บทสวดพุทธคุณ พุทธบารมี ๔ อสงไขย (ตัวอย่างหนังสือ)

Page 1




บทสวดพุทธคุณ พุทธบารมี ô อสงไขย

ISBN : 978-616-268-612-2 พิมพ์ครั้งที่ ๑ : ๒๕๖๖ บรรณาธิการและเรียบเรียง ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์สัทธ์ น.ธ.เอก, ป.ธ.๗, พธ.บ. (ภาษาไทย) ออกแบบปกและจัดรูปเลม อนุชิต คำาซองเมือง น.ธ.เอก, ป.ธ.๙, ค.บ. (พุทธศาสนา) พิสูจนอักษร อุธร นามวงศ์ บธ.บ. (บริหารการจัดการทั่วไป) สุพัฒน์ วงเวียน น.ธ.เอก, ป.ธ.๗, พธ.บ. (บริหารรัฐกิจ)

จั´ทําâ´ย


ค�าน�า พุทธคุณ หมายถึงคุณงามความดีที่มีเฉพาะในพระพุทธเจ้า ซึ่ง มีอยู่มากมายหลายประการเกินที่จะพรรณนาสาธยายให้หมดสิ้นได้ และยังเป็นอมตคุณทีไ่ ม่สญ ู หายไปตามกาลเวลา แม้พระองค์จะเสด็จ ดับขันธปรินิพพานไป ๒,๕๐๐ กว่าปีมาแล้วก็ตาม แต่พระคุณของ พระองค์ยังคงโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ในฐานะที่ทรงเป็นปูชนียบุคคล ผู้อุดมเลิศควรแก่กราบไหว้อย่างไม่มีผู้ใดยิ่งกว่า การระลึกพระคุณของพระพุทธเจ้า มีข้อดีหลายประการ คือ ๑. ช่วยยังจิตของผูท้ ยี่ งั ไม่เลือ่ มใสให้เลือ่ มใส ยังจิตของผูท้ เี่ ลือ่ มใสอยูแ่ ล้ว ให้เลื่อมใสมากยิ่งขึ้น ๒. ผู้ที่มีจิตเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธเจ้าแล้ว ย่อมพอใจยินดีในการปฏิบัติตามพระธรรมค�าสอน ละเว้นจากการ ท�าบาปทั้งปวง ท�าความดีให้ถึงพร้อม ๓. มีพระพุทธเจ้าเป็นต้นแบบ ในการประกอบความพากเพียร บนเส้นทางแห่งมัชฌิมาปฏิปทา เพื่อน�าพาตนให้เข้าถึงความพ้นทุกข์ พุทธคุณเป็นคุณงามความดี ที่เกิดจากการสั่งสมบารมี ๑๐ ประการมีทานเป็นต้น ใน ๓ ระดับ คือ ระดับบารมี อุปบารมี และ ปรมัตถบารมี รวม ๓๐ ทัศ มาอย่างยาวนานเป็นเวลา ๔ อสงไขย กับ ๑ แสนมหากัป และบารมีที่สั่งสมมาดีแล้วนี้ก็เป็นฐานให้ทรง ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรง เปียมด้วยพระคุณอันยิ่งใหญ่หาผู้ใดเสมอเหมือนมิได้ พุทธคุณจึงเป็นที่สุดแห่งอุดมมงคล เสกใส่ไว้ในพระเครื่อง เครื่องรางของขลังก็ศักดิ์สิทธิ์ เขียนเป็นยันต์ไว้ในผ้าประเจียด หรือ สักเป็นอักขระตามร่างกายก็เกิดฤทธิ์อานุภาพ แม้สวดภาวนาเป็น คาถาป้องกันก็แคล้วคลาดปลอดภัย ภาวนาด้วยจิตเมตตาก็เป็นเมตตา


มหานิยม น�ามาสวดสรรเสริญเช้าเย็นก่อนนอนก็เป็นบุญกุศล ใช้เป็น บทบริกรรมเจริญสติในการปฏิบัติกัมมัฏฐานก็น�าเป็นทางให้ถึงความ พ้นทุกข์ด้วยเหตุนี้ พุทธคุณจึงเป็นสิ่งที่ควรระลึกถึงและสร้างให้เกิด มีขึ้นในกายในใจตนเป็นอย่างยิ่ง หนังสือเล่มนี้ ได้รวบรวมบทสวดมนต์ที่ว่าด้วยพุทธคุณ ๓, พุทธคุณ ๙, พุทธคุณ ๕๖, และพุทธคุณ ๑๐๐ พร้อมประวัติความ เป็นมา อานิสงส์ และการน�าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในหลากหลาย มิติ และได้รวบรวมบทสวดพุทธบารมี บารมี ๓๐ ทัศ เอาไว้ด้วย เพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบถึงพระบารมีที่พระพุทธองค์ได้ทรงบ�าเพ็ญมา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้ จักเอื้อประโยชน์โสตถิผลแก่ ทุกท่านในการประกอบกรรมดี ละเว้นกรรมชั่ว กระท�าจิตของตน ให้ผ่องใส ตามหลักค�าสอนแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าต่อไป €าตุ จิรํ สตํ ธมฺâม ขอพระสัทธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จงด�ารงอยู่สิ้นกาลนาน บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

พุท

โธ


สารºัÞ

พุทธคุณคืออุดมมงคลอันสูงสุด อานุภาพของพุทธคุณ รูปแบบการนำาพระพุทธคุณมาประยุกต์ใช้ พุทธคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์

บทสวดพุทธคุณ ๓

บทสวดพุทธคุณ ๓ ประวัติความเป็นมา การประยุกต์ใช้

๖ ๗ ๙ ๑๐

๑๑

๑๒ ๑๓ ๑๓

บทสวดพุทธคุณ ๙

๑๔

บทสวดพุทธคุณ ๕๖

๑๙

บทสวดพุทธคุณ ๑๐๐

๓๐

บทสวดพุทธบารมี ๔ อสงไขย

๓๙

บทสวดพุทธคุณ ๙ ประวัติความเป็นมา การประยุกต์ใช้

บทอิติปโสรัตนมาลา ๕๖ คาถา มหาพุทธโถมนาการปาฐะ (พุทธคุณ ๑๐๐)

บทพุทธบารมี บทบารมี ๓๐ ทัศ พระคาถาชินบัญชร บทพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ) บทชยปริตร (มหากาฯ)

๑๕ ๑๕ ๑๕ ๒๐

๓๑

๓๙ ๔๑ ๔๔ ๔๖ ๔๘


พุทธคุณคืออุดมมงคลอันสูงสุด พุทธคุณ หมายถึง คุณงามความดีของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีอยู่ มากมายหลายประการ ไม่อาจจะน�ามาพรรณนาให้หมดได้ จัดเป็นคุณ อันประเสริฐและเป็นอุดมมงคลอันสูงสุด ทีเ่ มือ่ ผูใ้ ดกล่าวสรรเสริญก็ดี ตามระลึกถึงก็ดี ย่อมอ�านวยความสุข ความเจริญ ความเป็นสิรมิ งคล ตลอดถึงความไม่มีทุกข์แก่ผู้นั้น ตามสมควรแก่การปฏิบัติ พุทธคุณหรือคุณของพระพุทธเจ้านัน้ ได้ชอื่ ว่าเป็นอุดมมงคลอัน สูงสุด เพราะ ๑. เป็นพระคุณที่เกิดจากการสร้างบารมีที่ยิ่งใหญ่ ๑๐ ประการ มีทานบารมี สีลบารมี เนกขัมมบารมี เป็นต้น ทั้ง ๓ ระดับ คือระ´ัº บารมี (ระดับสามัญ) อุปบารมี (ระดับกลาง) ปรมัตถบารมี (ระดับ สูงสุด) รวมได้ ๓๐ ประการ ที่เรียกว่า บารมี ๓๐ ทัศ นับเวลาได้ ๔ อสงไขย ๑ แสนมหากั ป ซึ่ ง บารมี ทั้ ง หมดที่ ท รงสั่ ง สมมานี้ ได้เป็นบาทฐานให้พระองค์ได้บรรลุคุณอันยิ่งใหญ่ คือการตรัสรู้เป็น พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐนานัปการ ซึ่งเป็นคุณที่ยิ่งใหญ่ หาไม่ได้ในหมู่มนุษย์และเทวดา ๒. เป็นพระคุณทีม่ อี านุภาพในการช่วยคุม้ ครองป้องกันและขจัด ทุกข์ โศก โรค ภัยทั้งหลายให้หมดสิ้นไป และให้ส�าเร็จผลในสิ่ง ที่ปรารถนา อาทิเช่น น�าเอาพุทธคุณมาผูกเป็นคาถาส�าหรับเสกเป่า เพื่อป้องกันภัยบ้าง เป็นเมตตามหานิยม ค้าขายร�่ารวยบ้าง ปลุกเสก เครือ่ งรางของขลังบ้าง หรือน�าอักขระในพุทธคุณทีเ่ ป็นยันต์ตา่ งๆ สัก ตามตัวบ้าง เขียนลงในแผ่นยันต์ แผ่นผ้า ตะกรุด บ้าง โดยที่สุดน�า มาเป็นบทสวดมนต์เพื่อให้ดวงจิตมีความสงบ เบาสบาย ผ่อนคลาย จากเรื่องวุ่นวายต่างๆ ในแต่ละวัน เช่น บทสวดอิติปิโส บทอิติปิโสรัตนมาลา เป็นต้น

6

º·ÊÇ´Á¹µ ¾Ø·¸¤Ø³ ¾Ø·¸ºÒÃÁÕ ô Íʧä¢Â


๓. เป็นพระคุณทีส่ ามารถน�าผูท้ นี่ บั ถือให้จากพ้นทุกข์ เข้าถึงบรม สุขกล่าวคือพระนิพพานได้ ด้วยการน�าพุทธคุณมาเป็นอุบายในการ เจริญสติฝกฝนอบรมจิตให้ตั้งมั่น และเกิดปัญญารู้แจ้งในธรรมตาม ที่พระพุทธองค์ตรัสสอน เรียกว่า เจริญพุทธานุสสติ (การเจริญสติ ด้วยการตามระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์) เช่น การ ปฏิบัติสมาธิตามแบบของพระป่าสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ที่ใช้วิธีนั่ง หลับตาเอาสติกา� หนดดูลมหายใจเข้า-ออก หายใจเข้าภาวนาว่า “พุท” หายใจออกภาวนาว่า “โธ” ซึง่ เป็นวิธปี ฏิบตั ทิ กี่ อ่ เกิดพ่อแม่ครูอาจารย์ ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากมาย

อานุภาพของพุทธคุณ

ด้วยเหตุที่พุทธคุณเป็นคุณที่ประเสริฐ เป็นยอดแห่งอุดมมงคล อันสูงสุด จึงมีพลานุภาพมากในแง่มุมต่างๆ ดังจะยกเป็นตัวอย่างมา เล่าดังนี้

๑. ยังจิตให้เลื่อมใส ส่งผลให้ไปเกิดในสวรรค์ ครั้งสมัยพุทธกาล ชายหนุ่มคนหนึ่ง ชื่อมัฏฐกุณฑลี นอนป่วย หนักใกล้ตายที่นอกระเบียงบ้าน พระพุทธเจ้าเสด็จมาโปรด โดย ประทับยืนทีน่ อกรัว้ ทรงเปล่งฉัพพรรณรังสีออกจากพระวรกายให้เขา ได้เห็น เมื่อได้เห็นฉัพพรรณรังสีของพระพุทธเจ้า เขาได้ยงั จิตให้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า และสิ้ น ใจลงในขณะนั้ น ไป อุ บั ติ เ ป็ น เทพบุ ต รในสวรรค์ ทันที ด้วยผลแห่งการยังจิตใจ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

7


๒. ให้ชนะการพนันและป้องกันภูตผีป‚ศาจ ในสมัยพุทธกาล เด็กชายคนหนึ่ง ครอบครัวมีความเลื่อมใสใน พระพุทธเจ้าเป็นอย่างมาก ไม่วา่ จะท�าอะไรหรือมีเหตุการณ์อะไรขึน้ มา เขามักจะกล่าวแสดงความเคารพพระพุทธเจ้าว่า “นะโม พุทธัสสะ” อยูเ่ สมอ วันหนึง่ เขาเล่นทอดลูกเตากับเพือ่ น ก่อนทอดลูกเตาเขาได้ กล่าวอธิษฐานนมัสการพระพุทธเจ้าว่า นะโม พุทธัสสะ ท�าให้ทอด ลูกเตาชนะทุกเกม ต่อมา คืนหนึ่ง ขณะที่ เขานอนหลับอยู่ มียักษ์ตนหนึ่งเข้ามาจับ ที่ขาเพื่อกินเป็นอาหาร เด็กสะดุ้งตื่นขึ้น และสวดคาถาว่า นะโม พุทธัสสะ ææ ด้วย อานุภาพแห่งพุทธคุณ ท�าให้มือของยักษ์ ร้อนดั่งไฟ ไม่อาจแตะต้องตัวเด็กได้ จึงจ�า ต้องปล่อยเด็กแล้วหนีไป

๓. คุ้มครองให้ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ

เรื่องนี้เกิดขึ้นที่ลังกา ภิกษุรูปหนึ่งขึ้นไปบน ยอดเจดีย์เพื่อท�าการบูรณปฏิสังขรณ์ส่วนที่ช�ารุด ขณะก�าลังซ่อมแซมอยู่ได้เกิดอุบัติเหตุลื่นและไถล ตัวลงมาตามองค์เจดีย์ สูงจากพื้นราว ๖๐ เมตร ภิ ก ษุ รู ป นั้ น ภาวนาระลึ ก ถึ ง พุ ท ธคุ ณ ขอให้ ช ่ ว ย คุ้มครองตน ทันใดนั้นได้มีก้อนอิฐก้อนหนึ่งโผล่ยื่น ออกมาให้เขาจับคว้าเอาไว้ก่อนจะตกถึงพื้น

๔. กลับเรื่องร้ายให้กลายเป็นดี

พระเดชพระคุณ พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม) วัดอัมพวัน ท่านเล่าไว้ในหนังสือ “อานิสงส์ของการสวดพุทธคุณ” เอา ไว้วา่ มีเศรษฐีนชี าวคริสต์คนหนึง่ สามีเสียชีวติ แล้ว มีลกู ชายคนเดียว ส่งไปเรียนต่อที่อเมริกา เป็นลูกไม่เอาไหนท�าตัวเกเรผลาญเงินเดือน

8

º·ÊÇ´Á¹µ ¾Ø·¸¤Ø³ ¾Ø·¸ºÒÃÁÕ ô Íʧä¢Â


ละหลายแสนบาท ท�าให้ผู้เป็นแม่กลุ้มใจมาก ไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร หลวงพ่อแนะน�าให้สวดมนต์บท พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุง มหากาฯ และสวดอิตปิ โิ สเท่าอายุ+๑ โดยก�าชับว่า “โยมสวดเสร็จแล้ว แผ่เมตตาให้ลูก อย่าด่าลูก อย่าแช่ง ลูก ให้ลูกมีความสุขความเจริญ ให้ ตั้งใจเรียนหนังสือให้ส�าเร็จ” ผ่านไป ๖ เดื อ น ลู ก ชายที่ อ เมริ ก าเกิ ด อุบตั เิ หตุรถคว�า่ พวงมาลัยอัดหน้าอก ถึงขั้นโคม่า แพทย์วินิจฉัยว่าไม่รอด แต่ก็รอดมาได้อย่างปาฏิหาริย์ เมือ่ หายดีแล้ว ได้กลับตัวกลับใจเป็นคนดี ตัง้ ใจเรียน หันมาสวด มนต์ ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ปัจจุบัน เรียนจบปริญญาเอกเป็นที่ เรียบร้อยแล้ว

รูปแบบการน�าพระพุทธคุณมาประยุกต์ใช้ การน�าพระพุทธคุณมาประยุกต์ใช้ในอดีตและปัจจุบันนั้น พอ จ�าแนกได้ดังนี้ ๑. น�ามาใช้เป็นบทสวดมนต์ เช่น สวดมนต์ทา� วัตรเช้า-เย็น สวด มนต์ก่อนนอน สวดเจริญพระพุทธมนต์ในงานบุญต่างๆ เพื่อให้จิตใจ สงบ สะสมความดี ป้องกันภัย ให้เกิดความเป็นสิริมงคล ส�าเร็จผล ในสิ่งที่ตนปรารถนา ๒. น�ามาใช้เป็นมนต์คาถาเพื่อให้เกิดอานุภาพในด้านต่างๆ เช่น ใช้เป็นคาถามหาอุด คงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เมตตามหานิยม มหาลาภ ปัดเป่าบรรเทาทุกข์โศกโรคภัย เป็นต้น ๓. น� า มาใช้ เ ป็ น อั ก ขระเขี ย นเป็ น ยั น ต์ บนแผ่นผ้า แผ่นทอง เหรียญ หรือวัตถุมงคล ตลอดถึงใช้สักบนผิวหนัง เพื่อให้เกิดผล บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

9


ในด้านต่างๆ เช่น ยันต์เกราะเพชร ยันต์อิติปิโส ๘ ทิศ ยันต์หัวใจ พุทธคุณ เป็นต้น ๔. ใช้เป็นค�าบริกรรมหรือคาถาส�าหรับปลุกเสกเครือ่ งรางของขลัง ให้เกิดผลตามต้องการ ๕. ใช้เป็นค�าบริกรรมในการเจริญสติตามหลักสมถกัมมัฏฐาน ที่ เรียกว่า พุทธานุสสติ หนึ่งใน ๔๐ วิธีของการเจริญสมถกัมมัฏฐาน

พุทธคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์

ดังทีก่ ล่าวมาแล้วว่า พุทธคุณนัน้ เป็นอุดมมงคลอันสูงสุด มีความ ขลังความศักดิ์สิทธิ์ และความเป็นสิริมงคลอยู่ในตัว มีการน�ามา ประยุกต์ใช้ในรูปแบบต่างๆ มากมาย หนึ่งในนั้นคือการน�ามาเป็นบท สวดมนต์ โดยมีจุดประสงค์อย่างน้อย ๓ ประการ คือ ๑) เพื่อ สรรเสริญและยังให้จิตเลื่อมใสในคุณของพระพุทธเจ้า ๒) เพื่อเป็น อุบายท�าให้ใจสงบจากเรื่องวุ่นวายต่างๆ และสะสมบุญกุศลในใจให้มี มากยิ่งขึ้น ๓) เพื่อป้องกันและก�าจัดสิ่งชั่วร้ายต่างๆ ให้หมดไปและ ให้เกิดสิ่งที่ดีงามเป็นมงคลแก่ชีวิต บทสวดมนต์ที่ว่าด้วยพุทธคุณนั้น มีมากมายหลายบทด้วยกัน ซึ่งมีทั้งที่มาในพระไตรปิฎกและแต่งขึ้นภายหลัง ในที่นี้จะขอคัดเอา เฉพาะบทสวดพุทธคุณที่ผู้เขียนเห็นว่ามีความส�าคัญที่ชาวพุทธควรรู้ และควรสวดมาน�าเสนอ ๔ บทด้วยกันคือ

บทสวดพุทธคุณ ๓ บทสวดพุทธคุณ ๙ บทสวดพุทธคุณ ๕๖ บทสวดพุทธคุณ ๑๐๐ 10

º·ÊÇ´Á¹µ ¾Ø·¸¤Ø³ ¾Ø·¸ºÒÃÁÕ ô Íʧä¢Â


บทสวดพุทธคุณ ๓

บทสวดพุทธคุณ ๓ นี้ เป็นบทสวดเบสิกทีช่ าวพุทธทุกคนมีความ คุ้นเคย ได้ยิน ได้ฟัง และได้สวดกันบ่อยที่สุด แทบจะกล่าวได้ว่าไม่มี ชาวพุทธคนใดสวดบทนี้ไม่ได้ นั่นคือ บทสวดนมัสการพระพุทธเจ้า หรือบทนะโม ๓ จบ หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า บทปุพพภาคนมการ แปลว่า บทท�าความนอบน้อมพระพุทธเจ้าก่อนท�ากิจอย่างอืน่ บทสวดนะโม ๓ จบนี้ เป็นบทสวดสรรเสริญคุณของพระพุทธเจ้า ๓ ประการคือ พระกรุณาคุณ พระวิสุทธิคุณ และพระปัญญาคุณ ซึ่ง พระคุณทั้งหมดของพระพุทธเจ้าไม่ว่าจะมีมากเพียงใดก็สรุปรวมลง ในพระคุณ ๓ ข้อนี้ และเมื่อผู้ใดก็ตามสวดบทนะโม ๓ จบนี้ก็เท่ากับ ได้สวดสรรเสริญพระคุณของพระพุทธเจ้าทั้งหมด ๑. ความที่พระพุทธเจ้ามีน�้าพระทัยเอ็นดูต่อสรรพสัตว์ทั้งหลาย ประกาศศาสนาไม่เห็นแก่ความสุขส่วนพระองค์ มุ่งแต่ประโยชน์สุข แก่ชาวโลก นี้เป็นพระกรุณาคุณของพระองค์ ๒. ความที่พระพุทธเจ้าเป็นพระอรหันต์ ห่างไกลจากกิเลส ไร้ ซึ่งความโลภ โกรธ หลง นี้จัดเป็นพระวิสุทธิคุณของพระองค์ บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

11


๓. ความที่พระพุทธเจ้าทรงสามารถรู้แจ้งอริยสัจ ๔ ตรัสรู้เป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยตัวของพระองค์เอง ไม่มีผู้ใดกล่าวสอน นี้จัดเป็นพระปัญญาคุณของพระองค์

บทสวดพุทธคุณ ๓

เราสามารถสวดสรรเสริญพระคุณทั้ง ๓ ประการด้วยบทว่า

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. แปลตามศัพท์ได้ว่า นะโม (ขอนอบน้อม) ภะคะวะโต (แด่พระ ผูม้ พี ระภาคเจ้า) ตัสสะ (พระองค์นนั้ ) อะระหะโต (ซึง่ เป็นผูห้ า่ งไกล จากกิเลส) สัมมาสัมพุทธัสสะ (ตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง). ๑. ภะคะวะโต มาจากศัพท์เดิมว่า ภควา แปลว่า ผูจ้ ำ� แนกธรรม สัง่ สอนสัตว์ คือทรงคัดเลือกธรรมส�ำหรับแสดงแก่สรรพสัตว์ให้เหมาะ สมแก่อุปนิสัย เพื่อให้ผู้นั้นได้รับประโยชน์สูงสุดจากการฟังธรรม เป็นค�ำที่แสดงถึงความกรุณาที่พระองค์มีต่อสรรพสัตว์ จึงจัดเป็น พระกรุณาคุณ ๒. อะระหะโต มาจากค�ำว่า อรหนฺต แปลว่า ผู้เป็นพระอรหันต์ ห่างไกลจากกิเลส คือเป็นผู้ช�ำระกิเลสทั้งหลายทั้งปวงหมดสิ้นแล้ว จากใจ เป็นผู้บริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาแล้วจากกิเลส ข้อนี้จึงจัดเป็นพระ วิสุทธิคุณของพระองค์ ๓. สัมมาสัมพุทธัสสะ มาจากค�ำว่า สมฺมา (โดยชอบ) + สํ (พระองค์เอง) + พุทฺธ (ตรัสรู้ รู้แจ้ง) แปลว่า ผู้ตรัสรู้หรือรู้แจ้งโดย ชอบด้วยพระองค์เอง ไม่มีผู้ใดเป็นครู ค�ำนี้จึงเป็นค�ำที่แสดงถึงพระ ปัญญาคุณของพระพุทธองค์

12

บทสวดมนต์พุทธคุณ พุทธบารมี ๔ อสงไขย


ประวัติความเป็นมา

มีปรากฏในหนังสือ ®ีกานะโม ว่า บทสวดนะโมนั้นเกิดจาก การน�าค�าสรรเสริญของเทวดา ๕ ตนที่มาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เพื่อ ถามปัญหา แล้วเกิดความเลื่อมใสจึงพากันกล่าวสรรเสริญคนละค�า ตามล�าดับดังนี้ สาตาคิรียักษ์ กล่าวสรรเสริญว่า “นะโม” อสุรินทราหู กล่าวสรรเสริญว่า “ตัสสะ” ท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔ กล่าวสรรเสริญว่า “ภะคะวะโต” ท้าวสักกเทวราช กล่าวสรรเสริญว่า “อะระหะโต” ท้าวมหาพรหม สรรเสริญว่า “สัมมาสัมพุทธัสสะ”

การประยุกต์ใช้ บทนะโม ๓ จบนี้ เป็นบทสวดกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า โดยตรง มีหลักการใช้ ๓ ประการคือ ๑. ใช้เป็นบทกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้าเป็นเบื้องต้นก่อนท�า กิจกรรมต่างๆ ทางศาสนา เช่น ก่อนแสดงธรรม ก่อนสมาทานศีล ก่อนเจริญพระพุทธมนต์ ก่อนสวดมนต์ ก่อนว่าคาถา ก่อนท�าวัตร เช้า-เย็น หรือประกอบพิธกี รรมอย่างใดอย่างหนึง่ ชาวพุทธจะนิยมตัง้ นะโม ๓ จบก่อน ทั้งนี้เพื่อเป็นการไหว้พระพุทธเจ้าผู้เป็นบรมครู เพื่อให้พิธีกรรมหรือกิจกรรมที่ท�านั้นส�าเร็จผลดังปรารถนา การสวดนะโมนั้น นิยมกล่าว ๓ จบ ทั้งนี้เพื่อตอกย�้าถึงความ เคารพที่ตนมีต่อพระพุทธเจ้าอย่างหนึ่ง เพื่อเตรียมจิตให้สงบมีความ พร้อมก่อนท�ากิจนั้นๆ อย่างหนึ่ง ๒. ใช้สวดเป็นบทบริกรรม หรือใช้เป็นมนต์คาถาประจ�าตัวเพื่อ ให้เกิดผลส�าเร็จอย่างใดอย่างหนึง่ หรือเพือ่ ป้องกันภัยอันตรายแก่ตน ดังตัวอย่างที่กล่าวแล้วในข้อ ๒ หน้า ๘ บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

13


๓. ใช้เป็นบทบริกรรมเพื่อเจริญสติที่เรียกว่า พุทธานุสสติ คือ การเจริญสติดว้ ยการระลึกถึงพระพุทธเจ้า ด้วยการกล่าว นะโม ตัสสะ อยู่ทุกลมหายใจ ให้จิตตั้งมั่นอยู่กับบทนะโมไม่ให้วอกแวกไปคิดเรื่อง อืน่ เมือ่ ท�าอย่างนีบ้ อ่ ยๆ จิตจะตัง้ มัน่ เป็นสมาธิ และเกิดปัญญาในการ พิจารณาธรรมให้เห็นแจ้งตามเป็นจริงต่อไป

บทสวดพุทธคุณ ๙

บทสวดพุทธคุณ ๙ นี้ มีความพิเศษกว่าพุทธคุณบทอืน่ เนือ่ งจาก เป็นพุทธคุณทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสแสดงด้วยพระองค์เอง ซึง่ ถือเป็นยอด ธงคือทีส่ ดุ แห่งมนต์คาถาและบทสวดทัง้ ปวง ด้วยเหตุนจี้ งึ ได้มกี ารน�า ไปพุทธคุณ ๙ ประยุกต์ใช้ในศาสตร์ต่างๆ มากมาย เช่น ศาสตร์แห่ง มนต์คาถาก็มีมากมายถึง ๑๐๘ แบบเรียกว่า คาถาอิติปิโส ๑๐๘ มี คาถาอิติปิโสถอยหลัง คาถาอิติปิโส ๘ ทิศ เป็นต้น หรือในศาสตร์ แห่งยันต์ก็มีการน�าเอาพุทธคุณนี้ไปเขียนเป็นยันต์ในรูปแบบต่างๆ มากถึง ๑๐๘ อย่างเช่นกัน เรียกว่า ยันต์อติ ปิ โิ ส ๑๐๘ ซึง่ คาถาแต่ละ บท ยันต์แต่ละแบบต่างก็มีอานุภาพแตกต่างกันไป พุทธคุณ ๙ มีดังนี้ ๑. อะระหัง ทรงเป็นพระอรหันต์ ๒. สัมมาสัมพุทโธ ทรงเป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ๓. วิชชาจะระณะสัมปันโน ทรงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและ จรณะ ๔. สุคะโต ทรงเป็นผู้เสด็จไปแล้วด้วยดี ๕. โลกะวิทู ทรงเป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง ๖. อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ ทรงเป็นสารถีผฝู้ ก บุรษุ อย่าง ไม่มีใครยิ่งกว่า

14

º·ÊÇ´Á¹µ ¾Ø·¸¤Ø³ ¾Ø·¸ºÒÃÁÕ ô Íʧä¢Â


๗. สัตถา เทวะมะนุสสานัง ทรงเป็นครูผู้สอนของเทวดาและ มนุษย์ทั้งหลาย ๘. พุทโธ ทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ๙. ภะคะวา ทรงเป็นผู้มีความจ�าเริญจ�าแนกธรรมสั่งสอนสัตว์

บทสวดพุทธคุณ ๙ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ. ประวัติความเป็นมา มีปรากฏในธชัคคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๕ หน้าที่ ๓๒๒ ข้อ ๘๖๕ ความว่า สมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ วัดพระเชตวัน เมืองสาวัตถี ตรัสเล่าถึงท้าวสักกเทว ราชประกาศให้เหล่าพลเทพมองดูยอดธงที่ราชรถของพระองค์ เพื่อ ปลุกขวัญก�าลังใจของเหล่าทหารเทพทีเ่ กิดความหวาดหวัน่ ในสงคราม ระหว่างเทพกับเหล่าอสูร แล้วตรัสแก่ภิกษุว่า หากว่าเธอทั้งหลายไป ในที่หลีกเร้นเพื่อปฏิบัติสมณธรรมแล้วเกิดความหวาดหวั่น ก็ให้พึง ระลึกถึงคุณของพระองค์ว่า อิติปิ โส ภะคะวา ÏลÏ ภะคะวาติ ที่เป็น ดุจยอดธงแห่งพระศาสนา เมือ่ ระลึกถึงพระองค์เช่นนีแ้ ล้ว ความหวาด กลัวต่างๆ จักมลายหายสิ้นไป

การประยุกต์ใช้

๑. ใช้เป็นบทสวดแก้เคราะห์ พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อ จรัญ ฐิตธัมโม) แห่งวัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บรุ ี ได้กล่าวแนะน�า ให้สวดบทพุทธคุณ ๙ หรือบทอิตปิ โิ ส เท่ากับจ�านวนอายุ+๑ เช่น อายุ บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

15


๕๐ ปี ให้สวด ๕๑ จบ เป็นประจ�ำทุกวัน โดยสวด ๑ จบให้น�ำเหรียญ หยอดกระปุก ๑ เหรียญ จนครบตามอายุ+๑ เมื่อครบ ๑ เดือน ๓ เดือน หรือ ๑ ปี จึงน�ำเงินนั้นไปท�ำบุญ ท�ำได้เช่นนี้ ใครที่มีเคราะห์ จักพ้นจากเคราะห์ ลูกหลานที่เกเรจักเชื่อฟัง คุ้มครองให้แคล้วคลาด จากภัยอันตราย มีความสุขความเจริญในทุกด้าน ๒. ใช้เป็นมนต์คาถา สมเด็จลุน แห่งนครจ�ำปาศักดิ์ ประเทศลาว ได้แปลงบทอิติปิโส ที่มีทั้งหมด ๕๖ ค�ำ มาจัดเป็น ๘ บท บทละ ๗ ค�ำ เพื่อใช้สวดภาวนาเป็นคาถาป้องกันภัยทั้ง ๘ ทิศ เรียกว่า คาถา อิติปิโส ๘ ทิศ แต่ละบทมีชื่อเรียกและอานุภาพแตกต่างกันไป และ ยังใช้เป็นบทสวดบูชาดวงชะตาประจ�ำวันเกิดของบุคคลผูเ้ กิดในแต่วนั เพื่อปรับดวงชะตาให้ดี พ้นเคราะห์ พ้นภัยอันตรายทั้งปวง ดังนี้ Çѹ¾Ø¸¡ÅÒ§¤×¹ (ñò ¨º)

¤Ð ¾Ø· »˜¹ ·Ù ¸ÑÁ ÇÐ ¤Ð.

ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ

ÇѹÈØ¡Ã (òñ ¨º)

ÇÒ â¸ â¹ ÍÐ ÁÐ ÁÐ ÇÒ. ทิศเหนือ

Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ (ñù ¨º)

ทิศตะวันตกเฉียงใต

16

ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

ÍÔ ÃÐ ªÒ ¤Ð µÐ ÃÐ ÊÒ.

ทิศตะวันตก

âÊ ÁÒ ³Ð ¡Ð ÃÔ ¶Ò â¸.

ÍÐ ÇÔª ÊØ ¹ØÊ ÊÒ ¹Øµ µÔ. Çѹ¨Ñ¹·Ã (ñõ ¨º)

ÀÐ ÊÑÁ ÊÑÁ ÇÔ ÊÐ à· ÀÐ. ÇѹàÊÒà (ñ𠨺)

ÇѹÍҷԵ (ö ¨º)

ทิศตะวันออก

Çѹ¾Ø¸ (ñ÷ ¨º)

» ÊÑÁ ÃÐ âÅ »Ø Êѵ ¾Ø·. ทิศใต

ÇѹÍѧ¤Òà (ø ¨º)

µÔ Ëѧ ¨Ð âµ âà ¶Ô ¹Ñ§.

ทิศตะวันออกเฉียงใต

บทสวดมนต์พุทธคุณ พุทธบารมี ๔ อสงไขย


คาถาที่ ๑ : อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา.

เรียก กระทู้เจ็ดแบก คุ้มภัยด้านทิศตะวันออก เสกเป่าแก้พิษ สัตว์กัดต่อย และเป็นคาถาบูชาดวงคนเกิดวันจันทร์ โดยให้สวดบูชา พระปางห้ามโรค ๑๕ จบ ดวงชะตาจะดีมีโชค

คาถาที่ ๒ : ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง.

เรียกว่า ฝนแสนห่า คุ้มภัยด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ เสกท�า น�้ามนต์ รดคนไข้ให้หายป่วย ขับไล่ผี เป็นคาถาบูชาดวงคนเกิดวัน อังคาร โดยให้สวดบูชาพระปางไสยาปราบราหู ๘ จบ ดวงชะตาจะดี มีชัย

คาถาที่ ๓ : ปิ สัม ระ โล ปุ สัต พุท.

เรียก นารายณ์เกลื่อนสมุทร คุ้มภัยด้านทิศใต้ ภาวนากันภูตผี ปีศาจ เป่าพิษบาดแผล เป็นคาถาบูชาดวงคนเกิดวันพุธ โดยให้สวด บูชาพระปางอุ้มบาตร ๑๗ จบ ดวงจะดีมีชัยไม่ตกอับ

คาถาที่ ๔ : โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ.

เรียก นารายณ์คลายจักร คุ้มภัยด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ เสก สวด ๑๐๘ คาบท�าน�้ามนต์ ไล่ผี หรือให้คนท้องกินช่วยให้คลอดลูก ง่าย เป็นคาถาบูชาดวงคนเกิดวันเสาร์ โดยให้สวดบูชาพระปาง นาคปรก ๑๐ จบ ดวงจะดีมีชัย พ้นเคราะห์ พ้นโศก พ้นโรค พ้นภัย

คาถาที่ ๕ : ภะ สัม สัม วิ สะ เท ภะ.

เรียก นารายณ์ขว้างจักรไตรตรึงภพ คุ้มภัยด้านทิศตะวันตก เสกพรมร่างคนไข้ ไล่ภตู ผี เป็นคาถาบูชาดวงคนเกิดวันพฤหัสบดี โดย ให้สวดบูชาพระปางสมาธิ ๑๙ จบ ดวงจะดีมีชัยไม่ตกอับ

คาถาที่ ๖ : คะ พุท ปัน ทู ธัม วะ คะ.

เรียก นารายณ์พลิกแผ่นดิน คุ้มภัยด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เสกน�้ามนต์ป้องกันผีเจ้าเข้าทรง หรือถูกคุณไสยกระท�า เป็นคาถา บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

17



พุทธบารมี ๔ อสงไขย บทพุทธบารมี บทสวดว่าด้วยบารมีที่พระพุทธเจ้าทรงบ�าเพ็ญมาตลอด ๔ อสงไขย ๑ แสนมหากัป เพื่อเป็นฐานสู่การตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จ�าแนกไว้ ๓๐ ประการ แบ่งเป็นขั้นบารมี ๑๐ ประการ ขั้นอุปบารมี ๑๐ ประการ และขั้นปรมัตถบารมี ๑๐ ประการ เป็นคุณธรรมทีพ่ ระพุทธเจ้าใช้ตอ่ สูก้ บั กองทัพพญามารทีย่ กพลเข้ามา ขัดขวางการตรัสรู้ สวดเป็นประจ�ามีอานุภาพให้เกิดบารมีในกาย ในใจตน ดลให้เกิดความสุข ความเป็นสิรมิ งคล เจริญยิง่ ๆ ขึน้ ไม่ตกต�า่

พุทธาทิจโจ มะหาเตโช ธัมมะจันโท ระสาหะโร สังฆะตาระคะโณ เสฏโฐ อัม๎เห รักขันตุ ปายะโต. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อะระหัง สัมมาสั ม พุ ท โธ วิ ช ชาจะระณะสั ม ปั น โน สุ ค ะโต โลกะวิ ทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ พุทโธ วิยะ พุทธะรูปัมปิ มะหาเตชัง มะหานุภาวัง ภะวะตุ ยาวะ สาสะนัง. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ทานะปาระมีสมั ปันโน ทานะอุปะปาระมีสัมปันโน ทานะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สีละปาระมีสมั ปันโน สีละอุปะปาระมีสมั ปันโน สีละปะระมัตถะปาระมีสมั ปันโน. บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

39


นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา เนกขัมมะปาระมีสัมปันโน เนกขัมมะอุปะปาระมีสัมปันโน เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ปัญญาปาระมีสมั ปันโน ปัญญาอุปะปาระมีสมั ปันโน ปัญญาปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา วิรยิ ะปาระมีสมั ปันโน วิริยะอุปะปาระมีสัมปันโน วิริยะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ขันติปาระมีสัมปันโน ขันติอุปะปาระมีสัมปันโน ขันติปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สัจจะปาระมีสมั ปันโน สัจจะอุปะปาระมีสัมปันโน สัจจะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อะธิฏฐานะปาระมีสัมปันโน อะธิฏฐานะอุปะปาระมีสัมปันโน อะธิฏฐานะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน. 40

บทสวดมนต์พุทธคุณ พุทธบารมี ๔ อสงไขย


นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา เมตตาปาระมีสมั ปันโน เมตตาอุปะปาระมีสัมปันโน เมตตาปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน อุเปกขาอุปะปาระมีสัมปันโน อุเปกขาปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ทะสะปาระมีสมั ปันโน ทะสะอุปะปาระมีสมั ปันโน ทะสะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน. นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สะมะติงสะปาระมีสมั ปันโน สะมะติงสะอุปะปาระมีสมั ปันโน สะมะติงสะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน.

บทบารมี ๓๐ ทัศ

บทสวดว่าด้วยบารมี ๓๐ ทัศ ที่พระพุทธเจ้าทรงบ�าเพ็ญมา เมื่อครั้งเป็นพระโพธิสัตว์มีทั้งหมด ๑๐ ประการ แต่ละประการแบ่ง เป็น ๓ ระดับรวมเป็น ๓๐ บทนี้แต่งโดยครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่ง ล้านนา เป็นทีน่ ยิ มสวดกันอย่างแพร่หลาย มีอานุภาพให้เกิดสิรมิ งคล แก่ชีวิต มีความรุ่งเรือง ประสบผลส�าเร็จในทุกด้าน

บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

41


ทานะปาระมีสัมปันโน, ทานะอุปะปาระมีสัมปันโน,

ทานะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. สีละปาระมีสัมปันโน, สีละอุปะปาระมีสัมปันโน, สีละปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. เนกขั ม มะปาระมี สั ม ปั น โน, เนกขั ม มะอุ ป ะปาระมี สัมปันโน, เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทติ า อุเปกขาปาระมีสมั ปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. ปัญญาปาระมีสัมปันโน, ปัญญาอุปะปาระมีสัมปันโน, ปัญญาปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. วิรยิ ะปาระมีสมั ปันโน, วิรยิ ะอุปะปาระมีสมั ปันโน, วิรยิ ะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. ขันติปาระมีสมั ปันโน, ขันติอปุ ะปาระมีสมั ปันโน, ขันติปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. สัจจะปาระมีสัมปันโน, สัจจะอุปะปาระมีสัมปันโน, สัจจะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. 42

บทสวดมนต์พุทธคุณ พุทธบารมี ๔ อสงไขย


อะธิฏฐานะปาระมีสัมปันโน, อะธิฏฐานะอุปะปาระมีสัมปันโน, อะธิฏฐานะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. เมตตาปาระมีสัมปันโน, เมตตาอุปะปาระมีสัมปันโน, เมตตาปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. อุเปกขาปาระมีสมั ปันโน, อุเปกขาอุปะปาระมีสมั ปันโน, อุเปกขาปะระมัตถะปาระมีสมั ปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. ทะสะปาระมีสัมปันโน, ทะสะอุปะปาระมีสัมปันโน, ทะสะปะระมัตถะปาระมีสัมปันโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขาปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวา. พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ นะมามิหัง.

สั พพะทานั ง ธัมมะทานั ง ชินาติ.

ั้ ปวง การให้ธรรมะเป็นทานชนะการให้ทง

บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

43


พระคาถาชินบัญชร บทสวดอัญเชิญพระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์ พระธรรม พระ อรหันต์สาวกผู้ทรงฤทธิ์ รวมถึงพระปริตรอันศักดิ์สิทธิ์ ให้มาสถิต ที่ร่างกาย และเป็นก�าแพงล้อมรอบ ๗ ชั้น ป้องกันอันตรายและ ให้เกิดสิริมงคล

ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง อัตถิ กาเย กายะญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุต๎วา. อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ. ชะยาสะนาคะตา1 พุทธา เชต๎วา2 มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัย๎หัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา. สีเส ปะติฏฐิโต มัย๎หัง พุทโธ ธัมโม ท๎วิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัย๎หัง อุเร สัพพะคุณากะโร. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โกณ±ัญโญ ปิฏฐิภาคัส๎มิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ทักขิเณ สะวะเน มัย๎หัง อาสุง อานันทะราหุลา3 1 บางฉบับเป็น ชะยาสะนากะตา 2 เครื่องหมาย ๎ (ยามักการ) ถ้าอยู่บนพยัญชนะต้นให้อ่านออกเสียง อะ ควบกับพยางค์หลัง เช่น ค๎รีเมขะลัง อ่านว่า คะรี-เม-ขะลัง ถ้าอยู่บนพยัญชนะตามให้อ่านเป็นตัวสะกด และออก เสียง อะ ควบพยางค์หลัง เช่น กัต๎วา อ่านว่า กัด-ตะวา 3 บางฉบับเป็น อานันทะราหุโล

44

º·ÊÇ´Á¹µ ¾Ø·¸¤Ø³ ¾Ø·¸ºÒÃÁÕ ô Íʧä¢Â


กัสสะโป จะ มะหานาโม เกสันเต1 ปิฏฐิภาคัส๎มิง นิสินโน สิริสัมปันโน กุมาระกัสสะโป เถโร โส มัย๎หัง วะทะเน นิจจัง ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา เสสาสีติ มะหาเถรา เอตาสีติ2 มะหาเถรา ชะลันตา สีละเตเชนะ ระตะนัง ปุระโต อาสิ ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ ขันธะโมระปะริตตัญจะ อากาเส ฉะทะนัง อาสิ ชินาณา3 วะระสังยุตตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา อะเสสา วินะยัง ยันตุ วะสะโต เม สะกิจเจนะ ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ

อุภาสุง วามะโสตะเก. สุริโย วะ ปะภังกะโร โสภิโต มุนิ ปุงคะโว. มะเหสี จิตตะวาทะโก ปะติฏฐาสิ คุณากะโร. อุปาลี นันทะสีวะลี นะลาเฏ ติละกา มะมะ. วิชิตา ชินะสาวะกา ชิตะวันโต ชิโนระสา อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง วาเม อังคุลิมาละกัง. อาฏานาฏิยะสุตตะกัง เสสา ปาการะสัณฐิตา. สัตตัปปาการะลังกะตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา. อะนันตะชินะเตชะสา สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. วิหะรันตัง มะหีตะเล เต มะหาปุริสาสะภา.

1 บางฉบับเป็น เกสะโต 2 บางฉบับเป็น เอเตสีติ 3 บางฉบับเป็น ชินานานา ที่ถูกเป็น ชินาณา มาจากคำาว่า ชิน+อาณา แปลว่า อำานาจของ พระพุทธเจ้าผู้ชนะมาร บริษัท ส�านักพิมพ์เลี่ยงเชียง

เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จ�ากัด

45


อิจเจวะมันโต ชินานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ สัทธัมมานุภาวะปาลิโต

สุคุตโต สุรักโข ชิตูปัททะโว ชิตาริสังโค1 ชิตันตะราโย จะรามิ ชินะปัญชะเรติ.

บทพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงÏ) บทสวดสรรเสริญชัยชนะของพระพุทธเจ้าที่มตี ่ออริพาล ๘ ครั้ง ด้วยธรรมวิธีอันดีงาม มีอานุภาพให้มีชัยชนะเหนืออุปสรรคทั้งปวง

พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม2 ชะยะมังคะลานิ. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาÌะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม2 ชะยะมังคะลานิ. นาÌาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม2 ชะยะมังคะลานิ. 1 แปลว่า ชนะศัตรูคือกิเลสเป็นเครื่องข้อง บางฉบับเป็น ชิตาริสังโฆ แปลว่า ชนะหมู่ศัตรู 2 ถ้าสวดให้คนอื่นเปลี่ยน เม (แก่ข้าพเจ้า) เป็น เต (แก่ท่าน)

46

º·ÊÇ´Á¹µ ¾Ø·¸¤Ø³ ¾Ø·¸ºÒÃÁÕ ô Íʧä¢Â


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.