สำรวจ ลมหายใจและการท่องเที่ยวบ้านบาตร

Page 14

สำรวจลมหายใจ และการท่ อ งเที ่ย วบ้ า นบาตร

วิกลิเกพระยาเพชรปราณี

วิกเมรุปูนเป็นวิกลิเกยอดนิยมวิกหนึ่งใน ช่วงยุคแรกๆ ของการแสดงลิเกตามวิก ต่างๆ สภาพเป็นวิกไม้หลังคามุงสังกะสี และมีที่นั่งเป็นชั้นๆ ลิเกเกิดขึ้นราวปี พ.ศ. ๒๔๔๐ โดย พระยาเพชรปาณี (ตรี) ผู้เป็นนักปี่พาทย์ โขนละครและข้ า ราชการกระทรวงวั ง ริเริ่มสร้างให้มีการเล่นละครร้องแบบชาว บ้านจึงคิดค้นผสม “ดิเกบันตน ดิเกลูกบท และละครรำ” ผสมผสานกับวัฒนธรรม ของคนมลายูที่มีอยู่ก่อนเข้าด้วยกัน เคย เล่นที่บ้านหม้อก่อนย้ายมาเปิดวิกที่ชาน พระนครใกล้ป้อมมหากาฬ เรียกว่าวิกรพ ระยาเพชรปราณี ลิเกทรงเครื่องนั้น แต่ง เครื่องอย่างดี ใส่ผ้าไหมอย่างดี แต่ไม่มีผู้ หญิงเล่น ใช้ผู้ชายล้วน ต่อมาจึงมีคณะของดอกดิน เสือสง่า ที่โด่งดัง โดยเฉพาะการเป็นผู้แต่งการ ร้ อ งทำนองลิ เ กแบบรานิ เ กริ ง หรื อ ราชนิ เ กริ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า แต่ ง ขึ้น เมื่อ ราว พ.ศ. ๒๔๔๕ รวมทั้งการแสดงแบบ ชายจริ ง หญิ ง แท้ โ ดยเฉพาะคู่พ ระคู่น าง

สองพี่น้อง นายเต๊ก เสือสง่าและนาง ละออง เสือสง่า ตั้งแต่ราว พ.ศ. ๒๔๕๖ หอมหวล นาคศิริ ก็มาหัดแสดงลิเกที่วิกเมรุปูน วัด สระเกศฯฯ ที่มีชื่อเสียงมาก และได้รับ การช่วยเหลือจากครูแกร หัวหน้าคณะ โขน ละคร และหุ่นกระบอก ซึ่งเป็นคณะ ที่มีชื่อเสียงอยู่แถวย่านวัดสระเกศฯฯ จน ต่อมาจึงมีลิเกจากคณะหอมหวล นาคศิริ ที่แ ตกคณะออกไปจั ด การแสดงตามวิ ก ต่างๆ ทั่วกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดและ มีคณะลิเกที่ใช้นามหอมหวลสืบทอดมา จนถึงปัจจุบัน ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ คนอยากดูลิเกเพราะไม่มีอะไรดู ชาว บ้านเหงาคนโหยหาความบันเทิง ทั้งวิก ลิ เ กและการรำวงจึ ง เป็ น เพี ย งมหรสพ ง่ายๆ สำหรับชาวบ้านยามยาก วิกลิเกที่นิยมในช่วงยุคดอกดิน เสือ สง่า จนมาถึงหอมหวล นาคศิริ ได้แก่ วิก เก่าตลาดยอด บางลำพู, วิกตลาดนานา วิกตลาดเทเวศร์, วิกตลาดเปรมประชา บางซื่อ กรุงเทพฯ, วิกบางรัก กรุงเทพฯ,

วิกตาเฉย ตลาดพล ธนบุรี, วิกราชวัตร วิกช้างเผือก ถนนตก เป็นต้น วิกลิเกเมรุปูนมีการแสดงมหรสพจน ทางวัดสระเกศฯมอบสถานที่ให้เป็นที่ตั้ง ของ “โรงเรียนช่างไม้วัดสระเกศฯ” ซึ่งน่า จะอยู่ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ และวิทยาลัยสารพัดช่างพระนครในช่วง พ.ศ. ๒๕๐๔

หลวงประดิษฐ์ไพเราะ และดนตรีทางบ้านบาตร ที่ตรอกบ้านบาตรช่วงที่เชื่อมต่อกับถนน บริพัตร เมื่อเดินเข้ามาเล็กน้อยจะพบบ้านไม้ เก่าทรุดโทรมแล้วอยู่ทางขวา บ้านนี้เคยเป็น บ้านของพระยาวรรณสิทธิ์ เล่ากันว่าพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เคยพักอาศัยอยู่ที่เรือน พิ กุ ล ด้ า นหลั ง เรื อ นใหญ่ ตั้ง แต่ ส มั ย เข้ า มา เรี ย นหนั ง สื อ ที่โ รงเรี ย นนายร้ อ ยทหารบก บริเวณนี้มีตรอกเล็กๆ เชื่อมกับตรอกด้าน หลังบ้านบาตร พื้นที่ด้านหลังกว้างขวางเคย เป็นบ้านของ “หลวงประดิษฐ์ไพเราะ” สำนัก ดนตรีบ้านบาตรอันมีชื่อในอดีต ทุกวันนี้เป็น พื้นที่รกว่างหลังจากลูกหลานท่านย้ายบ้าน

๑๔


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.