื่ อการเรี ยนการสอนที่มีคุณภาพ ณ ศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้อง อําเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรีวนั ที่ 16 เดือน กันยายน ปี 2556 ที่ 1

2

3

โครงการย่อย การขอรับบริ จาค

สื่ อการเรี ยนการสอน ในห้องเรี ยน

สื่ อการเรี ยนการสอน นอกห้องเรี ยน และ ซ่อมแซมป้ ายที่ชาํ รุ ด หมายเหตุ

ผลสัมฤทธิ์หลัก การขอรับบริ จาคหนังสื อ เรี ยน การขอรับบริ จาคอุปกรณ์การ เรี ยน การขอรับบริ จาคอาหารแห้ง การสร้างสื่ อการเรี ยนการ สอนที่มีคุณภาพที่ใช้ในภาย ห้องเรี ยน การสร้างสื่ อการเรี ยนการสอ นี่มีคุณภาพที่ใช้ภายนอก ห้องเรี ยน

1. คะแนนของค่าเป้ าหมาย 1 = 1 คะแนน, 2 = 2 คะแนน, 3 = 3 คะแนน

ตัวชี้ วดั ปริ มาณหนังสื อเรี ยนที่ได้รับ (เล่ม) ปริ มาณอุปกรณ์การเรี ยนที่ ได้รับ (ประเภท) ปริ มาณอาหารแห้งที่ได้รับ (ประเภท) ร้อยละความสําเร็ จของการ สร้างสื่ อการเรี ยนการสอน ร้อยละความสําเร็ จของการ สร้างสื่ อการเรี ยนการสอน

1 จํานวนน้อยกว่า 20 เล่ม

ระดับเป้ าหมาย 2 จํานวน 20 เล่ม

นํ้าหนัก 3 จํานวนมากกว่า 20 เล่ม

3

น้อยกว่า 5 ประเภท

5 ประเภท

มากกว่า 5 ประเภท

3

น้อยกว่า 5 ประเภท

5 ประเภท

มากกว่า 5 ประเภท

3

50

70

90

3

50

70

90

3


198 ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1. นักเรี ยนได้รับสื่ อการเรี ยนรู้ที่มีคุณภาพ 2. นักเรี ยนสามารถนําสื่ อการเรี ยนการสอนนั้นไปปฏิบตั ิได้จริ ง 3. นักเรี ยนมีความเข้าใจในองค์ความรู ้ที่มีอยูม่ ากขึ้น 4. นักเรี ยนมีความเท่าเทียมทางการศึกษากับนักเรี ยนในสังคมเมือง 5. สื่ อการเรี ยนรู ้ที่สร้างสามารถอํานวยความสะดวกให้กบั ครู ผสู ้ อนได้ การวางแผนก่อนการเข้ าศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง 1. สํารวจพื้นที่ท้ งั หมด 2. สํารวจพื้นที่ที่เป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้ 3. ทําแบบสํารวจพื้นที่ที่เป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้ 4. ประเมินผล 5. สรุ ปผล


199

ข้ อมูลวิชาการ ลักษณะของสื่ อการเรียนรู้ 42 สิ่ งที่อยูร่ อบตัวถือเป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้ได้ท้ งั สิ้ นไม่วา่ สิ่ งนั้นจะเป็ นคนสัตว์พืชสิ่ งของ สถานที่เหตุการณ์หรื อกิจกรรมสื่ อการเรี ยนรู ้ในกลุ่มวิชาคณิ ตศาสตร์ อาจจําแนกเป็ นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของสื่ อดังนี้ วัสดุ 1) วัสดุสิ่งพิมพ์ ได้แก่หนังสื อเรี ยนคู่มือครู วารสารหนังสื ออ่านเพิ่มเติมหนังสื ออ่าน ประกอบใบโฆษณาหนังสื อพิมพ์ปฏิทินและเอกสารประกอบการเรี ยน (ใบกิจกรรมใบงานบทเรี ยน การ์ตูนบทเรี ยนสําเร็ จรู ปบทเรี ยนโปรแกรม) ฯลฯ 2) วัสดุประดิษฐ์ ได้แก่ชุดการเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกระเป๋ าผนังแผนภูมิบตั ร คํา บทเรี ย นวิ ดี ท ัศ น์ บ ัต รตัว เลขกระดานตะปู แ ผ่น โปร่ ง ใสนาฬิ ก าจํา ลองตรายางบัต รรู ป สั ต ว์ แบบจําลอง (ทรงกระบอกทรงกลมกรวยปริ ซึมพีระมิด) ฯลฯ 3) วัสดุถาวรได้แก่วงเวียนไม้โพรแทรกเตอร์ ไม้ฉากเครื่ องชัง่ เครื่ องตวงเครื่ องวัด ลูกคิดกระดุมแม่เหล็กกระดานแม่เหล็กป้ ายนิเทศกระดานดําฯลฯ 4) วัสดุสิ้นเปลืองได้แก่ชอล์กกระดาษสี ปากกาเมจิกดินสอสี ฯลฯ อุปกรณ์ได้แก่เครื่ องฉายภาพข้ามศีรษะโทรทัศน์วิดีทศั น์เครื่ องคิดเลขเครื่ องคิดเลข กราฟิ กคอมพิวเตอร์แถบบันทึกเสี ยงสไลด์ฯลฯ กิ จกรรมได้แก่การแสดงการทดลองการสาธิ ตนิ ทรรศการโครงงานนันทนาการ (เพลงเกมคําประพันธ์ของเล่นต่างๆทางคณิ ตศาสตร์ ) ฯลฯ สิ่ งแวดล้อมเป็ นสื่ อที่อยูล่ อ้ มรอบตัวเรา 1) สื่ อธรรมชาติ ได้แก่เปลือกหอยใบไม้ผลไม้กิ่งไม้กอ้ นหิ นดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ทุ่งนาป่ าไม้ทะเลภูเขาแม่น้ าํ ฯลฯ 2) สื่ อ สถานที่ ไ ด้แ ก่ ห้ อ งเรี ยนห้ อ งสมุ ด ระเบี ย งหน้ า จั่ว บ้า นสนามที่ อ่ า น หนังสื อพิมพ์ประจําหมู่บา้ นศูนย์ขอ้ มูลของทางราชการรั้วฯลฯ 3) สื่ อบุคคลได้แก่ผสู ้ อนผูเ้ รี ยนบุคคลอื่นๆ

42

ลักษณะของสื่ อการเรี ยนรู้ [ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มา www.dlf.ac.th/uploads/document/135053267625954.pdf


200 การเลือกใช้ สื่อการเรียนรู้ สื่ อการเรี ยนรู ้แต่ละประเภทมีลกั ษณะแตกต่างกันไปสื่ อการเรี ยนรู ้ประเภทหนึ่ งๆ อาจจะเหมาะกับเนื้ อหาสาระเฉพาะเรื่ องหรื ออาจใช้ในการเรี ยนการสอนทัว่ ไปสื่ อบางอย่างอาจ จัดทําขึ้นใช้เฉพาะตามความต้องการของผูส้ อนในท้องถิ่ นดังนั้นผูส้ อนจะต้องรู ้ จกั เลื อกใช้สื่อการ เรี ยนรู ้ ให้เหมาะสมกับเนื้ อหาสาระและการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ อีกทั้งเป็ นประโยชน์สูงสุ ดต่อ ผูเ้ รี ยนโดยมีแนวการดําเนินการเลือกใช้สื่อดังนี้ 1. วิเคราะห์หลักสู ตรโดยวิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู ้ มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ช่วง ชั้นผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวังรายปี /รายภาคและสาระการเรี ยนรู ้เพื่อกําหนดสื่ อ การเรี ยนให้เหมาะสมและมีประสิ ทธิภาพ 2. สํ า รวจรวบรวมสื่ อการเรี ยนรู ้ จ ากแหล่ ง การเรี ยนรู ้ ต่ า งๆเพื่ อ ให้ มี สื่ อ ที่ หลากหลายและเพียงพอ 3. วิเคราะห์สื่อการเรี ยนรู้ผูส้ อนควรพิจารณาสื่ อการเรี ยนรู้ที่ได้รวบรวมมาจาก แหล่ ง ต่ า งๆว่า สามารถนํา มาใช้ ใ นการเรี ย นรู ้ ไ ด้ห รื อ ไม่ โ ดยพิ จ ารณาใน ประเด็นต่างๆต่อไปนี้ 3.1 การเรี ยนรู้ตามสาระการเรี ยนรู้และมาตรฐานการเรี ยนรู้ 3.2 การพัฒนาเจตคติและค่านิยม 3.3 การนําไปใช้ในชีวติ ประจําวัน 3.4 ความถูกต้องเหมาะสมตามหลักวิชาเวลาเรี ยนและวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน 3.5 ความเหมาะสมในการเสนอเนื้ อหามีการเรี ยงลําดับตามขั้นตอนการ เรี ยนรู ้ชดั เจนเช่นมีตวั อย่างภาพประกอบตารางแผนภูมิ 3.6 การใช้ภาษาถูกต้องตามหลักภาษาสื่ อความหมายชัดเจน 3.7 กิ จ กรรมส่ งเสริ มการฝึ กปฏิ บ ั ติ ห รื อการนํ า ความรู ้ ไ ปใช้ ใ น ชี วิตประจําวันเช่ นคําถามหรื อสถานการณ์สมมติที่ทาํ ให้ผูเ้ รี ยนรู้จกั คิดวิเคราะห์วจิ ารณ์หรื อบูรณาการความรู ้ต่างๆมาใช้แก้ปัญหา


201 วิธีการเลื อกใช้สื่อการเรี ย นรู้ ไม่มีสูตรสําเร็ จและไม่ มีเงื่ อนไขว่าผูส้ อนจะต้องมี ความรู้ในการผลิตสื่ อด้วยตนเองแต่ผูส้ อนควรมีความสามารถในการเลือกใช้สื่อจัดเตรี ยมสื่ อและ รู้จกั นํามาใช้เพื่อเพิ่มพูนประสิ ทธิ ผลของการเรี ยนการสอนโดยตระหนักว่าสื่ อการเรี ยนรู ้ที่นาํ มาใช้ อํานวยประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยนได้มากที่สุดและอยูใ่ นวิสัยที่ผสู ้ อนจะสามารถนํามาใช้ได้ดีที่สุด การพัฒนาสื่ อการเรียนรู้ สื่ อการเรี ยนรู ้ เป็ นปั จจัยสําคัญอย่างหนึ่ งที่จะช่ วยให้สถานศึกษาจัดการเรี ยนรู ้ ให้ บรรลุ ตามจุ ดมุ่ ง หมายของหลัก สู ต รผูส้ อนมี บ ทบาทสํา คัญในการสร้ า ง/เลื อกสื่ อ การเรี ย นรู้ ใ ห้ สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู ้และกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ในการดํา เนิ น การสอนผู้ส อนจะต้อ งจัด ทํา แผนการสอนซึ่ งจะต้อ งใช้ สื่ อ ประกอบการจัดกิ จกรรมโดยเลื อกใช้ให้เหมาะสมกับเนื้ อหาวุฒิภาวะและความสนใจของผูเ้ รี ยน หลังจากที่นาํ ไปใช้แล้วต้องประเมินประสิ ทธิ ภาพของสื่ อและมีการพัฒนาปรับปรุ งให้ดีข้ ึนเพื่อใช้ ในการสอนครั้งต่อไป

การศึกษาขั้นต้ นเพือ่ การวางแผน ตั้ง แต่ ไ ด้รับ มอบหมายงาน ณ ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้ อง ได้ท าํ การศึ กษาขั้นต้น หาข้อมูลของการศึกษา สื่ อการเรี ยนรู ้ ที่ศูนย์กสิ กรรมฯ เกี่ยวกับระดับชั้นของนักเรี ยน เพื่อจัดทําสื่ อ การเรี ยนรู้ได้ถูกต้องและเหมาะสม

การศึกษาพืน้ ทีจ่ ริง จากการศึ กษาพื้นที่ จริ งในส่ วนของศูนย์การเรี ยนรู ้ น้ นั จากการสอบถามครู ที่ประจําอยู่ที่ ศูนย์กสิ กรรม ได้ผ ลว่า การเรี ย นการสอนของครู จะเน้นในเรื่ องของการดํารงชี วิตในธรรมชาติ การเกษตร เป็ นส่ วนมาก ยังขาดสื่ อการเรี ยนรู ้ที่เกี่ยวกับทางด้านวิชาการอีกมาก ส่ วนการเรี ยนการ สอนของนักเรี ยนนั้น เรี ยนรวมกันทุกระดับชั้น เนื่ องจากมีจาํ นวนนักเรี ยนเพียง 11 คน มีความรู ้อยู่ ในระดับเดียวกันหมด ซึ่ งในความจริ งแล้ว นักเรี ยนเรี ยนในระดับชั้นใด ก็ควรเรี ยนในบทเรี ยนของ ระดับชั้นนั้น


202

การวิเคราะห์ ผลการศึกษาพืน้ ที่จริง จากการศึกษาพื้นที่ จริ ง สิ่ งที่ควรจัดทําเพิ่ม คื อ สื่ อการเรี ยนรู ้ ภายในห้องเรี ยน การจัดทํา แบบเรี ย น และ แบบฝึ กหัด ทั้ง 8 กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ เพื่ อ เสริ ม ทัก ษะความรู ้ ข องนัก เรี ย น นอกจากนี้ ได้จดั ทําเรื่ องการขอรับบริ จาคสิ่ งของเครื่ องใช้ อุปกรณ์การเรี ยน เพิ่มเติม

ผลการดาเนินงานโครงการ จากการดําเนินงาน 3 วัน คือ วันที่ 13 - 15 กันยายน ผลของการดําเนิ นโครงการนี้สรุ ปได้วา่ 1. ผลการดําเนิ นสามารถบรรลุตามวิสัยทัศน์ที่ได้ต้ งั ไว้ คือ สร้างสื่ อการเรี ยนการสอนที่ ครอบคลุมในทุกๆด้านและประสิ ทธิภาพ 2. สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์คือสร้างสื่ อการเรี ยนการสอนที่มีคุณภาพให้กบั นักเรี ยนโรงเรี ยนปูทะเลย์ 3. การส่ งมอบของบริ จาคและสื่ อการเรี ยนการสอนทั้งภายในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน เป็ นไปตามที่ได้กาํ หนดไว้ โดยมีการส่ งมอบในวันที่ 15 กันยายน 2556 ตารางที่ 3 – 27 ตารางระยะเวลาการดําเนินงานของทีมสื่ อการเรี ยนรู้ ระยะเวลาการดาเนินงาน

1 2 3 4 5 6 7

การดาเนินงาน เริ่ มศึกษาหาแนวทางการทํางาน วางแผนการทําแบบสอบถาม ศึกษาพื้นที่จริ ง ประชุมทําแผนงาน ปรับปรุ งแผนงาน นัดส่ งแผนงาน ประชุมบอร์ ดบริ หาร

มิถุนายน กรกฎาคม สิ งหาคม กันยายน 19 20 21 28 8 14 15 19 20 7 13 14 15 24


203 ระยะเวลาการดาเนินงาน 8 ประชุมบอร์ ดบริ หาร 9 ประชุมรวมสาขา 10 ประชุมรวมสาขา ประชุมวางแผน 11 กําลังคน จัดทําแผนการดําเนินงานเฉพาะ 12 ด้าน 13 จัดส่ งแผนงานทั้งหมด ดําเนินงานในขั้นตอนก่อนลง 14 พื้นที่ 15 ลงพื้นที่ดาํ เนินงาน รายงานและประเมินผลการ 16 ดําเนินงานณ พื้นที่ ส่ งรายงาน "การฝึ กปฏิบตั ิการ 17 บริ หารโครงการ"

มิถุนายน กรกฎาคม สิ งหาคม กันยายน 19 20 21 28 8 14 15 19 20 7 13 14 15 24


204

ตารางที่ 3 – 28 ตารางแผนงบประมาณและการดําเนินงาน ทีมสื่ อการเรี ยนรู้ แผนงบประมาณและการดาเนินงาน-ทีมสื่ อการเรี ยนรู้ 1 โควตาการจัดหาทุน

6200.00

2 ผลการจัดหาทุน 3 งบประมาณค่าใช้จ่าย

24010.00 รายงานงบประมาณ

อุปกรณ์

รายละเอียด

จานวน

หน่ วย

ราคาชิ้นละ

จานวนเงิน (บาท)

ใส่ ป้ายชื่อแบบแขวนคอ

2 50 3 1 1 12 102

รี ม แผ่น แผ่น อัน กล่อง แท่ง แท่ง

112.00 4.00 25.00 3.38 3.00 14.92 1.39

224.00 200.00 75.00 3.38 3.00 179.00 142.00

รับบริจาค สิ่ งของ (บาท)

จัดซื้อแล้ว (บาท)

อุปกรณ์การเรี ยน ในห้องเรี ยน 1 2 3 4 5 6 7

กระดาษ A4 ซี ดีเปล่า ซีดีความรู้ ที่ใส่ ป้าย กล่องใส่ CD ปากกาไวท์บอร์ด ดินสอ

สี น้ าํ เงิน ดินสอไม้

200.00 75.00 3.38 3.00 4.00

224.00 179.00 138.00


205 รายงานงบประมาณ อุปกรณ์

รายละเอียด

8 ยางลบ 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

ปากกา ไม้บรรทัด สมุดเปล่า สี ไม้ สมุดวาดเขียน กบเหลา แฟ้ ม จานผสมสี ซองใส่ CD พูก่ นั

19 โปสเตอร์

ปากกาลูกลื่นหัวขนาด0.7 มม. 50 แท่ง ยาว 30 ซม. 12สี สองหัว เล่มใหญ่ แบบกระเป๋ าติดกระดุมตรง กลาง

ภาพการศึกษาแบบห่อ พลาสติก

จานวน

หน่ วย

ราคาชิ้นละ

52

ก้อน

2.19

จานวนเงิน (บาท) 114.00

160 36 60 8 24 48

แท่ง อัน เล่ม กล่อง เล่ม อัน

2.59 2.19 3.75 31.00 10.75 1.02

12 12 100 17

แฟ้ ม ถาด ซอง แท่ง

2

แผ่น

รับบริจาค สิ่ งของ (บาท)

จัดซื้อแล้ว (บาท)

5.00

109.00

414.50 79.00 225.00 248.00 258.00 49.00

117.50

297.00 79.00 135.00 198.00 258.00 49.00

17.06 3.25 0.90 6.65

204.75 39.00 90.00 113.00

105.75

45.00

90.00

90.00 50.00

54.00

99.00 39.00 90.00 59.00 90.00


206 รายงานงบประมาณ อุปกรณ์

รายละเอียด

จานวน

หน่ วย

ราคาชิ้นละ

20 21 22 23 24 25 26

ภาพการศึกษาแบบธรรมดา คัดจีน พาเพลิน สี ดาํ

4 1 263 35 75 59 6

แผ่น เล่ม อัน อัน อัน อัน กล่อง

15.00 45.00 0.75 0.75 1.25 0.25 23.33

โปสเตอร์ หนังสื อภาษาจีน ที่หนีบกระดาษ กระดูกงู สันรู ด คลิปหนีบกระดาษ สี น้ าํ ค่าปริ้ นและค่าถ่าย 27 เอกสาร

ค่าจัดทําแบบฝึ กหัด+ เอกสารการเรี ยนรู้

จานวนเงิน (บาท) 60.00 45.00 197.25 26.25 93.75 14.75 140.00

รับบริจาค สิ่ งของ (บาท)

197.25 26.25 93.75 14.75

จัดซื้อแล้ว (บาท) 60.00 45.00 140.00

966.00

966.00

743.00 238.00 325.00 260.00

743.00 238.00 325.00 260.00

อุปกรณ์ในการ สร้างสื่ อการเรี ยนรู้ 1 2 3 4

ฟิ วเจอร์บอร์ด กาว 2 หน้า เทปกาว เฟรชฟิ ลม์

ขนาด 65 ซม. x122 ซม.

พลาสติกซีนป้ าย

15 12 12 1

แผ่น ม้วน ม้วน ม้วน

49.53 19.83 27.08 260.00


207 รายงานงบประมาณ อุปกรณ์

รายละเอียด

5 ลวด 6 กระดาษ A4

จานวน

หน่ วย

1 1

ขด รี ม

ราคาชิ้นละ 100.00 110.00

จานวนเงิน (บาท) 100.00 110.00

รับบริจาค สิ่ งของ (บาท)

จัดซื้อแล้ว (บาท) 100.00 110.00

การขอรับบริ จาค ค่าเดินทาง

ค่านํ้ามันและค่าทางด่วน พิเศษ

1,150.00

1,150.00

หมวดเครื่ องวัด 1 2 3 4

จีวรเล็ก จีวรใหญ่ ชุดธูปเทียน ไม้ขีดไฟ

70 7 90 59

ผืน ผืน กล่อง กล่อง

18.75 87.50 7.50 0.75

1,312.50 612.50 675.00 44.25

1,312.50 612.50 675.00 44.25

-

43 7 54

กล่อง กล่อง กล่อง

8.75 8.75 8.75

376.25 61.25 472.50

376.25 61.25 472.50

-

หมวดบริ โภค 1 มะตูมผงสําเร็ จรู ป 2 กระเจี๊ยบผงสําเร็ จรู ป 3 เก๊กฮวยผงสําเร็ จรู ป


208 รายงานงบประมาณ อุปกรณ์ 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

กาแฟผงสําเร็ จรู ป ขิงผงสําเร็ จรู ป ชา ยาพาราเซตามอล โอวัลติน ยาแก้ไอ ครี มเทียม ยาทันใจ ขนมขบเคี้ยว ปลากรอบ

รายละเอียด

จานวน

หน่ วย

ราคาชิ้นละ

5 44 11 3 1 2 3 1 8 16

กล่อง กล่อง กล่อง แผง ซอง แผง กล่อง ซอง โหล กระป๋ อง

8.75 8.75 8.75 3.00 1.25 7.50 13.00 1.25 15.00 3.50

จานวนเงิน (บาท) 43.75 385.00 96.25 9.00 1.25 15.00 39.00 1.25 120.00 56.00

4 20 3

ผืน คู่ ใบ

3.75 15.00 18.75

15.00 300.00 56.25

รับบริจาค สิ่ งของ (บาท) 43.75 385.00 96.25 9.00 1.25 15.00 39.00 1.25 120.00 56.00

15.00 300.00 56.25

จัดซื้อแล้ว (บาท) -

หมวดเครื่ อง อุปโภค 1 ผ้าขนหนูเล็ก 2 รองเท้าแตะ 3 กระเป๋ าผ้าเล็ก

-


209 รายงานงบประมาณ อุปกรณ์ 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

เสื้ อผ้า ไฟฉาย กระดาษชําระ สําลี คัตเติ้ลบัต สบู่ แก้ว กระติกนํ้า ชุดยาสามัญ มีดโกนหนวด กล่องใส่ สบู่ ถังนํ้า กล่องกระดาษชําระ แปรงสี ฟัน กล่องใส่ ของ

รายละเอียด

จานวน

หน่ วย

3 23 13 24 4 3 10 1 10 23 114 41 1 2 3

ชิ้น อัน ม้วน ถุง ถุง ก้อน ใบ กระบอก ชุด อัน กล่อง ใบ กล่อง อัน กล่อง

ราคาชิ้นละ 87.50 25.00 1.25 8.75 2.75 5.00 1.50 5.00 32.50 7.50 5.00 10.00 5.00 8.75 14.75

จานวนเงิน (บาท) 262.50 575.00 16.25 210.00 11.00 15.00 15.00 5.00 325.00 172.50 570.00 410.00 5.00 17.50 44.25

รับบริจาค สิ่ งของ (บาท) 262.50 575.00 16.25 210.00 11.00 15.00 15.00 5.00 325.00 172.50 570.00 410.00 5.00 17.50 44.25

จัดซื้อแล้ว (บาท) -


210 รายงานงบประมาณ

รับบริจาค สิ่ งของ (บาท) 49.50 57.50 105.00 72.50 49.75

19 20 21 22 23

กระเป๋ าใส่ มือถือ ฟองนํ้า ขัน ถาด กระเป๋ า

2 23 28 1 1

ใบ อัน ใบ ใบ ใบ

24.75 2.50 3.75 72.50 49.75

จานวนเงิน (บาท) 49.50 57.50 105.00 72.50 49.75

1 2 3 4 5

ที่คาดผม ของเล่น ของเล่นมีไฟ จิ๊กซอว์ เชือก

2 20 14 1 2

อัน อัน อัน กล่อง เส้น

8.75 15.00 5.00 20.00 2.50

17.50 300.00 70.00 20.00 5.00

17.50 300.00 70.00 20.00 5.00

15,312.38

9,132.38

อุปกรณ์

รายละเอียด

จานวน

หน่ วย

ราคาชิ้นละ

จัดซื้อแล้ว (บาท) -

หมวดเบ็ดเตล็ด

รวมงบประมาณ

6,180.00


211 ตารางที่ 3 –29 ตารางสรุ ปผลการจัดหาทุนทีมสื่ อการเรี ยนรู้ ยอดเงินคงเหลือนําส่ งสวนกลาง17,830.00 สรุ ปผลการจัดหา ทุน 1 เงินบริ จาคงานเกษตรแฟร์ 2 วัสดุ อุปกรณ์ 3 สปอนเซอร์จาก รวม

บริษัท พรมาตุลขี นส่ ง จากัด ห้ างหุ้นส่ วนยิง่ เจริ ญพลาสติก

3,500.00 510.00 10,000.00 10,000.00 24,010.00

บาท บาท บาท บาท บาท


212

ผลประเมินผลการเรียนรู้ ผลประเมินผู้เรี ยนรู้ การบริ หารโครงการตามวัตถุประสงค์ โครงการ วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 : เพือ่ สร้ างสื่ อการเรี ยนการสอนทีม่ ีคุณภาพให้ กบั นักเรียน ผลการประเมินอยูเ่ กณฑ์ : ดี เนื่องจากการสร้างสื่ อการเรี ยนการสอนนั้นประสบความสําเร็ จตรงกับความ ต้องการของครู และนักเรี ยนที่ศูนย์ฯ วัตถุประสงค์ ข้อที่ 2 : เพือ่ ให้ นักเรียนสามารถนาสื่ อการเรียนการสอนนั้น ไปปฏิบัติได้ จริง ในชีวติ ประจาวัน ผลการประเมินอยูเ่ กณฑ์ : ดี เนื่องจากสื่ อการเรี ยนการสอนที่จดั ทํา เป็ นสื่ อการเรี ยนที่จาํ เป็ นต้องใช้เพื่อสอบเข้า แข่งขัน ซึ่ งแน่นอนว่า สามารถใช้ในชีวติ ประจําวันได้ วัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 : เพือ่ ให้ นักเรี ยนได้ มีความเข้ าใจในองค์ ความรู้ ทมี่ ีอยู่เพิม่ มากขึน้ ผลการประเมินอยูเ่ กณฑ์ : ดี เนื่องจากสื่ อการเรี ยนการสอนที่จดั ทํา สามารถเพิ่มทักษะให้กบั นักเรี ยนได้ เป็ นได้ ทั้งการทบทวนบทเรี ยนที่ผา่ นมา และยังสามารถทดสอบความรู ้ความสามารถได้ นอกจากนี้ยงั มีสื่อ ภาษาจีน เพื่อเพิ่มองค์ความรู ้ทางด้านภาษา วัตถุประสงค์ ข้อที่ 4 : เพือ่ สร้ างความเท่ าเทียมทางการศึกษาให้ นักเรี ยนในชุ มชน ผลการประเมินอยูเ่ กณฑ์ : ดี เนื่องจากสื่ อการเรี ยนรู ้ที่ได้จดั ทํา เป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้ที่ใช้เป็ นหลักสู ตรทัว่ ไป ใช้ใน ทุกสถานศึกษา วัตถุประสงค์ ข้อที่ 5 :เพือ่ อานวยความสะดวกให้ กบั ครู ผ้ ูสอน ผลการประเมินอยูเ่ กณฑ์ : ดี สื่ อการเรี ยนการสอนที่จดั ทํา จากการสอบถามครู ที่ศูนย์ฯ สามารถเป็ นประโยชน์ ได้มาก และสามารถอํานวยความสะดวกได้


213

ภาพการดาเนินงาน

ภาพที่ 3 – 68 ภาพทําการขนย้ายของบริ จาค (หนังสื อเรี ยน อุปกรณ์การเรี ยน)

ภาพที่ 3 – 69 ภาพจัดทําสื่ อการเรี ยนรู้ในห้องเรี ยน (แบบฝึ ดหัด/ข้อสอบ)


214

ภาพที่ 3 – 70 ภาพจัดทําสื่ อการเรี ยนรู้นอกห้องเรี ยน (ป้ ายสื่ อการเรี ยนรู้)

สรุปผลการดาเนินงานโครงการ จากการปฏิ บ ตั ิ ง าน ทั้ง การจัดหาของรั บ บริ จาค การสร้ า งสื่ อการเรี ย นการสอนภายใน ห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยนที่โรงเรี ยนปูทะเลย์ศูนย์การเรี ยนรู ้กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง จังหวัด ชลบุรี ผลการดําเนิ นงานของโครงการประสบผลสําเร็ จเป็ นที่ น่าพอใจ และได้มีการส่ งมอบงาน ให้กบั อาจารย์และนักเรี ยน ในวันที่ 15 กันยายน 2556 ผลตอบรับสําหรับการดําเนิ นงานในครั้งนี้ เป็ นที่น่าพึงพอใจ เพราะนักเรี ยนมีสื่อการเรี ยน การสอนที่จาํ เป็ น มีคุณภาพ สามารถพกพาได้สะดวก ซึ่ งสามารถเสริ มสร้างกระบวนการคิ ดและ การเรี ยนรู ้ให้กบั นักเรี ยน ซึ่ งเป็ นไปตามวัตถุประสงค์และพันธกิจที่ได้ต้ งั ไว้ ก่อนการปฏิบตั ิงานจริ ง ได้มีการสํารวจและสอบถามครู อาสา พบว่า สื่ อการเรี ยนการสอน ของครู และนักเรี ยนยังขาดแคลนอยู่มาก ทางกลุ่มจึงได้มีการประชุ ม วางแผนทั้งด้านงบประมาณ การทําการจัดซื้ อสื่ อการเรี ยนการสอน เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์หลักของโครงการเมื่อถึงการ ปฏิ บ ตั ิ ง านลงพื้นที่ จริ ง เป็ นเวลา 3 วันนั้นได้ผ่า นปั ญหาที่ จาํ เป็ นต้องแก้ไ ข ได้พบความร่ วมมื อ ร่ วมมือใจของทีม ของเพื่อนๆในคณะเดียวกัน ได้ประสบการณ์ที่หาได้ยากในชีวติ ผลการดําเนิ นงานท้ายที่สุ ดเป็ นผลสําเร็ จมาจากการทํางานร่ วมกันเป็ นหมู่คณะสามารถ ดําเนินงานได้ตามเวลาที่กาํ หนดไว้ผลการศึกษาในด้านการเรี ยนรู ้ที่เพิ่มขึ้นจากการเรี ยนรู ้ในสถานที่ จริ ง เรื่ องการจัดการการบริ หารต้นทุน การบริ หารจัดการกําลังคนการวิเคราะห์และแก้ไขปั ญหาที่


215 เกิดขึ้น การทํางานร่ วมกันเป็ นทีม และท้ายที่สุดคือการร่ วมสร้างอนาคตที่ดีให้กบั นักเรี ยนโรงเรี ยน ปูทะเลย์ที่จะเป็ นกําลังของขาติต่อไปในอนาคต

รายงานการประชุมทีม จากการประชุมร่ วมกันทั้งหมด สมาชิกให้ความร่ วมมือดีเยี่ยม สามารถทํางานร่ วมกันได้ อย่างดี 19 มิถุนายน 2556 1. ร่ วมกันประชุมวางแผนหาแนวทางการทํางาน 2. ร่ วมกันหาแนวทางการทํางาน 3. แบ่งหน้าที่กนั ภายในทีม 20 มิถุนายน 2556 1. วางแผนการทําแบบสอบถาม 2. ร่ วมกันทําแบบสอบถาม 28 มิถุนายน 2556 1. ประชุมทําแผนงาน 2. ปรึ กษาเรื่ องการทําแผนงาน รู ปเล่มงาน 3. แบ่งหน้าที่การทําแผนงาน


216 8 กรกฎาคม 2556 1. ปรับปรุ งแผนงาน 2. ปรับปรุ งแก้ไขส่ วนงานที่ผดิ พลาด 11 กันยายน 2556 1. วางแผนทวนทวนตําแหน่งงานก่อนปฏิบตั ิจริ ง

การฝึ กปฏิบัตบิ ริการโครงการ-ทีมห้ องสมุด ข้ อมูลเกีย่ วกับทีมงาน สมาชิกทีมงาน และหน้ าที่งาน 1. นางสาวศิวพร 2. นางสาวสิ ริลกั ษณ์ 3. นางสาวเขมิกา 4. นางสาวจิรัชญา 5. นางสาวมัณฑนา 6.นางสาวมัทริ กา 7. นางสาวปารวี 8. นางสาวชวิศา 9. นางสาวปรี ยาภรณ์ 10. นางสาวจุฑารัตน์ 11.นางสาววัสดา 12.นางสาวจิตติมา

สายพานทอง ศักดิ์ชลาธร ทรงเดชธนาวุฒิ อยูด่ ี โพธิ์ แสง จุย้ ม่วงแสง ยอดย้อย ทองถนอม นุชเลิก อันทะนิล ดอกชาวรัมย์ ผลพิกุล

หัวหน้ากลุ่ม เลขานุการ หัวหน้าฝ่ ายรับบริ จาคหนังสื อ ผูช้ ่วยหัวหน้าฝ่ ายรับบริ จาคหนังสื อ หัวหน้าฝ่ ายทัศนียภาพ เลขานุการฝ่ ายทัศนียภาพ หัวหน้าฝ่ ายจัดซื้ อวัสดุและอุปกรณ์ ผูช้ ่วยฝ่ ายจัดซื้ อวัสดุและอุปกรณ์ หัวหน้าฝ่ ายการซ่ อมแซมและปรับปรุ ง ผูช้ ่วยฝ่ ายปรับปรุ ง ผูช้ ่วยฝ่ ายปรับปรุ ง ผูช้ ่วยฝ่ ายปรับปรุ ง


217 พันธกิจหลักของทีมงาน 1. สร้ า งพื้ น ที่ ก ารเรี ย นรู ้ ใ ห้ ท้ ัง นัก เรี ย นโรงเรี ย นวิ ถี พุ ท ธและเกษตรกรที่ เ ข้า ฝึ กอบรมหรื อดูงานในพื้นที่มูลนิธิ 2. ร่ ว มสร้ า งสิ่ ง ฐานทรั พ ยากรให้ ก ับ โรงเรี ย น เพื่ อ ให้ ส ามารถเป็ นโรงเรี ย น พึ่งตนเองได้ ทั้งด้านสื่ อการเรี ยน ห้องสมุด โรงครัว พื้นที่อาหาร 3. ฐานทรัพยากรต่างๆ ที่โครงการมอบให้ จะต้องมีคุณสมบัติเป็ นทั้งทรัยพากร และจะต้องสามารสร้างการเรี ยนรู ้ให้ได้นกั เรี ยนและกลุ่มเกษตรที่เข้าฝึ กอบรม ได้ 4. พื้นที่อาหารจะต้องถูกออกแบบให้โรงเรี ยนสามารถพึ่งตนเองได้ตลอดทั้งปี มี การจัดซื้ ออาหารให้กบั นักเรี ยนน้อยที่สุด ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ 1. จํา นวนผูม้ าใช้บ ริ ก ารห้อ งสมุ ด ภายในศู นย์ก สิ ก รรมธรรมชาติ ม าบเอื้ องมี จํานวนเพิ่มขึ้น 2. ห้องสมุดมีจาํ นวนหนังสื อ และการจัดเรี ยงที่สามารถเลือกใช้งานได้สะดวก 3. น้องๆโรงเรี ยนปูทะเลย์พึงพอใจต่อห้องสมุดหลังใหม่ ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1. ได้นาํ ความรู้จากการศึกษาทางทฤษฎี และได้นาํ มาปฏิบตั ิจริ ง 2. ได้เรี ยนรู ้ประสบการณ์การทํางานจริ ง ที่ไม่สามารถหาได้จากห้องเรี ยนในห้อง 3. ฝึ กทักษะกระบวนการคิด วางแผนการทํางาน


218 4. ฝึ กการทํางานเป็ นทีม รู ้จกั แบ่งหน้าที่การทํางาน

ข้ อมูลทางวิชาการ ปัญหาการอ่านของคนไทยในปั จจุบัน ประเทศ กํา ลัง เผชิ ญกับ ปั ญหาการไม่ รู้หนัง สื อซึ่ ง เป็ นอุ ป สรรคของการพัฒนา ประเทศ และความจําเป็ นที่จะต้องรู ้ หนังสื อขยายความหมายออกไปมากกว่าการรู ้หนังสื อธรรมดา จึงเป็ นเรื่ องที่เราต้องทําความเข้าใจใหม่ต่อความจําเป็ นของคนไทยในปั จจุบนั และต้องรณรงค์เพื่อ การรู้หนังสื อกันใหม่ การแพร่ ขยายอย่างรวดเร็ วของกระแสโลกาภิวตั น์ ที่นาํ ทั้งความเจริ ญก้าวหน้า และปั ญหาในกับทุกสังคม เป็ นสภาวะที่หลี กเลี่ ยงได้ยาก เรามีทางเลื อกไม่มากนักในการที่จะอยู่ ท่ามกลางกระแสดังกล่าว วิธีที่ดีที่สุดคือการปรับตัวอย่างเหมาะสมในกระแสดังกล่าว ซึ่ งต้องใช้ ความรู ้ อีกชุ ดหนึ่ งที่ไม่ใช่ การอ่านออกเขียนได้ธรรมดาแต่ควรจะเป็ น การรู ้ หนังสื อในระดับสากล (International Literacy) ซึ่ งเป็ นความรู ้ ที่จาํ เป็ นสําหรับการก้าวเข้าสู่ สังคมโลก ความสามารถทาง ภาษาจึงเป็ นประเด็นสําคัญของเรื่ อง Literacy ประการหนึ่ ง นอกจากนี้ โลกปั จจุบนั ยังต้องการการ สื่ อสารด้วยเทคโนโลยีอิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ โดยเฉพาะคอมพิ วเตอร์ ที่ ส ามารถสื่ อสารด้วยเครื อข่ า ย อินเทอร์ เน็ตด้วย ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีที่สามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้ สามารถที่ จะใช้เทคโนโลยีอื่น ๆ ที่ เก็บรวบรวมความรู ้ อยู่ในปั จจุ บนั เพื่อที่ จะนําความรู ้ มาใช้ จึงเป็ นความ จําเป็ นของการรู ้หนังสื อในระดับสากลด้วยในขณะที่เรากําลังจะก้าวเข้าสู่ เวทีโลกสู่ ความทันสมัย สู่ เวทีที่ตอ้ งแข่งขันกันด้วยปั ญญาเราจึงต้องการความสามารถที่สาํ คัญของการรู ้หนังสื อในระดับสากล คือความสามารถที่จะคิดวิเคราะห์โดยใช้ขอ้ มูลหลายด้าน คิดอย่างมีเหตุมีผล คิดถึงคนอื่น ๆ คิดถึง ผลที่จะเกิดขึ้นกับสังคม ครอบครัว คิดที่จะพึ่งตนเองและรู ้จกั พอเพียง ความรู ้ที่มีความสําคัญไม่นอ้ ย คือ การดํารงความเป็ นไทยที่มีเอกลักษณ์ มีความเป็ นตัวตนของเราที่สามารถปรับให้อยูร่ ่ วมกับคน อื่ น ๆ ในวัฒนธรรมที่ แตกต่างได้ด้วย เป็ นสิ่ งที่ จะต้องปลู กฝั งให้มนั่ คงและต้องถื อเป็ นประเด็ น สําคัญของการจัดการศึกษาที่จะทําให้เราเข้าสู่ สังคมโลกได้อย่างมีศกั ดิ์ศรี เป็ นไปได้ว่าแนวทาง หรื อการดําเนิ นการของโรงเรี ยนเหล่ านั้นคงมิ ได้ล้มเหลว ทั้งหมด เพราะการส่ งเสริ มการอ่านเป็ นกระบวนการที่ตอ้ งใช้เวลาต่อเนื่องยาวนาน ต้องใส่ ใจเอาจริ ง เอาจังกับการติ ดตามประเมิ นผล ทํา ให้เป็ นรู ปธรรมโดยครู ตอ้ งไม่ รู้สึกว่า เป็ นการเพิ่มภาระงาน หากแต่เป็ นสิ่ งที่ครู ตอ้ ง “พึงใช้” ในการจัดการเรี ยนการสอนร่ วมกันไป ครู ควรปรับปรุ งห้องเรี ยน สร้ างบรรยากาศให้น่าเรี ยน กระตุน้ ให้นกั เรี ยนสนุ กกับการเรี ยนรู ้ โดยการคิดค้นวิธีการสอนที่ให้


219 เด็กได้ฝึกคิด สื บค้น วิเคราะห์ บนพื้นฐานความรักและเมตตาต่อศิ ษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครู ตอ้ ง ปรับตัวอย่างรู ้ เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงภาวะแวดล้อมของสังคมและโลก การสรุ ปบทเรี ยน ถอด องค์ค วามรู ้ การสร้ า งความรู ้ ใ หม่ และการเผยแพร่ ถ่ า ยทอดความรู ้ แก่ ผูเ้ กี่ ย วข้อง เป็ นสิ่ ง ที่ ต้อง ดําเนินการไปพร้อมกับการส่ งเสริ มการอ่านกับกลุ่มเป้ าหมาย 6 เหตุผล ที่ "คนไทย" อ่ านหนังสื อน้ อยลง 1. พฤติกรรมคนไทยเปลี่ยน เมื่อไอทีเข้ามาแย่งเวลาคนเรามากขึ้น คนเรามี 24 ชม เท่ากัน ไม่มีใครมีมากกว่าหรื อน้อยกว่า แต่เมื่อ ipad , smartphone เข้ามาเป็ น ส่ วนผสมหลักของคนเรา ก็ทาํ ให้เราโดนแย่งเวลา จากการอ่านหนังสื อไป ได้มากทีเดียว คนไทยส่ วนใหญ่ เอา Tablet , Smartphone มาใช้งานในส่ วนของ บันเทิงมากกว่า อ่านหนังสื อ แม้วา่ จะสามารถนํามันมาเป็ นเครื่ องอ่าน E-book ได้ แต่เราพบว่า วัยรุ่ นไทยและวัยทํางานทัว่ ไปใช้งาน อุปกรณ์เหล่านี้กบั App. เกมส์ หรื อ Facebook , Youtube , Twitter , หรื อเข้าเว็บไซต์ ตอบอีเมลล์ มากกว่า รวมไปจนถึง ช่องรายการเคเบิ้ลมากมาย ที่แย่งเวลาคนไทยให้เสพ รายการดู มากกว่าอ่าน ก็พอจะทําให้เห็นว่า พฤติกรรมคนไทยโดนแย่งเวลาจาก หนังสื อมากแค่ไหน 2. ภารกิ จของผูค้ นบี บรั ดเวลา ต้องแย่งกันทํางานจน ไม่มีเวลาอ่านหนังสื อ คน ส่ วนใหญ่ในสังคมเมือง หรื อแม้แต่ในจังหวัดใหญ่ ๆ ทัว่ ไป คนต้องทํางาน หา เลี้ยงชี พ ตื่นแต่เช้าไปทํางาน รถติด เครี ยดกับงานที่ทาํ งาน กลับบ้านมาเหนื่ อย ล้า แค่เอาเวลานัง่ พัก กินนํ้า ดูทีวใี ห้หายเหนื่อย ก็หมดไปแล้ว ช่วงเวลากลางคืน จะเอาเวลาไหนไปอ่านหนังสื อ หรื อหาหนังสื อดี ๆมาอ่าน เมื่ อคนส่ วนใหญ่ ของประเทศใช้เวลาแบบนี้ ก็แน่นอนว่า โอกาสจะเข้าหาหนังสื อก็ยากขึ้นทุกที จะมีก็แต่คนประเภทที่ แม้จะเหนื่อยแค่ไหน ฉันก็จะต้องหาเวลาอ่านหนังสื อให้ ได้ มี ค วามมุ่ ง มัน่ ที่ จะหาเวลาอ่ า นให้ไ ด้ คนเหล่ า นี้ มี น้อยมาก แต่ ส่ วนใหญ่ เหน็ ดเหนื่ อยกับ การทํา งานที่ เคร่ ง เครี ย ดจน หาเวลาอ่ า นหนัง สื อไม่ ค่ อยได้ มากกว่า 3. การส่ ง เสริ ม จากภาครั ฐ ไม่ จ ริ ง จัง ยัง่ ยื น ทํา ไปแค่ " ผัก ชี โ รยหน้า " การที่ ประเทศเราเสนอตัว ให้ กรุ งเทพ เป็ น " เมืองหนังสื อโลก 2013 " เป็ นอะไรที่


220 ลวงโลกมาก ๆ สร้างภาพชัด ๆ สู ญเสี ยงบประมาณ ท้ายที่สุด ทําออกมาแล้ว คนรู ้ในวงกว้างไหม แล้วคนไทยรับรู ้ไหมว่า จัดแล้วได้อะไร มันทําให้คนไทย อ่านหนังสื อมากขึ้นหรื อ แค่การจัดฉากลวงตาตบตาชาวโลกเฉย ๆ เท่านั้นเอง เราไม่พร้ อมด้วยประการทั้งปวง แต่ก็อยากทํา ภาครั ฐไม่ได้จริ งจังในการทํา เรื่ อ งนี้ การสนับ สนุ น ให้ค นไทยอ่ า นหนัง สื อ สร้ า งห้อ งสมุ ด พัฒนาระบบ การศึกษาไทย ก็ยงั ทําไม่ได้เลย รัฐบาลทุกสมัยที่ผ่านมา ไม่เคยมีใครกล้าทํา เรื่ องนี้จริ งจัง เพราะคิดว่า โครงการพวกนี้ ทาํ แล้ว ตรวจสอบง่าย โกงกินลําบาก เพราะต้องทํางานกับมวลชนเยอะ ไม่คุม้ ที่จะทํา ไม่เห็ นผลงานในระยะสั้น ๆ เหมือน สร้างรถไฟฟ้ า สร้างถนน ให้จาํ นําข้าว ลดภาษีรถคันแรก บ้านหลังแรก เพราะเห็นผลไว ตัวเลขเศรษฐกิจพุ่งทันที ได้คะแนนประชานิ ยมดีดว้ ย แต่การ สนับสนุ นให้คนไทยอ่านหนังสื อ สร้ างชาติในระยะยาว สร้ างคุณภาพของคน ไทยในภาพรวม ซึ่ งมันจะย้อนกลับมาทําให้ โครงสร้างความคิดของคนไทย แข็งแกร่ ง 4. ราคาหนังสื อในปั จจุบนั แพง เกิ นกว่าจะซื้ อได้ปัจจัยนี้ ควบคุ มลําบาก เพราะ มัน แพงขึ้ น ตามกลไก ตลาดของราคา "กระดาษ" และต้น ทุ น ค่ า แรง ค่ า Production ของ สํานักพิมพ์ที่นบั วันจะแพงขึ้นเรื่ อย ๆ และมันเป็ นเหตุผลที่ทาํ ให้คนไทยอ่านหนังสื อน้อยลง เพราะไม่กล้าจะซื้ อหนังสื อ หรื อจะซื้ อแต่ละ ครั้ ง พิจารณาความคุ ม้ ค่าก่ อนซื้ อ เพราะราคาหนังสื อสมัยนี้ เห็ นราคาแล้วก็ ตกใจเหมือนกันในบางเล่ม อาจจะมีวธิ ี แก้ไขในเบื้องต้นก็คือ สร้างห้องสมุดให้ ประชาชนได้หยิบยืมอ่านกันได้มากขึ้น เข้าถึ งคนไทยในหลาย ๆ พื้นที่ หรื อ อาจจะให้ นัก อ่ า น ซื้ อ หนัง สื อ โดยตรงผ่ า น สํ า นัก พิ ม พ์ ไม่ ต้อ งผ่า น ร้ า น หนังสื อ ก็จะได้ราคาพิเศษกว่า ซื้ อหน้าร้ าน หรื อ อ่านจากทาง E-bookแทน เพื่อประหยัดเงิน และลดการใช้กระดาษแทน แต่ทุกวิธีมี ข้อดีขอ้ เสี ยในตัวของ มันเอง แต่สุดท้าย เรื่ องของ ราคาหนังสื อ ก็ยงั คงเป็ นปั จจัยสําคัญที่ทาํ ให้ คน ไทย เลือกที่จะซื้ อหนังสื ออ่าน อย่างคุ ม้ ค่าที่สุดอยู่ดี ทําไมรัฐบาลไม่อุดหนุ น เงินเข้ามาช่วยให้กลายเป็ นกองทุนหนังสื อ เหมือนกองทุนนํ้ามัน ทําให้ราคาถูก ลง แต่ก็อย่างว่า เดี๋ยวทําแล้วก็จะมีการคอร์ รัปชัน่ อีก กลายเป็ นช่องโหว่ได้ทุกที


221 5. ไม่ได้รับการส่ งเสริ มจากครอบครัวเพียงพอ ทุก ๆ ปี จะมีหน้าใหม่ของวงการ นักอ่าน เข้ามาเสมอ คือ คนรุ่ นใหม่ที่รู้จกั การอ่านหนังสื อ ซึ่ งหากไม่ได้รับการ ส่ งเสริ มจากครอบครัว ซึ่ งเป็ นหน่วยพื้นฐานสําคัญ ก็อาจจะทําให้ เด็กรุ่ นใหม่ โตขึ้นมา โดยอาศัยแต่เพียงการดู การฟั ง การเล่น เพียงอย่างเดี ยว โดยเฉพาะ แทบเลต ที่ แทบจะกลายเป็ นพี่เลี้ ย งเด็ก แล้วสมัย นี้ การอ่า นหนัง สื ออาจจะ เป็ นได้แค่ ความจําเป็ นในห้องเรี ยน และสําหรับการสอบเท่านั้น แต่ นิ สัยรั ก การอ่าน ไม่ได้ฝังเข้าไปใจสายเลือดของเด็ก ๆ เหล่านั้น ทําให้ การอ่าน จบอยู่ แค่ ห้องเรี ยน เท่านั้น ซึ่ งนั้น ไม่ควรเกิ ดขึ้นกับเด็กไทยของเราในยุคต่อ ๆ ไป หากครอบครั วไม่ ส่ ง เสริ ม สร้ า งบรรยากาศของการรั ก การอ่ า น หนัง สื อให้ เกิดขึ้น ก็ลาํ บากมากที่จะทําให้เด็ก ๆ เหล่านั้นโตขึ้นมาด้วยนิ สัยรักการอ่าน เรา จึงจะเห็นเด็กไทยหลาย ๆ คน หันไปทําอย่างอื่นแทน เพราะสนุ กกว่าง่ายกว่า เช่น เล่นเกมส์ iPad เล่น Facebook เข้าประกวดแข่งขันโชว์ร้องเพลง เต้นรํา 6. อุ ต สาหกรรมหนั ง สื อจะโดนทํา ลายด้ ว ยกัน เอง จากระบบทุ น นิ ย มเป็ น ผลกระทบเชิ ง ลู ก โซ่ ที่ เกิ ดขึ้ นมานานแล้วในแวดวงหนังสื อ คื อ การจัดงาน สัปดาห์หนังสื อครั้งใหญ่ ปี ละ 2 ครั้งที่ทาํ ให้ ร้านหนังสื อเล็ก ๆ ต้องทยอยปิ ด กิจการลงไปเรื่ อย ๆ เนื่ องด้วย คนหันไปซื้ อหนังสื อกันในงานส่ วนใหญ่เพราะ ลดราคา ประหยัด หลากหลาย มี ทุ ก สํา นัก พิ ม พ์ แต่ อี ก มุ ม หนึ่ ง มันทํา ลาย ระบบร้ านหนังสื อเล็ก ๆ ที่กระจายตัวทัว่ ไปในเมือง เมื่อขายหนังสื อไม่ได้ ก็ ต้องขาดทุน อยูไ่ ม่ได้ คนไทยก็เลยขาดโอกาสซื้ อหนังสื อใกล้บา้ น ต้องไปเดิน ซื้ อในห้างใหญ่ ๆ ร้ านเชนสโตร์ ดงั ๆ ซึ่ งร้ านเหล่านี้ มีอาํ นาจต่อรองสู ง มีทุน หนา แทบจะผูกขาดธุ รกิ จไปแล้ว มีคนเคยบอกไว้ว่า ร้ านหนังสื อเล็ก ๆ นั้น เปรี ยบเสมือน ห้องสมุดเล็ก ๆ ของชุ มชน เพราะคนเข้ามาแวะอ่าน แวะเปิ ดดู หนังสื อ ซึ่ งก็เท่ากับทําหน้าที่เป็ น " ห้องสมุด " ในคราบร้ านหนังสื อได้เป็ น อย่างดี43

43

พันทิพย์. 6 เหตุผลที่คนไทยอ่านหนังสื อน้อยลง[ออนไลน์] . 2556. แหล่งที่มาhttp://pantip.com,


222 การจัดหมวดหมู่หนังสื อ : ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบทศนิ ยมดิ วอี้44 (Dewey Decimal Classification) เรี ยกย่อๆ ว่า D.C. หรื อ D.D.C เป็ นระบบการจัดหมวดหมู่หนังสื อในห้องสมุดที่นิยมระบบหนึ่ ง คิดค้นขึ้นโดยชาวอเมริ กนั เมลวิลดิวอี้ ในขณะที่เขา กําลังเป็ นผูช้ ่วยบรรณารักษ์อยูท่ ี่วทิ ยาลัยแอมเฮอร์ ส (Amherst College) การจัด หมวดหมู่ ห นั ง สื อ ตามระบบทศนิ ย มของดิ ว อี้ แบ่ ง หนั ง สื อ ออกเป็ น หมวดหมู่ต่างๆ จากหมวดหมู่ใหญ่ไปหาหมวดหมู่ยอ่ ยต่างๆ หมวดใหญ่ การแบ่ ง หมวดหมู่ ห นัง สื อ ระดับ ที่ 1 แบ่ ง ตามประเภทของสรรพวิ ช า ใหญ่ๆ 10 หมวด โดยใช้ตวั เลขหลักร้อยเป็ นตัวบ่งชี้ 000 เบ็ดเตล็ดหรื อความรู ้ทวั่ ไป (Generalities) 100 ปรัชญา (Philosophy) 200 ศาสนา (Religion) 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) 400 ภาษาศาสตร์ (Language) 500 วิทยาศาสตร์ (Science) 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรื อเทคโนโลยี (Technology) 700 ศิลปกรรมและการบันเทิง (Arts and recreation) 800 วรรณคดี (Literature) 900 ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ (History and geography) หมวดย่อย การแบ่งหมวดหมู่หนังสื อระดับที่ 2 แบ่งออกเป็ นอีก 10 หมวดย่อย โดย ใช้ตวั เลขหลักสิ บเป็ นตัวบ่งชี้ รวมเป็ น 100 หมวดย่อย 000 คอมพิวเตอร์ ความรู ้ทวั่ ไป 010 บรรณานุกรม แคตตาล็อก 020 บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ 030 หนังสื อรวบรวมความรู ้ทวั่ ไป สารานุกรม 44

วิกิพีเดีย. ระบบทศนิยมดิวอี้[ออนไลน์] . 2556.แหล่งที่มาhttp://th.wikipedia.org


223 040 ยังไม่กาํ หนดใช้ 050 สิ่ งพิมพ์ต่อเนื่ อง วารสาร และดรรชนี 060 องค์การต่างๆ พิพิธภัณฑวิทยา 070 วารสารศาสตร์ การพิมพ์ 080 ชุมนุมนิพนธ์ 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสื อหายาก ________________________________________ 100 ปรัชญา 110 อภิปรัชญา 120 ญาณวิทยา ความเป็ นเหตุผล ความเป็ นมนุษย์ 130 จิตวิทยานามธรรม 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม 150 จิตวิทยา 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา 170 จริ ยศาสตร์ ศีลธรรม 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ ________________________________________ 200 ศาสนา 210 ศาสนาธรรมชาติ 220 ไบเบิล 230 เทววิทยาตามแนวคริ สต์ศาสนา 240 ศีลธรรมชาวคริ สต์ การอุทิศเพื่อศาสนา 250 คริ สต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบตั ิ 260 สังคมชาวคริ สต์ เทววิทยาทางศาสนา 270 ประวัติคริ สต์ศาสนา 280 นิกายต่างๆ ในคริ สต์ศาสนา 290 ศาสนาเปรี ยบเทียบและศาสนาอื่นๆ ________________________________________


224 300 สังคมศาสตร์ 310 สถิติศาสตร์ 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง 330 เศรษฐศาสตร์ 340 กฎหมาย 350 รัฐประสานศาสตร์ การบริ หารรัฐกิจ กองทัพ 360 ปัญหาสังคม การบริ หารสังคม สมาคม 370 การศึกษา 380 การพาณิ ชย์ การสื่ อสาร การขนส่ ง 390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา ________________________________________ 400 ภาษา 410 ภาษาศาสตร์ 420 ภาษาอังกฤษ 430 ภาษาเยอรมัน 440 ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส 470 ภาษาละติน 480 ภาษากรี ก 490 ภาษาอื่นๆ ________________________________________ 500 วิทยาศาสตร์ 510 คณิ ตศาสตร์ 520 ดาราศาสตร์ 530 ฟิ สิ กส์ 540 เคมี 550 วิทยาศาสตร์โลก 560 บรรพชีวินวิทยา 570 ชีววิทยา


225 580 พฤกษศาสตร์ 590 สัตววิทยา __________________________________ 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี 610 แพทยศาสตร์ 620 วิศวกรรมศาสตร์ 630 เกษตรศาสตร์ 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว 650 การจัดการธุ รกิจ 660 วิศวกรรมเคมี 670 โรงงานอุตสาหกรรม 680 สิ นค้าที่ผลิตจากเครื่ องจักร 690 การก่อสร้าง ________________________________________ 700 ศิลปกรรม การบันเทิง 710 ภูมิสถาปัตย์ 720 สถาปัตยกรรม 730 ประติมากรรม 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ 750 จิตรกรรม ภาพเขียน 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิ ก 770 การถ่ายรู ป ภาพถ่าย 780 ดนตรี 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา ________________________________________ 800 วรรณกรรม วรรณคดี 810 วรรณคดีอเมริ กนั ในภาษาอังกฤษ 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ 830 วรรณคดีภาษาเยอรมัน 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์


226 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส 870 วรรณคดีภาษาละติน 880 วรรณคดีภาษากรี ก 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ ________________________________________ 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว 920 ชีวประวัติ เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ 930 ประวัติศาสตร์ยคุ โบราณ 940 ประวัติศาสตร์ยโุ รป โลกตะวันตก 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก 960 ประวัติศาสตร์แอฟริ กา 970 ประวัติศาสตร์อเมริ กาเหนือ 980 ประวัติศาสตร์อเมริ กาใต้ 990 ประวัติศาสตร์ ส่วนอื่นๆ ของโลก การใช้ สีทาผนังภายในห้ องสมุด45 สี ทาภายในที่ได้รับความนิยมมีอยู่ 2 ชนิดคือ 1.สี ทาภายในแบบอะครี ลิค100% ช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการทํางานโดยจะทําให้สี ไม่หลุ ดร่ อนออกมาจากผนังได้ง่าย เพราะส่ วนผสมอะครี ลิคมีประสิ ทธิ ภาพในการยึดเกาะผนังได้ เป็ นอย่างดี นอกจากจะยึดเกาะได้เป็ นอย่างดีแล้วสี ทาภายในบ้าน ที่มีส่วนผสมของอะครี ลิคยังไม่ ก่อให้เกิดปั ญหาสี เป็ นฝุ่ นสร้างความเสี ยหายให้กบั ห้อง 2.สี ทาภายในบ้านแบบสี ดา้ น เหมาะกับการเลือกใช้ในที่ๆต้องการความรู ้สึกแบบ อบอุ่น เพราะสี ดา้ นนั้นจะดูสะอาด กระจ่างใส แต่ไม่กระจายแสงเท่าสี ทาภายในบ้านแบบกึ่งเงา ซึ่ ง 45

กระปุก.คอม. การใช้สีทาผนังภายในห้องสมุด[ ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มา http://health.kapook.com


227 เป็ นชนิ ดที่จะดูนวลเมื่อโดนแสงแดด สามารถเช็ดทําความสะอาดได้ง่ายมีความเงาเล็กน้อย ลื่นมือ และที่สาํ คัญทําความสะอาดได้ง่าย ฝุ่ นและมลภาวะจะไม่เกาะผนัง การเลือกสี ทาภายในที่มีส่วนผสมของอะครี ลิคแบบกึ่งเงานั้น ถือว่าเป็ นทางเลือกที่ ดีที่สุด กับห้องของเด็กที่อยูใ่ นวัยเรี ยนรู ้ เพราะสี ทาภายในบ้านแบบกึ่งเงานั้น มีประสิ ทธิ ภาพพิเศษ คือ สามารถดูแลรักษาทําความสะอาดได้ง่าย เช็ดล้างได้โดยที่สีไม่ซีดจางหรื อหลุ ดร่ อนซึ่ งเหมาะ สําหรับบ้านหรื อห้องที่มีเด็กในวัยซน ที่มกั จะพบปั ญหาการขีดเขียนผนังที่แก้ได้อยาก ดังนั้น การ เลือกตัวอย่างสี ทาภายในบ้านแบบกึ่งเงา จึงเป็ นตัวเลือกที่ดีที่สุดและเหมาะสมที่สุด สี ที่ทาผนังส่ งผลต่ออารมณ์ สี อ่อนๆจะช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย การทํางานที่ตอ้ งใช้ สมาธิ ควรเลือกสี ที่สุขุม ช่วยพักสายตา และไม่จดั จ้านสี ที่เลือกใช้ คือ สี เขียวเพราะเป็ นสี โทนเย็น และไม่ดูดแสง ทําให้ไม่สะท้อนเวลาแสงส่ องเข้ามา จึงทําให้สายตาได้พกั ผ่อน นอกจากนี้ พลังของ สี เขียวยังทําให้ประสาทสายตา และระบบประสาทได้ผอ่ นคลาย แถมยังช่วยให้ความดันโลหิ ตลดลง ได้อีกด้วย

แผนการดาเนินงาน 1. รับบริ จาคหนังสื อแบบเรี ยน 2. ปรับปรุ งพื้นที่เพื่อสร้างห้องสมุด 3. ปรับปรุ งทัศนียภาพทั้งบริ เวณภายในและภายนอกห้องสมุด 4. ติดตั้ง ประกอบและสร้างชั้นวางหนังสื อ 5. จัดเรี ยงระบบและหมวดหมู่หนังสื อ 6. ส่ งมอบห้องสมุดให้กบั น้องๆโรงเรี ยนปูทะเลย์


228

แผนผังการดาเนินงานในภาครวม (2D, 3D)

ภาพที่ 3 – 71 แผนผังการดําเนินงานในภาครวมของห้องสมุด

แผนงบประมาณ ตารางที่ 3 – 30 ตารางแผนงบประมาณค่าใช้ในการปรับปรุ งห้องสมุด ลาดับ

รายการ

1

ไม้อดั 1x1 เมตร สี ยอ้ มไม้ WOOD STAIN (ปริ มาณ) 1 แกลลอน เสื้ อนํ้ามัน 5x5 เมตร ประตูขนาดมาตรฐาน โปสเตอร์ ติดผนัง ชั้นวางหนังสื อสําเร็ จรู ป 8 ช่อง ชั้นวางหนังสื อสําเร็ จรู ป 4 ช่อง โต๊ะญี่ปุ่น

2 3 4 5 6 7 8 9

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางและ บริ หารจัดการ

ราคาหน่ วยละ จานวน หน่ วยนับ รวมราคา 470.00

1

แผ่น

470.00

1,100.00

8

แกลลอน

8,800.00

40.00 520.00 22.00 499.00 299.00 199.00

5 1 1 7 3 1

เมตร บาน แผ่น ชั้น ชั้น ตัว

200.00 520.00 22.00 3,493.00 897.00 199.00 3,000.00


229 ลาดับ

รายการ

ราคาหน่ วยละ จานวน หน่ วยนับ รวมราคา

สรุ ปยอดรวมงบประมาณ

17,601.00

การดาเนินงาน วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556 การปฏิบตั ิงาน - ทําความสะอาดพื้นที่โดยรอบห้องสมุด ปรับปรุ ง ทาสี ซ่ อมแซม ผนังและหลังคา วันเสาร์ ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556 การปฏิบตั ิงาน - ดําเนิ นการกิ จกรรมในวันแรกให้เสร็ จ ประกอบชั้นวางหนังสื อ คัดแยกหนังสื อที่ตอ้ งการเข้าห้องสมุด วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556 การปฏิบตั ิงาน - จัดเรี ยงหนังสื อตามหมวดหมู่ สํารวจความเรี ยบร้อยของงานและ ส่ งมอบงานให้กบั ศูนย์กสิ กรรมมาบเอื้อง ลงพื้นที่ช่วยกิจกรรมด้านอื่นๆ

ภาพที่ 3 – 72 ภาพห้องสมุดก่อนลงมือปฏิบตั ิจริ ง


230

ภาพที่ 3 – 73 ภาพการเก็บกวาดห้องสมุด

ภาพที่ 3 – 74 ภาพการทาสี และปรับปรุ งพื้นที่


231

ภาพที่ 3 – 75 ภาพการติดประตูหอ้ งสมุด

ภาพที่ 3 – 76 ภาพการทาสี ภายนอกห้องสมุด


232

ภาพที่ 3 – 77 ภาพการประกอบชั้นวางหนังสื อ

ภาพที่ 3 – 78 ภาพการเปลี่ยนป้ ายห้องสมุด


233

ภาพที่ 3 – 79 ภาพการคัดแยกหนังสื อเข้าห้องสมุด

ภาพที่ 3 – 80 ภาพการซ่อมแซมรู รั่วบนหลังดา


234

ภาพที่ 3 – 81 ภาพโบกปูนทําเสา

ภาพที่ 3 – 82 ภาพจัดเรี ยงหนังสื อเข้าชั้นวาง


235

ภาพที่ 3 – 83 ภาพปรับปรุ งทัศนียภาพห้องสมุด

แผนงบประมาณเปรียบเทียบค่ าใช้ จ่ายจริง ตารางที่ 3 – 32 ตารางสรุ ปงบประมาณค่าใช้จ่ายในการปรับปรุ งห้องสมุด ลาดับ

รายการ

1

ชั้นวางหนังสื อ 6 ช่อง

ราคาหน่ วยละ

จานวน หน่ วยนับ รวมราคา

549.00

6

ชั้น

3,294.00

1,736.00

-

-

1,736.00

149.00 229.00

3 4

วัสดุในการซ่อม(ไม้อดั ประตู ฯลฯ) โต๊ะญี่ปุ่น เสื่ อนํ้ามัน

1 1

โต๊ะ ผืน

149.00 229.00

5 6 7

*เพิ่มเติม(จากการพบสถานการณ์จริ ง) โปรเตอร์สื่อการเรี ยนรู้ 60.00 4 สติกเกอร์ 22.00 1 เสื่ อนํ้ามัน 320.00 1

โต๊ะ อัน ผืน

240.00 22.00 320.00

8

สี ทาผนัง

ถัง

1,800.00

2

600.00 สรุ ปยอดรวมค่าใช้จ่ายเงินสด

3

7,790.00


236 ตารางที่ 3 – 32 ตารางงบประมาณการจัดหา (การรับบริ จาค) ทีมห้องสมุด ลาดับ 1 2 3 4 5 6

รายการ สี ทาภายนอกและภายในชนิดเคลือบเงา จํานวน 1 กระป๋ องจาก การขอบริ จาค สี น้ าํ อะครี ลิคทาภายใน 1 กระป๋ องจากการขอรับบริ จาค แผ่นไม้(จากบริ เวณศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง) วัสดุอุปกรณ์(ทําการขอยืมจากศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง) อุปกรณ์(ทําการขอยืมจากผูป้ กครองของสมาชิกในกลุ่ม) หนังสื อ(จากการรับบริ จาคเพื่อนําเข้าห้องสมุด) หมวดสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม มูลค่าเต็ม(6,060 บาท) หมวดความรู ้ทวั่ ไป หมวดวิทยาศาสตร์ (30,749 บาท) หมวดธรรมะ หมวดสุ ขศึกษาและพละศึกษา (660บาท) หมวดสารสนเทศและเทคโนโลยี (980 บาท) หมวดอุดมศึกษา (970 บาท) หมวดพระราชิพนธ์และพระราชดําริ (1,453 บาท) หมวดนิทาน (2,262 บาท) หมวดบูรณาการความรู้ (780 บาท) หมวดคณิ ตศาสตร์ (12,413 บาท) หมวดท่องเที่ยว (4,119 บาท) หมวดภาษาไทย (5,397 บาท) หมวดภาษาอังกฤษ (3,127 บาท) หมวดหนังสื ออ่านนอกเวลา (17,534 บาท) หมวดศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี (1,157 บาท) สรุ ปยอดรวมงบประมาณ

จานวนเงิน 400.00 300.00 650.00 200.00 500.00 3,939.00 650.00 21,286.85 115.00 429.00 637.00 630.50 944.45 1,470.30 578.00 8,068.45 2,677.35 3,508.05 2,032.55 11,397.10 752.05 61,165.65


237

ข้ อมูลสื่ อการเรียนรู้ ทนี่ าเสนอไว้ ในพืน้ ที่ เพือ่ ผู้ฝึกอบรมทีม่ ูลนิธิมาบเอือ้ ง 1. ประชาคมอาเซียน (ASEAN community)46 เป็ นโปสเตอร์ สื่อการเรี ยนรู ้ที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับ 10 ประเทศสู่ 1 ประชาคม รายชื่อของ ประเทศที่อยูใ่ นประชาคมอาเซี ยน เมืองหลวง สกุลเงิน และจํานวนประชากรของแต่ละประเทศ 2. ยาเสพติด ภัยพิบตั ิร้าย ทําลายชีวติ โปสเตอร์ แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับยาเสพติดของประเทศไทยในปั จจุบนั บอกถึงโทษของ การใช้ ลักษณะผูต้ ิดยาเสพติด และวิธีการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เสี่ ยงต่อการทดลองสารเสพติด 3. การปลูกต้นไม้ โปสเตอร์ แสดงวิธีการปลูกต้นไม้อย่างง่าย สามารถทําได้จริ งในแต่ละครัวเรื อน แม้วา่ จะมี พื้นที่นอ้ ย วิธีดงั กล่าวจะสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้

สรุปผลการดาเนินงาน จากการทําโครงการย่อยปฏิบตั ิงาน การปรับปรุ ง และซ่อมแซมโรงเรี ยนปูทะเลย์ ศูนย์การ เรี ยนรู ้ กสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้ อง จังหวัดชลบุ รี ผลการดําเนิ นงานของโครงการเสร็ จสมบูรณ์ ทันเวลา 3 วัน และทําการส่ งมอบงานให้กบั อาจารย์ และนักเรี ยนของโรงเรี ยนปูทะเลย์ ณ วันที่ 15 กันยายน 2556 ผลตอบรั บ สํ า หรั บ การดํา เนิ น งานในครั้ งนี้ เป็ นที่ น่ า พึ ง พอใจเพราะน้อ งๆ โรงเรี ย น ดังกล่าวชื่ นชอบ และมีผลตอบรับที่ดีมาก การดําเนิ นการซ่ อมแซม จัดการปรับปรุ งทัศนี ยภาพ ทั้ง ภายใน และภายนอกทําให้ห้องสมุดมีความสะอาด และใช้งานได้สะดวก สี สดใส เหมาะแก่การใช้ งาน เป็ นไปตามวัตถุประสงค์และพันธกิจที่โครงการได้ต้ งั ไว้ ก่อนการปฏิบตั ิงานจริ งมีขอ้ บกพร่ องหลายจุด การทํางานร่ วมกันมีปัญหาให้ตอ้ งบริ หาร จัดการ ต้องมีการจัดทํางบประมาณ การทําการจัดซื้ อ และร่ วมกันประชุ มเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ 46

มหาวิทยาลัยอัชสัมชัญ. ประชาคมอาเซียน[ออนไลน์]. 2556. http://www.asean-community.au.edu

แหล่งที่มา


238 หลักของโครงการ ตลอดระยะเวลากว่า 3 เดื อนได้พ บข้อบกพร่ องทั้ง ของคณะของตนเอง และ ปั ญหาของการทํางานร่ วมกันเป็ นที ม การจัดหาเงิ นทุ น การบริ หารจัดการวางแผนงบประมาณ สําหรับโครงการ เมื่อถึงการปฏิบตั ิงานลงพื้นที่จริ งทั้ง 3 วันนั้นได้ผา่ นปั ญหาที่จาํ เป็ นต้องร่ วมกันแก้ไข ได้ พบกับการร่ วมมือร่ วมใจกันทั้งหมู่คณะ ของนิ สิตคณะบัญชี บริ หาร ปี 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา มีการแก้ปัญหาเฉพาะหา การศึกษานอกห้องเรี ยน ประสบการณ์ชีวิตที่ยากจะหา ได้ในชีวติ ประจําวัน การจัดการบริ หารต้นทุนเพื่อให้เป็ นไปตามการวางแผนตามงบประมาณ ผลการดําเนิ นงานโครงการผลสรุ ป ท้ายที่ สุ ดเป็ นผลสําเร็ จทั้งจาก ห้องสมุ ดที่ ส ามารถ ดําเนิ นงานได้เสร็ จตามกําหนดเวลา ผลการศึกษาในด้านการเรี ยนรู ้ ที่เพิ่มจากการเรี ยนรู ้ จริ งในการ จัดการบริ หารต้นทุน การบริ หารจัดการกําลังคนการ การวิเคราะห์และแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า การ ทํางานร่ วมกันเป็ นทีม และท้ายที่สุดการสร้างสิ่ งที่มีประโยชน์ให้ผอู ้ ื่น เพื่อสังคม และเพื่อตนเอง

รายงานการประชุมทีม กระบวนการจัดการศึกษาและกาหนดเวลา ตารางที่ 3 –33 ตารางรายงานประชุมทีมห้องสมุด

ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8

รายการ ศึกษาพื้นที่เบื้องต้น ประชุมวางแผนงานในภาครวม ประชุมภายในโครงการห้องสมุด นําแผนงานนําเสนออาจารย์ ประชุมภายในแก้ไขแผนงาน ประชุมเขียนแผนงานโดยสังเขป ปรึ กษางานกับอาจารย์ ศึกษาพื้นที่เบื้องต้นอีกครั้ง

ว/ด/ป ศ 21 มิ.ย. 56 ศ 28 มิ.ย. 56 อา 30 มิ.ย.56 พ 3 ก.ค. 56 พ 3 ก.ค. 56 ส 8 ก.ค. 56 พฤ11 ก.ค. 56 ศ 12 ก.ค. 56


239 ลาดับ 9 10 13 11 14 15 16

รายการ ประชุม ประชุมบอร์ ดบริ หาร ประชุมบอร์ ดบริ หาร ประชุมรวมภาค ประชุมรวมภาค ปรึ กษางานกับอาจารย์ เข้าพื้นที่ปฏิบตั ิงานจริ ง เข้าพื้นที่ปฏิบตั ิงานจริ ง เข้าพื้นที่ปฏิบตั ิงานจริ ง

ว/ด/ป พฤ18 ก.ค. 56 จ 19 ส.ค. 56 จ 19 ส.ค. 56 อ 20 ส.ค. 56 อ 20 ส.ค. 56 ศ 23 ส.ค. 56 ศ 13 ก.ย. 56 ส 14 ก.ย. 556 อา 15 ก.ย. 56

การฝึ กปฏิบัติบริหารโครงการ-ทีมสารสนเทศโครงการ ข้ อมูลเกีย่ วกับทีมงาน ทีมงานของเรามีท้ งั หมด22 คน โดยแต่ละคนมีหน้าที่ในการรวบรวมการจัดทําสารสนเทศ โครงการทีมงานของเรา แบ่งออกเป็ น 2 สายงานดังนี้ 1. สายงานรวบรวมเอกสารและประสานงานกับสายงานปฏิ บตั ิและบอร์ ดบริ หาร โดยจะ ทําการประสานงานกับสายงานปฏิ บตั ิ การต่างๆ เพื่ อทํา การจัดเก็ บรวบรวมวางแผน โครงการ ติดตามผลการปฏิบตั ิงาน และทําการสรุ ปผลในแต่ละส่ วนงาน 2. สายงานวิ เ คราะห์ ประมวลผลและศึ ก ษาข้อ มู ล อื่ น ๆที่ เ กี่ ย วข้อ งทํา การวิ เ คราะห์ ประมวลผลจากเอกสารที่ ได้รับ และทํา การศึ ก ษาข้อมูล หรื อเอกสารที่ เกี่ ย วข้องเพื่ อ ประกอบการจัดทําโครงการ และทําการเผยแพร่ ขอ้ มูลโครงการให้แก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง


240 สมาชิกทีมงาน

รหัสนิสิต 5430160644 5430160156 5430160610 5430160245 5430160849 5430160083 5430160202 5430160334 5430160342 5430160440 5430160580 5430160733 5430160857 5430160865 5430160229 5430160113 5430160369 5430160784 5430160946 5430160466 5430160172 5430160211

รายชื่อสมาชิก นางสาวยุวดี นางสาวชนิดา นางสาวภัสราภรณ์ นางสาวณัฐกมล

ฤทธิรงค์ ท้าวภุชฌงค์ สังข์สอาด เต่าทอง

ตาแหน่ ง หัวหน้า สมาชิก สมาชิก สมาชิก

นางสาวสุ ภาภรณ์ นางสาวจิตสุ ภา นางสาวชุติมา นายธนกร นายธนภัทร นางสาวนงลักษณ์ นางสาวพิมลพรรณ นางสาวศุทธินี นางสาวสุ มิตตา นางสาวสุ รีรัตน์ นางสาวณัฐกานต์ นางสาวจิระภิญญา นางสาวธนิตา นางสาวสาลินี นางสาวอาภากร นางสาวนริ ศร นางสาวชลทิชา นางสาวฐายินี

สุ ระเสน รุ่ งเรื อง จันทร์ ดา ลิจนั ทร์พร สิ ทธิ์ สิริโสภา วรพันธ์ สุ ขเกษม มีปัดชา โชติชนะ วรสุ ข แก้วหนูนา ผลศิลป์ ขาวเรื อง นิลแร่ อินละมัย เกษศรารัตน์ จิราพงษ์ ธาราฉัตร

สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก สมาชิก


241

กระบวนการดาเนินงาน 1. ประชุมสมาชิกเลือกหัวหน้างาน 2. จัดทําหัวข้อรายงานการศึกษา 3. รวบรวมข้อมูลของงานฝ่ ายปฏิบตั ิ 4. ทําการวิเคราะห์ขอ้ มูลภาพรวมเบื้องต้น เพื่อทําการศึกษาและแก้ไขงานเพิ่มเติม และ รายงานผล 5. แบ่งหัวข้อรายงานการศึกษาค้นคว้าให้สมาชิ กทําการศึกษาเพิ่มเติมจากฝ่ ายปฏิบตั ิและ วิเคราะห์และส่ งมาที่ศูนย์ขอ้ มูลกลาง 6. ทําการวิเคราะห์ ขอ้ มูลทั้งหมดก่อนวันทําการปฏิ บัติเพื่อประเมิ นผลออกมาในรู ปต้นทุนและ ผลตอบแทน 7. จัดเตรี ยมเอกสารสําหรับบอร์ดวิชาการ และจัดทําบอร์ด 8. วิเคราะห์ ประเมินผลโครงการ 9.

สรุ ปผลโครงการ

10. จัดทํารู ปเล่มรายงาน


242 พันธกิจหลักของทีมงาน 1. เพื่อจัดทําสารสนเทศวิชาการแผนและรายงานผลการดําเนิ นงานทั้งหมดของ โครงการ 2. สรุ ปผลรายงานการฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ สามารถจัดทําและสรุ ปผลรายงานผลการฝึ กปฏิบตั ิการบริ หารโครงการได้ทนั เวลา และมีประสิ ทธิภาพ ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1. สามารถให้ความรู ้และมีประโยชน์ต่อผูท้ ี่สนใจศึกษาและนํามาปฏิบตั ิ 2. สามารถประเมินผล และเป็ นแนวทางในกระบวนการจัดการศึกษาต่อไป

สรุปผลการดาเนินงาน จากผลการดําเนิ นงานของกลุ่มสารสนเทศตั้งแต่ก่อนวันปฏิบตั ิงานและหลังวันปฏิบตั ิงาน จริ ง อาจจะเกิดอุปสรรคบ้างในการจัดเตรี ยมเอกสารและการปรับเปลี่ยนหน้าที่ของแต่ละส่ วนงาน แต่อย่างไรก็ตามในการดําเนิ นงานแต่ก็ลุลวงไปด้วยดี เพราะทุกกลุ่มที่จดั ทํารายงานส่ งมายังกลุ่ม สารสนเทศในตอนแรกอาจจะไม่ตรงตามวัตถุ ประสงค์ที่กลุ่มสารสนเทศต้องการจึงทําให้กลุ่มเรา ทํางานหลายรอบไม่เป็ นที่น่าพอใจ แต่ทุกกลุ่มงานย่อยๆสามารถดําเนิ นการแก้ไขได้รวดเร็ ว และ ทันกาล กลุ่มสารสนเทศเองจึงได้ขอ้ มูล ที่ตรงตาม ความต้องการ และ ความถูกต้อง ของแต่ละกลุ่ม การดําเนินงานของกลุ่มเราจึงลุลวงไปด้วยดี สามารถจัดทําสารสนเทศให้กบั ทุกหน่วยงานได้ศึกษา อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล


บทที่ 4 ผลการดาเนินงานในภาครวม การดาเนินงานในช่ วงเตรียมการ ทีมบริหาร วางแผนการดําเนิ นโครงการในภาพรวม ประชุ ม หารื อ ถึ งปั ญหา แนวทางการ แก้ไขของแต่ละทีมงาน ติ ดตามปั ญหา ความคืบหน้าในแต่ละทีมและร่ วมวางแผนการเตรี ยมงาน ก่อนการเข้าพื้นที่จริ ง ทีมประชาสั มพันธ์ ดําเนิ นการและจัดทําเอกสารจัดหาทุนจากหน่ วยงานต่าง ทําการจัดทําโปสเตอร์ และเว็บประชาสัมพันธ์โครงการและเผยแพร่ ความรู ้ ทีมวางแผนกาลังคน วางแผนการจัด สรรคนก่ อ นการลงพื้ น ที่ จ ริ ง จัด ทํา กํา หนดการ และติ ด ต่ อ ประสานงานเรื่ องรถ อาหาร และประสานงานกับมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ ทีมสารสนเทศโครงการ รวบรวมข้อมูลเกี่ ยวกับรายการการฝึ กปฏิ บตั ิของสายงานปฏิ บตั ิข้ นั ต้นเพื่อจัดทํา รายงานการก่อนปฏิบตั ิช่วงก่อนการดําเนิ นการ และจัดเตรี ยมแบบประเมินสําหรับการประเมินผล โครงการในวันปฏิบตั ิพ้นื ที่จริ ง


244 สายงานปฏิบัติ จัดเตรี ยมงานในแต่ละส่ วนงานที่ได้รับมอบหมาย ทําการศึกษาพื้นที่จริ ง วิเคราะห์ พื้นที่ วางแผนการดําเนินงาน ศึกษาข้อมูลส่ วนที่เกี่ยวข้อง จัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์สาํ หรับการลงพื้นที่ ปฏิบตั ิในวันปฏิบตั ิจริ ง

การจัดกาลังคนในการเข้ าดาเนินงานจริง ตารางที่ 4 – 1 การจัดกําลังคนในการเข้าดําเนิ นงานจริ ง


245

กาหนดการเข้ าปฏิบัติการในพืน้ ทีจ่ ริง วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน 2556 เวลา 05.00 น. 06.00 น. 07.30 น. 07.45 น. 08.10 น. 08.20 น. 12.00 น. 13.00 น. 18.00 น. 19.00 น.

กิจกรรม เริ่ มรวมตัวและเช็คชื่อบริ เวณอาคาร 9 ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เดินทางถึงศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง เริ่ มพิธีเปิ ดโครงการสร้างพื้นที่อาหารโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ ประชุมจัดแบ่งงานและหน้าที่รับผิดชอบ แยกย้ายปฏิบตั ิงานที่ได้รับมอบหมาย พักรับประทานอาหารกลางวัน เริ่ มปฏิบตั ิงานในช่วงบ่าย เก็บอุปกรณ์ รวมตัวเช็คชื่ อสมาชิก และสรุ ปงานที่ได้ปฏิบตั ิไปแล้ว เดินทางกลับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วันเสาร์ ที่ 14 กันยายน 2556 เวลา 05.00 น. 06.00 น. 07.30 น. 08.00 น. 12.00 น. 13.00 น. 18.00 น. 19.00 น.

กิจกรรม เริ่ มรวมตัวและเช็คชื่อบริ เวณอาคาร 9 ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เดินทางถึงศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง แยกย้ายปฏิบตั ิงานในส่ วนที่ยงั ไม่สาํ เร็ จ พักรับประทานอาหารกลางวัน เริ่ มปฏิบตั ิงานในช่วงบ่าย เก็บอุปกรณ์ รวมตัวเช็คชื่ อสมาชิก และสรุ ปงานที่ได้ปฏิบตั ิไปแล้ว เดินทางกลับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


246 วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน 2556 เวลา 05.00 น. 06.00 น. 07.30 น. 08.00 น. 12.00 น. 13.00 น. 16.00 น. 17.00 น. 18.30 น.

กิจกรรม เริ่ มรวมตัวและเช็คชื่อบริ เวณอาคาร 9 ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เดินทางถึงศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง เริ่ มแยกย้ายเก็บงานที่ยงั ไม่เสร็ จให้เรี ยบร้อย พักรับประทานอาหารกลางวัน เริ่ มเก็บงานในช่วงบ่าย เริ่ มการส่ งมอบงานต่างๆให้กบั ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง พิธีปิดโครงการสร้างพื้นที่อาหารโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ สิ้ นสุ ดโครงการและเดินทางกลับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผลสั มฤทธิ์การดาเนินงานในภาพรวม 1. ผลสําเร็ จของงานได้ทาํ การส่ งมอบงานและพื้นที่อาหารให้แก่โรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ได้ทนั ตามแผนและกําหนดการที่วางไว้ 2. ผลการดําเนินงานเป็ นไปตามกําหนดการที่ได้วางแผนไว้ 3. ทุกฝ่ ายได้ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่มอบหมายให้บรรลุ วิสัยทัศน์ พันธกิ จ และวัตถุ ประสงค์ของ โครงการ 4. งบประมาณค่าใช้จ่ายในโครงการเป็ นไปตามแผนงานที่วางไว้ 5. น้องโรงเรี ยนปูทะเลย์ และทางศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้ อง มี ความพึงพอใจในการฝึ ก ปฏิบตั ิของโครงการและผลสําเร็ จของงานของโครงการ 6. ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการมี ความพึงพอใจในการฝึ กปฏิ บตั ิของโครงการและผลสําเร็ จของงานของ โครงการ


247

ภาพที่ 4 – 1 ภาพผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานทีมพื้นที่อาหารประเภทพืช


248

ภาพที่ 4 – 2 ภาพผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานทีมโปรตีนปลา


249

ภาพที่ 4– 3 ภาพผลสัมฤทธิ์ ทีมไข่ไก่ชีวภาพ

ภาพที่ 4 – 4 ภาพผลสัมฤทธิ์ทีมโรงครัวและไบโอแก๊ส


250

ภาพที่ 4 – 5 ภาพผลสัมฤทธิ์ทีมโรงครัวและไบโอแก๊ส

ภาพที่ 4 – 6 ภาพผลสัมฤทธิ์ทีมโรงครัวและไบโอแก๊ส


251

ภาพที่ 4 – 7 ภาพผลสัมฤทธิ์ทีมสื่ อการเรี ยนรู้

ภาพที่ 4 – 8 ภาพการส่ งมอบงานของทีมห้องสมุด


252

ภาพที่ 4 – 9 ภาพผลสัมฤทธิ์ทีมห้องสมุด


บทที่ 5 การประเมินผลการฝึ กปฏิบัติบริหารโครงการ ผลประเมินการเรียนรู้ การฝึ กปฏิบัติบริหารโครงการ จากผลประเมินผูเ้ รี ยนรู้การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการ จากการทําแบบสอบถามผูเ้ ข้าร่ วม โครงการจํานวน 167 คน โดยแบ่งเป็ นเพศชาย35 คนหญิ ง132 คน พบว่าผูเ้ ข้าร่ วมโครงการมี กระบวนการในการปฏิบตั ิงานตรงตามวัตถุประสงค์โครงการที่อยูใ่ นเกณฑ์ดีมาก ซึ่ งผูเ้ รี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจในงานก่ อนการปฏิ บตั ิงาน มี การกําหนดขั้นตอนการปฏิ บตั ิ งานที่มีความยืดหยุ่นและ สามารถปรับแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าให้เข้ากับสถานการณ์ได้ โดยมีการการมอบหมายหน้าที่ใน การปฏิ บ ตั ิ ง าน การดํา เนิ นการในช่ วงเวลาในการปฏิ บตั ิ งาน สถานที่ ใ นการทํา กิ จกรรมและสิ่ ง อํานวยความสะดวกมีความเหมาะสมในเกณฑ์ที่ดี มีความรู้ความเข้าใจในงานหลังการปฏิบตั ิงาน และมีความรู้ความเข้าใจทางการด้านเกษตรอินทรี ยแ์ ละการค้าเพิ่มมากขึ้นในเกณฑ์ที่ดี โดยสามารถ นําความรู ้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวติ ประจําวันได้และสามารถนําความรู ้จากการ เรี ยนการสอนมาประยุกต์ใ ช้ร่วมกับ การทํากิ จกรรมได้อยู่ใ นเกณฑ์ที่ ดีมาก นอกจากนี้ ผูเ้ ข้าร่ วม กิจกรรมยังมีความพึงพอใจในภาพรวมของงานที่ทาํ อยูใ่ นเกณฑ์ดีและมีความประทับใจในการร่ วม กิจกรรมในเกณฑ์ที่ดีมาก โดยสรุ ปผลประเมินการเรี ยนรู้การฝึ กปฏิบตั ิบริ หารโครงการในภาพรวม คิดเป็ นร้อยละ 86.44 ซึ่ งถือว่าอยูใ่ นเกณฑ์ที่ดีมาก


254

ทัศนคติ ความพึงพอใจ ของกลุ่มบุคคลต่ างๆ ทีม่ ตี ่ อการบริหารโครงการ ผู้บริจาค สนับสนุนโครงการ

ภาพที่ 5 – 1 ภาพคุณพีรพัฒน์ อุปมาสิ นธุ ผูบ้ ริ จาคและสนับสนุนโครงการ

“โครงการนี้ เป็ นโครงการที่ดี สามารถเพิ่มพูนประสบการณ์ ชีวิต นิ สิตได้เข้าปฏิ บตั ิจริ ง สร้ างทัศนคติ ในการทํางานเป็ นทีมได้อย่างดี การอยู่ร่วมกัน การร่ วมคิ ดร่ วมกันทํางาน และสร้ าง ความสามัคคี ได้รู้จกั การแบ่งงาน รวมถึงได้ทกั ษะในการประกอบอาชีพอีกด้วย”

ผู้ปกครองนิสิตทีม่ สี ่ วนช่ วยสนับสนุนการดาเนินงานโครงการของนิสิต

ภาพที่ 5 – 2 ภาพคุณประสาน มารศรี ผูป้ ครองของนางสาวณัฏฐิกา มารศรี “ จากการที่ลูกสาวผมได้มาบอกว่าจะไปสร้างเล้าไก่ ที่บา้ นบึง เนื่ องจากเป็ นโครงการของ วิชาที่เรี ยนอยู่น้ นั ผมได้ให้คาํ ปรึ กษาถึ ง วิธีการสร้ างเล้าไก่ แนะนําวัสดุ อุปกรณ์ ที่ตอ้ งใช้ในการ สร้าง วิธีการเลี้ยงไก่ เนื่ องจากผมเคยสร้างเล้าไก่และเลี้ยงไก่มาก่อน ผมจึงมีประสบการณ์ในด้านนี้ และได้บอกกับลูกว่าผมจะมาช่วยสร้างด้วย ใน วันที่ 8 กันยายน ผมกับลูกและเพื่อนๆที่มหาวิทยาลัย ได้ไ ปช่ วยกันปรุ งปรุ งพื้นที่ เพื่อเตรี ย มที่ จะสร้ างเล้า ไก่ ซึ่ ง วันนั้นก้อมี ก ันแค่ 8 คน แต่ ทุกคนก้อ ช่วยกันลงไม้ลงมืออย่างเต็มที่ ถึงจะมีบ่นๆกันบ้างก็ตาม และยังได้ความช่วยเหลือจากพี่อาสามาช่วย อีกแรง และผมได้มาช่ วยอี กในวันที่ 15 กันยายน ซึ่ งเป็ นวันที่3ของวันที่ ปฏิ บตั ิงานจริ ง ผมได้หา


255 อวนเก่าๆจากชาวประมงมาเพื่อล้อมเล้าป้ องกันสัตว์ปีกต่างๆ วันนั้นผมเห็ นเล้าไก่ที่เกื อบจะเสร็ จ สมบูรณ์แล้ว ผมได้ช่วยเก็บงานเล็กๆน้อยๆ ผมก็ไม่คิดว่าเด็กๆจะทํากันได้ เห็นแต่ละคนก็บ่นกัน ต่างๆนานๆ ทําไม่เป็ นกันบ้าง ไม่เคยทํากันบ้าง เหนื่ อยกันบ้าง แต่เมื่อผมได้เห็นงานที่มนั สําเร็ จผม จึงได้เห็นถึงความตั้งใจในการทําของเด็กๆ การที่เด็กๆช่วยเหลือกัน ช่วยกันทําคนละเล็กคนละน้อย จนสําเร็ จ มีเด็กๆกลุ่มอื่นที่งานของตัวเองเสร็ จแล้วก็มาช่วยกันทําเล้าไก่ เด็กๆมีน้ าํ ใจทํางานกันเป็ น ทีม ผมคิ ด ว่ า โครงการนี้ เป็ นโครงการที่ ดี เป็ นการฝึ กให้ นิ สิ ต ได้ ล งมื อ ปฏิ บ ัติ ง านเยอะ นอกเหนือจากที่เรี ยนในตํารา นิ สิตได้ทาํ อะไรที่ไม่เคยทํามาก่อน และอาจจะไม่มีโอกาสที่จะได้ทาํ อะไรแบบนี้เลยด้วยซํ้า ได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับการเกษตรที่มีความสําคัญอย่างมากต่อคนเราทุกคน ผมได้ เห็นถึงความตั้งใจของเด็กในการทํางานให้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย เห็นถึงความดีใจความภาคภูมิใจของ เด็กที่เห็นงานสําเร็ จ ถึงแม้จะมีบ่นเหนื่ อย บ่นยาก บ่นเบื่อ กันบ้างก็ตาม ได้เห็นเด็กๆกับอาจารย์ได้ ทํางานร่ วมกัน อาจารย์คอยช่ วยดูคอยให้คาํ ปรึ กษาต่างๆ และเด็กๆยังได้รับความช่ วยเหลื อจากพี่ นนท์ซ่ ึ งเป็ นพี่อาสาของที่ศูนย์กสิ กรรมนั้นถือเป็ นแรงสําคัญหลักในการประสบความสําเร็ จในครั้ง นี้ดว้ ย พี่เค้าคอยบอกว่าจะต้องทําอย่างไง ซื้ อของที่ไหนได้ พาเข้าป่ าไผ่ไปตัดไม้ คอยช่วยจนเล้าไก่ เสร็ จ สุ ดท้ายนี้ ผมรู ้ สึกดี ใจที่ได้มีส่วนร่ วมในการสร้ างเล้าไก่ ให้กบั โครงการดี ๆอย่างโครงการนี้ ครับ ”


256

ประธานมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

ภาพที่ 5 – 3 ภาพดร.วิวฒั น์ ศัลยกําธรประธานมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ ดร.วิวฒั น์ ศัลยกําธร เป็ นผูม้ ี บทบาทโดนเด่ นในการส่ งเสริ มกสิ กรรมธรรมชาติ และผู้ ขับเคลื่อนทฤษฎีเศรษฐกิ จพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ให้เป็ นจริ ง โดยมีส่วนร่ วมใน หน่วยงานองค์กรที่เกี่ยวข้องเป็ นจํานวนมาก ประวัติการศึกษา - ศิลปศาสตร์บณั ฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคําแหง - พัฒนบริ หารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริ หาร ศาสตร์ - ปริ ญญาดุ ษ ฎี กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ จากมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พิ บู ล สงคราม และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน


257 ประวัติการทางาน นายวิวฒั น์ ดํา รงตํา แหน่ งสุ ดท้ายก่ อนลาออกจากราชการ คื อ ผูอ้ าํ นวยการกอง ประเมิ น ผลงาน สํ า นัก งานคณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงานโครงการอัน เนื่ อ งมาจาก พระราชดํา ริ สํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี ลาออกมาเพื่ อ ขับ เคลื่ อ นทฤษฎี เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ให้เป็ นจริ ง ปั จจุ บ นั ดํา รงตํา แหน่ ง เป็ น ประธานสถาบันเศรษฐกิ จพอเพี ยง ประธานมู ล นิ ธิ กสิ ก รรมธรรมชาติ ที่ ป รึ ก ษาคณะกรรมาธิ การสิ่ งแวดล้อมวุฒิส ภา กรรมการที่ปรึ กษาสหกรณ์ เกษตรอินทรี ยส์ ุ รินทร์ จังหวัดสุ รินทร์ , กรรมการมูลนิธิสวัสดี , กรรมการชมรมเกษตรชี วภาพแห่ ง ประเทศไทย, ที่ปรึ กษา ชมรมกสิ กรรมธรรมชาติ ทุ่งวัวแล่ น จังหวัดชุ มพร, ที่ปรึ กษาโครงการ ส่ ง เสริ ม กสิ กรรมไร้ สารพิ ษวังนํ้าเขี ย วอันเนื่ องมาจากพระราชดําริ จังหวัดนครราชสี มา, รอง ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรี ยนนวมินทราชู ทิศเตรี ยมอุดมน้อมเกล้า และ อาจารย์พิเศษ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ (วิชาเศรษฐกิจพอเพียง) ในปี พ.ศ. 2547 นายวิวฒั น์เคยลงสมัครรั บเลื อกตั้งผูว้ ่า ราชการกรุ งเทพมหานคร ในนาม "กลุ่ ม กรุ งเทพสามัคคี" แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง ตาแหน่ งทางสั งคม (ปัจจุบัน) - ประธานมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ - ประธานคณะกรรมการสถาบันวิสาหกิจชุมชน - ที่ปรึ กษาคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อมวุฒิสภา - กรรมการที่ปรึ กษาสหกรณ์เกษตรอินทรี ยส์ ุ รินทร์ จังหวัดสุ รินทร์ - กรรมการมูลนิธิสวัสดี - กรรมการชมรมเกษตรชีวภาพแห่งประเทศไทย - ที่ปรึ กษาชมรมกสิ กรรมธรรมชาติทุ่งวัวแล่น จังหวัดชุมพร


258 - ที่ปรึ กษาชมรมกสิ กรรมธรรมชาติลาํ ปาง - ที่ ป รึ ก ษาโครงการส่ ง เสริ ม กสิ ก รรมไร้ ส ารพิ ษ วัง นํ้า เขี ย ว อัน เนื่ องมาจาก พระราชดําริ จังหวัดนครราชสี มา - ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรี ยนนวมินทราชูทิศเตรี ยม อุดม น้อมเกล้า ตาแหน่ งทางสั งคม (อดีต) - นายกสมาคมพัฒนาสังคม/ผูร้ ่ วมก่อตั้งสมาคมพัฒนบริ หารศาสตร์ (นิดา้ ) - ผูอ้ าํ นวยการสถาบันราชพฤกษ์ ผูร้ ่ วมก่อตั้งโครงการราชพฤกษ์ - กรรมการและผูช้ ่วยเลขาธิ การมูลนิธิสถาบันราชพฤกษ์ - ที่ปรึ กษา คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์สภาผูแ้ ทนราษฎร์ - ที่ปรึ กษามูลนิธิสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวติ - ที่ ป รึ ก ษารั ฐมนตรี ช่ วยว่า การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายประพัฒ น์ ปัญญาชาติรักษ์ - ที่ปรึ กษาผูอ้ าํ นวยการสถานี วิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่ อง 5 (พลโทสุ นทร โสภณศิริ) ประสบการณ์ทางานด้ านราชการประจา - ผู้อ ํา นวยการประเมิ น ผลและข้อ มู ล สํ า นัก งานคณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงานโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดํ า ริ (กปร.) สํ า นั ก นายกรัฐมนตรี


259 - หั ว หน้ า ฝ่ ายประสานงานโครงการพระราชดํ า ริ ภาค 1 สํ า นั ก งาน คณะกรรมการ พิเศษ เพื่อ ป ร ะ ส า น ง า น โ ค ร ง ก า ร อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พระราชดําริ (กปร.) สํานักนายกรัฐมนตรี - เจ้าหน้าที่วเิ คราะห์นโยบายและแผนกองประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ (กปร) สํานักนายกรัฐมนตรี - นักพัฒนาชุมชน กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย - กรรมการโครงการมักกะสันอันเนื่องมาจากพระราชดําริ - ที่ปรึ กษากองกําลังบูรพา กองทัพภาคที่ 1 - ที่ปรึ กษากิ ตติมศักดิ์ ประจําคณะกรรมาธิ การเกษตรและสหกรณ์ สภาผูแ้ ทน ราษฎร์ บทสั มภาษณ์ การเปิ ดพื้นที่ใ ห้ นิสิต จิ ตอาสาไม่ ว่า จะเป็ น เกษตรกร ประชาชนต่ า งๆเข้ า มาทา กิจกรรมในพืน้ ที่ อาจารย์มีความคิดเห็นอย่างไร ? “ ที่นี่เรามาทํา ชักชวนคนมาเสี ยสละ เราไม่ได้มาทําบริ ษทั ที่จะนํารายได้ กําไรไป ใช้ในการเสพสุ ข ไม่ใช่ วตั ถุ ประสงค์ ที่ นี่จึงพาคนมาเสี ยสละ เริ่ มจากผมทําให้ดู ผมเสี ยสละแรง กําลังกาย กําลังใจ กําลังทรั พย์และอื่นๆ เพราะเรามีความเชื่ อว่าโลกต้องการคนเสี ยสละ โลกไม่ ต้องการคนโลภ ขี้งก เอาเปรี ยบ โลกต้องการคนตั้งใจเสี ยเปรี ยบ ผมก็เริ่ มพิสูจน์ให้พวกเขาดูวา่ ทํา นาโดยไม่ตอ้ งใช้สารพิษเลยได้ แม้คนที่ไม่เชื่อก็จะพิสูจน์ให้ดูวา่ หลักคิดของพระเจ้าแผ่นดินในเรื่ อง การสร้ า งป่ าขึ้ น มา เพราะขณะนี้ มี ก ารเผาป่ า ตัด ไม้ข าย เพราะต้องการเงิ น เรารู ้ ว่า ต้นไม้เ พิ่ ม ออกซิ เจน เราก็ปลู กขึ้ นมา ซึ่ งเราเชื่ อว่ามันเป็ นบุ ญ บุ ญคื อประโยชน์ เพราะมนุ ษย์ สัตว์ โลกได้ ประโยชน์ แล้วก็ตอ้ งมาสร้ างอาหาร สร้ างนํ้า มีป่าแล้วดิ นจะดี ก็จะมีอาหารดี นํ้าดี ทุ กอย่างก็จะ สมบู ร ณ์ แม้ก ระทั่ง มี ย าดี ด้ว ย มัน จะเกิ ด ได้ก็ ต้อ งมี ค น เราก็ มี ศู น ย์ฝึ กผู ้ใ หญ่ ส ร้ า งคนไว้ก่ อ น หลัก สู ตรสั้ นๆและถ้า อยากให้ต่อเนื่ องยาวนาน ก็ ต้อ งมี หลัก สู ตรเด็ ก ๆก็ เลยต้อ งไปขออนุ ญาต กระทรวงศึกษาธิ การตั้งโรงเรี ยนปูทะเลย์นอ้ ยขึ้น ก็เกิดเป็ นโรงเรี ยนแล้วก็มหาวิทยาลัย เราก็เอาสิ่ งนี้


260 แทนที่เราจะอบรมแค่ไม่กี่วนั จะอบรมตั้งแต่อนุ บาลยันดอกเตอร์ ก็อบรมเรื่ องการเสี ยสละ เพราะ พระเจ้าอยูห่ วั ตรัสว่า Our loss is our games การเสี ยสละการพาคนมาเสี ยสละนี่แหละมันดี นี่คือสาร พระราชา คุ ณเป็ นคณะบัญชี ก็พาคนมาเรี ยนรู ้ นี่ เรากําลังทําบัญชี อาหาร อากาศ ต่อไปเราต้องซื้ อ อากาศกิ น เช่ น ถ้า เข้า ไปในเมื อ ง ถ้า ไม่ จ่ า ยค่ า ไฟ ค่ า แอร์ ก็ ไ ม่ มี อ ากาศหายใจ ถึ ง คุ ณ จะ high technology ขนาดไหนอะไรก็สู้ตน้ ไม้ไม่ได้ ไม่ว่าคุ ณจะเป็ นนักบัญชี วิศวะ หรื ออาชี พอะไร คุ ณ ต้องพึ่งธรรมชาติ เพราะฉะนั้นธรรมชาติจึงเป็ นเรื่ องใหญ่ เลยจึงต้องตั้งมูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติ เพราะกสิ กรรมนํามาซึ่ งอาหาร ยา และอากาศบริ สุทธิ์ มันเป็ นความจําเป็ น ” ถ้ าคนทัว่ ๆไปทุกคนสามารถเข้ ามาได้ หรือไม่ ? “ได้ คุ ณจะรํ่ารวยสักแค่ไหน ไฮเทคโนโลยีสักปานใด คุณก็ไม่สามารถหาใครมา ผลิ ตทุ กอย่างแทนต้นไม้ได้หรอก ให้เทคโนโลยีสูงส่ งปานใด คุ ณผลิ ตคนขึ้ นมาเป็ นคนไม่ได้ สู ้ ธรรมชาติไม่ได้ คุ ณผลิ ตต้นไม้แทน ผลิ ตอากาศแทน ผลิ ตยาแทนคุ ณทําไม่ได้หรอก ยังไงคุ ณต้อง พึ่งธรรมชาติ ไม่มีคุณจะเป็ นบัญชี วิศวะ หรื ออาชี พอะไร คุณต้องพึ่งธรรมชาติ ธรรมชาติเป็ นเรื่ อง ใหญ่ เราเลยต้องตั้งมูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติ เพราะกสิ กรรมนํามาซึ่ งอาหาร ยา และอากาศบริ สุทธิ์ มันเป็ นความจําเป็ น” ในการศึกษาดูงานคนทัว่ ๆไป ทุกคนสามารถเข้ ามาศึกษาดูงานได้ เลยหรือไม่ ? “ ได้เลย ขับรถดิ่งเข้ามาเลยก็ได้ แต่ก็จะไม่มีใครบริ การ เซอร์ วิส ถ้าคุณต้องการให้ คนที่ นี่พ าชมมี ก ารอธิ บ าย ก็ ต้องจองล่ วงหน้าเป็ นหมู่ค ณะ ถ้า มาเที่ ย วมาดู เลยก็ ได้อยู่แล้ว หรื อ นักศึกษาบัญชีอยากมาฝึ กงาน มาทํางานที่นี่ เรายังอ่อนเรื่ องการบัญชี การเงิน เราก็ยงั เรี ยนรู ้อยู่ ถ้ามี คนจบการศึ กษาแล้วมาช่ วยทํางานเรื่ องการบัญชี ก็จะมี ประโยชน์ ชาวบ้านถ้าได้เรี ยนรู ้ เรื่ องการ จัดการบัญชี มันก็จะเป็ นประโยชน์ เพราะฉะนั้นวิช าการเงิ น บัญชี ก็ จะมี ป ระโยชน์ วิช าพาณิ ช ศาสตร์ และการบัญชี ของเรามี 9 ขั้นของความพอเพียง ขั้นที่ 1 ทําอย่างไงให้มนั มีพอกิน ขั้นที่ 2 ทํา อย่างไงให้มนั มีของใช้พอ 3 ทําไงให้มีที่อยูอ่ าศัยพอ นี่ ยงั ไม่พูดถึงเงินเลยนะ ทําไงจะให้มีอากาศ บริ สุทธิ์ มีน้ าํ ดี ดินดีพอ 4พอ เป็ นพื้นฐานเหมือนบ้านที่มีเสาสี่ ตน้ แล้วหลังจากนั้นเมื่อเหลือกินเหลือ ใช้ มีที่อยู่อาศัยที่นี่ไม่ใช่ เฉพาะ ไม่กี่ครอบครัวเรานอนกันได้เป็ นร้ อยๆใช้ไหม เราเหลื อเฟื อ เราก็ สร้ างบุ ญ แบ่ง ปั นพ่อแม่ ครู อาจารย์ พระสงฆ์ เป็ นบุ ญ แล้วก็ ยกระดับ ขึ้ นเป็ นขั้นที่ 6 เป็ นทาน แบ่งปั นเพื่อมนุ ษย์ ขั้นที่ 7 ก็จะเป็ นการแปรรู ป เก็บรักษาไว้ได้นาน ขั้นที่ 8 เรี ยนรู้พานิ ชศาสตร์ และการบัญชี เมืองใดไม่มีพาณิ ชเลิ ศ เมืองนั้นย่อมขัดสน เมืองไทยไม่ตอ้ งการเป็ นเมืองขัดสน ก็


261 ต้องเรี ยนรู ้ พาณิ ชศาสตร์ และการบัญชี เรี ยนรู ้ การค้าการขาย แต่ว่าถ้าคนจ้องที่จะค้าขายอย่างเดี ยว โดยไม่เตรี ยมพื้นฐานเรื่ องกิ น เรื่ อง 7 ขั้น ซะก่อน โดยไม่สนใจ เอาจะจ้องอยูข่ ้ นั ที่ 8 ก็แปลว่า ไร้ ฐาน รากไม่มนั่ คง ต้นไม่ที่มีรากไม่มนั่ คง บ้านฐานไม่มนั่ คน คนขึ้นมาอาศัยไม่นานบ้านก็พงั ต้อง 7 ขั้น ให้มนั่ คงเสี ยก่อน แล้วค่อยมาขั้นที่ 8 พอค้าขายแล้วรวย เพราะพื้นฐานแข็งแรง รวยก็มกั จะไป สร้ างวัด โรงเรี ยน โรงพยาบาล สร้ างมูลนิ ธิช่วยเหลื อคน ที่นี่ทาํ ทุกอย่างเหมือนกันหมด แต่เราทํา แบบคนจน เราก็มีโรงเรี ยนแบบคนจน รับลูกคนจน ที่ไม่มีความสามารถ ไปเรี ยนที่ไหนไม่ได้ มา เรี ยนฟรี ” เด็กทีน่ ี่ทางมูลนิธิติดต่ อมาหรือติดต่ อมาเองคะ? “เค้ามาเอง รู ้กนั ว่าที่นี่รับ หลายคนเป็ นครู อาจารย์ อาจจะเบื่อ ไม่อยากให้ลูกเรี ยน อยู่ในระบบ คนเป็ นครู อยู่ในมหาวิทยาลัยนะ ไม่อยากให้ลูกเรี ยนอยู่ในระบบเหมือนที่ตวั เองเคย ผ่านมา เด็กบางคนก็ไม่พร้ อม มาอยู่เราก็ไม่ได้เก็บตังเค้า ก็ทาํ แบบคนจน ก็เลี้ ยงดูกนั สร้ างวัดขึ้น หลวงพ่อก็มาช่วยสร้างวัดขึ้น สร้างศูนย์ฝึก สร้างค่ายพักพิง เวลานํ้าท่วมกรุ งเทพ เราก็ต้ งั ใจว่าที่นี่จะ รับได้ 1,000 คน เราไม่เก็บเงินเก็บทองเค้านะ ก็อาศัยแรงบุญ แรงทาน ช่วยเลี้ยงดูกนั ” อยากทราบความคิดเห็นของอาจารย์ เกี่ยวกับกระบวนการศึกษาเนื่องจากปกติแล้ ว จะมีเพียงแค่ ให้ นิสิตทารายงาน อาจารย์ ร้ ู สึกอย่ างไรทีน่ ิสิตเข้ ามาปฏิบัติงานในมูลนิธิ? “ มีความรู้สึกที่ดีมากกับมหาลัยคุ ณ เพราะมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีเรื่ องดีๆที่ ผมประทับใจอยู่เยอะมาก แต่ก็มีเรื่ องไม่ดีที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็ นต้นกําเนิ ดที่ต้ งั ภาควิชา เคมีเกษตร และก็มีอิทธิ พลในการแพร่ ออกไปจนชาวบ้านมีสารพิษเต็มอาหารไปหมดเกิดอันตราย ก็เกิดจากมหาวิทยาลัยคุณเป็ นต้นกําเนิด แต่ดา้ นบวกก็เยอะ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขาสร้างสิ่ งดี งามให้กบั แผ่นดินมากมาย กิจกรรมนี้เป็ นกิจกรรมที่ผมรู ้สึกว่ามหาลัยทําเรื่ องดีๆ อย่างน้อยเราคิดว่า สิ่ ง ที่ คุ ณได้ท นั ที คุ ณได้ป ลู ก ฝั ง ทั้ง ทฤษฎี ทั้ง ความชํา นาญ ทั้งทักษะและทั้ง ปฏิ บ ตั ิ ก าร และใน ขณะเดี ยวกันมันปลูกฝั งความเสี ยสละไปพร้ อมกันนักศึกษา ครู บาอาจารย์นกั ศึกษา เด็กนักเรี ยน ของเราได้รับประโยชน์ ครู ก็ได้รับประโยชน์หรื อแม้แต่ชาวบ้านหรื อคนที่มาอาสาสมัคร ชาวบ้าน ที่มาเรี ยนรู ้ ก็จะเห็นการที่นกั ศึกษา ครู บาอาจารย์เป็ นตัวอย่างในการเสี ยสละ นัน่ แหละยิ่งกว่าสอน ด้วยปาก การที่มาทําให้ดูมนั ก็เป็ นตัวอย่างว่านักศึกษาเสี ยสละ ครู บาอาจารย์มาเสี ยสละ มันก็เป็ น ภาพที่ดีให้กบั คน เขาจะได้เอาอย่าง ไม่ใช่ นกั ศึกษาไปเล่นไฮโล ไปทําเรื่ องอบายมุข ไปตีกนั ไป แสดง ไปเต้นระบํารําฟ้ อนลอกเลียนแบบฝรั่ง ไปใช้ชีวิตหรู หรา คนยากคนจนเด็กบ้านนอกก็อยาก


262 เอาอย่างเหมือนกัน นี่ พอนักศึกษามาทําเรื่ องแบบนี้ วยั รุ่ นก็อยากเอาอย่างเรื่ องดีๆ ผมว่ามีคุณค่า มี ประโยชน์มากๆ ผมเห็นพวกคุณทํางานรู ้สึกประทับใจ ใครเป็ นคนคิดว่าเอาต้นเอื้อง หมายนาไปตั้ง ไว้หน้า ป้ ายมาบเอื้ อง คุ ณนี่ ฉ ลาด ผมยังคิ ดเลยไอเดี ยพวกคุ ณดี มากทําเป็ นซุ ้ม 2 ฝั่ งเอาต้นเอื้ อง หมายนาไปไว้ เพราะนี่ มนั คื อมาบเอื้ อง มาบที่เป็ นที่ ลุ่มตํ่า ที่ มีดอกเอื้ อง หมายนาเยอะก็เลยทํา สัญลักษณ์ เห็นแล้วผมรู ้สึกว่าพวกคุณทําด้วยใจ ไม่ได้มาทําด้วยคะแนนหรื อทําเพราะครู บงั คับมา หรื อบังคับมาแต่มาฟลุ๊ค แล้วเต็มใจเองไม่รู้ เห็นแล้วมันก็ประทับใจ รู ้สึกว่าดีมากเป็ นรู ปแบบการ จัดการศึกษาที่ดีมาก ” ระบบการศึกษาปกติ อยากถามความเห็นของอาจารย์ ว่าในกระบวนการศึกษา การ ทางานจริ งจะส่ งเสริ ม ประสิ ทธิ ภ าพและส่ งผลดี กว่ า การศึ กษาปกติ เช่ น ทารายงานอย่ า งไรใน ความคิดเห็นของอาจารย์ ? “ แน่นอน การเขียนรายงานบางคนอาจไปลอกมา ตัดแปะซึ่ งทําอะไรไม่เป็ น คุ ณ เรี ยนรู ้วธิ ี รักษาผลิตผลไม้ ผลิตอาหาร มนุษย์ตอ้ งกินอาหาร คุณเรี ยนวิธีผลิตอาหาร ของใช้ คุณท่อง มาได้ห มด ทั้ง ขั้น ตอนการทํา อธิ บ ายเป็ นเล่ ม เลย แต่ ท้ งั ชี วิต คุ ณ ไม่ เคยทํา เรี ย กว่า ไม่ มี ท ัก ษะ การศึกษามี 2 อย่างเท่านั้น คือ คุ ณต้องมีการปฏิบตั ิการ คุณต้องรู้สาระ และทักษะในการลงมือทํา ทักษะมันต้องเกิ ดความชํานาญ ชํานาญต้องเกิ ดจากการลงมือทํา นักศึกษาเข้าใจผิดว่าเกิ ดจากการ อ่านตํารามากๆ ซึ่ งที่นี่ให้น้ าํ หนักทักษะมากกว่าสาระ พอมีทกั ษะ สาระไม่ตอ้ งท่อง มันจําได้หมด เพราะทักษะมันจะทําให้คุณจดจํา คือ การที่พวกเราเข้ามา มาลงทําด้วยมือ ไม่วา่ จะเป็ นอะไรก็ตาม อย่างคุณเรี ยนบัญชีคุณก็ได้มีการคํานวณ ได้มีการวางแผน คุณต้องมีบญั ชี ของ บัญชี ค่าใช้จ่าย บัญชี อะไรมากมาย แล้วก็มาลงมื อปฏิ บตั ิ จริ ง ก็จะมี ทกั ษะในการพึ่งตนเอง เพราะว่าปรั ชญาของพระ เจ้าอยูห่ วั เหมาะกับโลกยุคที่เศรษฐกิจการเงินนี่กาํ ลังจะล้ม ระบบการเงินดอลล่าร์ กาํ ลังล้มอย่างหนัก เพราะฉะนั้นระบบการเงินเป็ นเป็ นระบบที่หลอกกันทั้งโลก คนก็เริ่ มรู ้ กนั แล้วว่าถูกอเมริ กนั หลอก พิมแบงค์มา แล้วก็มีทองมาเป็ น Backup เพราะฉะนั้นก็จะเจ๊ง บางคนรู ้ทนั ก็ไม่เอาเงินดอลล่าร์ จะ เอาเงินยูโร เงินบาท ถ้าคนไม่เชื่ อก็จบ ก็ไม่มีค่าอะไร เพราะฉะนั้นเงิ นดอลล่าร์ ก็ตกไปเรื่ อยๆ นี่ คือ สิ่ งที่ล่มสลายแน่นอน เพราะฉะนั้นการที่คุณมาเรี ยนรู ้การพึ่งตนเองด้านการสํารองความมัน่ คงด้าน อาหารให้แก่เด็กๆ นั้นคือจิตที่เป็ นทาน มันก็จะทําให้เรายิ่งให้ยิ่งได้ ทั้งหมดนี่ จะจริ งไหมมันก็ตอ้ ง พิสูจน์เรื่ องการลงมือทํา ว่าเราได้อะไรมาบ้าง เราเชื่ อในเรื่ องการให้ ที่นี่ก็เกิดมาจากการเชื่ อในเรื่ อง การให้ เราก็ทาํ กัน วางแผนว่าให้มากหรื อน้อยไปหรื อเปล่ าโบราณเค้าสอนว่าถ้ารู ้ จกั มีเมตตาจิ ต มิ ตรจะท่ วมบ้า น ถ้า เมตตาเกิ นประมาณจะพบอันธพาลทัว่ เมื อง นิ สิ ต : แล้วที่ มูล นิ ธิ มาการ วางแผนเรื่ องทรัพยากรอย่างไงบ้างคะ ในเมื่อทุกคนสามารถเข้ามาที่นี่หรื อศึกษาได้ตลอด คือทาง


263 มูลนิธิเองมีการวางแผนในเรื่ องนี้ อย่างไงบ้างคะ อาจารย์ยกั ษ์ : จะมีการวางแผนเป็ นระยะสั้น มีการ ปรับแผน ทบทวนแผน ทบทวนการปฏิบตั ิ มีมอเนเทอริ่ ง มีวางแผนระยะยาว ระยะกลาง มีหมด แผนระยะยาว 5 ปี 10 ปี 20 ปี ข้างหน้าจะทําอย่างไร ระยะกลาง 1-3 ปี เราจะทําอย่างไง แล้วก็แผน ระยะสั้น รายเดือน รายวัน รายสัปดาห์ ก็ตอ้ งทําเช่น จะมีอบรมพิเศษก็ตอ้ งวางแผนกัน แล้วก็มีการ ทบทวน มีการกํากับติดตามกันทุกวัน คือ เราทําทุกขั้นตอน ในเรื่ องแผนการเงิน เราก็เพิ่งประชุ มกัน เมื่ อกี้ น้ ี สรุ ปย่อๆ ให้ดูแต่ละแผนกๆ ดูบญ ั ชี กลาง บัญชี โรงเรี ยน บัญชี วดั บัญชี ชุมชน และบัญชี หน่วยย่อย เช่น บัญชี ฟาร์ มลงทุนเท่าไหร่ จะเอามาขายให้ศูนย์ บัญชี สุขภาพ ก็มีคอร์ ดสอบรมเรื่ อง สุ ขภาพเรื่ องบ้านดินก็จะมีบญั ชีของโครงการ คือ ทุกอย่างมีการวางแผนการทําบัญชี เราใช้หลักการ วางแผนสากล อาชีพหลักผมเป็ นอาชีพการวางแผน อยูส่ ภาพัฒน์ฯ วางแผนชาติ ภูมิภาค จังหวัด แม้ วางแผนในภาคเอกชน เรามีความชํานาญในการวางแผนระดับประเทศ พอย่อยไปในบริ ษทั หนึ่ งมัน ก็จะเล็ก จะง่าย แต่ก็ระเอียดอ่อน มันเป็ นความชํานาญเฉพาะทาง มีเทคนิ คเฉพาะ ในภาพรวมของ การวางแผนพัฒนาประเทศก็เอาเฉพาะทุกเทคนิ คย่อยๆมารวมกันให้ได้ ต้องดูระดับย่อยให้เป็ นด้วย มีรายละเอียดของมันเยอะ คือเป็ นอาชี พผม หากินจากการวางแผนทุกระดับ จากการวางแผนคนคน เดียว ครอบครัวเดียว บริ ษทั เดียว หรื อวางแผนทั้งเครื อ ทั้งจังหวัด ภาค และประเทศ จะต้องวางแผน อย่างไร นี่ ก็เป็ นเรื่ องที่ นกั วางแผนต้องทําเป็ น ก็จะเป็ นความชํานาญ เพราะทําเยอะ ก็จะมี ทฤษฎี ใหม่ ๆ ออกมา เราก็ จ ะได้เรี ย นรู ้ เราก็ ต้อ งแม่ นยํา ในทฤษฎี เรื่ องการวางแผน เวลาลงมื อปฏิ บ ัติ วางแผนจริ งๆ เราจะไม่หลงทาง บาลีเค้าว่าแม่นปริ ยดั และก็ปฏิบตั ิชาํ นาญ มีทกั ษะ ปฏิบตั ิก็ชาํ นาญ ทฤษฎีก็แม่นยํา อยากจะให้ อาจารย์ เสนอข้ อเสนอแนะ ถ้ าหากมีการจัดกิจกรรมในรู ปแบบนี้จะให้ มี การจัดกิจกรรมแบบไหนในกิจกรรมต่ อๆไป ถ้ าหากมหาวิทยาลัยของเราจะมีการจัดกิจกรรมมาอีก ? “ ผมเคยทํามาสมัยเป็ นนักศึ กษา เราก็จะไปทําการประชาสัมพันธ์ หรื อว่าไป สํ า รวจก่ อ นพาชาวค่ า ยไปทํา กิ จ กรรมร่ วมมื อ กั บ ชาวบ้ า น ในการออกไปสํ า รวจนั้ นมี ที ม ประชาสัมพันธ์ออกไป 5 คน ไปประชาสัมพันธ์ให้กบั คนที่จะต้องเกี่ยวข้องกับเราเบื้องต้นได้รับรู ้ แล้ว ก็ อ าจจะมี ก ลุ่ ม ชุ ม ชนก็ ต้อ งมองไม่ ช่ ว ยอะไรเฉยๆ ไม่ ช่ ว ยไม่ อ ะไร แล้ว ก็ มี ที ม ออกไป ประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนได้รู้ ชาวบ้านเขาจะได้มาช่ วยกัน ก็จะได้ประโยชน์ร่วมกัน ชาวบ้านจะ ได้ม าเรี ย นรู ้ จ ากพวกคุ ณ ด้ว ย คุ ณ มาทํา คุ ณ มี ค วามรู ้ เรี ย นรู ้ แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ชาวบ้า นก็ ม า แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ดว้ ยก็จะได้ประโยชน์ลึกขึ้นไปอีก นอกจากได้ประโยชน์ตรงๆกับศูนย์ ซึ่ งก็เป็ น ทางอ้อม คือ ชาวบ้านก็มาเห็ นก็ได้ประโยชน์อยูแ่ ล้ว แต่ระหว่างมาทําก็ไปชักชวนชาวบ้านมาเป็ น พลังร่ วมด้วย ผมว่ามันคงจะยิง่ ใหญ่ นอกนั้นก็ถือว่าดีมากแล้ว เห็นแล้วก็อนึ กถึงว่าสมัยเด็กๆเราก็มี


264 ทีม คือตั้งทีมขึ้นจากเวรเป็ นรายวัน ผมไปออกค่ายกันทีเดื อนครึ่ ง เดือนก็จะมีทีม ทีมนี้ ทาํ หน้าที่ 1 สัปดาห์ 7 วันออกไปทําประชาสัมพันธ์ ไปคุยให้ชาวบ้านได้เข้าใจว่าเรากําลังทําอะไรกัน เสร็ จแล้ว ก็อีก 7 วัน ก็จดั ที มซ้อนกันมา ทีมเก่าพาที มใหม่ไปรู จกั ก่ อนแล้วขยายผลไปเรื่ อย ซึ่ งเป็ นการไป เรี ยกว่าสื่ อสารองค์กร เดี๋ยวนี้ระบบบริ หารองค์กรทุกองค์กรบริ ษทั โดยเฉพาะบริ ษทั มักจะมีคนที่ทาํ หน้าที่สื่อสารองค์กร เราก็ทาํ หน้าที่สื่อสารองค์กรมหาลัยเรา มหาลัยเรามาร่ วมมือกับศูนย์น้ ี ร่ วมมือ กบค่ายศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติ มาทําค่ายกสิ กรรมมาทําอะไร ก็เป็ นการประชาสัมพันธ์ เป็ นการ สื่ อสารกับชาวบ้าน กับชุ มชนในพื้นที่และก็สื่อสารกับคนที่มาอบรมที่นี่นะ ว่านักศึกษามาทําอะไร กัน ก็จะมีกลุ่มทําหน้าที่สื่อสารประชาสัมพันธ์หรื ออะไรก็ตาม แล้วแต่จะเรี ยก แล้วแต่จะพัฒนามัน ก็น่าจะเป็ นประโยชน์ อย่างอื่ นก็ดีมาก ถ้าเติมตัวนี้ เข้าไปสื่ อสารให้คนได้รับรู ้ ประชาสัมพันธ์ให้ เข้า ใจและก็ม าร่ วมมื อกันก็ จะเกิ ดประโยชน์ ม ากยิ่ง ขึ้ น เหมื อนกับ โบราณบอกว่าก้ม หน้า ก้ม ตา ทํางานเงยหน้าดีกว่าก้มหน้าก้มตาทํางาน ขนาดทํางานก้มหน้าก้มตาไปพอเงยหน้าดูบอกชักชวนคน ไปด้วย โบราณจะสอนว่าทํางานเงยหน้าดีกว่าก้มหน้าก้มตาทํางาน ” สุ ดท้ ายอยากให้ อาจารฝากปรั ช ญาถึงนิสิตหรื อว่ าอาจารย์ ต่างๆที่เกี่ยวกับระบบ การศึกษาและก็การปฏิบัติงานในพืน้ ทีจ่ ริง ? “ ผมว่าปรัชญาการศึกษาของบ้านเรา ดั้งเดิมมาถือเป็ นระบบที่คลาสสิ กมาก คือเรา เอาจัดการศึกษา โดยเอาศาสนามาเป็ นตัวกํากับ ความรู ้ยงิ่ รู ้มาก ถ้าคุณธรรมตํ่าจะเกิดโทษ ถ้ารู ้นอ้ ย คุณธรรมตํ่าเกิดโทษน้อย ยิง่ รู ้มากความคุณธรรมก็ยงิ่ มากเท่าเทียมกัน เหมือนวัวเทียมเกวียน มันเดิน เร็ วมันจะเป๋ ไปเรื่ อย อีกตัวเดินเร็ วก็จะเป๋ ไป ก็เหมือนคู่หน้าคู่กนั ไป พระเจ้าแผ่นดินองค์น้ ี จึงบอกว่า “ความรู ้ ก ับ คุ ณธรรมมันเป็ นเรื่ องคู่ ก ัน มันเป็ นเรื่ องที่ ต้อ งไปด้ว ยกัน และมันจะนํา มาซึ่ ง ความ พอเหมาะพอดี ” ทุกอย่างมันจะพอดีๆ มันรวยก็ไม่ได้รวยเกินไป พอดีๆ มันมีความสุ ขมันก็ไม่ได้มี ความสุ ขจัดเกิ น เหมือนมันสุ ขพอดีๆอะไรมันพอดี มันพอเหมาะพอเจาะ พอเหมาะพอดีเหลือเกิ น มันจะเกิดได้ตอ้ งรู ้คุณธรรม แต่ถา้ เก่งมากมีรู้จบ ดร.10 สาขา ทําไรก็เชี่ ยวชาญหมดแต่เอาเปรี ยบคน ไม่ ซื่ อสั ตย์สุ จริ ต ให้เก่ ง ยัง ไงก็ ไ ร้ ค่ า เกิ ดโทษด้วยซํ้า ไป เพราะฉะนั้นทํา ยัง ไงถึ ง จะมี พ อเหมาะ คุณธรรมอะไร ความเพียร เก่งมากแต่ข้ ีเกียจ เจอปั ญหาอุปสรรควาง ท้อ มันก็ไม่สําเร็ จ ความสําเร็ จ ความพอดีมนั จะเกิดได้เพราะความเพียร เพราะฉะนั้นคู่น้ ี จะอยูต่ อ้ งจัดการศึกษาให้มีธรรม โรงเรี ยน ที่นี่หลวงพ่อต้องเอาธรรมก่อน ต้องทําให้คนเป็ นคนดี มีวินยั มาก่อน ต้องทําให้พึงตนเองได้ตามวัย สร้ างความพอเพียงเป็ นขั้นเป็ นตอน และต้องเชี่ ยวชาญสักอย่าง คนเชี่ ยวชาญเป็ นนักถ่ายภาพเก่ง ถ่ายภาพ คนนี้ เป็ นนักสัมภาษณ์ เก่งสัมภาษณ์ คนนี้ เป็ นนักบัญชี เก่งบัญชี คือเชี่ ยวชาญและมนุ ษย์ ถ้าไม่กตัญํูกตเวทีจบ ความเป็ นคนก็ไม่เหลื ออะไรแล้ว เพราะฉะนั้นการจัดการการศึกษาต้องมี


265 อย่างน้อย4อย่างนี้ นี่ คือการจัดการศึกษา ฉะนั้นจะทําสําเร็ จได้หรื อเปล่า ก็คือ การศึกษาไทยเราเอา ศาสนาเข้ามากํากับ คือเอาคุณธรรมมานํา แต่มหาลัยหลายๆแห่ง เดี๋ยวนี้ ไม่สนใจเรื่ องนี้ เลย ไม่สนใจ ว่านักศึกษาจะเป็ นคนดี มีศีล มีธรรม มีวินยั ไหม ประเด็นไม่เคยสอบด้วย คุ ณจะพึ่งตนเองได้เปล่า บางคนจบปริ ญญาโทยังพึ่งตนเองไม่ได้เลย พึ่งพ่อแม่ พึ่งคนอื่นอยูเ่ ลย พึ่งตนเองไม่ได้ทุกเรื่ อง และ เชี่ยวชาญ ไม่แน่ใจว่าเชี ยวชาญจริ งเปล่า จบปริ ญญาตรี จบปริ ญญาโท ไม่ตอ้ งพูดถึงกตัญํู ทิ้งบ้าน ทิ้งช่อง ทิ้งพ่อแม่ อกตัญํู แผ่นดินจะล่มสลาย กูไม่เกี่ ยว กูเอาตัวรอด เอารวย ทิ้งแผ่นดินตัวเอง อกตัญํู นัก ศึ ก ษาแบบนี้ ป ระเทศก็ ล่ ม จม นี่ คื อความพยายามของพระเจ้า อยู่หัวที่ พ ยายามบอก พยายามทําให้ดู เราก็เลยมาตั้ง2มูลนิ ธิ มูลนิ ธิเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ งพระเจ้าอยู่หวั ได้รางวัลชนะเลิ ศ ของโลก เรื่ องสร้ างมนุ ษ ย์ การศึ กษาคื อการพัฒนามนุ ษย์ พระเจ้าอยู่หัวได้รางวัลสู ง สุ ดในโลก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือปรัชญาการศึกษา ปรัชญาพัฒนามนุ ษย์ที่สําเร็ จสู งสุ ดในโลก นัน่ คือ สิ่ งที่พระเจ้าอยูห่ วั ได้รางวัลจาก UN. เราก็พยายามเอามาตั้งมูลนิธิเศรษฐกิจพอเพียงขึ้น และก็ต้ งั ที่ ประเทศไทยเราเด่ นเรื่ องกสิ ก รรมธรรมชาติ ก็ต้ งั มู ล นิ ธิ ที่ เด่ นที่ สุ ดในโลก คื อ มู ล นิ ธิก สิ ก รรม ธรรมชาติ เพราะเราเชี่ ยวชาญเรื่ องนี้ มานาน ก็เลยตั้งเป็ น 2 มูลนิ ธิ มูลนิ ธิหนึ่ ง เรี ยกว่า ตั้งเป็ น ประชาชนเถิ ดพระเกี ยรติ ด้วยการตั้งมูลนิ ธิดว้ ยการลงมือทํา คนอื่นเขาตั้งมูลนิ ธิหาเงิ น แต่เราตั้ง มูลนิธิลงมือทํา เราไม่ได้ต้ งั มูลนิ ธิหาเงินเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงและมูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติลงมือ ทํา สร้างความมัน่ คงด้านอาหารแบ่งให้กบั เพื่อนมนุษย์ ”


266

ผู้อานวยการศู นย์ มาบเอือ้ ง

ภาพที่ 5 - 4 ภาพคุณศลิษา ศัลยกําธรผูอ้ าํ นวยการมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ ตาแหน่ งและประวัติการทางาน พ.ศ. 2545-ปัจจุบนั

ผูอ้ าํ นวยการมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2542-2545 พ.ศ. 2553

วิทยาศาสตร์ บณั ฑิต (อนามัยสิ่ งแวดล้อม) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี การจัดการมหาบัณฑิต (การจัดและการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยบูรพา

บทสั มภาษณ์ การท าโครงการพื้น ที่ อ าหารให้ เ ด็ ก โรงเรี ย นปู ท ะเลย์ อยากให้ ผอ.ได้ แ สดง ความเห็นในการเปิ ดพืน้ ทีใ่ ห้ นิสิตเข้ ามาเรียนรู้ ในการทากิจกรรมต่ างๆ ? “พื้นที่ที่นอ้ งๆมาทําให้ก็เป็ นพื้นที่ที่เราตั้งใจจะบุกเบิกใหม่อยู่แล้ว และแปลงนั้น เป็ นแปลงที่เด็กโรงเรี ยนปูทะเลย์ค่อยๆริ เริ่ ม ก็ถือว่ามีประโยชน์มากๆเพราะเราก็มาช่วยพัฒนาพื้นที่ ที่เราวางแผนไว้และอีกอย่างเรามาทําเป็ นต้นแบบให้กบั เด็กๆ โดยการนําพื้นที่ที่รกร้างอยู่ นํามาทํา ให้เกิดประโยชน์ ก็รู้สึกดีใจมากที่นอ้ งๆมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มาช่วยทํา แล้วก็เป็ นกลุ่มที่สนใจ ด้วย โดยมาทําหลากหลายกลุ่มทั้งพืช ไก่ ปลา”


267 อยากให้ พี่เ สนอความเห็ นเกี่ยวกับ การจั ด กระบวนการศึ กษาที่ให้ มีการปฏิ บั ติ มากกว่าการทารายงานเพือ่ สร้ างเสริมประสิ ทธิภาพ ? “ ก็เหมือน 3 วันที่ทุกคนได้มาปฏิบตั ิจริ งก็เหมือนกับเราได้มีโอกาสทดลองทําสิ่ งที่ เราเรี ยนรู ้มาตลอดไม่วา่ จะเป็ นทักษะเบื้องต้น การคํานวณ การออกแบบหรื อการดูเรื่ องของต้นทุน ถึงแม้เราอาจจะไม่ได้เอาวิชาชี พมาใช้อย่างเต็มที่แต่เราก็ได้เห็นความเชื่ อมโยงในสิ่ งที่เราเรี ยน คน ต้องนําไปปฏิบตั ิ ใช้จริ งในวิถีชีวิต เราจะช่ วยเหลื อเขาได้อย่างไร เราก็เอาสิ่ งที่เรามีไปช่ วยเติมเต็ม และเราก็เอาสิ่ งที่ได้ลงมือมาปฏิบตั ิจริ งด้วย อาจจะได้มากกว่าสิ่ งที่อยู่ในตําราเพราะเราได้มาลงมือ จริ ง ได้มาสัมผัส บางครั้งเราอาจรู ้สึกว่าคําว่าอดทนมันอธิ บายได้ยาก แต่ถา้ เรามาปฏิบตั ิมนั ซึ้ งในใจ ของเรา บางคนได้มาแก้ปัญหา เพราะพื้นที่ก็ยงั ไม่ถูกเตรี ยมพร้ อมเลย เราก็ตอ้ งมาลุ ยตั้งแต่เริ่ มจน ออกมาประสบความสําเร็ จจนวันสุ ดท้าย พี่คิดว่าช่วงเวลาสั้นๆที่เราได้ลงมือทําและเรี ยนรู ้ กนั มันมี คุณค่ามาก ก็อยากให้เอาสิ่ งที่เรามาครั้งนี้ นํามาเป็ นบทเรี ยนแล้วกลับไปถอดบทเรี ยนร่ วมกันว่าเรา ได้อะไรไปจริ งๆ ” อยากให้ ผอ.บอก ถึงความรู้ สึกและความพึงพอใจในการดาเนินโครงการของนิสิต ทีไ่ ด้ เข้ ามา ? “ ความรู ้สึก พี่ได้เห็นถึงนํ้าใจของคนที่เป็ นนักศึกษา เราอาจจะเรี ยนในระบบแต่ เรายังไม่เห็ นถึงวิถีชีวิตของคนที่เป็ นเกษตรกรว่ามันยากลําบากขนาดไหน การที่พวกเราเอาตัวเอง ลงมาทดลองทํา ลงมาเรี ยนรู ้อย่างเต็มที่ก็ทาํ ให้เราเห็นนํ้าใจของคนที่มาทําด้วย แล้วก็ตวั เราเองก็ได้มี โอกาสเรี ยนรู ้ความรู ้สึกของคนในพื้นที่ดว้ ย ก็รู้สึกดีใจและยินดีมาก ที่ไม่วา่ จะเป็ นนักศึกษาหรื อว่า อาจารย์ ที่มาทํางานกันอย่างเต็มที่ในครั้งนี้ แล้วก็พ้ืนที่นอ้ งๆที่โรงเรี ยนปูทะเลย์ก็ดีใจมากๆทุกๆ วัน ก็ไปเก็บไข่ ร่ าเริ ง และรู ้สึกอยากจะทําต่อ เพราะรู ้สึกว่าพื้นที่น้ ี ไม่ใช่พ้ืนที่ของใครคนใดคนหนึ่ งแต่ เป็ นพื้นที่ที่คนหลายๆกลุ่มอยากจะมาเรี ยนรู ้ร่วมกันกับพวกเขามาช่วยทําไว้ให้ เขาก็ตอ้ งสานต่อแล้ว ก็ดูแลรักษาให้กบั พวกเรา ”


268 อยากให้ ผอ.ช่ ว ยเสนอแนะถ้ า ทางมหาวิทยาลัยด าเนิ นกิจ กรรมอย่ า งนี้อีกในปี การศึกษาถัดไป ? “โครงการนี้เป็ นโครงการที่ดีมาก จากที่เราไม่มีความรู ้ แต่วา่ ก็เป็ นบททดสอบที่เรา สามารถแก้ปัญหาได้ ก็คิดว่าอาจารย์ให้โจทย์มาดี มาก ถึ งแม้ว่าจะไม่มีพ้ืนฐานมาเลย สิ่ งที่อยากจะ เสนอแนะก็คือ เรื่ องของการเตรี ยมงานที่อยากจะให้เวลาที่เราจะได้เข้ามาคุยกันมากขึ้น เพื่อให้สิ่งที่ เรามาทําตรงกับความต้องการของพื้นที่ดว้ ย และพวกเราเองก็มีโอกาสเรี ยนรู ้จากพื้นที่ดว้ ย คือ เรามา ลุยงานอย่างเดียว ไม่มีโอกาสมาคุยงานร่ วมกัน ในสิ่ งที่เรามาทํา ก็อยากให้พวกเราเห็ นถึงคุณค่าว่า การปลูกมีประโยชน์อย่างไร ทําไมเราต้องปลูกแฝก” สุ ดท้ ายก็อยากจะผอ.ฝากเกีย่ วกับปรัชญาหรือแนวทางให้ กับอาจารย์ และนิสิต ที่จะ เข้ ามาร่ วมในการปฏิบัติงาน ? “ ที่นี่เราเป็ นมูลนิ ธิ เปิ ดรับให้คนที่สนใจเข้ามาเรี ยนรู ้อยูแ่ ล้ว ทุกกลุ่มเลยค่ะ ก็เป็ น พื้นที่ที่สอนปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง นอกจากเราจะสอนความรู ้ เราก็อยากทําพื้นที่ตรงนี้ ให้เป็ น พื้นที่ตน้ แบบ สิ่ งที่ทุกคนเข้ามาร่ วมกันเสี ยสละ เราไม่ได้มาเพื่อจะทํางานบางชิ้นสําเร็ จเท่านั้น งาน ที่พวกเราทําทุกคนมันมี คุณค่าให้กบั คนที่ อยู่ขา้ งหลัง เราเหมือนกับสร้ างตําราหนึ่ งเล่ มไว้บนพื้น แผ่นดิน บางคนเขียนตําราบนหนังสื อ แต่วา่ เราเขียนตําราบนพื้นดิน เราไม่ได้ใช้ปากกาเขียน แต่เรา ใช้จอบ เสี ยม ใช้มือทั้งสองในการช่วยกันสร้างพื้นที่ตรงนี้ ก็เห็นถึงความสําคัญ และคุณค่าในการ ทํางานครั้ งนี้ วันสุ ดท้ายที่เราประสบความสําเร็ จเราก็ได้คุยกันว่า คําพูดคํานึ งในเวลาที่ เราทํางาน แล้วท้อแท้ก็ให้เรากลับมาทบทวนเป็ นในเรื่ องของคําสอนของในหลวงว่าความขาดแคลนไม่เป็ น ปั ญหาถ้ามีปัญญา และความอดทน การทํางานในครั้งนี้ ก็ได้เห็นถึงการที่เราทําตามที่ในหลวงสอน แล้วมันระเบิดออกมาจากข้างใน มันออกมาจากสิ่ งที่เราอยากจะทํากันจริ งๆ ถึงแม้วา่ จะเป็ นโจทย์ที่ อาจารย์ให้มาอาจจะโดนบังคับมา พอทุกคนได้มาลงมือทํา ก็ทาํ แบบไม่มีขอ้ แม้เลย หลายคนทําโดย ไม่เกี่ ยงงาน มีการช่วยกัน นี่ แหละคือสิ่ งที่หาไม่ได้จากในตํารา แต่พวกเราให้โอกาสกันเองนัน่ คือ สิ่ งที่ดีมา นิ สิต : ทางมหาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชาก็ขอขอบคุณทางผอ. แล้วก็ทางมูลนิ ธิ กสิ กรรมธรรมชาติที่ได้เปิ ดมูลนิธิให้เราได้เข้ามาศึกษาเรี ยนรู ้พ้นื ที่จริ ง ขอบคุณค่ะ ”


269

อาสาสมัครมูลนิธิ

ภาพที่ 5 – 5 พี่มิตร อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง พีเ่ ป็ นอาสาสมัครมากีป่ ี แล้วคะ? “พี่เป็ นอาสาสมัครที่น้ ี มาหลายปี แล้ว แต่ถา้ เป็ นเครื อข่ายอาสาสมัครพี่เป็ นมา 3 ปี น่าจะได้ แต่ไปๆ มาๆ ที่น้ ีตลอด อยูท่ ี่น้ ีต้ งั แต่ตน้ เดือนมกราคม” พีร่ ้ ู สึกยังไงบ้ าง กับทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการบัญชี บริหาร มาจัดสร้ างโครงการพืน้ ทีอ่ าหาร และห้ องสมุดให้ โรงเรียนปูทะเลย์ ? “ก็ดีนะครั บ พี่ ว่ามันเป็ นโครงการที่ ดี เพราะอย่างเช่ นถ้าเป็ นห้องสมุ ด น้องๆ ก็ จะได้มี หนังสื ออ่านเพิ่มมากขึ้น ถ้าเป็ นภาคแปลงเกษตร ก็ดีที่มาปลูกไว้ ถ้าจะให้ดีมากกว่านี้ ก็ตอ้ งมาดูแล หลังจากนี้ ค้างสัก 1 เดื อนก็มา หรื อ 15 วันก็มาถ้ามีเวลาว่างก็มาดูผลงานของตัวเอง และมาดูเมล็ด พันธุ์ หรื อพันธุ์ไม้ที่เราปลู กไป มันเจริ ญเติ บโตมันได้ผลผลิ ตไหม หรื อว่าทําแค่โครงสร้ างเฉยๆ แล้วไม่มีผลผลิตเกิด พวกเราก็จะได้ภูมิใจกับทุนที่เราไปขอรับบริ จาค ที่เอามาเข้าโครงการ เอามา รวมเอามาร่ วมแรงร่ วมใจมาช่วยทําให้เกิดผล มันมีผลผลิตงามเราก็จะได้ดีใจ แล้วก็จะได้มีกาํ ลังใจ ก็จะเข้ามาทักทาย ไม่ใช่ มาแล้วก็ ปุ๊ บ! หายไปเลยไม่ได้มาดู ไม่ได้มาอะไร ก็มาดูผลงานของตัวเอง หลังจากนี้ ประมาณสัก 1 เดือน ก็น่าจะมีลูกบ้างล่ะ พริ กก็น่าจะมีลูกล่ะ เพราะต้นมันก็ใหญ่ล่ะที่เรา เอามาปลูก ระบบนํ้าอะไรเราก็วางดี เราก็มาดูโครงสร้างของเราว่า 1 เดือนผ่านไป โครงสร้างของเรา ที่สร้างออกไป อย่างเช่น บ่อปลา กระชัง เล้าไก่ ไก่ไข่ที่เอามาผลผลิตมันได้ไหม ประมาณนี้ ก็ลองมา ดู ”


270 พีม่ ีอะไรจะฝากถึงน้ องๆ สาขาการบัญชีทมี่ าวันนีไ้ หม คะ? “ก็รู้สึก ขอบคุณ ก็อยากให้พวกเราทําอย่างนี้ ทําต่อไปถึ งว่าเราจะ ถึ งว่าแรงงานของเราจะ ไม่ค่อยเก่ง ไม่เหมือนกันอยู่แล้วพี่ก็รู้ อย่างคนเรามันถนัดคนละด้านกัน มันไม่ได้ดา้ นเดี ยว อย่าง พวกพี่อาจถนัดด้านนี้ พี่ก็จะช่วยทําบางส่ วน ก็รู้สึกดีที่มาช่วยกัน ก็ดี อย่างเช่น ที่ก่อนเราจะมามันรก พวกเรามาทําให้มนั โล่ง อย่างถ้าพวกพี่ทาํ อยู่ 4-5 คน มันก็ใช้เวลาเยอะ อย่างที่พวกน้องมาช่วยทําก็ โอเค ก็เหมือนมาช่ วยหยิบจับอะไรอย่างนี้ มาช่ วยสร้ างให้มนั ดี ข้ ึน เราไม่ได้มาช่ วยทําลาย ก็รู้สึก ขอบคุณ และเยีย่ มมากเลยที่มากันใน 3 วันนี้ ถ้าเป็ น 1 อาทิตย์น้ ีจะยิง่ ดีเลย เยีย่ มใหญ่เลยครับ”

ภาพที่ 5 – 6 พี่นน อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง พีม่ าอยู่ทนี่ ีไ้ ด้ กปี่ ี แล้ วคะ? “พี่มาอยูท่ ี่น้ ีได้ประมาณ 2 ปี แล้วครับ ” พีร่ ้ ู สึกยังไงบ้ าง กับทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการบัญชี บริหาร มาจัดสร้ างโครงการพืน้ ทีอ่ าหาร และห้ องสมุดให้ โรงเรียนปูทะเลย์ ? “เกี่ยวกับห้องสมุดก็รู้สึกว่าดี ใจนะครับ เพราะว่าที่น้ นั ก็เห็นคนโน้น คนนี้ ก็มาทํากันหลาย คนแต่เค้าก็ทาํ กันไม่สําเร็ จ อยากจะช่วยแต่ก็พอถึงเวลาเมื่อช่วยเสร็ จ พอเหมือนเค้าไม่มีกาํ ลัง เสร็ จ แล้วเค้าก็ไป เค้าจะหาเรื่ องอุปกรณ์มาให้ปล่อยให้เราทําเอง ก็อาจจะช้า เพราะว่าเราคนของเราไม่พอ นะครับ ก็ดีใจนะที่นอ้ งๆ มาช่วยกันทํา ก็รู้สึกดี แต่มนั ก็คล้ายๆ ว่าเอาเด็กเรี ยนบัญชี มาฝึ กทําเกี่ยวกับ การช่าง มันก็ดู... คล้ายฝึ กตนมาอีกแบบหนึ่ งอนาคตข้างหน้าอาจจะ นึ กอยากทําอะไรของตัวเองก็ ทําได้ครับ”


271

ภาพที่ 5 – 7 พี่แมค อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง พีอ่ ยู่ทนี่ ี่มากีป่ ี แล้ วคะ? “อยูม่ าได้เกือบ 2 ปี แล้ว แต่รู้จกั กับที่น้ ีมาเกือบ 5 ปี แล้ว” พีร่ ้ ู สึกยังไงบ้ าง กับทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการบัญชี บริหาร มาจัดสร้ างโครงการพืน้ ทีอ่ าหาร และห้ องสมุดให้ โรงเรียนปูทะเลย์ ? “ก็ดีเหมือนเป็ นโครงการอาหารกลางวันของน้องๆนะครับ มีท้ งั ราวไก่บ่อปลาให้กบั น้องๆ ใช้เปล่าครับ” พีม่ ีอะไรจะฝากถึงน้ องๆ สาขาการบัญชีทมี่ าวันนีไ้ หม คะ? “ก็ขอบคุณน้องๆ ทุกคน น้องๆ มาช่วยกันทํางานก็เสร็ จเร็ วขึ้นครับ”

ภาพที่ 5 – 8 พี่ฝ้าย อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง อยู่ทนี่ ี่มากี่ปีแล้ วคะ? “พี่มาอยูท่ ี่น้ ีเกือบสิ บเอ็ดปี แล้วคะ”


272 พีร่ ้ ู สึกยังไงบ้ าง กับทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา สาขาการบัญชี บริหาร มาจัดสร้ างโครงการพืน้ ทีอ่ าหาร และห้ องสมุดให้ โรงเรี ยนปูทะเลย์ ? “พี่ก็รู้สึกดีที่นอ้ งมาช่วยงานทํา ทําให้สถานที่ดีข้ ึน ได้ฝึกในตัวน้องด้วย ได้ลงมือทําได้ ปฏิบตั ิ รู้สึกดีอยากให้มาอีกนะคะ” พีม่ ีอะไรจะฝากถึงน้ องๆ สาขาการบัญชีทมี่ าวันนีไ้ หม คะ? “ถ้าเป็ นไปได้อยากให้มีการจัดกิจกรรมแบบนี้ อีกค่ะ พี่น้ ียนิ ดีตอ้ นรับ ยังมีพ้นื ที่อีกเยอะที่ ต้องให้ช่วย”

ภาพที่ 5 – 9 พี่ยกั ษ์ อาสาสมัครศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง พีเ่ ป็ นอาสาสมัครมากีป่ ี แล้วคะ? “ประมาณสองปี ได้ครับ” พีร่ ้ ู สึกยังไงบ้ าง กับทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการบัญชี บริหาร มาจัดสร้ างโครงการพืน้ ทีอ่ าหาร และห้ องสมุดให้ โรงเรียนปูทะเลย์ ? “ห้องสมุดหรอ ก็ดีนะน้องก็ได้เรี ยนรู ้น้องจะได้มีหนังสื ออ่านนะครับ ดี แล้วละครับจะได้ ส่ งเสริ มการอ่านและรักเรี ยนนะครับ” พีม่ ีอะไรจะฝากถึงน้ องๆ สาขาการบัญชีทมี่ าวันนีไ้ หม คะ? “ทุกคนก็ต้ งั ใจทํางาน ก็ขอให้ได้เอทุกคน”


273

บุคคลทัว่ ไป ทัศ นคติ ความพึ ง พอใจ ของกลุ่ ม บุ ค คลทั่ว ไปที่ มี ต่ อ การบริ ห ารโครงการจากการทํา แบบสอบถามจํานวน 30 ชุด โดยแบ่งเป็ นเพศชาย 20 คน เพศหญิง 10 คน แบ่งตามอาชี พ เกษตรกร ประเภทการเกษตร 20 คนและอื่นๆ 10 คนผลประเมินบุคคลทัว่ ไปที่ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบ เอื้ อ ง พบว่ า บุ ค คลทั่ว ไป ได้รั บ รู ้ ข้ ัน ตอนการปฏิ บ ัติ ง านหรื อ กระบวนการ สามารถนํา มา ประยุกต์ใช้ได้จริ งอยู่ สามารถนําความรู ้ที่ได้รับมาถ่ายทอดให้บุคคลอื่นได้ ความเข้าใจในทฤษฎี ใหม่ ความรู ้ ที่ได้รับหลังจากการเข้าร่ วมกิ จกรรม อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง และ เป็ นทฤษฎี ใหม่ที่ นํามาใช้ได้จริ ง มี ความสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิ จพอเพียง ประโยชน์ที่ได้รับ จากการเข้าร่ วม กิ จกรรม ความพึ ง พอใจในภาพรวมของทฤษฎี ต่ า งๆ ภาพรวมของศู นย์ก สิ ก รรมหลัง จากการ ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง นิ สิ ต อ ยู่ ใ น เ ก ณ ฑ์ ดี แ ล ะ ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง นิ สิ ต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ภาพรวมทั้งหมดอยู่เกณฑ์ระดับดี แสดงให้เห็นว่า บุคคลทัว่ ไปที่อยูใ่ นบริ เวณศูนย์มาบเอื้องได้รับประโยชน์จากสิ่ งที่อาสาสมัครนิ สิต ได้ทาํ แม้จะไม่ได้ความรู ้ มากเท่าที่ควรแต่ก็สามารถนําสิ่ งที่นิสิตทําให้ไปใช้ประโยชน์ได้จริ ง โดย ภาพมี รวมเกษตรกรหรื อบุ คคลทัว่ ไปมี ทศั นคติ ความพึง พอใจ ของกลุ่ มบุ ค คลทัว่ ไปที่ มี ต่อการ บริ หารโครงการ ร้อยละ 71.38 ซึ่ งถือว่าอยูใ่ นเกณฑ์ดี ความคิดเห็นจากบุคคลทัว่ ไป

ภาพที่ 5 – 10 ภาพที่เผยแพร่ ลงสังคมออนไลน์ของทีมโปรตีนปลาพร้อมความเห็นของบุคคลทัว่ ไป โดยมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ


274

ภาพที่ 5 – 11 ภาพที่เผยแพร่ ลงสังคมออนไลน์ของทีมไข่ไก่ชีวภาพพร้อมความเห็นของบุคคลทัว่ ไป โดยมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

ภาพที่ 5 – 12 ภาพที่เผยแพร่ ลงสังคมออนไลน์ของทีมพื้นที่อาหารประเภทพืชพร้อมความเห็นของ บุคคลทัว่ ไปโดยมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ


275

ภาพที่ 5 – 13 ภาพที่เผยแพร่ ลงสังคมออนไลน์ของทีมพื้นที่อาหารประเภทพืชพร้อมความเห็นของ บุคคลทัว่ ไปโดยมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ

ภาพที่ 5 – 14 ภาพที่เผยแพร่ ลงสังคมออนไลน์ของทีมระบบนํ้าพร้อมความเห็นของบุคคลทัว่ ไป โดยมูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ


276

นักเรียนโรงเรียนปูทะเลย์ วชิ ชาลัย ทัศ นคติ ความพึ ง พอใจ ของนัก เรี ย นในโรงเรี ย นวิถี พุ ท ธปู ท ะเลย์ที่ มี ต่ อ การบริ ห าร โครงการจากการทําแบบสอบถามจํานวน 7 ชุ ด โดยแบ่งเป็ นเพศชาย 5 คน เพศหญิง 2 คน พบว่า น้องๆมีความเข้าใจในโครงการสร้างพื้นที่อาหารของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา โครงการสร้างพื้นที่อาหารการดูแลเลี้ยงไก่ ที่ได้นาเสนอข้อมูลไว้ อยูใ่ นเกณฑ์ที่ดีมาก และสามารถ ดูแล และสื บต่อการเลี้ ยงไก่ได้ในเกณฑ์ที่ดีมาก มีแหล่ งพื้นที่อาหารเพียงพอต่อความต้องการใน ระดับดีมาก จากที่เรา ได้ทาการเพิ่มพื้นที่อาหารให้ และเกิดการเรี ยนรู ้จากแหล่งพื้นที่บ่อเลี้ยงปลา ที่ สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่ตวั เองในระดับดีมาก โดยจากการเข้าไปปรับปรุ งพื้นที่ ห้องสมุด สามารถเข้าไปใช้งานห้องสมุดได้จริ ง มีความพอใจกับสื่ อการเรี ยนรู ้ที่เรามอบให้ในระดับ ดีมาก จากที่เราได้ทาการสร้ างพื้นที่อาหารให้ มีความเพียงพอต่อความต้องการบริ โภคในระดับที่ดี มาก มีความสามารถในการดูแลพื้นที่อาหารต่อจากเราได้ในระดับดี มาก และเกิดการเรี ยนรู ้ในการ สร้าง และพัฒนาของเศษอาหาร ให้การผลิตไบโอแก๊ส จากที่ทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขตศรี ราชาได้ทาการสนับสนุ นอุปกรณ์ครั วเรื อนและก่ อให้เกิ ดแหล่งเรี ยนรู ้ เพิ่มเติมในเกณฑ์ที่ดี มาก โดยในภาพรวมทัศนคติ ความพึงพอใจ ของนักเรี ยนในโรงเรี ยนวิถีพุทธปูทะเลย์ที่มีต่อการ บริ หารโครงการคิดเป็ นร้อยละ 87.27 ซึ่ งอยูใ่ นเกณฑ์ที่ดีมาก โดยมีขอ้ เสนอแนะในการกลับมาเยี่ยม และติดตามผลสมํ่าเสมอ

ภาพที่ 5 – 15 น้องมิน้ น้องๆ โรงเรี ยนปูทะเลย์ ที่ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง น้ องรู้ สึกยังไงบ้ าง ทีม่ าทาให้ ในวันนี?้ “ก็รู้สึกดี มากเลยคะ ที่มาทําให้ในวันนี้ ที่พวกพี่มาทําให้น้องก็รู้สึกว่าตอนแรกๆ ห้องสมุด เราก็ยงั ไม่ค่อยดีข้ ึน แต่พอพวกพี่มาทําก็รู้สึกว่าเป็ นเกียรติมากที่พวกพี่มาทําให้ ดีใจมากเลยที่พวกพี่ มาทําให้คะ”


277

สรุปผลโครงการในภาครวม โครงการการฝึ กปฏิ บ ัติบ ริ ห ารโครงการโดยมี ว ตั ถุ ป ระสงค์เ พื่ อ ให้ผูเ้ รี ย นได้มี ค วามรู้ ความสามารถทั้ง ทางทฤษฏี แ ละปฏิ บ ัติ จ ริ ง ตลอดจนปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มแห่ ง คุ ณ ธรรม เพื่ อ จัด กระบวนการเรี ยนรู้ให้เป็ นไปตามกระบวนทัศน์พระราชทานแห่ งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ที่วา่ " เรี ยนความรู ้ ทําการงานเสริ มสร้างความสามารถ และทําความดี" ซึ่งในกระบวนการปฏิบตั ิงานผูเ้ รี ยนได้นาํ เอาความรู้ความสามารถทางทฤษฏีมาประยุกต์ใน งานปฏิบตั ิต่างๆ ทั้งทางด้านการบริ หารจัดการ การบริ หารเชิ งกลยุทธ์ การประยุกต์ใช้ระบบต้นทุน ทางบัญชี ในการวิเคราะห์ เปรี ย บเที ยบ การหาแนวทางการลดต้นทุ น การแก้ไขปั ญหาให้เข้ากับ สถานการณ์ การฝึ กฝนทักษะทั้งทางด้านความเป็ นผูน้ าํ และผูต้ ามที่ดี กระบวนการการทํางานเป็ น ทีม รวมถึ งการปลูกจิตสํานึ กทางด้านคุ ณธรรม การช่ วยเหลื อสังคม การตอบแทนบุญคุ ณแผ่นดิ น ความเสี ยสละ รวมถึงเรี ยนรู ้ ถึงการเรี ยนรู ้ หลักการพึ่งพาตนเอง ตามแนวคิดเศรษฐกิ จพอเพียง ตาม วิถีกสิ กรรมธรรมชาติ โดยโครงการมี ก ารกํา หนดวิ สั ย ทัศ น์ เพื่ อ ร่ ว มสร้ า งพื้ น ที่ ก ารเรี ย นรู ้ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ โรงเรี ยนวิถีพุทธ เพื่อการพึ่งพาตนเอง ในพื้นที่มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ ศูนย์การ เรี ยนรู ้มาบเอื้อง ในวันที่ 13-15 กันยายน 2556 ผลการดําเนินงานของโครงการเสร็ จสมบูรณ์ทนั เวลา 3 วัน และทําการส่ งมอบงานให้กบั มูลนิ ธิกสิ กรรมธรรมชาติ มาบเอื้ องอาจารย์ และนักเรี ยนของ โรงเรี ยนปูทะเลย์ ณ วันที่ 15 กันยายน 2556 ซึ่ งได้เป็ น ไปตามพันธกิจของโครงการที่ได้กาํ หนดไว้ คือสร้ างพื้นที่การเรี ยนรู ้ ให้ท้ งั นักเรี ยนโรงเรี ยนวิถีพุทธและเกษตรกรที่เข้าฝึ กอบรมหรื อดูงานใน พื้นที่มูลนิธิ ร่ วมสร้างสิ่ งฐานทรัพยากรให้กบั โรงเรี ยน เพื่อให้สามารถเป็ นโรงเรี ยนพึ่งตนเองได้ ทั้ง ด้านสื่ อการเรี ยน ห้องสมุด โรงครัว พื้นที่อาหาร ฐานทรัพยากรต่างๆ ที่โครงการมอบให้จะต้องมี คุณสมบัติเป็ นทั้งทรัยพากรและจะต้องสามารถสร้ างการเรี ยนรู ้ให้ได้นกั เรี ยนและกลุ่มเกษตรที่เข้า ฝึ กอบรมได้ โดยพื้นที่อาหารจะต้องถูกออกแบบให้โรงเรี ยนสามารถพึ่งตนเองได้ตลอดทั้งปี มีการ จัดซื้ ออาหารให้กบั นักเรี ยนน้อยที่สุด ซึ่ งในแต่ละโครงการย่อยก็สามารถปฏิบตั ิงานได้เป็ นไปตาม วิสั ยทัศน์ พันธกิ จ วัตถุ ป ระสงค์ ของแต่ ละโครงการ โดยในภาพรวมของทั้ง โครงการสามารถ ปฏิ บตั ิงานได้ประสบผลสําเร็ จตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุ ประสงค์โครงการ โดยจะส่ งผลให้ ผูเ้ รี ย นสามารถนํา ความรู้ ที่ ไ ด้จ ากการเรี ย นการสอนในเชิ งทฤษฎี ใ นห้อ งเรี ย น สามารถนํา ไป ประยุกต์ใช้กบั กระบวนการทํางานได้จริ ง และเป็ นการปลู กฝั งคุ ณธรรมในการดําเนิ นชี วิต ตาม


278 กระบวนทัศน์พระราชทานแห่ งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ที่ว่า " เรี ยนความรู ้ ทําการงาน เสริ มสร้างความสามารถ และทําความดี"


279

บรรณานุกรม พัชนิ จ เนาวพันธ์. 2549. บัญชี เพื่อการบริ หารธุ รกิ จ ตามแนวคิดกระบวนการจัดการเชิ งกลยุทธ์ . กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . วรรณิ การ์. การบริ หารงานด้วยวงจรเดมมิ่ง. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.gotoknow.org/posts/199353 (24 กันยายน 2556). กรมนักเรี ยนนายเรื ออากาศรักษาพระองค์. การจัดการเชิงกลยุทธ์. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.aircadetwing.com/index.php?lay=shoe&ac=article&Id=537485&Ntype. (24 กันยายน 2556) ธนะเดช. การบริ หารงานเป็ นทีม (Team Work). [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.gotoknow.org/ posts/298475. (24 กันยายน 2556). พิริยะ อุทโท. (2556). การบริ หารโครงการ.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.phiriya.com/words/admin/admin005.pdf,(23 กันยายน 2556). ธนาคารจิตอาสา. ศูนย์การเรี ยนกสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้อง.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://jitarsabank.com/organization/view/88. (20 กันยายน 2556). บ้านไร่ ศรี สุทศั น์. ระบบเกษตรผสมผสาน และระบบไร่ นาสวนผสม[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://sites.google.com/site/banraisrisutus/kestr-phsm-phsan. (20 กันยายน 2556). ประชาไท. ระบบอาหารที่ดีตอ้ งสร้างเอง. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://prachatai.com/journal/2013/03/45695. (20 กันยายน 2556). ผูจ้ ดั การออนไลน์. เปิ ดวิถีไข่อารมณ์ดีที่ “อุดมชัยฟาร์ม”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9520000018883. (05 กันยายน 2556). มูลนิธิกสิ กรรมธรรมชาติ. กสิ กรรมธรรมชาติ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.agrinature.or.th/category/องค์ความรู้/กสิ กรรมธรรมชาติ. (05 กันยายน 2556).


280 รักบ้านเกิด. การจัดการฟาร์ มเลี้ยงไก่ไข่แบบฟาร์ มเปิ ดด้วยนํ้าหมักเอนไซน์ทดแทนการใช้เคมี. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=2802&s=tblanimal. (05 กันยายน 2556). รักบ้านเกิด. การเลี้ยงไก่ไข่ดว้ ยหญ้าสด ช่วยให้แม่ไก่ออกไข่สมบูรณ์ ไข่ดกมีคุณภาพดี. [ระบบ ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=4208&s=tblanimal, (05 กันยายน 2556). รักบ้านเกิด. เทคนิคการทําให้ไข่เป็ ด ไข่ไก่ ไข่แดงใหญ่และมีคลอเรสเตอรอลตํ่า. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=3917&s=tblanimal, (05 กันยายน 2556). รักบ้านเกิด. เทคนิคการเสริ มความแข็งแรงไก่ไข่ดว้ ยซ้าหอย.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=3055&s=tblanimal, (09 กันยายน 2556). รักบ้านเกิด. โรคและการป้ องกัน.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=3111&s=tblanimal. (09 กันยายน 2556). รักบ้านเกิด. โรงเรื อนไก่ไข่.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=0144&s=tblanimal. (09 กันยายน 2556). รักบ้านเกิด. เลี้ยงไก่ไข่ดว้ ยผักตําลึงช่วยให้ไก่ไข่ฟองโต. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=3584&s=tblanimal. (09 กันยายน2556). สํานักงานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดลําปาง. สร้างภูมิคุม้ กันโรคให้เป็ ด-ไก่ในรู ปแบบปศุสัตว์ อินทรี ย.์ [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.korsorlampang.com/?name= knowledge&file= readknowledge&id=70. (10 กันยายน 2556). สํานักงานปศุสัตว์จงั หวัดฉะเชิงเทรา. การเลี้ยงไก่ไข่อินทรี ยแ์ บบปล่อย.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.dld.go.th/pvlo_ccs/index.php?option=com_content&view=article&id=134:freerange-Organic. (10 กันยายน 2556). กระทือ. 2553. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.angelfire.com/ri2/rangsan/lists.html. (22 มิถุนายน2556).


281 สามารถ เศรษฐวิทยาการ. ปลูกมะนาวในห่วงซี เมนต์ . [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.gotoknow.org/posts /340671. (27 มิถุนายน 2556). การเพาะถัว่ พู. 2553.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://xn--n3cq0a2b3b5e.blogspot.com/2012/05/ blog-post.html. (21 มิถุนายน 2556). การเพาะปลูกนํ้าเต้า. 2551.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.legendnews.net/index.php?lay=show &ac= article&Id=539365798&Ntype=88. (23 มิถุนายน 2556). การปลูกบวบหอม.2550.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มาhttp://alangcity.blogspot.com/2013/06/blogpost_10.html. (23 มิถุนายน 2556). มะละขี้นก. 2551. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.the-than.com/samonpai/sa_24.html. (25 มิถุนายน 2556). ทีรภาวดี บัณฑิต. ผักคะน้า. 2553. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

http://theerapawadee.blogspot.com/2012/01/blog-post.html. (24 มิถุนายน 2556). สมชาย ใจเที่ยง. เครื่ องมือและอุปกรณ์การเพาะปลูกพืช. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.school.net.th/library/ create- web/10000/generality/10000-6632.html. (28 มิถุนายน 2556). ไร่ กล้อมแกล้ม. พืชตระกูลส้ม .2551. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.kasetloongkim.com/modules.php?name =Content&pa=showpage&pid=107&page=4. (02 กรกฎาคม 2556). ตลาดไท. วิธีการปลูกกระชาย. 2550. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.talaadthai.com/main /knowledgepage.aspx?id=319. (02 กรกฎาคม 2556). วันทนี เหล่าตุ่นแก้ว. วิธีการปลูกมะกรู ด .2550. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.learners.in.th/blogs/posts/29187.(02 กรกฎาคม 2556). วิวฒั น์ ศัลยกําธร. 2556. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/วิวฒั น์_ศัลย กําธร. (15 ตุลาคม 2556).


282 Matichon Online.ไก่ไข่อินทรี ย ์ จากแม่ไก่อารมณ์ดี ที่ คลองหาด.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1366094843&grpid=&catid=. (20 ตุลาคม 2556). happyfarmer. อาจารย์ววิ ฒั น์ ศัลยกําธร.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.gotoknow.org/posts /41414. (15 ตุลาคม 2556). People-Insights. ระดับผู้บริ หารและภาวะผู้นา. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.peopleinsights.com/KnowledSharedManagementLeader/tabid/72/Default.aspx. (24 กันยายน 2556). Executive Information System. ผูบ้ ริ หารกับการตัดสิ นใจ.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.sirikitdam.egat.com/WEB_MIS /120_122/section1.html. (24 กันยายน 2556).


ภาคผนวก


284

ภาคผนวก ก. แบบสอบถาม


285 แบบประเมินผู้เข้ าร่ วมโครงการ

แบบประเมินโครงการนิสิตจิตอาสาพัฒนาสร้างพื้นที่อาหารสาหรับโรงเรี ยนวิถีพุทธ (ปูทะเลย์) ณศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องเลขที่ 114/1 หมู่ 1 ต.หนองบอนแดงอ.บ้านบึงจ.ชลบุรี 20170 คาชี้แจง: แบบสอบถามนี้ ใช้ในการประเมินความพึงพอใจในโครงการนิ สิตจิตอาสาพัฒนาสร้ าง พื้นที่อาหารสาหรับโรงเรี ยนวิถีพุทธ (ปูทะเลย์) ประจาปี การศึกษา 2556 ตอนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไป เพศ

ชาย 35 คน

หญิง 132 คน

ชั้นปี

ชั้นปี 1 - คน ชั้นปี 2- คน

ชั้นปี 3156 คน ชั้นปี 4 10 คน ชั้นปี 51 คน

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่ อโครงการ (นิสิต) ระดับคะแนน 5 =ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 =น้อย 1 =น้อยที่สุด ระดับความพึงพอใจ รายการ 5 4 3 2 1 ค่าเฉลี่ย 1. กระบวนการในการปฏิบตั ิงาน 90 72 4 1 0 4.50299 ตรงตามวัตถุประสงค์โครงการ 2. ความรู ้ความเข้าใจในงานก่อน 35 97 35 10 0 3.88023 การปฏิบตั ิงาน

ผลการ ประเมิน ดีมาก ดี


286 รายการ ระดับความพึงพอใจ 3. ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานมีความ ยืดหยุน่ และสามารถปรับให้เข้ากับ 65 81 20 1 0 สถานการณ์ได้ 60 72 4. การมอบหมายหน้าที่ในการ ปฏิบตั ิงานมีความเหมาะสม 5. ช่วงเวลาในการปฏิบตั ิงาน 64 74 เหมาะสม 6. สถานที่ในการทากิจกรรมมี 75 59 ความเหมาะสม 7. สิ่ งอานวยความสะดวกมีความ 57 78 เหมาะสม 8. ความรู้ความเข้าใจในงานหลัง 84 67 การปฏิบตั ิงาน 9.มีความรู้ความเข้าใจทางการด้าน เกษตรอินทรี ยแ์ ละการค้าเพิ่มมาก 86 60 ขึ้น 10. สามารถนําความรู้ที่ได้รับมา ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน 110 52 ชีวติ ประจําวันได้ 11. สามารถนําความรู้จากการ เรี ยนการสอนมาใช้ร่วมกับการทํา 94 64 กิจกรรมได้ 12. ความพึงพอใจในภาพรวมของ 102 49 งานที่ทาํ 13.ความประทับใจในการร่ วม 116 45 กิจกรรม

ค่าเฉลี่ย

ผลการ ประเมิน

4.25748

ดีมาก

34

1

0

4.14371

ดีมาก

26

3

0

4.19161

ดีมาก

32

1

0

4.2455

ดีมาก

22

10

0

4.08982

ดีมาก

15

1

0

4.40119

ดีมาก

21

0

0

4.38922

ดีมาก

5

0

0

4.62874

ดีมาก

9

0

0

4.50898

ดีมาก

7

9

0

4.46107

ดีมาก

6

0

0

4.65868

ดีมาก

4.33532 86.448

ดีมาก

สรุ ปผล คิดเป็ นร้ อยละ


287 แบบสอบถามบุคคลทัว่ ไปและเกษตรกร

แบบประเมินโครงการนิสิตจิตอาสาพัฒนาสร้างพื้นที่อาหารสาหรับโรงเรี ยนวิถีพุทธ (ปูทะเลย์) ณศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องเลขที่ 114/1 หมู่ 1 ต.หนองบอนแดงอ.บ้านบึงจ.ชลบุรี 20170 คาชี้แจง: แบบสอบถามนี้ ใช้ในการประเมินความพึงพอใจในโครงการนิ สิตจิตอาสาพัฒนาสร้ าง พื้นที่อาหารสาหรับโรงเรี ยนวิถีพุทธ (ปูทะเลย์) ประจาปี การศึกษา 2556 ตอนที่ 1ข้ อมูลทัว่ ไป เพศ : ชาย 20 คน หญิง 10 คน อายุ : ตํ่ากว่า 25 ปี 2 คน 26-50 ปี 20 คน 50 ปี ขึ้นไป 5 คน อาชีพ : เกษตรกร ประเภทการเกษตร 20 คน รับราชการ 0 คน อื่นๆ 10 คน ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่ อโครงการ ระดับคะแนน 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อยที่สุด รายการ 1. ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานหรื อ กระบวนการสามารถนามาประยุกต์ใช้ ได้จริ ง 2. สามารถนาความรู้ที่ได้รับมา ถ่ายทอดให้บุคคลอื่นได้ 3. ความเข้าใจในทฤษฎีใหม่ 4. เป็ นทฤษฎีใหม่ที่นามาใช้ได้จริ ง

ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 2 1

ค่าเฉลี่ย

ระดับ

3

1

12

2

1

3.43

ดี

3

9

11

4

2

3.2

ดี

1 5

10 11

13 10

4 4

2 0

3.13 3.57

ดี ดี


288 รายการ 5. มีความสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจ พอเพียง 6. ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่ วม กิจกรรม 7. ความรู ้ที่ได้รับหลังจากการเข้าร่ วม กิจกรรม 8. ความพึงพอใจในภาพรวมของ ทฤษฎีต่างๆ 9. ศักยภาพในการปฏิบตั ิงานของนิสิต หมาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ศรี ราชา 10. ภาพรวมของศูนย์กสิ กรรม หลังจากการปฏิบตั ิงานของนิสิต

ระดับความพึงพอใจ

ค่าเฉลี่ย

ระดับ

8

8

12

2

0

3.73

ดี

7

10

7

6

0

3.6

ดี

6

7

9

8

0

3.37

ดี

8

9

9

4

0

3.7

ปานกลาง

10

14

6

0

0

4.13

ดีมาก

9

8

12

1

0

3.83

ดี

3.569 71.38

ดี

สรุ ปผล คิดเป็ นร้อยละ


289 แบบสอบถามน้ องโรงเรียนปูทะเลย์

แบบประเมินโครงการนิสิตจิตอาสาพัฒนาสร้างพื้นที่อาหารสาหรับโรงเรี ยนวิถีพุทธ (ปูทะเลย์) ณศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอื้องเลขที่ 114/1 หมู่ 1 ต.หนองบอนแดงอ.บ้านบึงจ.ชลบุรี 20170 คาชี้แจง: แบบสอบถามนี้ ใช้ในการประเมินความพึงพอใจในโครงการนิ สิตจิตอาสาพัฒนาสร้ าง พื้นที่อาหารสาหรับโรงเรี ยนวิถีพุทธ (ปูทะเลย์) ประจาปี การศึกษา 2556 ตอนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไป เพศชาย จํานวน 5 คน หญิง จํานวน 2 คน ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่ อโครงการ (โรงเรียน) ระดับคะแนน 5=ดีมาก4=ดี3=ปานกลาง2=น้อย1=น้อยที่สุด ระดับความพึงพอใจ รายการ 5 4 3 2 1 1. มีความเข้าใจในโครงการสร้าง พื้นที่อาหารของ 5 2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ศรี ราชา 2. มีความเข้าใจในโครงการสร้าง พื้นที่อาหารการดูแลเลี้ยงไก่ ที่ได้นา 4 3 เสนอข้อมูลไว้ 3. สามารถดูแล และสื บต่อการเลี้ยง 2 4 1 ไก่ได้มากเพียงไหน 4. มีแหล่งพื้นที่อาหารเพียงพอต่อ 3 3 1

เฉลี่ย

ผลการ ประเมิน

4.71429

ดีมาก

4.57143

ดีมาก

4.14286

ดีมาก

4.28571

ดีมาก


290 รายการ ความต้องการในระดับใด จากที่เราได้ ทาการเพิ่มพื้นที่อาหารให้ 5. เกิดการเรี ยนรู ้จากแหล่งพื้นที่บ่อ เลี้ยงปลาที่สามารถนาไปใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุ ดแก่ตวั เองในระดับใด 6. จากการเข้าไปปรับปรุ งพื้นที่ ห้องสมุดสามารถเข้าไปใช้งาน ห้องสมุดได้จริ งมากน้อยขนาดไหน 7. มีความพอใจกับสื่ อการเรี ยนรู ้ที่เรา มอบให้ในระดับใด 8. จากที่เราได้ทาการสร้างพื้นที่ อาหารให้มีความเพียงพอต่อความ ต้องการบริ โภคมากขนาดไหน 9. มีความสามารถในการดูแลพื้นที่ อาหารต่อจากเราได้ในระดับใด 10. เกิดการเรี ยนรู ้ในการสร้าง และ พัฒนาของเศษอาหาร ให้การผลิตไบ โอแก๊ส 11. จากที่ทาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ศรี ราชาได้ทาการสนับสนุนอุปกรณ์ ครัวเรื อนและก่อให้เกิดแหล่งเรี ยนรู ้ เพิ่มเติม

ระดับความพึงพอใจ

1

1

เฉลี่ย

ผลการ ประเมิน

4.00000

ดีมาก

4.85714

ดีมาก

4.14286

ดีมาก

3

2

6

1

4

2

3

3

1

4.28571

ดีมาก

3

3

1

4.28571

ดีมาก

4

3

4.57143

ดีมาก

4

2

4.14286

ดีมาก

สรุ ปผล 4.36364 คิดเป็ นร้อยละ 87.27

ดีมาก

1

1


291

ภาคผนวก ข. รายชื่อผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ


292 รหัสประจาตัวนิสิต 5330100119 5330102359 5330102880 5330110041 5330110483 5330110891 5330111145 5330160961 5430110027 5430110035 5430110043 5430110051 5430110060 5430110078 5430110086 5430110094 5430110116 5430110124 5430110132 5430110141 5430110159 5430110167 5430110175 5430110183 5430110191 5430110205 5430110213

ชื่อ-สกุล นางสาวธัญลักษณ์ ถุงแก้ว นายวุฒิชยั ถนอมเงิน นางสาวธัญญพัฒน์ เวียงอินทร์ นางสาวเจนจิรา ศิริมงคล นางสาวธิ ดารัตน์ แก้วดารา นายศตคุณ รักบ้านเกิด นางสาวอารี ย ์ โมหิรัญ นายอภิสิทธิ์ โล่ภิญโญสิ ริ นางสาวกนกพร ศิริบาล นางสาวกมลชนก อินวะษา นางสาวกมลทิพย์ ถนอม นางสาวกมลพรรณ มัญชุวาท นายกริ นทร์ อาสาฬห์ประกิต นายกฤษฎากรณ์ บรรเลงจิต นางสาวกฤษณา ลิ้มสุ วรรณ นางสาวกังสดาล วังศรี สมบัติ นางสาวกันทิมา ลัว่ สกุล นางสาวกัลยรัตน์ อรรถาเวช นางสาวกุลปริ ยา มานะธัญญา นางสาวเขมิกา ทรงเดชธนาวุฒิ นายครณิ นทร์ ธนะอนันต์มงคล นางสาวจิตติมา ผลพิกุล นางสาวจิรัชญา อยูด่ ี นางสาวจิราพร ทัดสุ ขสกุล นางสาวนิชาภา อเนกพรวัฒนา นางสาวฉัตร์สมนต์ ขุนทอง นายชนธาร ชูสาตร์

สาขา R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R12 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13


293 รหัสประจาตัวนิสิต 5430110221 5430110230 5430110248 5430110256 5430110264 5430110272 5430110281 5430110299 5430110302 5430110311 5430110329 5430110337 5430110345 5430110353 5430110361 5430110370 5430110396 5430110400 5430110418 5430110426 5430110434 5430110442 5430110451 5430110469 5430110477 5430110485 5430110493

ชื่อ-สกุล นางสาวชนิดา คิดเฉพาะ นางสาวชวิศา ทองถนอม นางสาวชัญญานุช อุปมาสิ นธุ นายชินชาติ โชคชัยเจริ ญสิ น นางสาวชุติรัตน์ แจ่มสว่าง นางสาวญาณภัฏ อิทธิ โชติ นางสาวฑิตฐิตา แซ่ต้ งั นางสาวณัชชา ทําดี นางสาวณัฐณิ ชา ว่องวรรธนะกุล นายณัฐพล โลหะสวรรค์กุล นางสาวดลนภา แก้วประสิ ทธิ์ นายธนกฤต ภัควีรภัทร นายธนพัฒน์ สร้อยเพ็ชร์ นางสาวเฌนิศา เจริ ญวสุ ธร นางสาวธนิดา กวีสุทธิกุล นางสาวธัชภาวี ฉลาดธัญกิจ นางสาวนฤมล แต่งสวน นางสาวนิรชา จันทรัพย์ นายเนติวทั ธ์ บัวเงิน นายบวร ธรรมวิริยารักษ์ นางสาวเบญจาภรณ์ ชูวฒั นวิทย์ นายปรี ดาพล ใยสวัสดิ์ นางสาวปารวี พรมจันทร์ นางสาวปาริ ชาติ กรเกษม นางสาวปาลิณี เพ่งยิง่ นางสาวพงษ์สุดา สิ ทธิศร นางสาวพรชญา เอี่ยมประภัสสร

สาขา R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13


294 รหัสประจาตัวนิสิต 5430110507 5430110515 5430110523 5430110540 5430110558 5430110566 5430110574 5430110582 5430110591 5430110604 5430110612 5430110621 5430110639 5430110647 5430110671 5430110680 5430110710 5430110728 5430110736 5430110744 5430110752 5430110761 5430110779 5430110795 5430110809 5430110817 5430110825

ชื่อ-สกุล นางสาวพรพิมล สุ พรรณพงศ์ นางสาวพรรณภา พึ่งเจริ ญ นางสาวพิชญา เข็มทรัพย์ นางสาวพิมพ์ชนก ไชยสถาน นายภูมิรพี ไพทยะทัตย์ นางสาวมณฑนรรห์ นรการผดุง นางสาวมนัชยา เด่นดํารงกุล นางสาวศุทธิกานต์ สนขุนทด นางสาวรัฐจิต เห่งนาเลน นางสาวรัศมี พุกบุญมี นางสาวรี นริ นทร์ ทวีชยั ทัศน์ นายวชิระ บุญช่วยแล้ว นางสาววรรณิ ศา ศรี สุไชย นางสาววรัญญา ประภาพันธ์ นางสาววัลวิภา วงศ์กวีวทิ ย์ นางสาววิภาวิน กาลอินทร์ นางสาวศิรประภา รัศมี นางสาวศิรประภา สัมมากสิ พงศ์ นางสาวศิริพร สาธร นางสาวศิริลกั ษณ์ ทองศรี นางสาวศิวพร สายพานทอง นายสารัช นุชปาน นายสิ ทธิกุล เดชพรเทวัญ นางสาวสิ นีนาถ สมศักดิ์ นางสาวสิ ริพรรณ์ โกมลรัตน์มงคล นางสาวสิ ริลกั ษณ์ ศักดิ์ชลาธร นางสาวสุ ขวสา รุ ้งสิ ริเดชา

สาขา R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13


295 รหัสประจาตัวนิสิต 5430110833 5430110841 5430110850 5430110868 5430110876 5430110884 5430110892 5430110906 5430110914 5430110957 5430110965 5430110973 5430110981 5430110990 5430111007 5430111015 5430111031 5430111040 5430111058 5430111066 5430111074 5430111082 5430111091 5430111104 5430111112 5430111121 5430111147

ชื่อ-สกุล นางสาวสุ ชญา สกุลวงศ์ นางสาวสุ ภาภรณ์ ตันติวงศ์ นายสุ รินทร์ มาศแท้ นางสาวสุ วชิ ชา รุ่ งราม นางสาวเสาวลักษณ์ ศรี รัตน์ นางสาวแสงอรุ ณ เสื อสละ นางสาวหัทยา เซ็นหลวง นางสาวอรวรรณ ไก่แก้ว นายเอกภาพ ฮึกหาญสู้ศตั รู นางสาวศศิมล ศรี พินิจ นางสาวสุ ภาณี พลวิเศษ นางสาวมัณฑนา โพธิ์ แสง นางสาวมัทริ กา จุย้ ม่วงศรี นางสาวปรี ยาภรณ์ นุชเล็ก นางสาวปิ ยะสิ ณี พลวนอาจ นางสาวพิรานันท์ จันทคาท นางสาวทิพวัลย์ จรู ญพันธ์พนู ทวี นางสาวนนทยา วิชระโภชน์ นางสาววัสดา ดอกขาวรัมย์ นางสาวจุฑารัตน์ อันทะนิล นางสาวปทุมพร บุญประคอง นางสาวณัฏฐิกา มารศรี นางสาวกรรณิ การ์ ปราณนัทธี นางสาวปณิ ตา เทศมงคล นางสาวสุ ชาวดี พรหมรุ่ งสวัสดิ์ นายฐิติพงศ์ สุ ทธิโสม นายยงยศ วัฒนะมงคล

สาขา R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13


296 รหัสประจาตัวนิสิต 5430111171 5430111180 5430111198 5430111261 5430111295 5430111309 5430111325 5430111341 5230160411 5330160081 5330161231 5430160016 5430160024 5430160032 5430160059 5430160083 5430160113 5430160121 5430160130 5430160148 5430160156 5430160164 5430160172 5430160181 5430160199 5430160202 5430160211

ชื่อ-สกุล นางสาวปารวี ยอดย้อย นางสาวกมลรัตน์ ภู่ทรานนท์ นางสาวกฤติยา จันธรรมาพิทกั ษ์ นางสาวกนกวรรณ พานิชชีวะ นางสาวมานิดา ม่วงทอง นางสาวณัฐกานต์ ตะพานทอง นางสาวสุ ธาสิ นี ปิ่ นประดับ นางสาวชนิดา นามสุ ดโท นางสาวปัทมาภรณ์ ชินวงศ์ นางสาวเยาวเรศ อุดทา นางสาวกรปณต วิชาโคตร นายกมลาศ ชตารัตน์ นายกฤตภาส กาญจนจงกล นายกฤษฎา ด้วงช้าง นายจักรทิพย์ ตั้งกิตติรุ่งเรื อง นางสาวจิตสุ ภา รุ่ งเรื อง นางสาวจิระภิญญา ผลศิลป์ นางสาวจิรารัตน์ ไม้ไหว นางสาวจุฑามาศ ใสสด นางสาวชนาพร คงอ้วน นางสาวชนิดา ท้าวภุชฌงค์ นายชนินทร์ เสริ ม ดารารัตน์ นางสาวชลทิชา จิราพงษ์ นายชวนันท์ พละชัย นางสาวชิดชนก มีรัตน์ นางสาวชุติมา จันทร์ดา นางสาวฐายินี ธาราฉัตร

สาขา R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R13 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12


297 รหัสประจาตัวนิสิต 5430160229 5430160237 5430160245 5430160261 5430160288 5430160300 5430160334 5430160342 5430160351 5430160369 5430160393 5430160423 5430160431 5430160440 5430160458 5430160466 5430160474 5430160491 5430160512 5430160547 5430160563 5430160580 5430160610 5430160644 5430160652 5430160679 5430160733

ชื่อ-สกุล นางสาวณฐกานต์ แก้วหนูนา นางสาวณวัน จันทร นางสาวณัฐกมล เต่าทอง นายณัฐชนน เลิศศิล นางสาวดวงกมล แสงทินกร นายทรงชมนภา จันทร์ เด่น นายธนกร ลิจนั ทร์พร นายธนภัทร สิ ทธิ์ สิริโสภา นางสาวธนัชชา เพ็ญสันต์ นางสาวธนิตา ขาวเรื อง นางสาวธัญญาภรณ์ ยลปราโมทย์ นายธีรทัศน์ แทนทํานุ นายธีรัตม์วิริยะ กมลพันธ์ นางสาวนงลักษณ์ วรพันธ์ นางสาวนภาภรณ์ แซ่โหงว นางสาวนริ ศร เกษรารัตน์ นางสาวนวพร วรานันตกุล นายบัญชาสิ ทธิ์ ตั้งศิริสกุล นายปฐมณัฐ ศิริสวัสดิ์ นายปรี ชา ประสิ ทธิ์ ไพศาล นางสาวปิ ยวรรณ วิโรจน์แดนไทย นางสาวพิมลพรรณ สุ ขเกษม นางสาวภัสราภรณ์ สังข์สอาด นางสาวยุวดี ฤทธิรงค์ นางสาวรัชนิดา หนูแก้ว นางสาวลักษณารี ยร์ ี สุ ขใส นางสาวศุทธินี มีปัดชา

สาขา R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12


298 รหัสประจาตัวนิสิต 5430160750 5430160784 5430160831 5430160849 5430160857 5430160865 5430160873 5430160881 5430160911 5430160946

ชื่อ-สกุล นางสาวสมิตา เกียรติสารสกุล นางสาวสาลินี นิลแร่ นางสาวสุ ธญ ั ญา ธรรมรัตน์ นางสาวสุ ภาภรณ์ สุ ระเสน นางสาวสุ มิตตา โชติชนะ นางสาวสุ รีรัตน์ วรสุ ข นายเสฏฐพัฒน์ เติมต่อ นางสาวหทัยรัตน์ เหล่าสําราญ นางสาวอรวรรณพร ศิริพนั ธุ์ นางสาวอาภากร อินละมัย

สาขา R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12 R12


299


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.