นสพ รักบ้านเกิด นครศรีธรรมราช ฉบับที่ 36 เดือนกันยายน 2557

Page 1

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน ๒๕๕๗

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

http://www.nakhonforum.com

ราคา ๒๐ บาท

จากซ้าย : ประเวช จินา, โชคดี จันทร์อ่อน, สุรวุธ จินา, นนฑิพัฒน์ ปานกล่อม และ วันชัย สุวรรณวิหค

¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑ­ญªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ศิลปินถิ่นนคร รศ.วิมล ด�ำศรี àÅèÒàÃ×èͧàÁ×ͧà¡èÒ ¼È.©ÑµÃªÑ ÈØ¡ÃСҭญ¨น์ รักสุขภาพ

นพ.อรรถกร วุฒิมานพ

˹éÒ ò

‘รั ก บ้ า นเกิ ด ’ เยี่ ย มชาวบ้ า นกลุ ่ ม เลี้ ย งกวาง ต.เขาขาว เมื่ อ วั น ที่ ๙ สิ ง หาคม ๒๕๕๗ นายวั น ชั ย อ.ทุ่งสง ชาวบ้านสามารถรักษาป่าและสมุนไพรกว่า ๗๐ ชนิด สุ ว รรณวิ ห ค หั ว หน้ า ส� ำ นั ก งานกองทุ น ฟื ้ น ฟู แ ละ ชาวบ้านได้โรงจัดการเพื่อการพาณิชย์ พบแกลบ ปลายข้าว พัฒนาเกษตรกร สาขาจังหวัดนครศรีธรรมราช น� ำ กั บ ร� ำ จากโรงสี ชุ ม ชนนาบอนน� ำ ไปเลี้ ย งหมู ไ ม่ พ อส่ ง ตลาด ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด >> อ่านต่อหน้า ๘

˹éÒ ó ˹éÒ ๔ ˹éÒ ñ๐ ˹éÒ ññ ˹éÒ ñ๒

มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง ˹éÒ ñ๓ สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ˹éÒ ñ๖ ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ ˹éÒ ñ๗ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

รายงาน

เมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๗ ผศ.ดร.สุวิทย์ วุฒิสุทธิเมธาวี คณบดี ส�ำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร ม.วลัยลักษณ์ ประธานการจัดงานวลัย ลักษณ์เกษตรแฟร์ เปิดเผยว่าปีนี้จัดงานภายใต้แนวคิด ‘เกษตรเพื่อชีวิต สู่เศรษฐกิจยั่งยืน’ ระหว่างวันที่ ๕ - ๑๓ กันยายน ๒๕๕๗ เพื่อเผยแพร่ องค์ ค วามรู ้ ท างการเกษตรที่ ได้ พั ฒ นาขึ้ น จากงานวิ จั ย ของ มหาวิ ท ยาลั ย และหน่ ว ยงาน ม.วลั ย ลั ก ษณ์ จั ด งานเกษตรแฟร์ ครั้ ง ที่ ๔ ภาครัฐ และภาคเอกชนให้แก่ ระหว่าง ๕ – ๑๓ ก.ย.นี้ นิทรรศการความรู้ เกษตรกรและประชาชนทั่วไป อบรมอาชีพ บันเทิงเพียบ ร้านค้ากว่า ๔๐๐ ซึ่งการจัดงาน ๓ ครั้งที่ผ่านมา >> อ่านต่อหน้า ๙ ได้รับ แห่ร่วมออกร้าน


หน้า ๒

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

อี

กไม่กี่วันชาวไทยจะได้เห็นโฉมหน้าคณะรัฐมนตรี ของรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (ว่าที่) นายกรัฐมนตรี คนที่ ๒๙ ของประเทศไทย ที่จะขึ้นมาบริหารบ้านเมือง ให้ เ จริ ญ ก้ า วหน้ า ทางเศรษฐกิ จ สั ง คม วั ฒ นธรรม เป็ น ที่ ย อมรั บ ของประเทศเพื่ อ นบ้ า นและนานา อารยประเทศ โฉมหน้ า รั ฐ มนตรี ก ระทรวงส� ำ คั ญ ๆ แม้ ยั ง ไม่ ลงตัว แต่บางกระทรวงปรากฏเป็นรูปเงาว่านายทหาร ที่ร่วมกันก่อการรัฐประหารเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ถู ก คั ด เลื อ กให้ เ ข้ า มาบริ ห ารเนื่ อ งจากมี ความเหมาะสม ทั้งใกล้ชิด รู้ใจ ไว้ใจได้และมีความ สามารถ เหมือนรัฐบาลทหารในอดีต บางกระทรวง มอบหมายให้ พ ลเรื อ นบริ ห าร อย่ า งไรก็ ต าม คณะ รัฐมนตรีในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา คงไม่ เกิน ๓๕ คน หลั ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมี พระบรมราชโองการโปรดเกล้ า ฯ แต่ ง ตั้ ง คณะ รัฐมนตรีเข้าถวายสัตย์ปฏิญาณ รัฐบาลใหม่จะต้อง เร่ ง สร้ า งความสามั ค คี ป รองดองระหว่ า งคนในชาติ ให้เกิดขึ้น ควบคู่ไปกับการบริหารบ้านเมืองให้ประชาชนอยู ่ ดี กิ น ดี สร้ า งสั ง คมที่ มี ค วามมั่ น คงปลอดภั ย ทุกๆ ด้าน ถ้าหาก พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา สามารถ สร้างความรักและศรัทธาให้เกิดขึ้น การบริหารบ้าน เมืองน่าจะได้รับความร่วมมือจากประชาชน ตามโรดแมปที่วางไว้ ๑๕ เดือน ภายในเดือน กรกฎาคม ๒๕๕๘ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่จะต้องเสร็จ สมบูรณ์ โดยก�ำหนดให้มีการเลือกตั้งภายใน ๖๐ วัน ถ้าไม่เกิดปัญหาหรืออุปสรรคใดๆ การเลือกตั้งทั่วไป จะเกิ ด ขึ้ น ในเดื อ นตุ ล าคม ๒๕๕๘ นายกรั ฐ มนตรี และรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งจะน�ำพาประเทศเข้า สู่เวทีเปิดประชาคมอาเซียนอย่างสมเกียรติ นับจาก นี้เป็นต้นไปชาวไทยต้องช่วยกันสนับสนุนให้รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประสบความส�ำเร็จตาม โรดแมปทุกประการ

ามที่ ไ ด้ เ กริ่ น ไว้ ว ่ า ผมจะแวะไป นิ ว ยอร์ ค สหรั ฐ อเมริ ก า เพื่ อ ตามดู พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ต ่ า งๆ โดยเฉพาะ ที่ The Metropolitan Museum of Art ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ชั้ น น� ำ ของโลก ก�ำลังจัดนิทรรศการส�ำคัญ ชุด The Lost Kingdoms อาณาจักร ฮินดู-พุทธยุคแรกเริ่มในอุษาคเนย์ที่ ป้าย Lost Kingdoms สาบสู ญ โดยมี ก ารน� ำ หลั ก ฐานการ ด้านหน้าพิพิธภัณฑ์ The Metropolitan Museum of Art นครนิวยอร์ค ศึ ก ษาค้ น คว้ า ของผมเรื่ อ งลู ก ปั ด ไป ประกอบด้วย เขาเน้นที่ฟูนัน เจนละ จามปา ทวารวดี ทางไปค้นหาตามพรลิงค์ที่อเมริกา เริ่มจากนิทรรศการ ศรีเกษตร และ ศรีวิชัย มีพาดพึงถึง ลังกาสุกะ พันพัน พิเศษ The Lost Kingdoms ที่ถือเป็นหนึ่งในนิทรรศการ และ ตามพรลิ ง ค์ เ ล็ ก น้ อ ย และจะน� ำ มาเล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า ส� ำ คั ญ ระดั บ โลก เพราะหยิ บ ยื ม ข้ า วของสิ่ ง ส� ำ คั ญ ทั้ ง ฝรั่งเขาบ้าหาอาณาจักรที่สาบสูญกันมาก เฉพาะที่เมือง หลายเมื่อประมาณ ๑,๐๐๐ ปีก่อนจากพม่า มาเลเซีย นคร ตามพรลิงค์ นี้ ผมเองก็เคยถูกฝรั่ง ๒ ราย บิน อินโดนีเซีย เขมร เวียตนาม และ ไทย ขนไปจัดแสดง มาขอให้ช่วยค้นหามาแล้ว คนหนึ่งชื่อ Stuart Wavel ในอภิ มหาพิ พิ ธภั ณ ฑ์ข องโลกในมหานครนิว ยอร์ ค The เป็ น ที ม งานของอดี ต นายกรั ฐ มนตรี โ ทนี่ แบลร์ ชาว Metropolitan Museum of Art แบบสุ ด ๆ แต่ ห ้ า ม อังกฤษ บอกว่าพ่อเขาเป็นคนค้นคว้าเรื่อง “ลังกาสุกะ” ถ่ายรูปโดยเขามีหนังสือเล่มยักษ์พร้อมภาพสมบูรณ์แบบ ตัวเองก็ฝันจะเป็นผู้ค้นพบอย่างพ่อ ตั้งใจจะเจาะเจอ จ�ำหน่าย ซึ่งมีเรื่องของตามพรลิงค์เล็กน้อยมาก แม้ที่ “ตามพรลิ ง ค์ ” แบบว่ า ฝั น ว่ า จะได้ ขี่ ช ้ า งบุ ก เข้ า ไปใน พิพิธภัณฑ์สมาคมเอเซีย และ พิพิธภัณฑ์บรู๊คลิน ก็ไม่มี กรุงชิงที่เขาเชื่อว่าคือนครที่ว่า อีกคนชื่อ Stuart Munro- อะไรเกี่ยวกับเอเซียอาคเนย์มากอย่างที่คิด รวมทั้งใน The Hay ชาวไอริช เคยไปค้นคว้าที่อียิปต์และอีกหลายที่ Met เองด้วย เฉพาะในหนังสือ The Lost Kingdoms มาฝังตัวอยู่ในนครหลายปี สุดท้ายออกมาเป็นหนังสือ นอกจากปรากฏชื่อในแผนที่ต่างๆ แล้ว มีการระบุถึง ตาม ภาษาอังกฤษเรื่องเมืองนครที่ดีที่สุดเล่มหนึ่ง หนา ๔๖๑ พรลิงค์ไว้ ๔ แห่ง รวมความได้ว่า “ปรากฏตั้งแต่พุทธ หน้า ชื่อ Nakhon Sri Thammarat : The Archeology, ศตวรรษที่ ๑๑-๑๒ ในฐานะเมืองท่าค้าขายข้ามทวีป มี History and Legends of a Southern Thai Town ศูนย์กลางที่ที่ตั้งจังหวัดนครศรีธรรมราชในทุกวันนี้ เป็น ในขณะที่ ร ายแรกนั้ น ได้ เ พี ย งกลั บ ไปลอนดอนแล้ ว มี จุดบริการการค้าทางไกลส�ำคัญด้านสินค้าจากป่าและดีบุก บทความตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ลอนดอนไทม์เท่านั้น พบประติ ม ากรรมรู ป พระวิ ษ ณุ รุ ่ น แรกและศิ ว ลึ ง ค์ ห ลาย เป้ า หมายของการเดิ น ทางเที่ ย วนี้ จึ ง เป็ น การสวน องค์ ชี้ถึงอิทธิพลของศาสนา >> อ่านต่อหน้า ๑๙


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓

จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร

มเขียนเรื่องของกณิศ ศรีเปารยะ (กั๊ก) ใน ‘เนชั่น สุดสัปดาห์’ ยาวๆ ๓ ตอน ผู้อ่านทั่วประเทศคงได้ อ่านเรื่องราวของเธอแล้ว ผมอยากเล่าเรื่องราวย่อๆ ซึ่ง เป็นเรื่องดีดีใน ‘รักบ้านเกิด’ อีกครั้ง กณิศลูกสาวชาวเมืองนครแท้ๆ คุณแม่-ผศ.เกษร ศรี เ ปารยะ แห่ ง ภาควิ ช ากายวิ ภ าคศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล เป็นชาวปากพนัง คุณ พ่อ-วรชาติ ศรีเปารยะ ปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครฯ กณิศ เป็นหลานอดีตศึกษาฯ และ ส.ส.วัน ศรีเปารยะ ชาว พิปูนผู้มีชื่อเสียงเป็นที่เคารพของชาวบ้าน กั๊กเรียนจบปริญญาตรีนิเทศศาสตร์บัณฑิต ภาค วิชาศิลปะการแสดง ม.กรุงเทพ ปริญญาโท ศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาการบริหารจัดการวัฒนธรรม วิทยาลัย นวัตกรรมศึกษา ม.ธรรมศาสตร์ ขณะเป็นอาจารย์ช่วย สอนวิชาไทยศึกษา ของ ศ.(พิเศษ)ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา คณบดีส�ำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์ เธอ ร่างข้อเสนอเพื่อท�ำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกหลักสูตร เอเชียศึกษา อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาแนะน� ำ ให้ ล องเชื่ อ มโยงความ สัมพันธ์ของนาฏกรรม ๓ ชนิด คือ โนรา (ไทย) มะโย่ง (มาเลเซี ย ) และบารองของบาหลี (อิ น โดนี เ ซี ย ) ถ้ า ส�ำเร็จปริญญาเอกอาจารย์ชลธิราว่าเธอสามารถเป็นนัก มานุษยวิทยาการแสดง ที่จะมีบทบาทส�ำคัญในอนาคต กณิ ศ ชอบร่ า ยร� ำ เธอร� ำ มาตั้ ง แต่ ส มั ย มั ธ ยมที่ สตรีวิทยา ฝึกร�ำโนรากับโนราเอกชัย นุ่มสวัสดิ์ (โนรา เล็ก) ลงพื้นที่เก็บข้อมูลโนราที่พัทลุงจนสนิทสนมกับทุก คณะโนรา เธอฝึกร�ำและร�ำได้สวย แต่ขอไม่สวมเทริด

เพราะทางบ้ า นกั ง วลเรื่ อ งครู ห มอ แต่ ข อร� ำ ศึ ก ษาและ ท�ำความเข้าใจพิธีกรรมทดแทน ข้อมูลภาคสนามโนราเก็บได้ราวๆ ๘๐ เปอร์เซ็นต์ เธอบอกว่าโนราไม่ได้มีเฉพาะเมืองไทย ยังมีโนรากลันตัน โนราไทรบุรี ที่ผสมผสานทางวัฒนธรรมก่อนจะมีขอบเขต ประเทศ แต่ละโนราก็แตกต่างกันในรายละเอียด กณิศใช้เวลาเก็บข้อมูลโนรากับมะโย่ง โดยมีคุณลุง สิริ เล็ง บัว ประธานสมาคมชาวสยามในมาเลเซียที่เธอรัก เคารพเสมือนพ่อเป็นผู้ช่วยเหลืออย่างส�ำคัญ ว่างๆ ก็ข้าม ฟากไปบาหลี ไปเก็บข้อมูลและร่ายร�ำในเทศกาลศิลปะ ผมขอไม่ลงรายละเอียดเกี่ยวกับศิลปะ ๓ ชนิด แต่อยาก เรียนว่าความเชื่อเรื่องครูหมอยังเข้มข้นมาก “ทั้งมะโย่ง-โนรา แก้บนได้ อิสลามสายเก่าแก้บน ได้ ที่ไปบ้านหนึ่งเขามีพานบายศรี มีข้าวเหนียวขวัญ มี เชื้อครูหมอ กาศครูหมอ กาศผีสามแพร่ง กาศผีป่า เพื่อ มาปกปักรักษา มีการตั้งเครื่อง มีการสวดมนต์ ใช้มนต์ให้

ตัวเองมีเสน่ห์ ดิฉันว่าของพวกนี้มันเกิดก่อนศาสนา เขา สืบทอดกันมา แล้วมันอยู่ได้เพราะคนเชื่อ แล้วจะอยู่ได้ ต่อไปเหมือนโนราโรงครู” กณิศเล่า วิทยานิพนธ์เรื่อง ‘การศึกษา นาฏลีลา พิธีกรรม และจักรวาลทัศน์ในโนรา โดยเปรียบเทียบกับมะโย่ง และบารอง’ (A Study of the Nora Performance, Ritual and Cosmology in Comparision with those of Mak Yong and Barong) จะให้ข้อมูลความ รู้ใหม่ๆ ซึ่งอาจารย์อยากให้เขียนเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่ง คนต่างชาติสามารถศึกษาต่อไปและจะเป็นประโยชน์ยิ่ง หลังการเปิดประชาคมอาเซียน แต่เธอขอเรียบเรียงเป็น ภาษาไทยก่อน จากนั้นค่อยมาแปลเป็นภาษาอังกฤษให้ สละสลวย เธออยากเรียนให้จบภายในปี ๒๕๕๘ เธออยาก เป็ น อาจารย์ ถ ่ า ยทอดวิ ช าความรู ้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาตาม ความฝันไปสักระยะ เธออยากสร้างโรงละครส�ำหรับ การฝึกฝนและจัดการแสดงเพราะร�่ำเรียนเกี่ยวกับการ จัดการวัฒนธรรมและสะสมประสบการณ์การท�ำละคร มาพอสมควร “ดิฉันเชื่อว่าสามารถผลิตโปรดักส์ทางวัฒนธรรม ได้ ห ลายแบบ เคยวางแผนกั บ พ่ อ ว่ า แม่ มี ส วน อาจ ท�ำเป็นโรงละครกลางแจ้งสมมติว่าชื่อปลายนา เดอะ เธี ย เตอร์ หรื อ อะไรก็ ว ่ า ไป เราเริ่ ม ต้ น จากเวิ ร ์ ค ช็ อ ป เล็กๆ ไปก่อน เป็นโฮมสเตย์ แล้วค่อยๆ ท�ำละครที่คน ดูอยากดูจริงๆ” บางทีโรงละครเล็กๆ อาจเกิดขึ้นบนที่ดินผืนเล็กๆ ทางไปอ�ำเภอปากพนังก็เป็นได้ ขอให้ความฝันของเธอ เป็นจริงสมปรารถนา


หน้า ๔

ชวนชควดินคยุ สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ผู้

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

สนใจประวั ติ ศ าสตร์ ทั้ ง หลาย ทั้ ง คนในจั ง หวั ด นครเอง หรื อ ผู ้ ค นต่ า งถิ่ น ที่ แ วะมาเมื อ งนครจะ ต้องสอบถามถึง สระศรีปราชญ์ หรือ สระล้างดาบ ศรีปราชญ์ เนื่องจากมีในต�ำราเรียน กล่าวถึงศรีปราชญ์ มาเสียชีวิตที่นครศรีธรรมราช แม้ว่านักประวัติศาสตร์ ยุคปัจจุบันยังคงถกเถียงกันว่า มันเป็นเรื่องจริงหรือ นิทานกันแน่ สระศรีปราชญ์ ปัจจุบันอยู่ที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช อยู่ตรงกันข้ามกับสนามหน้าเมือง เป็นสระ น�้ำขนาดเล็ก ขอบบ่อก่อด้วยคอนกรีตใช้หินก้อนโตก่อ ด้วยปูนโดยรอบสระ มีภาพปั้นศรีปราชญ์อยู่ใกล้กับสระ มีผู้คนแวะเวียนเข้าไปชมไม่มากนัก เหตุเพราะปัจจุบัน รั้วของโรงเรียนกั้นไว้โดยรอบ อยู่ในบริเวณอาณาเขต ของโรงเรียน ผู้คนก็คงจะเกรงใจว่าเป็นสมบัติของสถาน ศึกษา ไม่กล้าเข้าไปเยี่ยมชมหรือนั่งผักผ่อนเป็นสระ สาธารณะได้ แม้ทางโรงเรียนจะเปิดให้เข้าชมได้ก็ตาม เรื่ อ งเล่ า ที่ เ ป็ น ต� ำ นานอิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ก ล่ า ว ว่า ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ศรีปราชญ์ได้ ท�ำความผิดถูกส่งมาอยู่ที่เมืองนครศรีธรรมราช กลับมี การท�ำความผิดซ�้ำในเรื่องชู้สาวอีก จึงถูกประหารชีวิต แล้วต�ำนานก็อ้างอิงว่าน�ำมาประหารที่นอกเมือง ซึ่งก็คือ สถานที่ที่มีการประหารชีวิตผู้ท�ำความผิดบ่อยครั้ง คือ ตรงกันข้ามกับสนามหน้าเมือง

อั น ที่ จ ริ ง สระที่ ถู ก กล่ า วอ้ า งถึ ง ว่ า เป็ น สระล้ า ง ดาบศรีปราชญ์ในปัจจุบันนั้น คือสระที่เพิ่งขุดขึ้นมา ใหม่ เมื่ อ พ.ศ. ๒๔๔๘ เมื่ อ ครั้ ง ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จมาในงานพระราชทาน เพลิงศพเจ้าจอมมารดาน้อยใหญ่ในรัชกาลที่ ๓ และ ศพของหม่ อ มราชวงศ์ ห ญิ ง ชิ ต หม่ อ มเจ้ า จั น ทร์ ซึ่ ง

รูปจาก aroundguides.com/Nakhon Si Thammarat

เป็นมารดาของพระยาสุธรรมมนตรี และเจ้าจอมสว่าง สระที่ขุดขึ้นมาใหม่นี้เป็นสระขนาดเล็กไว้ให้เจ้านายฝ่าย ในและพระราชโอรสที่ยังทรงพระเยาว์อยู่ได้พายเรือเล่น ส่วนสระที่มีมาแต่โบราณนั้นมีลักษณะยาวตั้งแต่ หลังจวนผู้ว่าในปัจจุบันจนถึงโรงครัวโรงเรียนกัลยาณี ผมเองนั้นสมัยเด็กๆ ช่วงปี ๒๔๙๘ ยังเคยเห็นสระหลัง จวนผู้ว่ามีขนาดกว้างใหญ่ แต่ก็มีร่องรอยถูกถมท่อนที่ ยาวมาถึงโรงเรียนกัลยาณี และเทศบาลในยุคนั้นได้ขน ขยะมาถมจนเป็นถนนเล็กๆ ไปถึงหลังหลาโดหก หลัง จากนั้นช่วงโรงเรียนก็ถูกถมก่อน หลังจวนผู้ว่าก็ถูกถม ช่วง พ.ศ. ๒๕๐๐ กว่าๆ หลังจากได้รื้อหลาโดหกทิ้งไป ก่อนหน้านั้นแล้ว มีบางคนเคยเชื่อว่าสระที่อยู่ในโรงเรียนอนุบาล ซึ่ง มีต้นไทรใหญ่ มีผู้คนไปกราบไหว้ มีศาลพระภูมิอยู่ มี ผ้าแดงห่อหุ้มต้นไทรอยู่ด้วย ก็เลยเกิดความเชื่อว่าที่นี่ คือสระล้างดาบมาแต่โบราณ เพราะสระที่กัลยาณีเพิ่ง ขุด คนเฒ่าคนแก่สมัยนั้นก็รู้ๆ กัน ผมเองก็มีความเชื่อ ว่า สระที่โรงเรียนอนุบาลคือสระล้างดาบศรีปราชญ์ เพราะมีต้นโพธิ์อยู่ริมสระ น่าจะมีคนปลูกต้นโพธิ์หลัง จากประหารศรีปราชญ์แล้ว แต่มีผู้คนบันทึกเอาไว้ว่า บริเวณโรงเรียนอนุบาลจังหวัด เดิมคือวัดประตูขาว มี บ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์อยู่ที่นั่น มีตรอกขนาดเล็กคั่นกลางอยู่ และมีสระอยู่ชื่อว่า “สระบุด” >> อ่านต่อหน้า ๙

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com หนังสือพิมพ์รักบ้านเกิด ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือน กันยายน ๒๕๕๗ สาธิต รักกมล บรรณาธิการ บริหาร และคอลัมนิสต์อาวุโส ขอขอบพระคุณ ผู้อ่าน ผู้อุปการคุณทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุนด้วยดีตลอดมา

วั น ที่ ๑๒ สิ ง หาคม ๒๕๕๗ ผู ้ ว ่ า ฯ อภิ นั น ท์ ซื่อธานุวงศ์ น�ำข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนประกอบพิธี ท�ำบุญตักบาตร ข้าวสารอาหารแห้งพระภิกษุสงฆ์ ๘๙ รู ป บริ เ วณสวนศรี ธ รรมาโศกราช เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ และถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ เตรียมรับมือภัยธรรมชาติ... ว่าที่ ร.ต.ฐิตวัฒน เชาวลิต รองผู้ว่าฯนครฯ แจ้งว่ากรม ทรัพยากรน�้ำติดตั้งระบบเตือนภัยล่วงหน้าในพื้นที่เสี่ยง อุทกภัย-ดินถล่มเชิงเขา ๕๐ สถานี ส�ำหรับตรวจวัดและ ส่งข้อมูลตลอด ๒๔ ชั่วโมง พร้อมเครื่องสูบน�้ำ ๕ เครื่อง ประจ�ำ ต.นาสาร อ.พระพรหม วันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ ผู้ว่าฯ อภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ เป็นประธานร่วมวาง ศิลาฤกษ์ โรงเรียนสาธิตเทศบาลต�ำบลหินตก

สมพาส นิ ล พั น ธ์ ผู ้ ต รวจราชการส� ำ นั ก นายก รั ฐ มนตรี เ ขต ๖ เดิ น ทางมาตรวจและติ ด ตามผลการ ปฏิ บั ติ ร าชการตามแผนการปฏิ บั ติ ร าชการประจ� ำ ปี งบประมาณ ๒๕๕๗ และความก้าวหน้าการด�ำเนินงานใน โครงการต่างๆ ที่จังหวัดนครฯ ได้รับการจัดสรรงบประมาณ โดยให้ ค วามสนใจในนโยบายสนั บ สนุ น ขั บ เคลื่ อ น ครั ว ไทยสู ่ ค รั ว โลก และแผนงานเตรี ย มเข้ า สู ่ ก ารเป็ น ประชาคมอาเซียนเป็นพิเศษ ชาวนครรับทราบโดยทั่วกัน รองผู้ว่าฯ ศิริพัฒ พัฒกุล ลงพื้นที่บ้านวังโหล


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

สมพาส นิลพันธ์ ผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรีเขต ๖

ขอชื่นชม ตร.สภ.จุฬาภรณ์ นครฯ ณ จุดตรวจ จุ ด สกั ด หน้ า ที่ พั ก สายตรวจต� ำ บลส� ำ นั ก ขั น ที่ จั บ กุ ม ขบวนการล� ำ เบี ย งยาเสพติ ด รายใหญ่ ล ่ อ งใต้ ไ ด้ ย าบ้ า ๒๘๐,๐๐๐ เม็ด สวนทางกับกระแสข่าวจับนายพันต�ำรวจ มือปราบยาเสพติดที่เป็นผู้ค้ายารายใหญ่ทางภาคเหนือ

ม.๑๒ ต.ก� ำ โลน อ.ลานสกา เพื่ อ ประเมิ น ตามโครงการ ๑ หมู่บ้าน ๑ พัฒนากร หมู่บ้านดีเด่น ปี ๒๕๕๗ บ้าน วั ง โหลเป็ น หมู ่ บ ้ า นเศรษฐกิ จ พอเพี ย งระดั บ อยู ่ ดี กิ น ดี กกต. จังหวัดนครฯ แจ้งเมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ว่ า มี ผู ้ เ สนอตั ว เป็ น สมาชิ ก สภาปฏิ รู ป แห่ ง ชาติ (สปช.) จังหวัดนครฯ ๒๑ คน ได้แก่ ประโชติ สิริวัฒน์, สวัสดิ์ กฤตรั ช ตนั น ต์ , สุ พ จน์ อภิ ศั ก ดิ์ ม นตรี , มนั ส เพ็ ง สุ ท ธิ์ , วันฉัตร ทิพย์มาศ, พ.ต.ท.เจียร ชูหนู, สืบพงศ์ ธรรมชาติ, กนกพร เดชเดโช, ไพบูลย์ บุญแก้วสุข, ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์, ชินกร นาคนาศักดิ์, ประไพ แก้วนาวี, ประเสริฐ คงสงค์ , วราห์ รอดเพชร, ตรี พ ล เจาะจิ ต ต์ , มลิ นี นั น ณัฐศรีวัฒน, พ.ต.อ.พิทักษ์ คลังจันทร์, อภินันท์ ชนะภัย, ร.ต.สุภาพร ปราบราย, ภักดี ธุระเจน และ พรศักดิ์ จิ น า วั น ที่ ๒๙ สิ ง หาคม กกต.จั ง หวั ด นครฯ จะคั ด ให้ เหลื อ ๕ คน แล้ ว ส่ ง รายชื่ อ ไปให้ คสช.พิ จ ารณาคั ด เลือกเพียง ๑ คน เป็นตัวแทนจังหวัด...มีทั้งนักการเมือง ข้ า ราชการ นั ก การศึ ก ษา และนั ก วิ ช าการ ขอให้ โ ชคดี

วั น ที่ ๗ สิ ง หาคม พิ สิ ท ธิ์ ฉายะไพสิ ฐ พร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดนครเป็นประธานวางพวง มาลาในพิธีบ�ำเพ็ญกุศล ‘วันระพี’ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ เพื่อ น้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบรมวงศ์ เ ธอ กรมหลวงราชบุ รี ดิ เ รกฤทธิ์ พระบิ ด าแห่ ง กฎหมายไทย ไม่รู้จักบาปบุญ...อาณัติ บ�ำรุงวงศ์ ผอ.ส�ำนัก และว่าที่ ร.ต.ฐิตวัฒน เชาวลิต รองผู้ว่าฯ น�ำคณะผู้แทน ศิลปากร ที่ ๑๔ น�ำเจ้าหน้าที่ท�ำความสะอาดเจดีย์ยักษ์ ที่ ฝ่ายปกครอง ทหาร ต�ำรวจ พลเรือน กลุ่มพลังมวลชน มีผู้เขียนข้อความลามกท�ำลายความสวยงามของโบราณ นักเรียนและนักศึกษา และคณะผู้พิพากษาและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เข้าร่วม สถาน และเชิญชวนทุกคนร่วมกันหวงแหน

ฮอนด้าศรีนคร ร่วมกับเหล่ากาชาดจังหวัดนครฯ และ จนท.หน่วยแพทย์จากธนาคารเลือด รพ.มหาราช ชมรมเบญจมฯ รุ่น ๘๔ (ม.รุ่นแรก ๒๓๒๖) ร่วม นครฯ จัดกิจกรรมบริจาคโลหิตวันแม่ วันนี้ที่ผ่านมา มี กับนครศรี ปาร์คฟุตซอล มอบชุดฟุตบอลแก่ทีมโรงเรียน ยอดผู ้ ที่ ส ามารถบริ จ าคได้ ทั้ ง สิ้ น ๙๘ ท่ า น (ท่ า นละ เบญจมราชูทิศใช้แข่งขันฟุตบอลนักเรียนจังหวัด ประจ�ำปี ๔๐๐-๔๕๐ ซีซี. คิดเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น ๔๔,๑๐๐ ซีซี.) ขอ การศึกษา ๒๕๕๗ ขอบพระคุณทุกท่านที่มาร่วมบุญ

ปาลิกา จาก ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด เพชรทองซีกวง ร่วมบริจาคขาเทียม ในพิธีมอบขาเทียมพระราชทาน ที่ เทววิหารคุณธรรมสงเคราะห์ เต็กก๋า จีคุงเกาะ เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ ฉบั บ หน้ า ‘รั ก บ้ า นเกิ ด ’ สั ม ภาษณ์ วงศ์ ว ชิ ร โอวรารินท์ อดีตรองนายกเทศมนตรีนครนครศรีธรรมราช ที่ลุกมาเสนอตัวเป็นนายกเทศมนตรีอีกคน ขอแสดงความเสียใจต่อ นนทิวรรธน์ นนทภักดิ์ ที่สูญเสีย คุณพ่อสอน นนทภักดิ์ เจ้าของอู่เรือ ส.ภักดี ปากพนัง


หน้า ๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ภิวัชร์ รัตนจุล ผู้จัดการทั่วไป บริษัท โตโยต้าเมืองคอน จ�ำกัด หรือพี่เอ๋ของพนักงานกว่า ๔๕๐ คน เปิ ด ห้ อ งท� ำ งานกั้ น กระจก ภายใน ส�ำนักงานใหญ่โตโยต้าเมืองคอน หน้า ห้างสรรพสินค้าเทสโก้โลตัส ตรงข้ามโรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้ ‘รักบ้านเกิด’ พูดคุย อภิ วั ช ร์ ม าอยู ่ เ มื อ งนครย่ า งเข้ า สู ่ ป ี ที่ ๘ จาก ต� ำ แหน่ ง ผู ้ จั ด การสาขา โตโยต้ า สาขาบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขาฝากฝีมือบริหารไว้อย่างน่า ประทับใจ ด้วยยอดขายเดือนละ ๗๐ คัน และรายได้จาก แผนกประมาณ ๑ ล้านบาทต่อเดือน เขามารับต�ำแหน่ง ผู้จัดการทั่วไปบริษัท โตโยต้าเมืองคอน โดยปราศจาก ข้อเรียกร้องหรือเงื่อนไขใดๆ “ผมมาตอนก่ อ สร้ า งใกล้ จ ะเสร็ จ บริ ษั ท เราได้ สิทธิเป็นดีลเลอร์เจ้าที่สองของจังหวัดนครศรีธรรมราช ผมเข้ามาวางระบบการบริหารจัดการ ลงระบบ ๒-๓ เดือน ก็เสร็จพอดี เวลาเราท�ำงาน กับโตโยต้ามันจะมีระบบ ฝ่ายขาย เรียก TVR ฝ่ายบริการเรียก Top serve เช่น เปิดปิดงานอย่างไร ให้ ช่างท�ำงานเป็นเวลาเท่าไร ควบคุม อย่างไร การเก็ บ เงิ น ลู ก ค้ า การจอง การจัดไฟแนนซ์ ส่งรถลูกค้า ต้อง วางระบบว่ามาอย่างไร ไปอย่างไร มีโปรแกรมส�ำเร็จรูป แต่ใช้คนป้อนข้อมูล เป็นการเตรียมความพร้อม บริษัท เปิดปลายๆ ยุคจตุคามฯ” อภิวัชร์บอกว่าเขาชอบความท้าทาย เมื่อเข้ามา บริหารให้ได้ตามแผนที่วางไว้ เขาประกาศรับสมัคร สั ม ภาษณ์ เ พราะต้ อ งการคนที่ ต รงตามความต้ อ งการ ฝึ ก ฝนและพั ฒ นาลู ก น้ อ งทุ ก คนด้ ว ยตั ว เอง ไม่ เ ว้ น ผู ้ จัดการสาขาทุ่งใหญ่ ท่าศาลา และชะอวด ที่ขยายไปเปิด ตามศักยภาพภายหลัง อภิ วั ช ร์ จ บปริ ญ ญาตรี จาก ม.ราชภั ฏ พระนคร สมัครเข้าท�ำงานฝ่ายการเงินในเครือบริษัทวัฏจักร ราวๆ ๗ ปี ก่อนลาออกมาอยู่วงการค้ารถยนต์จนคร�่ำหวอด เริ่มจากโชว์รูมแถวถนนอิสรภาพที่ขายรถยนต์ทุกยี่ห้อ ราวๆ ปี ๒๕๓๗ ท�ำงานได้เดือนเดียวเพื่อนที่อยู่บริษัท รถยนต์แนะน�ำว่าน่าจะไปอยู่แบรนด์ดีกว่า เขาจึงสมัคร เป็นพนักงานฝ่ายขายที่บริษัท นิสสันธนบุรี สาขาฟิวเจอร์ ปาร์ค บางแค “ผมท� ำ ได้ ท� ำ ๒-๓ เดื อ น เขาไปเปิ ด สาขาถนน

อิสรภาพซึ่งอยู่ใกล้บ้าน เขาคงเห็นความสามารถเลยชวน ไปอยู่สาขาใหม่ ผมเป็นหัวหน้าพนักงานขาย ดูแลทั้งหมด ๖ - ๗ ปี ไปสร้างทีมสร้างคน จนเป็นปึกแผ่น” เขาแต่ ง งานมี ค รอบครั ว ภรรยารั บ ราชการอยู ่ นครราชสีมา ต้องไปๆ กลับๆ เขาลาออกไปอยู่กับครอบครัวช่วยท�ำธุรกิจ ผลิตที่คาดผมส่งออก กิจการท�ำท่าจะ เจริญถ้าไม่แข่งขันกับของจากประเทศจีน ที่ต้นทุนถูกกว่า เวลา ๑ ปีที่เมืองย่าโมไม่ให้ค�ำตอบที่ดีแก่เขา ขณะคิด ท�ำธุรกิจส่วนตัวและภรรยาได้ย้ายกลับมาช่วยราชการที่ กรุงเทพฯ เขาจึงกลับมาอยู่กรงเทพฯ อีกครั้ง พบเพื่อนเก่า คนหนึ่งเป็นผู้จัดการที่โตโยต้าวรจักรยนต์ เพื่อนชักชวน อยากให้เขาทดลองขายที่สาขาหลานหลวง ๑ ปี ระบบการเลื่อนขั้นพนักงานอย่างไทยๆ ท�ำให้เขา มองไม่เห็นความก้าวหน้าจึงลาออกตั้งใจเปิดขายรถมือ สอง “พอดีคุณบุญชัย ตันติภิรมย์ อดีตจีเอ็มนิสสันธนบุรี ตอนผมอยู่ ซึ่งตอนผมลาออกเพื่อนโทรหาคุณบุญชัยที่ไป อยู่โตโยต้าแล้ว ท่านชวนผมไปอยู่ด้วยกัน ปี ๒๕๔๗ ผมไป เป็นผู้จัดการสาขาบางสะพาน” บริษัท โตโยต้าเมืองคอน จ�ำกัด ได้ สิ ท ธิ์ เ ป็ น ดี ล เลอร์ ใ หม่ ใ นจั ง หวั ด นครฯ หมายถึง บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศ ไทย) จ�ำกัด ต้องการให้การดูแลลูกค้าใน จังหวัดนครฯมากขึ้น สิทธิ์หนึ่งหรือบริษัท เดียวอาจตอบสนองได้ไม่เพียงพอ ไม่ทัน การขยายตั ว ของตลาด ก็ เ ลยให้ เ พิ่ ม อี ก สิทธิ​ิ์ ซึ่งต้องเสนอตัวเข้าไปแข่งขันขอรับ สิทธิ์นับ ๑๐ ราย “เราโชคดีที่ได้สิทธิ์ เรา เล็งเห็นพื้นที่ตรงนี้ ประเทศไทยที่ไหนก็ได้ ถ้าเรามาแล้วมีความจริงใจ เราพร้อมที่จะ

ท�ำให้ที่ที่เข้ามา เราพร้อมตอบแทนเขา พร้อมคืนก�ำไร ให้เขา พร้อมพัฒนา ผมท�ำตามแนวคิดของเรา ซึ่งเราจะ ตอบแทนสังคมอย่างไรบ้าง” อภิวัชร์ เปิดเผยเกี่ยวกับการบริหารงานช่วงปีแรก “เราอยากได้โชว์รูมอย่างกรุงเทพฯ อยากได้บุคลากรที่มี ความกระตือรือร้น มีความสามารถอย่างกรุงเทพฯ เราจึง สร้างโชว์รูมให้ใหญ่โตหรูหรา สร้างบุคลากรอบรมพัฒนา ให้ได้ขีดที่เราต้องการ ปีแรกเราเน้นจัดองค์กร ปีที่สองคน รู้จักเรามากขึ้น คนติดต่อซื้อขายกับเรามากขึ้น เรารู้สึกว่า ดีขึ้นเรื่อยๆ ดีขึ้นทุกปี” ต�ำแหน่งผู้จัดการทั่วไปให้อ�ำนาจบริหารจัดการแก่ เขาอย่างเต็มที่ ซึ่งท�ำให้เขาท�ำงานได้ง่ายขึ้น รวมถึงการ ดูแลสาขาทุ่งใหญ่ ท่าศาลา และชะอวด แน่นอนอ�ำนาจ ของเขาไม่มากไปกว่าเจ้าของและหุ้นส่วนบริษัท ปี ๒๕๕๖ โตโยต้าเมืองคอนขายได้เกือบ ๔,๐๐๐ คั น ปี ๒๕๕๗ คิ ด ว่ า ไม่ สู ง เท่ า ปี ที่ แ ล้ ว คื อ ประมาณ ๓,๐๐๐ คัน เนื่องจากยางพาราราคาตกต�่ำ “เราจึงเอา ตลาดเก่าที่มีอยู่ หรือลูกค้าที่ซื้อรถจากเราไปแล้ว เรา ดูแลเขาให้ดี แค่นี้เขาอาจจะซื้อซ�้ำหรืออาจแนะน�ำเพื่อน ถ้าเรามีฐานที่ดี ดูแลลูกค้าที่ดีมันก็อาจไม่ตกมาก เรา ขายแล้วทิ้ง เราจะหาตลาดใหม่ตลอดเวลามันไม่ง่ายใน สภาวะอย่างนี้” เขากล่าวเพิ่มเติมว่า ช่วงพืชเศรษฐกิจราคาดีรถ กระบะสแตนดาร์ดกับ Toyota Vios ท�ำยอดขายกว่า ๗๐ เปอร์เซ็นต์ของรถโตโยต้าทุกประเภท “เรื่องนี้เกิดความ นิยม คนซื้อเชื่อมั่น ชื่อเสียงยาวนาน ไม่เปลืองอะไหล่ ประหยัดน�้ำมัน ค่าดูแลรักษาถูก อะไหล่หาง่าย” อภิ วั ช ร์ ฝากเรี ย นลู ก ค้ า ที่ ก� ำ ลั ง มองหารถยนต์ คั น ใหม่ ตลอดเทศกาลเดื อ นสิ บ ปี ๒๕๕๗ โตโยต้ า เมื อ งคอนจะไปเปิ ด ส� ำ นั ก งานขายภายในสวนสมเด็ จ พระศรีนครินทร์ ๘๔ (ทุ่งท่าลาด) อย่างยิ่งใหญ่ด้วยงบ ประมาณ ๗ หลัก “เทศกาลเดือนสิบเปรียบเสมือนมอเตอร์โชว์ของ นครศรีธรรมราช ทุกค่ายรถมาออกร้าน ส่งเสริมการขาย ทุกครั้ง เราอาจมีส่วนลด แถมโทรทัศน์ จับรางวัลชิงโชค ตอนนี้เรามีพื้นที่ขนาดใหญ่ จัดทีมมาจากกรุงเทพฯ ผม ลงออฟฟิศติดแอร์ มีบูธใหญ่ มีดารา มีแจกทอง มีการ ละเล่นทุกวัน ท�ำแล้วอยากท�ำให้ดี” เขาเพิ่ ม เติ ม อี ก ว่ า “ทุ ก ปี เ รามี โ ปรโมชั่ น พิ เ ศษ กว่าทุกๆ ช่วงของแต่ละปีอยู่แล้ว งานเดือนสิบยังเป็น ประเพณีของบ้านเรา ค่ายรถมากันหลายค่าย ท่านที่ก�ำลัง ตัดสินใจก็เป็นโอกาสที่ดีเลย ท่านดูให้ทุกค่ายก็ได้ ท่านจะ มีข้อมูล แล้วมาเยี่ยมบูธโตโยต้าของเรา เรามีรถผ่าครึ่ง เพื่อโชว์นวัตกรรมให้ตัดสินใจง่ายขึ้น จะทดลองขับ หรือ น�ำรถใช้แล้วมาประเมินราคาเพื่อเปลี่ยนรถใหม่ งานนี้ สะดวก รวดเร็ว ง่าย.. เชิญที่ทุ่งท่าลาดนะครับ” ก่อนจบการสนทนา อภิวัชร์ รัตนกุล ฝากเรียนกับ ทุกท่านว่า ขณะนี้มีคนบางกลุ่มหลอกลวงเพื่อนพ้องหรือ ญาติมิตรให้ช่วยดาวน์รถยนต์ให้ (ช่วยซื้อ) โดยให้เงินก้อน เล็กๆ ๑๐,๐๐๐ - ๑๕,๐๐๐ บาทให้ท�ำสัญญาซื้อขาย จากนั้นคนไหว้วานจะน�ำรถไปขายต่อได้ก�ำไร ๘-๑๐ เท่า โดยปล่อยให้ผู้ท�ำสัญญารับเคราะห์ขายที่ดินขายบ้าน ชดใช้ คนมี เ งิ น เดื อ นถู ก ยึ ด บั ญ ชี โดยกฎหมายเอาผิ ด ไม่ได้


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๗

ากฉบับที่แล้วผมทิ้งท้ายไว้ด้วยค� ำถาม ถึ ง เจ้ า ของธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก - ขนาด กลาง (SME) ในท้องถิ่นว่าจะไปต่ออย่างไร? อันดับแรกก็คือ ต้องมีการวางเป้าหมายใน อนาคตให้ชัดเจน มองเห็นภาพธุรกิจที่จะ เป็นจริงในวันหน้าอีก ๓ - ๕ ปี เป็นอย่างไร? ฉายภาพออกมามี ห น้ า ตาแบบไหน? จะ มี ก ารขยายธุ ร กิ จ ในรู ป แบบเดิ ม หรื อ ปรั บ เปลี่ ย นอะไรบ้ า งเพื่ อ ให้ กิ จ การสามารถ อยู ่ ร อดกั บ การแข่ ง ขั น ในวั น นี้ แ ละวั น ข้ า ง หน้า นั่นหมายความว่าเจ้าของกิจการต้อง เข้าใจภาพการตลาดที่เกิดขึ้นว่า จะมีคู่แข่ง เพิ่มขึ้นอีกหรือไม่? พฤติกรรมผู้บริโภคจะ ปรั บ เปลี่ ย นไปในทิ ศ ทางใด? สภาพพื้ น ที่ ย่ า นธุ ร กิ จ จะมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นไปจากเดิ ม อย่างไร? ด้วยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุ ป สรรค ของธุ ร กิ จ ตั ว เองในวั น นี้ และอนาคตไว้ ค ่ อ นข้ า งเป็ น รู ป ธรรมและ เป็นจริงมากที่สุด เพื่อสามารถก�ำหนดแผน งานในการลงมือท�ำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ นี่เป็นกระบวนการที่ ๒ ที่ส�ำคัญมาก- การ มีข้อมูลที่มากพอจะท�ำให้การวางแผนงาน เพื่ อ เสริ ม จุ ด แข็ ง ป้ อ งกั น จุ ด อ่ อ น มองหา โอกาสใหม่ๆ และขจัดอุปสรรคต่างๆ เพื่อ น�ำพาธุรกิจไปต่ออย่างมีประสิทธิภาพ คือมี ผลลัพธ์ที่ดีนั่นเอง อย่างกรณีธุรกิจค้าปลีกหลายแห่งอาจ ประสบปัญหาเรื่องยอดขายตกต�่ำ กลุ่มค้า ปลีกสินค้าคงทน เช่น ร้านจ�ำหน่ายเครื่อง ใช้ไฟฟ้า อิเลคทรอนิกส์ เฟอร์นิเจอร์ตกแต่ง บ้ า น วั ส ดุ ก ่ อ สร้ า ง และอื่ น ๆ เข้ า สู ่ ภ าวะ ถดถอยหลั ง จากที่ เ คยเฟื ่ อ งฟู ก ่ อ นหน้ า นี้ ภาพที่ปรากฏวันนี้พิจารณาจากเหตุและผล แล้ ว จะพบความจริ ง ว่ า มี ห ลายโครงการที่

เปิดมาแล้วไม่สามารถประสบความส�ำเร็จ ตามที่คาดไว้ บางแห่งยังไม่สามารถเปิดตัว ได้ โครงการล่าช้าไปมากจากที่วางแผนไว้ แต่เดิมเท่ากับต้องแบกรับต้นทุนค่าก่อสร้าง และส�ำคัญที่สุด คือ เงินกู้ที่มีภาระต้องจ่าย ทั้ ง เงิ น ต้ น และดอกเบี้ ย ทุ ก ๆ เดื อ น เมื่ อ ธุ ร กิ จ ถึ ง จุ ด ที่ ร ายรั บ มี น ้ อ ยกว่ า รายจ่ า ย ที่เพิ่มขึ้น อาการกินทุนเดิมเริ่มก่อตัวขึ้น ทุ ก วั น เป็ น ภาระที่ ห นั ก หนาสาหั ส ต้ อ ง แก้ไขโดยด่วน ทางออกมีไม่มากนักจะขาย กิจการหาคนซื้อก็ยาก จะลงทุนต่อให้ส�ำเร็จ ก็ยังมองไม่เห็นว่าจะจบอย่างไร? มาดูต่อนะ ครับ โครงการอสังหาริมทรัพย์ที่เคยเฟื่อง ฟู กลับเริ่มเห็นเค้าลางของความยุ่งยากตาม มาติดๆ เช่นกัน หลายโครงการเริ่มอาการ แผ่ ว บ้ า งแล้ ว แม้ จ ะยั ง เห็ น โครงการใหม่ ที่จะเปิดตัวอยู่บ้าง ภาพสะท้อนที่เป็นรูป ธรรมจับต้องได้ คือ อาคารพาณิชย์ที่เปิดกัน มากมายรวมถึงอาคารพาณิชย์กึ่งที่พักอาศัย ในหลายโครงการที่สร้างเสร็จ จะมีป้ายบอก ขาย ให้เช่า มากกว่าจ�ำนวนของผู้ซื้อที่จะ เข้าไปเปิดกิจการ ย่อมแสดงว่าผู้ซื้ออยู่ใน กลุ่มของนักลงทุน เมื่อปล่อยออกไม่ได้นาน ไปเท่าไร ก็ยิ่งเป็นภาระให้กับนักเก็งก�ำไร ทั้ ง หลาย จ� ำ ใจต้ อ งปล่ อ ยของในราคาถู ก หรือรอความหวังต่อไป ผมขับรถไปหลาย พื้นที่ในภาคใต้ภาพเหล่านี้มีให้เห็นแทบทุก จังหวัด ท�ำให้นึกถึงเมื่อก่อนปี ๒๕๔๐ ยุค เฟื่องฟูในอดีต ค� ำ ถามใหญ่ ก็ คื อ พวกเขาจะหา ทางออกได้อย่างไร? ถ้าแบ่งระดับการยืน

เดือนกันยายน ๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ วันพระขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๑๐ วันจันทร์ที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๗ วันพระขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๐ วันอังคารที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๗ วันพระแรม ๘ ค�ำ่ เดือน ๑๐ วันอังคารที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๗ วันพระแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๐

ระยะแล้วย่อมไม่เท่ากันแน่นอน ผู้ซื้อราย ย่อยที่มีภาระเงินกู้ธนาคารมากจนไม่อาจ ช�ำระต่อไปได้มีทางเลือกคือขายถูกกับยอม ให้ธนาคารยึดไปเท่ากับถูกฟ้องล้มละลาย ตามมา เจ้าของกิจการขนาดเล็กที่ไม่อาจ แบกรับภาระหนี้สินกับไม่มีเงินลงทุนต่อไป ได้ก็ขายกิจการทิ้งให้คนอื่น หรือไม่ก็ยอมรับ สภาพหนี้ เ สี ย ตามมาในอนาคต เจ้ า ของ กิจการที่มีสายป่านยาวและมีเครือข่ายฯ ก็ ย่ อ มมี ช ่ อ งทางที่ จ ะหาผู ้ ร ่ ว มทุ น หรื อ ขาย ตั ด บางส่ ว นในราคาถู ก เพื่ อ ประคองธุ ร กิ จ ให้ยืนต่อไป รอคอยจังหวะโอกาสกลับมา ในอนาคต ผู้ท�ำธุรกิจรายใหญ่ที่มีแหล่งเงิน ทุ น มากก็ ค อยจั ง หวะเข้ า ซื้ อ กิ จ การต่ า งๆ ในราคาถู ก แล้ ว ท� ำ ก� ำ ไรต่ อ ด้ ว ยการปรั บ เปลี่ ย นพั ฒ นาขึ้ น มาใหม่ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ด้วยชื่อเสียงของบริษัทและภาพลักษณ์ของ ธุรกิจขนาดใหญ่ที่น่าเชื่อถือ พูดไปพูดมาแล้วมีทางออกอะไรบ้าง เพื่อการไปต่อของธุรกิจท้องถิ่นขนาดเล็กขนาดกลาง ผมเคยถามคนที่ประสบความ ส�ำเร็จซึ่งส่วนใหญ่ก็ผ่านความล้มเหลวกัน มามากมายทั้งนั้น สิ่งส�ำคัญที่สุดก็คือ ความ เชื่อมั่นในตัวเองว่าเขาต้องท�ำให้ส�ำเร็จได้ แน่นอน ผมถามต่อว่า “แล้วความเชื่อมั่น เกิดจากอะไร?” เขาบอกว่า “ให้ถามตัว เองว่าจุดมุ่งหมายของชีวิตคืออะไร? จาก นั้นก็เลือกเส้นทางเดินไปสู่เป้าหมายจากวัน นี้จนถึงวันหน้า ต้องท�ำอะไรบ้าง ให้เขียน แผนงานออกมา สื่อสารกับทุกคนที่ต้องรับ ผิ ด ชอบร่ ว มกั น ท� ำ ขจั ด ข้ อ อ้ า ง ข้ อ แก้ ตั ว

ต่างๆ ให้เหลือน้อยที่สุด จนแทบไม่เหลือ มุ ่ ง ไปสู ่ โ อกาสใหม่ ๆ ที่ มี ม า” เขาบอกอี ก ว่า “ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ การเรี ย นรู ้ และหาที่ ปรึกษาที่รู้จริงมาช่วยเป็นโค้ชในระหว่าง ทาง เพราะต่อจากนี้จะผิดพลาดซ�้ำแบบ ในอดีตไม่ได้อีกแล้ว” พูดให้เข้าใจง่ายคือ เลือกที่จะรู้ จากไม่รู้ ด้วยการเรียนรู้จากผู้ ส�ำเร็จแล้วลงมือท�ำ เมื่อเรียนรู้ จะเข้าใจ มีความเชื่อ เกิดความมั่นใจ ก็จะลงมือท�ำ เต็มที่ มีผลลัพธ์ได้ตามเป้าหมายในระยะ สั้น กลาง ยาว ก็ยิ่งเพิ่มความเชื่อ ความ มั่นใจมากขึ้นไปอีก มันเป็นเช่นนี้เสมอ ผมถามเมื่ อ คนเราเลื อ กที่ จ ะส� ำ เร็ จ ต้องแลกอะไรบ้าง? เขาตอบว่า “มีสองอย่าง คือ เวลา บวกความตั้งใจ คุณต้องจ่ายเวลา ที่มากพอ เพื่อให้กับการท�ำงานนี้ มันมีมาก หรื อ น้ อ ยขึ้ น อยู ่ กั บ ความตั้ ง ใจที่ ถึ ง ระดั บ ความมุ ่ ง มั่ น นั่ น หมายความว่ า คุ ณ ต้ อ งมี พลังของความเชื่อว่าคุณท�ำได้แบบ ๑๐๐% ไม่ ย อมให้ ค วามหวั่ น ไหวเข้ า มาแต่ ข ้ อ ควร ระวั ง ระหว่ า งดื้ อ รั้ น กั บ ดั น ทุ รั ง มั น มี เ ส้ น บางๆ แนบอยู่ คุณจึงต้องมีการวัดผลลัพธ์ ตลอดเวลาว่ามันยังอยู่ในเส้นทางหรือไม่?” ก่อนจากกัน เขาถามผมกลับมาว่า “ถ้ า คนส� ำ เร็ จ เขาลงมื อ ท� ำ แบบนี้ ท� ำ แล้ ว ส� ำ เร็ จ ถ้ า อยากได้ แ บบเขาต้ อ งท� ำ อย่างไร? เป็นไงครับผมก็ได้แต่ยิ้มๆ แล้ว เดินจากมาด้วยความขอบคุณ ท่านผู้อ่านคิด อย่างไร? ครับ นายไพโรจน์ เพชรคง ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๗


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

เดินไปทางไปเยี่ยมชมโครงการเลี้ยงกวางของชาวบ้านกลุ่ม รวมมิตรพัฒนา หมู่ที่ ๔ ต�ำบลเขาขาว อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัด นครศรีธรรมราช และไปเยี่ยมชมกลุ่มพึ่งตนเองหมู่ที่ ๑๓ ต�ำบลนาบอน อ�ำเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช พบ ว่าวิถีเกษตรกรรมจะเป็นอนาคตของเกษตรกร ถ้าได้รับ การสนั บ สนุ น จากส่ ว นราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ งและองค์ ก ร การเมืองส่วนท้องถิ่นอย่างจริงจัง จากการเยี่ ย มชมและพบปะสมาชิ ก กลุ ่ ม รวมมิ ต ร พั ฒ นา ทราบว่ า ชาวบ้ า นตั้ ง กลุ ่ ม เลี้ ย งกวางในป่ า ที่ นิ ค ม สหกรณ์ทุ่งสงจัดสรรให้ นายประเวช จินา อายุ ๗๔ บ้านเดิม อยู่ ต�ำบลบ้านกลาง อ�ำเภอเชียรใหญ่ ย้ายมาอาศัยอยู่ในป่า เขาขาวเมื่อปี ๒๕๐๗ เล่าย้อนให้ฟังว่า “ตอนมาอยู่ยังเป็นป่าสมบูรณ์มาก มีเชื้อไข้มาเลเรีย ที่นี่มีหมาป่า กระจง หมูป่า กวางป่า เสือก็มี ชาวบ้านปลูก ข้าวโพด ต้นไม้ใหญ่เพิ่งหมดไปกับพายุเกย์ ถนนเข้ามา ทีหลัง ตามแปลนของนิคมสหกรณ์ฯ” นิคมสหกรณ์ทุ่งสงจัดสรรที่ดินให้ชาวบ้าน ๓๐ แปลง แปลงละ ๓๐ ไร่ และจัดป่าสงวนส่วนกลางไว้ให้ ๓-๔ แปลง ให้เก็บหาของป่าและใช้ประโยชน์ร่วมกัน นายประเวช ตอน ย้ายมาอยู่ใหม่ๆ ตนตัดไม้ไผ่หนาแน่นมาสานเข่งน�ำออกไป ขายเลี้ยงลูกห้าคนจนลูกชายคนหนึ่งได้เป็นผู้พิพากษา นายโชคดี จันทร์อ่อน ประธานกลุ่มรวมมิตรพัฒนา เกิดที่เขาขาวเมื่อปี ๒๕๐๐ “สมัยนั้นยังมีลิงค่างช้างป่า หมูป่าเต็มไปหมด สภาพป่าสมบูรณ์มาก ปัจจุบันชาวบ้าน ส่ ว นใหญ่ ท� ำ สวนยางพารากั บ สวนปาล์ ม แต่ ส วนยางมี มากกว่า ชาวบ้านต้องการท�ำอาชีพเสริมจากสภาพป่าที่ สมบูรณ์” นายประเวช เล่ า ว่ า ตอนแรกกลุ ่ ม ตกลงว่ า จะเลี้ ย ง นกกระจอกเทศหรือกวาง แต่ตนได้ไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับ นกกระจอกเทศ จนพบว่าถ้าจะเลี้ยงก็ต้องตัดโค่นถางพื้นที่

พจนา พรหมเพศ

ประเวช จินา

ให้เตียนชาวบ้านจึงตัดสินใจเลี้ยงกวาง ตนเป็นหนี้ป่าแห่งนี้ จึงไม่อยากให้ใครโค่นป่า นายโชคดี กล่าวเสริม “กวางกินใบไม้เกือบทุกชนิด ที่ ไม่กินคือสาบเสือ ใบบอน ใบบุก ไม้ไผ่ชอบ กวางกินหญ้าได้ หลากหลายกว่าแพะ แล้วเรามีพื้นที่มากมาย” กลุ่มซื้อกวางรุ่นแรกจากก�ำแพงแสน ๖ ตัว เป็นเพศ เมีย ๕ ตัว องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาขาวให้เงินซื้อเพิ่ม อีก ๕ ตัว กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร สาขาจังหวัด นครฯให้กู้ ๔๐๐,๐๐๐ บาท จึงซื้อกวางอีก ๒๐ ตัว ปัจจุบัน กวางขยายพันธุ์เพิ่มเป็น ๖๓ ตัว กองทุนฟื้นฟูฯ และองค์กรปกครองท้องถิ่น เห็นว่า น่าเลี้ยงในเชิงพาณิชย์ให้สมาชิกกลุ่มร้อยกว่าคนมีรายได้ จึงส่งเจ้าหน้าที่กับสมาชิกกลุ่มไปดูงานที่โรงจัดการกวาง ที่สหกรณ์กวางแห่งประเทศไทย จ�ำ กัด ม.เกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขตก� ำ แพงแสน จั ง หวั ด นครปฐม เมื่ อ วั น ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ นายโชคดี เปิดเผยว่า “ถ้าเราได้โรงจัดการจากการ เลี้ยงรักษาผืนป่าเป็นสวนสัตว์จะกลายเป็นธุรกิจได้ทันที เรา สามารถตัดเขาอ่อน แต่ก่อนตัดต้องมีโรงควบคุม กวางมัน แข็งแรง” นายสุ ร วุ ธ จิ น า เลขานุ ก าร กลุ่มกล่าวว่า “ถ้ามีโรงจัดการเรา รู้ว่าตัวนี้เราจะตัดเขาเราก็ไล่ขึ้นรถ กระบะซึ่งมีเครื่องบังคับให้เดินถอย หน้าถอยหลังได้ ไม่ต้องไล่จับไล่มัด ให้เกิดอันตราย”

โชคดี จันทร์อ่อน

นนฑิพัฒน์ ปานกล่อม

ภาพรวมของโรงจัดการกวาง ประกอบด้วยโรงคัดแยก กวางตัวผู้ คอกขุนบ�ำรุง เครื่องตัดเขากวาง เครื่องอบ และ ห้องเย็น เป็นต้น นายวันชัย สุวรรณวิหค เปิดเผยว่าตนได้น�ำเรื่องนี้ ไปหารือกับนายมาโนช เสนพงศ์ นายกองค์การบริหารส่วน จังหวัดนครศรีธรรมราชแล้ว “นายก อบจ. มองเห็นว่าเป็น โครงการที่ดี ด้านนโยบายการเมืองถือว่าผ่านแล้ว แต่จะ ต้องให้เดินหน้าด้านระเบียบราชการ เพราะโรงจัดการที่เรา จะขอมีทั้งโรงเรือน ห้องประชุม ห้องโชว์สินค้า ต่อไปเรา อาจปรับเป็นร้านขายสเต็กเนื้อกวางก็ได้ มีห้องน�้ำส�ำหรับ คนมาดูงาน บางทีนายก อบจ.ต้องให้กองช่างไปดูงาน ดู โครงสร้างของโรงจัดการจะได้ออกแบบแปลนถูกต้อง และ ตั้งงบประมาณถูกต้อง แต่น่าจะราวๆ สองล้าน” ถ้าได้รับการสนับสนุนงบฯ โรงจัดการกวางจาก อบจ. หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สิ่งที่ต้องเร่งท�ำความเข้าใจ และตกลงกันให้เรียบร้อย ก็คือจะตั้งในที่ดินเอกชนซึ่งเป็น ที่ดินอุทิศก�ำหนดระยะเวลาหรือที่ดินของนิคมสหกรณ์ฯ ซึ่งต้องหารือกันต่อไป ถ้ามีโรงจัดการกลุ่มจะเลี้ยงแม่กวางได้ราวๆ ๑๐๐ ตั ว และให้ ส มาชิ ก ยื ม แม่ ก วางไปเลี้ ย ง สมาชิ ก ที่ เ ลี้ ย งได้ ลูกกวาง เมื่อได้ตัดเขาหรือขายตัวก็มีรายได้ กลุ่มยืนยันว่าป่าบริเวณนี้มีหญ้าอาหารกวางมากมาย และยังปลูกหญ้าเนเปียร์แคระไว้อีก ๓๐ ไร่ ไว้สับบดใส่ราง ให้กวางกิน เมื่อชาวบ้านเลี้ยงกวางท�ำให้ป่าไม่ถูกตัดโค่น รอบ คอกกวางยังมีไม้ยืนต้นใหญ่ๆ เช่น ไม้ยางกับหลุมพอ ป่า เก่าไม่ถูกท�ำลาย ไม่เคยเผาปรนหรือใช้สารเคมี กลายเป็น แหล่งพืชสมุนไพรส�ำคัญๆ ซึ่งอาจารย์ ม.เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนครศรีธรรมราช (ไสใหญ่) ลงส�ำรวจวิจัย ตามโครงการในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี พบสมุนไพรกว่า ๗๐ ชนิด ถ้าโครงการเลี้ยงกวาง เชิงพาณิชย์ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ เท่ากับช่วยรักษา แหล่งสมุนไพรขนาดใหญ่ไว้ใช้อย่างยั่งยืน นายนนฑิพัฒน์ ปานกล่อม สมาชิกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเขาขาว หมู่ ๔ เปิดเผยว่า “ปี๒๕๕๘ อบต. จะท�ำ ถนนลาดยางเข้ามา เวลามีคนมาศึกษาดูงานหรือมาศึกษา เรื่องสมุนไพรจะได้สะดวก ถ้าตั้งโรงงานได้ก็จะสนับสนุน ตามระเบียบให้ชาวบ้านมีอาชีพเสริมที่มั่นคง” ขอให้ความฝันความหวังของกลุ่มรวมมิตรพัฒนาเป็น ความจริงในเร็ววัน ต่อมา นายวันชัย สุวรรณวิหค น�ำไปดูกิจกรรมของ ชาวบ้านกลุ่มพึ่งตนเองหมู่ที่ ๑๓ ต�ำบลนาบอน จังหวัด นครฯ ที่ได้รับเงินกู้ยืมปี ๒๕๕๕ จ�ำนวน ๔๕๐,๐๐๐ จาก ส�ำนักงานของกองทุนฟื้นฟูฯ มาท� ำโครงการแปรรูปข้าว เปลือก (โรงสีชุมชน) โดยสร้างโรงสีขนาดเล็กและน�ำผลผลิต จากโรงสีมาเลี้ยงเป็ดไก่หมู สร้างรายได้เป็นกอบเป็นก�ำให้ แก่สมาชิก ข้าวเปลือกที่น�ำมาสีช่วงแรกซื้อจากเกษตรกร


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

รายงาน

การตอบรั บ เป็ น อย่ า งดี มี ผู ้ ส นใจนิ ท รรศการทางการ เกษตร และผู ้ ส นใจกิ จ กรรมอื่ น ๆ จ� ำ นวนมาก ปี นี้ ผู ้ จั ด งานจะเน้ น การประยุ ก ต์ อ งค์ ค วามรู ้ ท ้ อ งถิ่ น และ เทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ที่ เ กษตรกรสามารถน� ำ ไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม และสร้างความยั่งยืนให้ แก่อาชีพการเกษตร เช่น นิทรรศการแพะนมอินทรีย์เริ่ม ตั้งแต่การจัดหาพันธุ์แพะนม อาหาร โรคแพะ การจัดการ โรงเรือน การแปรรูปผลิตภัณฑ์นมแพะอย่างไอศกรีม โยเกิร์ต นมเปรี้ยว และการวางแผนธุรกิจด้วย ที่น่า สนใจอี ก อย่ า งคื อ นิ ท รรศการปลานิ ล ครบวงจร เริ่ ม จากสายพั น ธุ ์ ป ลานิ ล การเพาะพั น ธุ ์ การแปลงเพศ

อ� ำ เภอหั ว ไทรเป็ น ข้ า วสั ง ข์ ห ยดกั บ ข้ า วเล็ บ นก ต่ อ มา รวบรวมข้าวจากเกษตรกรสมาชิกกลุ่ม โดยสีเป็นข้าวกล้อง บรรจุถุงจ�ำหน่าย นายพจนา พรหมเพศ ประธานกลุ่มเปิดเผยว่ากลุ่มมี สมาชิกประมาณ ๒๐๐ คน ส่วนใหญ่ท�ำสวนยางพารา แต่ ยังมีพื้นที่ปลูกข้าวไร่พันธุ์พื้นเมือง หรือปลูกข้าวระหว่าง ร่องสวนยาง เมื่อเก็บข้าวได้ก็เอามาสีที่โรงสีชุมชน “ใคร ต้องการข้าวไปกินก็เอากลับไป ใครต้องการขายก็ฝากไว้ แกลบเอาไว้ใช้ถมกลบคอกหมูเล้าเป็ด ผสมดินปลูก ปลาย ข้าว ร�ำข้าวเอาไว้ต้มผสมเป็นอาหารหมู” นายพจนาเปิดเผยว่าปีนี้ตนแนะน�ำให้สมาชิกปลูกข้าว ในสวนยางพารามากขึ้น ผู้สื่อข่าวมีโอกาสชมคอกหมู ซึ่งมี คอกพ่อพันธุ์ที่เป็นหมูป่า คอกแม่พันธุ์ลูกผสมหรือหมูพื้น เมือง คอกหมูขุน คอกแม่หมูมีลูกหมูอายุ ๑-๒ เดือน “พอ ผมขุนเลี้ยงได้สักสามสี่เดือนก็มีคนมาติดต่อซื้อ ซื้อไปย่างใน งานกินเลี้ยง เล็กๆ ซื้อไปท�ำหมูย่างเซ่นไหว้ที่ตัวไม่ใหญ่เกิน ไป ในนาบอนกับจันดีเป็นเมืองคนจีนลูกหมูเกิดมาเท่าไหร่ก็ ไม่พอ” แม่หมู ๔-๕ ตัว ออกลูกครอกละ ๘-๙ ตัว ตัวหนึ่ง ออกลูก ๒-๓ ครอกต่อปี สร้างรายได้ให้กลุ่มอย่างเป็นกอบ เป็นก�ำ

หน้า ๙

ปลานิ ล การแปรรู ป การผลิ ต คอลลาเจนจากปลานิ ล กุ น เชี ย งปลานิ ล ตลอดจนการแสดงผลงานวิ จั ย ของ ศูนย์วิจัยหรือหน่วยวิจัยของมหาวิทยาลัย นิทรรศการ เกษตรของหน่วยงานเกษตรในจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดใกล้เคียง นิทรรศการถ่ายทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนนิทรรศการจากหน่วยงาน จากภาครัฐและภาคเอกชนอีกจ�ำนวนมาก กิ จ กรรมบั น เทิ ง ประกอบด้ ว ย การประกวดร้ อ ง เพลงลูกทุ่งชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การประกวดพืชตระกูลเฟิร์น และพืชกินแมลง การแข่งขันกรีดยางพลบค�่ำ การแข่งขัน

แผนธุรกิจเกษตร แข่งขันด�ำนา การประกวดไม้ดอกไม้ ประดั บ โดยส� ำ นั ก งานเกษตรจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และการแข่ ง ขั น ต� ำ น�้ ำ พริ ก กะปิ / ประกวดกะปิ โ ดย ส�ำนักงานประมงจังหวัดนครศรีธรรมราช งานส่งเสริมอาชีพ ได้แก่ การสาธิต-อบรมอาชีพ ได้ แ ก่ การท� ำ กุ น เชี ย งปลานิ ล การผลิ ต คอลลาเจน จากปลานิล การผลิตอาหารเสริมแม่พันธุ์กุ้ง การผลิต เยลลี่ แ ห้ ง ส้ ม โอ การผลิ ต กุ ้ ง ส้ ม การจั ด การพลั ง งาน ในอุ ต สาหกรรมแปรรู ป นม การสาธิ ต และถ่ า ยทอด เทคโนโลยีหมู่บ้านเกษตรภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยปราชญ์ สงวน มงคลศรี พั น เลิ ศ การอบรมเชิ ง ปฎิ บั ติ ก ารใน หัวข้อ การจัดการดินในบ่อเลี้ยงกุ้ง การเลี้ยงไส้เดือน ดิ น การออกร้ า นจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า กว่ า ๔๐๐ ร้ า นค้ า อาทิ ร้านพันธุ์ไม้ยืนต้น ผลไม้ ไม้สวยงาม พันธุ์สัตว์ สวยงาม อุปกรณ์ด้านการเกษตร เครื่องทุ่นแรงทางการ เกษตร ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชน สินค้าโอท็อป (OTOP) ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรต่างๆ และชมการแสดงจาก นักร้องชื่อดัง ได้แก่ กล้วย อาร์สยาม ยิ้ม อาร์สยาม วงนกแคด จูนสยามโช โอพารา วงพัทลุงมหาลัยวัวชน วงตนบ้านนา วงขุนเล ยายแหววตีสิบ อีกด้วย ขอเชิ ญ เที่ ย วงานวลั ย ลั ก ษณ์ เ กษตรแฟร์ ครั้ ง ที่ ๔ จัดระหว่างวันที่ ๕ - ๑๓ กันยายน ๒๕๕๗ ณ มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ อ� ำ เภอท่ า ศาลา จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ตั้ ง แต่ เ วลา ๐๙.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ๐๗๕-๖๗๒๓๐๑, ๐๗๕ -๖๗๒๓๐๓ โทรสาร ๐๗๕-๖๗๒๓๐๒ หรือที่เว็บไซต์ http://agri.wu.ac.th/

“ตอนนี้พ่อค้าหมูย่างจากเมืองตรังมาขอเหมาซื้อลูก หมูขุนไปท�ำหมูย่าง แต่ผมไม่ขาย ผมอยากให้คนในพื้นที่ได้ กิน เพราะเนื้อหมูพันธุ์ผสมหมูป่ากินอร่อย ส่วนที่เป็นไขมัน ไม่หนามาก เวลาเอาท�ำหมูย่างรสชาติมันแตกต่างจากหมู ขาว เขาว่ามีเท่าไหร่เขาเอาหมด ผมบอกไม่ได้ ถ้าขายคน แถวนี้ก็ไม่ได้กิน” ภายในที่ท�ำการกลุ่มยังเลี้ยงเป็ดเทศ ไก่ ปลูกมะนาว มะกรูดไว้กินหรือขาย สมาชิผกท�ำน�้ำหมักชีวภาพไว้ใส่ บ่อเลี้ยงปลาดุก ฉีดดับกลิ่นคอกหมู ท�ำน�้ำส้มควันไม้ไว้ฉีด

พ่นฆ่าแมลงศัตรูพืช พื้นที่ว่างหน้าที่ท�ำการสมาชิกยกร่อง ปลูกผักบุ้ง ถั่วฝักยาว ขิงข่า พริกขี้หนู ใครปลูกก็เป็นของ คนนั้น ริมถนนใหญ่หน้าที่ท�ำการกลุ่มปลูกร้านทอดจ�ำปาดะ ขายตามฤดูกาล ขนมต่างๆ รวมทั้งผักที่เก็บจากแปลงล้าง ผูกเป็นมัดมาวางขาย นายพจนา มั่นใจว่ากลุ่มพึ่งตนเองที่สมาชิกขยันขัน แข็งเอาการเอางานจะเติบโตต่อไปตามวิถีเกษตรแบบพอ เพียง

<< ต่อจากหน้า ๔

สุดท้ายสระนี้ก็ถูกถมอีก เพื่อสร้างอาคารเรียน คงเหลือ ไว้แต่สระที่หลังโรงเรียนกัลยาณีอยู่เพียงสระเดียว ผู้คน รุ่นใหม่จึงเชื่อว่าเป็นสระล้างดาบศรีปราชญ์ ประกอบ กับหน่วยงานราชการบางหน่วยก็สมยอมให้เป็นสระศรี ปราชญ์ เลยประกาศเป็นทางการไป ผู ้ ส นใจประวั ติ ศ าสตร์ ช าวนครจริ ง ๆ ก็ รู ้ อ ยู ่ ว ่ า สระขนาดใหญ่ที่มีมาแต่โบราณนั้น อยู่หลังจวนผู้ว่ามี ลักษณะยาวประมาณ ๓๐ วา กว้างเกือบ ๑๐ วา และ ริมสระก็เคยมีการประหารชีวิตนักโทษมามากมายใน สมัยโบราณจริง แต่ไม่มีใครยืนยันว่า ศรีปราชญ์มา อยู ่ ที่ น ครจริ ง หรื อ ไม่ มี เ จ้ า เมื อ งนครคนไหนที่ ต ้ อ ง ถูกประหารชีวิตให้ตายตกไปตามกันหรือไม่ ไม่มีการ บันทึก มีแต่เพียงต�ำนานเรื่องเล่า จนตีพิมพ์เป็นบท

เรียนเหมือนเรื่องขุนช้างขุนแผน เรื่องสังข์ทอง สระศรีปราชญ์ปัจจุบัน หากใครยังเชื่อว่าเป็นสระ ล้างดาบที่ประหารศรีปราชญ์จริง ก็ลองไปค้นคว้าดูว่า มีตัวตนจริงหรือไม่ แต่หากไม่เชื่อก็ยังถือว่าเป็นสระน�้ำ ที่ส�ำคัญที่ควรจะอนุรักษ์เป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นสระที่ ขุดขึ้นมาเพื่อให้พระราชโอรสในรัชกาลที่ ๕ ได้ทรงพระ ส�ำราญ เมื่อ ๑๐๐ กว่าปีก่อน แต่หากอยากจะให้มีสระ ล้างดาบศรีปราชญ์ที่ใกล้เคียงที่สุด (หากศรีปราชญ์มา ถูกประหารจริง) ก็หนุนให้มีการขุดสระที่หลังจวนผู้ว่า คนอายุรุ่น ๗๐-๘๐ ปี ก็จะชี้ต�ำแหน่งได้ชัดเจน เพราะ เพิ่งถมไปประมาณ ๕๐ ปีนี้เอง! ผมเองคนหนึ่งละที่จะ สนับสนุนเรื่องนี้ หากผู้มีอ�ำนาจมีหน้าที่รับผิดชอบคิด จะท�ำ.


หน้า ๑๐

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ตอนที่ ๗

ล�ำน�ำจินตนาการ เมื่ออาทิตย์สาดแสงเป็นสีด�ำ ความมืดง�ำแผ่หุ้มคลุมโลกใหญ่ สรรพสัตว์ใบ้บอดตลอดไป พฤกษ์ทิ้งใบแห้งโกร๋นต้นโอนเอน

ในวันตรุษสงกรานต์ พ.ศ.๒๕๒๙ เพลงบอกแมนได้ไปว่าในจวนผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราชเพื่ออนุรักษ์เพลงบอกและประเพณีเล่นสงกรานต์ภาคใต้ โดยว่าตั้งแต่ปากประตูเข้าจวนให้เป็นตัวอย่าง ดังนี้ ถึงปากประตูหยุดดูพร้อมฯ ประนมน้อมหนึ่งหน กราบไหว้ท้าวมนตรี ผู้รักษาเทวาเรศฯ ในอาณาเขตไม่เลยล่วง ท่านข้าหลวงที่ลือกระฉ่อน จังหวัดนครศรีฯ เขาผูกภาพยนตร์เป็นพลยักษ์ สมมุติตามหลักโบราณมีรูปยักษีและยักษา อยู่ปากทวารรังฯ ตัวก็เขียวเขี้ยวก็ขาว เขี้ยวก็ยาวตะบองบิด ผู้มีฤทธิ์รักษาสถาน ตามค�ำเจ้าของบ้านสั่ง ตนหญิงอยู่ซ้ายชายอยู่ขวาฯ ศัตรูมาให้ระวัง ใช้ก�ำลังตีด้วยกระบอง ใครดื้อจะต้องตายฯ แต่กระนั้นมาดี ให้ท่านช่วยเบิกทวารบ่าย แล้วพากายพวกของผม จะเข้าไปชมเชย แล้วชมสถานที่จนถึงหน้าจวน สดุดีผู้ว่าราชการจังหวัดและคุณนาย ชมนาย อ�ำเภอรดน�้ำผู้ว่าและคุณนายแล้วให้พรลา หนังตะลุง มโนราห์และเพลงบอก ล้วนแต่มีคุณค่าต่อสังคม การที่ทาง ราชการให้ความสนใจต่อศิลปะประเภทนี้เป็นสิ่งที่ถูกต้อง เนื้อหาสาระใน บทกลอนของหนังตะลุง มโนราห์ และเพลงบอก เปรียบดังสมุดบันทึกเล่มโต ของนครศรีธรรมราช

มวลมนุษย์งวยงงลงนั่งเศร้า บ่นเบาเบานึกย�้ำถึงค�ำเถร เคยท�ำนายร�่ำไห้ไว้ชัดเจน ถึงกฏเกณฑ์โลกดับลับเวลา น�้ำจะท่วมฟากฟ้าอาณาจักร ปลาจะอิ่มส�ำลักกันหนักหนา ดาวทั้งสรวงถูกกินสิ้นดารา ราหูคอยกินปลามาอีกที เทพทั้งปวงแปลงกายเป็นอากาศ ทิ้งวิมานเรี่ยราดหลบหลีกหนี เลิกคุ้มครองผู้คนบนธรณี ทั้งปฐพีคงไม่มีใครรอดตาย เหตุพระพรหมผู้สร้างอ้างพิโรธ จึ่งลงโทษล้างพิภพจบสลาย ด้วยมนุษย์แตกแยกแหกท�ำลาย ผสมพันธุ์ฝากกายไว้หลายครรภ์ ศีลธรรมเสื่อมคลายใช้อ�ำนาจ เข้าฟัดฟาดยึดครองจับจองฝัน เป็นของตนทุกแห่งไม่แบ่งปัน จนถึงวันโลกดับลับจักรวาล เมื่ออาทิตย์สาดแสงเป็นสีด�ำ ฝนกระหน�่ำท�ำลายกายสังขาร คงไม่มีวันใหม่ไปแสนนาน ขอเป็นเพียงจินตนาการอ่านเล่นเอย!!! เกียรตินคร ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๗


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ต้

นเดือนกันยายน ๒๕๕๗ ยัง มีเวลาให้ ‘รักบ้านเกิด’ แจ้ง ข่าวแก่ลูกหลานชาวนครศรีธรรมราชที่ จ ากบ้ า นไปท� ำ งาน หรื อ มี ค รอบครั ว อยู ่ ทุ ก ภู มิ ภ าคของ ประเทศไทย ได้วางแผนเตรียมตัว เดินทางกลับบ้านมาร่วมงานบุญ ประเพณีวันสารทเดือนประจ�ำปี ๒๕๕๗ กันอย่างทัว่ ถึง ปี นี้ ง านเทศกาลเดื อ นสิ บ ภาครัฐจัดระหว่างวันที่ ๑๗-๒๖ กันยายน ส่วนภาคชาวบ้านจัดที่ วั ด ใกล้ บ ้ า น บรรพบุ รุ ษ ของใคร ขึ้นกับวัดไหนก็ยกหมฺรับไปท�ำบุญ อุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับกัน ที่วัดนั้นอย่างที่ปฏิบัติมาทุกๆ ปี เป็นโอกาสได้พบญาติพี่น้องและ ผองเพือ่ นร่วมชัน้ เรียนสมัยประถม หรือมัธยม หรือได้ร้จู กั ญาติพี่นคี้ น ใหม่ ๆ ที่ แ ต่ ง งานเข้ า มาเป็นเขย เป็นสะใภ้ ท� ำ บุ ญ ยกหมฺ รั บ ที่ วั ด ใกล้ บ้านแล้วชวนพ่อแม่เข้าตัวเมือง จะไปหาข้ า วปลากิ น ตามร้ า น อาหาร ซื้ อ ของใช้ จ� ำ เป็ น ที่ ห ้ า ง สรรพสิ น ค้ า หรื อ บริ เ วณจั ด งาน ออกร้าน ขอบอกว่างานเทศกาล เดือนสิบโดยภาครัฐจัดติดต่อกัน เป็นปีที่ ๙๑ แล้ว เนือ้ หาสาระกับ กิจกรรมสวนสนุกเปลี่ยนแปลงไป บ้างตามยุคสมัย มอเตอร์ไซค์ไต่ถงั กับจ�ำ้ บ๊ะยุคเก่าหาดูไม่ได้อกี แล้ว กิ จ กรรมตามสวนสนุ ก จะ เปลี่ยนไปอย่างไรก็ตาม แต่สิ่งที่ ชาวนครปฏิ บั ติ สื บ ต่ อ กั น มา คื อ สั ก การะพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ที่ วั ด พระมหาธาตุวรมหาวิหาร ซึ่งเป็น สถานที่จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม ของงานเทศกาล ปี ๒๕๕๗ ภาครั ฐ จั ด งาน ประเพณีเทศกาลบุญสารทเดือน

สิบฉลองพระบรมธาตุเจดีย์สู่มรดก โลก แม้จะยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็น มรดกโลกอย่างเป็นทางการก็ตาม แต่โอกาสก็คบื ใกล้เข้ามาเรือ่ ยๆ อยากแจ้งข่าวความคืบหน้า เกี่ยวกับพระธาตุฯ สู่มรดกโลก ว่า เมือ่ วันที่ ๒๔-๒๕ มิถนุ ายนทีผ่ า่ นมา ศ.ดร.โรนัลด์ ซิลวา อดีตประธาน กรรมการมรดกโลกของยู เ นสโก คณะกรรมการมรดกโลก (อีโคโมส) ประเทศไทย นั ก ประวั ติ ศ าสตร์ นั ก โบราณคดี ก ว่ า ๑๐ คน เดิ น ทางมาร่วมตรวจสอบพื้นที่วัดพระ มหาธาตุ ฯ (พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ) บริเวณที่ตั้งองค์พระบรมธาตุเจดีย์ ศึก ษาความส�ำคัญ และคุณ ค่าใน การขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกตาม แบบแผนหลักเกณฑ์อย่างน้อย ๓ ประการ ได้ แ ก่ ๑. เป็ น ตั ว แทน ผลงานที่ เ ป็ น เลิ ศ ของการสร้ า ง จากอัจฉริยะของมนุษย์ เป็นสิ่งที่ ตั ว แทนของระบบความเชื่ อ ทาง พระพุ ท ธศาสนาผ่ า นทางแผนผั ง และการออกแบบสถาปั ต ยกรรม ๒. เป็นการแสดงถึงความส�ำคัญของ

การเปลี่ยนแปลงคุณค่าของมนุษย์ ตามกาลเวลา หรื อ ในวั ฒ นธรรม ด้ า นใดด้ า นหนึ่ ง ของโลก ในการ พั ฒ นาด้ า นสถาปั ต ยกรรม และ ๓. มี ค วามสั ม พั น ธ์ โ ดยตรง หรื อ เห็นได้ชัดเจนกับเหตุการณ์ หรือ ประเพณีที่ยังคงอยู่ หรือความคิด หรือความเชื่องานศิลปกรรม และ วรรณกรรมที่มีความโดดเด่นเป็น พิเศษ ครั้ ง นี้ ศ.ดร.โรแลนด์ ม า ร่วมในฐานะที่ปรึกษาในการจัดท�ำ เอกสารแสดงคุณค่าของพระบรมธาตุเจดีย์ ซึ่งจะช่วยตรวจสอบราย

ละเอียดเอกสาร และรูปแบบของ เนื้ อ หาทั้ ง หมดเตรี ย มเสนอคณะ กรรมการมรดกโลกในการประชุม ครัง้ ต่อไป ผศ.ฉั ต รชั ย ศุ ก ระกาญจน์ ประธานสภาวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด นครฯ และประธานคณะกรรมการ ฝ่ า ยวิ ช าการการจั ด ท� ำ เอกสาร ต้นฉบับการน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร (พระบรมธาตุ เจดีย์) เพื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดก โลก การเดิ น ทางลงพื้ น ที่ ข อง ศ.ดร.โรนั ล ด์ ถื อ เป็ น การมาให้ ค� ำ ปรึกษาด้านการจัดท�ำเอกสารฉบับ

ศ.ดร. โรนัลด์ ซิลวา

หน้าพิเศษ ๑

สมบูรณ์ตามหัวข้อที่ก�ำหนด เช่น ความโดดเด่ น เป็ น สากล ความ เป็ น ขนานแท้ แ ละดั้ ง เดิ ม การ บริ ห ารจั ด การในเขตแกนกลาง (Core Zone) เขตกันชน (Buffer Zone) โดยเฉพาะการบริหารสิ่ง ที่ ส ร้ า งขึ้ น ใหม่ ว ่ า จะท� ำ อย่ า งไร เมื่อเอกสารฉบับภาษาไทยเสร็จ สมบูรณ์ก็จะจัดหาผู้เชี่ยชายแปล เป็นฉบับภาษาอังกฤษให้ทันเวลา ความคืบหน้าในการจัดการ พื้ น ที่ ภ ายในวั ด พระมหาธาตุ ฯ คณะกรรมการมรดกโลกของจัง หวั ด นครฯ ก� ำ หนดให้ ป รั บ ปรุ ง ได้แก่ ขยายพื้นที่หาดทรายแก้ว โดยรื้ออิฐตัวหนอนออกไป จัดหา ต้นแก้วมาปลูกเพิ่มให้ใกล้เคียง กั บ ในอดี ต ปลู ก ต้ น ตาลที่ ล าน ทรายด้านทิศเหนือ ย้ายรูปเคารพ ต่างๆ ทีเ่ ป็นสิง่ ปลูกสร้างใหม่ไปไว้ ทีส่ วนป่าทิศใต้ ปรับด้านหน้าของ ร้ า นจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ที่ ร ะลึ ก และ ปรั บ ซุ ้ ม ดู แ ลผลประโยชน์ ห น้ า ประตูทางเข้าชมองค์พระ เข้าใจ ว่าภูมิทัศน์ภายในวัดจะสวยงาม เหมาะสมยิง่ ขึน้ กิ จ กรรมที่ ยิ่ ง ใหญ่ ใ นงาน เทศกาลเดือนสิบที่จัดสืบเนื่องกัน มา ก็ คื อ การแห่ ข บวนหมฺ รั บ ที่ สวยงามขององค์กรเอกชน สถาน ศึกษาและส่วนราชการจากสนาม หน้าเมืองไปยังวัดพระมหาธาตุฯ และ การประกวดหฺมรฺ บั ชิงรางวัล หฺมรฺ บั ทองค�ำพระราชทาน สมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี กลับบ้านไปท�ำบุญเดือนสิบ แล้ ว ไปสั ก การะขอพรพระบรม ธาตุเจดีย์ และรับรูถ้ งึ ความส�ำคัญ ก่ อ นขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น มรดกโลก จะเบิ ก บานใจและภาคภู มิ ใ จไป พร้อมๆ กัน วางแผนเดิ น ทางให้ ร อบคอบและขอให้ทกุ คนโชคดี


หน้าพิเศษ ๒

างส� ำ นั ก วิ ช าสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ แ ละการออกแบบ มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ได้ รั บ มอบหมายจากทางจังหวัดนครศรีธรรมราช ให้เป็นผู้ศึกษาและออก แบบปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ส� ำ คั ญ ( Core Zone ) บริ เ วณภายใน วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร เพื่ อ ให้ พื้นที่สามารถรองรับกิจกรรมที่เกิด ขึ้นได้อย่างเหมาะสม เพื่อเป็นแนว ทางเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณา พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ขึ้ น บั ญ ชี เ ป็ น มรดกโลก เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจให้ แ ก่ ประชาชนและผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั่ ว ไป ทางผู ้ รั บ ผิ ด ชอบงานนี้ จึ ง ขอ น� ำ ผลการศึ ก ษาและการออกแบบ ที่ ไ ด้ ส รุ ป เสนอต่ อ จั ง หวั ด นครศรี ธรรมราชเรียบร้อยแล้ว มาลงตีพิมพ์ หนังสือพิมพ์นี้เป็นตอนๆ อย่างต่อ เนื่อง โดยได้เริ่มตั้งแต่ฉบับเดือนนี้ เป็นต้นไป

บทคัดย่อ (Abstract)

พระบรมธาตุเจดีย์ เป็นเจดีย์ ทรงลังกา หรือทรงระฆังคว�่ำ และ มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์อยู่ภาย ในวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีความ

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

เกี่ ย วข้ อ งและมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ การตั้ ง ถิ่ น ฐานของเมื อ ง และองค์ ประกอบของเมืองเก่านครศรีธรรมราช ซึ่งพื้นที่บริเวณวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารและพื้นที่โดยรอบเป็น พื้นที่ที่มีลักษณะเฉพาะ และมีคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ของเมือง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเหมาะสม ในการน� ำ เสนอพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลก จึงได้มีการ ศึ ก ษาทั้ ง ในพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ส� ำ คั ญ ของวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร และพื้ น ที่ กั น ชน โดยตามมติ ข อง คณะกรรมการ ซึ่งเป็นพื้นที่ชุมชน โดยรอบวัดพระมหาธาตุฯ ที่อยู่ใน พื้นที่เขตเมืองเก่านครศรีธรรมราช สมั ย อยุ ธ ยา โดยมี แ นวคู เ มื อ งและ ก� ำ แพงเป็ น ขอบเขต รวมถึ ง การ ศึ ก ษากิ จ กรรมต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เ พื่ อ น� ำ ม า เ ป ็ น ฐ า น คิ ด ใ น ก า ร ออกแบบ และข้อเสนอแนะในการ ปรั บ ปรุ ง ให้ เ กิ ด คุ ณ ภาพในพื้ น ที่ และเพื่ อ เป็ น แนวทางในการท� ำ แผนบริหารจัดการแหล่งมรดกทาง วัฒนธรรม โดยสร้างความส�ำคัญเพื่อ ให้วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็น โบราณสถานที่มีคุณค่า และมีความ สอดคล้ อ งกั บ เกณฑ์ ตั ว ชี้ วั ด ของ UNESCO ในการประกาศคุณค่าโดด

เด่ น อั น เป็ น สากลของแหล่ ง มรดก วัฒนธรรม รวมทั้งมีความสอดคล้อง กับการพัฒนาของเมืองได้ในอนาคต

ค�ำส�ำคัญ (Keywords)

• วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิหารจังหวัดนครศรีธรรมราช (Wat Phra Mahathat Worramahawihan, Nakhon Si Thammarat) • ขึ้นบัญชีมรดกโลก (World Heritage Normination) • พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ส� ำ คั ญ (Core Zone) • พื้นที่กันชน (Buffer Zone)

• คุณค่าโดดเด่นอันเป็นสากล

(Outstanding Universal Value ; OUV)

บทน�ำ

ที่มาและความส�ำคัญของปัญหา วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร มีพระบรมธาตุเจดีย์ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของภาคใต้ สร้ า งในยุ ค ที่ พุ ท ธศาสนาลั ท ธิ ลั ง กาวงศ์ แ พร่ เ ข้ า มาเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง ที่นครศรีธรรมราช ราวปลายพุทธ ศตวรรษที่ ๑๘ ก็ มี ผู ้ ศ รั ท ธาสร้ า ง เจดี ย ์ ท รงลั ง กาขนาดใหญ่ ค รอบ เจดี ย ์ ท รงมณฑปเดิ ม ไว้ ซึ่ ง มี รู ป บ้ า นเรื อ นเหล่ า นั้ น ก็ ถู ก รื้ อ ใหม่ อี ก รอบ แล้วกลับมาสร้างเป็นรูปแบบ สถาปั ต ยกรรมแบบล้ า นช้ า งผสม ยุโรปอีกครั้งหนึ่ง ผู ้ ค นในหลวงพระบางยั ง มี วิ ถี ชี วิ ต แบบเรี ย บง่ า ย ยึ ด มั่ น ใน ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ท ้ อ งถิ่ น และประเพณี ท างพุ ท ธศาสนา มากมายเหมื อ นคนเมื อ งนครเช่ น

มื่อปี ๒๕๕๓ ผมได้มีโอกาสไป เที่ยวหลวงพระบาง ซึ่งคนเมือง ลาวเรียกว่า ‘เมืองหลวง’ เพราะ อดีตเป็นราชธานีเก่าของอาณาจักร ล้ า นช้ า ง เป็ น ที่ ป ระทั บ ของเจ้ า ชีวิต (พระเจ้าแผ่นดิน) ก่อนที่ลาว จะเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็น สาธารณรัฐ ตัวเมืองหลวงพระบาง ตั้งอยู่ระหว่างแม่น�้ำคานกับแม่น�้ำ

โขง เต็มไปด้วยวัดวาอารามมากมาย เหมื อ นเมื อ งนคร แต่ อ าคารบ้ า น เรือนแบบเก่ายังถูกอนุรักษ์รักษาเอา ไว้ รูปแบบสถาปัตยกรรมแบบล้าน ช้างผสมยุโรป ทราบว่ามีบ้านเรือน จ�ำนวนหนึ่งได้มีการรื้อมาสร้างเป็น แบบตึกสมัยปัจจุบันที่นิยมกัน แต่ เมื่อเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น เมื อ งมรดกโลกเมื่ อ พ.ศ. ๒๕๔๐

กัน หลวงพระบางจึงเป็นเมืองสงบ ร่ ม เย็ น และงดงาม ผู ้ ค นใจดี ใ ฝ่ ใ น ธรรม ในหลวงพระบางมี วั ด ที่ มี ชื่ อ เสี ย งและมี ค วามงดงามที่ สุ ด ของ ประเทศ คื อ อุ โ บสถวั ด เชี ย งทอง หรือคนลาวเรียก ‘สิมวัดเชียงทอง’ เป็ น สถาปั ต ยกรรมแบบล้ า นช้ า ง มี อี ก กิ จ กรรมหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ น วิ ถี ชี วิ ต ของคนหลวงพระบาง ที่โด่งดังมาก

ลักษณะดังที่เห็นในปัจจุบัน และพูด ได้ว่าเป็นเจดีย์ทรงลังกาที่สร้างขึ้น เป็นองค์แรกในประเทศไทย ผั ง บริ เ วณวั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิหารมีการแบ่งพื้นที่เป็นเขต พุทธาวาสและสังฆาวาส มีพื้นที่จอด รถ ที่ประกอบกิจกรรมค้าขายสินค้า พื้ น เมื อ งและของที่ ร ะลึ ก ประจ� ำ จังหวัด และที่โล่งประกอบกิจกรรม ส� ำ หรั บ งานประเพณี ที่ ส� ำ คั ญ ของ ชาวจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ส่ ว น พื้นที่โดยรอบวัดประกอบด้วยองค์ ประกอบของเมืองที่มีความสัมพันธ์ กั บ พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ โดยทั้ ง สอง พื้นที่มีลักษณะเฉพาะและมีคุณค่า ความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ของ จังหวัดนครศรีธรรมราช เนื่องด้วยจังหวัดนครศรีธรรมราช ส่วนราชการ และภาคเอกชน ได้ร่วมกันเสนอให้องค์พระบรมธาตุ เจดีย์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ขึ้ น บั ญ ชี เป็ น มรดกโลก (World Heritage Normination) จึงได้มีการศึกษาถึง พื้นที่อนุรักษ์ส�ำคัญวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร และพื้นที่กันชน รวมถึง การศึกษากิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่ อ สร้ า งความส� ำ คั ญ ให้ พ ระบรม ธาตุ เ จดี ย ์ เป็ น โบราณสถานที่ ท รง คุ ณ ค่ า เป็ น ที่ ห มายตาของเมื อ ง และเป็นที่รองรับกิจกรรมต่างๆ ที่

เกิ ด ขึ้ น โดยมี ค วามสอดคล้ อ งกั บ การประกาศคุณค่าโดดเด่นอันเป็น สากลของแหล่งมรดกวัฒนธรรม

ชาวไทยเมื่ อ ไปถึ ง หลวงพระบาง ก็ ต ้ อ งหาโอกาสไปสั ม ผั ส คื อ การ ตักบาตรพระ พระสงฆ์ที่นี่เขาจะเดิน เรียงแถว แถวหนึ่งก็ประมาณ ๒๐๓๐ รูป คนตักบาตรก็จะนั่งคุกเข่า ที่ คุ ก เข่ า ไม่ ไ หวก็ จ ะหาเก้ า อี้ เ ตี้ ย ๆ มานั่ง จะมีแม่ค้ามาเสนอขายข้าว เหนียวเป็นกระติ๊บ ตักบาตรเฉพาะ ข้าวเหนียว ปั้นเล็กๆ โดยไม่ต้องมี กับข้าวใดๆ ทั้งสิ้น ตามไปถึงวัดก็จะ รู้ว่าเขามีกับข้าวเป็นหม้อๆ ท�ำถวาย กันในวัดทีเดียวเลย คนเข้าตักบาตร จะใช้ค�ำว่าตักบาตรก็น่าจะไม่ถูกนัก หยิ บ ข้ า วเหนี ย วหย่ อ นลงในบาตร และต้ อ งท� ำ อย่ า งรวดเร็ ว เพราะ พระท่านเดินเร็วมาก มานึกถึงบ้าน เราน่าจะดัดแปลงมาท�ำได้บ้าง เช่น ท�ำเป็นข้าวห่อใบตองเล็กๆ ถ้าจะมี กับข้าวก็ห่อด้วยใบตอง แกงคั่วแห้ง ปลาเค็ม ไข่ต้ม มีแม่ค้าจัดเตรียมให้ คนมาซื้อหาไปตักได้สะดวก ไม่ต้อง

ใส่คนหนึ่งเป็นถึงขนาดใหญ่ จะได้ ใส่ บ าตรกั น คนละหลายรู ป ไม่ สิ้ น เปลืองเท่าไร พระก็ไม่ต้องมีภาระ ของเหลือจนต้องหารถไปแจกตาม วัดบ้านนอก หรือบางทีถึงกับน�ำไป จ�ำหน่ายมาเป็นปัจจัยกันอีก ที่หลวง พระบางยังมีวัฒนธรรมในการแต่ง กายของชาวเมืองอีกด้วย ผู้คนแทบ ทั้งเมืองยังแต่งนุ่งซิ่น นุ่งผ้าถุงอย่าง โบราณ มีเสน่ห์สวยงามเป็นอย่างยิ่ง ในเมื อ งก็ มี ร ถยนต์ ไ ม่ ข วั ก ไขว่ ม าก นัก รถยนต์ที่ใช้มักจะใช้ระบบไฟฟ้า มลพิษจึงไม่มี ชาวต่างประเทศที่มา เที่ ย วมั ก จะมาอยู ่ อ าศั ย กั น หลาย วัน ใช้ชีวิตร่วมกับคนในเมือง ที่พัก โรงแรม ร้ า นอาหารจึ ง คึ ก คั ก ด้ ว ย นักท่องเที่ยวแบบสบายๆ ตลาดเช้า อย่างตลาดท่าชีของเราก็เป็นที่ที่นัก ท่องเที่ยวเข้าไปอุดหนุน แม้จะเป็น ของพื้นบ้าน ผักในไร่ในสวนคนก็ซื้อ หามากิ น เล่ น นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะเช่ า

วัตถุประสงค์ของบทความ

๑. เพื่ อ ศึ ก ษาทราบถึ ง องค์ ประกอบต่ า งๆ ของเมื อ งที่ มี ค วาม สัมพันธ์กับวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตลอดจนประวัติศาสตร์และ แนวคิ ด ในการก่ อ สร้ า งพระบรม ธาตุ เ จดี ย ์ ใ นด้ า นความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งปรั ช ญาคติ และความเชื่ อ กับองค์ประกอบของวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารและพื้นที่โดยรอบ ๒. เพื่อศึกษาทราบถึงปัญหา และความส� ำ คั ญ ของปั ญ หา และ วิเคราะห์ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อ พื้นที่อนุรักษ์ บริเวณวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร และพื้นที่กันชน ๓. เพื่อเสนอรูปแบบการปรับปรุงพื้นที่อนุรักษ์ ในบริเวณวัดพระ มหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร และพื้ น ที่ กันชน เพื่อรองรับกิจกรรมที่เกิดขึ้น อย่างเหมาะสมต่อพื้นที่ อันประกอบ ด้วย การใช้ประโยชน์ที่ดิน เส้นทาง สั ญ จร ที่ เ ปิ ด โล่ ง และมุ ม มอง โดย มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ การประกาศ คุณค่าโดดเด่นอันเป็นสากล (มีตอนต่อไปฉบับหน้า)


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

(ตอนที่ ๒) ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

ากมองถึงความมุ่งมั่นกระตือรือร้นของจังหวัดนครศรีธรรมราชต่อการพยายาม น� ำ เสนอวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร เข้ า สู ่ บั ญ ชี ม รดกโลกถาวรตามเกณฑ์ ยูเนสโก (UNESCO) ให้ได้ในเร็ววันแล้ว เราก็จะเห็นถึงร่องรอยที่ขับเคลื่อนกันที่ ด�ำเนินอย่างต่อเนื่องตลอดมา ดังเช่นผู้ว่าราชการจังหวัด (นายอภินันท์ ชื่อธานุวงศ์) ก็พยายามเชิญผู้เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในวัด โดยเฉพาะคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อสรุปความเห็นต่อร่าง TOR ควบคู่ไปกับการเตรียมหาผู้รับจ้างเข้ามาด�ำเนินการให้ทันในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ (ซึ่งจะหมดในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗) นายกเทศมนตรีนครนครศรีธรรมราช นายเชาวน์วัศ เสนพงศ์) ก็พยายามขับเคลื่อนการก่อสร้างปรับปรุงบาทวิถี (ทางเท้า) ริ ม ถนนราชด� ำ เนิ น ช่ ว งหน้ า วั ด พระมหาธาตุ ฯ เพื่ อ ให้ เ สร็ จ เรี ย บร้ อ ยก่ อ นปี ใ หม่ ๒๕๕๘ เหล่านี้เป็น “ตัวอย่าง” ของความคืบหน้าที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน เมื่ อเร็ วๆ นี้ มี เ รื่ อ งหนึ่ ง ซึ่ง เห็ นว่ า เป็ น โอกาสดีข องกองบรรณาธิ การผู ้มี ห น้ า ที่เรียบเรียงเอกสารฉบับสมบูรณ์ (Nomination Dossier) ว่าด้วยวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิ ห ารขึ้ น บั ญ ชี เ ป็ น มรดกโลก นั่ น คื อ ข้ อ เสนอของผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นมรดก โลกระดั บ สากลสองท่ า นที่ ม าร่ ว มประชุ ม สั ม มนาที่ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช คื อ ศาสตราจารย์ ดร.โรแลนด์ ซิลวา (Roland Silva) และ ดร.นันทนา ชุติวงศ์ ศาสตราจารย์ ดร.โรแลนด์ ซิลวา เป็นชาวศรีลังกา ก่อนหน้าจะครบวาระด�ำรง ต�ำแหน่งประธาน อิโคโมสสากล เคยมาพบปะและให้ค�ำแนะน�ำแก่คณะกรรมการ น�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารชุดนี้เมื่อ พ.ศ.๒๕๕๓ ส่วน ดร.นันทนา ชุติวงศ์ เป็นนักวิชาการด้านโบราณคดีที่เคยไปสอนวิชาโบราณคดีตะวันออกที่มหาวิทยาลัย แห่งชาติ ณ ประเทศเนเธอร์แลนด์มาหลายปีจนกระทั่งเกษียณอายุ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ร่วมกับสมาคมอิโคโมสไทยได้เรียนเชิญ ผู้เชี่ยวชาญทั้งสองมาประชุมกับนักวิชาการ รถจักรยานสองล้อแทนการใช้รถ ท้ อ งถิ่ น และนั ก วิ ช าการส่ ว นกลาง เพื่ อ ขอ จักรยานยนต์ หรือรถยนต์เหมือน ค� ำ แนะน� ำ ในการเรี ย บเรี ย งเอกสารฉบั บ เมืองอื่นๆ สมบูรณ์ (Nomination Dossier) เป็นการ นครศรีธรรมราชเรา แม้ไม่ได้ เพิ่มเติม หลังจากที่ได้เรียบเรียงบทต้นๆ ไป ท�ำให้เป็นเมืองเก่าเป็นมรดกโลก แล้วส่วนหนึ่ง ตลอดสองวันของการประชุม เหมื อ นเช่ น หลวงพระบาง และ และการลงพื้นที่วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เมื อ งลี่ เ จี ย ง แต่ กิ จ กรรมงานบุ ญ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญทั้ ง สองได้ พิ นิ จ พิ จ ารณาในราย ประเพณีของวัดพระมหาธาตุฯของ ละเอี ย ดแทบจะทุ ก ตารางเมตรของพื้ น ที่ วั ด เราก็ยิ่งใหญ่ที่คนทั้งเมืองเข้าร่วม อันเป็นพื้นที่แหล่งมรดก (Core Zone) และ กิจกรรม เช่น งานบุญให้ทานไฟ พื้ น ที่ ร อบวั ด อั น เป็ น พื้ น ที่ กั น ชน ( Buffer Zone ) ในที่ สุ ด ก็ ไ ด้ ใ ห้ ข ้ อ เสนออั น เป็ น นั่งสมาธิข้ามปีช่วงปีใหม่ มาฆบูชา ประโยชน์ ยิ่ ง แก่ ค ณะบรรณาธิ ก ารหลาย แห่ ผ ้ า ขึ้ น ธาตุ ถึ ง ระดั บ นานาชาติ ประการ เข้ามาร่วม งานกวนข้าวมธุปายาส ต่ อ ไปนี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของบั น ทึ ก ค� ำ อันยิ่งใหญ่ งานบุญสารทเดือนสิบ แนะน� ำ ของศาสตราจารย์ ดร.โรแลนด์ ล้วนแล้วแต่เป็นงานหนึ่งเดียวของ ซิลวา และ ดร.นันทนา ชุติวงศ์ เป็นภาษา ประเทศไม่มีที่อื่น หากพระธาตุฯ อั ง กฤษส่ ง ผ่ า นมายั ง เลขานุ ก ารสมาคม เป็นมรดกโลก ชาวโลกก็จะหันมา อิ โ คโมสไทย (ดร.วสุ โปษยะนั น ทน์ ) แปล มอง ให้ความส�ำคัญกับเมืองนคร เป็นภาษาไทย โดย ดร.สายสวาท เกตุชาติ เป็นเมืองส�ำหรับการท่องเที่ยวทาง แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช วัฒนธรรมเมืองหนึ่งในโลกทีเดียว (ในฐานะบรรณาธิ ก ารแปลของเอกสาร Nomination Dossier)

นครศรีธรรมราช

ากการที่ยูเนสโกได้พิจารณาข้อเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารเข้าสู่บัญชีมรดกโลกเบื้องต้น เป็น ที่น่ายินดีว่า ผู้ว่าราชการจังหวัดและคณะกรรมการ ชาวนครศรีธรรมราช รวมทั้งประชาชนในภูมิภาคนี้ มี ความเชื่อมั่นว่าวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร สมควร ได้รับการยกสถานภาพให้เป็นอนุสรณ์สถานมรดกโลก และน�ำไปสู่การยอมรับอย่างสากลในเร็ววันนี้ จากหลักฐานแผ่นจารึกเกือบ ๕๐ แผ่น เรียง ล�ำดับย้อนหลังไป ๖๐๐ ปี ที่ศึกษาจากองค์สถูปเจดีย์ ควบคู ่ ไ ปกั บ พิ ธี ก รรมทางศาสนาประจ� ำ วั น ประจ� ำ เดือน ประจ�ำปี ซึ่งด�ำเนินมาปีแล้วปีเล่า ต่อเนื่องกัน ตลอดระยะเวลา จักต้องยอมรับว่าเป็นขนบธรรมเนียม ประเพณีซึ่งหายาก เป็นที่เลื่องลือในหมู่นานาชาติว่า เป็น “มรดกที่มีชีวิต” นอกจากชุ ม ชนที่ ส มถะแห่ ง จั ง หวั ด นครศรี ธรรมราชได้อนุรัก ษ์สมบัติมีค่านี้ไว้ แน่นอนว่าชาว เมื อ งจะชื่ น ชมกั บ ประสบการณ์ แ ละการบรรลุ เ ป้ า หมาย ในการช่ ว ยธ� ำ รงรั ก ษาสมบั ติ อั น มี ค ่ า นี้ ต ่ อ ไป เพื่อประโยชน์ของมวลมนุษยชาติ จากการค�ำนึงถึง วัตถุประสงค์ดังกล่าว จึงขอเสนอความคิดเห็นต่อผู้ ดูแลมรดกแหล่งนี้เพื่อที่จะพิจารณาว่าวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช สมควรได้รับ การพัฒนาส่งเสริมต่อไป และด้วยเหตุดังกล่าวจักต้อง อนุรัก ษ์พิธีกรรมทางศาสนาตามความพึงพอใจของ มนุษย์ตราบชั่วชีวิต ด้ ว ยความคิ ด เห็ น ที่ จ ะเน้ น ความส� ำ คั ญ ทาง ด้ า นวั ฒ นธรรม ต่ อ คณะกรรมการมรดกโลก แห่ ง สหประชาชาติ อ ย่ า งเป็ น ระบบ จึ ง ขอเสนอแนะ ประเด็นข้อมูลเพิ่มเติมส�ำหรับการจัดท�ำเอกสารฉบับ สมบูรณ์ (Dossier) ให้พิจารณาดังต่อไปนี้ ๑. การหาอายุ แ หล่ ง ที่ ตั้ ง โดยใช้ เ ทคนิ ค เทอร์ โ มลู มิ เ นสเซนท์ ( Dating the Site Using Thermonuminescence) a. รวบรวมอิ ฐ โบราณในบริ เ วณแหล่ ง มรดก (Core Area) แต่อยู่นอกองค์พระสถูปเจดีย์ จากสถาน ที่ตั้งซึ่งท�ำเครื่องหมายไว้ในแผนที่ แต่จากความลึก ที่วัดได้ รวมทั้งก�ำแพงเมืองโบราณ และคูของเมือง เก่ารอบวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร และจากสถาน ที่ใกล้วิหารเก่า หรือสิ่งปรักหักพัง ให้เก็บตัวอย่างอิฐ กระเบื้อง หรือเศษเครื่องปั้นดินเผา (ที่เป็นวัตถุโบราณ) อย่างละ ๑ ชิ้น โดยก�ำหนดอายุจากแต่ละหลุมซึ่งขุดลง ไปถึงเนื้อดินแท้ (virgin soil) จะต้องกลบหลุมภายใน ๒๔ ชั่วโมง หลังจากได้บันทึกตัวอย่างและการขุด และ ภาพถ่าย (drawings and photographs) b. ขุดหลุมขนาด ๑x๒ ตารางเมตร ๒ หลุม นอก ระเบียงโบสถ์ขององค์พระสถูปเจดีย์ ไปทางด้านทิศ เหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก หรือตะวันตก และบอก อายุของอิฐ กระเบื้อง หรือเศษเครื่องปั้นดินเผา อย่าง ละ ๒ ชิ้น จะต้องกลบหลุมภายใน ๒๔ ชั่วโมง หลังจาก บันทึกตัวอย่างและการขุดไว้โดยภาพวาดและภาพถ่าย c. ขุดหลุมขนาด ๑x๒ ตารางเมตร ๒ หลุม

หน้าพิเศษ ๓

นอกก�ำแพงช้างล้อมขององค์พระสถูปเจดีย์ ไปทาง ทิ ศ เหนื อ ทิ ศ ใต้ ทิ ศ ตะวั น ออกหรื อ ตะวั น ตก ลง สู ่ เ นื้ อ ดิ น แท้ แ ละบอกอายุ ข องอิ ฐ กระเบื้ อ ง และ เครื่องปั้นดินเผาจากหลุม อย่างละ ๒ ชิ้น และจะต้อง กลบหลุมภายใน ๒๔ ชั่วโมง หลังจากได้บันทึกตัวอย่าง และการขุดไว้โดยภาพวาดและภาพถ่าย d. ขุดหลุมขนาด ๑x๒ ตารางเมตร ๑ หลุม นอก สี่เหลี่ยมจัตุรัส (square) หรือ ring berm ขององค์พระ สถูปเจดีย์ ไปทางทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก หรือ ตะวันตก ลงสู่เนื้อ ดินแท้ และบอกอายุตัวอย่างอิฐ กระเบื้องหรือเครื่องปั้นดินเผา อย่างละ ๒ ชิ้น จะต้อง กลบหลุมภายใน ๒๔ ชั่วโมงหลังจากบันทึกตัวอย่าง และการขุดไว้แล้วโดยภาพวาดและภาพถ่าย อนึ่ ง ในการประชุ ม เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๗ ผู้แทนจากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) ได้แจ้งถึงความเป็นไปได้ที่จะให้การสนับสนุน ทางการเงิน ในการใช้เทคนิค Thermoluminescence) ๒. แผนการอนุรักษ์ การน�ำเสนอ และการ ลงมือปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผล (Conservation plans, Proposals and Implementation) a. การวางแผนเมือ งอย่างเหมาะสม รวมทั้ง ถนน ที่ดินรวมทั้งสิ่งปลูกสร้างในวัด ร้านค้า บ้านเรือน และอาคารอื่นๆ ให้อยู่ในขนาด (1/32nd) ของแหล่ง มรดก (Core area) และในเขตกันชน (Buffer zone area) ให้ระบุลักษณะภูมิประเทศตามธรรมชาติ และ ที่มนุษย์จัดสร้างขึ้นต้นไม้ และรายละเอียดอื่นๆ บน ถนน ให้ถือบริเวณ Core Area ตามที่ ดร.วสุ โปษยะนันทน์ ระบุต่อ ดร.โรแลนด์ ซิลวา ตอนมาดูแหล่งที่ ตั้ง แต่เขตกันชน (Buffer Zone) ให้รวมก�ำแพงเมือง โบราณ และคูเมืองผนวกพื้นที่เลยเข้าไป ๒๕ เมตร (Ancient City Wall and the Moat plus 25 meters beyond) b. แผนงาน ภาพวาดทั้ ง ตามขวางและตาม ยาว ทั้งถาวร กึ่งถาวร และชั่วคราว ภาพวาดลาย เส้นทั้งหมด (Drawings) จะต้องจัดเตรียมก่อน ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ ( All drawings to be prepared before 31st December 2014) c. ภาพวาดเส้นเค้าโครงตามลักษณะธรรมชาติ ของพื้นดินในบริเวณแหล่งมรดก (Core Area) และ พื้นที่กันชน (Buffer Zone) to be carried out to ½ Meter contours. ภาพวาดลายเส้นทั้งหมดจะต้องจัด เตรียมก่อนวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ d. ส่ ว นหน้ า ของอาคารริ ม ถนนซึ่ ง หั น หน้ า สู ่ (แหล่งมรดก) Core Area ในเขตสี่เหลี่ยมผืนผ้าแรก (Street Facades of all buildings facing the core area in the first rectangle) จะต้องได้รับการบูรณา การใหม่ให้กลมกลืนเข้ากับลักษณะของโบสถ์หรือกุฏิ หรืออาคารในวัด (Temple buildings) โดยไม่เปลี่ยน หน้าที่ใช้สอยของอาคาร ภาพวาดลายเส้นทั้งหมดจะ ต้องจัดเตรียมก่อนวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗

(ต่อฉบับหน้า)


หน้าพิเศษ ๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๑

จุดเด่นของวิหารหลังนี้นอกจากที่กล่าวแล้ว ยังมีเจดีย์ทรงระฆังคว�่ำขนาดเล็กอยู ่องค์หนึ่ง เรียกว่า “เจดีย์สวรรค์” ภายในเจดีย์บรรจุอัฐิของเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชคนหนึ่งชื่อ “พระยารามราชท้ายน�้ ำ” ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

นวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร (หรื อ วั ด พระ ธาตุ) มีวิหารอยู่หลายหลัง ทุกหลังสร้างขึ้นเพื่อ ใช้ ป ระดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ทั้ ง สิ้ น มี ข นาดใหญ่ บ ้ า ง เล็กบ้าง รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นไปตามความนิยม ของยุคสมัย เช่น พระวิหารหลวง วิหารโพธิ์ลังกา วิหารเขียน และวิหารธรรมศาลา เป็นต้น ในบรรดา วิ ห ารเหล่ า นี้ “วิ ห ารธรรมศาลา” ถื อ เป็ น วิ ห ารรุ ่ น แรกๆ ที่สร้างขึ้นมาในยุคเดียวกับการสร้างพระบรม ธาตุเจดีย์ คือเมื่อราว ๘๐๐ ปีที่ผ่านมา “วิ ห ารธรรมศาลา” จากการศึ ก ษาประวั ติ ศาสตร์สถาปัตยกรรมในวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร โดย ดร.เกรี ย งไกร เกิ ด ศิ ริ และอาจารย์ อิ ส รชั ย บู ร ณะอรรจน์ แห่ ง คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พบว่าสร้างขึ้นเมื่อราว พ.ศ. ๑๙๑๙ มีลักษณะเป็นวิหารโถง ท�ำหน้าที่เป็นศาลา ด้ า นตะวั น ออกของพระบรมธาตุ เ จดี ย ์ เมื่ อ แรกใช้ เป็ น ศาลาฟั ง ธรรมในวั น ธรรมสวนะหรื อ วั น ส� ำ คั ญ ทางพุทธศาสนา รวมทั้งใช้ในงานอเนกประสงค์ของ ชาวพุทธในอาณาบริเวณวัด ส่วนหน้าของศาลาเป็น มุขโถง ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนองค์หนึ่งซึ่งมีชื่อ ว่า “พระทนทกุมาร” เป็นพระพุทธรูปปางประทาน อภัย ส่วนหลังของศาลาเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธ รูปยืนอีกองค์หนึ่งซึ่งมีชื่อว่า “พระเหมชาลา” เป็น พระพุทธรูปปางห้ามญาติ มีขนาดย่อมกว่าองค์หน้า ศาลาเล็ ก น้ อ ย ทั้ ง สองเป็ น พระพุ ท ธรู ป ทรงเครื่ อ ง อันเป็นประติมากรรมที่นิยมกันในช่วงกรุงศรีอยุธยา ตอนปลายถึ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ต อนต้ น มี นั ย ทาง ประวั ติ ศ าสตร์ บ ่ ง บอกเรื่ อ งราวความเป็ น มาของ พระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งประดิษฐานในองค์พระบรม ธาตุเจดีย์ในเวลานี้ให้เราได้ทราบกัน ต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราช” ซึ่งถือเป็นเอกสารส� ำ คั ญ ของเมื อ งได้ ก ล่ า วถึ ง “พระเหมชาลา” (หรื อ พระนางเหมมาลา) และ “พระทนทกุ ม าร” (หรือเจ้าธนกุมาร) ว่าเป็นพระธิดาและพระโอรสของ พญาโคศรีหราชแห่งเมือง “ทนทบุรี” (หรือนครบุรี) ได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าหนีภัยจากข้าศึก (ท้าวอังกุตราช) ที่ยกทัพมาแย่ง ชิงพระบรมสารีริกธาตุ พี่น้องทั้งสองจึงลงเรือส�ำเภา เพื่อไปยังกรุงลังกา แต่เรือถูกคลื่นใหญ่ซัดอยู่หลาย วัน ในที่สุดก็มาขึ้นฝั่งที่เมืองตรัง จึงดั้นด้นพงไพรจน มาพบ “หาดทรายแก้ว” และตัดสินใจฝังพระบรม สารีริกธาตุไว้ ณ หาดทรายดังกล่าว ซึ่งเป็นต้นก�ำเนิด ของพระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชนั่นเอง การ สร้างพระพุทธรูปพระเหมชาลา (หรือพระนางเหม มาลา) และพระทนทกุ ม าร (หรื อ พระธนกุ ม าร) จึงเป็นการบอกเล่าประวัติเหตุการณ์ส�ำคัญครั้งนั้นไว้

ผู้ซึ่งได้ต่อ สู้รักษาเมืองให้รอดพ้นจากอ�ำนาจโจรสลัดชื่อ “อุชงคตนะ” รบจนตัวตายกลางสนามรบ

แก่อนุชนโดยปริยาย ขอยกข้อความในต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราช ที่ว่าด้วยเรื่องข้างต้นมาประกอบ เพื่อจะให้เห็น ได้ ชัดว่า “พี่น้องสองศรี” จากเมืองทนทบุรีมีคุณูปการ ต่อวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารอย่างไร “อาทิเดิมเมืองหลวงชื่อเมืองนครบุรี พญาเสวย ราชสมบั ติ ชื่ อ ท้ า วโคศรี ห ราช ผู ้ อั ค รมเหสี ชื่ อ เทวี มีพระราชบุตรีคนหนึ่ง ชื่อเหมมาลา ยังมีเมืองแห่ง หนึ่ ง ฝ่ า ยทั ก ษิ ณ ชื่ อ เมื อ งขั น ทบุ รี พญาผู ้ เ สวยราชย์ ชื่ อ ท้ า วอั ง กุ ต ราช ผู ้ เ ป็ น อั ค รมเหษี ชื่ อ นางจั น ทเทวี จึงท้าวอังกุตราชก็มารบด้วยท้าวโคศรีหราชชิงทันต ธาตุ จึงพญาโคศรีหราชก็ให้นางเหมมาลาแลเจ้าธน กุมาร จึงเจ้าธนกุมารเอาพระทันตธาตุไปไว้ในเมือง ลังกาทวี ปโพ้ น จึงนางเหมมาลา เอาพระทั นตธาตุ ห่อเกล้าชูดาทารออกจากเมือง ลงสเภาไปลังกาทวีป สเภาอับปาง เจ้าสองพี่น้องเดินด้นดงพงไพร มาพบ บนละหาดซายแก้วทะเลรอบ จึงนางเหมมาลาเจ้า

ธนกุมารเอาพระทันตธาตุฝังไว้ ณ หาดซาย นั้น.....” “วิหารธรรมศาลา” ได้ถูกใช้สอยในฐานะศาลา อเนกประสงค์ ม าระยะหนึ่ ง จนกระทั่ ง ราว พ.ศ. ๒๐๓๖ จึ ง ได้ ป รั บ รู ป แบบจาก “ศาลา” มาเป็ น “วิ ห าร” โดยการก่ อ ผนั ง อิ ฐ ล้ อ มระหว่ า งเสา และ ก่อผนังด้านหลังเพื่อกั้นเป็นห้อง ท�ำให้พระพุทธรูป ยืนพระทนทกุมารกับพระพุทธรูปยืนเหมชาลาแยก กั น อยู ่ ค นละส่ ว น ขณะเดี ย วกั น ก็ มี ก ารสร้ า งวิ ห าร คด (หรือวิหารพระด้าน) มาต่อเชื่อมกับวิหารนี้ จึง เป็นเหตุให้เราไม่สามารถเข้าไปนมัสการพระพุทธรูป เหมชาลาโดยผ่านทางวิหารธรรมศาลาได้ดังแต่ก่อน (ดูแผนผังประกอบ) ภายในวิ ห ารธรรมศาลาปั จ จุ บั น มี พ ระประธานท� ำ ด้ ว ยปู น ปั ้ น เป็ น ปางมารวิ ชั ย อยู ่ ส ามองค์ นอกจากนี้ยังมีรูปปั้นของพระเถระส�ำคัญของเมือง นครศรีธรรมราชสี่องค์ ประกอบด้วยหลวงพ่อทวด พระรัตนธัชมุนี (ม่วง) พระรัตนธัชมุนี (แบน) และพระ ธรรมรัตโนภาส (ประดับ) จุ ด เด่ น ของวิ ห ารหลั ง นี้ น อกจากที่ ก ล่ า วแล้ ว ยั ง มี เ จดี ย ์ ท รงระฆั ง คว�่ ำ ขนาด เล็ ก อยู ่ อ งค์ ห นึ่ ง เรี ย กว่ า “เจดี ย ์ ส วรรค์ ” ภายใน เจดี ย ์ บ รรจุ อั ฐิ ข องเจ้ า เมื อ ง นครศรีธรรมราชคนหนึ่งชื่อ “พระยารามราชท้ า ยน�้ ำ ” ผู ้ ซึ่ ง ได้ ต ่ อ สู ้ รั ก ษาเมื อ งให้ รอดพ้นจากอ�ำนาจโจรสลัด ชื่อ “อุชงคตนะ” รบจนตัว ตายกลางสนามรบ เมื่อ พ.ศ. ๒๑๘๑ หลังจากปลงศพแล้ว พระยาแก้ ว ผู ้ เ ป็ น หลานได้ น� ำ อั ฐิ ม าบรรจุ ไ ว้ ที่ เ จดี ย ์ องค์นี้ วิหารธรรมศาลาจึงเป็น เสมือนบันทึกประวัติศาสตร์ การสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ และการต่ อ สู ้ ป กปั ก รั ก ษา เมือง ของพระรามราชท้าย น�้ ำ ผู ้ อุ ทิ ศ ชี วิ ต เพื่ อ ปกบ้ า น ป้องเมืองโดยแท้


หน้า ๑๒

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

นพ.อรรถกร วุฒิมานพ

อายุ ร แพทย์ โ รคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด

ตั

วเราเองจะมีสิทธิท�ำพินัยกรรมชีวิตได้หรือไม่ แล้ว ท�ำไมต้องท�ำพินัยกรรมชีวิต ก็ว่าไปแล้วสิ่งที่เรียกว่า ความตาย ไม่มีใครอยากประสบพบเจอ แต่สุดท้ายมนุษย์ ทุกคนก็ต้องเจอเหมือนกันหมด ลองนึกภาพเมื่อเราต้อง อยู่ในวาระสุดท้ายของชีวิต แล้วก�ำลังตกอยู่ในสภาพที่ไม่ รู้สึกตัว สื่อสารกับใครไม่ได้ ถึงแม้บางคนอายุไม่มากแต่ ป่วยระยะสุดท้าย หรือบางคนที่ชราภาพใช้ชีวิตจนเหนื่อย ที่จะหายใจแล้ว ส่วนนึงก็มาจบชีวิตที่ รพ. แน่นอนว่า บรรดาหมอๆ ก็ต้องยื้อชีวิตกันราวว่าจะห้ามไม่ให้ตายได้ งั้นละ งั้นเป็นไปได้มั้ยว่าเราจะเลือกทางไปสุดท้ายของชีวิต โดยการท�ำพินัยกรรมชีวิตเอาไว้

หนังสือแสดงเจตนาล่วงหน้า (พินัยกรรมชีวิต) ตาม มาตรา ๑๒ พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งระบุถึงสิทธิในการจากไปอย่างสงบตามธรรมชาติไว้ ด้วยบุคคลมีสิทธิท�ำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับ บริการสาธารณสุข ที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระ สุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บ ป่วยได้ การด�ำเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตามวรรค หนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก�ำหนดในกฎ กระทรวงเมื่อผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขได้ปฏิบัติ ตามเจตนาของบุคคลตามวรรคหนึ่งแล้ว มิให้ถือว่าการ กระท�ำนั้นเป็นความผิดและให้พ้นจากความรับผิดทั้งปวง การท�ำพินัยกรรมชีวิต ช่วยให้เราตายได้อย่างสงบ เพราะช่วยลดทอนความกังวล ต่อผู้อยู่เบื้องหลัง ธุระการ งานที่คั่งค้าง หรือแม้แต่ช่วยให้มั่นใจว่าเราจะได้รับการ ดูแลให้ตายอย่างสงบได้ และยังช่วยลดความสับสน และ ความขัดแย้งในหมู่ญาติว่าจะจัดการ ด�ำเนินการอย่างไร

ตัวอย่างพินัยกรรมชีวิต

หนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข เขียนที่............................................................................ วันที่ .............................................................................. ข้าพเจ้า (ชื่อ-นามสกุล) ........................................................................................................ อายุ...........................ปี บัตรประชาชนเลขที่ .................................................................................................................................................. ที่อยู่ที่ติดต่อได้ .......................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... เบอร์โทรศัพท์ .......................................................... เบอร์ที่ท�ำงาน ......................................................................... ขณะท�ำหนังสือฉบับนี้ ข้าพเจ้ามีสติสัมปชัญญะบริบูรณ์ และมีความประสงค์ที่จะแสดงเจตนาที่จะขอตาย อย่างสงบตามธรรมชาติ ไม่ต้องการให้มีการใช้เครื่องมือใดๆ กับข้าพเจ้า เพื่อยืดการตายออกไปโดยไม่จ� ำเป็นและ เป็นการสูญเปล่าเมื่อข้าพเจ้าตกอยู่ในวาระสุดท้ายของชีวิต หรือเมื่อข้าพเจ้าได้รับทุกข์ทรมานจากการบาดเจ็บหรือ โรคที่ไม่อาจรักษาให้หายได้ ข้าพเจ้าขอปฏิเสธการรักษาดังต่อไปนี้ (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ) การเจาะคอเพื่อใส่ท่อช่วยหายใจ รวมทั้งการถอดท่อช่วยหายใจ การใช้เครื่องช่วยหายใจ รวมทั้งหยุดเครื่องช่วยหายใจ (กรณีใส่ไว้แล้ว) การให้สารอาหารและน�้ำทางสายยาง รวมทั้งถอดสายยาง การเข้ารักษาในห้องไอ.ซี.ยู (I.C.U.) การกระตุ้นระบบไหลเวียน ขบวนการฟื้นชีพเมื่อหัวใจหยุด การรักษาโรคแทรกซ้อนด้วยยาหรือวิธีการรักษาใดๆ ข้าพเจ้ามีความประสงค์ที่จะได้รับการดูแลรักษาด้วยการดูแลรักษา เพื่อบรรเทาอาการทุกข์ทรมาน โดยขอให้ สถานพยาบาลหรือผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขอ�ำนวยความสะดวกตามความเหมาะสม ดังต่อไปนี้ ความประสงค์ที่จะเสียชีวิตที่บ้าน การเยียวยาทางจิตใจอื่นๆ (กรุณาระบุ เช่น การสวดมนต์, การเทศนาของนักบวช เป็นต้น) ข้าพเจ้าขอมอบหมายให้ (ชื่อ นามสกุล) .................................................................. ในฐานะบุคคลใกล้ชิด (ถ้ามี) เป็นผู้แสดงเจตนาแทน เพื่อท�ำหน้าที่ตัดสินใจตามความประสงค์ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ท� ำหนังสือ แสดงเจตนาต่อหน้าพยาน และท�ำส�ำเนาเอกสารมอบให้บุคคลใกล้ชิด และพยานเก็บรักษาไว้ เพื่อน�ำไปแสดง ต่อสถานพยาบาลเมื่อข้าพเจ้าถูกน�ำตัวเข้ารักษาในสถานพยาบาลในครั้งแรก ผู้แสดงเจตนา.................................................................... ลงชื่อ บุคคลใกล้ชิด..................................................................... ลงชื่อ พยาน................................................................................ ลงชื่อ พยาน................................................................................ ลงชื่อ บุคคลใกล้ชิดหรือญาติ ชื่อ-นามสกุล ....................................................................... บัตรประชาชนเลขที่ .................................................................. ที่อยู่ที่ติดต่อได้................................................................... .......................................................................................... เบอร์โทรศัพท์ ................................. เบอร์ที่ท�ำงาน ..................... หมายเหตุ* แบบฟอร์มนี้สามารถแก้ไขปรับปรุงได้ตามความเหมาะสม ทั้ ง นี้ ควรปรึ ก ษาแพทย์ พยาบาลหรื อ ผู ้ ที่ มี ค วามรู ้ ใ นเรื่ อ งนี้ และ เพื่อประโยชน์ในการท�ำความเข้าใจ กรุณาอ่านประกอบกับร่างกฎ กระทรวง ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการด�ำเนินการตามหนังสือแสดง เจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการ ตายในวาระสุดท้ายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

มมีโอกาสได้อ่านเอกสารการค้นคว้า ของนั ก วิ ช าการเรื่ อ ง “มรดกพุ ท ธ ศิ ล ป์ ส ถาปั ต ยกรรมวั ด พระบรมธาตุ นครศรี ธ รรมราช” โดย อาจารย์อิสรชัย บูรณะอรรจน์ และ ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ มหาวิ ทยาลั ย ศิ ล ปากร ที่ มุ ่ ง ท� ำ การศึ ก ษา และวิ จั ย รู ป แบบศิ ล ปสถาปั ต ยกรรรม โดยละเอี ย ด เพื่ อ ให้ ท ราบประวั ติ ศ าสตร์ การก่อสร้าง ท�ำให้เห็นความเป็นอัจฉริยภาพเด่ น ชั ด ขึ้ น ทั้ ง แนวคิ ด ทางด้ า นคติ ความเชื่อที่เป็นนามธรรม จนกลายเป็นสิ่ง ก่อสร้างที่เป็นรูปธรรมของบรรพบุรุษเรา จนแทบไม่มีเรื่องกังขาว่าวัดพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราชเหมาะสมที่จะเป็นสิ่งที่มี คุณค่าอันโดดเด่นของโลกได้หรือไม่ ส� ำ หรั บ แนวทางจั ด ท� ำ แผนบริ ห าร จัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดพระ มหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร จั ง หวั ด นครศรี ธรรมราช รศ.โรจน์ คุณอเนก นักวิชาการที่ ปรึกษาได้เสนอแนวทางด�ำเนินงานในเขต พื้นที่หลัก (Core Zone) และพื้นที่กันชน โดยรอบ (Buffer Zone) ซึ่งผมขอสรุปให้ เข้าใจง่าย ดังนี้ ก. ด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน ๑. ลดการใช้ประโยชน์ที่ดินในส่วนไม่จ�ำเป็นในพื้นที่ ศาสนสถาน ๒. ที่ดินรัฐและเอกชนในเขตนี้ให้เป็นที่ดินประเภท อนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรมไทยเป็นหลัก ใช้ประโยชน์เพื่อการหัตถกรรม การท่องเที่ยว การพาณิชย- กรรม การอยู่อาศัย ศาสนสถาน สถานศึกษา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค สาธารณูปการ นันทนาการ การ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมหรือสาธารณประโยชน์ เท่านั้น ข. ด้านอาคารและสภาพแวดล้อมในพื้นที่กันชน ๑. รักษาสภาพแวดล้อมโดยก�ำหนดความสูง สัดส่วน พื้นที่ว่าง (Open Space Ratio) ขนาด ลักษณะ แบบ รูปทรง ฯลฯ ของอาคารให้สอดคล้องและกลมกลืน หรือ ไม่ท�ำลายแหล่งโบราณสถานในพื้นที่ พิจารณาการใช้วัสดุ และสีของอาคารเพื่อสร้างบรรยากาศการเข้ามาถึงบริเวณ ส�ำคัญของเขตพื้นที่เมืองเก่า ๒. ออกเทศบัญญัติควบคุมอาคารในเขตนี้ไม่ให้สูง เกิน ๑๒ เมตร เพื่อไม่ให้บดบังหรือไปลดความเด่นขององค์ พระบรมธาตุ

www.nakhonforum.com

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๓

สมในลานภายในวัด โดยมีอุปกรณ์สาธารณูปโภคอ�ำนวย ความสะดวก เช่น โคมไฟ ม้านั่ง ถังขยะ ป้ายบอกทาง ฯลฯ ๔. จัดการตกแต่งภูมิทัศน์ให้ดูสวยงาม โดยใช้ต้นไม้ที่ ค�ำนึงถึงเรื่องราวในอดีตกาล เช่น ต้นตาล ต้นแก้ว เป็นต้น รวมทั้งอาจพิจารณาต้นไม้ที่เกี่ยวข้องกับพุทธประวัติ ๕. จัดการปรับปรุงศูนย์จ�ำหน่ายสินค้าพื้นเมืองภาย ในวัดให้มีรูปแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่น และจัดระเบียบ ร้านค้าให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ในลักษณะพึ่งพาอาศัยกัน ๖. จั ด การป้ า ยสื่ อ ต่ า งๆ ที่ ติ ด ตามก� ำ แพงวั ด หรื อ บริเวณอื่นๆ ในวัดไม่ให้เป็นมลภาวะทางสายตา หากจ�ำเป็น ต้องมีให้มีการพิจารณาออกแบบที่เหมาะสม (หมายเหตุ บางข้อผมได้เสริมเข้าไปเพิ่มเติม จากการเสนอในที่ประชุม และขอฝากภาพร่างการปรับปรุงทางเข้าเขตมรดกโลกทั้งจาก ลานจอดรถด้านหน้าและด้านหลังในมุมมองของผมครับ) ภาพจิ น ตนาการจากคณะท� ำ งานของส� ำ นั ก วิ ช า สถาปั ต ยกรรมศาสตร์ แ ละการออกแบบ มหาวิ ท ยาลั ย วลัยลักษณ์ ในงานออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในวัด พระบรมธาตุ ที่ น� ำ เสนอเมื่ อ ฉบั บ ที่ แ ล้ ว ต่ อ เนื่ อ งมาจนถึ ง ฉบับนี้ จะเห็นการที่จะพยายามยึดหลักเกณฑ์ของ UNESCO และการอยู่ร่วมกันกับวิถีชีวิตชุมชน โดยทางราชการได้ ตั้งงบประมาณด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องในด้านต่างๆ เช่น การเชิญนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญ การจัดท�ำเอกสารข้อมูล การปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในวัดและบริเวณข้างเคียง การจัด สร้างถนนพุทธภูมิมายังแหล่งมรดกโลก การปรับปรุงระบบ สายไฟฟ้าลงใต้ดิน ฯลฯ โดยได้รับการอนุมัติงบประมาณ จากรัฐบาลตั้งแต่ปี ๒๕๕๖ กว่า ๓๒๘ ล้านบาท (ดูราย ๓. ปรับปรุงระบบเสาไฟฟ้าและโทรคมนาคมฝังลง ละเอียดได้ที่กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ส�ำนัก ใต้ดิน เพื่อรักษาภูมิทัศน์ไม่ให้เกิดมลทัศน์ งานจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช) โดยสรุ ป ว่ า โครงการนี้ ไ ด้ เดินหน้าไปไกลชนิดว่าเกือบเห็นเส้นชัยแล้ว โดยเฉพาะ ค. ด้านระบบการจราจรและคมนาคมขนส่ง อย่างยิ่งในต้นปีหน้าที่มีการพิจารณาตัดสินจากกรรมการ ๑. ส่ ง เสริ ม ให้ มี ท างเดิ น เท้ า และสั ญ จรด้ ว ยยาน มรดกโลก ณ ประเทศฝรั่งเศส และเราได้รู้จักตัวเราเอง พาหนะที่มีมลภาวะน้อย เช่นรถจักรยาน เป็นต้น มากขึ้นในด้านต่างๆ มาตลอดเส้นทางที่ก�ำลังไปสู่มรดกโลก ๒. ลดปริมาณการจราจร และห้ามรถใหญ่ผ่านถนน ซึ่งถือว่าเป็นก�ำไรขั้นหนึ่งแล้ว ทุกด้านรอบวัด ซึ่งจะเป็นสาเหตุท�ำให้เกิดมลภาวะและเกิด ความเสียหายให้แก่โบราณสถานได้ ผมแทบไม่ต้องพูดต่อว่าเรามีการลงทุนขนาดนี้โดย ง. ลดการมีลานจอดรถขนาดใหญ่ในบริเวณพื้นที่หลัก ซึ่ง ความร่วมมือจากทุกฝ่าย แล้วใครจะได้ประโยชน์จากเรื่องนี้ อันดับแรกคงหนีไม่พ้นเจ้าบ้านคือจังหวัดนครศรีธรรมราช จะเป็นมลภาวะทางสายตา ที่คนจะเดินทางเข้ามาเพื่อการท่องเที่ยว การมาสักการะ จ.ด้านการพัฒนาภูมิทัศน์ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ การศึกษาประวัติศาสตร์วัฒนธรรม หรือการ ๑. ในเขตพื้นที่วัดจะมีการรื้อถอนหรือย้ายสิ่งก่อสร้าง ท� ำ ธุ ร กิ จ ล้ ว นแล้ ว จะสร้ า งรายได้ ใ ห้ ป ระชาชนมากขึ้ น ที่ไม่สอดคล้องกับบรรยากาศความเป็นของแท้ดั้งเดิมออก ส� ำ หรั บ ประเทศไทยก็ จ ะมี ชื่ อ แหล่ ง มรดกโลกเพิ่ ม ขึ้ น อี ก ไปไว้ในบริเวณที่เหมาะสม หนึ่งแห่งที่จะเป็นจุดสนใจของชาวต่างประเทศในการเดิน ๒. ลานภายในวัดให้ท�ำการปรับปรุงคืนสภาพของผืน ทางมา แต่สิ่งที่ได้มากกว่านั้นคือการได้ประกาศให้โลกรู้ว่า ทรายขนาดใหญ่ เพื่อให้เกิดบรรยากาศการตั้งอยู่ขององค์ นครศรีธรรมราชเป็นแหล่งอารยธรรมแห่งมนุษยชาติที่ชาว พระบรมธาตุเจดีย์บนหาดทรายแก้วตามต�ำนาน เมืองช่วยกันดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องจนทุกวันนี้ และขอให้ ๓. จัดท�ำทางเดินเท้าในต�ำแหน่งและขนาดที่เหมาะ ภูมิใจเถิดครับว่าท่านก็คือผู้หนึ่งที่มีส่วนช่วยดูแลเรื่องนี้


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

“ล่

องลอยไปตามลม ละอองเกสร อ่ อ นเยาว์ พื ช พรรณจากขุ น เขา เอ๋ยเจ้าเดินทางไกล... สุดแต่ลมจะพา เจ้ามุ่งหน้าไปทางใด ร่วงลงในพงไพร หรือเมืองใหญ่ที่ขอบฟ้า... แผ่ น ดิ น จะเลื อ กไม้ โอบกอดไว้ ใ น อ้อมแขน อบอุ่นดูแลแทน ให้ดื่มกินความ สมบูรณ์... เด็กเอยเจริญวัย เป็นไม้ใหญ่ให้ร่ม เงา แพร่พันธุ์สู่ขุนเขา หรือเมืองใหญ่ตาม สายลม” ธรรมชาติ . .ออกแบบตั ว เองตาม หน้าที่ หน้ า ที่ ข องธรรมชาติ . ...เพี ย งเพื่ อ ขยายเผ่าพันธุ์ตนนั้นให้ด�ำรงอยู่ต่อไป ต้นไม้ใหญ่บางต้นจึงติดปีกให้ลูก... หวังเจ้าบินไปไกลตามสายลม สู่แผ่นดินที่ เหมาะสมแก่การเติบโตของเจ้าต่อไป เช่นเดียวกันกับ “ปออีเก้ง” ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pterocymbium javanicum R.Br.

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ชื่อวงศ์ : STERCULIACEAE ชื่อเรียกอื่น : กระพงใหญ่ ปอขี้แฮด ปอกระด้าง ปอขี้ไก่ ปอขี้ลิ้น หมีค� ำราม ขี้หนอน ลักษณะ : ไม้ยืนต้นผลัดใบ สูงได้ถึง ๓๕ เมตร โคนต้นมักเป็นพูพอนต�่ำ เปลือก เรียบ มีรูระบายอากาศคล้ายแผลเป็นกระ จัดกระจายตลอดล�ำต้น ใบ เป็นใบเดี่ยว ขึ้นสลับกัน ตัวแผ่น ใบบางคล้ายแผ่นกระดาษ รูปไข่ขนาด ๘ ๑๑ x ๕ - ๘ ซม. โคนใบเว้าคล้ายรูปหัวใจ

กลีบรองกลีบดอกติดกัน คล้ายรูประฆัง เส้นผ่าศูนย์กลาง ๒.๕ ซม. เกสรผู้และ เกสรเมีย แยกอยู่คนละดอก ดอกเพศผู้มี เกสรผู้ที่ไม่มีก้าน ๘ - ๑๐ อัน ติดอยู่บน แกนยาว ดอกเพศเมียมีเกสรเมีย ๕ อัน ติดอยู่บนก้านส่งสั้นๆ ผล ค่อนข้างกลมรี ผิวเรียบ ติดอยู่ บนแกนซึ่งรองรับด้วยกลีบรองกลีบดอก ลักษณะคล้ายรูปเรือมีกระพุ้งยื่นยาวออก ไปประมาณ ๙ ซม. เป็นแผ่นบางคล้าย ปลายใบแหลมเป็นติ่ง เส้นแขนงใบ ๕ - ๗ แผ่นกระดาษ มีเพียง เมล็ดเดียว เส้น แยกออกจากจุดเดียวกันที่โคนใบ การกระจายพันธุ์ : พบขึ้นกระจาย ดอก เกิดบนช่อ มีกิ่งก้านสาขาสั้นๆ ทั่ ว ไปในป่ า ดิ บ แล้ ง ออกดอกเดื อ น กุมภาพันธ์-มีนาคม ประโยชน์ : เนื้อไม้ สีขาว เบา เนื้อ อ่อน นิยมใช้ท�ำกล่องก้านไม้ขีด และลัง ใส่ของ ถ้าใครอยากรู้จักต้นจริงๆ ของปอ อีเก้ง มาเที่ยวศูนย์วิทย์เมืองคอนนะคะ อยู ่ ติ ด กั บ เขาขุ น พนมยื น ตระหง่ า นอยู ่ หลายต้นเลยค่ะ

ชี้แจงประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจแก่ ผู้โดยสารและผู้ประกอบการรถตู้โดยสาร สาธารณะ โดยได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากผู ้ ประกอบการรถตู ้ โ ดยสารและผู ้ โ ดยสาร เป็นอย่างดี นับแต่นี้สถานีขนส่งผู้โดยสาร หัวอิฐ จะเป็นจุดเริ่มต้นและปลายทางของ รถทุกเส้นทาง ไม่มีรถตู้โดยสารที่ออกจาก สถานีขนส่งฯ แวะรับผู้โดยสารตามคิวที่เคย อยู่ในเขตเทศบาลอีกแล้ว ทั้งนี้เพื่อความ สะดวก รถขาเข้าสามารถวิ่งส่งผู้โดยสาร ตามจุดที่นัดหมายในเขตตัวเมืองได้

ผู ้ โ ดยสารสามารถใช้ บ ริ ก ารรถ โดยสารสาธารณะประจ�ำทางไปยังสถานี ขนส่งผู้โดยสารตลาดหัวอิฐได้หลายเส้น ทาง ได้แก่ รถสองแถวสายรามค�ำแหงนครฯ รถบั ส สายทุ ่ ง สง-นครฯ หรื อ รถ สายปากพนั ง -นครฯ โดยวิ่ ง ผ่ า นสี่ แ ยก หัวถนน ผ่านถนนราชด�ำเนิน เลี้ยวซ้ายที่ สี่ แ ยกตลาดแขก (ขึ้ น ป้ า ยบริ เ วณสนาม หน้าเมือง หรือสถานีต�ำรวจภูธรจังหวัดฯ ดีที่สุด) แล้วสิ้นสุดที่สถานีขนส่งผู้โดยสาร ตลาดหั ว อิ ฐ และอี ก เส้ น ทางคื อ รถสอง

อกกล่าวเน้นๆ ไว้ ณ ที่นี้ ส�ำหรับผู้ ที่เดินทางมาเที่ยวงานเทศกาลเดือน สิ บ ปี ๒๕๕๗ เพื่ อความสะดวก ความ คล่ อ งตั ว คนที่ ขั บ รถเที่ ย วคงไม่ เ ป็ น ไร คนเรี ย กบริ ก ารแท็ ก ซี่ ๐๗๕-๓๕๗๘๘๘ คงไม่เป็นไรเช่นกัน แต่ ค นที่ เ ดิ น ทางด้ ว ยรถโดยสาร ประจ� ำ ทางหรื อ รถตู ้ โ ดยสาร อยากแจ้ ง ว่า นับแต่วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ คิว รถตู้นครฯ - สุราษฎร์, นครฯ - ขนอม หรือคิวอื่นๆ รวม ๑๗ คิว ที่เคยกระจาย อยู ่ ต ามตรอกซอยในเขตเทศบาลนคร นครศรี ธ รรมราช ได้ ย ้ า ยไปอยู ่ ที่ ส ถานี ขนส่ ง ผู ้ โ ดยสารสาธารณะตลาดหั ว อิ ฐ อ.เมื อ ง เพื่ อ ความเป็ น ระเบี ย บ แก้ ไ ข ปั ญ หาการจราจร ลดอุ บั ติ เ หตุ และลด มลพิษทางอากาศและทางเสียง ปั จ จุ บั น ทางขนส่ ง จั ง หวั ด นครฯ ต� ำ รวจ สภ.เมื อ ง เทศบาล และทหาร จากมณฑลทหารบกที่ ๔๑ ได้ จั ด ก� ำ ลั ง เจ้ า หน้ า ที่ ค อยอ� ำ นวยความสะดวกและ

แถวเริ่ ม จากสี่ แ ยกหั ว ถนน ใช้ เ ส้ น ทาง ถนนพั ฒ นาการคู ข วาง ผ่ า นหน้ า ห้ า ง สรรพสิ น ค้ า โอเชี่ ย นโรบิ น สั น เลี้ ย วซ้ า ย สี่แยกพัฒนาการคูขวาง ผ่านสี่แยกท่าวัง สถานี ร ถไฟ ตลาดสดแม่ ส มจิ ต ร และ สิ้นสุดที่สถานีขนส่งผู้โดยสารหัวอิฐ จาก นั้นผู้โดยสารสามารถซื้อตั๋วโดยสารรถตู้ไป ยังจุดหมายปลายทางได้ตามความประสงค์ รูปจาก : NNT ส�ำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช หน้า

๑๕

อาจารย์แก้ว

ตอนที่ ๑ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ หรื อ Computer Network ในทางวิชาการ จะ หมายถึ ง การน� ำ คอมพิ ว เตอร์ ตั้ ง แต่ ส อง เครื่องขึ้นไปเชื่อมต่อกันโดยใช้สื่อกลางใน การเชื่อมต่อ ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมต่อผ่าน แบบไร้สาย (Wireless) หรือแบบมีสาย (Wired) โดยแต่ละคอมพิวเตอร์สามารถ สื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ นอกจากนี้ ยังรวมถึงการแบ่งปันทรัพยากรร่วมกัน ไม่ ว่าจะเป็น ดิสก์ ซีดีรอม เครื่องพิมพ์ หรือ แม้กระทั่งเครื่องสแกนเนอร์ เป็นต้น

ระบบเครือข่ายภายในบ้าน เดิ ม การท� ำ ระบบเครื อ ข่ า ยคอมพิวเตอร์ภายในบ้านหรือเรียกว่า Home Network อาจเป็ น เรื่ อ งยุ ่ ง ยาก และ ต้องใช้ช่างไอทีที่มีความรู้พอสมควร แต่ ปั จ จุ บั น กลั บ เป็ น เรื่ อ งง่ า ยๆ ที่ ห ลายๆ บ้านส่วนใหญ่มีการใช้งาน แต่อาจยังไม่ได้ ใช้ประโยชน์เต็มที่มากนัก ตัวอย่างระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เห็นว่ามีการใช้งาน อุปกรณ์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กันทั่วไป ก็คือ การเชื่อมต่อระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตตามบ้านด้วย Wi-Fi Router ห้องนอน แต่อยากได้ข้อมูลที่ส่งถึงกันได้ นั่นเอง ใช้งาน Wireless ภายในบ้าน จ� ำ เป็ น ไหมที่ ต ้ อ งสร้ า งระบบเครื อ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่จ�ำเป็นส�ำหรับระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ๑. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ๒. คอมพิ ว เตอร์ ก ระเป๋ า หิ้ ว หรื อ Notebook ๓. สมาร์ทโฟน หรือ แท็บเล็ต ๔. Modem Router (มีมาให้กรณีใช้ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงตามบ้าน) แนะน�ำ ว่าให้เลือกที่มีพอร์ตแลน เพื่อเชื่อมต่อกับ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะได้ และมี Wi-Fi ด้วย สื่อสารกันได้อย่างรวดเร็วทั่วโลก จะเห็นได้ว่า อุปกรณ์ในการติดตั้งระบบ ข่ายภายในบ้าน ในเวลาเพียงเสี้ยววินาที ระบบเครื อ ข่ า ยภายในบ้ า น จริ ง ๆ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ก็แทบไม่ต้องลงทุน แบ่ ง ปั น โอนย้ า ยข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น แล้ ว ถ้ า คุ ณ มี ก ารติ ด ตั้ ง อิ น เตอร์ เ น็ ต อะไรเพิ่ ม เติ ม เลย ถ้ า เรามี ก ารเลื อ กใช้ ดิจิตอลไฟล์ รองรับการแบ่งปันทรัพยากร เช่น ความเร็วสูงภายในบ้าน ก็ถือได้ว่า คุณมี บริการอินเตอร์เน็ต ระบบเครือข่ายภายในบ้านแล้ว เพียงถ้า เครื่องพิมพ์ ดิสก์ เป็นต้น คุณมีการเชื่อมต่อเข้าอินเตอร์เน็ต คุณก็ได้ วิธีการติตดั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยปกติ ท างบริ ษั ท ที่ ใ ห้ บ ริ ก าร เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตแล้ว รองรับการประชุมทางไกล แต่ถ้าคุณมีอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อมากกว่า อิ น เตอร์ เ น็ ต จะมี บ ริ ก ารติ ด ตั้ ง ให้ พ ร้ อ ม ประหยัดเวลาในการท�ำงาน รองรับการท�ำงานหลายๆ คน ใน หนึ่ง เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และโน๊ตบุ๊ค เสร็จสรรพแล้ว แต่อาจไม่รวมถึงการตั้งค่า เป็ น ต้ น นั่ น แหละคุ ณ มี ร ะบบเครื อ ข่ า ย การแบ่งปันการใช้งาน เครื่องพิมพ์ หรือ เวลาเดียวกัน ดิสก์ ทุกวันนี้เราก็ได้มีการใช้ระบบเครือ คอมพิวเตอร์เป็นของตนเองแล้ว ขออธิบายเพิ่มเติม เพื่อให้เข้าใจมาก ข่ายคอมพิวเตอร์กันแทบทุกวัน ไม่ว่าจะ เป็นการใช้งานอีเมล การสื่อสารผ่านสังคม ยิ่งขึ้น ถ้าคุณก�ำลังจะตัดสินใจว่า จะสร้าง อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อี ก หนึ่ ง สิ่ ง ที่ ค นสนใจงานทางด้ า น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในบ้านดีหรือไม่ ออนไลน์ เป็นต้น ลองมาดู เ หตุ ผ ลกั น สั ก นิ ด คอมพิวเตอร์ทุกคนจะต้องเรียนรู้ นั่นคือ ว่ า ที่ บ ้ า นของคุ ณ เข้ า ข่ า ย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพราะไม่ว่า ความต้องการแบบนี้หรือไม่ จะเป็ น ส� ำ นั ก งานไหน ก็ จ� ำ เป็ น จะต้ อ งมี มี ค อมพิ ว เตอร์ ใ ช้ ระบบเครือข่าย อย่างน้อยก็ใช้ส�ำหรับการ งานหลายเครื่อง ทั้งแบบตั้ง แบ่ ง ปั น ทรั พ ยากรร่ ว มกั น นั่ น หมายถึ ง ความประหยั ด ที่ ต ามมา นั่ น เอง ดั ง นั้ น โต๊ะ และ Notebook มี เ ค รื่ อ ง พิ ม พ ์ ที่ เราควรเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการเรี ย นรู ้ อุ ป กรณ์ อยากแบ่งปันการใช้งานได้ เครื อ ข่ า ยต่ า งๆ ว่ า มี อ ะไรบ้ า ง และใช้ บางครั้งก็ท�ำงานที่ ส�ำหรับท�ำอะไร การสร้างระบบเครือข่าย ห้องท�ำงาน บางครั้งก็ท�ำที่ คอมพิวเตอร์ อาจไม่จ�ำเป็นต้องลงทุนอะไร มากมาย ทั้งนี้ ขึ้นกับความต้องการของผู้ ใช้ หรือซอฟแวร์ที่เลือกน�ำมาใช้งาน และที่ ส�ำคัญ ราคาของอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย ปัจจุบัน ก็มีราคาถูกลงมากอีกด้วย

๑. ส า ย แ ล น (Network Cable) เป็ น อุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ การเชื่ อ มต่ อ สั ญ ญาณ ระหว่ า งคอมพิ ว เตอร์ ด้ ว ยกั น โดยปกติ ต าม ส� ำ นั ก งาน จะมี ก าร เชื่ อ มต่ อ ผ่ า นสายแลน เป็ น หลั ก เนื่ อ งจากมี ความเสถียรสูงกว่าการ เชื่อมต่อแบบไร้สาย ส�ำหรับรายละเอียด ของสายแลน จะอธิบายในหัวข้อถัดๆ ไป เพราะมีรายละเอียดค่อนข้างมาก ๒. เน็ตเวิร์คการ์ด (Network Card) เป็ น อุ ป กรณ์ ใ นการเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า ง คอมพิวเตอร์เข้ากับระบบ เครือข่าย โดยปกติ ถ้าเป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ จะมีเน็ตเวิร์คการ์ดที่ใช้ส�ำหรับ การเชื่อมต่อสายแลน แต่ถ้าเป็น Notebook ก็มีจะเป็นแบบไร้สาย หรือ Wireless นั่นเอง เน็ตเวิร์คดการ์ด จะมีชื่อย่อว่า NIC ซึ่งค�ำเต็มก็คือ Network Interface Card หรือบางคนก็เรียกสั้นๆ ว่าแลนการ์ด (LAN Card) ๓. สวิตซ์ หรือ ฮับ (Switch / Hub) สวิ ต ซ์ แ ละฮั บ เป็ น อุ ป กรณ์ ที่ มี ลั ก ษณะ เหมื อ นกั น สวิ ต ซ์ คื อ อุ ป กรณ์ ที่ เ ป็ น ตัวกลางในการส่งสัญญาณจากพอร์ตหนึ่ง ไปยังอีกพอร์ตหนึ่ง ท�ำให้สามารถท�ำงานพ ร้อมๆ กันได้หลายๆ เครื่อง ปัจจุบัน เรา นิยมใช้สวิตซ์เป็นหลัก เพราะมีความฉลาด กว่าฮับ ๔. เราท์เตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ ที่มีลักษณะคล้าย สวิตซ์และฮับ แต่มีความ ฉลาดกว่า เพราะมีการบริหารจัดการการ รับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ดีกว่า เพราะเราท์เตอร์สามารถเลือกเส้น ทางในการรับส่งข้อมูลที่ดีที่สุดได้ รวมทั้ง กรณีมีปัญหาเส้นทางการส่งข้อมูล สามารถ ที่จะเลือกเปลี่ยนเส้นทางได้เองอีกด้วย นอกจากนี้ การจะสร้างระบบเครือ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ใ นระดั บ องค์ ก ร จะมี ปั จ จั ย อื่ น ๆ ร่ ว มด้ ว ย เช่ น ระบบปฏิ บั ติ การส� ำ หรั บ เครื อ ข่ า ย (ท� ำ หน้ า ที่ บ ริ ห าร จัดการทรัพยากรและเครือข่าย ตัวอย่าง เช่น Windows 2xxx Server เป็นต้น) โปรโตคอล (มาตรฐานการสื่อสารในระบบ เครือข่าย ตัวอย่างโปรโตคอล IPX/SPX, TCP/IP เป็นต้น) (อ่านต่อฉบับหน้า)


หน้า ๑๖

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

Tarzanboy

คยเดินป่ากลางคืนมั้ยครับ ...นี่อาจจะ ไม่ ใ ช่ ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว นั ก เดิ น ป่ า หรื อ คนนิ ย มธรรมชาติ สุ ด ขั้ ว แต่ ส� ำหรั บ พรานป่าอย่างเรา มันคือส่วนหนึ่งของวิชา พราน ครับ ! ถ้าจะให้ถึงขั้นและยอมรับกัน ว่าคุณน่ะลูกป่า และสามารถเรียกตัวเองได้ ว่า พราน! การนั่งห้าง การเดินป่ากลางคืน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “เพียงคนเดียวล�ำพัง” นั้น เป็นด่านทดสอบที่จ�ำเป็นอย่างยิ่ง แน่นอนครับ ความกลัวคือแรงเสียด ทานที่มหาศาลที่สุด และถ้าจะวิเคราะห์ กั น ให้ ลึ ก นั่ น แหละคื อ เป้ า หมายส� ำ คั ญ ยิ่ง เราจ�ำเป็นต้องขจัดความกลัวด้วยการ เผชิญหน้า แต่หากว่าเรากลัวที่จะกล้าซะ แล้ว ความกลัวของจริงก็จะฆ่าเราได้ง่ายๆ

ผมเคยสงสั ย เรื่ อ งนี้ จึ ง เคยถามครู พ ราน ว่า “ท�ำอย่างไรถึงจะกล้าเดินป่ากลางคืน ...แล้วผลมันจะเป็นอย่างไร” หลายท่าน ไม่ตอบประโยคแรกครับ แต่ให้ค�ำตอบที่ อาจจะไม่ ใ ช่ ค� ำ ตอบส� ำ หรั บ ประโยคหลั ง นั่นคือ...เราจะหลุดไปเลย...ผมวิเคราะห์ ประโยคนี้ อ ยู ่ ห ลายปี จนกระทั่ ง วั น หนึ่ ง ผมก็ ไ ด้ มี โ อกาส ยื น อยู ่ ค นละฟากกั บ

กลิ่นและเสียง และ เมื่ อ ยื น ท่ า มกลาง ป่าอันมืดสนิท เรา กลั บ เห็ น ป่ า สว่ า ง จ้ า ราวกั บ อยู ่ ใ น จินตนาของผู้สร้าง หนัง “อวตาร”

ดวงตะวัน แน่นอน ! เพียงล�ำพังในดงลึก ต้นไม้หายใจออกเป็นคาร์บอน โดย เฉพาะตอนกลางคืน จะท�ำให้เราหายใจ ไม่สะดวก สัตว์ร้ายต่างๆ จะออกหากิน ภู ต ผี นั้ น เล่ า อาจจะแอบยื น ยิ้ ม ในเงามื ด ...แต่ วั น นั้ น ผมข� ำ อยู ่ ค นเดี ย ว เพราะค้ น พบว่ า อากาศตอนกลางคื น หายใจ สด สะอาด กว่ากลางวันเกือบห้าเท่า ประสาท สั ม ผั ส ทุ ก ส่ ว นตื่ น พร้ อ มและสดชื่ น ยิ่ ง สิ ง สาราสั ต ว์ พู ด คุ ย และทั ก ทายกั น ด้ ว ย

ผมชอบเดิ น ป่ า กลางคื น ครั บ ... สามารถเดินได้จนถึงสว่าง เคยอยู่บนผา เหยียบเมฆคนเดียวทั้งวันทั้งคืน เคยเดิน ภาพโดย : Palm Pulin ย่องไปยืนยิ้มในเงามืดป่าสันเย็น เคยเดิน จากน�้ำตกอ้ายเขียวถึงหนานระฟ้าโดยใช้ มั น จะมาเมื่ อ ฟ้ า มื ด สนิ ท ครั บ และ เวลาเพียงชั่วโมงครึ่ง จริงๆ แอบนั่งนับดาว อาจจะกล่ า วได้ ว ่ า เมื่ อ ใดที่ ค วามมื ด เข้ า ระหว่างทาง ๑๕ นาที และอีกหลายๆ ครั้ง ครอบง�ำ ตัง้ สติให้ดีครับ เพราะว่าแสงสว่าง ที่ผม...หลุดไปจากบางสิ่ง ! เล็กๆ แห่งหนทางจะกระจ่างให้เห็น อันนี้ “เห็ดเรืองแสง” ครับ มีมากใน ป่าดิบชื้น หรือจริงๆ ก็มีทุกป่านั่นแหละ


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

แต่ ด ้ ว ยความชื้ น ของป่ า เห็ ด ราเหล่ า นี้ จึงงอกงาม มันเรืองแสงสว่างไปทั่วครับ บางชนิดอาจจะอยู่ในรูปทรงเห็ดอย่างที่ เห็น บางชนิดจะอยู่ในรูปเชื้อราบางๆ ฉาบ ผิวของใบไม้ ขอนไม้ ...อย่าเปิดไฟฉายดู ล่ะครับ เพราะเราจะเห็นแค่ใบไม้ธรรมดา เท่านั้น บอกตรงๆ ว่า ผมไม่ได้แนะน�ำให้ นักเดินป่าดูหรือเดินหาเห็ดเหล่านี้ทุกครั้ง ไปหรอกครั บ ทั้ ง ๆ ที่ มั น มี อ ยู ่ ทุ ก ที่ ทุ ก คื น หรื อ บางครั้ ง มั น สว่ า งโร่ อ ยู ่ ใ ต้ เ ปล ซะงั้ น คงเพราะส่ ว นใหญ่ ก ลั ว ความมื ด หรือมีกิจกรรมเฮฮา หรือหมดแรงหลับไป ตั้งแต่หลังอาหารเย็น โอกาสเห็นจึงน้อย ลงไป ลองดูนะครับ เมื่อฟ้ามืดสนิท วาง ความกลัวใส่เปลไว้ก่อน ออกไปเดินทอด น่องรอบๆ แค้มป์ คุณจะพบว่า ยิ่งมืดสนิท เท่าใด ความสว่างที่สัมผัสตาเราก็จะมาก ขึ้นเท่านั้น และเมื่อม่านตาเราปรับเข้ากับ สิ่งนี้ได้แล้ว ...ป่าทั้งป่าจะสว่างไสว...ความ กลั ว ต่ า งๆ ของเราจะลดหายลงไป มิ ติ ของภาพขาวด� ำ ก็ จ ะแบ่ ง เฉดสี ชั ด ลึ ก ชั ด ตื้ น มองทะลุ เ ห็ น เส้ น ทางหรื อ อะไร ต่างๆ ได้อย่างอัศจรรย์ ส่วนที่ส�ำคัญสุด ก็คือ เจ้าเชื้อราหรือเห็ดเรืองแสงเหล่านี้ แหละครับ พรานป่าหลายคน ใช้ทักษะนี้ ส�ำหรับการเดินป่ากลางคืน แม้การมอง เห็นอาจจะใช้ หู ใช้กลิ่น หรือการสัมผัส ร่วมด้วย ...แต่แสงสว่างเพียงน้อยก็จ�ำเป็น อย่างยิ่ง บ่ อ ยครั้ ง ในสงครามชี วิ ต ของเรา ฟ้ามักมืดสนิทจนไร้ซึ่งหนทาง ปล่อยให้ มั น มื ด ตามธรรมชาติ ข องมั น เถอะครั บ เพราะแสงสว่างเล็กๆ จะชัดเจนยิ่งขึ้น ...อย่าให้มืดเพราะเราไม่เคยลืมตามอง !

ปากพญา ทางตอนเหนือของ ปากนคร ไม่ไกลจากตัวเมือง แหล่งอาหารทางทะเลที่วิเศษสุด แค่ล่องเรือออกไปห่างจากปากน�้ำแค่ไม่กี่ร้อยเมตร เราก็สัมผัสได้ถึงความอุดมสมบูรณ์ ปลาโลมาฝูงใหญ่ รวมถึงโลมาสีชมพูก็รอต้อนรับเราอยู่ทุกเช้า มุมมองจากปากน�้ำเห็นเทือกเขาหลวงสูงใหญ่เป็นหลังคาปักษ์ใต้ อยู่หลังตัวเมืองนครศรีอย่างชัดเจน อีกทั้งวิถีชีวิตคนบ้านปากพญาสงบเรียบง่าย น่าสัมผัสและน่าอิจฉา


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นภสร มีบุญ

โอ

ลั่ ล ล้ า ฉบั บ นี้ ขอพาแฟนคลั บ เปลี่ ย นบรรยากาศมาสั ม ผั ส กั บ กิ จ กรรมดี ดี อี ก หนึ่ ง กิ จ กรรมที่ จั ด กั น มา อย่างต่อเนื่อง จากอีกหนึ่งความคิดของคุณ วาริน ชิณวงศ์ (คุณน�้ำ) ประธานหอการค้า จังหวัดนครศรีธรรมราช และทีมงานกับการ ใช้ชื่องานแบบตรงใจ “สุดยอดของหรอย” การออกบูธร้านอาหารอร่อยของคนเมือง คอน ซึ่งภายในงานจะมีร้านค้ามากมายทั้ง ร้านอาหารชื่อดัง และร้านอาหารน้องใหม่

เพื่อเพิ่มความหลากหลายให้กับผู้ที่มาเที่ยว ชมงาน ได้ เ ลื อกสรรอาหารอร่อยถูก ปาก ตามสไตล์ ข องแต่ ล ะคน .. นอกจากนี้ ยั ง มีสินค้าชื่อดังที่อยู่คู่เมืองคอนมาเนิ่นนาน

นั่นคือ รังนกแท้จากอ�ำเภอปากพนัง แหล่ง ก� ำ เนิ ด รั ง นกเลื่ อ งชื่ อ แต่ ร าคาสุ ด พิ เ ศษ ให้ กั บ ผู ้ บ ริ โ ภคจริ ง ๆ บอกได้เลยว่าขายดี ตั้งแต่คืนแรกจนถึงคืนสุดท้าย ..ส� ำ หรั บ ความบั น เทิ ง ภาคกลางคื น ก็ ยั ง มี ใ ห้ ช มกั น ไม่ ซ�้ ำ รู ป แบบ ไม่ ว ่ า จะ เป็ น คอนเสิ ร ์ ต จั ด เต็ ม จากศิ ล ปิ น ดั ง ป้ า ง นครินทร์ กิ่งศักดิ์ หรือ ศิลปินมโนราห์สุด ฮอตของชาวปั ก ษ์ ใ ต้ มโนราห์ ไ ข่ เ หลี้ ย ม แบบเต็มวง ซึ่งทุกท่าที่จัดมาล้วนตื่นตาตื่น ใจคนชม หรือจะเป็นการเปิดโอกาสให้กับ

น้องๆ นักเรียนนักศึกษา .. กับเวทีที่จัดให้ ทั้งได้ร้อง ทั้งได้เต้น ทั้งจัดเต็มในทุกรูปแบบ การแสดงตามมาด้วยการประกวด “มีสนี้.. มี ข องหรอย” ที่ เ รี ย กได้ ทั้ ง เสี ย งฮากั น ได้ ตลอดคืนจนขากรรไกรแทบค้าง ถูกอกถูกใจ ทั้งกองเชียร์ทั้งผู้เข้าประกวดเอง และปิด ท้ายรายการด้วยการประกวด “มีสสุดยอด ของหรอย” .. สาวสวยแต่ละนางเรียกว่าสูสี กั น จนท� ำ เอากรรมการแอบหนั ก ใจ และ ท้ายที่สุด ถึงแม้ว่าการจัดงานครั้งนี้ต้องมี เหตุ เ ลื่ อ นมาจนเจอฝน แต่ ต ้ อ งขอชื่ น ชม

และต้ อ งยอมเทใจให้ กั บ ผู ้ มี ส ่ ว นร่ ว มใน การจั ด งานครั้ ง นี้ ทุ ก ท่ า น สปอนเซอร์ ทุกราย บูธอาหารทุกร้าน ศิลปินทุกแขนง ที่สลับสับเปลี่ยนกันมาสร้างความสุขให้กับ ผู้ชมบนเวที และขอบคุณพ่อแม่พี่น้องทุก ท่านที่เข้ามาเที่ยวชมงานสุดยอดของหรอย ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ทุกท่าน .. งานจะดีถ้าไม่มี คนชมก็ ไม่ประสบความส� ำ เร็จ ปีห น้าหอ การค้าจังหวัดสัญญากันไว้เลยค่ะว่า จะจัด ให้ยิ่งใหญ่กว่าปีนี้อีกเท่าตัว..แล้วปีหน้าเจอ กันใหม่นะคะ พบกันฉบับหน้าค่ะ บ๊าย บาย

ด�ำเนินการโดย..บริษัท เอส.พี.เอ.คอมพิวเตอร์ จ�ำกัด และ บริษัท เพชรไพลิน ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของนักธุรกิจรุ่นใหม่ ติดต่อเช่าพื้นที่ โทร.082-2922437 (คาดว่าจะแล้วเสร็จราวกลางปี 2556)


ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

ป้าย Lost Kingdoms ด้านในพิพิธภัณฑ์ The Metropolitan Museum of Art นครนิวยอร์ค

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

พราหมณ์และอินเดีย มีหลักฐานการส่ง ราชทูตสู่ราชส�ำนักราชวงศ์ถังในปี พ.ศ. ๑๑๕๙ และมีหลักฐานความรุ่งเรืองใน

พระพุ ท ธศาสนาร่ ว มสมั ย กั บ ทวารวดี ก่ อ นที่ จ ะเข้ า ร่ ว มในจั ก รวรรดิ ศ รี วิ ชั ย ใน ฐานะศู น ย์ ก ลางของอาณาบริ เ วณผ่ า น ความร่วมมือทางการค้าในพุทธศตวรรษ ที่ ๑๔ ก่อนที่จะสืบสานเป็นเมืองนครศรีธรรมราชที่รุ่งเรืองในพุทธศตวรรษที่ ๑๘” ส่วนรอยเมืองนครและตามพรลิงค์ อื่นที่ผมได้ในการไปคราวนี้ มาจากร้าน หนั ง สื อ เก่ า ที่ ว ่ า กั น ว่ า ใหญ่ ที่ สุ ด ในโลก คือ ร้านหนังสือสแตรนด์ (Strand) เล่ม แรก The Geography ของ Claudius Ptolemy ที่ถือเป็นต�ำราภูมิศาสตร์โลก เล่มแรกเมื่อราวๆ พ.ศ.๗๐๐ ที่มีบทว่า ด้วยแหลมทองที่หลายคนระบุว่ามีเมือง นครและแม่น�้ำปากพนังด้วย อีกเล่มเป็น หนังสือของ Jared Diamond ที่กล่าว กั น ว่ า ลั่ น วงการประพั น ธ์ แ ละแวดวง ประวัติศาสตร์โบราณคดี เพราะผู้เขียน ซึ่งเป็นนักภูมิศาสตร์น�ำมาร้อยเรียงเรื่อง ราวอย่ า งน่ า อ่ า นจนได้ รั บ รางวั ล พู ลิ ต เซอร์ (Guns, Germs, and Steel) และ กลายเป็นหนังสืออ่านประกอบการเรียน วิ ช าประวั ติ ศ าสตร์ อ ารยธรรมโลกใน

หน้า ๑๙

หลายมหาวิทยาลัยชั้นน�ำ น้องนักการทูต ในกระทรวงการต่างประเทศที่ไปด้วยบอก ว่า ตอนมาเรียนที่มหาวิทยาลัยโคลอมเบีย ในนิวยอร์คก็อ่านเล่มนี้ โดยผมเลือกเอา อีกเล่มของเขา ชื่อ COLLAPSE : How Societies Choose to Fail or Succeed ที่ช�ำแหละว่าแต่ละชุมชนหรืออาณาจักรล่ม สลายจนสาบสูญ (หรือรอด) กันอย่างไร เล่มที่สามชื่อ From Ruins of Empire : The Intellectuals Who Remade Asia เขีย นโดย Pankaj Mishra คอลั ม นิ ส ต์ ในหนังสือพิมพ์นิวยอร์คไทมส์ชาวอินเดีย ในอเมริกาที่ว่าด้วยการฟื้นคืนเอเซียของ ปัญญาชนรุ่นแรกอย่างมหาตมะคานธี ระ พิ น ทรนาถ ฐากู ร มุ ส ตาฟา เคมาล ซุ น ยัตเซ็น จนกระทั่ง โฮจิมินห์ เหมาเจ๋อตง และ อยาโตลา โคไมนี และเล่มบันทึกการ มาตะวันออกของบาทหลวงชาวโปรตุเกส เมนเดส ปินโต (The Travels of Mendes Pinto) ที่มาวนเวียนอยู่ในเมืองไทยระยะ หนึ่ง โดยเล่มแรกและท้าย มีเกี่ยวกับเมือง นครอย่างน่าสนใจมาก ส่วนสองเล่มกลาง นั้น ผมถือเป็นเล่มเอามาเรียนรู้บทเรียน

ของการสาบสูญและอาจจะสาบสูญ รวม ทั้งบทเรียนของการฟื้นคืนและเพื่อการฟื้น คืนของเมืองนคร (และประเทศไทย) ใน จังหวะโอกาสอย่างนี้ Jared Diamond เกริ่มน�ำไว้ว่า ส่ ว นใหญ่ ข องเหตุ แ ห่ ง การสาบสู ญ ใน อดีตล้วนมาจากปัญหาทางนิเวศวิทยา ๘ ประการหลั ก คื อ การท� ำ ลายป่ า และตั้ ง ถิ่ น ฐาน, ปั ญ หาความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข อง แผ่นดิน, ปัญหาการจัดการน�้ำ, การล่าสัตว์ เกิน, การประมงเกิน, การน�ำพันธุ์พืชและ สัตว์แปลกปลอมเข้ามา, การมีประชากร มากเกิ น และ การเพิ่ ม ผลกระทบต่ อ ประชากรแต่ละคน (per capita impact) โดยมีอีก ๔ เหตุร่วมสมัยเข้ามาเพิ่ม คือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงจากมนุษย์, มลภาวะจากพิ ษ สารเคมี ใ นสิ่ ง แวดล้ อ ม, การขาดแคลนพลังงาน และ การใช้พลัง แสงสั ง เคราะห์ จ นหมดสิ้ น โดยชี้ ว ่ า โดย ส่วนใหญ่มีลักษณะร่วมคือการมีประชาชน มากขึ้ น จนต้ อ งเร่ ง การผลิ ต มี ภ าวะขาด อาหาร อดอยาก การรบของคนที่มากขึ้น แต่ทรัพยากรน้อยลงจนถึงขั้นการล้มล้าง

ชนชั้ น ผู ้ ป กครอง พร้ อ มกั บ ทิ้ ง ท้ า ยไว้ ว ่ า เทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย ของมนุ ษ ย์ จ ะสามารถ แก้ปัญหาเหล่านี้หรือว่าสร้าง ปั ญ หาใหม่ ที่ ยุ ่ ง ยากเพิ่ ม เข้ า มาอี ก ในขณะที่ PanKaj Mishra ชี้ว่าโลกตะวันออกมี หลักน่าสนใจในการฟื้นคืนยิ่ง กว่าโลกตะวันตก ๓ ประการ คื อ ความลุ ่ ม ลึ ก ทางจิ ต และ ปั ญ ญาที่ มี พื้ น ฐานด้ า นศาสนาที่ สู ง ส่ ง กว่า, ความสามารถแห่งวิถีวัฒนธรรมใน การปรับและพัฒนาตนเองได้ และ ความ มุ่งมั่นของสามัญชนในการลุกขึ้นสู้ ซึ่งผม ยังไม่รู้ว่าทั้งที่เมืองนคร - ตามพรลิงค์ หรือ ในประเทศไทย จะลงเอยอย่างไร ล้มและสาบสูญสิ้น หรือว่าจะฟื้นคืนได้ ทันเวลา ? ฉบั บ หน้ า จะเล่ า เรื่ อ งแผนที่ เ มื อ ง นครเกื อ บ ๒,๐๐๐ ปี กั บ บั น ทึ ก ของ บาทหลวงที่เรือสินค้ามาถูกปล้นจนแทบ ทิ้ ง ชี วิ ต ไว้ ที่ ห น้ า อ่ า วเมื่ อ เดื อ นเมษายน ปี พ.ศ.๒๐๘๓ เหลือรอดเพียง ๒ คน แล้ ว ยั ง สามารถตั้ ง ที ม ออกเรื อ ตามล่ า ล้างแค้นกันได้ที่นิงโปในเมืองจีน เฉพาะ ในเมื อ งนครนั้ น มี ถึ ง ๓ ตอน ว่ า ด้ ว ย พิ บั ติ ใ นอ่ า วเมื อ งนคร คุ ณ ผู ้ ห ญิ ง แห่ ง ท้องทะเล และ ค� ำสาบานการแก้แค้น โอกาสหน้าจะเล่าให้ฟังครับ. ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๗


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๖ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.