03 พระจิตก�ธ�น “พระจิตก�ธ�น” ใช้สำาหรับประดิษฐานหีบ พระบรมศพจันทน์ และพระโกศจันทน์ ออกแบบโดย นายก่อเกียรติ ทองผุด นายช่างศิลปกรรม สำานัก สถาปัตยกรรม รูปแบบของพระจิตกาธานในครั้งนี้ ยึดตามโบราณราชประเพณี โดยจัดสร้างตามรูปแบบ พระจิตกาธานในพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรม ศพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาล ที่ 6 ทรงบุษบกชั้นเรือนยอด 9 ชั้น แต่มีขนาดใหญ่ กว่า มีความสูง 10.825 เมตร ยาว 5.52 เมตร กว้าง 4.02 เมตร ตามขนาดของพระเมรุมาศของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ส่วนโครงสร้างพระจิตกาธาน ทำาด้วยไม้สกั แกะ สลักลายปิดทองล้วงสี หรือการปิดทองหน้าลาย ซึ่ง เป็นเทคนิคโบราณ ข้างลายใช้สีครีมงาช้างเพื่อให้ กลมกลืนกับสีหีบพระบรมศพจันทน์ และพระโกศ จันทน์ ชั้นบนสุดประดับ “ยอดพรหมพักตร์” แกะ จากไม้จันทน์ มีความหมายถึงพรหมวิหาร 4 ได้แก่ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ส่วนฐานของ พระจิตกาธานเป็นลายฐานสิงห์ แสดงถึงฐานานุศกั ดิ์ ลายบัวเชิงบาตร แกะลายให้เป็นลักษณะกลีบดอกบัว ส่วนฐานจะย่อไม้ ย่อมุม มีความโค้งให้ความรู้สึก นิ่มนวล สะท้อนพระจริยวัตรอันงดงามของในหลวง รัชกาลที่ 9 เครื่องสดประดับพระจิตก�ธ�น
Royal Funeral Pyre - 040
“เครื่องสดประดับพระจิตก�ธ�น” ในพระ ราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ซึง่ กองศิลปกรรม สำานักพระราชวัง ได้มอบหมายให้นายบุญชัย ทองเจริญบัวงาม นักจัดการงานในพระองค์ชำานาญการ สำานักพระราชวัง และอาจารย์โรงเรียนช่างฝีมอื ในวัง ชาย ผู้ดูแลการจัดทำา โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดโอกาสให้ตัวแทน ช่างฝีมือเครื่องสด ช่างแทงหยวก 4 ภูมิภาค เข้า ร่วมถวายงาน ประกอบด้วย ช่างราชสำานัก สำานัก พระราชวัง ช่างแทงหยวกสกุลช่างฝั่งธนบุรี (วัด อัปสรสวรรค์) ช่างแทงหยวกสกุลช่าง จ.สงขลา ช่างแทงหยวกสกุลช่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.อุบลราชธานี จ.มหาสารคาม ช่างแทงหยวกสกุล ช่าง จ.เพชรบุรี และตัวแทนช่างฝีมือจัดทำาเครื่องสด ประดับพระจิตกาธานจากสถาบันอาชีวศึกษาจาก 4 ภูมิภาค ร่วมถวายงาน โดยหลังคาชั้นเรือนยอดจะประดับด้วยเครื่อง สด ได้แก่ งานช่างแทงหยวก งานแกะสลักของอ่อน และงานช่างประดิษฐ์ดอกไม้ รูปแบบการตกแต่ง หลังคาเรือนยอดพระจิตกาธาน ประดับด้วย การ ร้อยกรองดอกไม้สดเป็นตาข่ายทุกชั้น ขอบปิดด้วย ลวดลายแทงหยวก เรียกว่า “รัดเกล้า” สาบลาย ช่องกระจกด้วยกระดาษทองอังกฤษ ประดับลวดลาย ดอกประจำายามทีท่ าำ จากเปลือกมะละกอดิบ ซ้อนชัน้
เป็นดอกดวง ทีม่ มุ ชัน้ ของเรือนยอดแต่ละชัน้ ประดับ ด้วย กระจังทิศ กระจังเจิม ประดิษฐ์จากกาบกล้วย ตานี สาบกระดาษทองอังกฤษ ด้านบนประดับประดา ด้วยดอกไม้ไหวที่ประดิษฐ์เป็นดอกปาริชาต ปัก ประดับเว้นระยะห่างกัน เพื่ อ ถวายพระเกี ย รติ สู ง สุ ด การจั ด ทำ า พระ จิตกาธานของในหลวงรัชกาลที่ 9 จะแตกต่างจาก พระจิตกาธานที่ผ่านมา คือจัดทำาเทวดาชั้นพรหม วรรณะสีขาวนวลนั่งคุกเข่า พระหัตถ์ทรงถือพระ ขรรค์ ประดับหน้าเสาชั้นเรือนไฟ จำานวน 8 องค์ เพื่อเฝ้าพิทักษ์รักษา ในวาระที่เสด็จสู่สรวงสรรค์ พระจิตกาธานยังประดับด้วย “ดอกปาริชาต” จำานวน 70 ดอก เท่ากับ 70 ปี ที่ทรงเสด็จขึ้น ครองราชย์ ประดับรอบชั้นรัดเอว ที่ประดิษฐาน พระโกศจันทน์ 16 ดอก หมายถึง สวรรค์ 16 ชั้น ในรูปลักษณ์ความหมายของไตรภูมิ ส่วนที่เหลือ ประดิษฐ์เป็นดอกไม้ไหว ดอกไม้เฟื่อง ออกนามว่า ดอกปาริชาตเช่นกัน เหมือนดอกไม้ที่ร่วงลงมาจาก สรวงสรรค์ ซึ่งในตำานานเป็นดอกไม้บนสรวงสวรรค์ ชั้นดาวดึงส์ การประดิษฐ์ดอกปาริชาตจะใช้ดอกสีเหลือง สีประจำาวันพระราชสมภพ และสีชมพูอมม่วง หรือ ชมพูอมแดง สีกำาลังวันของรัชกาลที่ 9 ผนวกเป็นสี ยืนพืน้ ในส่วนของเกสรใช้เมล็ดธัญพืช คือ เมล็ดข้าว พันธุ์หอมมะลิจากทุ่งกุลาร้องไห้ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ประเทศไทย และเป็นข้าวพันธุ์หอมมะลิที่ดีที่สุด เมล็ดข้าวโพดจาก จ.เพชรบูรณ์ จ.เชียงใหม่ และ จ.กาญจนบุรี ถัว่ เขียว ถัว่ แดง จากเกษตรกรเขาใหญ่ จ.นครราชสีมา และถัว่ ทอง ใจกลางของดอกปาริชาต เกสรชัน้ ในสุด ประดิษฐ์จากพลอยนพรัตน์ ประกอบ ด้วย เพชร ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน ไพลิน มุกดาหาร เพทาย และไพฑูรย์ จาก จ.จันทรบุรี สำาหรับกล้วยที่ใช้แทงหยวก ใช้ต้นกล้วยตานี ตามโบราณราชประเพณี จำานวน 55 ต้น เพราะ มีลำาต้นใหญ่ ยาวตรงเสมอ กาบกล้วยชั้นในสีขาว นวล อมนำ้าดี ใบตองสีเขียว การประดับดอกดวงจะ
ประดิษฐ์ด้วยการใช้พิมพ์ทองเหลือง แกะลวดลาย ในลวดลายต่างๆ อาทิ ลายใบเทศ ดอกประจำายาม ฯลฯ ส่วนดอกไม้สดจะเน้นดอกรัก ดอกมะลิ และ กลีบดอกกล้วยไม้ย้อมสีจำาปา และดอกบานไม่รู้โรย ย้อมสีกรองกลีบเป็นสีชมพูอมแดง
04 จิตรกรรม ภ�พเขียนจิตรกรรมฉ�กบังเพลิง “ฉ�กบั ง เพลิ ง ” เป็ น เครื่ อ งกั้ น ทางขึ้ น ลง พระเมรุมาศ มักเขียนเป็นรูปเทวดา มีลักษณะเป็น ฉากพับได้ ติดไว้กับเสาทั้ง 4 ด้าน บริเวณบันได ขึ้ น ลงพระเมรุ ม าศ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ ห็ น การถวาย พระเพลิงพระบรมศพ และใช้บังลม โดยในส่วนของ พระเมรุมาศ รัชกาลที่ 9 ฉากบังเพลิง ประกอบด้วย 4 ด้าน ล้อมรอบพระจิตกาธาน ด้านหน้า และด้าน หลังเขียนภาพจิตรกรรมที่แตกต่างกัน แนวคิดการ ออกแบบพระเมรุมาศ รัชกาลที่ 9 ยึดคติความเชื่อ ตามหลักเทวนิยมทีว่ า่ พระมหากษัตริยค์ อื สมมติเทพ ซึง่ อวตารมาจากพระนารายณ์ ด้วยเหตุน้ี การออกแบบ ฉากบังเพลิงจึงมีเรื่องราวเกี่ยวกับ “พระนารายณ์ อวตาร 9 ปาง” โดยปางที่ 9 คือ ในหลวง รัชกาล ที่ 9 ที่ทรงประทับอยู่ในพระบรมโกศ ส่วนพระนารายณ์อวตาร 8 ปาง ที่ปรากฏบน ฉากบังเพลิง จะเป็นเรื่องราวพระนารายณ์อวตาร ฉบับพระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ 6 ดังนี้ ทิศเหนือ ปางที่ 1 มัสยาอวตาร (ปลากรายทอง) ปางที่ 2 กูรมาวตาร (เต่า) ทิศตะวันออก ปางที่ 3 วราหาวตาร (หมูป่า) ปางที่ 4 นรสิงหาวตาร (นรสิงห์) ทิศใต้ ปางที่ 6 ปรศุรามาวตาร (พราหมณ์ปรศุราม หรือ ผู้ใช้ขวานเป็นอาวุธ) ปางที่ 7 รามาวตาร (พระราม ในรามเกียรติ์) ทิศตะวันตก ปางที่ 8 กฤษณาวตาร (พระกฤษณะ) ปางที่ 10 กัลกยาวตาร (มนุษย์ ขี่ม้าขาว) ความพิเศษอีกอย่างคือ การอัญเชิญโครงการ อันเนือ่ งมาจากพระราชดำาริ ทีค่ ดั สรรโครงการเด่นๆ 24 โครงการจากกว่า 4,000 โครงการ มาถ่ายทอด บนฉากบังเพลิง ตามหมวดดิน นำ้า ลม ไฟ โดย ทิศเหนือ หมวดนำ้า ทิศตะวันออก หมวดดิน ทิศ ใต้ หมวดไฟ และทิศตะวันตก หมวดลม โดยมีราย ละเอียด ดังนี้ ด้ � นทิ ศ เหนื อ ประกอบด้ ว ย โครงการอั น เนื่องมาจากพระราชดำาริในหมวดนำ้า 6 โครงการ ได้ แ ก่ ฝนหลวงแก้ ปั ญ หาความแห้ ง แล้ ง ในภาค อีสาน เลือกพื้นที่วนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ฝาย ต้นนำ้า เพื่อชะลอนำ้า ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วย ฮ่องไคร้ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ อ่างเก็บนำ้า เขาเต่า อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ เขื่อนป่าสัก ชลสิทธิ์ เพื่อเก็บกักนำ้าไว้ในช่วงเวลาที่ขาดแคลนนำ้า โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังอันเนื่องมาจาก พระราชดำาริ กังหันนำ้าชัยพัฒนา เครื่องกลเติม อากาศบำาบัดนำ้าเสีย