Long Nan October-November 2013

Page 1

จุลสารล่องน่าน

จุลสารล่องน่าน | Long Nan Booklet จุลสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมในชุมชนเมืองน่าน

แจกฟรี | ฉบับที่ 3 | ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556

แอ่วผ่อเฮือนมะเก่าจาวน่าน

FREE ฟ้อนล่องน่าน แข่งเรือเมืองน่าน COPY ศิลปะแห่งอวัจนภาษา เทศกาลแข่งเรืออันลือเลื่อง OCT-NOV 2013

การประดิษฐ์

ต้นกุ่ม

ผ่อโคมยี่เป็ง และบอกไฟดอกเมืองน่าน


เดือนตุลาคมเป็นเดือนที่มีความหมายกับเมืองไทยเป็นอย่างมาก เหตุการณ์สำ� คัญในอดีตมักบังเอิญเกิด ขึ้นในเดือนนี้ แต่ส�ำหรับเมืองน่าน ตุลาคมเป็นช่วงเดือนที่มีความหมายไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน การแข่งเรือ ประเพณีไม่ใช่เรื่องบังเอิญ แต่เป็นเทศกาลประเพณีที่คนเมืองนี้ต่างเฝ้ารออย่างใจจดใจจ่อ เมืองทั้งเมืองหรือ อาจเรียกได้วา่ จังหวัดทัง้ จังหวัดอยูใ่ นบรรยากาศของเทศกาลแข่งเรือ ซึง่ ถือว่าเป็นงานประเพณีแข่งเรือทีใ่ หญ่ ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย ความเป็นพิเศษสุดของจังหวัดน่านยังมีอีกหลายอย่างที่คนทั่วไปรู้จักกันดี เช่น วัดภูมินทร์ที่โบสถ์และวิหารเป็นอาคารหลังเดียวกันภายใต้ผังจตุรมุข บ่อเกลือสินเธาว์ภูเขา ที่อ�ำเภอบ่อเกลือ หรือชมภูพูคา ดอกไม้ช่อตั้งสีชมพูที่ดอยภูคา สิ่งดึงดูดความสนใจเหล่านี้ชักชวนให้นักท่องเที่ยวแวะเวียนมาที่ จังหวัดน่านเป็นจ�ำนวนมาก และมากขึน้ เรือ่ ยๆ ทุกปี แต่นา่ นยังมีเรือ่ งราว และสิง่ ดึงดูดทีน่ า่ สนใจอีกเป็นจ�ำนวน มากทีร่ อให้ผมู้ าเยือน หรือแม้แต่คนน่านรุน่ ใหม่เองได้ลองค้นหา เช่น พระประธานของวัดหัวข่วงทีป่ ระดิษฐาน เอียงไปทางด้านซ้ายของตัววิหาร เพื่อไม่ให้ประจันหน้ากับพระประธานของวัดภูมินทร์ แสงกับเงาจันทร์ ทีส่ าดส่องผ่านเข้ามาในแต่ละช่วงเสาของวิหารวัดช้างค�ำ้ ท�ำให้พระพักตร์ของพระประธานแย้มพระสรวลมาก ขึ้นเมื่อยิ่งเดินเข้าไปใกล้ หรือการล่องเรือในล�ำน�้ำน่านดูการตกคั้ง เหล่านี้เป็นตัวอย่างอันน้อยนิดของสิ่งซ่อน เร้น ที่ผู้มาเยือนเพียงประเดี๋ยวประด๋าวอาจไม่ได้สัมผัส แต่รอให้ผู้ที่สนใจอย่างลึกซึ้งได้ลองค้นหาด้วยตนเอง นี่คือสาเหตุที่น่านยังคงเป็นสถานที่แห่งมนต์เสน่ห์ไม่เสื่อมคลาย มาร่วมค้นหามนต์เสน่ห์เหล่านั้นได้ในล่องน่านทุกฉบับครับ ณวิทย์ อ่องแสวงชัย | บรรณาธิการบริหาร

สัญลักษณ์ได้รบั แรงบันดาลใจมาจากตัวอักษรพืน้ เมือง ที่อ่านว่า “น่าน” ( ) ภายใต้กรอบรูปทรงวงรีหลายโค้ง อันไม่สมมาตร ซึ่งแสดงถึงการหลอมรวมกันของผู้คน และ ศิลปวัฒนธรรม จนเป็นเนื้อเดียวกัน ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เมืองน่าน กรอบรูปนั้นจึงไม่ใช่วงรี วงกลม หรือสี่เหลี่ยมพื้น ฐานที่พบเห็นได้ทั่วไป ชือ่ “ล่องน่าน” สือ่ ความถึง ความผูกพันกับสายน�ำ้ น่าน ของคนน่าน และยังเป็นที่มาของฟ้อนล่องน่าน ซึ่งเป็นศิลปะ การแสดงดัง้ เดิมของเมืองน่าน “ล่องน่าน” ยังให้นยั ยะถึง การ เข้ามาค้นหาความน่าตืน่ ตาตืน่ ใจในศิลปวัฒนธรรม ทีผ่ า่ นการ สืบทอดมาอย่างยาวนานได้อย่างไม่รู้จบจากผู้มาเยือน ดุจดั่ง การล่องไปในจินตนาการ ในขณะที่ “Long Nan” เชื่อมโยง กับประวัตศิ าสตร์อนั ยาวนานของเมืองน่าน และศิลปวัฒนธรรม ที่มีรากฝังลึกมาแต่อดีตช้านาน จนผู้มาเยือนอาจต้องใช้เวลา นานกว่าที่คิดไว้ในการเข้าไปสัมผัส

ที่ปรึกษา | Adviser สุรพล เธียรสูตร, รศ.ดร. ศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา บรรณาธิการบริหาร | Editor in Chief ณวิทย์ อ่องแสวงชัย กองบรรณาธิการ | Editorial Staff สุกันย์ณภัทร กันธะวงค์, บรรจง อูปแก้ว, วราวุธ ธิจินะ จุลสาร “ล่องน่าน” เป็นจุลสารรายสอง เดือน จัดท�ำโดยโครงการ “การจัดการทรัพยากร ทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมในชุมชน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวบนฐานวัฒนธรรม ในเขตเมืองน่าน” ภายใต้การสนับสนุนจาก ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

01 | จุลสารล่องน่าน

Long Nan is a bimonthly magazine published by Faculty of Architecture, Chiang Mai University. The project is supported by Area-Based Collaborative Research-Upper Northern Region (ABCUN), The Thailand Research Found (TRF).

เรื่องจากปก บ้านไม้สองชั้นเต็ม อายุกว่า 50 ปี ของคุณจินดา อินทรังสี แห่งบ้านมณเฑียร สีสันของไม้ฝา แสดงให้เห็นถึงร่องรอย ของการใช้งานผ่านกาลเวลาอันยาวนาน อันเป็นเสน่หข์ องเฮือนมะเก่า ทีย่ งั คงเหลือ อยูต่ ามซอกมุมต่างๆ ของเมืองน่าน ติดตาม อ่านความเป็นมาทีน่ า่ สนใจของบ้านได้ใน ล่องน่านฉบับนี้ (หน้า 11)

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทร: 0 5394 2806, แฟกซ์: 05 322 1448 www.arc.cmu.ac.th

สารบัญ ---/1/ บทบรรณาธิการ ---/2/ แผนที่เมืองน่าน ---/ 3-4 / ฟ้อนล่องน่าน ศิลปะแห่งอวัจนภาษา ---/ 5-6 / แข่งเรือเมืองน่าน เทศกาลแข่งเรืออันลือเลื่องของน่าน ---/7/ การประดิษฐ์ต้นกุ่ม ---/8/ โคมยี่เป็ง และบอกไฟดอกเมืองน่าน ---/ 9-14 / เฮาฮักเฮือนมะเก่า แอ่วผ่อเฮือนมะเก่าจาวน่าน

ติดต่อโฆษณา หรือร่วมสนับสนุนโครงการ โทร: 08 7496 4142

longnanproject www.longnanproject.wordpress.com longnanproject@gmail.com อนุญาติให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาติครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาติแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย


A

B

C

D

E 7

1

F 3

8

1

4

2 เกร็ดล่องน่าน วัดมณเฑียร สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2300 ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบล ในเวียง อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน เป็นวัดในสังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย นอกจากอุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏสิ งฆ์ และจิตรกรรรมฝาผนังแล้ว ในวัดยังมีพระพุทธ รูปไม้ และของใช้โบราณจ�ำนวนมาก ซึ่งในอนาคตอัน ใกล้นี้ ทางวัดมีโครงการที่จะก่อตัง้ พิพิธภัณฑ์ชมุ ชนขึน้ โดยทรัพยากรต่างๆ เหล่านีไ้ ด้รบั การดูแลรักษาจากชาว บ้านมณเฑียรมาตลอดจากรุ่นสู่รุ่น

10

3

วัดมณเฑียร

B-5 ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมืองน่าน

4 10

6

4

5

9

5

2

แผนที่ชุมชนน่าน 1

ฟ้อนล่องน่าน วัดมหาโพธิ

4

2

แข่งเรือเมืองน่าน สะพานพัฒนาภาคเหนือ บ้านท่าล้อ

5

3

ภูมิปัญญาการประดิษฐ์กุ่ม สัมฤทธิ์ จิตวงศนันท์

6

E-1 D-5 F-1

7

จันทร์ดี ยศสุด 4/1 ชุมชนมหาโพธิ ต.ในเวียง

คุ้มเจ้าราชบุตร 79 ถนนมหาวงศ์ ต.ในเวียง

8

ศรีวรรณ ไชยมงคล

จินดา อินทรังสี 10 ชุมชนมณเฑียร ต.ในเวียง

9

D-2

โคมยี่เป็ง อินเขียน ถาริยะ

C-5 B-5

4

บอกไฟดอก

B-5 ศรีตาล ต้นบ�ำเพ็ญ

E-1 F-1 B-5

100 ชุมชนน�้ำล้อมซอย 2 ถ.เทศบาลด�ำริห์ ต.ในเวียง

วิภาพร-สมาน อินแปง 50 และ 52 ชุมชนไผ่เหลือง ต.ในเวียง

6


ฟ้อนล่องน่าน

ศิลปะแห่งอวัจนภาษา

ฟ้อนล่องน่านสักการะพระธาตุสถารศ วัดสถารศ โดยกลุ่มผู้สูงอายุ ชุมชนมหาโพธิ

ถ้าเอ่ยถึงศิลปะการร่ายร�ำอันดับหนึ่งของคนเมืองน่าน ทุกคนคงให้ค�ำตอบเป็น เสียงเดียวกันว่า “ฟ้อนล่องน่าน” แต่ผู้ที่มาเยี่ยมเยือนเมืองน่านอาจมีโอกาสได้ชม ความงามของศิลปะการฟ้อนล่องน่านได้ไม่ง่ายนัก นอกจากจะเป็นช่วงที่มีเทศกาล หรือการจัดงานที่ส�ำคัญขึ้นพอดี เพราะปัจจุบัน ฟ้อนล่องน่านเป็นการแสดงที่นิยมจัด ขึ้นในช่วงเทศกาลท�ำบุญวัด งานเฉลิมฉลองวัด หรือเพื่อต้อนรับราชอาคันตุกะ แขก บ้านแขกเมืองคนส�ำคัญ และจัดแสดงให้กับกลุ่มนักท่องเที่ยวทั่วไปที่ท�ำการแจ้งล่วง หน้า หากต้องการชมสุนทรียภาพทางศิลปะการแสดง ทีถ่ อื ก�ำเนิดและถ่ายทอดมาตาม ล�ำน�้ำน่าน สายน�้ำแห่งชีวิตของชาวเมืองน่าน ท่ากาตากปีก หนึง่ ในท่าฟ้อนล่องน่านทีไ่ ด้แรงบันดาลใจมาจากนกกาทีม่ าจิกกินปลาในน�ำ้ นกก็จะตัวเปียก จึงต้องมีการกางปีกบินวนไปมา ซึง่ สมัยก่อนชาวบ้านจะเรียกกันว่ากาตาก ปีก ในภาพเป็นการฟ้อนบนบันไดทางขึ้นวิหารวัดมหาโพธิ

1

E-1

ต�ำแหน่งในแผนที่ 03 | จุลสารล่องน่าน

ครูวรินทร์รัตน์ วงศ์อินทร์ ชาวชุมชนมหาโพธิ ได้เล่าถึงเรื่องราวความเป็นมาของการ ฟ้อนล่องน่านว่า ในสมัยของพระยาการเมือง ราวปีพุทธศักราช 1902 ได้มีการอพยพโยก ย้ายเมืองจากวรนคร หรืออ�ำเภอปัวในปัจจุบัน ไปอยู่ที่ภูเพียงแช่แห้ง โดยการล่องเรือไป ตามล�ำน�้ำน่าน ในขณะทีล่ ่องเรืออยูน่ นั้ ก็เกิดความเบื่อหน่ายในความยาวนานของการเดิน ทาง จึงมีการ “ฟ้อนเจิง” เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด และเปลี่ยนอิริยาบถในกลุ่มฝ่าย ชายบนเรือ สร้างความคึกคักสนุกสนานในการเดินทางให้เกิดขึน้ ซึง่ ค�ำว่า “เจิง” คือ ศิลปะ การต่อสูป้ อ้ งกันตัวของชายชาวล้านนา ดังนัน้ การฟ้อนเจิงก็คอื การร่ายร�ำตามกระบวนท่า ที่แสดงให้เห็นถึง ศิลปะการต่อสู้ของผู้ชายนั่นเอง ส่วนผู้หญิงก็ได้ประยุกต์ท่วงท่าการร�ำ จากการฟ้อนเจิงของผู้ชายมาเป็นการร�ำ “ฟ้อนล่องน่าน” ซึ่งมีท่วงท่าการร�ำที่อ่อนช้อย งดงาม และมีจำ� นวนท่าทางในการร�ำมากกว่าการฟ้อนเจิงของผูช้ าย เนือ่ งจากการฟ้อนเจิง


4. ท่าโบยโบกเทวดา มาจากความเชือ่ เรือ่ งของ อยู่บนเรือขณะเดินทาง ตั้งแต่ตื่นขึ้นมาก็ไหว้สา เทวดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในระหว่างการเดินทาง จึงมี สิ่งศักดิ์สิทธ์ เกล้ามวยผม ก่อนออกไปภายนอกเรือ การขอให้เทวดาและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิช์ ว่ ยให้การเดินทาง และยังสื่อถึงความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้น ระหว่าง นั้นราบรื่นปลอดภัย พระพุทธศาสนากับชาวน่านในอดีต ที่ไม่ว่าจะ 5. ท่าแม่ธรณีลบู ผม มาจากความเชือ่ ในพระพุทธ ท�ำการอันใดก็ย่อมมีความเชื่อทางพระพุทธศาสนา ศาสนาที่ว่า มีพญามารมาขัดขวางการตรัสรู้ของ มาเกี่ยวข้องในชีวิตประจ�ำวัน พระพุทธเจ้า พระแม่ธรณีจึงมวยผมให้น�้ำท่วมจน ในการฟ้อนล่องน่าน ผู้ฟ้อนจะมีการแต่งกายที่ พญามารพ่ายแพ้ไปในที่สุด จึงมีการประยุกต์เป็น เป็นเอกลักษณ์คอื สวมผ้าซิน่ ซึง่ เป็นซิน่ ม่าน เสือ้ แขน ท่าพระแม่ธรณีบีบมวยผม นอกจากนี้ ชาวล้านนา กระบอก ทัดดอกไม้ไหว หรือดอกไม้ตามฤดูกาลบน ยังเชือ่ ว่า พระแม่ธรณีสถิตอยูท่ กุ แห่งหนบนแผ่นดิน มวยผม และห่มผ้าสไบเฉียง ซึง่ เป็นผ้าทอมือของเมือง การจะประกอบกิจกรรมใดๆ จะต้องระลึกถึงและ น่าน นิยมใส่กำ� ไลข้อมือและข้อเท้า เพือ่ ให้เกิดเสียง ขอขมาก่อนเสมอ ตามท่าทางการเคลื่อนไหว โดยมีเครื่องดนตรี ฆ้อง 6. ท่าเก็บบัวถวายพระ เป็นท่าทีแ่ สดงให้เห็นถึง กลอง ปี่แน และฉาบ ประกอบจังหวะในการร่ายร�ำ วิถีของชาวพุทธ ที่มีการไปวัดท�ำบุญท�ำทาน มีการ ฟ้อนล่องน่านถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ทีค่ วรค่าแก่การอนุรกั ษ์ และถ่ายทอดสูล่ กู หลานรุน่ เก็บดอกบัวไปไหว้พระ 7. ท่าปลาเลีย้ มหาด มาจากการพบเห็นปลาว่าย ต่อไป เพื่อไม่ให้ฟ้อนล่องนานหายไปกับคนเฒ่าคน น�ำ้ สะท้อนกับแสงแดด โดยปลาจะว่ายทวนน�ำ้ ไปยัง แก่ของเมืองน่าน ซึ่งนับว่าโชคดีที่ในปัจจุบัน ได้มี หาด ซึง่ หาด ในทีน่ หี้ มายถึงบริเวณน�ำ้ ตืน้ ทีไ่ หลเชีย่ ว ภาคีเครือข่ายต่างๆ เข้ามาช่วยดูแลในการอนุรักษ์ มักเป็นบริเวณกลางน�ำ้ ทีเ่ ต็มไปด้วยโขดหินเป็นเกาะ การฟ้อนล่องน่านมากขึน้ และได้มกี ารเรียนการสอน แก่ง ท�ำให้สามารถมองเห็นตัวปลาที่กระโดดขึ้นมา เพื่อถ่ายทอดไปสู่เยาวชน และผู้สนใจในชุมชน โดย จากผิวน�้ำ เมื่อว่ายทวนน�้ำหรือที่เรียกว่า ปลาเลี้ยม มีภาคีเครือข่ายหลักอยู่ที่ชุมชนดอนแก้ว ชุมชนศรี หาด เกล็ดปลาเมือ่ สะท้อนกับแสงแดดก็จะเห็นเป็น พันต้น วัดพระธาตุเขาน้อย และวัดพระธาตุแช่แห้ง ประกายระยิบระยับแวววาว นอกจากนี้ยังมีอีกหลายชุมชนที่ได้เข้าร่วมสืบสาน 8. ท่ากาตากปีก เป็นท่าทางที่ต่อจากปลาเลี้ยม ถ่ายทอดการฟ้อนล่องน่านต่อไปยังลูกหลาน และ หาด เมื่อมีปลาเลี้ยมหาดก็จะมีนกกามาจิกกินปลา คนในชุมชน เช่น ชุมชนสถารศ และชุมชนมหาโพธิ ในน�้ำ ท�ำให้นกตัวเปียก จึงบินวนไปมาเพื่อตากปีก เป็นต้น ซึง่ ภาคีในแต่ละชุมชนก็จะมีการฝึกหัด แลก เปลีย่ นเรียนรูซ้ งึ่ กันและกัน มีการร่วมท�ำกิจกรรมใน ให้แห้ง ซึ่งในสมัยก่อนเรียกว่า กาตากปีก 9. ท่าผาลาด เกิดจากการเดินทางที่ต้องผ่าน ชุมชนทีเ่ ป็นภาคีเครือข่าย และนอกชุมชนเครือข่าย ภูเขา และหน้าผาที่มีความลาดชัน ท่านี้จึงเป็นการ เพื่อให้ฟ้อนล่องน่านได้รับการถ่ายทอดไปยังคนรุ่น ต่อไป และรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมที่งดงามนี้ให้คงอยู่ เลียนแบบการเดินทางผ่านช่วงดังกล่าว ท่าทางต่างๆ ของฟ้อนล่องน่าน เมื่อมองให้ คู่เมืองน่านสืบไป ลึ ก ผ่ านสุนทรียะทางโสตและจักษุแล้ว จะสังเกต ของผูช้ ายนัน้ เป็นการร�ำบนเรือ ซึง่ มีพนื้ ทีจ่ ำ� กัด และ เรือมักจะไหวไปตามคลื่นในกระแสน�้ำ แต่การฟ้อน เห็นว่า การฟ้อนล่องน่านสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิต ล่องน่านของผู้หญิงนั้นเป็นการร�ำบนพื้นดิน ซึ่งจะ กิริยาท่าทางของหญิงชาวน่านโบราณ ที่ใช้ชีวิต กระท�ำกันระหว่างช่วงหยุดพักจากการเดินทาง ใน การล่องเรือมาตามล�ำน�้ำน่าน ฟ้อนล่องน่าน นอกจากจะประยุกต์ท่าทางการ ฟ้อนมาจากการฟ้อนเจิงแล้ว ยังได้นำ� เอาวิถชี วี ติ ของ สัตว์ที่พบเห็นในขณะที่ล่องเรือมาประดิษฐ์เป็นท่า ฟ้อน ซึ่งมีด้วยกันทั้งหมด 9 ท่า ได้แก่ 1. ท่าไหว้ ศิลปะการร่ายร�ำส่วนใหญ่มักใช้ท่า ไหว้เป็นท่าแรกของการแสดงต่างๆ เพื่อร�ำลึกถึง ครูบาอาจารย์ผสู้ อน และเป็นการแสดงความเคารพ ต่อสิ่งศักดิ์ทั้งหลาย 2. ท่าเกลียวเกล้ามาลาแปลง ดัดแปลงมาจาก ท่าทางการเกล้ามวยผมของผู้หญิง 3. ท่าบังวัน มีลักษณะคล้ายผู้ร�ำก�ำลังใช้มือบัง แสงแดดทีส่ อ่ งต้องตาไว้ ซึง่ “วัน” ในทีน่ นี้ า่ จะหมาย เหล่านักเรียนจากโรงเรียนสารพัดช่างน่านที่มาร่วมฟ้อนล่องน่านในงานประเพณี ถึง แสงแดดในเวลากลางวัน Long Nan Booklet | 04


แข่งเรือเมืองน่าน ภาพ: อภิวฒ ั น์ ธนะวัติ

2

D-5

ต�ำแหน่งในแผนที่

ยามเมื่อสายฝนโปรยปรายพัดพาความชุ่มฉ�่ำมาสู่พื้นปฐพี สายนทีสีข้นไหลหลั่งทวีคูณ เสียงอื้ออึงของบรรยากาศการแข่งขันเรือยาวในล�ำน�้ำน่าน ทั้งเสียงก้องกังวานอันฮึกเหิมของเหล่าฝีพาย เสียงโห่ร้องของบรรดากองเชียร์และผู้ชมริมสองฝั่งแม่น�้ำ ราวกับเป็นการปลุกจิตวิญญาณคืนชีวิตสู่สายน�้ำ หลังความเงียบเหงาในช่วงฤดูแล้งที่ผ่านมา เป็นเสน่ห์อันน่าหลงใหลอีกหนึ่งของเมืองน่าน ดังค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดที่ว่า “แข่งเรือลือเลื่อง เมืองงาช้างด�ำ จิตรกรรมวัดภูมนิ ทร์ แดนดินส้มสีทอง เรืองรองพระธาตุแช่แห้ง” ซึง่ ในช่วงต้นเดือนกันยายน ไปจนถึงต้นเดือนพฤศจิกายนนี้ หากใครได้มาเยีย่ มเยือนเมือง น่านก็จะพบกับบรรยากาศอันคึกคักของเทศกาลแข่งเรืออันเลื่องชื่อ ที่มักจัดขึ้นในช่วงนี้ ซึ่งเป็นฤดูน�้ำหลากของปี ถึงแม้ว่ากระแสน�้ำในล�ำน�้ำน่านจะเชี่ยว กรากสักเพียงใด ก็ไม่อาจบั่นทอนพลังใจของเหล่าฝีพายเมืองน่านได้ เนื่องจากประเพณีการแข่งเรือเมืองน่านถือเป็นศักดิ์ศรีแห่งความภาคภูมิใจของชาว น่านมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งยังเป็นกิจกรรมเชื่อมความสมัครสมานสามัคคีของคนในชุมชนอีกด้วย

อาจารย์สมเจตน์ วิมลเกษม ผู้เชี่ยวชาญด้าน ศิลปวัฒนธรรม องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษ เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน จังหวัดน่าน ได้กล่าวถึง ประวัติความเป็นมาของประเพณีการแข่งเรือเมือง น่าน ว่าประเพณีการแข่งเรือมีมาเมือ่ ประมาณ 200 กว่าปีมาแล้ว ในยุคสร้างบ้านแปลงเมืองสมัยรัชกาล ที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมือ่ ครัง้ กวาดต้อนผูค้ นมา จากเชียงแสน โดยกลุม่ ชนลุม่ น�ำ้ โขงทัง้ หมดทีอ่ พยพ เข้ามาในเมืองน่าน ไม่วา่ จะเป็นลาว เขมร เชียงแสน สิบสองปันนา จะมีลกั ษณะในการพายเรือคล้ายชาว เมืองน่านในอดีตคือ การพายเรือแบบห่มท้ายของ นายท้าย 5-6 คน และลักษณะเด่นอีกประการหนึ่ง ของกลุม่ ชนเชียงแสนคือ มีความเชีย่ วชาญในการต่อ เรือ การแข่งเรือ และการสัญจรทางเรือ จากหลักฐาน เกษมเมืองน่านระบุไว้ชดั เจนว่า 1. สะหลีปใ๋ี หม่ 2. งาน 05 | จุลสารล่องน่าน

หกเป็ง 3. แข่งเรือออกพรรษา ซึ่ง “เกษมเมือง” ใน ความหมายนี้คือ บันทึกงานราชพิธีต่างๆ ของเมือง น่าน จากหลักฐานบันทึกนี้ ท�ำให้ทราบว่าการแข่ง เรือเมืองน่านมีมาตั้งแต่สมัยต้นรัตนโกสินทร์ โดย จะมีงานประเพณีแข่งเรือในช่วงงานออกพรรษา ตานก๋วยสลาก (สลากภัต) ทีจ่ ะมีการน�ำเรือมาแข่งขัน เฉลิมฉลองกัน เพือ่ ให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะเดียวกัน ส�ำหรับ งานประเพณีแข่งเรือในปัจจุบนั สามารถนับย้อนหลัง ไปได้ประมาณ 30 ปี ในช่วงทีเ่ ริม่ มีกฐินพระราชทาน มาจากวัดหลวงต่างๆ จึงได้ใช้งานทอดกฐินมาเป็น หลักของการก�ำหนดวันประเพณีเรือแข่งเมืองน่าน ในช่วง 30 ปีหลังมานี้ เอกลักษณ์ของเรือแข่งเมืองน่านคือ มีหวั พญานาค หางหงส์ ตามคติความเชื่อทางพระพุทธศาสนาของ

บรรพบุรษุ ทีเ่ ชือ่ ว่าในแม่นำ�้ มีพญานาคอาศัยอยู่ และ พญานาคถือเป็นสัตว์ที่มีศรัทธาในการสืบทอดและ ปกป้องพุทธศาสนา ส่วนหงส์ของเมืองน่านมีความ หมายเชือ่ มโยงกับพระพุทธศาสนาในความหมายทีว่ า่ หงส์เป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธเจ้าในยุคลังกาวงศ์ อีกทั้งกลุ่มประเทศลุ่มน�้ำโขงยังนิยมสร้างพญานาค มีปีกที่เรียกว่า วิหคนาคา ซึ่งความหมายโดยนัยคือ พระพุทธศาสนาจะขาดผูท้ อี่ ปุ ถัมภ์คำ�้ ชู ซึง่ หมายถึง พระมหากษัตริยไ์ ม่ได้ เพราะในอดีตกษัตริยห์ รือเจ้า เมืองมีบทบาทส�ำคัญเป็นอย่างมากต่อการนับถือ ศาสนาของคนภายในประเทศ หรือแคว้นที่ตนเอง ปกครองอยู่ ซึ่งเจ้าหลวงเมืองน่านในอดีตนั้นก็ทรง ศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงน�ำเอาหลักธรรมของ พระพุทธศาสนามาใช้ให้ประชาชนรูร้ กั สามัคคีผา่ นทาง เทศกาลแข่งเรือ เพราะเรือแข่งหนึง่ ล�ำจะต้องอาศัย


แรงสร้างรวมกันทัง้ หมูบ่ า้ น ตลอดจนพระสงฆ์กต็ อ้ ง เข้ามาร่วมด้วย จึงเกิดการท�ำงานแบบมีส่วนร่วมใน ชุมชนขึน้ เช่น ผูใ้ หญ่ผสู้ งู อายุรว่ มช่วยกันทาสีตกแต่ง เรือ คนหนุ่มเป็นฝ่ายพายเรือ คนสาวและเหล่าแม่ บ้านช่วยกันท�ำอาหารเลี้ยงลูกเรือ เป็นต้น เรือแข่ง ที่ลอยล�ำได้เร็วเพราะทุกคนช่วยกันพาย หากคนใด คนหนึ่งไม่พายเรือก็จะท�ำให้ก�ำลังเรือตก ฝีพายคน อื่นก็จะรับรู้ได้ว่ามีบางคนไม่ออกแรง โดยเรือแข่งที่ ลอยล�ำไปนั้นต้องมีคนคัดท้าย จึงจะสามารถพาเรือ ไปสู่จุดมุ่งหมายปลายทางได้ ซึ่งเรือแข่งล�ำหนึ่งนั้น เปรียบได้กบั ชาวเมืองน่านทุกคน ทีต่ อ้ งช่วยกันพาย เรือด้วยความสมัครสมานสามัคคีกนั คนคัดท้ายและ คนห่มเรือซึง่ เป็นผูก้ ำ� หนดและควบคุมจังหวะฝีพาย ก็เปรียบเสมือนหน่วยงานราชการที่ต้องก�ำกับดูแล

ประชาชนให้ไปถึงเป้าหมาย อาจารย์สมเจตน์ ให้ ความเห็นเพิม่ เติมว่า เรือแข่งเมืองน่านเปรียบเสมือน กาวใจเชือ่ มคนในชุมชนมาท�ำกิจกรรมร่วมกัน ให้เด็ก และเยาวชนรู้จักการท�ำงานเป็นทีม โดยเฉพาะช่วง การลงเรือ ฝีพายจะต้องไม่ดื่มสุรา และยังเป็นการ สร้างกระบวนการให้เกิดความสามัคคีระหว่างชุมชน ผ่านความเชื่อของประเพณีแข่งเรือ ทั้งการตกแต่ง เรือ การสร้างขวัญก�ำลังใจ และการซักซ้อมฝึกฝน ซึ่งก่อนจะน�ำเรือลงแข่งขันจะมีความเชื่อเกี่ยวกับ พิธีกรรมทางศาสนามาเกี่ยวข้องคือ ต้องมีการ “สู่ขวัญเรือ” ซึ่งถือเป็นพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ และ มีความเชื่อว่าห้ามผู้หญิงขึ้นนั่งบนเรือ หรือห้ามน�ำ เรือแข่งไว้ในบ้าน แต่ปจั จุบนั ก็ได้มกี ารเปลีย่ นแปลง ไปตามกาลสมัย ประชาชนทั่วไปสามารถมีเรือแข่ง

เป็นของตนเองได้ ซึ่งแต่เดิมเรือแข่งจะเป็นของวัด อยู่คู่กับวัด การตั้งชื่อเรือในสมัยก่อนจะตั้งตามชื่อ วัด หรือตัง้ ตามชือ่ หมูบ่ า้ น ทีม่ กี ารน�ำเรือมาเข้าร่วม แข่งขัน และคนทีจ่ ะพายเรือได้นนั้ จะต้องเป็นคนใน ชุมชน คนนอกพื้นที่จะพายเรือไม่ได้ คนในชุมชน ต้องช่วยกันพายเรือ หรือที่เรียกกันว่า “ตกไม้พาย กัน” ปัจจุบันการแข่งเรือเป็นที่นิยมกันกว้างขวาง จนท�ำให้บางพื้นที่มีค่ายเรือเป็นของตนเอง ก็จะตั้ง ชื่อตามค่ายเรือ หรือตั้งชื่อเรือตามผู้สนับสนุนเช่น เรือช่อฟ้า เรือเจ้าป้อมย่าสัง่ ลุย เป็นต้น ซึง่ ส่วนใหญ่ จะเป็นในกลุ่มของเรือเยาวชน การแข่งขันเรือในอดีตมีวัตถุประสงค์เพื่อถวาย เป็นพุทธบูชา และมีบา้ งทีม่ กี ารน�ำของรางวัลมาเป็น สิง่ จูงใจเพือ่ ให้เกิดความมานะพยายาม โดยเจ้าผูค้ รอง

เมืองน่านในอดีตได้จัดให้มีประเพณีแข่งเรือ โดยไม่ เพียงแต่ตอ้ งพายเรือไปถึงเส้นชัยเท่านัน้ แต่จะต้องไป แย่งสิง่ ของบนหลักชัยให้ได้ดว้ ยจึงจะถือว่าชนะการ แข่งขัน ทุกคนที่มาร่วมรักษาประเพณีต่างก็มีความ สุขสนุกสนาน ปัจจุบันประเพณีแข่งเรือเมืองน่านมี การตัง้ รางวัลทีส่ งู ขึน้ ซึง่ อาจท�ำให้การแข่งขันมุง่ แพ้ ชนะมากขึ้นกว่าสมัยก่อน แต่อย่างไรก็ตามหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง และชาวน่านที่เห็นความส�ำคัญของ ประเพณีนี้ ต่างก็มคี วามพยายามทีจ่ ะให้การแข่งเรือ คงไว้ซงึ่ ความหมาย และความงดงามตามแบบดัง้ เดิม ให้มากที่สุด โดยมีการเปิดโอกาสให้ทุกคนได้ เสนอ ความคิดเห็นในการจัดงาน และในขณะเดียวกันก็ สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องควบคู่กันไป ปัจจุบนั มีความพยายามให้ผสู้ งู อายุได้มโี อกาสใน การลงแข่งขันพายเรือ โดยไม่มกี ารว่าจ้าง แต่มงุ่ เน้น

การแข่งขันทีเ่ สริมสร้างความสามัคคี ความสนุกสนาน ให้เป็นทีภ่ าคภูมใิ จของเมืองน่าน ดังเช่นการแข่งพาย เรือในอดีตที่เคยเป็นมา และเพื่ออนุรักษ์ให้ชนรุ่น หลังได้ภาคภูมิใจในเกียรติและศักดิ์ศรีของคนน่าน อาจารย์ภิรมย์ เทพสุคนธ์ ประธานสภาวัฒนธรรม จังหวัดน่าน ได้กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ของการแข่งเรือประเพณีเมืองน่านว่า อาจจะแบ่งการ แข่งเรือออกเป็น 2 ประเภทคือ การแข่งเรือเร็ว หรือ การแข่งเรือทีเ่ น้นในเรือ่ งของความเร็วของฝีพายเป็น หลัก และการแข่งแบบเอกลักษณ์เรือแข่งเมืองน่าน คือ เน้นในเรื่องของตัวเรือที่มีลักษณะหัวใหญ่ และ การออกแบบลวดลายของเรือ และหางเรือทีส่ วยงาม เพือ่ เป็นทางเลือกให้ประชาชนเลือกดูตามความชอบ ในอนาคตจะมีการวางแผนในการแข่งเรือทีจ่ ะมีการ ก�ำหนดจ�ำนวนฝีพายในเรือทุกรุ่น เรือใหญ่และเรือ

เล็ก สามารถแข่งรวมกันได้โดยไม่มีรุ่นหรืออายุมา เกีย่ วข้อง เพือ่ ให้งา่ ยต่อการจัดการแข่งขัน สามารถ สรรหาคนลงแข่งได้ง่ายขึ้น และลดค่าใช้จ่ายในการ จัดการแข่งขันลง เพราะการแข่งเรือในอดีต เรือใหญ่ มักจะแพ้เรือเล็ก เนื่องจากเรือใหญ่จะต้องใช้ฝีพาย จ�ำนวนมาก แต่เรือเล็กจะใช้ฝีพายน้อย ทั้งเรือเล็ก ยังมีความคล่องตัวมากกว่า ซึง่ การก�ำหนดกฎเกณฑ์ เช่นนี้ ก็เพื่อที่จะรื้อฟื้นการแข่งแบบสมัยโบราณ ที่ มีการแข่งขันแบบสนุกสนาน มากล้นด้วยเสน่ห์บน สายน�้ำน่านให้กลับคืนมาอีกครั้ง

Long Nan Booklet | 06


3

ภูมิปัญญา

F-1

ต�ำแหน่งในแผนที่

การประดิษฐ์ต้นกุ่ม เมืองน่าน เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือที่ถือได้ว่า มีความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาอย่างเปี่ยมล้น สังเกตได้จากสัญลักษณ์พญานาคอันเป็นสัตว์ที่ค�้ำจุนพระพุทธศาสนาตามสถานที่ต่างๆ ในเมืองน่าน อีกทั้งวัดวาอารามเก่าแก่ต่างๆ อันเป็นเครื่องแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในเมือง น่านที่มีความผูกพันกันอย่างแนบแน่นมาอย่างยาวนาน ซึ่งถ้านักท่องเที่ยวได้มาเยี่ยมชมก็จะได้พบ ร่องรอยความเจริญทางด้านภูมิปัญญาและวัฒนธรรมอันหลากหลายที่มีความเกี่ยวโยงกับพระพุทธ ศาสนา และมีการถ่ายทอดสืบต่อกันมาแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน และหนึ่งในภูมิปัญญาที่เกิดมาจาก ศรัทธาและความเชื่อในพระพุทธศาสนาของคนเมืองน่านก็คือ การท�ำ “ต้นกุ่ม”

ชาวบ้านในชุมชนร่วมใจกันประดิษฐ์กุ่มจากวัสดุธรรมชาติ ในขบวนสักการะพระธาตุสถารศ

07 | จุลสารล่องน่าน

ต้นกุม่ คือ พฤกษบูชา ทีม่ รี ปู ลักษณะคล้ายพาน พุม่ ดอกไม้ ซึง่ ท�ำมาจากต้นกล้วยทัง้ ต้น โดยชาวบ้าน จะน�ำต้นกล้วยทั้งกิ่ง ก้าน และใบมาประดิษฐ์เป็น รูปทรงคล้ายกับพานพุ่ม หรือรูปดอกบัว ตกแต่งให้ สวยงามด้วยหมากพลู และดอกไม้ต่างๆ เพื่อถวาย เป็นพุทธบูชาแด่องค์พระรัตนตรัย ต้นกุ่มหนึ่งต้น จะประกอบด้วย 3 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนฐาน ส่วนกิ่ง และส่วนยอด สิ่งส�ำคัญในการ ประดิษฐ์ต้นกุ่มคือ ต้องท�ำมาจากต้นกล้วยทั้งต้น ไม่ว่าจะเป็น ล�ำต้น ก้าน ใบ เครื่องตกแต่งประกอบ ด้วย ต้นพลู หมาก ดอกไม้ตามฤดูกาล และเทียน โดยเลือกใช้วัสดุในการตกแต่ง ที่หาได้จากท้อง ถิ่น ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะท�ำต้นกุ่มที่แตกต่างกันไป วิธีการประดิษฐ์ต้นกุ่มนั้นขึ้นอยู่กับความช�ำนาญใน การท�ำให้เกิดความสมดุล และความคิดสร้างสรรค์ ของแต่ละชุมชน ปัจจุบันการประดิษฐ์ต้นกุ่มมีการ ประยุกต์โดยการใช้ฐานเป็นพานที่ท�ำจากไม้หรือ เหล็ก เพราะเป็นโครงสร้างถาวรคงทน และมีนำ�้ หนัก เบากว่า โดยท�ำรูปลักษณะให้เหมือนต้นกุ่มที่ท�ำมา จากต้นกล้วย แล้วน�ำดอกไม้และใบตองมาประดับ เป็นต้นกุ่ม ซึ่งสามารถท�ำได้ง่ายและรวดเร็วกว่า ที่มาของต้นกุ่มไม่อาจสืบได้แน่ชัดว่าเกิดขึ้นใน สมัยใด เชือ่ กันว่าพระเจ้าน่านในอดีตได้เคยประดิษฐ์ ต้นกุ่ม เพื่อไปถวายเป็นเครื่องพุทธบูชา โดยต้นกุ่ม ที่น�ำไปถวายนั้น ท�ำมาจากต้นกล้วย โดยมีการน�ำ กาบกล้วยมาพันรอบต้นกล้วย จากนั้นประดับด้วย ใบตองและดอกไม้ ท�ำให้ต้นกุ่มโดยทั่วไปมีขนาด กว้างประมาณเกือบ 1 ฟุต ต่อมาได้มีการฟื้นฟูการ ประดิษฐ์ต้นกุ่ม โดยส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด น่านร่วมกับพระครูธรรมภาณี ได้มีการประกวด ต้นกุ่มในเขตเทศบาลเมืองน่าน แต่ยังไม่ได้รับการ

ตอบรับจากประชาชนเท่าที่ควร จึงมีการรณรงค์ให้ ประดิษฐ์ต้นกุ่มอีกครั้งในงานวันเมืองเก่าน่าน โดย ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดน่านได้ขอความร่วมมือ ให้ชุมชน และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ร่วม กันประดิษฐ์ตน้ กุม่ มาถวายบูชาอดีตพระเจ้าน่านทัง้ 64 พระองค์ ณ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดน่าน และในปัจจุบันยังสามารถพบเห็นต้นกุ่ม ที่ชาวบ้าน ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้ถวายเป็นพุทธบูชาในวันพระขึ้น 8 ค�่ำ ขึ้น 15 ค�่ำ งานขึ้นพระธาตุ สืบชะตา การ แสดงธรรมเทศนา งานสมโภช งานถวายทานเจดีย์ และการขอขมาผู้ใหญ่ได้ด้วยเช่นกัน ด้วยยุคสมัยทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ท�ำให้การประดิษฐ์ ต้นกุ่มในเขตภาคเหนือตอนบนทั้ง 8 จังหวัด มีการ เปลี่ยนแปลงรูปลักษณ์ และวิธีการประดิษฐ์ไป จน ท�ำให้ความนิยมในการท�ำต้นกุม่ เสือ่ มสูญไปในทีส่ ดุ มีเพียงจังหวัดน่านเท่านัน้ ทีย่ งั คงรักษาการประดิษฐ์ ต้นกุ่มเอาไว้ได้มาจนถึงปัจจุบันนี้ ปัจจุบนั มีชมุ ชนในเขตเทศบาลเมืองน่านประดิษฐ์ ต้นกุ่มมากกว่า 15 ชุมชน เช่น น�้ำล้อม หัวเวียงใต้ สถารศ ภูมนิ ทร์ทา่ ลี่ และอรัญญาวาส เป็นต้น กลุม่ คน ทีป่ ระดิษฐ์ตน้ กุม่ จะอยูใ่ นช่วงวัยผูส้ งู อายุ วัยกลางคน และวัยเด็ก แต่ในส่วนของเยาวชนยังไม่คอ่ ยให้ความ สนใจในการประดิษฐ์ต้นกุ่มมากนัก ทั้งนี้ส�ำนักงาน วัฒนธรรมจังหวัดน่านยังคงพยายามส่งเสริมให้ต้น กุ่มเป็นอีกหนึ่งในกิจกรรมการท่องเที่ยวและการ เรียนรู้เชิงวัฒนธรรม และกระตุ้นการถ่ายทอดวิธี การประดิษฐ์ตน้ กุม่ ไปสูเ่ ด็กและเยาวชน เพือ่ เป็นการ อนุรกั ษ์ภมู ปิ ญั ญาทางด้านศิลปวัฒนธรรมทีด่ งี ามของ คนเมืองน่านให้สืบต่อไปอีกนานเท่านาน


4 D-2 B-5

ต�ำแหน่งในแผนที่

ผ่อโคมยี่เป็ง

เล็งบอกไฟดอกเมืองน่าน ภาพ: Phaitoon Sutunyawatchai, http://www.shutterstock.com/g/phaitoon

คณ ุ ตาอินเขยี น ถาริยะ สลา่ โคมยีเ่ ปง็

ยิง่ ใกล้เทศกาลยีเ่ ป็ง หรือวันลอยกระทงมากขึน้ เท่าใด แสงสียามค�ำ่ คืนยิง่ ทวีขนึ้ ตามล�ำดับ นอกจาก ความเชื่อเรื่องของการลอยกระทง เพื่อขอขมาพระแม่คงคาแล้ว การจุดโคม และการจุดบอกไฟดอก (พลุ) เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ก็เป็นอีกหนึ่งความเชื่อ และความศรัทธาของชาวน่าน ที่นิยมท�ำกันใน ช่วงเทศกาลยี่เป็งมาแต่โบราณ โคมแขวน มีชอื่ เรียกอีกอย่างว่า โคมธรรมจักร หมาย ถึง ความแจ้งในธรรม เป็นโคมที่มักใช้ในงานยี่เป็ง หรือตั้ง ธรรมเทศน์มหาชาติเวสสันดร ใช้แขวนในโบสถ์ หรือวิหาร หรือท�ำค้างไม้ไผ่ส�ำหรับแขวน เพื่อให้เกิดความสวยงาม สว่างไสว ใช้ตกแต่งบ้านเรือน เพื่อบูชาเทพารักษ์ เป็นต้น ในอดีตโคมเมืองน่านจะใช้ในวัดเพียงอย่างเดียว ด้วยจุด ประสงค์ของการใช้โคมแขวนในอดีตคือ ใช้แทนหลอดไฟฟ้า ส�ำหรับส่องสว่างในการอ่านธรรมช่วงเทศกาลยีเ่ ป็ง อีกนัย หนึ่งของการจุดโคมในเทศกาลยี่เป็งก็เพื่อถวายเป็นพุทธ บูชา ดังนั้นการจุดโคมเปรียบได้กับการจุดปัญญาความรู้ แจ้งในพระธรรมนัน่ เอง ด้วยเหตุนที้ ำ� ให้เราไม่คอ่ ยพบเห็น โคมแขวนตามบ้านเรือนทั่วไปในเขตเมืองน่าน คุณตาอินเขียน ถาริยะ ชาวชุมชนสถารศ ผูไ้ ด้รบั การยกย่อง เป็น คลังปัญญาผูส้ งู อายุ จากกระทรวงพัฒนาสังคมและความ มัน่ คงของมนุษย์ เป็นครูภมู ปิ ญั ญาการท�ำโคมเมืองน่านท่านหนึง่ ที่ได้เริ่มเรียนรู้การท�ำโคมตั้งแต่สมัยบวชเป็นเณร ซึ่งใน สมัยนั้น หากผู้ที่สนใจอยากเรียนอยากรู้วิธีการท�ำโคมจะ ต้องมาบวชเรียนที่วัด โดยโคมเมืองน่านในสมัยก่อนจะ มีเอกลักษณ์เฉพาะคือ มีตุงไส้หมู หรือตุงไส้ช้างห้อยอยู่ 2 อัน ลวดลายของโคมที่คุณตาอินเขียนท�ำ เป็นลวดลาย ที่สืบทอดมาแต่โบราณ โดยในอดีตจะมีการจุดเทียนไข หรือผางประทีปไว้ภายในโคมแล้วน�ำไปแขวนไว้ในวิหาร เพื่ออ่านธรรมยี่เป็ง แต่ในปัจจุบันจะนิยมใช้หลอดไฟฟ้า แทน ปัจจุบันการท�ำโคมแขวนส�ำหรับเทศกาลยี่เป็ง

ยังคงสามารถพบเห็นได้ที่ วัดท่าล้อ วัดสวนตาล และวัดมิ่ง เมือง เป็นต้น และหากผู้ใดสนใจต้องการเรียนรู้การท�ำโคม แขวนสามารถไปเรียนกับคุณตาอินเขียนได้โดยตรง สิง่ ประดิษฐ์อกี อย่างหนึง่ ทีน่ ยิ มจุดเป็นพุทธบูชาในช่วงเทศ กาลยี่เป็งคือ บอกไฟดอก ซึ่งมีลักษณะคล้ายพลุ หรือดอกไม้ ไฟของทางภาคกลาง ชือ่ เรียกของ บอกไฟดอก มาจากลักษณะ การพ่นดอกไฟออกมาจากกระบอก บอกไฟดอกจะบรรจุเฝ่า หรือดินขับไว้ในกระบอกไม้ เมื่อจะท�ำการจุดไฟต้องฝังดินให้ แน่น และให้ปากกระบอกโผล่ขึ้นตั้งตรง คุณศรีตาล ต้นบ�ำเพ็ญ ชาวชุมชนศรีพันต้น หนึ่งในครู ภูมิปัญญาบอกไฟดอกของเมืองน่าน ได้กล่าวถึงบอกไฟดอก ในต�ำรับพื้นเมืองน่านว่า ในอดีตจะมีการจุดบอกไฟดอกใน งานเฉลิมฉลองตามวัดต่างๆ เช่น งานฉลองสมโภชโบสถ์ เจดีย์ งานนมัสการพระธาตุแช่แห้ง งานนมัสการพระธาตุสถารศ งาน นมัสการพระธาตุพลูแช่ งานนมัสการพระธาตุเขาน้อย และจุด ในประเพณียี่เป็ง เป็นต้น คนที่สามารถท�ำบอกไฟดอกออกมา ได้สวยงามในปัจจุบนั มีนอ้ ย เพราะสูตรการท�ำบอกไฟดอกเป็น สูตรลับเฉพาะของแต่ละส�ำนัก ทีใ่ นช่วงเทศกาลยีเ่ ป็งก็จะน�ำมา “จนกัน” คือ น�ำมาประลองแข่งขันกันว่าบอกไฟดอกของต�ำรา ใครจะเหนือกว่ากัน ปัจจุบันเมืองน่านยังคงมีสล่าบอกไฟดอก ที่ขึ้นชื่ออยู่ในหลายหมู่บ้าน เช่น บ้านแสงดาว บ้านช้างเผือก บ้านสวนตาล บ้านศรีพนั ต้น บ้านปัวชัย บ้านธงหลวง บ้านหมอ เมือง บ้านหนองแดง บ้านวังม่วง และบ้านป่าหัด เป็นต้น

Long Nan Booklet | 08


คุม้ เจ้าราชบุตรมองจากสวนทางด้านทิศตะวันออก จะสังเกตเห็นการเว้นจังหวะของช่องเปิด และช่องลมระบายอากาศ ฉลุเป็นลวดลายสวยงามบริเวณยอดผนังใต้ชายคา

พื้นที่ชานแดดเชื่อมตัวเรือนหลัก และเรือนครัว ปัจจุบันใช้เป็นลานส�ำหรับซักล้าง และตากสิ่งของ

คุ้มเจ้าราชบุตร เจ้าสมปรารถนา ณ น่าน

5

C-5

ต�ำแหน่งในแผนที่

คุ้มเจ้าราชบุตร ตั้งอยู่ในชุมชนช้างค�้ำบริเวณหัวมุมถนนระหว่างถนนผากอง และถนนมหาพรหม ฝั่งตรงข้ามด้านทิศเหนือของวัดช้างค�้ำ เดิมเป็นคุ้มของเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่านคน สุดท้าย ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนระบบการปกครองในปี พ.ศ. 2475 โดยคุ้มหลังนี้เรียกได้ว่าเป็นคุ้มวัง หน้าของเจ้าเมืองน่านมาก่อน ในสมัยรัตนโกสินทร์ใต้พระบรมโพธิสมภารของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 ในปี พ.ศ. 2398 พระยาอนันตยศ ได้แต่งคนลงไป กราบทูลขอพระราชทานอนุญาตจากรัชกาลที่ 4 เพื่อขอย้ายเมืองจากเวียงเหนือกลับลงไปตั้งที่เดิม คือ เวียงใต้ จากนั้นได้ท�ำการซ่อมแซมบูรณะวัดวา อาราม ก�ำแพงเมือง และสร้างคุ้มแก้วหอค�ำขึ้นมา เป็นเรือนไม้ติดกัน 7 หลัง เมื่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2400 ก็ได้รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าอนันตวรฤทธิเดช ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้านครน่าน คนแรก เนือ่ งจากเจ้าเมืองน่านในยุคต้นรัตนโกสินทร์ 09 | จุลสารล่องน่าน

มียศเป็นเพียงพระยาเท่านั้น ฉะนั้นเจ้าอนันตยศจึง เป็นเจ้าเมืองคนแรกทีไ่ ด้รบั พระราชทานยศเป็นเจ้า ราชวงศ์ผคู้ รองนครน่าน ซึง่ เมือ่ สร้างหอค�ำทัง้ 7 หลัง เสร็จสิ้นแล้วเจ้าอนันตวรฤทธิเดชก็ได้พาพระชายา ทั้ง 11 คน เข้ามาอยู่ในคุ้มหลวง (หอค�ำ) ด้วยกัน ในช่วงปี พ.ศ. 2409 ก็ได้สร้างคุม้ หลังปัจจุบนั นี้ ขึน้ มาให้เจ้าน้อยมหาพรหมอาศัยอยู่ เจ้าสมปรารถนา เล่าว่า เจ้ามหาพรหมมาอาศัยอยูท่ นี่ ตี่ งั้ แต่ยงั เยาว์วยั ประมาณช่วงชันษา 11 ปี แต่ก็มีบันทึกจากแหล่ง เอกสารอืน่ ทีไ่ ด้อา้ งว่า คุม้ หลังเดิมสร้างเมือ่ เจ้าน้อย มหาพรหมชันษาประมาณ 20 ปี โดยสร้างขึ้นเพื่อ

เป็นเรือนหอในโอกาสเสกสมรสกับเจ้าหญิงศรีโสภา และจากหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ทบี่ อกวันประสูติ ของเจ้าน้อยมหาพรหมคือปี พ.ศ. 2389 ดังนั้นเมื่อ คุ้มหลังนี้สร้างในช่วงปี พ.ศ. 2409 ในตอนนั้นเจ้า มหาพรหม ก็มีชันษา 20 ปีพอดี แต่จากค�ำบอก เล่าของทั้งเจ้าสมปรารถนาและคุณสถาพร น่าจะ หมายถึง เจ้ามหาพรหมย้ายมาอยู่ที่หอค�ำพร้อมกับ เจ้าอนัตวรฤทธิเดชในช่วงปี พ.ศ. 2400 ซึ่งตอนนั้น ก็ทรงมีชันษา 11 ปีพอดี คุณสถาพรยังกล่าวอีกว่า คุ้มหลังนี้เป็นหลังที่ 8 ต่อจากหอค�ำทั้ง 7 ที่สร้างขึ้น มาก่อนหน้านี้ ดังนัน้ จึงอาจสันนิษฐานได้วา่ คุม้ หลัง นี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นเรือนหอของเจ้าน้อยมหาพรหม ในตอนที่ท่านชันษาประมาณ 20 ปี ในสมัยของ เจ้าอนันตวรฤทธิ์เดชครองเมืองน่าน ทั้งนี้เมื่อต่อ มาในสมัยของเจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดชครองเมืองน่าน เจ้าสุรยิ พงษ์ผลิตเดช ก็ได้รอื้ คุม้ แก้วหอค�ำทัง้ 7 ของ พระบิดาออก แล้วสร้างเป็นหอค�ำขึน้ เพียงหลังเดียว ซึ่งปัจจุบันนี้ใช้เป็นอาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดน่าน และเมื่อสิ้นสมัยของเจ้าสุริยพงษ์ผลิต เดชแล้ว เจ้าน้อยมหาพรหมได้ขนึ้ ครองเมืองน่านต่อ เป็นเจ้ามหาพรหมสุรธาดา และได้ย้ายออกไปอยู่ที่ หอค�ำ คุม้ หลังนีจ้ งึ ตกเป็นของเจ้าราชบุตร (เจ้าประ พันธุ์พงศ์) หรือเจ้าน้อยหมอกฟ้า ณ น่าน ซึ่งเป็น บุตรชายคนเล็กของแม่เจ้าศรีโสภา ชายาคนแรก ของเจ้ามหาพรหมสุรธาดา


กูบช้าง หรือประทุนที่นั่งบนหลังช้างของเจ้า มหาพรหมสุรธาดา (เจ้าผูค้ รองน่านองค์สดุ ท้าย) มีการลงรักปิดทองด้วยลวดลายประณีตสวยงาม มีหลังคาคลุมท�ำจากไม้หวายทาชันทับเพื่อ กันน�้ำ ใช้เฉพาะในงานพิธีส�ำคัญๆ หรือต้อนรับ แขกบ้านแขกเมือง

สัปคับ เป็นทีน่ งั่ บนหลังช้างท�ำจากไม้และหวาย โดยมีรายละเอียดตกแต่งประดับประดาน้อยกว่า กูบ มักใช้ในการว่าราชการงานเมืองทั่วไปหรือ เดินทางในระยะใกล้

ของขวัญพระราชทาน เจ้าราชบุตรได้รับโปรด เกล้าฯ จากรัชกาลที่ 4 ให้เป็น “สหชาติ” ซึ่ง หมายถึง ผู้ที่เกิดใน วัน เดือน ปี เดียวกัน และ ได้รับของขวัญพระราชทาน 3 อย่างด้วยกันคือ ถาดบุรี่เงิน หีบบุหรี่เงิน และไฟแช็คเงิน

เตาไฟขนาดใหญ่ในเรือนครัวของคุ้มราชบุตร เพื่อใช้กับหม้อนึ่งข้าวขนาดใหญ่ ในการหุง หาอาหารให้กับสมาชิกภายในคุ้ม ซึ่งครั้งหนึ่งเคยมีสมาชิกเป็นจ�ำนวนมาก จนต้องนึ่งข้าว ทีละ 2-3 ไห จึงจะเพียงพอกับจ�ำนวนคน

ต่อมาในปี พ.ศ. 2484 คุ้มหลังเดิมช�ำรุดทรุดโทรมลงมาก เจ้าราชบุตรจึงได้รื้อเรือนหลังเดิมและเรือนโบราณหลังเล็ก ด้านข้างออกไป และสร้างเป็นเรือนหลังปัจจุบันนี้ ซึ่งมีขนาด เล็กลงกว่าเดิม แต่ได้เพิ่มพื้นที่ใช้สอยด้านหลังให้กว้างขึ้น โดย ใช้ไม้จากเรือนหลังเดิมมาสร้างเรือนหลังปัจจุบัน และสร้างยุ้ง ข้าวขึ้นใหม่ด้านหลัง ในสมัยก่อนภายในคุ้มนี้จะมีผู้อาศัยอยู่ ทั้งญาติพี่น้อง และบ่าวไพร่บริวาร จึงจัดสรรให้พื้นที่บนเรือน ด้านหน้าเป็นห้องโถงใช้รับแขก ด้านล่างใช้เป็นที่ทอผ้า และตี เครื่องเงินไว้ใช้ภายในคุ้ม ห้องนอนอยู่ชั้นบนทางฝั่งทิศตะวัน ออก ส่วนพื้นที่ด้านหลังเรือนมีชานกว้างเชื่อมต่อกับเรือนครัว ซึ่งเป็นพื้นที่หุงหาอาหารส�ำหรับผู้อยู่อาศัยในคุ้มทั้งหมด ด้าน หลังจึงมีห้องเก็บข้าวสารอาหารแห้งที่มิดชิด มีไหข้าวขนาด ใหญ่ และอุปกรณ์ท�ำครัวหลากหลายชนิด เจ้าสมปรารถนา เล่าว่า ในสมัยก่อน ญาติพี่น้องจะมาร่วมกันหุงหาอาหาร และ รับประทานอาหารพร้อมกันที่นี่แม้จะอยู่คนละบ้านกันก็ตาม เจ้าราชบุตรมีลกู สาวสามคนคือ เจ้าจุมปี เจ้าบัวมัน และเจ้า โคมทอง ปัจจุบนั นีค้ มุ้ เจ้าราบุตรเป็นสมบัตขิ องเจ้าสมปรารถนา ณ น่าน ซึ่งเป็นบุตรสาวของเจ้าโคมทอง กับเจ้าประดิษฐ์ ณ น่าน ล่องน่านใคร่ขอขอบพระคุณเจ้าสมปรารถนา ณ น่าน และ คุณสถาพร สุรยิ า เป็นอย่างสูงทีเ่ ปิดโอกาสให้ได้เข้าไปเยีย่ มชม อาคาร และเล่าถึงประวัติความเป็นมาของคุ้ม รวมถึงข้าวของ เครือ่ งใช้โบราณต่างๆทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงวิถกี ารด�ำเนินชีวติ และ ความเป็นอยูข่ องเจ้าผูค้ รองเมืองน่าน ตลอดจนพัฒนาการของ การเปลี่ยนแปลงเมืองน่านในอดีตจนถึงปัจจุบัน

เครือ่ งบินเล็กล�ำแรกของเมืองน่าน เจ้ามหาพรหม เป็นคนแรกทีร่ เิ ริม่ ให้มกี ารสร้างสนามบินน่านขึน้ โดยได้เกณฑ์ชาวบ้านช่วยกันสร้างสนามบินในช่วง หน้าแล้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2464 - 2468 จากนั้นใน ปี พ.ศ. 2469 ร้อยเอกผล พงษ์สกุล ก็น�ำเครื่อง บิน 3 ล�ำ พาเหล่าญาติ และข้าราชการขึน้ มาชม เมืองน่าน และเจ้ามหาพรหมเองได้ซอื้ เครือ่ งบิน หนึ่งล�ำ เพื่อมอบให้กับกองทัพอากาศไทย เป็น เครือ่ งบินรุน่ สตัด๊ มีชอื่ ว่า “จ้าวผูค้ รองนครน่าน ที่ ๑” ปัจจุบันเหลือแต่เพียงรูปถ่าย ไม่มีแม้แต่ ซากเครื่องบินหลงเหลือให้เห็นแล้ว ตะเกียงน�ำ้ มันก๊าด น่านเริม่ มีไฟฟ้าใช้เมือ่ ปี พ.ศ. 2495 เจ้าประดิษฐ์ ณ น่าน (ลูกเขยของเจ้า ราชบุตร แต่งงานกับเจ้าโคมทอง ณ น่าน) เป็น ผูน้ ำ� เข้ามาเป็นคนแรก เนือ่ งจากเจ้าประดิษฐ์ ณ น่าน เป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน และนายก เทศมนตรีเมืองน่านในสมัยนั้น เจ้าประดิษฐ์ ได้น�ำเครื่องจักรดีเซลมาสองเครื่อง เพื่อน�ำมา ปั่นไฟในปี พ.ศ. 2490 โดยได้ใช้เวลาสร้างและ ติดตั้งเดินสายระบบไฟฟ้าถึง 5 ปี และได้เริ่มมี ไฟฟ้าใช้ครั้งแรกในเมืองน่านเมื่อปี พ.ศ. 2495

เครื่องฉายหนังโบราณ ในสมัยก่อนตอนเจ้า ประดิษฐ์หาเสียง จะน�ำเครื่องฉายหนังไปเปิด ฉายกลางแปลงให้ประชาชนดู และเมื่อช่อง 4 บางขุนพรหมเกิด เมื่อราวปี พ.ศ. 2498 เจ้าประดิษฐ์ก็ได้น�ำโทรทัศน์มาให้ชาวน่านได้ดู กันว่ามีหน้าตาเป็นอย่างไร

Long Nan Booklet | 10


ผังพื้นอาคาร

2.50

ยุ้งข้าว

2.50

ยุ้งข้าว

ห้องน�้ำ

ครัว

เก็บของ

เก็บของ เก็บของ

2.00

ระเบียง

ห้องนอน

2.00

บันไดหลังบ้าน 3.00

โถงรับแขก

1.50

ระเบียง 4.00

2.50

2.50

7

ห้องนอน

บันไดหน้าบ้าน

รูปด้านหน้าอาคาร

บันไดหน้าบ้าน 2.50

2.50

2.50

6

B-5

เฮือนระเบียงชมจั๋น

ต�ำแหน่งในแผนที่

คุณจินดา อินทรังสี

บ้านไม้สองชั้นยกพื้นใต้ถุนเตี้ยๆ ร่มรื่นไปด้วยไม้เถาบริเวณชานเล็กๆ ด้านหน้าหลังนี้ เดิมเป็น บ้านของพ่อครูผาย ไชยกลาง ครูช่างของบ้านมณเฑียร ปัจจุบันตกทอดมาถึงคุณจินดา อินทรังสี ลูกสาวคนที่ 3 ของพ่อครูผาย ในสมัยก่อนบ้านหลังนี้มีสมาชิกอยู่ 10 กว่าคน เป็นครอบครัวใหญ่ที่ อบอุ่น ลุงประทวน ไชยกลาง น้องชายของคุณจินดา เล่าให้ฟังว่า ในเวลากลางคืน คนในครอบครัว ก็จะพากันขึ้นไปดูดาวชมจันทร์นั่งเล่นพูดคุยกันที่ระเบียงบ้านชั้นบน แต่ปัจจุบันได้รื้อระเบียงนั้นออก แล้ว เนื่องจากถูกน�้ำฝนจนผุกร่อน และไม่มีผู้ขึ้นไปใช้ เพราะสมาชิกในบ้านส่วนใหญ่ได้แยกย้ายกัน ไปท�ำงานมีครอบครัวที่อื่น เหลือเพียงลุงประทวน พี่สาว พี่เขย หลานสาว และเหลน อยู่ด้วยกันใน บ้านหลังนี้ และไม่คิดที่จะรื้อ เพราะบ้านหลังนี้เป็นมรดกของพ่อครูผาย ที่ท่านได้คิดออกแบบตกแต่ง ต่อเติมบ้านหลังนี้ด้วยตัวของท่านเอง

ลุงประทวน ไชยกลาง น้องชายของคุณจินดา อินทรังสี 11 | จุลสารล่องน่าน

เมื่อเดินลึกเข้าไปส่วนห้องครัวหลังบ้าน จะพบ ยุง้ ข้าวและพืน้ ทีเ่ ก็บของทีค่ อ่ นข้างกว้าง และมีเครือ่ ง มือเครื่องใช้เต็มไปหมด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเครื่องมือ ที่พ่อครูผายใช้ในการประกอบอาชีพช่าง แต่เดิมใน สมัยก่อน พ่อครูผายเคยประกอบอาชีพเป็นครูสอน หนังสือเด็กนักเรียน แต่ได้ลาออกเพราะเงินเดือนครู ไม่พอเลี้ยงลูกถึง 10 คน พ่อครูผายซึ่งมีความสนใจ และความถนัดในงานช่างฝีมอื หลายแขนงเป็นทุนเดิม อยู่แล้ว จึงได้หันมาท�ำงานช่างเป็นอาชีพหลักเลี้ยง ครอบครัว โดยเริ่มจากการท�ำปืนยาว และปืนแก๊ป ขายให้กบั คนทีไ่ ปสวน ไปป่าล่าสัตว์ พองานประกอบ ปืนเริม่ มีคนต้องการน้อยลง พ่อผายจึงหันไปท�ำงาน เป็นช่างก่อสร้าง ท�ำให้เป็นทีร่ จู้ กั ของคนในย่านนีว้ า่ เป็นช่างฝีมอื ดีทคี่ อยเป็นแรงหลักในการสร้างอาคาร ในวัดมณเฑียร รวมไปจนถึงจิตรกรรมฝาผนัง ภาพ ลายไทยที่อยู่ภายในวัด จนเรียกได้ว่า พ่อครูผาย เป็นช่างฝีมอื ทีเ่ ป็นดัง่ ภูมปิ ญ ั ญาคนส�ำคัญของชุมชน

มณเฑียรท่านหนึง่ แม้ปจั จุบนั นีพ้ อ่ ครูผายจะเสียชีวติ ไปแล้ว แต่งานช่างก็ยงั ได้รบั การสืบต่อจากลูกหลาน โดยมีลุงเที่ยง ไชยกลาง ลูกชายคนที่ 4 ของพ่อครู ผาย เป็นผู้สืบต่อวิชางานช่างจากผู้เป็นบิดา และ ได้ถูกถ่ายทอดมายังลูกชายของลุงเที่ยงต่อไป แม้ ลุงเที่ยงจะเสียชีวิตไปแล้วด้วยวัยเพียง 45 ปีก็ตาม ปัจจุบันลูกชายลุงเที่ยงอาศัยอยู่ที่อ�ำเภอบ้านหลวง แต่ก็ยังมาท�ำงานให้วัดมณเฑียรอยู่เป็นประจ�ำ เช่น ปรับปรุงที่ฝังลูกนิมิต วาดลวดลายไทย หน้าบัน คัน ทวย ช่อฟ้า และใบระกา เป็นต้น ลุงประทวนเล่าถึง หลานของตนด้วยความภาคภูมใิ จ และยังได้เสริมต่อ ไปอีกว่า น้องชายของตนเองทีอ่ ยูท่ บี่ า้ นทุง่ ช้าง ก็เป็น ผูส้ บื ทอดการท�ำปืนต่อจากพ่อ ท�ำให้วชิ าช่างของพ่อ ครูผายยังคงมีชวี ติ โลดแล่นอยูต่ อ่ ไปในเมืองน่าน ถึง แม้ท่านจะจากโลกนี้ไปนานแล้วก็ตาม


พื้นที่ครัวเชื่อมถึงกันด้วยชานกลางบ้าน แบ่งการใช้งานเป็นครัวแบบเก่า และครัวแบบใหม่

ทางขึ้นบ้านเป็นบันไดไม่มีราวกันตก มีหลังคาคลุม กันแดดกันฝน

ชานกลางบ้านท�ำหน้าที่เชื่อมเติ๋นและห้องต่างๆ เข้าด้วยกัน ระดับพื้นที่ต่างกัน นอกจากจะเป็นตัวบ่งขอบเขตแล้ว ยังใช้เป็นที่นั่งไปในขณะเดียวกัน

รูปด้านหน้าอาคาร

บันไดหน้าบ้าน

คุณป้าจันทร์ดี ยศสุด

เฮือนเติ๋นหลวง

คุณป้าจันทร์ดี ยศสุด

ครัว ห้องน�้ำ ครัว

ผังพื้นอาคาร 1.80

บันไดหลังบ้าน

1.90

7

E-1

ต�ำแหน่งในแผนที่

ห้องนอน

ห้องนอน

จากถนนมหายศ เลี้ยวเข้าซอยข้างวัดมหาโพธิ ผู้มาเยือนเมืองน่านจะได้ ห้องนอน พบกับเรือนพื้นถิ่นหลังหนึ่ง ที่ยังคงความงามแบบดั้งเดิมไว้ได้ ซึ่งหาดูได้ยาก ยิ่งในปัจจุบัน แต่เดิมบ้านหลังนี้มี คุณลุงบุญรัตน์ ยศสุด เป็นเจ้าของบ้าน แต่ ปัจจุบันท่านได้เสียชีวิตไปแล้ว คุณป้าจันทร์ดี ยศสุด ภรรยาของคุณลุงจึงเป็น ชานแดด ผู้ให้การต้อนรับ พาชม และให้ข้อมูลเกี่ยวกับ “บ้านมะเก่า” ของตนเอง ที่ผู้ ฮ้านน�้ำ มาเยือนต่างรู้สึกประทับใจ เมื่อได้เห็นสภาพภายในบ้าน ที่ยังคงลักษณะการ ใช้ประโยชน์แบบดั้งเดิมไว้ได้เกือบทั้งหมด 3.80 ป้าจันทร์ดีเล่าให้ล่องน่านฟังว่า ตนเองเป็นคน ป้าจันทร์ดีกล่าวถึงตัวบ้านว่า แต่เดิมบ้านหลัง พืน้ เพทีน่ ี่ และมีเชือ้ สายม่านสืบมาตัง้ แต่บรรพบุรษุ นี้เป็นบ้านไม้ทั้งหลัง ยกใต้ถุนสูงมีบันไดขึ้นชั้นบน ส่วนลุงบุญรัตน์เป็นคนสุโขทัย ถูกเกณฑ์มาเป็นทหาร ของบ้าน บันไดนี้ยังคงเป็นแบบดั้งเดิมคือ ไม่มี ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และได้มาพบรักกับป้า ราวบันไดขึ้นบ้านเมื่อเดินขึ้นบันไดมาจะพบกับ จันทร์ดีที่บ้านมหาโพธิแห่งนี้ เมื่อสงครามสิ้นสุดลง ชานบ้านตรงกลาง ซึ่งเป็นพื้นที่ลดระดับลงมาจาก ก็ได้ลงหลักปักฐานอยูก่ นิ กับป้าจันทร์ดที นี่ ี่ โดยช่วยกัน เติ๋นทั้งสองฟาก โดยมี “ฮ้านน�้ำมะเก่า” อยู่ทาง ท�ำนา ท�ำไร่ เก็บหอมรอมริบสร้างบ้านหลังนี้ขึ้นมา ซ้ายมือ มีห้องนอนสองห้องที่เรือนฝั่งซ้าย และมี ด้วยน�้ำพักน�้ำแรงของทั้งสองคนร่วมกัน และได้มี หนึ่งห้องนอน หนึ่งห้องนั่งเล่นทางเรือนฝั่งขวา พื้น ทายาทที่เกิดที่บ้านหลังนี้ 2 คน ซึ่งปัจจุบันโตเป็น ชานบ้านตรงกลาง ที่มีรางรินข้างบนในปัจจุบันนั้น ผูใ้ หญ่กนั หมดแล้ว คนหนึง่ ย้ายไปท�ำงานในกรุงเทพฯ แต่เดิมเป็นพื้นไม้ตีเว้นร่อง ด้านบนไม่มีหลังคาคลุม ส่วนอีกคนยังคงอาศัยอยู่ที่บ้านหลังนี้ ท�ำให้เวลาฝนตกน�ำ้ ฝนจะไหลลงสูช่ านบ้านตรงกลาง

เติน๋

ชาน

3.00

เติน๋ 3.80

โถงพักผ่อน ชาน

1.80

บันไดหน้าบ้าน 1.80

1.90

1.80

1.80

3.80

แต่มาภายหลังจึงได้ตอ่ เติมหลังคาและท�ำรางรินเพือ่ ให้ใช้ประโยชน์ได้ในยามฝนตก และป้องกันพื้นไม้ ผุ ด้านหลังเป็นเรือนครัว และห้องน�้ำที่ต่อเติมขึ้น มาภายหลัง เพื่อความสะดวกไม่ต้องขึ้นลงบันไดใน เวลากลางคืน ภายในห้องครัวยังคงเห็นเตาอั้งโล่ ที่วางอยู่บนแท่นปูนหล่อเป็นบล็อกสี่เหลี่ยมผืนผ้า กัน้ ขอบด้วยไม้ ซึง่ เป็นเตาไฟแบบพืน้ บ้านภาคเหนือ ที่หาดูได้ยากในปัจจุบัน เตาไฟนี้ ป้าจันทร์ดียังคง ใช้หุงหาอาหารอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งชีวิตความเป็นอยู่ อย่างพอเพียง และเรียบง่ายแบบพื้นถิ่นเมืองน่านนี้ นับวันจะสูญหายไปกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว Long Nan Booklet | 12


3.20

4.30

ห้องครัว

3.50

3.00

ห้องนอน

เก็บของ

รูปด้านหน้าอาคาร

บันไดหลังบ้าน

ห้องนอน

เฮือน ฮอม ฮัก

8

คุณยายศรีวรรณ ไชยมงคล

F-1

13 | จุลสารล่องน่าน

คุณยายศรีวรรณเล่าให้ฟังเพิ่มเติมว่าเมื่อก่อน พืน้ ทีใ่ ต้ถนุ บ้านจะเป็นทีช่ มุ นุมของเหล่าเครือญาติ โดย เฉพาะช่วงหน้าหนาวจะก่อกองไฟขึน้ ใกล้ๆ และชวน กันปิง้ ข้าวจีก่ นิ พร้อมทัง้ ผิงไฟเพือ่ ให้รา่ งกายอบอุน่ ถึง แม้ตอนนีล้ กู หลานจะแยกย้ายกันออกเรือนไปมีบา้ นอยู่ อาศัยเป็นของตนเอง แต่ในช่วงสงกรานต์ ลูกหลานจะ กลับมารวมกันทีบ่ า้ นคุณยายศรีวรรณเป็นประจ�ำทุก ปี เพราะถือเป็น “บ้านเก๊า” ของตระกูล เพือ่ มาท�ำพิธี เลีย้ งผีปยู่ า่ ทีศ่ าลผีปยู่ า่ ในบริเวณบ้านหลังนี้ ซึง่ ศาล ผีปยู่ า่ จะสร้างไว้เฉพาะทีบ่ า้ นเก๊าของตระกูลเท่านัน้ นับว่าเป็นโอกาสทีด่ ี ทีค่ ณ ุ ยายศรีวรรณนอกจาก จะกรุณาพาชมบ้านของคุณยายแล้ว ยังได้แสดงพิธกี าร วาไม้ให้ลอ่ งน่าน และสาธิตการท�ำพิธผี ยี า่ หม้อนึง่ ให้ได้ ชม โดยน�ำข้าวเหนียวปัน้ เป็นก้อนขนาดพอดีคำ� มาผูก ด้วยเส้นด้ายให้เหลือปลายยาวประมาณ 10 ซม. บูชา ด้วยธูปหรือเทียน ดอกไม้ และปัจจัยตามศรัทธา จาก นัน้ ตัง้ จิตอธิษฐานให้ผปี ยู่ า่ ช่วยแสดงอิทธิปาฏิหาริย์

ลานบริเวณบ้านจัดจัดแบ่งพื้นที่อย่างดี และ เก็บกวาดเรียบร้อยสะอาดตา

บันได หลังบ้าน

โถง

ห้องครัวขนาดใหญ่ใช้ท�ำอาหาร และใช้ประกอบพิธี ผีย่าหม้อนึ่งด้วย

1.95

2.80

2.70

ต�ำแหน่งในแผนที่

บนถนนเทศบาลด�ำริห์ ซอย 2 ในเขตชุมชนน�ำ้ ล้อม มีบา้ นหลังหนึง่ ทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั กันดีของคนภายใน ชุมชน และละแวกใกล้เคียง เพราะหากใครที่ต้องการพึ่งพาความช่วยเหลือจากผีปู่ย่า ตามความเชื่อ เก่าแก่ของชาวพื้นเมืองภาคเหนือ ก็จะพากันมาขอให้คุณยายศรีวรรณ ไชยมงคล ผู้เป็นร่างสื่อของ ผีปู่ย่าช่วยสื่อให้ เพื่อถามไถ่เกี่ยวกับการเจ็บไข้ได้ป่วยของลูกหลานญาติพี่น้อง

คุณยายศรีวรรณ ขณะท�ำพิธีไหว้ศาลผีปู่ย่า ส�ำหรับการวาไม้เพื่อเสี่ยงทายเรื่องต่างๆ

เก็บของ

บันไดหน้าบ้าน

บ้านของคุณยายศรีวรรณเป็นเรือนไม้หลังใหญ่ ใต้ถนุ ด้านล่างส่วนหนึง่ ถูกต่อเติมด้วยผนังปูน เพือ่ ใช้ ส�ำหรับเป็นห้องนอนของพีส่ าว บริเวณบ้านโดยรอบ ร่มรืน่ ไปด้วยล�ำไยต้นใหญ่ และไม้กระถาง ลานดิน หน้าบ้านสะอาดสบายตาต่อผูม้ าเยือน คุณยายเล่า ถึงทีม่ าเกีย่ วกับบ้านหลังนีว้ า่ เป็นบ้านทีพ่ อ่ แม่ของ ตนเองช่วยกันสร้างขึน้ ด้วยน�ำ้ พักน�ำ้ แรงจากการท�ำ นาท�ำไร่ โดยเริม่ จาก ซือ้ ทีด่ นิ แล้วสร้างเป็นกระต๊อบ เล็กๆ อยูด่ ว้ ยกัน จากนัน้ จึงค่อยๆ ช่วยกันเก็บหอม รอมริบ ทยอยซือ้ วัสดุโครงสร้างของบ้านมาเก็บไว้ที ละประเภท เมือ่ ได้วสั ดุจนครบแล้ว จึงได้จา้ งสล่าพืน้ บ้านมาสร้างบ้านหลังนีข้ นึ้ ในปี พ.ศ.2507 ต่อมาก็ได้ ท�ำการปรับเปลีย่ นต่อเติมสองครัง้ ใหญ่ดว้ ยกัน โดย ครัง้ แรกได้เปลีย่ นยุง้ ข้าวหลังบ้านให้เป็นส่วนของครัว และครัง้ ทีส่ องได้ตอ่ เติมกัน้ ผนัง รวมทัง้ เทพืน้ ซีเมนต์ ในพืน้ ทีส่ ว่ นหนึง่ บริเวณใต้ถนุ ให้เป็นห้องพักของพี่ สาวเมือ่ ปี พ.ศ. 2553

2.95

2.70

บันได หน้าบ้าน

ผังพื้นอาคาร

แล้วจึงจับปลายเชือกน�ำก้อนข้าวเหนียวไปหย่อน ค้างไว้บริเวณปากหม้อนึง่ ให้กอ้ นข้าวเหนียวนัน้ หมุน วนรอบปากหม้อข้าวเองตามค�ำอธิษฐาน คุณยายศรี วรรณเล่าว่า คนส่วนใหญ่ทมี่ าหาคุณยาย จะมาเพราะ อาการเจ็บป่วยแปลกๆ ทีร่ กั ษากับหมอแผนปัจจุบนั แล้วไม่หาย หรืออาการเหล่านัน้ จูๆ่ ก็เกิดขึน้ อย่างไม่มี มูลเหตุทแี่ น่ชดั จึงมาถามผียา่ หม้อนึง่ ว่า อาการทีเ่ กิด ขึน้ กับลูกหลานหรือญาติมติ รสนิทของตนเองนัน้ เกิด จากการกระท�ำของผีหรือไม่ ซึง่ ถ้าเกิดจากผีจริง ข้าวก็ จะหมุนวนไปตามทิศทางทีอ่ ธิฐาน เช่น หมุนตามเข็ม นาฬิกา หมุนทวนเข็มนาฬิกา เหวีย่ งซ้าย-ขวา หรือ ขึน้ -ลง เป็นต้น ถึงแม้ประสบการณ์ทไี่ ด้รบั จะเป็น ความเชือ่ ส่วนบุคคล ยังไม่มกี ารศึกษารวบรวมความ รู้ และท�ำการพิสจู น์จริงจัง แต่กน็ บั ว่าเป็นภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ ทีน่ า่ สนใจและเป็นศรัทธาของคนในชุมชนที่ สืบทอดมาแต่อดีตอย่างต่อเนือ่ ง

ข่วงลานในบริเวณบ้านสามารถใช้งานได้หลากหลาย เชือ่ มต่อกับทางขึน้ หน้าบ้าน ที่มีหลังคาคลุม


7

B-5

บันไดทางขึ้นเรือนของคุณวิภาพรเป็นคอนกรีต ซึ่งถูก สร้างทดแทนบันไดไม้เก่าที่ผุพังไป

บ้านคุณสมาน ทีค่ อ่ นข้างทรุดโทรม แต่คงไว้ซงึ่ ลักษณะ ดั้งเดิมอย่างครบถ้วน

ต�ำแหน่งในแผนที่

2.80

1.90

เฮือนกระเบื้องปั้นมือ

2.00

4.00

ห้องน�้ำ

วิภาพรและสมาน อินแปง

บริเวณชุมชนไผ่เหลือง มีบา้ นพืน้ ถิน่ สองหลังทีย่ งั คงมีหลังคากระเบือ้ ง ปั้นมือให้เห็น หนึ่งในนั้นคือ บ้านของ คุณวิภาพร อินแปง โดยลุงหมาย อินแปง ผู้เป็นน้องชายของเจ้าของบ้านได้เล่าให้ล่องน่านฟังว่า บริเวณ รอบๆ นีเ้ ป็นเครือญาติเดียวกัน มีอยูด่ ว้ ยกันทัง้ หมด 5 หลัง แต่บางหลังก็ได้ รื้อเปลี่ยนเป็นบ้านก่ออิฐถือปูนสมัยใหม่แล้ว ยังคงมีเรือนหลังนี้ และเรือน หลังข้างๆ ซึง่ เป็นบ้านของพ่อแม่แต่เดิม แต่ปจั จุบนั เป็นบ้านของพีช่ ายคนโต เดิมบ้านของคุณวิภาพร ตัวเรือนเป็นไม้ทั้งหมด ซึ่งพ่อของตนเองได้จ้าง สล่าบ้านต่งขามมาสร้างให้ พร้อมทั้งปั้นกระเบื้องมุงหลังคาด้วย ในสมัยก่อน นัน้ การปัน้ จะเป็นการ “ปัน้ สด” คือ ปัน้ กระเบือ้ ง ณ จุดทีท่ ำ� การก่อสร้าง จาก นั้นตาก และยกขึ้นมุงเลย ชานด้านหลังบ้านได้รับการต่อเติมขึ้นเมื่อประมาณ 25 ปีมาแล้ว เพือ่ ใช้วางเครือ่ งซักผ้าและท�ำกิจกรรมซักล้างอืน่ ๆ สังเกตได้จาก เสาไม้ยคู าลิปตัสทีต่ อกเสริมรับโครงสร้างชานใหม่ เพราะเสาโครงสร้างเดิมเป็น เสาก่ออิฐ ส่วนพื้นชานไม้หน้าบ้านถูกรื้อออกเปลี่ยนเป็นพื้นคอนกรีต และปู ด้วยกระเบื้องเมื่อไม่นานมานี้ เนื่องจากชานเดิมผุพังมาก บ้านกระเบือ้ งปัน้ มือหลังทีส่ องนัน้ เป็นบ้านของลุงสมาน อินแปง ซึง่ เป็นพี่ ชายคนโตของตระกูล ทีไ่ ด้รบั มรดกตกทอดมาจากบิดามารดา ตัวบ้านค่อนข้าง คงสภาพเดิมไว้ได้เกือบทัง้ หมด ยกเว้นส่วนของห้องน�ำ้ ทีจ่ ากเดิมเคยมีหอ้ งน�ำ้ อยู่ใต้ถุนบ้าน แต่ได้ถูกรื้อออกเพื่อสร้างขึ้นใหม่ให้อยู่ในระดับเดียวกับตัวบ้าน เพื่อความสะดวกสบายในการใช้สอย ส่วนพื้นที่ใต้ถุนบ้านเป็นที่เก็บข้าวของ เครื่องใช้ต่างๆ รวมทั้งเกวียนเก่า ที่ยังคงเหลือให้เห็นอยู่หนึ่งเล่ม พร้อมกับ อุปกรณ์วัวเทียมเกวียนจ�ำนวนมาก สมัยก่อนลุงหมายและพี่ชายจะน�ำเกวียน นี้ไปรับจ้างขนทรายจากน�้ำน่านไปขาย และใช้ในงานก่อสร้างบ้านเรือนต่างๆ ในเมืองน่าน ตามแต่จะมีคนว่าจ้างในช่วงเว้นว่างจากการท�ำนา เกวียนเล่มนี้ จึงถือเป็นเกวียนคู่ชีวิตของครอบครัว นอกจากนี้ ผืนที่ดินระหว่างบ้านในกลุ่ม เครือญาติ ยังใช้ส�ำหรับปลูกผักสวนครัวขาย ลุงหมายบอกว่า สมัยก่อนผู้คน ย่านนี้มักปลูกผักขายกันเป็นส่วนมาก เนื่องจากดินอุดมสมบูรณ์ดี แต่ปัจจุบัน ไม่ค่อยมีผู้นิยมปลูกผักขายกันแล้ว เพราะต่างหันไปประกอบอาชีพอื่น ตาม สภาพเศรษฐกิจสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป

หลังคาบ้านคุณวิภาพรมุงกระเบือ้ ง ปั้นสดทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งหาช่างท�ำได้ไม่ยากในสมัยก่อน

2.50

ห้องนอน

เก็บของ

2.50

ชาน เติ๋น ห้องนอน

2.50

เติ๋น

ผังพื้นอาคาร 2 บ้านคุณสมาน อินแปง

2.50

บันไดหน้าบ้าน

ห้องน�้ำ ห้องนอน

2.50

โถง

โถง

ห้องนอน

ชาน

2.50

บันไดหลังบ้าน

เติ๋น ชาน

ห้องนอน

2.30

1.50

2.00

2.50

2.50

บันไดหน้าบ้าน 2.30

2.00

3.00

3.00

1.50

1.50

ผังพื้นอาคาร 1 บ้านคุณวิภาพร อินแปง

Long Nan Booklet | 15


บ้านสมัยใหม่ยังมีอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกมากมาย เฮือนมะเก่าก็มี สิ่งของเครื่องใช้จากภูมิปัญญาพื้นบ้าน ที่ช่วยให้อยู่อาศัยในเฮือนไม้ใต้ถุนสูง สะดวกสบายยิ่งขึ้น โดยประดิษฐ์ขึ้นจากวัสดุที่หาได้ใกล้ๆ ตัว

อู่เกวียน

อู่เกวียนมีไว้ใช้ส�ำหรับบรรทุกของ โดยจะมีการวาด รูปวิถชี วี ติ ของชาวเมืองน่านไว้บริเวณแผ่นไม้กระดาน ด้านหลังอูเ่ กวียน และดุมเกวียนหรือกะทะล้อ เกวียน ทางภาคเหนือจะไม่สงู เหมือนทางภาคกลาง และนิยม ใช้วัวเทียมเกวียนมากกว่าการใช้สัตว์ต่างชนิดอื่นๆ

ที่แขวน กันมด

อุปกรณ์ชิ้นนี้มีหลักการที่ไม่ให้มดไปกัดกิน อาหาร มดจะเดินลงไปตามไม้ หรือท่อพีวีซี แล้วตกลงไปในน�้ำ ท�ำให้ไม่สามารถข้ามลง ไปกินอาหารได้

ไม้แตะปิดบันได

ไม้แตะปิดบันไดมีไว้เพื่อป้องกันไม่ให้สุนัขขึ้นมา นอนบริเวณบันได และขึ้นไปบนบ้าน ในช่วงเวลา ที่ต้องเปิดประตู เพื่อรับลม และแสงแดด แตะจะ ท�ำมาจากไม่ไผ่สานโดยเลือกเอาเฉพาะบริเวณผิว ไผ่ ท�ำให้น�้ำหนักเบา ยกเข้า-ออกได้ง่าย ลวดลาย ในการจักสานเป็นลายพื้นฐาน สามารถสานได้ ง่ายและชาวบ้านนิยมสานแตะปิดบันไดไว้ใช้เอง

ปล่อง ระบายข้าว

ปล่องระบายข้าวออกบริเวณผนังด้านล่างของยุ้ง ข้าว ในสมัยก่อนชาวบ้านจะท�ำนาข้าว โดยจะเก็บ ข้าวเปลือกไว้สำ� หรับขัดสีรบั ประทานทีละกระสอบ การที่ต้องน�ำข้าวไปขัดสีทุกๆ เดือนจึงจ�ำเป็นต้อง ตักใส่กระสอบ แต่ถา้ ท�ำเป็นปล่องข้างบริเวณผนัง ด้านล่างสุดของยุ้งข้าว ก็จะสามารถน�ำกระสอบ มารอง โดยไม่ต้องขึ้นไปตักข้าวในยุ้งให้เหนื่อย และเปื้อนฝุ่นข้าวเปลือก

จุลสารล่องน่าน

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์

ติดตามอ่านล่องน่านฉบับอิเล็กทรอนิกส์ได้ในระบบของ ebooks.in.th ระบบที่เข้าถึงได้ง่าย สามารถเปิดอ่านหนังสือ eBooks ได้หลากหลายอุปกรณ์ ทั้ง iPhone iPad Android และ PC โดยท�ำตามขั้นตอนดังนี้

กับดักหนูในอดีตท�ำมาจาก ไม้ มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบ กรงหนูเป็นกับดักที่จับเป็น และแบบภาพด้านบนซึ่งเป็น แบบจับตายโดยใช้วธิ กี ารใส่เหยือ่ ล่อหนูไว้ใต้แผ่นไม้กระดาน หนูจะ เข้าไปกินเหยือ่ ทีเ่ สียบติดกับไม้สลักให้หลุดออก เชือก ที่รั้งแผ่นกระดานซึ่งอยู่ด้านบนและมีน�้ำหนักมากก็ จะหล่นทับหนูตายคาที่ สามารถดักหนูได้ตั้งแต่หนู เล็กๆ ไปจนถึงหนูตัวใหญ่ โดยการเพิ่มน�้ำหนักให้ กับกระดานด้านบน 1. โหลดผ่านอุปกรณ์พกพา Smart Phone, Tablet โหลดแอปชื่อ “ebooks.in.th” จาก App Store หรือ Google Play เปิด App แล้วค้นหา ล่องน่าน หรือ Long Nan โหลดหนังสือ ฉบับที่ชอบเก็บไว้อ่านได้ตลอดเวลา

2. โหลดผ่าน Web Browser

ไปที่เว็บไซท์ http://www.ebooks.in.th/longnanproject/ เลือกโหลด PDF ไฟล์ ได้จากหน้าเว็บ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.