แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice)

Page 1

สามารถสร้างประสบการณ์ตรงให้ผู้เรียนได้อย่างเป็นรูปธรรมไม่ว่าจะเป็นการพับกลีบ

งานการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร กระบวนการสร้างความรู้ เรื่อง การร้อยมาลัย ของสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร …………………………………………….......... เจ้าของผลงาน อาจารย์นิอร ดาวเจริญพร สังกัด อาจารย์ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ประเด็นความรู้ 1. วิธีการถ่ายทอดความรู้ โดยผู้สอนนั้นทาการสอนทาให้ผู้เรียนได้เข้าใจเนื้อหาขั้นตอนที่ชัดเจนที่สุด
การร้อย การกรอง ตามชนิด ของดอกไม้ที่ใช้ จนผู้เรียน เกิดความชานาญมีทักษะที่สามารถประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการ ออกแบบ รูปแบบของมาลัยให้หลากหลายมากขึ้น 2. คุณสมบัติของผู้สอน ผู้สอนเป็นบุคคลที่มีบทบาสาคัญในการควบคุมกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ เกิดความแม่นยาและเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเนื้อหาที่ได้เรียนรู้ 3. การให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของงานมาลัย การที่ผู้เรียนมีความตระหนักหรือรับรู้ถึง ความสาคัญ คุณค่าของงานมาลัย ทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกแรงจูงใจ การเข้าใจประสบการณ์และทักษะการร้อย มาลัย 4. การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเรียนการสอน การประยุกต์งานมาลัยให้มีความหลากหลายด้าน เทคนิคการร้อยมาลัย การใช้วัสดุที่หลากหลายมากขึ้น การประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความเป็นมา รายวิชาการร้อยมาลัยเป็นรายวิชาที่อยู่ในหลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ประยุกต์ ซึ่งปัจจุบันได้ดาเนินการปรับปรุงเนื้อหารายวิชารูปแบบการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนวิชาการร้อย มาลัยให้เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน เช่น ผู้เรียน สภาพสังคมเศรษฐกิจ ค่านิยม ความเชื่อ เทคโนโลยีนวัตกรรม เป็นต้น การจัดการเรียนการสอนของผู้สอนต้องมีการปรับเปลี่ยนและ พัฒนาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นทักษะให้ผู้เรียนรู้สึกท้าทายความสามารถ เน้นกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เน้นการเรียนแบบปฏิบัติ มีการเชื่อมโยงความรู้หรือแลกเปลี่ยน แนวปฏบตทด Good Practice)

มีประสบการณ์ความเชี่ยวชาญในวิชาการร้อยมาลัยเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนต่อไป

และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ซึ่งเป็นการเตรียมผู้เรียนในการเรียนต่อไปในชั้นสูงขึ้น เกิด การเพิ่มโอกาสการทางานในอนาคต การเพิ่มมูลค่าและการสร้างความเข้มแข็งให้กับประเทศด้านเศรษฐกิจได้ และ

และการฝึก

2. อาจารย์ผู้สอนรวมกันคิดพัฒนาสร้างความรู้ให้สอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

3. อาจารย์ผู้สอนถ่ายทอดความรู้ที่ถูกต้องตามความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทยและ การนาไปใช้งานได้อย่างเหมาะสม

4. อาจารย์ผู้สอนมีความมุ่งมั่นในการพยายามดารงรักษาและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม

งานการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร ความรู้กับชุมชนและสังคม สร้างโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงสื่อเทคโนโลยี เครื่องมือ และแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ผู้วิจัย จึงได้ดาเนินการวิจัยภายในโจทย์วิจัยเพื่อศึกษากระบวนการสร้างความรู้ เรื่องการร้อยมาลัยของสาขาวิชาคหกรรม ศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
วิธีดาเนินการ 1. ผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วย อาจารย์ และนักศึกษา และศิษย์เก่า สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ประยุกต์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2. เครื่องมือการวิจัย ผู้วิจัยได้เลือกวิธีการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ (informal interview) โดยใช้วิธี สัมภาษณ์พูดคุยกับผู้ให้ข้อมูลหลัก ควบคู่กับการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยมีสมุดจดบันทึกและอุปกรณ์บันทึกเสียง กลุ่มผู้ให้ข้อมูล โดยเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้วิธีพรรณนาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามโครงสร้างคาถาม ผลสัมฤทธิ์ แนวปฏิบัติที่ดีเรื่องการสร้างความรู้ เรื่อง การร้อยมาลัย ของสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ประยุกต์ คณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผู้ให้ข้อมูลหลักมีกระบวนการสร้าความรู้ เรื่อง การร้อยมาลัย ให้คงอยู่จากอดีตจนถึงปัจจุบันเพื่อให้งานมาลัยดารงอัตลักษณ์ของการประดิษฐ์งานศิลปะ ดอกไม้แบบไทย กรรมวิธีการผลิตมาลัย การคงไว้ซึ่งรูปแบบดั้งเดิม ประโยชน์และการนาใปใช้ที่เหมาะสม ประกอบด้วยวิธีการถ่ายทอดความรู้ คุณสมบัติของผู้สอน การให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของงาน มาลัย และการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเรียนการสอน ผู้เรียนสามารถนาองค์ความรู้ในการร้อยมาลัยไป
ได้ การจัดการเรียนรู้จาเป็นต้องบูรณาการทั้งศาสตร์ต่างๆ และบูรณาการการ เรียนในห้องเรียนและชีวิตจริง ทาให้การเรียนนั้นมีความหมายต่อผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะเห็นประโยชน์ คุณค่าของการ เรียน
แนวปฏิบัติที่ดีสามารถการเป็นแบบอย่างที่ดีให้ กับรายวิชาอื่นๆ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอน สร้างและเผยแพร่ รวมถึงการอนุรักษ์ให้ดารงอยู่ต่อไป ปัจจัยความสาเร็จ 1. การจัดการเรียนการสอนอาจารยผู้สอนต้องมีการปรับเปลี่ยนโดยใช้ประสบการณ์ตรง
ปฏิบัติจริง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร และเก็บข้อมูลจากผู้ที่
ประยุกต์หรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่างๆ
งานการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.