Market plus 78 issuu

Page 1


Contents

VOL. 8 ISSUE 78 : FEBRUARY-MARCH 2016

22 23 24 25 26 27 28 29

‘กรุงศรี คอนซูมเมอร’ เจาะกลุมเจแปนเลิฟเวอร ‘ชาวเกาะ’ จับมือ ‘ลิเวอรพูล’ มุงสูแบรนดระดับโลก ‘ดิ สมิธ ฟูด’ ปน ‘จิ้มแจม’ ลุยตลาดน้ำจิ้ม ‘ฟูจิตสึ’ ชูโซลูชั่น Smart Workplace เจาะกลุมองคกร ‘อิเกีย’ จับมือ ‘เซ็นทรัล’ ปกธงบางใหญ ‘บารบีคิวพลาซา’ แปลงโฉมสู ‘ฟูดแพชชั่น’ ‘อลิอันซ อยุธยา’ รุกหนักตลาดความคุมครอง ‘เอปสัน’ เดินเกมรุกตลาดสิ่งทอ

30

เปดสงคราม ‘หวยชาเขียว’ โออิชิ-อิชิตัน ศึกนี้ใครจะเปรี้ยงกวากัน! รานอาหารตองรีแบรนดเพื่อความสตรอง! สงคราม ‘น้ำจับเลี้ยง’ ในยุคที่ตองสูกันดวยพรีเซนเตอร

32 34 36 40

70

M@Strategic

44 46 49 51 54 57 60 62 64 70 74

Brand Battle

On Stage

งบโฆษณา 2016 อาจไมขยับหรือติดลบ ชี้ตองแมนยำ รับเทรนดคนดูเปลี่ยน ศึก 4G แขงเดือดดีแทคทุม 7 หมื่นลาน สง Super 4G ใหชีวิตซูเปอรกวาเดิม

Buzz Word (42) Cover Story

Social Commerce Age Social Commerce 1.0 Gen C Lifestyle on s-Commerce ลาซาดา s-Commerce เบอร 1 ของไทย topvalue.com s-Commerce นองใหมไทย efrastructure Group บริการ e-Commerce Infrastructure รายเดียวในไทย s-Commerce Shops on facebook Shops on Lazada e-Commerce = Offline?

Global Snapshot (66) Executive Talk

วีรวัฒน องควาสิฏฐ ปนแบรนด ‘วีรันดา พัทยา’ ผานดิจิทัลมารเก็ตติ้ง

Biz & Plus More

เปดกลยุทธ ‘Beyond Chat’ ปน ‘LINE’ ใหเปนมากกวาแอปฯ แชท

74 4 marketplus

76

Green Please

ปาครอบครัว... เพื่อการพึ่งพาตนเอง


Contents

VOL. 8 ISSUE 78 : FEBRUARY-MARCH 2016

78 80 81

‘เอสซีจี’ รวมใจสูภัยแลง

82

ความเชื่อมั่น SMEs ฟนชวงปลายป แตยังกังวลกำลังซื้อลดฉุดธุรกิจแย

86 88

110 98

90 92 94

เปลี่ยน ‘ครู’ เปน ‘โคช’ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย สานฝนปนเด็กสูความเปนเลิศ

The Survey

Business in Action

Ready 3..2..1..Start (up)

Beyond Market Trap BIG C: เรือธงฝาทะลวงคาปลีกของกลุมทีซีซีแลนด

Think & Write

‘เริงไมงาน’ ‘แกมลิง’ เพื่อเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ

Think Before

ไมเรงจัดการ เทากับยอมจำนน

Expert Communications 2016 : กลยุทธการสื่อสารเพื่อบริหารแบรนด และสื่อสารการตลาดในยุคดิจิทัล

Work & Lifestyle

98

‘ภัทรา มณีรัตนะพร’ ลูกไมหลนไมไกลตน

102

พิพิธภัณฑที่มีชีวิตในสถานที่จริง The Household Cavalry Museum

104 106

Travel Trip Auto Bizz

New Honda Accord ซีดานหรูหราเหนือระดับ The new C-Class Coupe’ ยนตกรรมหรูสุดเราใจสไตลสปอรต

Hi –end Restaurant

108 110

‘Nikuya’ สวรรคของคนรักเนื้อ

114

UBER vs GRABTAXI ควันหลงหลังการปรับโลโก-รีแบรนด

122

6 marketplus

Good View

DOM Cafe’ and Bistro ความอรอยสไตล ‘แคชวลไดนิ่ง’ ในราคาเบาๆ

App Story

The Critics

‘นก’ ชง ‘ลิง’ นกแอรงานเขาแตตนป


COVER STORY

ในยุ ค ที่ รั ฐ บาลต้ อ งการส่ ง เสริ ม เอสเอ็ ม อี ห รื อ แม้ แ ต่ เ กษตรกรในพื้ น ที่ ห ่ า งไกลให้ ส ามารถท� ำ ธุ ร กิ จ e-Commerce ได้ โดยเร่งกระทรวงพาณิชย์ให้ด�ำเนินการ ตามแนวทางนีใ้ ห้ได้ พร้อมกับเตรียมต่อยอดด้านโลจิสติกส์ และอืน่ ๆ เพือ่ รองรับ แม้จะเป็นความกังวลว่า แนวทางของ รัฐกับเอกชนจะสอดประสานกันได้มากน้อยเพียงใดและ จะร้องเพลงกันคนละเพลงหรือไม่น้ันล้วนเป็นเรื่องที่ต้อง จับตาดูกนั ด้วยว่า การจะท�ำ e-Commerce ได้อย่างน้อย สัญญาณอินเทอร์เน็ตหรือสัญญาณโทรศัพท์ต้องไปให้ ถึงอย่างครอบคลุมด้วย e-Commerce หรือการค้าบนออนไลน์นนั้ เปรียบได้กบั สารตัง้ ต้น ในยุคแรกๆ ทีพ่ วกเราคงจะคุน้ เคยกันดี อาทิ Amazon, eBay หรือในบ้าน เราทีร่ จู้ กั กันดี อาทิ ตลาดดอทคอม ปัจจุบนั คือ ราคูเท็น (Rakuten) ฯลฯ ต่อมาสารตัง้ ต้นทีว่ า่ ก็แตกตัวเพิม่ เติมไปยังมือถือวิวฒ ั น์ตอ่ ไปเป็น m-Commerce ซึง่ เป็นการท�ำการค้าออนไลน์บนมือถือ แล้วแตกตัวต่อมา ในยุคชุมชนออนไลน์เฟือ่ งเป็น s-Commerce หรือ Social Commerce หลายคนคงจะสงสัยว่า จริงๆ แล้ว s-Commerce คืออะไร หรือว่า หมายถึงการค้าทีท่ ำ� บนโซเชียลเน็ตเวิรค์ เท่านัน้ หรือ จริงๆ แล้วค�ำๆ นีม้ นี ยิ ามทีก่ ว้างขวางกว่านัน้ ปัจจุบนั ได้มกี ารนิยาม Social Commerce (s-Commerce) อย่างกว้างขวางขึน้ โดยหมายถึงการ ช็อปปิง้ การแนะน�ำ หรือแม้แต่การบอกถึงพฤติกรรมการซือ้ ของผูค้ นวันนี้ และมีถงึ 7 ประเภททีเดียว ได้แก่ 1. Peer-to-Peer Sales Platforms แพลตฟอร์มการค้าบน ออนไลน์แบบตลาดขายสินค้าทีอ่ งิ กับการสร้างชุมชนคนบนออนไลน์อย่าง ทีเ่ รียกได้วา่ เป็น Community-Based Marketplaces หรือตลาดของชุมชน ทัง้ คนซือ้ คนขายทีส่ ามารถติดต่อกันได้โดยตรง อย่างเว็บชือ่ ดังทีเ่ กิดก่อน โซเชียลเน็ตเวิรค์ จะฮิตกันถึง 5-6 ปีดว้ ยซ�ำ้ อย่าง eBay นอกจากนี้ ก็มี Etsy, Amazon Marketplace 2. Social Network-Driven Sales โซเชียลเน็ตเวิรค์ ที่ ท�ำหน้าทีข่ บั เคลือ่ นหรือน�ำไปสูก่ ารขายได้อย่าง Facebook, Pinterest, Twitter, Instagram หรือเป็นสะพานสูเ่ น็ตเวิรค์ ของตนเอง เพียงแค่กดค�ำว่า ‘ช็อป’ บนเฟซบุก๊

44 marketplus


3. Group Buying กลุ่มการค้าบนออนไลน์กลุ่มนี้คนไทย รู้จักกันดี โดยเฉพาะกลุ่มคนที่ชอบซื้อสินค้าหรือบริการในราคาถูก และล่าดีลดีๆ ถูกๆ กันมาแล้วจากเว็บ Daily Deal อย่าง LivingSocial หรือ Ensogo ในยุคแรกเข้าตลาด, Groupon เว็บดีลดังทีเ่ ข้าตลาดบ้าน เราได้ไม่นานก็ตัดสินใจถอนตัวจากตลาดประเทศไทย เพราะไม่เข้าใจ ตลาดท้องถิน่ ในไทย 4. Peer Recommendations นีค่ อื เว็บไซต์ทรี่ วบรวมเอารีววิ การแนะน�ำสินค้าและบริการจากผูท้ เี่ คยซือ้ หรือเคยใช้บริการ เช่น คนทีซ่ อ้ื สินค้า X ก็นา่ จะสนใจซือ้ สินค้า Y อย่างทีเ่ ราเคยเห็นในเว็บของ Amazon หรือการให้รางวัลผูท้ แี่ ชร์สนิ ค้า หรือการให้คะแนนหรือส่วนลดพิเศษกับการ แนะน�ำสมาชิกใหม่ และการซือ้ กับเพือ่ นผ่านโซเชียลเน็ตเวิรค์ เช่น Yelp, JustBoughtIt หากจะถามว่า แค่การแนะน�ำก็นบั อยูใ่ นกลุม่ ของ s-Commerce หรือ จริงๆ แล้ว ต้องเข้าใจว่า การรีวิว การแนะน�ำนั้นสามารถที่จะน�ำ ไปสู่ยอดขายได้ในที่สุด อ้างอิงจากสถิติของ Gartner ที่ว่า 74% ของ ผู้บริโภควันนี้ซื้อสินค้า เพราะการชี้น�ำจากโซเชียลเน็ตเวิร์คนี่จึงท�ำให้ Product Review วันนีม้ ลี งิ ก์ให้กดทีค่ ำ� ว่า Like, Pin it นัน่ ก็เนือ่ งจากต้องการ ให้นกั ช็อปได้แชร์สงิ่ ทีต่ นเองค้นพบบนโซเชียลเน็ตเวิรค์ 5. User-Curated Shopping แพลตฟอร์มทีย่ สู เซอร์สามารถ สร้างหรือแชร์รายการสินค้าเพือ่ การขายได้ เช่น The Fancy, Lyst, Svpply 6. Participatory Commerce แพลตฟอร์มการค้าบน ออนไลน์ที่ผู้บริโภคเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับเจ้าของสินค้าหรือ บริการนับแต่กระบวนการผลิต ตลอดจนถึงการโหวต การระดมทุน การร่วม ออกแบบสินค้า อย่างเช่น Threadless, Kickstarter, CutOnYourBias 7. Social Shopping แพลตฟอร์มช็อปปิง้ ออนไลน์ทพี่ ยายาม เลียนแบบการช็อปปิง้ แบบออฟไลน์กบั เพือ่ นๆ ด้วยการรวมการแชท การ ตัง้ กระทูต้ า่ งๆ เพือ่ ให้เกิดเป็นชุมชนและมีการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและ ค�ำแนะน�ำ อย่างเช่น GoTryItOn, Motilo, Trendabl ส� ำ หรั บ Social Commerce ที่ เ ราเลื อ กน� ำ เสนอในครั้ ง นี้ มี ภาวุธ พงษ์วทิ ยภานุ นายกสมาคมผูป้ ระกอบการพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์, ซีอโี อ กลุม่ บริษทั อีฟราสตรัคเจอร์, กรรมการผูจ้ ดั การและผูก้ อ่ ตัง้ เว็บไซต์ ตลาดดอทคอม ฯลฯ กูรูแห่งธุรกิจ e-Commerce ที่หันมาท�ำธุรกิจ โครงสร้างพืน้ ฐานอย่างครบวงจร เพือ่ รองรับตลาด e-Commerce ทัง้ ระบบ ตามด้วย ลาซาด้าดอทคอม (Lazada) Social Commerce ชือ่ ดังทีม่ า แรงในขณะนี้ทจี่ ัดเต็มทั้งไลน์สินค้า-ส่วนลด พร้อมกับการท�ำตลาดผ่าน แอปพลิเคชันครบทั้ง m-Commerce ด้วย นอกจากนี้ ก็มี Top Value ธุรกิจ Social Commerce ของไทยที่มีฝันที่จะช่วยธุรกิจเอสเอ็มอีให้ โกอินเตอร์ให้ได้ พร้อมกันนี้ ก็พาเหรดด้วยร้านค้าบนเฟซบุก๊ ประเทศไทย, ร้านค้าบนลาซาด้าทีจ่ ะมาแบ่งปันประสบการณ์การท�ำตลาดบน Social Commerce ว่ามีการลองผิดลองถูกหรือจะต้องท�ำอะไรกันบ้าง อย่างน้อย ก็ทงิ้ เชือ้ เพือ่ ให้เกิดร้านค้าบน Social Commerce กันมากขึน้ marketplus 45


COVER STORY

Social Commerce 1.0 Social Commerce (s-Commerce) หรือการค าบนออนไลน ทอี่ าศัย โซเชียลเน็ตเวิรค กลุม เพือ่ นหรือสังคมเฉพาะกลุม แบบ Peer to Peer (P2P) เพื่อช วยให เกิดการซื้อขายนั้นถือเป น The Next Big Thing ที่แม แต Mark Zuckerberg ผู ก อตั้งเฟซบุ ก เคยกล าวไว ว า “ถาหากจะคาดเดาเทคโนโลยีที่จะมาแรงในอนาคต คงไมพนโซเชียล คอมเมิรซ (Social Commerce) เปนแน”

แม้วา่ ยอดยูสเซอร์จะอยูบ่ นโซเชียลเน็ตเวิรค์ อย่างคับคัง่ แต่การช็อปบนนีก้ ย็ งั มีสดั ส่วน น้อยกว่าการพบปะ พูดคุย ที่ส�าคัญ โซเชียลคอมเมิร์ซยังเป็นของใหม่ที่ทั้งเฟซบุ๊ก ไลน์ อินสตาแกรมต่างก็ยงั ไม่ได้ทา� ธุรกรรมกับแพลตฟอร์มโดยตรงนัก ต่างกับธุรกิจรีเทลทีร่ จู้ กั ใช้ โซเชียลเน็ตเวิรค์ ดังกล่าวเพือ่ สร้างรายได้และจ่ายค่าสือ่ เพือ่ ดึงลูกค้าให้ไปสูร่ า้ นค้าออนไลน์ ของตนเอง ไม่วา่ จะเป็นเพจหรือเว็บไซต์ แถมยังมีการทดลองวิธกี ารใหม่ๆ โมเดลใหม่ๆ เพือ่ ท�าให้ได้ P2P มากขึน้ และท�าให้เกิดธุรกรรมทีเ่ ป็นกลุม่ (Group Base Transaction) มากขึน้ แม็กซิมลิ เลียน บิทเนอร ซีอโี อ ลาซาดากรุป ซึง่ ท�าตลาดโซเชียลคอมเมิรซ์ ในตลาด เอเชียอาคเนย์ระบุวา่ ตลาดนีแ้ ม้อยูใ่ นช่วงเริม่ ต้น ทว่า เติบโตเร็วจนน่าตืน่ เต้นมากๆ มีคนเข้า มาทีล่ าซาด้านับล้านๆ จากประชากรรวมทัง้ ภูมภิ าค 600 ล้านคนและมีรายได้จากการขาย บนมาร์เก็ตเพลสของลาซาด้ามีสัดส่วนถึง 70% และยอดขายจากสโตร์ในลาซาด้า ของเอเชียอาคเนย์กม็ สี ดั ส่วนเพียง 1% ของยอดขายรีเทลทัง้ ภูมภิ าค ดังนัน้ แนวโน้มการ เติบโตในภูมภิ าคนีจ้ งึ ยังมีพนื้ ทีใ่ ห้เติบโตได้อกี มาก ขณะที ่ สรรเสริญ สมัยสุต หัวหนาคณะผู บริหารดานการพาณิชย กลุม ธุรกิจ อีบซิ เิ นส กรุป บริษทั ทรู ดิจติ อล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด เชือ่ ว่า ธุรกิจอีคอมเมิรซ์ ในเอเชียอาคเนย์ยงั มีโอกาสเติบโตเป็น 10 เท่าตัวเมือ่ เทียบกับทัว่ โลก โดยเฉพาะในไทยพบว่าอีคอมเมิรซ์ เติบโตมาก แม้จะเป็นประเทศเล็กๆ จาก การทีค่ นไทยปรับตัวน�าโซเชียลมีเดียมาเป็นเครือ่ งมือซือ้ ขายผ่านออนไลน์

ใครเป นใครในตลาด

ส�าหรับ โซเชียลคอมเมิรซ์ ของไทยทีเ่ ป็นผูเ้ ล่นหลักมีหลายรายและทีอ่ ยูย่ งคงกระพัน มาได้ส่วนมากจะเป็นมาร์เก็ตเพลส โดยรายที่อยู่มานานถึง 16 ป คือ ตลาดดอทคอม ร้านออนไลน์ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทยและเป็นผูน้ า� ด้านอีคอมเมิรซ์ และอีคอมเมิรซ์ ทีด่ ที สี่ ดุ แห่งหนึง่ ของประเทศไทย บริหารโดย ภาวุธ พงษ์วทิ ยภานุ คนหนุม่ ทีเ่ ป็น First Mover ใน ยุคทีค่ นไทยยังไม่ประสากับโลกไอที โลกออนไลน์กนั นักและต่อมาในป 2009 ได้รว่ มทุนกับ บริษทั ราคูเท็น อีคอมเมิรซ์ เบอร์ 1 ของญีป่ นุ โดยราคูเท็นถือหุน้ สัดส่วน 67% และภาวุธถือหุน้ 33% ซึง่ การร่วมทุนกันครัง้ นัน้ เขาบอกว่าเป็นจุดส�าคัญ เพราะก่อนหน้าอีคอมเมิรซ์ ของคน ไทยไม่เติบโตกันสักเท่าไร และทีเ่ ติบโตก็ไม่ได้เป็นอีคอมเมิรซ์ แบบ 100% แต่เป็นแบบกึง่ ๆ มากกว่า กล่าวคือขายแบบเปิดหน้าเว็บไซต์แล้วจ่ายเงินกันแบบออฟไลน์ ไม่ได้เป็นมืออาชีพ เท่าทีค่ วร ดังนัน้ การจับมือกับราคูเท็นจึงเป็นก้าวย่างทีส่ า� คัญ ส่วนทีม่ าแรงในตอนนีค้ อื ลาซาดา (Lazada) เป็นบริษทั ในเครือของร็อคเก็ตอินเทอร์เน็ต (Rocket Internet) บรรษัทข้ามชาติจากเยอรมนีและเป็นบริษัทที่มีศักยภาพสูงในการท�า 46 marketplus


เว็บไซต์ดา้ นอีคอมเมิรซ์ มากว่าสิบปกว่า 200 บริษทั ทัว่ โลก ส�าหรับลาซาด้าไทยนัน้ ด�าเนินธุรกิจ ในไทยได้ 3 ปแล้ว ด้วยทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท ทัง้ นี ้ ลาซาด้าเป็นทีจ่ บั ตามองทัง้ ของ ร้านค้าทีต่ อ้ งการขายสินค้าบนออนไลน์ เนือ่ งจากมียอดผูเ้ ข้าเว็บไซต์สงู และสามารถสร้าง ยอดขายให้เติบโตได้อย่างรวดเร็ว ขณะเดียวกันก็เป็นทีต่ อ้ งตาต้องใจของผูบ้ ริโภค เพราะ สินค้าบางรายการถูกอย่างเหลือเชือ่ วีเลิฟช็อปปง (weloveshopping) และ ไอทรูมารท (itruemart) จากค่าย ทรู ความแตกต่างคือ วีเลิฟช็อปปิ้ง มีการรีเฟรชแบรนด์ใ ห้เน้นกลุ่มสินค้าแฟชั่น เจาะกลุ่มผู้หญิงวัย 18-35 ป ซึ่งเป็นนักช็อปออนไลน์ตัวยงและมือเติบ ที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่มอายุอื่นๆ ด้วยจุดขายส�าคัญ คือ ขายสินค้า ลิขสิทธิ์ถูกต้องและผูกระบบการช�าระเงินผ่านเครื่องมือในกลุ่มทรู บน ทรูมันนี่ เพื่อให้การช�าระเงินกระท�าได้ง่ายๆ ผ่านมือถือ ส่วน จํานวนประชากรไทยบนเฟซบุ ก ไอทรูมาร์ทเป็นมาร์เก็ตเพลสที่ต่อยอดจากความส�าเร็จของ วีเลิฟช็อปปิง้ วางต�าแหน่งตนเองเป็นห้างสรรพสินค้าบนออนไลน์ 34 ล้านคน/เดือนและ 24 ล้านคน/วัน ทีข่ ายสินค้าแบรนด์เนม เจาะกลุม่ คนต่างจังหวัดทีช่ อบใช้สนิ ค้า 27% ของประชากรบนอินเทอร์เน็ต แบรนด์เนม 32 ล้านคนต อเดือนบนมือถือ ชี้ตลาดถูกบิดเบือน 94% เป น active user คนไทยบนมือถือ โซเชียลคอมเมิร์ซและอีคอมเมิร์ซที่ก�าลัง 2.5 ชม./วันบนเฟซบุ ก เติบโตกันอยู่ขณะนี้ มีความกังวลถึงสภาพ 1.5% ใช้เวลาบนเฟซบุ กมากกว าทีวี การแข่ ง ขั น ที่ ผู ้ เ ล่ น หลายรายเรี ย กว่ า การบิดเบือนตลาด เนื่องจากราคาขาย คนไทยกับ Social Commerce บนเฟซบุ ก สินค้าด้วยรูปแบบนีห้ ลายรายการมีราคา 70% คอนเนคกับธุรกิจบนเฟซบุ ก ถูกจนแทบไม่นา่ เชือ่ โดยเบือ้ งหลังของ 57% รู้จักสินค้าใหม แบรนด์ใหม บนเฟซบุ ก ราคาทีถ่ กู มากๆ นัน้ มีหลากหลายเหตุผล โดยเหตุผลที่เป็นไปได้ตามหลักตรรกะ 90% ของนักช็อปบนอีคอมเมิร์ซช็อปผ านเฟซบุ กทุกวัน คือ การยอมถอยเพือ่ ลดราคาของผูค้ า้ บน แพลตฟอร์มเอง แต่เหตุผลที่ถูกเรียกว่าเป็นการบิดเบือน ตลาด คือ การน�าสินค้ามาขายลดราคาเอง แล้วจ่าย เงินอุดหนุนให้กับผู้ค้า เนื่องจากมีเงินอุดหนุนจากการระดมทุน ออนไลน์ ไ หม ผมบอกเลยว่ า ไม่ มี คื อ ต้ อ งตี โ จทย์ ใ ห้ ถู ก ก่ อ น เพือ่ ดึงจ�านวนผูค้ นให้เข้ามาเยีย่ มชมเว็บไซต์ให้มากขึน้ ใช่..คนไทยส่วนใหญ่ไม่ใช้เครดิตการ์ด เพราะเครดิตการ์ดทั้ง ค�าถามคือ ตลาดจะมีการดัมพ์ราคาแบบบีก้ นั สุดๆ กันอีกนาน ประเทศไทยมีทั้งหมดแค่ 21 ล้านใบจากประชากรทั้งหมด 70 แค่ไหน เงินทุนจะหมดเมือ่ ไร สภาพตลาดจะมีโอกาสกลับสูส่ ภาวะปกติ ล้านคน แล้วมีลกู ค้าจริงๆ แค่ 9 ล้านคน เหตุผลคือบัตรเครดิตยัง หรือไม่ ผูค้ า้ บนแพลตฟอร์มขายดีสดุ ๆ เช่นนัน้ จะอยูไ่ ด้อย่างยัง่ ยืนหรือ ตอบโจทย์คนไทยไม่ได้ เพราะประเทศเราเป็น Cash Economy ไม่เมือ่ เงินทุนหมด หรือเมือ่ มีการขายกิจการออกไป แล้วสินค้าทีผ่ ลิต แต่นี่ก็ไม่ได้หมายความว่า คนไทยไม่อยากซื้อของออนไลน์ มาเพือ่ ขายบนแพลตฟอร์มนัน้ ๆ จะท�าอย่างไรเหล่านีค้ อื ค�าถามทีต่ อ้ ง อย่างไรก็ตาม สิง่ ทีเ่ ราเห็นเกีย่ วกับการช�าระเงินมี 2 ส่วน คือ ใส่เครือ่ งหมายไปยาลใหญ่อกี หลายๆ ตัวทีเดียว 1.การซื้อขายในอีคอมเมิร์ซ 50% จะซื้อแบบ Cash on ส�าหรับผู้ประกอบการที่ไม่เล่น Money Game เช่นนี้ต่างก็ Delivery คือ จ่ายเงินสดเมื่อได้รับสินค้า ซึ่งคนซื้อไม่มีปญหา Wait & See กันว่าเมือ่ ไรฟาจะเปิด !?! คนทีม่ ปี ญ  หาคือคนขายทีไ่ ม่อยากบริหารเงินสด เพราะเสีย่ งสูง 2.การโอนเงินให้กบั คนแปลกหน้า ถ้าบอกว่า คนไทยกลัวการ ซื้อของออนไลน์ แล้วคนกลุ่มนี้จะกล้าโอนเงินให้คนแปลกหน้าได้ สังคมเงินสด อย่างไร นีม่ นั เป็นสิง่ หนึง่ ทีอ่ ธิบายค่อนข้างล�าบาก เป็นพฤติกรรมที่ ในการท�าตลาดโซเชียลคอมเมิรซ์ มีปญ  หาอีกแบบหนึง่ ทีห่ ลาย ผมเชือ่ ว่าในอเมริกาท�าไม่ได้ แต่ในประเทศไทยมันกลายเป็นสิง่ ทีเ่ วิรค์ คนคงไม่คาดคิด นัน่ คือคนไทยไม่นยิ มช�าระเงินด้วยบัตรเครดิต ด้วย ในการท�าตลาด คุณต้องยอมรับพฤติกรรมของผู้บริโภค เกรงความไม่ปลอดภัยของข้อมูล แม้ในผูเ้ ล่นหลักหลายรายจะบอกว่า อยู่ดีๆ คุณจะมาเปลี่ยนให้เขามาใช้บัตรเครดิตเหมือนประเทศที่ วิธกี ารช�าระเงินผ่านการโอนเอทีเอ็ม บัตรเครดิตจะสูงกว่าระบบการจ่าย พัฒนาแล้วคงเป็นไปไม่ได้ แต่คณ ุ ต้องศึกษาพฤติกรรมของผูบ้ ริโภค เงินปลายทางก็ตาม ไทยแล้วหาหนทางทีม่ นั เวิรค์ เข้ามาใช้ ทัง้ นี ้ อริยะ พนมยงค กรรมการผูจ ดั การ LINE ประเทศไทย ผมเชื่อว่า คนที่ท�าธุรกิจแบบนี้จะไม่ประสบความส�าเร็จใน ให้ทัศนะถึงประเด็นนี้ว่า “ทุกครั้งที่มีคนถามผมเรื่องอีคอมเมิร์ซ ประเทศไทย ส�าหรับไลน์เพย์ตอนนีเ้ ราก�าลังพยายามอยูเ่ หมือนกัน เรือ่ งโซเชียลคอมเมิรซ์ แล้วถามว่า คนไทยมีปญ  หาเรือ่ งการจ่ายเงิน marketplus 47


COVER STORY

อริยะ พนมยงค์

กรรมการผู้จัดการ LINE ประเทศไทย

6 เครือ่ งมือหลักของ Social Commerce กับประเด็นนี้ แต่ตอ้ งบอกก่อนว่า ตอนนี้เรามีคนที่เข้ามาลงทะเบียนใน ไลน์เพย์อยูป่ ระมาณ 1.5 ล้านคน ซึง่ ต้องยอมรับว่า ไลน์เพย์เริม่ ต้นจาก บัตรเครดิต เพราะเป็นสิ่งที่จับต้องได้ง่ายที่สุดและมีระบบระเบียบอยู่ แต่ถา้ ถามว่า มันคืออนาคตของอีคอมเมิรซ์ คืออนาคตของไลน์เพย์ไหม --ก็ตอ้ งบอกว่าไม่ใช่ นี่คือเหตุผลที่เราต้องเปิดบริการใหม่ LINE Pay E-Wallet เพื่อ เชื่อมต่อบัญชีของไลน์เพย์กับบัญชีธนาคาร โดยในช่วงเริ่มต้นจะเป็น บัญชีของธนาคารไทยพาณิชย์ แล้วก็จะขยายไปธนาคารอื่นๆ ซึ่งจะ ท�ำให้ผซู้ อ้ื มีบญ ั ชี E-Wallet ซึง่ เปรียบเสมือนกับเงินสดทีน่ ำ� ไปใช้จบั จ่าย ซื้อสินค้าได้ โดยในช่วงตรุษจีนที่ผ่านมาแคมเปญ ‘อั่ ง เปาน� ำ โชค จาก LINE Pay’ มียอดเข้ามามากเกินคาดถึง 8 ล้านธุรกรรมใน 7 วัน ซึง่ เรา ก็ทงั้ ดีใจและตกใจ คือ ยอมรับว่า เราต้องท�ำโปรโมชันเพือ่ สร้างการทดลอง และเพือ่ ท�ำให้คนรูว้ า่ จริงๆ แล้วมันไม่ยาก ซึง่ เราก็คาดหวังว่านีจ่ ะเป็นการ ให้ความรูก้ บั ผูบ้ ริโภค เพือ่ ทีพ่ วกเขาจะได้ใช้งานเป็น” อริยะมองประเด็นเรือ่ งการช�ำระเงินว่า เป็นอุปสรรคของทัง้ วงการ ไม่ใช่แค่เฉพาะกับไลน์เพย์ “ตอนนีเ้ ราไม่รวู้ า่ พวกเขาคือใคร ตลาดนีใ้ หญ่ขนาดไหน ซึง่ เมือ่ ไป ดูตวั เลขจากอีคอมเมิรซ์ ก็จะเห็นว่าเป็นการนับตัวเลขทางการอย่างเดียว ส่วนทีเ่ หลือไม่มใี ครจับต้องได้ เพราะการโอนเงินให้ซงึ่ กันและกันมัน คือ C2C หรือ P2P นัน่ ก็คอื ผูบ้ ริโภคโอนให้กบั ผูบ้ ริโภค ผมบอกได้เลยว่า ไม่มใี ครทีโ่ อนเงินให้เพือ่ นทุกวัน มันไม่มี คุณจะ โอนเงินให้เพือ่ นท�ำไม อาจจะมีบา้ ง แต่ไม่ใช่ถๆี่ และต่อเนือ่ ง ซึง่ ผมเชือ่ ว่า ธนาคารเขามีขอ้ มูลตรงนีอ้ ยูแ่ ล้ว ส�ำหรับผมอะไรทีเ่ ป็น P2P โอกาส ค่อนข้างสูงทีจ่ ะเป็นอีคอมเมิรซ์ หรือโซเชียลคอมเมิรซ์ ผมบอกได้เลยว่า C2C (Customer to Customer) และหนึง่ ในนัน้ จะมีบางคนทีเ่ ป็น C2B (Customer to Business) เพียงแค่เราไม่รวู้ า่ เขาคือธุรกิจทีท่ ำ� การค้าบน ออนไลน์”

48 marketplus

Customer Rating & Review การ จัดอันดับและรีววิ ของลูกค้าทีม่ ปี ระสบการณ์ตรง จากสินค้า/บริการ

User Recommendation & Referral

Social Shopping Tools การใช้

Forum & Community กระทู้และ

การดึงดูดให้ผใู้ ช้ชว่ ยบอกต่อหรือแนะน�ำเพือ่ น

เทคโนโลยีเพือ่ เอือ้ ให้เกิดการช็อปปิง้ บนออนไลน์ อาทิ การเปิดร้านค้าบนเฟซบุ๊ก การท�ำธุรกิจ ประเภท Group Buying เช่น ลีฟวิง่ โซเชียล ชุมชนออนไลน์ทเี่ ป็นสือ่ กลางของผูค้ นบนออนไลน์ เช่น พันทิปดอทคอม

Social Media Optimization (SMO) การใช้เสิรช์ เอนจินเพือ่ เพิม่ Traffic สูห่ น้า

เว็บไซต์รา้ นค้า เช่น การแทรกลิงก์เว็บไซต์ของ ร้านค้าผ่านวิดีโอบนยูทูบ หรือการติดแฮชแท็ก (#) เพือ่ ให้สบื ค้นได้

Social Advertising การโฆษณาผ่าน สือ่ สังคมออนไลน์ซงึ่ จะมีเงือ่ นไขแตกต่างกันออก ไป เช่น การลงโฆษณาบนเฟซบุก๊ สามารถก�ำหนด ค่าโฆษณาได้ โดยความถีใ่ นการแสดงโฆษณาจะ แปรผันตามงบทีต่ งั้ ไว้ เรียบเรียงจาก Social Commerce กลยุทธ์ ใหม่ ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดย ธนกฤต วงศ์มหาเศรษฐ์


Gen C คือใคร Gen C คือ เจเนอเรชัน่ ทีก่ า ว ขามอายุ แตวา กันดวยพฤติกรรมลวนๆ นัน่ คือ

Connection

เชื่อมตอเพื่อทํากิจกรรมในชีวิต ประจําวันตลอดเวลา เรียกวาขาดเน็ต แทบขาดใจ

Convenience

ชอบความสะดวกสบายในทุกสิ่ง โดย เฉพาะการช็อปทีง่ า ยเพียงแคคลิก

Creation

ชอบสราง มีความคิดเปนของตัวเอง ชอบอะไรทีไ่ มซาํ้ ซาก

Gen C Lifestyle on S-Commerce โซเชี ย ลคอมเมิ ร ซ นั้ น คลาคลํ่ า ด ว ย Gen C ซึ่ ง บริษัท โธธ โซเชียล จํากัด ได ทําวิจัยถึงพฤติกรรมและ ไลฟ สไตล ของคน Gen C บนโลกโซเชียลและการจับจ าย บนโซเชียลคอมเมิร ซอย างน าสนใจ ฮับบนโซเชียลเน็ตเวิร ค

เรือ่ งโซเชียลเน็ตเวิรค คนไทยไมแพใครในโลก ประชากรบนเฟซบุก นัน้ มีคนไทยมากถึง 37 ลานคน เกินครึง่ ของประชากร ขณะทีบ่ นอินสตาแกรม 7.8 ลานคนและทวิตเตอร 3.4 ลานคน สวนจํานวนเพจของไทยบนเฟซบุก ทีม่ ที งั้ หมด 705,627 เพจจาก 224 หมวดนัน้ เปนเพจของรานคา มากถึง 87,450 เพจ โดยแบงเปน

กลุ มสุขภาพและความงาม 31,101 เพจ

Curation

ชอบบอกตอสิง่ รอบตัวและบอกแตสงิ่ ที่ คิดวามีคณ ุ คากับคนอืน่

กลุ มเสื้อผ าเครื่องแต งกาย 29,146 เพจ

Community

กลุ มช็อปป ง, รีเทล

26,933 เพจ

ชอบอยู  กั บ กลุ  ม ที่ มี ค วามเหมื อ นกั บ ตนเองในโลกออนไลน

Social Media กลายเป นสิ่งที่ขาดไม ได ของคน Gen C แบรนด ไม ควรพลาดโอกาสในการเข าถึงคน Gen C

marketplus marketplus 49 49


COVER STORY

COVER STORY

โซเชียลเน็ตเวิร คที่ Gen C เข าไปเลือกช็อป เฟซบุ ก

92.1%

เหตุผลที่ทําให Gen C เลือกช็อปสินค า บนโซเชียลเน็ตเวิร ค

48% 45%

สังคมออนไลน ยอดฮิต 3 ป ซ อน

การแชร รูปภาพสินค าจากเพื่อน บนโซเชียลเน็ตเวิร ค โฆษณาบนหน า News Feed Facebook ความคิดเห็นในพันทิปดอทคอม

อินสตาแกรม

43.9%

คอมเมนต ฝากร านบนอินสตาแกรม

เพศที่สาม ใช หนักที่สุด ไลน

สําหรับความถีข่ อง Gen C ในการช็อปสินคาบนโซเชียลเน็ตเวิรค คือ 2.6 ครัง้ ตอเดือน

85.1%

เบบี้บูมเมอร นิยมใช สุดๆ

ฝากร านหน อยค ะ

พฤติกรรมช็อปบนโซเชียลคอมเมิร ซ

พฤติกรรมการสืบคนเพือ่ หาตัวเลือกใหกบั ตนเอง ของ Gen C กอนทีจ่ ะช็อปบนโซเชียลคอมเมิรซ นัน้ แหลงขอมูลทีส่ าํ คัญระดับ Top 3 คือ กูเกิล (68%), เฟซบุก เสิรช (46%), อินสตาแกรม (31%) ซึง่ 3 แหลงนี้ ธุรกิจโซเชียลคอมเมิรซ สามารถสรางยอดขายไดจาก การทํา Search Engine Marketing รองลงมาคือ รีววิ ในพันทิปดอทคอม (26%) จากคนรอบขาง (24%) สวนทีค่ น จากแฮชแท็ก (#) และคอมเมนตฝากราน มีเพียง 15% และ 9% ตามลําดับ

อินสตาแกรม ทีเ่ คยเปนขาวดังเมือ่ ครัง้ เซเลบโพสตกบั เบียรเปน โฆษณาแฝงนัน้ ตอกยํา้ ถึงอิทธิพลของโซเชียลเน็ตเวิรค นีเ้ ปนอยางดี ทัง้ นี้ บนอินสตาแกรมมี 11,213 รานคาและมีการฝากรานบนอินสตาแกรม ของคนดังทัง้ หมด 58,809 ครัง้ สวนประเภทสินคาทีช่ อบฝากรานบนอินสตาแกรมของคนดัง คือ แฟชั่น

71%,

22% สินค าแม และเด็ก 4% อุปกรณ ไอที 3% สุขภาพและความงาม

ป ดจ็อบ

แชทเปนชองทางปดจ็อบทีด่ ขี องโซเชียลคอมเมิรซ โดยแบงเปน แชทบนอินบ็อกซ ของเฟซบุ ก แชทในไลน แจ งผ านเว็บไซต อีเมล คอมเมนต ใต ภาพ

61% 46% 34% 28% 12%

50 marketplus

สวนวิธกี ารชําระเงินทีไ่ ดรบั ความนิยมมากทีส่ ดุ คือ การทําธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส (โอนเงิน, บัตรเครดิต)

68.8%

รองลงมา คือ ชําระเงินปลายทาง

31.2%


ธรินทร์ ธนียวัน

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายการพาณิชย์และการตลาด บริษัท ลาซาด้า ประเทศไทย จ�ำกัด

ตลาดยังว่าง - ยังมีวิวัฒนาการ

Lazada s-Commerce เบอร์ 1 ของไทย

ลาซาด้า (Lazada) อีมาร์เก็ตเพลสที่ท�ำตลาดทั่วเอเชียอาคเนย์และ มีเป้าหมายทีจ่ ะเป็น ‘อเมซอนดอทคอมของเอเชีย’ วันนี้ เป้าหมายของลาซาด้า ถูกพิชิตแล้ว เนื่องจากลาซาด้าเป็นเบอร์ 1 ในแทบทุกประเทศที่เข้าไปท�ำตลาด รวมทั้งประเทศไทยด้วย

ลาซาด้า สร้างแบรนด์และสร้างการรับรูถ้ งึ การเป็นตลาดออนไลน์ให้นกั ช็อปได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะสินค้าทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ ความหลากหลายของหมวดผลิตภัณฑ์และโครงสร้างราคาที่ ถูกสุดๆ ทีส่ ำ� คัญ การแจกคูปองเพือ่ จูงใจให้เกิด Traffic และการเข้าชมเว็บไซต์นนั้ เป็นไม้เด็ดทีไ่ ด้ ผลเสมอ

ธรินทร์ ธนียวัน ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารฝ่ายการพาณิชย์และการตลาด บริษทั ลาซาด้า ประเทศไทย จ�ำกัด ให้ทัศนะถึง ทิศทางของอีคอมเมิรซ์ และโซเชียลคอมเมิรซ์ ว่า “ส�ำหรับอีคอมเมิรซ์ ไทยถือว่ายังเป็นเรือ่ งใหม่อยู่ แต่ถา้ เทียบการเข้าถึง (Penetration) เมือ่ เทียบ กับยอดขายทัง้ หมดของรีเทลแล้ว เมืองไทยมีไม่ ถึง 1% ขณะทีอ่ เมริกาและจีนทีม่ ี 8 -10% แล้ว คนไทยทีเ่ ริม่ ซือ้ บนช่องทางนีก้ จ็ ะวิตกว่า จะได้ สินค้าจริงหรือไม่ ซึ่งตรงนี้เราต้องแก้ทกี่ ารรับรู้ ว่า การช็อปบนอีคอมเมิรซ์ มีความปลอดภัย ผูซ้ อื้ สามารถเก็บเงินปลายทางได้ สามารถคืนของได้ ภายใน 14 วัน สามารถติดตามสินค้าได้ ฯลฯ นี่ คือความท้าทายของการท�ำอีคอมเมิรซ์ ถ้าสังเกต จะเห็นว่าในปีทผี่ า่ นมามีคแู่ ข่งอีกหลายรายทีเ่ ข้า มาท�ำการตลาด ไม่วา่ จะเป็นซีพี เซ็นทรัล ฯลฯ แต่ ข้อดีกค็ อื แต่ละรายเริม่ โฆษณา ท�ำให้เกิดการรับรู้ และท�ำให้คนกล้าทีจ่ ะเริม่ ลองและซือ้ ซึง่ ถือว่า นี่ เป็นเทรนด์ทดี่ ใี นตลาดบ้านเรา

marketplus 51


COVER STORY

ส่วนโซเชียลคอมเมิร์ซ หรือการสื่อสารหรือ ปฏิสมั พันธ์ (Interact) กันมากๆ บนการท�ำคอมเมิรซ์ นัน้ คนไทยใช้ โ ซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร ์ ค ไม่ ว ่ า จะเป็ น เฟซบุ ๊ ก อินสตาแกรมติดอันดับโลก เราแชร์-คอมเมนต์กัน เยอะมาก แต่ที่ขาดคือการคอมเมนต์เรื่องโปรดักส์ แตกต่างจากของต่างประเทศ เช่น อเมซอนทีจ่ ะมีรวี วิ สินค้ามากมาย เขียนละเอียดมาก คนไทยรีววิ สินค้า บนแพลตฟอร์มทีต่ นเองซือ้ มีนอ้ ยมาก แต่สว่ นมากมัก จะรีววิ สินค้าบนพันทิป แต่ตอ่ ไปเราจะเห็นคนไทยเขียน รีววิ เพือ่ ให้ความรูก้ บั ผูซ้ อื้ หลายๆ คน อีกไม่นานช่อง กระทู้บนแพลตฟอร์มช่วยขายแบบลาซาด้าหรือของ ลาซาด้าจะเหมือนกระทูบ้ นพันทิป”

ท�ำไมต้องลาซาด้า

จากการเป็นเบอร์ 1 ในหลายประเทศที่ลาซาด้าเข้าไปลงทุน แน่นอนว่า ทางลัดของปัจจัยสู่ความส�ำเร็จมาจาก การแบ่งปัน Best Practice ซึ่งกันและกันและมาจากการวางระบบการปฏิบัติการที่ คล้ายคลึงกันในแง่ของการสนับสนุนผู้ค้า (Seller) ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ ลาซาด้า ยูนเิ วอร์ซติ ี้ ทีท่ ำ� หน้าทีฝ่ กึ อบรมเพือ่ ชีแ้ นะหนทางสูค่ วามส�ำเร็จ ให้กับผู้ค้า การพยากรณ์ยอดขาย ซึ่งด้วยข้อมูลของลาซาด้าที่มีอยู่ ทุกรูปแบบท�ำให้สามารถวิเคราะห์และแนะแนวทางท�ำโปรโมชันกับ คู่ค้าของตนเองได้อย่างแม่นย�ำ 10%บวกลบ แม้จะมีการออกตัวว่า อาจจะมีการผิดพลาดบ้าง แต่แน่นอนว่า ย่อมมีโอกาสของการวิเคราะห์ ที่ถูกเป้ามากกว่าผิด อย่างไรก็ตาม การเรียนกับ ลาซาด้า ยูนิเวอร์ซิตี้ อาจจะไม่ใช่ สูตรส�ำเร็จเสียทีเดียว ธรินทร์กล่าวถึงหนทางสูค่ วามส�ำเร็จของผูค้ า้ บน ออนไลน์วา่ “คนทีจ่ ะประสบความส�ำเร็จบนออนไลน์ตอ้ งตัง้ ใจท�ำช่อง ทางนี้จริงๆ การขายของออนไลน์ไม่ใช่แค่ Check Box หรือมาลงกับ ลาซาด้าแล้วไม่ทำ� อะไรเลย แบบนีก้ จ็ ะไม่ประสบความส�ำเร็จแน่นอน อย่างคนทีเ่ รียนกับลาซาด้า ยูนเิ วอร์ซติ ี้ หรือคนทีเ่ ขารูอ้ ยูแ่ ล้ว คนเหล่านี้ ก็จะมาท�ำของเขาเอง อาทิ 1. คุณใส่ใจราคาหรือยัง เช็กราคาทุกวัน หรือไม่ คูแ่ ข่งเป็นอย่างไร 2. สินค้าทีน่ ำ� มาลงบนลาซาด้ามีกชี่ นิ้ เพียงพอ กับความต้องการของลูกค้าหรือไม่ 3. ของทีม่ าขายมีสต็อกจริงหรือไม่ หรือตั้งมาเฉยๆ พอคนมาซื้อแล้วก็ซื้อไม่ได้ 4. มีการตลาดเป็นของ ตัวเองหรือยัง มีช่องทางอื่นๆ เช่น เฟซบุ๊ก เพื่อให้ลูกค้าติดต่อหรือ เห็นโปรดักส์ เห็นร้าน เห็นโฆษณาของคุณหรือยัง ฯลฯ” “ความแข็งแกร่งของลาซาด้ายังมาจากยอด Traffic ซึง่ ลาซาด้า ในฐานะเบอร์ 1 มีรวมทุกแพลตฟอร์มมาถึง 40 ล้าน ทิง้ ห่างจากเบอร์ 2-3 ที่มีประมาณ 5-6 ล้าน/เดือน (ไม่มีแอปพลิเคชัน) และเบอร์ 4 ที่มี 2-3 ล้าน/เดือน ด้วย Traffic ที่แตกต่างกันนี้เองที่ท�ำให้ผู้ค้าหลายราย สนใจลาซาด้ามาก ดังนั้น เราจึงอยากให้เอสเอ็มอีลองเข้ามาฟัง ถ้า ไม่สนใจก็ไม่เป็นไร แต่สเกลของ Traffic เรามาถึงจุดนี้ ซึ่งน่าจะตอบ โจทย์ได้” 52 marketplus

นอกจากนี้ ด้วยแรงหนุนของ 4G ท�ำให้แนวรบเปลี่ยนจาก พีซีหรือแล็ปท็อปมาเป็นมือถือ สกรีนบนมือถือคือพื้นที่หอมหวาน ผู้บริหารลาซาด้าเผยว่า “การแข่งขันที่ย้ายมาอยู่ที่สมาร์ทโฟนนี้ ท�ำให้การสั่งซื้อบนมือถือต้องง่าย สะดวกและได้พัฒนาให้มี Customer Interface ที่ดีกว่าเดิม ในแง่ของลาซาด้า ท�ำอย่างไรก็ได้ให้แอปพลิเคชันใช้งานง่าย เสิร์ชหาง่าย เมื่อท�ำให้ตลาดทราบว่า การใช้งานบนแอปง่าย ตลาดก็จะไปได้ดว้ ยตัวเอง อย่างของลาซาด้า เมือ่ ต้นปี 2015 แชร์ ของTraffic มาจากแอปพลิเคชันยังไม่ถึงครึ่งเลยแต่ขยับมาเป็น 60% เมื่อ ธ.ค. 2015 และในปี 2016 ก็เป็นไปได้ที่จะถึง 70-80% เพราะสมาร์ทโฟนปัจจุบันถูกลงเรื่อยๆ ในเวอร์ชั่นนี้จะเห็นว่า มี ความเป็น Customer Centric ดูมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น มีภาพ มีกราฟิกและหมวดสินค้าเพิม่ มากขึน้ และปรับปรุงเพิม่ เติมเพือ่ ให้ คนใช้ ใช้งานได้สะดวกมากขึ้น”

หน้าร้าน มี-ไม่มีไม่เป็นไร

ร้านค้าออนไลน์จ�ำเป็นต้องมีหน้าร้านหรือไม่ นี่คือค�ำถาม คาใจหลายคน ธรินทร์ให้ทศั นะว่า “ในอนาคตถ้ามีเงินก็ได้ ถามว่าท�ำดีไหม ผมว่าก็ดี คนจะได้ รูจ้ กั เรา แต่ถา้ เป็น Start-up ผมว่าไม่จำ� เป็น แต่ถา้ อยากจะท�ำจริงๆ ก็ตอ้ งคิดถึงปัญหาต่างๆ ด้วย เช่น การควบคุม ก�ำลังคน เวลาเปิด ปิด การบริหารสต็อก ค่าเช่าพืน้ ที่ ฯลฯ ซึง่ หากเทียบกับออนไลน์ที่ ไม่มปี ญ ั หาให้เครียด ขณะเดียวกัน ช่องทางออนไลน์กส็ ามารถเข้า ถึงตลาดใหญ่ได้เร็วอยู่แล้ว อย่างลาซาด้าวันหนึ่งเรามีคนเข้ามา 1 ล้านต่อวันเป็นอย่างน้อย (ไม่รวมช่องทางมือถือ) หรือเกือบ 30 ล้าน ต่อเดือน ฉะนัน้ ถ้าคิดภาพว่าคนทีจ่ ะมาเห็นสินค้าเราบนออนไลน์ก็ มีความได้เปรียบกว่ามาก เพียงแต่ตอ้ งใช้เวลาบริหารออนไลน์ให้ด”ี แล้วเราจะได้เห็นการต่อยอด ‘ออนไลน์–ออฟไลน์’ ข้าม แพลตฟอร์มกันมากขึน้ หรือไม่ ธรินทร์กล่าวว่า


การพยากรณ์ยอดขายก็มผ ี ดิ พลาดบ้าง ไม่ ได้ถกู ทุกครัง้ แต่มโี อกาสถูกมีมากกว่าโอกาสผิด เพราะนี่คือ Data Game ด้วยว่าบนออนไลน์เรา จะเห็นตัวเลขทุกอย่าง ดังนั้น ปีหน้าเราน่าจะเห็นเทรนด์ที่แบรนด์เริ่มมาจับ ตลาดนี้อย่างจริงจัง เพราะตลาดเคลื่อนที่มาทางนี้ รวมทั้ง โฆษณาของหลายแบรนด์ก็มีให้เห็น ฉะนั้น เราน่าจะเห็นว่า แบรนด์ลงมาท�ำอะไรบนอีคอมเมิร์ซมากขึ้น”

ช่องทางที่ศก.ไม่กระทบ

“ในมุมมองของผม หลายๆ รายก็มองกันที่ Omni-Channel หรือ การเข้าถึงลูกค้าจากช่องทางทีห่ ลากหลาย หรือแม้แต่คนทีข่ ายของต่าง ก็ตอ้ งหาช่องทางใหม่ๆ ทีต่ น้ ทุนถูก มาร์จนิ้ ดี ซึง่ ลาซาด้า ถือเป็นช่องทาง ทีน่ า่ สนใจและเติบโตสูงมากกว่าช่องทางอืน่ ๆ เช่น โมเดิรน์ เทรด เพราะ ต้นทุนการปฏิบตั กิ ารน้อยกว่า ท�ำให้ผลตอบแทนสูงกว่า แต่ทแี่ น่ๆ คิด ว่าพวกออฟไลน์จะมาใช้ชอ่ งทางออนไลน์แน่ เพียงแต่วา่ แต่ละรายจะ จับออนไลน์กบั ออฟไลน์มาผูกกันอย่างไรตรงนีย้ งั ไม่แน่ใจ”

Branded Product ก็มา

ถ้ า สั ง เกตจะเห็ น ว่ า บนอี ค อมเมิ ร ์ ซ หรื อ โซเชี ย ลคอมเมิ ร ์ ซ Branded Product หรือสินค้าทีม่ กี ารสร้างแบรนด์หรือมีแบรนด์เป็นที่ รู้จักต่างก็ตบเท้าเข้ามาในส่วนนี้กันอย่างคึกคักและหากจะถามว่า ‘เชี่ยว’ หรือยัง ธรินทร์กล่าวตรงไปตรงมาว่า ‘ก�ำลังจะ’ กล่าวได้ว่า “ปี2016 จะถือว่าเป็นปีที่ส�ำคัญมากส�ำหรับแบรนด์ เพราะ เมื่อต้นปี 2015 เราเจอหลายแบรนด์ แต่แบรนด์ที่มี e-Commerce Manager หรือ Digital Manager มีน้อยมาก แต่พอไตรมาส 4/2015 ผมว่ากว่า 80% ของแบรนด์มี e-Commerce Manager เกือบทุกแบรนด์ มีเป้าที่จะต้องเปิดช่องทางบนอีคอมเมิร์ซ ถึงแม้ขนาดจะยังเล็ก แต่อัตราการเติบโตสูงมาก บางรายอัตราการเติบโตเป็นก้าวกระโดด แบบเดือนต่อเดือน

ธริ น ทร์ บ อกจากประสบการณ์ ต รงที่ ห าดใหญ่ แ ละ ขอนแก่น ซึ่งพบว่ามีแต่คนพูดถึงเรื่องเศรษฐกิจไม่ดี แต่กับ คู่ค้าของลาซาด้าแล้ว ประเด็นนี้กลับไม่มีผลกระทบเลย “บนแพลตฟอร์มลาซาด้าเราไม่ได้ยินใครบ่น เพราะ แต่ละรายเติบโตอย่างรวดเร็ว บางรายเติบโตด้วยตัวเลขสอง หลัก ที่ส�ำคัญ การใช้ช่องทางนี้ใช้ต้นทุนต�่ำ ใช้แรงงานแค่ คนในครอบครัวก็ท�ำได้แล้ว เดี๋ยวนี้มีแพลตฟอร์มช่วยขาย แบบลาซาด้าเยอะ ฉะนั้น ผมคิดว่า ตรงนี้คือโอกาสที่ ผู้คา้ ควรคว้าเอาไว้ โดยเฉพาะผูค้ า้ รุน่ พ่อแม่ทจี่ ะก�ำลังจะส่งต่อธุรกิจ ซึ่งช่วงเปลี่ยนผ่านตรงนี้ต้องอาศัยความเข้าใจ เปิดใจยอมรับ และมาฟังว่า นี่คือช่องทางส�ำหรับโอกาสจริงๆ เพราะการน�ำ สินค้าเข้าโมเดิรน์ เทรดวันนีค้ ณ ุ ต้องเสียค่าแรกเข้า ขายได้ – ไม่ ได้ไม่รู้ นอกจากนี้ ยังต้องมีต้นทุนอื่นๆ อีกมาก ขณะที่การใช้ แพลตฟอร์มช่วยขายแบบลาซาด้าจะมีระบบสนับสนุนทุกอย่าง นับแต่การขนส่ง การท�ำโปรโมชัน การเก็บเงินปลายทางให้ มีการ จ่ายเงินให้ตามปกติทวั่ ไป ฯลฯ นีค่ อื ช่องทางจริงๆ และเป็นเหตุผลว่า เหตุใดแบรนด์จงึ สนใจเข้ามาในช่องทางนีค้ อ่ นข้างมาก เราจึงอยากให้เอสเอ็มอี เข้ามาฟังว่า นีค่ อื ช่องทางทีส่ กั วันฐานลูกค้าของคุณจะเปลีย่ น มาทางนี”้

อเมซอนเอเชีย

ด้วยปณิธ านการก่อตั้งธุรกิจลาซาด้าที่ต้อ งการเป็น อเมซอนแห่งเอเชียนัน้ บัดนีไ้ ปได้มากน้อยเพียงใด ธรินทร์บอกว่า “ในแง่ ข องขนาดอาจจะยั ง ไม่ ใ ช่ แต่ ถ ้ า ในส่ ว นของ บุคลิกลักษณะหรือความเป็นตัวตนผมคิดว่าเป็นแล้ว เพราะเรา เป็นรายเดียวทีเ่ ป็นเบอร์ 1 ในเกือบทุกประเทศทีเ่ ราอยู่ อีกทัง้ เป็นมาร์เก็ตเพลสและรีเทลรายเดียวที่ให้บริการเพื่อสนับสนุน ผูค้ า้ แทบจะทุกด้านแล้วดังได้กล่าวไว้ขา้ งต้น นอกจากนี้ เราก็มที มี ดูแลโซเชียลเน็ตเวิรค์ ด้วย โดยเฟซบุก๊ เรามี 12 ล้านไลค์ อินสตาแกรม 1.5-1.8 ผู้ติดตามและไลน์ 13 ล้านรายอีกด้วย” marketplus 53


COVER STORY

topvalue.com s-Commerce น้องใหม่ไทย topvalue.com อี-มาร์เก็ตเพลส สัญชาติไทยที่เพิ่งก้าวสู่ ปีที่ 2 จัดเป็นโซเชียลคอมเมิรซ์ ประเภท Peer to Peer Sale Platform ที่เป็นคอมมูนิตี้และมาร์เก็ตเพลส มีการซื้อขายกันเป็นรายบุคคล และขายตรงให้กบั ลูกค้าทีเ่ ป็นตัวบุคคล แม้จะเป็นน้องใหม่และนับว่า ยังเล็กอยู่มากถ้าเทียบกับโซเชียลคอมเมิร์ซรายอื่นๆ ที่อยู่ใน ตลาดมานาน อีกทั้งมีผู้เล่นท�ำนองเดียวกันอยู่จำ� นวนไม่น้อย ทว่า ด้วยความตั้งใจจริงของ ธนากร แซ่ ลิ้ ม กรรมการผู ้ จั ด การ บริษทั ท็อปแวลู คอร์ปอเรท จ�ำกัด ทีม่ ี Amazon.com เป็นไอดอล ปีนจ้ี งึ เป็น ปีที่เขาเสริมจุดแข็งครบมิติและประกาศรุกสร้างแบรนด์ ขยายฐานตลาดด้วย การสื่อสารทางการตลาดและการเข้าสู่ m-Commerce ด้วยแอปพลิเคชันของ topvalue (ท็อปแวลู)

ต้องโตแบบเสริมแกร่ง

การเข้ามาในตลาดโซเชียลคอมเมิร์ซของธนากร เนื่องจากกลุ่มบริษัท สวิทซเฟลคซ ฐานธุรกิจเดิมในวงการบรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ ที งั้ การผลิตแม่พมิ พ์ การน�ำ เข้าเครือ่ งจักร การท�ำบรรจุภณ ั ฑ์กล่องนมโรงเรียนและการรีโนเวทเครือ่ งจักรเก่า แล้วขายต่อนัน้ เริม่ ถดถอย ท�ำให้ ธนากร มองหาโอกาสใหม่ๆ ทีท่ า้ ทายเขาบนเส้น ทางโซเชียลคอมเมิรซ์ ท็อปแวลูถกู วางต�ำแหน่งให้เป็นมาร์เก็ตเพลสทีไ่ ม่ได้เจาะกลุม่ แมสมากนัก ถ้าเปรียบกับห้างสรรพสินค้า เราเป็นห้างสรรพสินค้าชานเมืองทีม่ คี วามสัมพันธ์อนั ดี กับลูกค้าแบบสังคมไทยและเน้นการคัดสรรสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพมาวางขาย พร้อม รับประกันด้วยว่าสินค้ามาวางขายคือของแท้ ด้วยบริการทีร่ วดเร็วทันใจ โดยเปิด ท�ำการ 6 วันจันทร์–เสาร์ รวมทัง้ บริการแบบครบวงจรตรงใจลูกค้า การปล่อยให้ ท็อปแวลู เติบโตแบบธรรมชาติในช่วงเริม่ แรกจากออร์เดอร์ ที่มีเพียงเล็กน้อยก่อนที่ออร์เดอร์จะทะยานต่อๆ ไปนั้นเพื่อให้ธุรกิจเติบโตอย่าง แข็งแรง ไม่ฉาบฉวย “ตอนนีเ้ รามีลกู ค้าประจ�ำและลูกค้าใหม่ทกี่ ำ� ลังเข้ามาเรือ่ ยๆ เมือ่ เรามัน่ ใจ ว่า ฐานเราแข็งแรง เราจึงค่อยขยาย เพราะเราไม่เน้นจ�ำนวนแต่เน้นคุณภาพ เพราะ การเติบใหญ่แบบไม่แข็งแรงก็จะท�ำให้ดแู ลลูกค้าได้ไม่ทวั่ ถึง ทัง้ ด้านคุณภาพสินค้า การขนส่ง การตรงต่อเวลา พร้อมทัง้ ระบบบริการให้คำ� ปรึกษาเรือ่ งสินค้าส�ำหรับ ผู้ซื้อและผู้ขายผ่านการสนทนาแบบ Live Chat ซึ่งสามารถสอบถามข้อมูล 54 marketplus

เพิ่มเติมเกี่ยวกับสินค้าที่สนใจ รวมไปถึงการเข้ามา เปิดร้านค้าเป็นของตัวเองได้แบบ Real Time (เวลา จริง) ตลอดจนการบริการด้านต่างๆ ที่มอบความ สะดวกสบายและสร้างความมัน่ ใจให้กบั ลูกค้าตัง้ แต่ คลิกแรกในการเลือกซื้อสินค้า ไม่ว่าจะเป็นการรับ ประกันสินค้า หากผูซ้ อื้ สามารถตรวจสอบได้วา่ ไม่ใช่ สินค้าแท้ เรายินดีคนื เงินให้ 2 เท่าของราคาสินค้าและ สามารถเปลีย่ นคืนสินค้าได้ใน 7 วัน รวมทัง้ ระบบจ่าย เงินปลายทาง”

We Try Harder

การเป็นน้องใหม่บวกกับการรบภายใต้ขอ้ จ�ำกัด นัน่ จึงท�ำให้ ท็อปแวลู ต้องใช้ความพยายามมากกว่า เพื่ อ ชั ย ชนะของการรบ ซึ่ ง แม้ จ ะไม่ ใ ช่ ทุ ก สมรภู มิ แต่อย่างน้อยก็ในสมรภูมิที่ธนากรเลือกขีดวงไว้ เพื่อ ยุทธศาสตร์ในอนาคตของ ท็อปแวลู “เรื่องโครงสร้างราคาโดยทั่วไปเราขายถูกกว่า แม้เราจะเล็ก แต่เราสามารถควบคุมระบบการปฏิบตั ิ การของเราได้เล็ก นอกจากนี้ การท�ำงานตามปกติ ของเราก็มีความยืดหยุ่นมากกว่าโซเชียลคอมเมิร์ซ ผูน้ ำ� ตลาด เช่น ระบบการช�ำระเงิน หากลูกค้าต้องการ เปลี่ยนระหว่างระบบช�ำระเงินปลายทางกับระบบ เอทีเอ็มอย่างใดอย่างหนึง่ เราก็สามารถจัดการให้ได้ ทันที ขณะที่รายใหญ่นั้นอาจจะท�ำไม่ได้ เพราะด้วย ขนาดธุรกิจทีใ่ หญ่จนอาจจะดูแลลูกค้าได้ไม่ทวั่ ถึง นอกจากนี้ เราก็ตอ้ งการท�ำให้ชอ็ ปปิง้ ออนไลน์ เป็นประสบการณ์ทงี่ า่ ยมากๆ ส�ำหรับลูกค้า ด้วยการตัด ขั้นตอนบนออนไลน์ที่ยุ่งยากออกไป เพื่อให้ลูกค้า สามารถจบการช็อปได้ภายใน 2-3 ขั้นตอนเท่านั้น พร้อมกันนี้ ก็ได้เตรียมงบพัฒนาระบบและงบการตลาด ในปีนกี้ ว่า 100 ล้านบาท เพือ่ รับมือกับ AEC ทีจ่ ะมี การแข่งขันสูงขึ้นและเราอยู่ในระหว่างการพัฒนา แอปพลิเคชัน topvalue.com บนมือถือและแท็บเล็ต รองรั บ ระบบปฏิ บั ติ ก ารแอนดรอยด์ แ ละไอโอเอส ประมาณเมษายนนี้ เพื่อเข้าสู่ตลาด m-Commerce ซึ่ ง เราก็ จ ะเปิ ด ตั ว แคมเปญเพื่ อ จู ง ใจให้ ลู ก ค้ า ดาวน์โหลดแอปบนมือถือ เช่น อาจจะให้ส่วนลด คูปองหรือให้คะแนนภายใต้เงือ่ นไขทีก่ ำ� หนด เราเชื่อว่า 4G ที่จะท�ำให้บริการอินเทอร์เน็ตมี ความเร็วสูงขึน้ ในปีนแี้ ละภาวะเศรษฐกิจทีท่ รงตัวนีจ้ ะ ไม่มีผลกระทบต่อธุรกิจโซเชียลคอมเมิร์ซแต่อย่างใด แต่ในทางกลับกัน ยังสามารถเติบโตอย่างสวนกระแส ได้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และมั่นใจว่า จะมียอดการช็อปปิ้ง ออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตเพิ่มขึ้น ด้วย สัดส่วน 50 % จากเดิมทีส่ ว่ นใหญ่มาจากพีซ”ี


ธนากร แซ่ลิ้ม

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ท็อปแวลู คอร์ปอเรท จ�ำกัด

ส่วนเรือ่ งราคา ซึง่ ขณะนีแ้ ข่งดุเหลือเกินบนโซเชียลคอมเมิรซ์ ด้วยการเสนอสินค้า ราคาถูกจนยากปฏิเสธ แต่สำ� หรับ ท็อปแวลู การแข่งขันกันดัมพ์ราคานัน้ ธนากรมอง ว่าไม่ใช่หนทางการด�ำเนินธุรกิจทีย่ งั่ ยืน เราต้องแข่งแบบธุรกิจต้องอยูไ่ ด้ เราเลือกช็อป ทีม่ าร่วมธุรกิจกับเราทีม่ มี มุ มองเหมือนกัน นัน่ คือในแง่ธรุ กิจเราอยูไ่ ด้ คูค่ า้ อยูไ่ ด้และ ลูกค้าได้รบั ผลประโยชน์ ได้สนิ ค้าของแท้ สินค้าคุณภาพดี ราคาถูกทีไ่ ม่ตอ้ งผ่านคนกลาง เราจะไม่แจกคูปองหรือส่วนลดเงินสดแบบไร้กติกา แต่ตอ้ งเป็นการแจกภายใต้เงือ่ นไข เช่น ซือ้ ครบ X บาทให้คปู อง/ส่วนลด Y บาท

เป้าหมายปี 2016

ท็อปแวลู วางแผนที่จะท�ำโฆษณาผ่านสื่อออนไลน์และออฟไลน์ประมาณ เมษายน ซึง่ เป็นช่วงเดียวกับการเปิดตัวแอปพลิเคชัน ธนากรกล่าวว่า เราจะโปรโมท ผ่านกูเกิล เสิรช์ และยิงคลิปมากขึน้ เนือ่ งจากเป็นสือ่ ทีม่ รี าคาถูกและมีความครอบคลุม ซึง่ คาดว่าหลังจากการประชาสัมพันธ์ 3 เดือนเราจะได้ยอดผูเ้ ยีย่ มชมประมาณ 5 แสนคน ต่อวัน marketplus 55


COVER STORY

“ปจจุบนั ท็อปแวลูประสบความส�าเร็จในขัน้ ทีน่ า่ พอใจกับยอดผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์เฉลีย่ 15,000-20,000 คน/วัน และมียอดท�าธุรกรรมการซือ้ ขายคิดเป็น 3% หรือ 450 ออร์เดอร์ ของ จ�านวนผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์ตอ่ วันและมีจา� นวนร้านค้าทีเ่ ข้ามาเปิดกับท็อปแวลูกว่า 1,500 ร้านค้า ถือว่าผลตอบรับจากลูกค้าอยูใ่ นขัน้ ทีเ่ ราพอใจกับระยะเวลาเพียง 1 ปีทเี่ ราได้ดา� เนินธุรกิจมา และในปี 2016 จะเป็นก้าวส�าคัญของท็อปแวลูที่จะไต่ระดับยอดการซื้อขายให้ไป สู ่ 200 ล้านบาทภายในช่วงไตรมาส 2 ภายในช่วงครึง่ ปีแรกทีม่ กี ารโฆษณาและประชาสัมพันธ์ตามสือ่ ต่างๆ ผ่านสือ่ ออฟไลน์ และออนไลน์เพือ่ สร้างการรับรูใ้ นวงกว้างมากขึน้ นัน้ เราตัง้ เปายอดผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์เฉลีย่ 60,000 – 70,000 คน/วัน หรือ 2 ล้านคนต่อเดือน และตัง้ เปายอดท�าธุรกรรมซือ้ ขายเพิม่ เป็น 7% พร้อมจ�านวนร้านค้าทีเ่ ข้ามาเปิดกับเราเพิม่ ขึน้ อีกสองเท่าตัวจากเดิม ซึง่ คาดว่าจะมี รายได้ตอ่ เดือนอยูท่ ี่ 40 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปีทผี่ า่ นมา ท็อปแวลูมยี อดขายเฉลีย่ ต่อเดือน อยูท่ ี่ 10 ล้านบาท”

Pop-up Store

เนื่องจากโซเชียลคอมเมิร์ซยังเป็นของใหม่ส�าหรับคนบางกลุ่มและเป็นธุรกิจ ทีส่ ร้างความไว้วางใจ โดยเฉพาะน้องใหม่อย่างท็อปแวลู การมีตวั ตนอย่างปอปอัพสโตร์ (Pop-up Store) เพือ่ ให้จบั ต้องได้ถอื เป็นความจ�าเป็นในมุมมองของธนากร ขณะเดียวกัน นีค่ อื เทรนด์ทเี่ กิดขึน้ ระหว่างธุรกิจรีเทลบนออฟไลน์และออนไลน์ทตี่ า่ งก็จะต้องบูรณาการ ให้โซเชียลคอมเมิรซ์ สามารถต่อยอดกับการค้าทีห่ น้าร้านได้ดว้ ย โซเชียลคอมเมิร์ซในไทยก่อนหน้านี้ที่ต้องลุกมาเปิดปอปอัพสโตร์ก็มีของเอ็นโซโก้ เว็บเดย์ลด่ี ลี (Daily Deal) ก่อนทีจ่ ะกลายเป็นลีฟวิง่ โซเชียลในปจจุบนั ด้วยการเปิดคีออส เพื่อจ่ายคูปองส่วนลดที่สยามเซ็นเตอร์และใช้เป็นที่ติดต่อระหว่างเอ็นโซโก้กับลูกค้า แต่สา� หรับท็อปแวลูการเปิดป็อปอัพสโตร์เลือกชัยภูมทิ จี่ า� นวนยอดของคนสัญจรและ มีความเป็นฮับด้วย ดังนัน้ ชัยภูมทิ เี่ ลือกจึงเป็นสถานีรถไฟฟาบีทเี อสทีส่ ยามสแควร์บนพืน้ ที่ 20 ตาราเมตร แน่นอนว่า นอกจากการสร้างความเชือ่ มัน่ กับลูกค้าแล้ว นีค่ อื Brand Exposure แบบสามมิตทิ สี่ ามารถให้ประสบการณ์ตรงกับผูท้ สี่ นใจได้เป็นอย่างดี “เราให้ความส�าคัญกับปอปอัพสโตร์ด้วย เนื่องจากท็อปแวลูเป็นช็อปปิ้งออนไลน์ เจ้าแรกในประเทศไทยที่แตกไลน์มาเป็นออฟไลน์ด้วย เพื่อการเข้าถึงของลูกค้าและ สร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูซ้ อื้ ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นสถานีรถไฟฟาบีทเี อส สยามสแควร์ เพือ่ เปิดเป็น จุดศูนย์กลางในการรับสินค้าและสัง่ ซือ้ สินค้า ระหว่างผูซ้ อื้ กับผูข้ ายทีท่ า� ธุรกรรมผ่านเว็บไซต์ www.topvalue.com อีกทัง้ ยังเป็นหน้าร้านเพือ่ อัพเดทสินค้าใหม่ทกุ วัน ซึง่ นับเป็นการสร้าง ความเชื่อมั่นและความพึงพอใจให้กับนักช็อปออนไลน์ที่ต้องการตรวจสอบสินค้าก่อน การตัดสินใจซือ้ ผ่านหน้าเว็บไซต์ ในปีน ้ี ท็อปแวลูมเี ปาหมายทีจ่ ะขยายปอปอัพสโตร์เพิม่ อีก 2 แห่งคือ สถานีรถไฟฟา บีทเี อสตลาดบางใหญ่ (สายสีมว่ ง) และ สถานีหมอชิต โดยเหตุผลของการเลือกท�าเลทีต่ งั้ บนสถานีรถไฟฟาบีทเี อส จุดลงผูโ้ ดยสารหลักยังคงเป็นศูนย์กลางของการช็อปปิง้ และย่าน ธุรกิจการค้าส�าคัญ เรามัน่ ใจว่า การเปิดการค้าเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ปอปอัพสโตร์ จะเป็นอีกหนึง่ กลยุทธ์ทางการตลาดของช็อปปิง้ ออนไลน์ทตี่ อบโจทย์กลุม่ เปาหมายทัง้ ชาว ไทยและชาวต่างชาติทเี่ ดินผ่านไปมาบนสถานีรถไฟฟาได้อย่างแน่นอน”

56 marketplus

เป้าหมายปลายฝ น

ธนากร กล่าวถึงเปาหมายสูงสุดทีต่ นเอง ตัง้ ไว้กบั ท็อปแวลูวา่ “ผมไม่ได้ทา� ธุรกิจนีใ้ ห้เติบโต เร็วๆ แล้วป้นเพื่อขาย ทั้งที่เป็นที่ทราบกันดีว่า ธุรกิจโซเชียลคอมเมิร์ซนั้นควรต้องใช้เงินมาก มาร์จิ้นน้อย ซึ่งรายใหญ่ในตลาดก็ใช้เงินจาก กองทุนต่างประเทศ แต่สา� หรับเรา เราเป็นธุรกิจ คนไทยที่ต้องการช่วยให้คนไทยไม่ต้องซื้อของ แพง มีทางเลือกซือ้ สินค้ามากขึน้ และช่วยคนที่ อยูห่ า่ งไกลอย่างโอท็อปให้มตี ลาด ด้วยต้นทุนที่ ต�า่ มาก เพราะแม้ภาครัฐจะพยายามช่วย แต่ก็ ช่วยได้เพียงเล็กน้อย ทัง้ นี ้ เราคิดค่าคอมมิชชัน จากการขาย 0.5-2% เท่านัน้ แต่ไม่คดิ ค่าโฆษณา หรือค่าเช่าพืน้ ทีบ่ นแพลตฟอร์ม รวมทัง้ อ�านวย ความสะดวกให้กบั ผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็นคูค่ า้ ด้วย ในระยะยาว เราอยากทีจ่ ะช่วยผูป้ ระกอบ การไทยให้ได้อย่างอาลีบาบา (Alibaba.com) ด้วยซ�า้ ทีม่ บี ริการเปิดแอลซีเพือ่ การส่งออกด้วย อาลีบาบามีบริการทีค่ รอบคลุมทัง้ การขายปลีก ขายส่ง ขายระดับอุตสาหกรรมและการเปิดแอลซี ซึง่ อาลีบาบาเปิดมา 10 กว่าปีในยุคทีจ่ นี ไม่มรี ถ จักรยานยนต์ อินเทอร์เน็ตช้ามากเป็นระบบ Dial แต่การเป็น First Mover ทีก่ ล้าขายสินค้าทาง ออนไลน์ทา� ให้ทกุ วันนีอ้ าลีบาบาเติบโตเร็วและ ดึงให้การบริโภคภายในจีนดีขนึ้ ได้ ส�าหรับผม อเมซอนคือไอดอล หลังๆ อเมซอน ท�ามาร์เก็ตเพลสน้อยมาก เขามีคลังสินค้าทุกที่ ส่งของถึงมือภายใน 30 นาทีดว้ ยโดรน (Drone) แถมยังให้ลกู ค้าสแกนราคาจากซูเปอร์มาร์เก็ต อย่างวอลมาร์ทหรือที่ไหนก็ได้ผ่านแอปของ อเมซอนบนมือถือ เพื่อเปรียบเทียบราคาว่า อเมซอนขายถูกกว่า การแข่งขันเข้มข้นขนาดนี้ ท�าเอาวอลมาร์ทเจง” เปาหมาย Traffic ระยะ 3 ปี บนท็อปแวลู ทีธ่ นากรปกหมุดทีย่ อด 2 ล้านต่อวันและมียอด ซือ้ และยอดรายได้ทเี่ ท่าทุนก็พอ ด้วยตระหนักดี ว่า การท�าธุรกิจต้องใช้เวลาในการสร้างแบรนด์ แต่ดว้ ยปณิธานของการเป็นธุรกิจไทยทีต่ อ้ งการ อยู่กับคนไทย เพื่อให้ผลประโยชน์ด้านเม็ดเงิน ตกอยู่ภายในประเทศดูจะเป็นฝนที่ไกลแต่ต้อง ไปให้ถงึ ของ ธนากร แซ่ลมิ้


efrastructure Group บริการ e-Commerce Infrastructure รายเดียวในไทย ภาวุธ พงษ์วิทยภานุ กระบี่มือหนึ่งที่เป็น First Mover และคร�่ำหวอดในวงการอีคอมเมิร์ซมายาวนานถึง 16 ปี และ ปลุกปัน้ เว็บไซต์ ราคูเท็นตลาดดอทคอม ให้เป็น e-Marketplace ที่ประสบความส�ำเร็จที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย นอกจากนี้ ในภาพใหญ่ ภาวุธ ยังด�ำรงต�ำแหน่ง นายกสมาคมผูป้ ระกอบการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทย อีกด้วย

ความเคลื่อนไหวล่าสุดของการก่อตั้ง กลุ่มบริษัท อีฟราสตรัคเจอร์ (efrastructure Group) ในปีทผี่ า่ นมาถือเป็นอีกครัง้ ในฐานะของ First Mover ของ เขา เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจโครงสร้างพืน้ ฐานของอีคอมเมิรซ์ อย่างครบวงจรทัง้ ระบบแห่ง แรกและแห่งเดียวในประเทศไทยขณะนี้

โครงสร้างของ อีฟราสตรัคเจอร์ ประกอบด้วยบริษัทย่อยทีท่ ำ� หน้าทีค่ รบวงจรของโซ่อปุ ทานบนอีคอมเมิรซ์ ตัง้ แต่ 1) การท�ำการตลาด ได้แก่ วินเทอร์เอเจนซี(Winter Egency) ธุรกิจออนไลน์เอเจนซี, เรดแร็งค์ (RedRank) ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการค้นหา ออนไลน์และโฆษณา, คอมแพริซนั ดอท เอเชีย (Comparison.asia) ด�ำเนินธุรกิจเปรียบเทียบราคาสินค้าบนออนไลน์ 2) การสร้างยอดขาย ได้แก่ ราคูเท็นตลาดดอทคอม มาร์เก็ตเพลส ส�ำหรับเอสเอ็มอี, ซูเปอร์คอมเมิรซ์ ธุรกิจเอาต์ซอร์สให้กบั บริษทั และ องค์กรขนาดใหญ่ 3) การท�ำธุรกรรม ได้แก่ เพย์ โซลูชนั่ ส์ (Pay Solutions) ผูใ้ ห้ บริการธุรกรรมทางการเงินบนอีคอมเมิรซ์ ครบวงจร 4) การบริหารฐานข้อมูล ซึง่ ดูแลข้อมูลของสมาชิก การให้รางวัล/ คะแนน พฤติกรรมการซือ้ และพฤติกรรมการใช้โซเชียลเน็ตเวิรค์ 5) การติดตาม ได้แก่ โธธ โซเชียล (Thoth Zocial) ผูใ้ ห้บริการ รวบรวมข้อมูลออนไลน์จาก Big Data นอกจากนี้ ก็มี อีฟราอคาเดมี่ เพือ่ ให้ความรูก้ บั ผูป้ ระกอบการทีส่ นใจท�ำอีคอมเมิรซ์ อีกด้วย

One Stop Service @ อีฟราสตรัคเจอร์

“นัน่ เป็นเพราะผมอยูใ่ นตลาดอีคอมเมิรซ์ มา 16 ปีและเห็นว่า เอสเอ็มอีเริม่ เข้ามาเยอะมากขึน้ โดยเฉพาะในช่วง 1-2 ปีทมี่ คี นใช้ 3G, 4G ท�ำให้เห็นได้วา่ คนใช้ออนไลน์กนั มากขึน้ เรียกว่าฟากของผูบ้ ริโภคมี ความพร้อม แต่ในแง่ของธุรกิจกลับน้อยมาก โดยเฉพาะของเอสเอ็มอี และอีคอมเมิรซ์ ” ภาวุธกล่าว ความเคลื่อนไหวของเขาเกิดหลังจากการที่ตลาดดอทคอม จับมือกับราคูเท็น ด้วยการทยอยก่อตั้งบริษัทต่างๆ ขึ้นและได้ปรับ โครงสร้างองค์กรใหม่อีกครั้ง ด้วยการตั้งอีฟราสตรัคเจอร์เป็นโฮลดิ้ง คอมปานี ถือหุน้ ในบริษทั ย่อยดังกล่าวข้างต้น พร้อมทัง้ มีแผนทีจ่ ะเข้า ตลาดหลักทรัพย์ mai ให้ได้ในปี 2020 การแตกตัวกิจการออกครบวงจรนับแต่เปิดออนไลน์เอเจนซี ธุรกิจเพย์เมนต์ ชิปปิง้ สินค้า บริษทั วิจยั บริษทั ท�ำการตลาดและสร้าง ยอดขายเป็นแนวคิดทีม่ องในองค์รวมของการสร้างโครงสร้างพืน้ ฐาน และสร้าง ecosystem หรือระบบนิเวศให้กบั วงการอีคอมเมิรซ์ ทีส่ ำ� คัญ การเดินหน้ายุทธศาสตร์เช่นนีท้ ำ� ให้เขาจับมือกับผูเ้ ล่นอีคอมเมิรซ์ ได้ทกุ ราย เปิดกว้างกว่าเมือ่ ครัง้ ท�ำตลาดดอทคอมเพียงอย่างเดียว marketplus 57


COVER STORY

“ถ้าจะถามว่า อีฟราสตรัคเจอร์ คืออะไร ก็ตอบได้เลยว่า นีค่ อื วันสต็อปเซอร์วสิ และอีคอมเมิรซ์ , อีบสิ ซิเนสแห่งแรกและแห่งเดียวใน ประเทศไทย ไม่วา่ คุณจะต้องการอะไร เราก็สามารถตอบโจทย์ได้หมด ทุกอย่าง ตัง้ แต่การรับบริการเป็นส่วนๆ หรือต้องการทัง้ ชุด เพราะบริษทั ต่างๆ เหล่านี้ก็จะมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและครบองค์ในแง่ ภาพรวม ซึ่งจากการพบลูกค้าหลายรายบอกหามานานแล้ว เพราะ คนเหล่านี้ไม่ต้องการคุยกับหลายซัพพลายเออร์ แต่อยากให้จบใน ซัพพลายเออร์นอ้ ยรายทีส่ ดุ ”

อีคอมเมิร์ซ ไม่ใช่แค่ทำ� เว็บ

ภาวุธบอกถึงความเข้าใจผิดของผูค้ นทีม่ ตี อ่ อีคอมเมิรซ์ ทีม่ กั จะ มองว่า แค่ทำ� เว็บไซต์แล้วก็จบ จากนัน้ นัง่ รอยอดขาย แต่ทจี่ ริงแล้ว มีกระบวนการที่มากกว่านั้นอีกมาก เพื่อที่จะท�ำให้เกิดยอดขายและ สามารถสร้างเม็ดเงินได้จริง “ในการท�ำธุรกิจออนไลน์คณ ุ ต้องมีชอ่ งทาง เช่น เว็บไซต์ของตัวเอง โซเชียลมีเดีย มาร์เก็ตเพลส (Marketplace) จากนั้นคุณก็ต้องมี เพย์เมนต์, ระบบการเติมเต็ม ไม่ว่าจะเป็นคลังสินค้า โลจิสติกส์, บริการหลังการขาย ระบบการติดตาม (Tracking) การวิเคราะห์ขอ้ มูล, การตลาด, ลูกค้าและต้องมีองค์ความรู้ เนือ่ งจากธุรกิจนีเ้ ปลีย่ นเร็วมาก ฉะนัน้ คนท�ำธุรกิจออนไลน์จงึ ต้องเติมเต็มความรูใ้ ห้กบั ตนเองตลอดเวลา”

เราเป็นบริษัทที่สร้างยอดขาย

กลุ่มบริษัทอีฟราสตรัคเจอร์วางต�ำแหน่งของตนเองให้เป็น ecosystem ของอีคอมเมิรซ์ และสร้างยอดขาย “ข้อมูลทีเ่ ราวิเคราะห์ให้กจ็ ะมีตงั้ แต่การตัง้ เป้าหมาย ประมาณ การรายได้ ตัวเลขคนเข้าเว็บ อัตราผูซ้ อื้ สินค้าทีข่ ายดี อัตราการคลิก แล้วแผนการปฏิบัติงานควรจะเป็นอย่างไร เช่น ออกหน้าเว็บท�ำ แคมเปญ ฯลฯ แล้วบอกได้ว่า ท�ำแบบนี้แล้วก็จะได้ผลลัพธ์อะไร ดังนั้น จึงบอกได้เลยว่า เราไม่ใช่บริษัทท�ำเว็บ แต่มีการวิเคราะห์ใน เชิงลึกให้ว่า ท�ำไมจึงขายได้หรือขายไม่ได้ ซึ่งโนว์ฮาวที่ท�ำในธุรกิจ อีคอมเมิรซ์ มาสิบกว่าปี เพียงแต่เมือ่ ก่อนเราท�ำให้ตวั เอง ลองผิดลองถูก มาหมดแล้ว ผสานกับโนว์ฮาวจากญีป่ นุ่ แล้วน�ำมาประยุกต์ใช้กบั ธุรกิจ ในประเทศไทย เนื่องจากที่ผ่านมาคนไทยยังเข้าใจว่า การท�ำอีคอมเมิร์ซ คือ การท�ำเว็บไซต์แล้วนั่งดูยอดขาย สุดท้ายก็จบที่ว่า ขายไม่ได้ หลาย บริษทั เจ๊ง เพราะอย่างนี้ แต่ถา้ ทีอ่ ฟี ราสตรัคเจอร์ เราจะวิเคราะห์หา ROI ให้ เช่น ถ้าขายในตลาดดอทคอมก็จะได้ตวั เลข X บาท ถ้าขายใน เซเว่น-อีเลฟเว่นจะได้ยอดเงิน Y บาท รวมกันแล้วจะได้เงินเท่าไรก็จะมี การวิเคราะห์ตรงนีอ้ อกมาทีน่ เี่ ราจะไม่ได้พดู ถึงเว็บสวย แต่เราจะพูดที่ ยอดขายๆๆ ซึง่ เป็นสิง่ ทีเ่ ขาต้องการมากทีส่ ดุ ” อย่างไรก็ตาม การจะท�ำรายได้ให้ได้ตามเป้าหมายหรือไม่นั้น ภาวุธกล่าวว่า “ต้องขึน้ กับความพยายามระหว่างเราและลูกค้า (ธุรกิจ หรือผู้ที่ต้องการท�ำอีคอมเมิร์ซ) ด้วย โดยเราจะวิเคราะห์ให้คุณ เช่น ถ้าคุณต้องการยอดขาย 5 ล้านบาท คุณจะต้องท�ำอะไรบ้าง เช่น มีงบการตลาด X บาท และท�ำตามวิธกี ารแบบไหนบ้าง ตรงนีเ้ รากับ ลูกค้าจะต้องท�ำงานด้วยกัน” 58 marketplus

เล็ก-ใหญ่ได้หมด

ผูท้ คี่ ดิ จะท�ำอีคอมเมิรซ์ ไม่วา่ จะเล็กหรือใหญ่ กลุม่ อีฟราสตรัคเจอร์ มีรองรับทัง้ หมด ภาวุธบอกถึงประเด็นนีว้ า่ “ส�ำหรับเอสเอ็มอี ผมแนะน�ำว่าให้ไปทีต่ ลาดดอทคอมจะดีกว่า ตอนนี้เราก�ำลังปรับแพ็กเกจใหม่ที่เริ่มตั้งแต่ฟรี แต่แพ็กเกจฟรี นั่นก็ต้องหมายถึงว่า คุณต้องท�ำงานเองมากหน่อย แต่ถ้าต้องการ ความสะดวกสบายเพิม่ ขึน้ อีกหน่อยก็ตอ้ งเป็นแพ็กเกจราคาเริม่ ต้น 3,900 กว่าบาท ซึง่ จะได้รบั เว็บไซต์ สอนการท�ำเว็บไซต์ มีเครือ่ งมือ การช�ำระเงิน สินค้าคุณจะเข้ามาในเว็บไซต์ของเราแล้ว เราก็ช่วย โปรโมทให้ดว้ ย หรือหากต้องการความสะดวกทีม่ คี นคียใ์ ห้ทกุ อย่าง คุณท�ำหน้าทีเ่ พียงแค่รอรับออร์เดอร์กจ็ ะเป็นอีกราคาทีส่ งู ขึน้ อีก แต่สำ� หรับองค์กรใหญ่ๆ ราคาแพ็กเกจเริม่ ต้นตัง้ แต่ 6 แสนบาท โดยเราจะท�ำหน้าทีเ่ ป็นเอาต์ซอร์สอีคอมเมิรซ์ ให้เลย โดยจะมีการท�ำ เว็บไซต์ตา่ งหาก มีการศึกษาเพือ่ วางยุทธศาสตร์การตลาด เช่น หาก ต้องการคนเข้ามา 1 ล้านคน เราก็ตอ้ งมาวิเคราะห์กนั ว่า ท�ำอย่างไรจึง จะมีคน 1 ล้านคนเข้ามาในเว็บไซต์ เช่น ลงโฆษณาในโซเชียลมีเดีย กูเกิล เฟซบุก๊ ฯลฯ”

รัฐหนุนเอสเอ็มอีทำ� อีคอมเมิร์ซ เหล้าเก่าในขวดเดิม

ในภาพใหญ่ทรี่ ฐั บาลต้องการให้กระทรวงพาณิชย์เร่งด�ำเนิน การเพื่อให้เอสเอ็มอีสามารถท�ำอีคอมเมิร์ซได้ ภาวุธกล่าวในฐานะ นายกสมาคมผูป้ ระกอบการพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ไทยว่า “ผมว่านีจ่ ะเป็นความล้มเหลวอีกรอบแล้ว เพราะเมือ่ สิบกว่า ปีกอ่ นก็เคยมีโครงการแบบนีม้ าก่อน ตอนนัน้ บริษทั ใหญ่ๆ หลายแห่ง ก็ได้งบไปรวมๆ กันก็หลายร้อยล้านบาท แล้วก็ต่างคนต่างก็ไป ท�ำเว็บไซต์กันเพื่อให้เอสเอ็มอีมีเว็บไซต์ สร้างมาร์เก็ตเพลส ดึงคน มาท�ำเว็บไซต์ให้ แต่สดุ ท้ายตาย เพราะมีเงินมาท�ำเว็บ แต่ไม่มงี บ ทีจ่ ะท�ำให้เกิดยอดขาย ยุคนั้นอีคอมเมิร์ซถูกบิดเบือนด้วยการท�ำให้มีเว็บไซต์แค่ อย่างเดียว ไม่พูดถึงเรื่องยอดขาย แล้วในยุคนั้นไม่ว่าจะเป็น กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงไอซีที ฯลฯ ต่างคนก็ตา่ งท�ำอีมาร์เก็ตเพลส แล้วก็เจ๊งหมด ดังนัน้ เวลาใครพูดถึง อีมาร์เก็ตเพลส ผมจะรูส้ กึ ได้เลยว่า หนังรอบเดิมกลับมาอีกแล้ว เพราะ รัฐบาลนั้นท�ำงานกันกระจัดกระจายมากเกินไป ผมอยากบอกว่า ภาครัฐควรจะให้มเี จ้าภาพสักคนหนึง่ ทีจ่ ะท�ำหน้าทีเ่ ป็นอีมาร์เก็ตเพลส โดยเฉพาะ ไม่ใช่ตา่ งคนต่างท�ำ ซึง่ ตอนนีก้ ระทรวงไอซีทกี ม็ แี ผนของ สมาคมฯ รออยู่ เพือ่ ทีจ่ ะได้ใช้งบประมาณได้อย่างเต็มที่ ไม่ตอ้ งมาท�ำ แข่งกับเอกชนแล้วเจ๊งอีก เราจึงพยายามทีจ่ ะบอกภาครัฐว่า ท�ำเรือ่ ง อีคอมเมิรซ์ เถอะ เรือ่ งอืน่ จะมีภาคเอกชนคอยสนับสนุน ทีส่ ำ� คัญ สมาชิกในสมาคมฯ แต่ละบริษทั ก็ทำ� อีคอมเมิรซ์ ครบ วงจรหมดทัง้ เว็บไซต์ การตลาด เพย์เมนต์ โลจิสติกส์ กันอยูแ่ ล้วก็ สามารถด�ำเนินการต่อได้เลย แล้วเมื่อท�ำเสร็จเรามีคนดูแลให้ด้วย ไม่ใช่ไปจ้างใครก็ไม่รมู้ าท�ำให้เสร็จแล้วไม่เป็นก็ไปแล้ว”


ภาวุธ พงษ์วิทยภานุ

ประธานกรรมการและผู้ก่อตั้ง บริษัท อีฟราสตรัคเจอร์ จ�ำกัด ผู้ปลุกปั้นเว็บไซต์ ราคูเท็นตลาดดอทคอม และนายกสมาคมผู้ประกอบการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทย

เทรนด์ของอีคอมเมิรซ์ ในปีนคี้ อื อะไร

“ชัดเจนเลยคือประชากรที่ เข้าถึงอินเทอร์เน็ตจะมีถงึ ครึง่ หนึง่ ของประเทศ เดิมมีแค่ 30 กว่าล้านคน หรือราว 40% แต่ปนี จี้ ะทะลุถงึ 50% เพราะตอนนี้ 4G มาแล้ว และยอดคนใช้สมาร์ทโฟนก็มมี ากขึน้ ด้วย ซึง่ ตรงนีจ้ ะท�ำให้ ecosystem ดีขนึ้ ด้วย ดังนัน้ m-Commerce มาแน่ๆ จากนัน้ ก็จะเป็นเรือ่ งของการขนส่ง ตอนนีไ้ ปรษณียไ์ ทยก็ลง เรือ่ งอีคอมเมิรซ์ มากขึน้ ส่วนเทรนด์อนื่ ๆ ก็จะเห็นอีคอมเมิรซ์ จากจีนเข้ามาบุกตลาด ในประเทศไทยมากขึ้น ตรงนี้คนท�ำอีคอมเมิร์ซที่รับสินค้าจากจีน มาขายอีกทีจะล�ำบาก เพราะผูบ้ ริโภคสามารถซือ้ กับจีนได้โดยตรง นอกจากนี้ ก็จะเห็นเทรนด์ของผูผ้ ลิตทีข่ ายตรงถึงผูบ้ ริโภคเพิม่ ขึน้ จากเดิมทีผ่ ผู้ ลิตจะขายผ่านตัวแทนจ�ำหน่ายแต่ตอนนีไ้ ม่ตอ้ งแล้ว เพราะสามารถขายผ่านออนไลน์ได้เลย ยกตัวอย่างมือถือแบรนด์จนี ทีอ่ ยากเข้าไทย แต่กอ่ นก็ตอ้ งหา ตัวแทนจ�ำหน่าย แต่ตอนนีส้ ามารถขายผ่านเว็บออนไลน์ได้เลย แล้ว มาติดต่อกับ Warehouse Fulfillment เพือ่ ส่งสินค้ามาทีแ่ วร์เฮาส์ที่ ส�ำคัญ นีค่ อื ราคาจากผูผ้ ลิต จะเห็นได้วา่ มือถือของจีนมีราคาถูก มาก เพราะโรงงานขายตรง เราจะได้เห็นผูผ้ ลิตขายตรงผ่านออนไลน์ มากขึน้ ราคาสินค้าก็จะถูกลง เพราะผ่านตัวกลางน้อยลง ฉะนัน้ คน ทีเ่ ป็นตัวแทนก็ตอ้ งปรับตัว แล้วทีม่ าแรงอีกตัวคือ IOT (Internet of Things) คิดว่าปลาย ปีจะเห็นได้ชดั เจนมากขึน้ โดยอุปกรณ์ตา่ งๆ จะเข้ามาผสมผสานใน ไลฟ์สไตล์ของคนยุคนีม้ ากขึน้ ” marketplus 59


COVER STORY

s-Commerce Shops on facebook ตัวอย างของช็อปและผูค า ต างๆ ทีเ่ ข ามาแสวงหาโอกาสใหม ๆ ทางธุรกิจ บนโซเชียลคอมเมิร ซที่เข ามาแชร ประสบการณ ถึงเหตุและผลที่เลือก โดดเข าในวงโคจรนี้ แล วทําอย างไรจึงสร างยอดขายได ถือเป นทางลัด สู ความสําเร็จและเม็ดเงินที่น าสนใจ

ดวยประชากรเฟซบุก ของไทยทีม่ กี วา 37 ลานคน ทีน่ ถี่ อื เปนทีช่ มุ นุมของจอมยุทธ ทัง้ ผูซ อื้ ผูข าย ดวยเหตุผลงายๆ ของการเขามาทีน่ ี่ คือ การกระโจนเขามาหาปลาในทีๆ่ มีปลา

425 Degree

ธุรกิจขายเคสและอุปกรณมือถือ (425degree.com) ระดับราคาคุม คาจากจีนจนถึงสินคาคุณภาพสูงจากญีป่ นุ และ อเมริกา-กอตัง้ โดย วิธวินท เลิศสาโรจน, ธนศักย เฉลิมกิตติชยั และ รุง วิทย เอือ้ วิวฒ ั นสกุล ตัง้ แตป 2012 เลือกใชเว็บไซต พรอมกับเพจบนเฟซบุก แตยอดขายก็ไมเวิรคนัก จึงเลือกใช Facebook Ads สรางการรับรูแ บรนดและสรางความสัมพันธกบั ลูกคา หลังสรางฐานลูกคาไดแลวก็ใช Facebook Ads + เครือ่ งมือ Retargeting เพือ่ ดึงลูกคาเขาสูเ ว็บไซตและสรางยอดขายออนไลน และใชเครื่องมือกําหนดเปาหมายของเฟซบุก เพื่อคัดกรอง ผูชมโฆษณาจากความสนใจ เพื่อใหโฆษณาเจาะตรงถึงกลุม เปาหมายอยางถูกตอง และขณะนี้กําลังทดลองใช Custom Audience เครือ่ งมือขัน้ สูงรวมกับฐานขอมูลลูกคา กลุม นีน้ อก จากโพสตรปู ภาพและขอความแลวยังใช VDO Ads รวมกับการรีววิ เชิงลึก เพื่อปดขอจํากัดที่ไมมีหนารานและทําใหลูกคาไดเห็น สินคาดวยตัวเองกอนตัดสินใจซือ้ จากความพยายามดังกลาว 425 Degree ไดรบั ผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) ถึง 10 เทา จากแคมเปญ Video Ads ทีผ่ า นมาและปจจุบนั ทีน่ ใ่ี ชงบโฆษณา 70% บนเฟซบุก อีกตัวอยางเปนสินคายอดฮิตบนเฟซบุก นัน่ คือเสือ้ ผาแฟชัน่ สําหรับผูห ญิง Sleeping Pills(iwantsleepingpills. com) กอตัง้ ป 2009 ตัง้ เปาทีจ่ ะเปนแบรนดทไี่ ดรบั การยอมรับ และมีชอื่ เสียงทีส่ ดุ ในตลาด Sleeping Pills ออกแบบลวดลาย ผาดวยตัวเองและตัดเย็บโดยผูผ ลิตในไทย ซึง่ ทําใหผลิตภัณฑ มีเอกลักษณและสไตลที่โดดเดนตางจากแบรนดอื่นๆ กลุมนี้ ทําตลาดผานอินสตาแกรมดวย สวนทีเ่ ลือกทําตลาดบนเฟซบุก ดวย เนือ่ งจากอยากเพิม่ ยอดขายตอเดือนสรางการรับรูข องแบรนด และสรางการบอกตอเพือ่ ขยายฐานลูกคา Sleeping Pills เลือกโปรโมทโพสตในเพจ โดยการประมูล ราคาและเลือกการจัดโปรโมชันในชวงเย็น ชวยใหกลุม เปาหมาย เห็นโฆษณาและนําลูกคาไปสูเ ว็บไซตของแบรนด ทัง้ นี้ หลังจาก เริ่มใชกลยุทธนี้ตั้งแตม.ค.ที่ผานมาภายในเดือนเดียวกลุมนี้ สามารถขายของผานออนไลนไดมากกวา 20%

62 marketplus


โอ โห บาย ปูนิ่ม

โอโห คือ เคสนาสนใจทีว่ า การทําธุรกิจบนโซเชียลคอมเมิรซ ไมไดเรือ่ งหอมหวานไปเสียทัง้ หมด โดยเฉพาะสินคาอาหารเสริม ลดนํา้ หนัก ซึง่ เกีย่ วของกับสุขภาพและถูกตรวจสารประกอบใน อาหารเสริม แตหากคิดจะเปนแมคา ออนไลนกต็ อ งอยาหวัน่ ไหว กับเรือ่ งดรามา นีค่ อื แนวคิดของ ศิรนิ ทรา เส็งสิน หรือปูนมิ่ ประธานบริษทั โอโห บาย ปูนิ่ม จํากัด ซึ่งเริ่มทําตลาดอาหารเสริมลดนํ้าหนัก บนเฟซบุก เพราะไมมตี น ทุน แตเนือ่ งจากสไตลการทํางานแบบ กัดไมปลอย ทําให ‘โอโห’ ในวันนีก้ ลายเปนธุรกิจโซเซียลคอมเมิรซ เต็มรูปแบบไมใชแมคาขายของผานเน็ตเหมือน เมื่อครั้งขาย เสือ้ ผามือสองในชวงแรก ดวยรายไดเฉลีย่ ของป 2015 เกินเดือนละ 50 ลานบาท แต ด ว ยวิก ฤติที่ โอโ ห ตองประสบจากการถูก สนง. คณะกรรมการอาหารและยาตรวจสารประกอบในอาหารเสริม สงผลใหเธอตองเรงแกปญ  หา ดวยสถานะของ Trader แบบซือ้ มา ขายไปภายในเวลาไมถงึ 1 เดือนกับการทบทวนความผิดพลาด และหาทางแกไข ดวยการหยุดขายสินคาทัง้ หมดและคืนเงินใหกบั ลูกคาทีส่ งั่ ซือ้ สินคาไปแลว รวมทัง้ รับคืนเงินใหกบั ลูกคาทีต่ อ งการ คืนสินคาแมบริโภคไปแลว พรอมกับเปลีย่ นโรงงานผูผ ลิตสินคา ทันที แกไขรายละเอียดของฉลากตามที่ อย. กําหนด และทีส่ าํ คัญ ทีส่ ดุ คือ การจับมือกับบริษทั ประกันภัย รับประกันความเสียหาย ตอรางกายและสุขภาพในวงเงิน 10 ลานบาท อยางไรก็ตาม ดวย ธรรมชาติของสินคาอาหารเสริมทีม่ กั ถูกมองในเชิงลบนัน้ เธอบอก วาตองหนักแนน ตองอยาหวัน่ ไหวกับดรามาทีเ่ กิดขึน้ การทําการตลาดบนเฟซบุก นัน้ เธอยืนยันวา เราตองเรียนรู ที่จะใชเครื่องไมเครื่องมือ ตลอดจนคุณลักษณะของเฟซบุกให เหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง บวกกับการสรางทีมทีแ่ ข็งแกรงของ ตนเองทัง้ เรือ่ งการทําตลาด การขาย การดูแลลูกคา ระบบบริหาร การขายหนาบาน-หลังบาน ระบบโลจิสติกสทส่ี ามารถสงของถึง มือลูกคาไดรวดเร็ว ถูกตอง

ศิรินทรา เส็งสิน (ปูนิ่ม)

ประธาน บริษัท โอ โห บาย ปูนิ่ม จํากัด

marketplus 63


COVER STORY

Shops on Lazada ความเข้มแข็งของลาซาด้า (Lazada) วันนีไ้ ม่ตอ ้ ง พูดถึง โดยเฉพาะ Brand Exposure ที่ไปไหนใครก็เห็น ไม่วา่ จะออฟไลน์และออนไลน์ อีกทัง้ เข้มแข็งด้านราคาถูก สูงสุดถึง 80 - 90% แต่ ณ วันที่ Household Society (HH Society) ธุรกิจ OEM เครื่องไฟฟ้าและเครื่องใช้ ภายในบ้านเลือกโดดมาอยู่กับลาซาด้ายุคบุกเบิกของ ลาซาด้าเกือบ 2 ปีก่อนนั้น ธนะสิทธิ์ ปัญจอนันต์ยศ ผู้จัดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท เค.พี.วี.อินเตอร์ เนชัน่ แนล จ�ำกัด เจ้าของแบรนด์ Household Society ยอมรับว่า ไม่มั่นใจกับมาร์เก็ตเพลสแห่งนี้ เพียงคิดว่า ลองดู เพราะไม่มีต้นทุนเปิดหน้าร้านและช่วยเหลือคน รู้จักที่ชักชวนมา

แต่ทสี่ ดุ ต้องถือว่าการตัดสินใจถูกต้อง เพราะจากวันแรกที่ เข้ามาจนถึงปัจจุบนั ยอดขายทีเ่ พิม่ ขึน้ 200 เท่านัน้ ท�ำให้เขาเลือกที่ จะอยูก่ บั ลาซาด้า แม้ในช่วงแรกจะเป็นช่วงของการเรียนรู้ ธนะสิทธิ์ บอกถึงความประทับใจทีส่ ดุ ของลาซาด้า คือ ระบบ Seller Center ที่ ใช้งานง่ายมากและเสถียร ขนาดคุณพ่อทีไ่ ม่เป็นเรือ่ งไอทีเลยยังสามารถ เช็กข้อมูลการขาย ออกรายงานจากโปรแกรมนี้ได้เลย หรือแม้แต่ การเปลีย่ นแปลงราคาขายในบางช่วงบางขณะก็สะดวกและยืดหยุน่ ตรงนี้ช่วยให้เจ้าของช็อปมีเวลาบริหารจัดการงานภายในอื่นๆ ได้ นอกจากนี้ การทีล่ าซาด้ามีคอลเซ็นเตอร์กย็ งั ท�ำให้เราประหยัดเวลา คุยกับลูกค้าด้วย เนือ่ งจากปกติลกู ค้าจะไม่อา่ นข้อความทีว่ างไม่วา่ จะเป็นสี ราคา ฯลฯ ส�ำหรับการขายลาซาด้าจะคิดค่าคอมมิชชันแล้วแต่ตกลง กันเฉพาะแคมเปญนั้นๆ ไม่มีการคิดค่าธรรมเนียมอื่นๆ เพิ่มเติม เหมือนโมเดิรน์ เทรด ซึง่ ตรงนีท้ ำ� ให้เราอยูก่ นั ได้นานๆ ไม่เหมือนพวก ขายดีลราคาถูกทีข่ ายครัง้ อีก 3 เดือนค่อยมาขายกันใหม่ ทีส่ ำ� คัญ การพยากรณ์ยอดขายของลาซาด้ามีความแม่นย�ำและสามารถท�ำให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ได้จริง

ธนะสิทธิ์ ปัญจอนันต์ยศ

ผู้จัดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท เค.พี.วี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

62 marketplus


อานนท์ แซ่เล้า

เจ้าหน้าที่การตลาดออนไลน์ บริษัท เฟิรสท์วัน อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

ส่วนอีกช็อป คือ มือถือแบรนด์ Aston สมาร์ ท โฟนราคาคุ ้ ม ค่ า จากจีนของ บริ ษั ท เฟิ ร สท์ วั น อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด ทีเ่ ข้า มาเปิดในลาซาด้า ด้วยโครงการการ ตลาดที่ชนะเลิศจากการประกวด ภายในบริษัท ซึ่งเสนอให้ขยายฐานตลาดบนลาซาด้า เพื่อเพิ่ม ยอดขายของบริษทั เนือ่ งจากเดิมทีท่ ำ� การตลาดบนออนไลน์ผา่ น เว็บไซต์ของบริษทั แต่ยอดขายไม่เดินเท่าทีค่ วร ซึง่ ข้อเสนอดังกล่าว พิสจู น์ได้ดว้ ยยอดขายทีเ่ พิม่ ขึน้ 200 เท่า จากยอดขายหลักหมืน่ ในเดือนที่ 1 กลายเป็นหลักล้านในเดือนที่ 12 จนท�ำให้ฝา่ ยขายเอง ก็พยากรณ์ยอดสต็อกสินค้าไม่ถกู เนือ่ งจากยอดขายพุง่ ทะยาน อย่างต่อเนือ่ ง พงษ์เทพ วิจารณ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายขาย และ อานนท์ แซ่เล้า เจ้าหน้าที่การตลาดออนไลน์ บริษัท เฟิรสท์วัน อินเตอร์ เนชัน่ แนล จ�ำกัด กล่าวถึงสินค้าของบริษทั ว่า นอกจากมือถือ Aston แล้ว เรายังมีผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วกับรถยนต์อกี หลายรายการ เช่น กล้องติดรถ ปัม๊ รถ ฯลฯ ซึง่ ก็วางขายไปด้วยกันในเพจ ในการ ท�ำตลาดช่วงแรกๆ ก็ยังไม่ดีนัก เพราะลาซาด้ามีสินค้าท�ำนอง กันนีห้ ลายตัวจากร้านค้าอืน่ ๆ แต่การทีเ่ ราได้ยอดขายพุง่ ขนาดนี้ เนื่องจากเราท�ำตามที่ลาซาด้าเสนอ ด้วยการร่วมแคมเปญกับ ลาซาด้าทุกอย่าง ทัง้ นี้ ลาซาด้าจะดูความน่าจะเป็น (Potential) ของสินค้าและหาทางเพิม่ ยอดขายให้ โดยทางเราก็เสนอโปรโมชันไป และโครงสร้างราคาทีล่ ดนัน้ ต้องเป็นราคาทีเ่ รายอมรับได้ แต่การ ลดราคาก็เป็นเพียงช่วงสัน้ ๆ เพือ่ สร้างการรับรูข้ องแบรนด์ การขายสินค้าไอทีอย่างมือถือ ซึง่ มีชว่ งอายุของสินค้าสัน้ ท�ำให้ตอ้ งมีการเคลียร์สนิ ค้าเพือ่ ล้างสต็อกเป็นครัง้ คราว ทัง้ สอง ยืนยันว่า Clearance Sale นัน้ ไม่ใช่สนิ ค้าด้อยคุณภาพ แต่ตอ้ งขาย เพือ่ น�ำเงินสดมาซือ้ สินค้าใหม่ เพือ่ หาโอกาสใหม่ๆ มาท�ำตลาด เพิม่ เติม ซึง่ บางครัง้ ก็ตอ้ งขายในราคาเท่าทุนก็มี และการขายแบบ เคลียร์สต็อกนีส้ ถิตสิ นั้ ทีส่ ดุ คือหมดภายใน 1 สัปดาห์ “คนทีค่ ดิ จะมาขายของบนโซเชียลคอมเมิรซ์ นัน้ ขายอะไร ก็ได้แบบซือ้ มาขายไป ไม่จำ� เป็นต้องเป็นผูผ้ ลิต มีสนิ ค้าสัก 10-20 ชิน้ ก็ได้ ดูความเป็นไปได้ของการท�ำตลาดแล้วค่อยโฟกัสว่าเราควร จะไปทางไหนก็ได้” พงษ์เทพกล่าว

พงษ์เทพ วิจารณ์

ผู้จัดการฝ่ายขาย บริษัท เฟิรสท์วัน อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

marketplus 63


COVER STORY

e-Commerce = Offlfflline? วิวัฒนาการของธุรกิจรีเ ทลวันนี้ก�ำลังพลิกโฉมอีกครั้ง ด้วยว่ารีเ ทล วันนี้ต้องกลายพันธุ์ให้อยู่คร่อมเลนได้ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ เพื่อส่งมอบ ประสบการณ์การช็อปปิ้งให้กับนักช็อปอย่างไร้รอยต่อ

ทัง้ นี้ ผูท้ อี่ ยูใ่ นธุรกิจรีเทลต้องมีมมุ มองใหม่และคิดบวก อย่าชิงคิดว่า การทีเ่ ทรนด์ชอ็ ปปิง้ ออนไลน์หรืออีคอมเมิรซ์ ทีเ่ กิดกันเกลือ่ นกลาดนัน้ จะเป็นการปิดประตูตายของร้านค้าแบบดัง้ เดิมใน ธุรกิจรีเทล เพราะทีจ่ ริงในทางกลับกัน ร้านค้าอีคอมเมิรซ์ ซึง่ เป็นร้านค้าออนไลน์จำ� นวนมากก็ออกมา เปิดร้านค้าแบบออฟไลน์เช่นกัน ดังนัน้ ถ้าจะพูดว่า อนาคตของธุรกิจอีคอมเมิรซ์ ขึน้ กับการมีตวั ตนของร้านค้าแบบดัง้ เดิมด้วย คงไม่ผดิ นัก

64 marketplus


สู่โลกความจริง

มองย้อนไปเมือ่ ครัง้ ทีอ่ คี อมเมิรซ์ เติบโตอย่างรวดเร็วเมือ่ สัก 10 กว่าปี ก่อน นักการตลาดเองก็มวี ธิ คี ดิ ทีต่ อ้ งโฟกัสกับ 2 ประเด็นใหญ่ นัน่ คือ 1) ความส�ำคัญของข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต 2) ผูบ้ ริโภคอยากได้ประสบการณ์การช็อปปิง้ ออนไลน์อย่างไร้รอยต่อ แบบไหน แต่แล้วในยุคทีโ่ ลกเปลีย่ นและใช้ Mobile Device กันมากขึน้ ท�ำให้ ธุรกิจรีเทลและแบรนด์สามารถติดตามข้อมูลได้ง่ายขึ้น และปรับใช้ข้อมูล จากโลกดิจทิ ลั ให้ขา้ มมาสูโ่ ลกในชีวติ จริงได้ ตัวอย่างเช่น Shopify แพลตฟอร์มอีคอมเมิรซ์ อันดับต้นๆ ของโลกที่ สามารถเชื่อมโลกออนไลน์รีเทลกับร้านค้าจริงๆ ได้ระบบ POS ของตนเอง หรือ Amazon ทีม่ บี ริการส่งของถึงมือลูกค้าภายในวันเดียว โดยอาศัย จุดแข็งทีม่ คี ลังสินค้ากระจายอยูห่ ลายแห่ง แตกต่างจากแนวคิดของธุรกิจ ออนไลน์แบบเดิมๆ ทีใ่ ช้คลังสินค้าเพียง 1-2 แห่งและบริหารการจัดส่งมา จากทีอ่ นื่

ออนไลน์ – ออฟไลน์

อย่างไรก็ตาม ก่อนอืน่ เราต้องเข้าใจถึงพฤติกรรมนีด้ ว้ ยว่า เส้นแบ่ง ระหว่างร้านค้าออนไลน์กับออฟไลน์นั้นไม่สามารถแยกแยะได้ออกจริงๆ เพราะมีคนทีว่ งิ่ ไปมาระหว่างออฟไลน์-ออนไลน์กอ่ นทีจ่ ะเกิดการตัดสินใจ ซือ้ โดยเฉพาะคนไทย กล่าวคือ

หาข้อมูลบนออนไลน์ ซื้อออนไลน์ หาข้อมูลบนออนไลน์ ซื้อที่ร้านค้าแบบออฟไลน์

หาข้อมูลบนออนไลน์ ไปหน้าร้านเพื่อดูของ ซื้อออนไลน์

ไปหน้าร้านเพื่อดูของ ซื้อออนไลน์

ศึกบน Shelf

นอกจากนี้ ธุรกิจค้าปลีกเองก็ตอ้ งเข้าใจด้วยว่า ท�ำเลทีต่ งั้ ของร้านค้า หรือโชว์รมู ก็มนี ยั ส�ำคัญกับนักช็อปด้วยเหมือนกัน เพราะประสบการณ์จาก การช็อปปิ้งที่ได้สัมผัสหรือได้ทดลองล้วนน�ำไปสู่การตัดสินใจซื้อ ไม่ว่าจะ บนออนไลน์หรือออฟไลน์ แต่ทม่ี ากกว่านัน้ คือ ร้านค้าแบบดัง้ เดิมนัน้ มีเสน่ห์ กว่าร้านค้าแบบออนไลน์ตรงทีส่ ามารถให้บริการแบบ เฉพาะตัวบุคคลได้ดี กว่า อย่างเช่น การให้โปรโมชันกับร้านค้าเพือ่ ติดตามการซือ้ ของลูกค้าบน ออนไลน์หรืออะไรก็ตามทีเ่ กีย่ วข้อง หรืออาจจะส่งอีเมลจากรายชือ่ ลูกค้าของ ร้านก็ได้ ซึง่ นีค่ อื การสร้างรายได้ ขณะเดียวกัน ก็สามารถสานความสัมพันธ์ กับลูกค้าได้เป็นอย่างดี

ด้วยข้อได้เปรียบของการมีรา้ นค้าเป็นตัวเป็นตนนีเ่ อง จึงมีการคาดการณ์ว่า ต่อไปสนามการแข่งขันของธุรกิจ อีคอมเมิรซ์ หรือแม้แต่โซเชียลคอมเมิรซ์ จะร้อนฉ่าทีพ่ นื้ ที่ ร้านค้าด้วย โดยเฉพาะสงครามบนชัน้ วางขายสินค้าเหมือน เมือ่ ยุคธุรกิจรีเทลแบบดัง้ เดิมยังเฟือ่ ง ในช่วงที่อีคอมเมิร์ซก�ำลังเปลี่ยนผ่านไปสู่การค้า บนออฟไลน์ เชื่อว่า อีกไม่นาน เราจะได้เห็นร้านค้า จริงๆ อีกมากมายเพื่อท�ำหน้าที่เป็นหน้าร้านและต่อยอด ประสบการณ์ช็อปปิ้งอย่างไร้รอยต่อ กับเชื่อว่าจะได้เห็น ความคาดหวังของลูกค้าทีจ่ ะได้ประสบการณ์ระดับอะเมซิง่ จากการเดินช็อปปิง้ ในร้านค้าเพิม่ ขึน้ อีกด้วย แน่นอนว่า ตรงนีค้ อื การบ้านชิน้ ใหญ่ของธุรกิจและ แบรนด์วา่ จะสามารถท�ำให้พกิ ดั ของ ‘ประสบการณ์การ ช็อปปิ้งของลูกค้า’ มาบรรจบกับ ‘ความต้องการของ ลูกค้า’ ที่อยากได้จากการเดินห้างหรือเยี่ยมร้านค้าและ อะเมซิง่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ นัน้ ได้หรือไม่

กลยุทธ์การต่อยอดอีคอมเมิร์ซกับร้านค้า ออฟไลน์ ต่อยอดร้านค้าออนไลน์กบั ร้านค้าออฟไลน์ แบบดั้งเดิม ให้ประสบการณ์การช็อปปิ้งแบบส่วนตั๊ว ส่วนตัวกับนักช็อป รับรองความประทับใจจะท�ำให้ เกิดการซือ้ และเกิดความภักดีกบั ธุรกิจหรือแบรนด์ได้ ให้ข้อเสนอแบบเฉพาะเจาะจงกับลูกค้าหรือ ผู้ใช้ โดยดูจากข้อมูลที่ได้มา marketplus 65


EXECUTIVE TALK : Editor Staff

วีรวัฒน องควาสิฏฐ

ประธานกรรมการบริหาร บริษัท วีรันดา รีสอร์ท แอนด์ สปา จำกัด

70 marketplus


วีรวัฒน องควาสิฏฐ

ปนแบรนด์

‘วีรันดา พัทยา’ ผ่านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง

นาทีนี้คงปฏิเสธไม่ได้ว่า ‘พัทยา’ เป็นแหล่งท่องเที่ยวใกล้กรุงเทพฯที่ได้รับความ นิยมจากทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ไม่วา่ จะด้วยตัวเลขการเติบโต การสนับสนุนจากภาครัฐ ไปจนถึงเทรนด์การท่องเทีย่ วเมืองพัทยาทีก่ ำลังเปลีย่ นทิศทาง ไปสู่เมืองฮิปสเตอร์มากขึ้น โดยมีปจจัยจากการเกิดขึ้นของแหล่งท่องเที่ยวใหม่ๆ ทัง้ โรงแรมเชนระดับอินเตอร์เนชัน่ แนล, สวนนำา้ ระดับโลก หรือแหล่งไลฟสไตล์อนิ เทรนด์ จากสถิตขิ อง การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย (ททท.) ระบุวา่ ในปี 2557 ทีผ่ า่ นมามีจาํ นวนนักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ ที่เดินทางมายังเมืองพัทยา จ.ชลบุรี อยู่ที่ 9.1 ล้านคน แบ่งเป็น นัก ท่องเที่ยวชาวไทย 2.6 ล้านคน ขณะที่นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ อยู่ที่ 6.5 ล้านคน คิดเป็นรายได้โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 97,000 ล้านบาท ต่อเนื่องมาถึงปี 2558 คาดว่าตัวเลขนักท่องเที่ยวจะอยู่ที่ 9 ล้านคน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า ‘พัทยา’ ยังเป็นหนึ่งในเมืองหลักที่มี ฐานะเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวที่สําคัญ สร้างรายได้จากนักท่อง เที่ยวไม่ตํ่ากว่า 100,000 ล้านบาท และมีแนวโน้มการเติบโตยิ่งขึ้น จากการก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือเออีซีเต็มรูปแบบ ในปี 2559 ด้ ว ยเหตุ นี้ ‘พั ท ยา’ จึ ง กลายเป็ น เมื อ งท่ อ งเที่ ย วที่ เ หล่ า ผูป้ ระกอบการต่างจับตามอง และหาโอกาสเข้าไปลงทุนอย่างต่อเนือ่ ง รวมไปถึ ง แบรนด์ รี ส อร์ ท สั ญ ชาติ ไ ทยอย่ า ง ‘วี รั น ดา รี ส อร์ ท ’ ทีไ่ ปยึดหัวหาด ณ ริมหาดนาจอมเทียน และ ‘วีรนั ดา รีสอร์ท พัทยา’ ‘วีรันดา รีสอร์ท’ ถือเป็นแบรนด์รีสอร์ทสัญชาติไทยที่ได้รับ การยอมรั บ และเป็ น ที่ จ ดจํ า ในหมู่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วและนั ก เดิ น ทาง ทั้ ง ในเมื อ งไทยและในระดั บ อิ น เตอร์ ในฐานะผู้ บุ ก เบิ ก นิ ย าม ‘ดีไซน์ โฮเต็ล’ ตั้งแต่เปดตัวครั้งแรกเมื่อ 11 ปีที่แล้ว หลังจากสร้าง ซิกเนเจอร์ทมี่ คี วามโดดเด่นด้านดีไซน์ จาก ‘วีรนั ดา รีสอร์ท หัวหิน’ ภายใต้คอนเซปต์ ‘Modern Asian Contemporary’ ที่ตอบโจทย์ ลูกค้าที่มาพักผ่อน ทั้งในแบบคู่รักและแบบครอบครัว กับการออก แบบแลนด์สเคปที่ให้ความรู้สึกสดชื่น ผ่อนคลาย ใกล้ชิดธรรมชาติ

จนมาถึง ‘วีรนั ดา เชียงใหม เดอะ ไฮ รีสอร์ท’ ทีช่ จู ดุ เด่นการออกแบบ สะท้อนความเป็นส่วนตัว ผสมผสานศิลปวัฒนธรรมทางภาคเหนือ กับ ทําเลที่ตั้งล้อมรอบด้วยหุบเขา ทําให้ผู้มาพักรู้สึกใกล้ชิดธรรมชาติ เหนือกว่าที่พักใดๆ รวมถึงโรงแรมสุดหรูใจกลางกรุงเทพฯ ที่น้อย คนนักจะรู้ว่าเป็นผู้บริหารคนเดียวกันอย่าง ‘โซฟเทล โซ แบงคอก’ กับคอนเซปต์ที่ตกแต่งด้วยรูปแบบหลากหลาย โครงการใหม่ของวีรนั ดาทีจ่ ะบุกเบิกความเป็นแหล่งชิลล์เอาต์ แห่งใหม่ของพัทยาริมหาดนาจอมเทียนอย่าง ‘วี รั น ดา รี ส อร์ ท พัทยา’ ซึง่ เพิง่ เปดให้บริการในปลาย ธ.ค.2558 เกิดจากความคิดต่าง ไม่เหมือนใครของ วีรวัฒน์ องค์วาสิฏฐ์ ประธานกรรมการบริหาร วีรนั ดา รีสอร์ท แอนด์ สปา และโรงแรม โซฟเทล โซ แบงคอก ทายาทคนสุดท้องของ ‘วิ วั ฒ น์ ก อ สร า ง’ ที่อาจกล่าวได้ว่าเป็น ‘Brand’s Visionary’ “ผมมองว่าเราเติบโตแบบออร์แกนิก คือสร้างแบรนด์และ พัฒนามาด้วยตัวเอง หรือพัฒนาในโลเคชั่นที่ดี อย่างโซฟิเทล โซ นั่นคือการโตแบบออร์แกนิก แต่แตกแบรนด์ สิ่งที่เกิดขึ้นต่อไปคือ เราโตแบบ M&A (Mergers and Acquisitions) คือเราเจอรีสอร์ท ทีเ่ หมาะ ซือ้ แล้วเปลีย่ นแบรนด์หรือไม่เปลีย่ นแบรนด์กไ็ ด้ เพียงแต่เรา มาพัฒนา ปรับ เพิม่ ห้อง ปรับดีไซน์ให้เป็นสไตล์ของเรา” วีรวัฒน์กล่าว หากมองย้อนกลับไปในช่วงบุกเบิกของวีรันดาจะสังเกตได้ว่า วี รั น ดาเริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ ในช่ ว งที่ โ ซเชี ย ลมี เ ดี ย ยั ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ สําคัญในการบุกตลาดเท่ากับยุคสมัยนี้ แต่ด้วยวิสัยทัศน์ท่ไี ม่อยู่น่งิ ของคุณวีรวัฒน์ทไี่ ม่ได้มองข้ามกลยุทธ์สาํ คัญนีไ้ ป พร้อมการเดินหน้า

marketplus 71


EXECUTIVE TALK :

ลุยดิจทิ ลั แคมเปญผ่านนิทรรศการภาพถ่าย ‘Redesign Veranda Photo’ จากการคว้า 5 ช่าง ภาพชื่อดังของเมืองไทย มาถ่ายทอดเรื่องราวที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากวีรันดา พร้อมเชิญ ชวนแขกที่มาพักให้ร่วมแชร์ภาพที่ประทับใจลงในโซเชียลเน็ตเวิร์คพร้อมการติดแฮชแท็ก #RedesignVeranda ซึ่งแคมเปญนี้เป็นการชิมลางดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งของแบรนด์วีรันดา ซึ่งไม่เพียงเป็นการตอกยํ้าแบรนด์จากกลุ่มลูกค้าเดิม แต่ยังสร้างฐานลูกค้าใหม่ในกลุ่ม นิวเจเนอเรชั่น และเหล่าโซเชียล คอนเนคเต็ด ไลฟ์สไตล์ อีกด้วย วีรวัฒน์อธิบายต่อไปว่า จากนี้ไปวีรันดายังคงเดินหน้าสร้างแคมเปญใหม่ให้กั บ แบรนด์ ‘วีรนั ดา รีสอร์ท พัทยา’ อย่างต่อเนือ่ ง พร้อมการรุกดิจทิ ลั มาร์เก็ตติง้ ในแคมเปญ ‘Designing Veranda Pattaya’ เพื่อสร้างปรากฏการณ์บนโลก โซเชียลให้เกิดความประทับใจในภาพลักษณ์ใหม่ของ วีรันดา พัทยา จากการดึงเทสต์เมกเกอร์ที่มีมุมมอง การถ่ายภาพทีน่ า่ สนใจ เพือ่ เข้าถึงกลุม่ ลูกค้าเจเนอเรชัน่ ใหม่ๆ ในฐานะ User Generated Content ผ่านภาพ ในสไตล์ของแต่ละท่าน “เรานำ�ไอเดียมาครีเอทให้เกิดประสบการณ์ ใหม่ๆ แล้วแชร์ผ่าน Marketing Tools ใหม่ๆ คือเรา ไม่รอคนมาพักแล้วค่อยพูดถึง แต่เราพยายามดึงและ ชวนกลุม่ เป้าหมายใหม่ๆ จากการแท็ก แชร์ภาพ เพือ่ ชวน ฟอลโลเวอร์มาร่วมกิจกรรมกับเราแล้วขยายความ ต่อยอด ทำ�ให้เขารู้สึกภูมิใจกับการได้มาพักวีรันดา พัทยา แคมเปญรูปแบบนี้ ถือเป็นมาร์เก็ตติ้งที่ยังไม่มี รีสอร์ทไทยเคยทำ�” สำ�หรั บ โครงการ วี รั น ดา พั ท ยา ตั้ ง อยู่ ริ ม หาด นาจอมเที ย น จะต่ า งไปจากแพลตฟอร์ ม เดิ ม ที่ วีรวัฒน์เคยสร้าง เนื่องจากประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก 72 marketplus


ได้แก่ ‘วีรันดา รีสอร์ท พัทยา’ ที่ยังคงกลิ่นอายความเป็นแบรนด์ รีสอร์ท ดีไซน์ ที่มีแลนด์มาร์คเก๋ๆ ไม่ควรพลาด ด้านหน้ามีชายหาด ส่วนตัว ไม่พลุกพล่าน เหมาะสำ�หรับพักผ่อนส่วนตัว หรือแบบครอบครัว อีกส่วนคือ ‘วีรนั ดา เรสซิเดนซ์ พัทยา’ คอนโดมิเนียมระดับพรีเมียม ในรูปแบบ ‘Exclusive Condominium’ ขนาด 36 ชั้น 320 ยูนิต บนเนือ้ ทีเ่ กือบ 4 ไร่ แต่ละยูนติ มีพน้ื ทีใ่ ช้สอยตัง้ แต่ 32.5-266 ตร.ม. ทุกยูนิตมีวิวทะเล พร้อมด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวก และบริการ ระดับ 5 ดาว “ปัจจุบนั พัทยาเปลีย่ นไปแล้ว เมือ่ ก่อนอาจจะเป็นเมืองท่องเทีย่ ว ของวัยรุ่นและชาวต่างชาติ แต่เดี๋ยวนี้ไม่ใช่ พัทยาเปลี่ยนเป็นเมือง ท่องเทีย่ วทีม่ คี วามเป็นลักซ์ชวั รีม่ ากยิง่ ขึน้ ทำ�เลสำ�คัญๆ ในพัทยาเต็มไป ด้วยโรงแรมและรีสอร์ทที่บริหารโดยเชนระดับโลก มีแหล่งท่องเที่ยว ที่มีไลฟ์สไตล์ครบทุกวัย ทั้งกลุ่มวัยรุ่นและกลุ่มครอบครัว อีกทั้ง ใกล้กรุงเทพฯ มากกว่า นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวได้ทั้งปี ยิ่งตอนนี้ คนหนุ่ ม สาวไปพั ท ยาเยอะขึ้ น โดยเฉพาะโซนหาดนาจอมเที ย น มีสวนนํ้าใหม่ๆ มีร้านอาหารเท่ๆ มาเปิดเยอะมาก กลายเป็นแหล่ง ชิลล์เอาต์แห่งใหม่ของพัทยา พัทยาจึงเป็นทางเลือกที่ผู้คนส่วนใหญ่ ให้ความสนใจ” เทรนด์ความฮิปในเมืองพัทยา ยังสามารถยืนยันได้จากการ ค้นหาข้อมูลผ่านสกายสแกนเนอร์ ผู้ให้บริการค้นหาตั๋วเครื่องบิน โรงแรม ที่พัก และรถเช่าออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันซึ่งเป็นช่อง ทางการท่องเที่ยวของคนเจเนอเรชั่นใหม่ วิเคราะห์ข้อมูลตั้งแต่เดือน ม.ค.-พ.ย. 2558 พบว่า 1 ใน 10 จุดหมายปลายทางยอดนิยมใน ประเทศไทย ได้แก่ ‘พัทยา’ ขณะที่จุดหมายปลายทางทั่วโลกตลอด 3 ปีที่ผ่านมา พบว่ามี 10 แห่งที่มีอัตราการค้นหาเพิ่มขึ้นและคาดว่า จะมาแรงในปีนี้ ได้แก่ หนานชาง (จีน), โคโลญจน์ (เยอรมนี), มอสโก (รัสเซีย), พัทยา (ไทย), อีรค์ ตุ สค์ (รัสเซีย), เลย (ไทย), เซนต์ปเี ตอร์สเบิรก์ (รัสเซีย), ครัสโนยาสค์ (รัสเซีย), เลห์ (อินเดีย) และร้อยเอ็ด (ไทย) นอกจากนี้ แ ม้ แ ต่ ภ าครั ฐ ก็ ยั ง ขานรั บ นโยบายการเติ บ โตนี้ ตั้งเป้าให้ ‘พัทยา’ เป็นแหล่งท่องเที่ยวยั่งยืน นำ�เสนอการท่องเที่ยว คุณภาพสำ�หรับกลุ่มผู้มีกำ�ลังซื้อสูง หนึ่งในนั้น คือ การท่องเที่ยว ทางนํา้ ซึง่ เป็นจุดแข็งของพัทยา หนึง่ ในเมืองท่องเทีย่ วทีม่ คี วามพร้อม ด้านกีฬาทางนํ้า โดยส่งเสริมให้มีการท่องเที่ยวทางนํ้า การใช้เรือ หลากหลายรูปแบบทั้ง เรือใบ เรือยอร์ช วินด์เซิร์ฟ เจ็ตสกี และมีกีฬา ทางนํ้าอื่นๆ รวมทั้งการจัดรายการแข่งขันกีฬาทางนํ้าระดับโลก

เราบุ ก เบิ ก วี รั น ดามาในช่ ว งที่ โซเชียลมีเดียยังไม่ได้เป็นเครื่องมือ สำ�คัญในการบุกตลาดเท่ากับยุคนี้ แต่เมือ่ มาถึงเวลานีเ้ ราก็ไม่ได้มองข้าม กลยุ ท ธ์ ก ารใช้ โ ซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร์ ค ในการสร้างและตอกย้ำ�แบรนด์เพียง แต่เราต้องคิดให้ ‘ต่าง’ นำ�เสนอ อะไรทีแ่ ปลกใหม่ยง่ิ กว่า เพราะปรัชญา การทำ�งานของเรา คือ ต้องแสดง ความเป็น Visionary Leader

ทัง้ นี้ จากข้อมูลนักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางเข้ามาประเทศไทย พบว่า 60-70% เป็นนักเดินทางไปเที่ยวทะเล ซึ่งกลุ่มผู้ชื่นชอบกีฬาทางนํ้า เป็นกลุ่มมีกำ�ลังซื้อสูงและเป็นกลุ่มที่เดินทางกลับมาท่องเที่ยวซํ้าอีก หลายครั้ง ตลอดจนอุตสาหกรรมท่องเที่ยวพัทยา ชลบุรี ยังมีแนว โน้มเติบโตต่อเนื่อง จากความสะดวกในการเดินทางหลากหลาย เส้นทาง และการขยายโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมในอนาคต อีกด้วย

marketplus 73


BIZ & PLUS MORE : Supaporn Manbunsom

เปิดกลยุทธ์ ‘Beyond Chat’ ปั้น LINE ให้เป็นมากกว่าแอปแชท นับเป็นการขึน้ เวทีอย่างเป็นทางการครัง้ แรก สำ�หรับ ‘อริยะ พนมยงค์’ ในฐานะแม่ทัพใหญ่ ของ LINE ประเทศไทย พร้อมกับการประกาศ ทิศทางของ LINE เพือ่ เชือ่ มต่อบริการต่างๆ เข้า ไว้ดว้ ยกันหรือซิงเกิลแพลตฟอร์ม ดังคำ�มัน่ ทีเ่ ขา เคยประกาศเอาไว้หลังจากเข้ารับตำ�แหน่ง

หากย้อนไปเมื่อปี พ.ศ. 2554 ในเวลานั้น LINE ยังเป็นเพียงแค่แอป ส่งข้อความแชททั่วๆ ไป ก่อนจะมี การพัฒนาฟีเจอร์ใหม่ๆ เพิ่มเข้ามา ไม่ว่าจะเป็นการส่ง ข้อความแบบสติ๊กเกอร์ ฟีเจอร์โทรฟรีทั้งแบบเสียงและ วิดีโอ การเปิดออฟฟิเชียลแอคเคาท์เพื่อรองรับลูกค้า ระดับองค์กร การเปิดตัว LINE GAME, LINE Pay, LINE TV, LINE MUSIC รวมไปถึงการทยอยออกแอป ในเครือ อีกมากมาย ภายใต้ยทุ ธศาสตร์โลคัลไลเซชั่นทีเ่ น้นความ ใกล้ชิดกับผู้ใช้และลูกค้าท้องถิ่นให้มากที่สุด ไม่ว่าจะ เป็นการเปิดสาขาในไทย การสร้างคอนเทนต์แบบเอ็กซ์ คลูซฟี และจับมือพาร์ทเนอร์เพือ่ สร้างบริการให้ตอบโจทย์ และโดนใจคนไทยมากที่สุด ส่งผลให้ผู้ใช้งาน LINE ใน ไทยพุ่งทะยานสูงถึง 33 ล้านคน นับเป็นตลาดที่ใหญ่ อันดับ 2 รองจากญี่ปุ่นเลยทีเดียว เห็นได้ชดั เจนว่า LINE ไม่ได้จ�ำ กัดตัวเองอยูแ่ ค่แอป แชทอีกต่อไป ซึง่ ก้าวต่อไปของ LINE ต่อจากนีค้ อื การเดิน หน้ากลยุทธ์ ‘Beyond Chat’ เพื่อสร้าง LINE ให้เป็นมาก กว่าแอปพลิเคชันแชท พร้อมแผนการผนวกบริการทีม่ อี ยู่ เข้าด้วยกันภายใต้แอป เดียว หรือซิงเกิลแพลตฟอร์ม อริ ย ะ พนมยงค์ กรรมการผู้ จั ด การ LINE ประเทศไทย กล่าวว่า “เป้าหมายสำ�คัญของเราคือ การสร้าง LINE ให้เป็นมากกว่าแอป แชท ด้วยการเป็น แพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้บริโภคสามารถใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น โดยที่ไม่จ�ำ เป็นต้องไปดาวน์โหลดที่ละแอป เพราะเราจะ รวบรวมทุกแอป ที่มีประโยชน์ในชีวิตประจำ�วันมาไว้ใน LINE ที่เดียว ส่วนทางด้านธุรกิจเราก็ต้องการช่วยทั้งใน เรื่องของการสร้างแบรนด์ การสื่อสารกับลูกค้า การสร้าง ยอดขาย และการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ” อริยะอธิบายต่อไปว่า แนวคิดของ ‘Beyond Chat’ มาจาก ‘ความเจ็บปวด 3 ประการ’ (3 Pain Point) ได้แก่ ประการที่ 1 จำ�นวนแอปพลิเคชันทีม่ จี ำ�นวนมาก เกินไป ซึ่งหากนับเฉพาะแอปพลิเคชันที่มีอยู่บน กูเกิล เพลย์ ก็มีมากถึง 1.6 ล้านแอป รวมกับแอปพลิเคชันบน 74 marketplus

4 เทรนด์ดิจิทัลในเมืองไทย Mobile First ในปี ที่ ผ่ า นมาประเทศไทยมี

ผู้ใช้งาน Mobile Internet ประมาณ 40 ล้านคน และคาดการณ์ว่าภายใน ปีนี้จะเพิ่มเป็น 50 ล้านคน ซึ่งหลัง จากการเปิดให้บริการ 4G อย่างเป็น ทางการ คนไทยใช้เวลากับสมาร์ทโฟน เฉลี่ยสูงถึง 5.7 ชั่วโมงต่อวัน และใช้ เวลากับ LINE ในการแชทนานถึง 83.7 นาทีต่อวัน

Smartphones are becoming the Main TV Screen แนวโน้ ม จากนี้ ไ ปสมาร์ ท โฟน

จะกลายเป็นหน้าจอหลักในการดูทีวี และวิดีโอโดยมีสัดส่วนราว 31% ใน ขณะที่ 41% ยังคงเลือกชมผ่านหน้าจอทีวี ซึ่ง LINE TV ได้จับมือกับพันธมิตรเพื่อ ผลิตเอ็กซ์คลูซฟี คอนเทนต์ทตี่ อ้ งดูผา่ น LINE TV เท่านั้น

แอปสโตร์ อีก 1.5 ล้านแอป แต่ในความเป็นจริงคนส่วนใหญ่จะเลือกดาวน์โหลดแอป มาใช้งานบนเครื่องเฉลี่ยคนละ 39 แอป และใช้งานจริงเพียง 17 แอปเท่านั้น นี่จึงเป็นเหตุผลสำ�คัญที่ทำ�ให้ LINE ต้องการรวบรวมบริการที่ผู้บริโภคใช้งาน ทุกวันมาอยู่ภายในแอป เดียวกัน ภายใต้แนวคิด ‘App within an App’ ซึ่งจะ มีทั้งแอป ที่ LINE มีอยู่ในปัจจุบัน, การพัฒนาแอป ใหม่เพื่อผู้บริโภคชาวไทย โดยเฉพาะ และการนำ�บริการของพาร์ทเนอร์มาเชื่อมต่อเข้ากับระบบของ LINE ประการที่ 2 ระบบนิเวศของโลกดิจทิ ลั กระจัดกระจายมากเกินไป ทำ�ให้ แบรนด์ท่ีต้องการเข้ามาในโลกของดิจิทัลเลือกไม่ถูกว่าจะต้องเข้าไปอยู่ใน แพลตฟอร์มไหนหรือเลือกใช้แอปพลิเคชัน ซึ่ง LINE จะเข้ามาช่วยแก้ปัญหานี้ ด้วยการทำ�ตัวเป็นแพลตฟอร์มกลางที่เชื่อมต่อระหว่างลูกค้าและแบรนด์ผ่าน Official Account รวมไปถึงการเปิดระบบให้แบรนด์สามารถพัฒนาบริการใหม่ บนแพลตฟอร์มของ LINE (API) และการเปิดให้บริการ Pay by Official Account เพื่อส่งเสริมการขาย

ประการที่ 3 ผู้ป ระกอบการ SMEs ยั ง คงอยู่บ นโลกออฟไลน์

มีผปู้ ระกอบการ SMEs เพียง 5 แสนรายจาก 2.8 ล้านรายทีเ่ ข้าถึงเครือ่ งมือดิจทิ ลั ซึ่งผู้ประกอบการเหล่านี้ยังไม่มีความพร้อมและไม่มีเงินทุนมากพอที่จะลงทุนใน ด้านไอทีเพิม่ ดังนัน้ LINE จึงหาบริการเพือ่ มาตอบโจทย์คนกลุม่ นี้ นัน่ คือ LINE@ ซึ่งผู้ที่ใช้ LINE อยู่แล้วก็จะมีความคุ้นเคยและไม่ต้องเรียนรู้มากนัก อีกทั้งยังมี ต้นทุนไม่สูง สามารถวัดผลได้แบบเรียลไทม์ ปัจจุบัน LINE แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจเกม (LINE GAME) ธุรกิจคอนเทนต์ (LINE TV, LINE MUSIC) ธุรกิจโซลูชั่นสำ�หรับองค์กร (LINE Official Account, LINE@) ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ (LINE GIFTSHOP) และ ธุรกิจเพย์เมนต์ (LINE Pay) โดยในปี 2558 ที่ผ่านมา LINE ทั่วโลกมีรายได้รวม มากกว่า 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ


m-commerce และ social commerce

ผู้ใช้งาน E-Commerce มีแนวโน้มที่จะ หันมาใช้ M-Commerce และ social commerce ในการซื้อสินค้าและบริการมากขึ้น โดยจำานวน การซื้อขายออนไลน์ผ่านโมบายล์ดีไวซ์มีสัดส่วน ถึง 60% จากจำานวนการซือ้ ขายออนไลน์ทง้ั หมด พร้อมคาดว่าอัตราการเติบโตของโมบายล์แบงก์กง้ิ จะสู ง ถึ ง 33% โดย LINE ได้ มี แ พลตฟอร์ ม การชำาระเงิน LINE Pay ไว้รองรับการเติบโต ในส่วนนี้ด้วยเช่นกัน

O2O

การขยายธุรกิจ จาก Online ไป Offl ine โดยใช้สอ่ื ออนไลน์ผลัก ดั น ให้ เ กิ ด ทราฟฟิ ก ห รื อ ย อ ด ข า ย ท า ง ออฟไลน์

อริยะ พนมยงค์

กรรมการผู้จัดการ LINE ประเทศไทย

marketplus 75


WORK & LIFESTYLE : Parichat Boon-ek

‘ภัทรา มณีรัตนะพร’ ลูกไม้หลนไมไกลต้น

คำ�ว� “ลูกไมหลนไมไกลตน” ดูแล้วคงไมห� งไกลคว�มจริงนัก สำ � หรั บ ผู้ บ ริ ห �รคลื่ น ลู ก ใหม ท �ย�ทรุ น ที่ 2 ของผู้ นำ � ธุ ร กิ จ รับสร้�งบ้�น บริษัท แลนดี้ โฮม (ประเทศไทย) จํากัด อย�ง ภัทรา มณีรัตนะพร ที่เข้�ม�ดำ�รงตำ�แหนง ผู้อำ�นวยก�รฝ่�ย ก�รตล�ดและออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ รั บ ช ว งต อ จ�กคุ ณ พ อ (พิเชษฐ มณีรัตนะพร) ซึ่งว�งมือเพื่อให้ลูกๆ ทั้งส�มได้ส�นตอ กิจก�รเมื่อ 3 ปกอน จากความสนใจในเรื่องการออกแบบเธอจึงเลือกเรียน ปริญญาตรีทางดาน Jewellery Design จาก Central Saint Martins College of Arts and Design และเบนเข็มมาตอปริญญาโททาง ดาน Marketing Management ที่ University of Westminster ลอนดอน ประเทศอังกฤษ การเลือกเรียนทั้งสองดาน ซึ่งแตกตาง กันอยางสิน้ เชิงนี้ ทําใหเราอดสงสัยไมไดวา อะไรทีเ่ ปนแรงบันดาลใจ ใหกับเธอ “จริงๆ แลวชอบในเรือ่ งการออกแบบ แลวทีเ่ ลือกมาตอทาง ดานการตลาดเพื่อใหรูวา สิ่งที่เราออกแบบมา ตองทําแบรนดิ้ง อยางไร อะไรขายได อะไรขายไมได การวิเคราะหผบู ริโภค ซึง่ มันก็ สําคัญ คุณพอไมไดบงั คับวาจบแลวตองมาทําแลนดี้ โฮม คุณพอ เปนคนเปดกวางมาก ใหทาํ อะไรก็ไดทตี่ วั เองอยากทํา คุณพอเชือ่ วาถาเราทําอะไรที่เรามีพรสวรรคของเราอยู มันจะตอยอดไดงาย และจะสําเร็จถาเราชอบมัน” หลังจากเรียนจบกลับมาประเทศไทย เธอไดมีโอกาสรวม งานกับเซ็นทรัล ในสวนของ Business Development เปนเวลา 2 ป กอนที่จะเขามารับชวงตอแลนดี้ิ โฮมอยางเต็มตัว ดวยความที่ กาวเขามาบริหารในชวงผลัดเปลี่ยนทีมการตลาดพอดิบพอดี การเซ็ตทีมใหมและทําอยางไรใหทีมเดินหนาตอไปได พรอมๆ กับการบริหารคนตามแบบฉบับคนรุนใหม นับเปนสิ่งที่ทาทาย ตั้งแตเริ่ม “ตอนนั้นยังเด็ก ทําดวยความที่ไมรูวามันยาก ก็คัดเลือก พนักงานใหม คอยๆ เซ็ต ลองผิดลองถูกจนมาวันนี้ พอมอง กลับไป เฮย! ที่ผานมามันเซ็ตยากนะ เรากลาทําไปไดอยางไร โชคดีลกู นองเกง(ยิม้ ) ตอนนีท้ มี ของนุน คอนขางสตรอง ไปออกบูธ จั ด อี เ วนต ทุก เดื อ นไมไดจา งเอาตซอสเลย เพราะชอบทําเอง จัดกันเองตลอดทุกงาน เรามีความสุขกับงานที่เราทํา และมอง ลูกนองสําคัญ บางงานเปนงานรูทีน มันนาเบื่อ เราก็ไมอยากให 98 marketplus

ลูกนองเบื่อเดี๋ยวลาออกไป นุนก็ไมโอเค พนักงานทุกคนตองสนุก กับงาน นุนตองดูพนักงานดวยวาอารมณพวกเขาตอนนั้นเปน อยางไร เขาสนุกกับงานไหม ชวงนี้มันนาเบื่อไหม เครียดเกินไป ไหม ทีมนุนเหมือนครอบครัว คือ บริหารอยางไรใหเขาแฮปปกับ การทํางานมากที่สุด” ภัทรากลาว เราถามต อ ไปว า ในส ว นของคุ ณ พ อ ที่ ต อนนี้ ก ลายเป น ที่ ปรึกษา ทานไดใหคําแนะนําบางหรือไม ภัทรา เลาวา “คุณพอ คอนขางเปนคนเกง จบโทได(มหาวิทยาลัยโตเกียว) มาจากญี่ปุน มีหลักการเยอะ สิ่งที่คุณพอแนะนํา คือ ความคุมในการลงทุน เขาไมเคยบอกวามีเงินเทานี้ ตองประหยัด ตองลงทุนนอยๆ แต จะบอกวา ถาอันไหนไดผลลัพธที่คุม ถึงใชงบเยอะแตไดผล ให ลงทุนไดเลย อยางองคกรนี้นุนก็เลยกลาสรางแบรนดิ้ง นุนไมตอง มานั่งประหยัดเหมือนหนวยงานอื่นๆ เรามองวาถาทําแลวมันได ผลตอบแทนแบบกาวกระโดด เราก็กลาลงทุน คุณพอจะดูภาพรวม สวนใหญ ปหนึ่งจะมีเปาวาตองหาลูกคามาใหบริษัทกี่คน ตองมี ยอดเทาไร ยอดพันลาน นุน ตองใชงบเทาไร เพือ่ ใหมนั บาลานซกนั เขาจะดูแคตรงนี้ สวนเรือ่ งดีเทลวาลูกนองจะตองมีกค่ี น ตองทํางาน อยางไร ตรงนี้เขาปลอยใหบริหารเอง” นับวาการกาวเขามาบริหารกิจการครอบครัวของพีน่ อ งทัง้ 3 คน โดยพีส่ าวคนโต (พรรัตน มณีรตั นะพร) ดูในสวนของภาพรวม ฝายขาย ฝายวิศวกรรม นองชาย (พานิช มณีรตั นะพร) ดูในสวนของกอสราง และแอดมิน สวนเธอเองดูในดานการตลาดและออกแบบ การเปลีย่ น ผานจากรุน สูร นุ นี้ จากยุคเกากาวมาสูย คุ ใหม แนนอนวายอมมีการ เปลีย่ นแปลง “นุนมาตอยอดมากกวา คุณพอเขาสรางมาดี แบรนดิ้ง คอนขางสตรอง วันนีท้ แ่ี ตกตางก็คอื บุคลากร ภาพลักษณ วัฒนธรรม องคกร ทันสมัยขึ้นตั้งแตนนุ เขามาดูวันแรก นุนบอกเลยวาองคกร เราตองนําคูแ ขงดวยวิสยั ทัศนใหม ดวยความมัน่ คงและความทันสมัย


ภัทรา มณีรัตนะพร ผู้อำ�นวยการฝ่ายการตลาดและออกแบบผลิตภัณฑ์ บริษัท แลนดี้ โฮม (ประเทศไทย) จำ�กัด

marketplus 99


WORK & LIFESTYLE :

เวล�เริ่มทำ�อะไรใหมๆ มันต้องลองผิดลองถูก ต้องกล้� อย�ไปท้อ ต้องเฟลสัก 10 ครั้ง ถึงจะได้ของดี

คุณพอเชื่อว�ถ้�เร�ทำ�อะไรที่เร�

มีพรสวรรค์ของเร�อยู มันจะตอยอดได้ง�ย และจะสำ�เร็จถ้�เร�ชอบมัน

บริษทั รับสรางบานเกาๆ ทีเ่ ปนคูแ ขงเรา ออฟฟศโชวรมู เขาก็จะเปนแค ตูโ ชวสมัยเกาๆ นุน มาถึงนุน บอกเลยวาไมได องคกรเราตองเปนเหมือน แอปเปล ซึ่งนุนมองวาแบรนดิ้งและภาพลักษณสําคัญ ตั้งแตเขามา ก็ดูเรื่องภาพลักษณตรงนี้ ปรับใหมหมด โชวรูมใหม ออฟฟศใหม เมือ่ กอนเปนโตะทํางานทัว่ ไป เราก็ปรับใหพนักงานรูส กึ วาอยูใ นสังคม ทีโ่ มเดิรน ขึน้ ” สําหรับเปาหมายภายใตการบริหารแลนดี้ โฮม ภัทรากลาววา “เราตองการเปนผูน าํ ตลาดในวันขางหนา คนทีน่ กึ ถึงบริษทั รับสรางบานตอง นึกถึงแลนดี้ โฮม วันนีเ้ ราก็ On The Way ซึง่ เราใกลเปาหมายนัน้ แลว เมื่อ 3-4 ปท่ผี านมา เวลาออกบูธกับสมาคมรับสรางบาน บูธเรายัง ไมใหญมาก แตตอนนี้บริษัทเราใหญท่สี ุดและตอนออกบูธเราคือบูธ ใหญสุด เราตองการกินมารเก็ตแชรใหไดมากที่สุด ยิ่งปน้ีเปนปท่ี รายเล็กๆ เริม่ เจง เพราะไมมน่ั คงทําใหเปนปทเ่ี ราเติบโต เพราะลูกคา เชื่อมั่น ดวยทุนจดทะเบียนเรา 200 ลาน ถาวันหนึ่งบริษัทประสบ ปญหาวิกฤติอะไรขึน้ มาก็สามารถดูแลครอบคลุมไดหมด” ดวยวัยเพียง 28 ปกบั ความรับผิดชอบทีด่ เู หมือนจะมากกวาคน ทัว่ ไปในวัยเดียวกัน นับเปนสิง่ ทีท่ า ทาย แตนน่ั ดูไมใชอปุ สรรคเพราะ ความเปดกวางของผูเ ปนพอทีค่ อยใหคาํ ปรึกษา สงเสริมใหการรับชวง ตอเปนไปอยางราบรืน่ แมจะเจออุปสรรคบางก็ตาม “พ อ เขาเลี้ ย งนุ น มาแบบเพื่ อ น คุ ณ พ อ เป น คนเป ด รั บ มาก ครอบครัวนุนดีจนรูสึกวาไมตองมีแฟน คือสนุกดวยตัวครอบครัวเอง มานั่งประชุมกัน ก็เหมือนมาเมาทกันเปนครอบครัว คุณพอเปนคน ใจเย็น วันไหนนุน มีปญ  หา โทรไปแปบเดียวเขามีวธิ คี ดิ และแกปญ  หา ใหไดทุกอยาง ทุกวันนี้ทํางานทุกวัน ชอบทํางาน ตอนนี้มีดูโปรเจกต เพิ่มก็เลยตองมาเสารอาทิตย ตองนั่งรีเสิรช ครอบครัวนุนทุกคนเขา 100 marketplus

ทํางานตลอดเวลา ทุกคนโดนคุณพอปลูกฝงมาตั้งแตเด็ก ทุกคน เห็นพอเปนไอดอล พอประสบความสําเร็จดวยตัวเอง ตั้งแตชิงทุนไป เรียนเมืองนอกเอง สรางบริษัทนี้ขึ้นมาเอง และรีไทรที่อายุแค 52 ป ถึงตอนนีเ้ รามีตงั คไมตอ งทํางานก็ได แตทกุ คนอยากมีธรุ กิจของตัวเอง รวมถึงดูแลแลนดี้ โฮมไปดวย” การที่ตองทํางานแทบทุกวัน ทําใหเราอดสงสัยไมไดวา เธอมี เวลาพักผอนหรือพบปะกับเพือ่ นๆ บางหรือไม ภัทราเลาวา “สวนใหญ ไปเที่ยวกับครอบครัว ทํางานเปนหลัก เวลาวางก็ไปออกกําลังกาย ชวงนีเ้ ทรนดเฮลตีม้ าแรง กินดี ออกกําลังกายดี สวนเพือ่ นๆ นุน โชคดีท่ี มีแตเพือ่ นเกงๆ ชอบคบเพือ่ นทีเ่ กงๆ จะไดแรงบันดาลใจจากพวกเขา เพือ่ นกันทํางานหนักพอๆ กัน มีอะไรก็โทรปรึกษากัน ถือเปนคนโชคดี เวลาอยากจะเปดโปรเจกตอะไรใหมกจ็ ะมีเพือ่ นทีม่ คี วามรูท างดานนัน้ มาชวยซัพพอรต ไมไดคิดวาตัวเองหนักอยูคนเดียว เพื่อนๆ ก็เขาใจ และเติบโตไปพรอมกัน แตละคนทํางานยุง วางๆ ก็มาฟตเนสดวยกัน 4-5 คน กินขาวเบาๆ เสียสวนใหญ” จากการไดพูดคุยกับเธอทําใหเราเรียนรูวา ครอบครัวเปน สิ่งสําคัญที่สุดที่ชวยผลักดันใหคนๆ หนึ่งไดกาวเดินไปสูความสําเร็จ ดวยการใหอิสระทางความคิดและไดลองทําในสิ่งที่ตนเองรัก เพราะ เมือ่ ไรทีเ่ ราไดทาํ ในสิง่ ทีต่ วั เองรักและไดรบั การสงเสริมทีด่ พี อ ผลลัพธ ยอมมีคาเสมอ “เวลาเริม่ ทําอะไรใหมๆ มันตองลองผิดลองถูก ตองกลา อยาไปทอ ตองเฟลสัก 10 ครั้ง ถึงจะไดของดี นุนก็อยากจะเปดโปรเจกตใหมๆ เยอะไปหมด ทดลองทํานูน ทํานี้ ก็มเี ฟลบาง แตมนั ทําใหเราไดเรียนรู เราก็ลองมาเยอะกวาจะมาถึงตรงนี้ คือไมมีประสบการณเลย ตอง กลาลอง คุณพอคุณแมก็ตองกลาใหลูกลอง” ภัทรากลาวทิ้งทาย


SPACIAL SCOOP

The Boat Lagoon Lighthouse Weekend Market

ตลาดนัดประภาคารสุดฮิป บนเกาะภูเก็ต

หลังประสบความส�ำเร็จอย่างล้นหลาม นับตัง้ แต่เปิดตัวครัง้ แรก เมือ่ เดือนมกราคมปี 2558 กับรูปแบบความสดใหม่ของการเป็นตลาดนัด ประภาคาร ‘โบ๊ท ลากูน ไลท์เฮ้าส์ วีคเอนด์ มาร์เก็ต’ (The Boat Lagoon Lighthouse Weekend Market) ทีจ่ ดั ขึน้ เดือนละครัง้ ในช่วงสุดสัปดาห์ และสร้างกระแสความฮิตในหมูช่ าวภูเก็ตเป็นอย่างมาก รวมถึงได้รบั ความนิยมในหมูน่ กั ท่องเทีย่ วชาวต่างชาติและชาวไทย ไปจนถึง เหล่าคนดังและฮิปสเตอร์ จนกลายเป็นหนึง่ ในแหล่งแฮงค์เอาต์ เดสติเนชัน่ พรีเมียม ทีพ ่ ลาดไม่ได้ การหวนกลับมาสร้างเทรนด์ความฮิปอีกครั้งในปี 2559 ของตลาดนัดประภาคาร ‘โบ๊ท ลากูน ไลท์เฮ้าส์ วีคเอนด์ มาร์เก็ต’ จึงมาพร้อมกับการเนรมิตประสบการณ์การ ช็อปปิง้ รูปแบบใหม่ ระดมร้านค้าชือ่ ดังและสตรีทฟูด้ มากมาย ในบรรยากาศท่าเรือยอร์ชแห่ง เดียวในเมืองไทย อิม่ หน�ำกับการพักผ่อนและเพลิดเพลินไปกับหลากหลายกิจกรรมเลียบท่า จอดเรือของมารีนา่ ทีถ่ อื ว่าคึกคักมากทีส่ ดุ ของภูเก็ต ขนิษฐา ประสพศิรกิ ลุ ผูอ้ ำ� นวยการบริหาร บาย ขนิษฐา ในฐานะผูจ้ ดั งาน กล่าวว่า “การจัดงานครัง้ นี้ ถือเป็นการกลับมาตามการเรียกร้อง หลังจากทีเ่ ราประสบความส�ำเร็จ เป็นอย่างมากเมื่อปีที่แล้ว และเชื่อมั่นว่าปีนี้จะเป็นการมอบความบันเทิงระดับไฮเอนด์ ได้มากยิง่ ขึน้ รวมไปถึงการแสดงพิเศษทีเ่ ป็นเซอร์ไพรส์ของเรา กับพลุแสงเสียงสุดตระการตา ทุกคนในครอบครัวจะได้สนุกเพลิดเพลินไปกับตลาดนัดบนทางเดินไม้ริมน�้ำที่ใหญ่ขึ้น และดีขนึ้ มากกว่าทีผ่ า่ นมา ซึง่ เราจะจัดกันอย่างต่อเนือ่ งมีนาคม เมษายน และ พฤษภาคม โดยคาดว่าจะดึงนักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติเหมือนอย่างเคย” ส�ำหรับจุดเด่นของ โบ๊ท ลากูน ไลท์เฮ้าส์ วีคเอนด์ มาร์เก็ต ถือเป็นประภาคาร สัญลักษณ์ของ โบ๊ท ลากูน ซึง่ ตัง้ อยูท่ า้ ยท่าจอดเรือแห่งนี้ นับเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกดิน หลังขุนเขาทีส่ วยงาม ก่อนจะตามมาด้วยบรรยากาศความครึกครืน้ ยามพลบค�ำ่ ของตลาดนัด

ประภาคารบนทางเดินไม้เหนือทะเลสาบสุดโรแมนติก จากการรวบรวมเอาร้านค้าท้องถิ่นชื่อดังจากทั่ว เกาะภูเก็ตไว้มากมาย เพือ่ น�ำเสนอความหลากหลาย ของอาหารพืน้ เมืองและอาหารนานานชาติจากร้าน สตรีท ฟูด้ ชือ่ ดัง ไว้ได้อย่างครบครัน บวกด้วยสีสนั ของอาหารและเครือ่ งดืม่ ทีเ่ ป็นตัวชูโรงของตลาดนัด แห่งนีอ้ กี มากมาย ตลาดนัดประภาคาร ‘โบ๊ท ลากูน ไลท์เฮ้าส์ วีคเอนด์ มาร์เก็ต’ เปิดให้บริการแล้ว ระหว่าง 4-5 มีนาคม, 1-2 เมษายน, 6-7 พฤษภาคม ตัง้ แต่เวลา 18.00-22.00 น. ช่วงศุกร์-เสาร์ ณ โบ๊ท ลากูน ในต�ำบล เกาะแก้ว ชายฝัง่ ตะวันตกของภูเก็ต ถัดจากถนน เทพกระษัตรีเพียงเล็กน้อย สามารถดูรายละเอียด เพิม่ เติมได้ที่ Facebook: The Lighthouse Market marketplus 101


AUTO BIZZ : Editor Staff

ซีดานหรูหราเหนือระดับ

เปดตัวกันรายเดือนเลยทีเดียว สำหรับคาย ‘ฮอนดา’ ทีล่ า สุดได เปดตัวรถยนตซดี านรุน ใหญ ‘ฮอนดา แอคคอรด’ (New Honda Accord) ทีท่ ำการปรับโฉมใหม (ไมเนอรเชนจ) ซึง่ ยกระดับความหรูหรา และเพิม่ เติมความโฉบเฉีย่ วสไตลสปอรต เพือ่ เจาะกลุม ลูกคาระดับบนที่ กำลังมองหารถยนตซดี านระดับพรีเมียม สําหรับการเปดตัวในครัง้ นี้ ฮอนดา แอคคอรด ใหม มาพรอมคอนเซปต ‘เปลีย่ นมุมมองใหม สูโลกแหงความหรูหราเหนือระดับ’ หรือ ‘Change Your World’ ซึ่งถูกออกแบบภายใต แนวคิด ‘Exhilarating & Exciting’ สะทอนภาพลักษณแหงความเปนผูนําเหนือระดับ พรอม การออกแบบภายนอกที่หรูหรา สงางาม โฉบเฉี่ยวทุกเสนสาย ดวยกระจังหนาดีไซนใหมสไตล สปอรต โดดเดนทุกมุมมองดวยไฟดีไซนใหมแบบ LED ทัง้ ไฟหนาพรอมไฟสองสวางสําหรับการ ขับขีใ่ นเวลากลางวัน (Daytime Running Lights) ไฟตัดหมอกคูห นา และไฟทาย มอบทัศนวิสยั ที่ดีและชวยเพิ่มความมั่นใจในทุกสภาวะการขับขี่ ดานการออกแบบภายใน อยูภายใตแนวคิด ‘More Advanced and Quality’ มาพรอม หองโดยสารที่กวางขวางและสะทอนความหรูหราในทุกรายละเอียด ดวยชุดตกแตงภายใน ลายไมและสีดําเปยโนแบล็ค สะดวกสบายเหนือระดับมากยิ่งขึ้นดวยอุปกรณอํานวยความ สะดวกระดับพรีเมียม เชน ระบบสตารทเครื่องยนตพรอมเครื่องปรับอากาศดวยกุญแจรีโมท (Engine Remote Start) ที่สามารถสตารทเครื่องยนตและสั่งการเปดเครื่องปรับอากาศได 104 marketplus


จากระยะไกล เพือ่ ปรับอุณหภูมภิ ายในหองโดยสารลวงหนา กอนออกเดินทาง ระบบเครือ่ งเสียงหนาจอสัมผัสใหม รองรับ การเชือ่ มตอ Apple CarPlayTM หรือเชือ่ มตอสมารทโฟนผาน ระบบ MirrorLink® อีกทัง้ สามารถเชือ่ มโยงเครือขาย WIFI หรือ Hotspot เพือ่ ใชงานเบราวเซอร เพือ่ มอบความสะดวก สบายและลํา้ สมัยมากขึน้ กวาทีเ่ คย ฮอนดา แอคคอรด ใหม มาพรอมกับเครื่องยนต เบนซิน 2 ขนาด ไดแก เครื่องยนตขนาด 2.4 ลิตร DOHC i-VTEC 4 สูบ 16 วาลว ใหกําลังสูงสุด 174 แรงมา ที่ 6,200 รอบตอนาที ดวยแรงบิดสูงสุดที่ 225 นิวตัน-เมตร ที่ 4,000 รอบตอนาที ซึง่ พัฒนาภายใตเทคโนโลยี เอิรธ ดรีม มอบสมรรถนะการขับขี่เต็มประสิทธิภาพและใหอัตราการ ประหยัดนํ้ามันที่ดีเยี่ยม เครื่องยนตขนาด 2.0 ลิตร SOHC i-VTEC 4 สูบ 16 วาลว ใหกําลังสูงสุด 155 แรงมาที่ 6,500 รอบตอนาที ดวยแรงบิดสูงสุดที่ 190 นิวตัน-เมตร ที่ 4,300 รอบตอนาที โดยเครื่องยนตทั้ง 2 รุนมาพรอมระบบเกียร อัตโนมัติ 5 สปด และรองรับพลังงานทางเลือก E85 สวนระบบความปลอดภัยก็ยังมีอยางครบครัน อาทิ เชน ถุงลมคูหนาอัจฉริยะ Dual i-SRS ถุงลมดานขาง คูหนาอัจฉริยะ i-Side Airbag และมานถุงลมดานขาง Side Curtain Airbags ระบบแสดงภาพมุมอับสายตาขณะ เปลี่ยนเลน (Honda LaneWatch) ระบบไฟสองสวางดาน ขางอัตโนมัติขณะเลี้ยว (Active Cornering Light - ACL) และกลองสองภาพดานหลังปรับมุมมองได 3 ระดับ ทัง้ แบบ 130 องศา 180 องศา และมุมมองจากดานบน ทัง้ นี้ ฮอนดา แอคคอรด ใหม มีใหเลือก 3 รุน ดวย ขนาดเครือ่ งยนต 2.0 ลิตร ไดแก รุน 2.0 E ราคา 1,385,000 บาท รุน 2.0 EL ราคา 1,445,000 บาท และขนาดเครือ่ งยนต 2.4 ลิตร ไดแก รุน 2.4 EL ราคา 1,635,000 บาท และมีให เลือกทัง้ หมด 4 สี ไดแก สีเทาโมเดิรน สตีล (เมทัลลิก) สีเงิน ลูนาร (เมทัลลิก) สีขาวออรคดิ (มุก) และสีดาํ คริสตัล (มุก) ฮอนดายังเตรียมทีจ่ ะเปดตัว ‘ฮอนดา แอคคอรด ไฮบริด ใหม’ (New Honda Accord Hybrid) ซึง่ มาพรอม เทคโนโลยีไฮบริดที่ไดรับการพัฒนาเพิ่มขึ้น รวมถึงระบบ ความปลอดภัย Honda SENSING โดยจะมีกาํ หนดเปดตัว และวางจําหนายอยางเปนทางการเร็วๆ นี้

ฮอนดา แอคคอรด ใหม ยังคงถือเปนเจเนอเรชั่นที่ 9 ซึ่งเปดตัวในประเทศไทย ครัง้ แรกเมือ่ เดือนมีนาคม 2556 ทีผ ่ า นมา โดยถือเปนรถรุน ทีไ่ ดรบั การตอบรับทีด่ มี าก จากลูกคา ดวยยอดขายสะสมรวมเกือบ 30,000 คันนับตัง้ แตเปดตัว และมีสว นแบง การตลาดในกลุมรถยนต D-Segment อยูที่ 40% หรือเปนอันดับ 2 ของรถยนต ในกลุมนี้ อยางไรก็ตาม ฮอนดาไดตั้งเปาหมายยอดขายของ ฮอนดา แอคคอรด ใหม ไวที่ 8 พันคันตอเดือน marketplus 105


AUTO BIZZ : Editor Staff

The new C-Class Coupe ยนตกรรมหรูสุดเราใจสไตลสปอรต

เผยโฉมในประเทศไทยอยางเปนทางการแลว สำหรับรถยนตสดุ หรูจากเมอรเซเดส-เบนซ อยาง ‘The new C-Class Coupe’ สมาชิกใหม ในตระกูล C-Class ที่จะเขามา เจาะกลุมลูกคาคนรุนใหมที่หลงใหลรถหรูสไตลสปอรตโดยเฉพาะ สําหรับ The new C-Class Coupé ’ ถือเปนรถสปอรตคูเป เจเนอเรชั่นลาสุดในกลุม Dream Car ที่ไดรับการปรับโฉมใหมใหมี ความสปอรต ปราดเปรียวยิ่งขึ้น เราใจยิ่งขึ้น โดยมีใหเลือก 2 ดีไซน ไดแก The new C 250 Coupe’ AMG Dynamic ในราคา 3,790,000 บาทและ The new C 250 Coupé Edition 1 ราคา 3,390,000 บาท โดยรุน Edition 1 จะเปนรุน พิเศษทีม่ กี ารจําหนายถึงสิน้ เดือนธันวาคม ปนี้เทานั้น The new C-Class Coupé มาพรอมเครื่องยนตเบนซิน 4 สูบ ความจุกระบอกสูบ 1,991 ซีซี กําลังแรงมาสูงสุดที่ 211 แรงมา ที่ 5,500 รอบ/นาที แรงบิด 350 นิวตันเมตร ที่ความเร็ว 1,200-4,000 รอบตอนาที อัตราเรง 0-100 กม./ชม. ที่ 6.8 วินาที ความเร็วสูงสุด 250 กม./ชม. ขั บ เคลื่ อ นด ว ยระบบส ง กํ า ลั ง แบบเกี ย ร อั ต โนมั ติ 7G-TRONIC PLUS และมี โ หมดการขั บ ขี่ ใ ห เ ลื อ กถึ ง 5 แบบ

106 marketplus

สําหรับดีไซนภายนอกของ The new C-Class Coupé โฉมใหมน้ี มีขนาดตัวถังทีใ่ หญขนึ้ ในทุกมิติ ดวยความยาว 4,696 มิลลิเมตรกวาง 1,810 มิลลิเมตร สูง 1,405 มิลลิเมตร ในขณะทีด่ า นหนาของตัวรถได รับการออกแบบใหฝากระโปรงดูยาว และเมื่อรวมเขากับประตูแบบ ไรขอบ กระจกมองขางแบบลอยตัวจากตัวถัง และเสนสายดานขาง ตัวรถที่ยาวลงไปถึงซุมลอหลัง ทําใหรูปโฉมภายนอกของ The new C-Class Coupé ดูแข็งแกรง โฉบเฉี่ยว และเราใจ มากยิ่งขึ้น อีกหนึ่งจุดเดนของรถรุนนี้คือตัวรถที่มีนํ้าหนักเบาลงถึง 50 กิโลกรัมซึ่งเกิดจากการพัฒนาโครงสรางตัวถังใหมีนํ้าหนักเบา โดย ใชอะลูมิเนียมเปนองคประกอบหลักผสมกับเหล็กกลา ตลอดจนชิ้น สวนตางๆ ของรถก็ใชอัลลอยนํ้าหนักเบาเปนสวนประกอบหลัก สําหรับ The new C 250 Coupé AMG Dynamic จะเพิม่ ความ สปอรตขึ้นไปอีกระดับ โดยจะมาพรอมกับชุดแตง AMG อาทิ กันชน


สำหรับผลประกอบการในป 2558 ทีผ่ า นมา เมอรเซเดส-เบนซ สามารถครองอันดับ 1 ในกลุม ตลาดรถหรูตอเนื่องเปนปที่ 15 ด ว ยยอดขายรวมตลอดทั้ ง ป ที่ 12,776 คัน จาก 3 กลุม ผลิตภัณฑ ที่ ค รอบคลุ ม ความต อ งการของ ผูบ ริโภค ไดแก กลุม Compact Car กลุ ม Contemporary Luxury และกลุม Dream Car ส ว นในช ว งเดื อ นมกราคมของป 2559 ทีผ ่ า นมา บริษทั ฯ สามารถ ทำยอดขายไดถงึ 561 คัน เพิม่ ขึน้ จากชวงเดียวกันปที่แลว 24% โดยในปนี้บริษัทไดเตรียมเปดตัว รถยนตรุนใหมมากถึง 20 โมเดล

และสเกิรตขางแบบเอเอ็มจี กระจังหนาลาย diamond grille และลอ อัลลอยขนาดเสนผานศูนยกลาง 19 นิ้ว ในขณะที่ The new C 250 Coupé Edition 1 มาพรอมชุดแตงรอบคันทั้งภายนอกและภายใน ในขณะที่ ดี ไ ซน ภ ายในได รั บ การตกแต ง ให ดู เ รี ย บง า ยแต เครงขรึม พรอมแฝงดวยความเราใจสไตลสปอรต ดวยพวงมาลัย สปอรตมัลติฟงกชันแบบทายตัด ระบบไฟสองสวางในหองโดยสาร และระบบไฟสรางบรรยากาศในหองโดยสารที่เปนอุปกรณเสริม ทั้ง 3 โทนสี คือ สีโซลาร (เหลืองอําพัน) สีโพลาร (ไอซบลู) และ สีกลาง (โทนขาว) สวนบรรยากาศภายในหองโดยสารไดถูกออกแบบใหมีพื้นที่ ใชสอยอันกวางขวาง มีอุปกรณอํานวยความสะดวกครบครัน ตั้งแต คอนโซลกลางไปจนถึงสวนประตูและพื้นที่ดานหลังตัวรถ รวมถึง เบาะที่นั่งแบบสปอรตที่ออกแบบเพื่อรถยนตรุนนี้โดยเฉพาะ และ สวิตชเลือ่ นเบาะทีน่ งั่ ดานหนา เบาะทีน่ งั่ ตอนหลังเปนแบบเบาะแยก 2 เบาะ และมีระบบปอนเข็มขัดอัตโนมัติ (automatic belt feeders)

สํ า หรั บ ผู ขั บ และผู โ ดยสารด า นหน า เป น ครั้ ง แรกในรถยนต รุ น C-Class Coupé สําหรับรุน The new C 250 Coupé AMG Dynamic ภายใน ตกแตงดวยหนังและเดินดายดวยสีที่โดดเดน พวงมาลัยสปอรต มัลติฟงกชัน 3 กานแบบสปอรตทายตัดเปนอุปกรณมาตรฐาน รวม ถึงแปนคันเรงและเบรกของเอเอ็มจี แผงควบคุมตกแตงขอบดวย ลายไมสดี าํ ดาน บริเวณแผงหนาปดและประตูตกแตงดวยอะลูมเิ นียม เพื่อความสวยงามเพื่อความสมบูรณแบบ สวน The new C 250 Coupé Edition 1 บริเวณคอนโซล กลางมีการเก็บขอบดวยลายไมสีดําดาน ผสานดวยการตกแตงดวย อะลูมเิ นียมบริเวณแผงควบคุมและประตู มีตราสัญลักษณ ‘Edition 1’ แปนคันเรงและเบรกโดยเอเอ็มจี ผลิตจากสเตนเลสและมีแถบยาง สีดําปองกันการลื่น เบาะนั่งแบบสปอรตหุมหนัง ARTICO สลับ DINAMICA microfibre สีนาํ้ ตาลสลับดํา และเดินดายสีเทอรควอยซ พรมในหองโดยสารเปนสีนํ้าตาลปกดวยดายสีเทอรควอยซ marketplus 107


Hi-END RESTAURANT : Parichat Boon-ek

สวรรค์ของคนรักเนื้อ เข้าสูเ่ ดือนทีส่ ามของปีกนั แล้ว Market Plus ฉบับนี้ เรามาเอาใจคนรักเนื้อกับร้านอาหารสไตล์ปิ้งย่าง หรือ ยากินิคุ กันที่ ‘NIKUYA’ (นิกุยะ) อีกหนึ่งร้านในเครือ โออิชิ ทีย่ งั คงคอนเซปต์ความเป็นญีป่ น่ ุ เช่นเคย ตัง้ แต่อาหาร ไปจนถึงการตกแต่งร้านทีม่ าในแนวโทนสีด�ำ สลับน�้ำเงิน ให้ความรู้สึกถึงความเป็นญี่ปุ่นสมัยใหม่ พร้อมอาหาร กว่า 50 เมนู ให้เลือกสรร สาขาที่เราแวะเวียนไปในครั้งนี้คือที่ ‘ซีคอนสแควร์ ศรีนครินทร์’ มาคราวนีเ้ ต็มอิม่ ยิง่ กว่าเดิมกับไลน์อาหารทีเ่ พิม่ ขึน้ เพือ่ ให้มคี วามหลากหลาย ตามค�ำเรียกร้องของลูกค้า ทั้งเมนูข้าวปั้นยอดนิยม อาทิ ข้าวห่อสาหร่าย แซลมอนเผาไฟ ข้าวปัน้ หน้าย�ำสาหร่ายทะเล แคลิฟอร์เนียมากิ พร้อมอาหาร ทานเล่นอย่างไก่คาราเกะ และเฟรนช์ฟรายส์เพือ่ ความหลากหลายไม่จำ� เจ นอกจากเมนูทไี่ ด้เกริน่ ไปเมือ่ สักครูแ่ ล้ว ทางร้านยังมีเมนูทานเล่นให้ เลือกอีกมากมายอย่าง ปูอดั เกีย๊ วซ่า ข้าวสวย ข้าวผัดกระเทียม ซุปเต้าเจีย้ ว และเครือ่ งดืม่ ทีม่ ใี ห้เลือกทัง้ น�ำ้ อัดลม ชาเขียว น�ำ้ พัน้ ซ์ และน�ำ้ สตรอว์เบอร์รี เย็นชื่นใจดับกระหายเรียกน�้ำย่อยก่อนที่จะลงไปสู้ศึกกับปิ้งย่าง โดยเมนู ดังกล่าวจัดวางให้ลกู ค้าได้เดินชมและตักทานแบบบริการตัวเองตามสะดวก 108 marketplus


มาดูทอี่ าหารสดกันบ้าง ทีน่ โี่ ดดเด่นตรงเนือ้ คุณภาพเยีย่ ม อาทิ เนือ้ สันคอ เนือ้ ริบอาย เนือ้ คารูบ ิ เนือ้ ลูกเตา และพิเศษไปกว่านัน้ กับโปรโมชัน ‘BIGGU Niku’ ส�าหรับลูกค้าทุกคนที่มาทาน รับฟรี Welcome Dish เต็มอิ่มกันแบบจุใจกับ เนือ้ สันนอกแทรกมันเล็กน้อยคุณภาพดีชใิ้ หญ่ยกั ษ์ ราดซอสสูตรพิเศษทีม่ ใี ห้เลือก ถึง 4 สูตร ได้แก่ ซอสบาร์บคี วิ ซอสพริกญีป่ นุ่ ซอสพริกไทยด�า และซอสเทอริยากิ น�ามาย่าง บนเตาถ่านไม้กะลามะพร้าว ไร้ควัน ให้ความร้อนสม�า่ เสมอ โดยเคล็ดลับความอร่อย อยูท่ ตี่ อ้ งกลับเนือ้ เพียงครัง้ เดียวและไม่ยา่ งจนแห้งเกินไป จะท�าให้เนือ้ นุม่ ชุม่ ลิน้ ถือเปนโปรโมชันเด็ดทีค่ นรักเนือ้ ห้ามพลาดกันเลยทีเดียว ส่วนใครทีไ่ ม่ทานเนือ้ ทีน่ กี่ ม็ เี มนูหมู ทัง้ สันคอหมูนมุ่ ๆ เบคอนย่างเกรียมๆ อร่อยแบบลืมอ้วน ซีโ่ ครงหมู เนือ้ ไก่อนามัยราดซอสสูตรพิเศษ รวมไปถึงเมนูปลา อย่าง ปลาซาบะ ปลาแซลมอนนอร์เวย์ ปลาไข่ทอี่ ดั แน่นไปด้วยไข่แบบเต็มๆ และ อาหารทะเลคุณภาพดีอย่าง หอยแมลงภู่นิวซีแลนด์ที่ขนาดใหญ่ยักษ์จุใจให้สั่ง ได้ไม่อนั้ และกุง้ ขาว พร้อมกับปลาหมึกตัวโต และเมนูไส้กรอกกรอบนอกนุม่ ใน ให้ได้ยา่ งทานเล่นๆ เพลินๆ อีกด้วย ซึง่ ลูกค้าสามารถมัน่ ใจได้เลยว่าทุกเมนูผา่ น การคัดสรรจากวัตถุดบิ ธรรมชาติคณ ุ ภาพสูง ทัง้ จากในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี ้ ทางร้านยังมีผกั นานาชนิดไว้คอยบริการ รวมไปถึงสลัดผักรวม และเครือ่ งเคียงอย่างผักย�า เพือ่ เพิม่ อรรถรสในการทาน ส�าหรับใครทีท่ านอาหาร หลักอิม่ หน�าส�าราญกันไปแล้ว ทีน่ ยี่ งั มีของหวานตบท้ายอย่างผลไม้ตามฤดูกาล และไอศกรีมโฮมเมดซึง่ เปนแบรนด์ในเครือของโออิชใิ ห้ได้ลมิ้ ลองกันอีกด้วย NIKUYA เปิดให้บริการเต็มรูปแบบแล้วกว่า 18 สาขาทัว่ ประเทศ ใครที่ ก�าลังมองหาร้านอาหารปิง้ ย่างนัง่ ทานชิลล์ๆ แล้วล่ะก็ ขอบอกเลยว่ามาทีน่ แี่ ล้ว ไม่ผิดหวังอย่างแน่นอน เพราะนอกจากจะได้เต็มอิ่มกับเนื้อคุณภาพเยี่ยมแล้ว ยังสามารถนั่งได้นานกว่า 120 นาที ในราคาสุทธิเพียง 519 บาท เท่านั้น!

พบกับโปรโมชัน BIGGU Niku ได้ตงั้ แต่วนั นี้ – 31 มีนาคม 2559 สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมโทร 1773 เว็บไซต์ www.oishigroup.com marketplus 109


Hi-END RESTAURANT

ความอรอยสไตล

‘แคชวลไดนิ่ง’ ในราคาเบาๆ

คงไมไดบอยนักที่ทุกคนจะมีโอกาสทานอาหารไฟนไดนิ่งจากฝมือเชฟแถว หนาของวงการ เพราะกวาจะมีโอกาสนั้นอาจตองจองที่นั่งลวงหนาเปนอาทิตยใน ภัตตาคารระดับโรงแรม หรืออาจตองรออิมพอรตเชฟชื่อดังบินมาในโอกาสพิเศษ และยิ่งกวานั้นอาจตองทุมทุนสรางจายหนักเพื่อมื้อพิเศษเพียงครั้งเดียวในรอบป แตทงั้ หมดนีไ้ มใชสาํ หรับ ‘DOM Cafe’ and Bistro’ (ดอม คาเฟ แอนด บิสโทร) ชิลลเอาต แหงใหม ที่จะกลายมาเปนแฮงคเอาตเดสติเนชั่น ที่จะนําเสนอศิลปะแหงการปรุงอาหารฟวชั่นลูกผสม ระหวางเอเชีย-ยุโรปแบบ ‘แคชวลไดนิ่ง’ ในราคาเบาๆ ทีค่ ณ ุ สามารถทานไดทกุ การพบปะสังสรรค จาก ฝมือการรังสรรคความอรอยลํ้าโดยเชฟชาวสวิสดีกรีเอ็กเซ็คคูทีฟ เชฟ ที่บินตรงจากลูเซิรนมาประจําที่นี่ ทามกลางบรรยากาศทีส่ มั ผัสไดถงึ โมเลกุลความเขมเท ผอนคลาย เต็มไปดวยกลิน่ อายความสนุกสนาน และการเดินทาง เรือ่ งราวของ DOM Café and Bistro ลวนมาจากประสบการณการเดินทางทัว่ โลกของ ‘บอย’ ดร.เชษฐา ส ง ทวี ผ ล ซึ่งอาจคุนเคยในบทบาทเจาของและบก.นิตยสารรถยนตและนาฬกาลักซชัวรี่ ชัน้ นําของเมืองไทย มาผสมผสานกับไอเดียของ Dominik Heizmann (โดมินกิ ไฮซเเมนน) เชฟเลือ่ งชือ่ ชาวสวิตเซอรแลนด ผลลัพธทไี่ ดคอื คอนเซปตรา นในสไตล ‘ทราเวล อินดัสเทรียล ลอฟท’ สะทอนความเขม ขึงขังผานไอคอนซิกเนเจอรของการเดินทาง ไมวา จะเปนฟนเฟอนของนาฬกา แผนทีโ่ ลก กระเปาเดินทาง ผนวกดีไซนยคุ การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ถายทอดผานวัสดุอยางแผนหนัง เหล็ก และไมแฝงความรูส กึ สนุก และผอนคลายยามคํ่าคืนดวยธีมสนุกๆ ที่ตกแตงโตะดวยตารางหมากรุก และเกมตางๆ เพื่อสราง ชวงเวลาดีๆ ในหมูเพื่อนฝูงและครอบครัวใหเปนแหลงพบปะสังสรรคและชิลลเอาตแหงใหมที่ทุกคน ไมควรพลาด ในบรรยากาศการขับกลอมดนตรีเบาๆ โดมินิก เปนเอ็กเซ็คคูทฟี เชฟ ชือ่ ดังชาวสวิตเซอรแลนด จากภัตตาคารชัน้ นําดีกรี awarded Gault Millau points ซึ่งเทียบเทากับมิชลินสตาร ในเมืองลูเซิรน เขาเปนผูเชี่ยวชาญการปรุงอาหารสไตล ไฟน ไดนิง่ หลังฝากฝมอื การปรุงอาหารจากภัตตาคารและรานอาหารระดับโรงแรมมามากกวา 10 ป รวมถึง ควารางวัลและสรางชือ่ เสียงใหตวั เองมาแลวมากมาย โดมินกิ ตัดสินใจครัง้ สําคัญในชีวติ บินตรงสูเ มืองไทย ดวยความมุงมั่นที่จะสรางประสบการณความอรอยที่แตกตาง เขาใชเวลามากกวาสามเดือนเดินทาง ขึ้นเหนือลงใตทั่วเมืองไทย เพื่อเสาะแสวงหาเมนูอาหารที่สมบูรณแบบที่สุด คัดสรรวัตถุดิบคุณภาพ 110 marketplus


เพือ่ สรางสรรคออกมาเปน ‘แคชวล ไดนิ่ง’ เรียบงาย แตมอบรสชาติความตืน่ เตน โดดเดนอันเปนเอกลักษณไมเหมือนใคร ภายใตคอนเซปต ‘French and Italian with Asian Twist’ เพือ่ ใหไดผลลัพธความอรอยทีถ่ กู ปากคนไทย ทีส่ าํ คัญตอง เปนราคาทีท่ กุ คนสามารถเขาถึงไดงา ยๆ ดวยเหตุนคี้ วามโดดเดนของ DOM Café and Bistro จึงไมใชแคบรรยากาศ แต ยังรวมถึงคอนเซปตอาหารสไตลแคชวลไดนิง่ สามารถทานไดทกุ มือ้ ทุกเวลา เหมาะ กับลูกคาทุกกลุม อายุ โดยเฉพาะการแฮงคเอาตในหมูเ พือ่ นฝูง เนนคุณภาพ เรียบงาย รวดเร็ว รสชาติดเี ยีย่ ม ผสานเขากับความเปนไทยดวยวัตถุดบิ สดใหม ตัง้ แตอาหาร เรียกนํ้ายอยไปจนถึงจานหลักอยาง ซีซารสลัดเชคในขวดโหล, ซุปครีมทรัฟเฟล, พายฝรัง่ เศส, ครอสติน,ี่ ตับหานกับเชอรี,่ สปาเก็ตตีต้ ม ยํากุง แมนาํ้ , ริซอตโตมสั ตารด คิงสแกลลอป, ริซอตโตลาบ และ สเต็กดอม ที่มาพรอมกับการเสิรฟที่นาตื่นเตน แบบโมเลกุลารแกสโตรโนมีกรุนอายควัน สะทอนภาพเครื่องจักรพนไอนํ้าตามธีม ยุคปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ตลอดจนเครื่องดื่มซิกเนเจอรและเครื่องดื่มยอดนิยมที่ทุกคนโปรดปรานทั้ง ไวนขาว ไวนแดง สปารคกลิ้งไวน วิสกี้ และค็อกเทลพรีเมียมนานาชนิดรวมกวา 70 รายการ จากฝมอื บารเทนเดอรผชู าํ่ ชองทีจ่ ะมาโชวลลี ามิกซเครือ่ งดืม่ เพิม่ สีสนั ความแปลกใหม รวมถึงเครื่องดื่มม็อกเทลรสเขมขนและเครื่องดื่มผลไมสําหรับ ครอบครัว มานําเสนอในรสชาติทไี่ มเหมือนใครเขาคูก บั กาแฟดารกโรสตและใบชา นําเขาคุณภาพดี เพือ่ ใหลกู คาไดทอดนองจิบอยางผอนคลาย ในบรรยากาศทีม่ ใี หเลือก ชิลลทั้งโซนอินดอรและโซนเอาตดอรนั่งสบายๆ ลิ้มรสความอรอยสไตลแคชวลไดนิ่งในคอนเซปต French and Italian with Asian Twist จากฝมอื เชฟชาวสวิสระดับอินเตอร ในราคาทีท่ กุ คนเขาถึงได ที่ DOM Cafe’

and Bistro ชิลลเอาตแหงใหม ชั้น 1 Central Festival EastVille โทร. 02 115 6509 รายละเอียดเพิม่ เติมที่ DOMCafeAndBistro DOMCAFEBISTRO

marketplus 111


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.