ประมวลพระราชบัญญัติการผังเมือง พ ศ ๒๕๑๘ และฉบับแก้ไข

Page 1

ประมวลพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และพระราชบัญญัติการผังเมือง ฉบับแก้ไข พระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525 พระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558

ของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลพบุรี

ฝ่ายตรวจติดตามและประเมินผลแผนงานโครงการ กองแผนและงบประมาณ โทรศัพท์/โทรสาร 0-3641-1404 ต่อ 104


คำนำ ตามที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดลพบุรี ส่วนของกองแผนและงบประมาณ ฝ่ายตรวจติดตามและ ประเมินผลแผนงานโครงการ มีงานที่รับผิดชอบเกี่ยวงานด้านการวางผังเมืองที่ได้กาหนดไว้ ได้ศึกษา ค้นคว้า และประมวลพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525 พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 โดยมีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อหาสาระของข้อกฎหมายรวมถึง กระบวนการจัดทากฎกระทรวงผังเมืองในหลาย ขั้นตอนสาคัญ และส่งผลกระทบกับการทางานของหน่วยงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมโยธาธิการ และผังเมืองทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เช่น กระบวนการวางและจัดทาผังเมืองรวมจังหวัด ผังเมืองรวม เมื อ งหรื อ ผัง เมื อ งรวมชุ ม ชน ค านิ ย าม (มาตรา 4 และ 5) องค์ ป ระกอบและการด ารงต าแหน่ ง ของ คณะกรรมการผังเมือง (มาตรา 6, 7, 8 และ 12) องค์ประกอบของผังเมืองรวม (มาตรา 9) การประเมินผล ผังเมืองรวม (มาตรา 10) การแก้ไขผังเมื องรวมเฉพาะบริเวณ หรือเฉพาะส่วน (มาตรา 11) การประกาศใช้ บังคับกฎกระทรวง และการวาง จัดทา และแก้ไขผังเมืองรวมที่ดาเนินการมาก่อน พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 ประกาศใช้บังคับ (บทเฉพาะกาล มาตรา ๑๒ - 14) เป็นต้น ดังนั้น นักผังเมืองปฏิบัติการ จัดทาประมวลพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และพระราชบัญญัติการผังเมือง ฉบับแก้ไข ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยมุ่งหวังให้บุคลากรของหน่วยงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกรมโยธาธิ การและผังเมือง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีความเข้าใจถูกต้องตรงกันและปฏิบัติ ให้เป็นไปแนวทาง เดียวกั น ทั้ ง ยัง สามารถอธิบ าย และท าความเข้าใจกั บ ประชาชนและหน่ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ องส่ง ผลให้ก าร ปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด และตรงตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการผังเมืองทุก ประการ

นายกรวรรณ รุ่งสว่าง องค์การบริหารส่วนจังหวัดลพบุรี ผู้จัดทา


สารบัญ หน้า ประมวลพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และพระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง ฉบับแก้ไข

1

ประเด็นที่ ๑ การแก้ไขคานิยาม

2

ประเด็นที่ ๒ การแก้ไขเกี่ยวกับคณะกรรมการผังเมือง

4

ประเด็นที่ ๓ องค์ประกอบของผังเมืองรวม องค์ประกอบผังเมืองรวมจังหวัด องค์ประกอบผังเมืองรวม/ชุมชน

10

ประเด็นที่ ๔ การแก้ไขเกี่ยวกับระยะเวลาการใช้บงั คับผังเมือง

14

ประเด็นที่ ๕ การแก้ไขผังเมืองรวมในระหว่างใช้บังคับ

18

ประเด็นที่ ๖ บทเฉพาะกาลฯ กระบวนการวางและจัดทาผังเมืองรวมจังหวัด ผังเมืองรวมเมืองหรือผังเมืองรวม ชุมชนตาม พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ : กรณีผังพื้นที่เปิดใหม่ กระบวนการประเมินผล ปรับปรุง และแก้ไขผังเมืองรวมเมือง/ผังเมืองรวมชุมชน ทั้งบริเวณและเฉพาะบริเวณ ตาม พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘

20

แผนผังแสดงคณะกรรมการผังเมือง ตาม พ.ร.บ.การผังเมือง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘

23

แผนผังแสดงองค์ประกอบของผังเมืองรวม กรณีตามพ.ร.บ.การผังเมือง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘

24

กระบวนการจัดทากฎกระทรวงผังเมือง

27

กระบวนการวางและจัดทาผังเมืองรวมจังหวัด ผังเมืองรวมเมืองหรือผังเมืองรวมชุมชน ตาม พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 : กรณีผงั พื้นทีเ่ ปิดใหม่

29

ปัจจัยที่ใช้ในการประเมินผลผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน

31

ขั้นตอนหลักของกระบวนการมีส่วนร่วมงานประเมินผลผังเมืองรวม

36

บรรณานุกรม

43

ภาคผนวก

44

-ก-


สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ประเด็นสาคัญของพระราชบัญญัติการผังเมืองและเจตนารมณ์/เหตุผลในการขอ แก้ไข ตารางที่ 2 กระบวนการวางและจัดทาผังเมืองรวมจังหวัด ผังเมืองรวมเมืองหรือผังเมืองรวม ชุมชน ตาม พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 : กรณีผังพื้นที่เปิดใหม่

2 29

ตารางที่ 3 แนวทางปฏิบัติ : ให้แสดงสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในปีที่ทาการประเมินผล เพื่อให้ทราบการเปลี่ยนแปลงด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินและอธิบายสาเหตุหรือปัจจัยทีส่ ่งผล กระทบต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น

31

ตารางที่ 4 แนวทางปฏิบัติ : ให้แสดงความหนาแน่นของประชากรในปีทที่ าการประเมินผล

31

ตารางที่ 5 แนวทางปฏิบัติ : วิเคราะห์ผลกระทบต่อผังเมืองรวมที่มีการบังคับใช้ พร้อมทั้งแสดง รายละเอียดของแผนงาน/โครงการนั้น

32

ตารางที่ 6 แนวทางปฏิบัติ : แสดงการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม ของเมือง

32

ตารางที่ 7 แนวทางปฏิบัติ : ให้แสดงสภาพปัจจุบันของระบบคมนาคมและขนส่งของเมือง เพื่อให้ทราบถึงการพัฒนาตามโครงการคมนาคมและขนส่งทีก่ าหนดในผังเมืองรวม โครงการ พัฒนาระบบคมนาคมและขนส่งอื่น ๆ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อการ คมนาคมขนส่งและสภาพการจราจร ตารางที่ 8 แนวทางปฏิบัติ : กรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผังเมืองรวมบังคับใช้ประสบ ปัญหาด้านภัยพิบัติให้แสดงสาเหตุและสภาพปัจจุบันของปัญหาภัยพิบัติ ตลอดจนการ ดาเนินการเพื่อแก้ไขหรือบรรเทาภัยพิบัตินั้น

33

ตารางที่ 9 แนวทางปฏิบัติ : ให้แสดงผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมด้าน ความมั่นคงในบริบทต่าง ๆ ทีส่ อดคล้องกับนโยบายความมั่นคงแห่งชาติในประเด็นทีเ่ กี่ยวข้อง หรือกระทบต่อท้องที่ผงั เมืองรวม

34

ตารางที่ 10 วิธีดาเนินการประเด็นที่ ๕ การแก้ไขผังเมืองรวมในระหว่างใช้บังคับ

37

ตารางที่ 11 กระบวนการประเมินผล ปรับปรุง และแก้ไขผังเมืองรวมเมือง/ผังเมืองรวมชุมชน ทั้งบริเวณและเฉพาะบริเวณตาม พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558

37

-ข-

33


ประมวลพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และพระราชบัญญัติการผังเมือง ฉบับแก้ไข พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ฉบับพิเศษ ตอนที่ 8 วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2518 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากกฎหมายว่าด้วยการ ผังเมืองและผังชนบทได้ใช้บังคับมากว่ายี่สิบปี ประกอบกับได้มีการพัฒนาทั้งในด้านเกษตรกรรม พาณิชยกรรม และอุตสาหกรรม และจานวนประชากรในท้องที่ต่างๆ ได้ทวีความหนาแน่นมากยิ่งขึ้น มาตรการและโครงการ ที่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นกฎหมายจึ ง ไม่ เ หมาะสมกั บ สภาวะปั จ จุบั น สมควรปรั บ ปรุง เสีย ใหม่ ใ ห้ส อดคล้องกั บ ความก้าวหน้าของวิชาผังเมืองและสภาพของท้องที่ พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 99 ฉบับ พิเศษ ตอนที่ 33 วันที่ 5 มีนาคม 2525 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 โดยขยายระยะเวลาสาหรับการปิดประกาศแผน ที่ แสดงเขตผังเมือ งรวม การยื่ นคาร้อ งขอให้แก้ ไขหรือเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิก ข้อกาหนดเกี่ยวกั บการใช้ ประโยชน์ที่ดินของผังเมืองรวมของผู้มีส่วนได้เสียและการที่สานักผังเมืองเสนอผังเมืองรวมต่อรัฐมนตรีจากหก สิบวันเป็นเก้าสิบวันเพื่อ ให้ประชาชนได้มีเวลายื่น คาร้องขอมากยิ่งขึ้นกับการแก้ไขเพิ่มเติมชื่อคณะกรรมการ และเลขมาตราที่อ้างในมาตรา 58 ให้ถูกต้อง จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอนที่ 10 วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรเพิม่ บทบัญญัติให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นและสานักผังเมืองสามารถแก้ไขปรับปรุงและขยายระยะเวลาการใช้บังคับผัง เมืองรวมกับเพิ่มจานวนและหน้าที่ของคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมให้มากขึ้น รวมทั้งแก้ไขบทบัญญัติเพื่อให้เจ้า พนักงานท้องถิ่นสามารถใช้ดุลยพินิจในการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อให้การวาง จัดทา และแก้ไขปรับปรุงผังเมืองรวมเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการผังเมืองได้อย่างกว้างขวาง รวดเร็ว และ สอดคล้องกั บสภาพการณ์และสิ่ งแวดล้อ มที่เ ปลี่ยนแปลงไป อันจะก่ อให้เ กิดผลดีแก่ก ารผังเมื องยิ่งขึ้นจึง จาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ และพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๘ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ บทบัญญัติในกฎหมายว่าด้วยการผังเมืองซึ่งใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันยังไม่มีมาตรการทางกฎหมายเพียงพอที่จะ ทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมืองได้ และไม่สามารถใช้บังคับกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมได้อย่าง ต่อเนื่อง อันเนื่องมาจากการวางและจัดทาผังเมืองรวมมีขั้นตอนและรายละเอียดมาก ทาให้ไม่อาจดาเนินการ วางและจัดทาผังเมืองรวมได้ทันกาหนดเวลาที่ผังเมืองรวมเดิมสิ้นสุดลง เป็นเหตุให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินไม่ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการผังเมืองในระหว่างที่ยังไม่มีผังเมืองรวมฉบับใหม่ใช้บังคับ ประกอบกับใน ปัจจุบันได้มีการใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ซึ่งกฎหมายดังกล่าวมีบทบัญญัติที่กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีภารกิจในการผังเมือง ดังนั้น เพื่อให้การวางและจัดทาผังเมืองรวมและการใช้บังคับกฎหมายเป็นไปอย่างมีประสิท ธิภาพและ เกิดประสิทธิผลสูงสุด สมควรกาหนดกลไกทางกฎหมายที่สามารถผลักดันให้การวางและจัดทาผังเมืองรวม -1-


บรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง รวมทั้งปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการผังเมืองให้เหมาะสม โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ ตารางที่ 1 ประเด็นสาคัญของพระราชบัญญัติการผังเมืองและเจตนารมณ์/เหตุผลในการขอแก้ไข ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

ประเด็นที่ 1 คานิยาม มาตรา 4 “เจ้าพนักงาน ท้องถิ่น” หมายความ ว่า (๑) ในเขตเทศบาล คือ คณะเทศมนตรี (๒) ในเขตสุขาภิบาล คือ คณะกรรมการ สุขาภิบาล (๓) ในเขตองค์การ บริหารส่วนจังหวัด คือ ผู้ว่าราชการ จังหวัดหรือ นายอาเภอ ซึ่งได้รบั มอบหมายจากผู้ว่า ราชการจังหวัดให้ทา การแทน (๔) ในเขต กรุงเทพมหานคร คือ ผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครหรือ หัวหน้าเขตซึง่ ได้รับ มอบหมายจากผู้ว่า ราชการ กรุงเทพมหานคร ให้ทาการแทน

-2-

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข

มาตรา 4 แก้ไขนิยาม “เจ้า พนักงานท้องถิ่น” ให้ครอบคลุมทุก รูปแบบภายใต้กรอบ แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบ บริหารงานบุคคล ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มีทั้งสิ้น 6 รูปแบบ ได้แก่ (๑) นายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัด สาหรับในเขต องค์การบริหารส่วน จังหวัด (๒) นายกเทศมนตรี สาหรับในเขต เทศบาล (๓) นายกองค์การ บริหารส่วนตาบล สาหรับในเขต องค์การบริหารส่วน ตาบล (๔) ผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร สาหรับในเขต กรุงเทพมหานคร

1. สอดคล้องกับ หลักการกระจาย อานาจตาม พ.ร.บ. กาหนด แผนและขั้นตอน การกระจาย อานาจให้องค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2. ส่งเสริมให้ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ วางผังเองกาหนด ทิศทางการผัง เมืองเพื่อควบคุม การใช้ประโยชน์ ที่ดินในเขตพื้นที่ ของตนเองได้


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

“องค์การบริหารส่วน ท้องถิ่น” หมายความ ว่า (1) องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด (2) เทศบาล (3) สุขาภิบาล (4) กรุงเทพมหานคร

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 (๕) นายกเมือง พัทยาสาหรับในเขต เมืองพัทยา (๖) ผู้บริหารท้องถิ่น หรือหัวหน้าคณะ ผู้บริหารท้องถิ่นของ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นอื่นทีม่ ี กฎหมายจัดตัง้ สาหรับในเขตองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น นั้น มาตรา 3 ให้แก้ไขคาว่า “องค์การบริหารส่วน ท้องถิ่น” เป็น “องค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น” ทุกแห่ง เพื่อให้สอดคล้องกับ ถ้อยคาที่กาหนดไว้ใน พ.ร.บ. ระเบียบ บริหารงานบุคคล ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542

-3-

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข 3. สอดคล้องกับ โครงสร้างของ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ปัจจุบันและ รองรับองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่นทีจ่ ะมี การจัดตัง้ ใหม่ใน อนาคต

เนื่องจาก พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518 ได้ บัญญัตมิ าเป็น ระยะเวลา ยาวนาน ซึ่งไม่ สอดคล้องกับ กฎหมายใน ปัจจุบันจึงได้มี การปรับแก้ไข เพื่อให้สอดคล้อง กับถ้อยคาที่ กาหนดไว้ใน พ.ร.บ. ระเบียบ บริหารงานบุคคล ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นที่ 2 คณะกรรมการผัง เมือง มาตรา 6 องค์ประกอบของ คณะกรรมการผัง เมืองจานวน 21 คน ประกอบด้วย

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

มาตรา 3 มาตรา 19 ใน การวางและจัดทา ผังเมืองรวมใด ให้ สานักผังเมืองหรือ

ประเด็นสาคัญ เจตนารมณ์ / พ.ร.บ. การผังเมือง เหตุผลในการขอ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. แก้ไข 2558 มาตรา 5 ให้ใช้ “องค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น” แทน “องค์การบริหารส่วน ท้องถิ่น” “องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า (1) องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด (2) เทศบาล (3) องค์การบริหาร ส่วนตาบล (4) กรุงเทพมหานคร (5) เมืองพัทยา (6) องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่นที่มี กฎหมายจัดตัง้ ทาให้หน่วยงานที่มี อานาจวางผังเมือง คือ กรมโยธาธิการ และผังเมือง และ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นทุกรูปแบบ

มาตรา 6 องค์ประกอบของ คณะกรรมการผัง เมืองจานวน 27 คน ประกอบด้วย -4-

เพื่อปรับปรุง องค์ประกอบของ คณะกรรมการผัง เมืองให้มบี ุคคล


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2535 (1) กรรมการโดย เจ้าพนักงาน ตาแหน่ง จานวน 7 ท้องถิ่นแล้วแต่ คน ประกอบด้วย กรณีจัดให้มีการ ปลัดกระทรวง โฆษณาให้ มหาดไทย (ประธาน ประชาชนทราบ กรรมการ) แล้วจัดการ ปลัดกระทรวงเกษตร ประชุมไม่นอ้ ย และสหกรณ์ กว่า 1 ครั้ง เพื่อ ปลัดกระทรวง รับฟังข้อคิดเห็น คมนาคม ของประชาชนใน ปลัดกระทรวง ท้องที่ กาหนด อุตสาหกรรม เฉพาะให้ผู้แทน ผู้อานวยการสานัก ของประชาชนเข้า งบประมาณ ร่วมการประชุม เลขาธิการ ตามความ คณะกรรมการ เหมาะสม พัฒนาการเศรษฐกิจ หลักเกณฑ์ และสังคมแห่งชาติ วิธีการและ และอธิบดีกรมโยธา เงื่อนไขในการ ธิการและผังเมือง โฆษณา การ (กรรมการและ ประชุม และการ เลขานุการ) แสดงข้อคิดเห็น

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 (1) กรรมการโดย ตาแหน่ง จานวน 9 คน โดยเพิ่มเติม ปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม และ เลขาธิการ คณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI) เข้ามาใหม่ 2 คนและมี ปลัดกระทรวง มหาดไทย เป็น ประธานกรรมการ และอธิบดีกรมโยธาธิ การและผังเมืองเป็น กรรมการและ เลขานุการ

(2) กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิทางการ ผังเมืองหรือ สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับการผัง เมืองไม่เกิน 7 คน

(2) กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน ซึ่งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความสามารถ ความ เชี่ยวชาญและ ประสบการณ์เป็นที่ ประจักษ์ด้านการผัง เมือง สถาปัตยกรรม วิศวกรรม นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

มาตรา 4 มาตรา 21 เมื่อ วางและจัดทาผัง เมืองรวมขึ้นให้ ผู้ว่าราชการ จังหวัดแห่ง จังหวัดนั้นแต่งตัง้ คณะที่ปรึกษาผัง เมืองรวมขึ้นคณะ หนึ่ง ประกอบด้วย -5-

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข ซึ่งมีความ เกี่ยวข้องกับการ ผังเมืองทั้งใน ภาครัฐและ เอกชนเข้าร่วม เป็นกรรมการ และมีส่วนใน การพิจารณาและ อนุมัติผังเมือง


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525 ผู้แทนองค์การ บริหารส่วน ท้องถิ่น ผู้แทน สานักผังเมือง ผู้แทนส่วน ราชการต่าง ๆ และบุคคลอื่น มี จานวน 15-21 คน มีหน้าที่ให้ คาปรึกษาและ ความคิดเห็น เกี่ยวกับผังเมือง รวม

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

(3) ผู้แทนสถาบัน องค์การอิสระและ บุคคลอื่นทีม่ ีความ เกี่ยวข้องกับการผัง เมืองไม่เกิน 7 คน

ประเด็นสาคัญ เจตนารมณ์ / พ.ร.บ. การผังเมือง เหตุผลในการขอ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. แก้ไข 2558 สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์ หรือ โบราณคดีหรือสังคม และจะต้องแต่งตัง้ จากผูม้ ีประสบการณ์ ด้านการสอนใน หลักสูตรเกี่ยวกับการ ผังเมืองใน สถาบันอุดมศึกษา อย่างน้อย 1 คน

(3) ผู้แทนสถาบัน อิสระและบุคคลอื่น ได้แก่ (ก) สภาวิศวกร สภา สถาปนิกสภา หอการค้าแห่ง ประเทศไทยสภา อุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทยและสภา อุตสาหกรรม ท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย จานวน 5 คน (ข) จากผู้แทน สถาบันอิสระหรือ บุคคลอื่น ที่มีความเกี่ยวข้องกับ การผังเมือง 4 คน

-6-


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

กรณีวางและจัดทาผัง เมืองรวมและผังเมือง เฉพาะในเขต กรุงเทพมหานครให้ ปลัด กรุงเทพมหานครเป็น กรรมการร่วมด้วย

ประเด็นสาคัญ เจตนารมณ์ / พ.ร.บ. การผังเมือง เหตุผลในการขอ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. แก้ไข 2558 กรณีวางและจัดทาผัง เมืองรวมและผังเมือง เฉพาะในเขต กรุงเทพมหานครให้ ปลัด กรุงเทพมหานครเป็น กรรมการร่วมด้วย กรณีวางและจัดทาผัง เมืองรวมและผังเมือง เฉพาะในเขตพื้นทีท่ ี่ เกี่ยวกับความมั่นคง ทางทหาร ให้ ปลัดกระทรวง กลาโหมร่วมเป็น กรรมการด้วย มาตรา 7 มาตรา 6/1 กาหนด คุณสมบัติและ ลักษณะต้องห้าม สาหรับกรรมกา ผู้ทรงคุณวุฒิ ดังนี้ กรรมการซึ่งเป็น ผู้แทนสถาบันหรือ องค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มี ความเกี่ยวข้องกับ การผังเมืองที่สาคัญ คือ (๑) มีสญ ั ชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ากว่า สามสิบห้าปีบริบรู ณ์ (๓) ไม่เป็นบุคคล ล้มละลาย คนไร้

-7-

เพื่อกาหนด คุณสมบัติและ ลักษณะต้องห้าม ของกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้แทน สถาบันหรือ องค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่ มีความเกี่ยวข้อง กับการผังเมือง


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

ประเด็นสาคัญ เจตนารมณ์ / พ.ร.บ. การผังเมือง เหตุผลในการขอ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. แก้ไข 2558 ความสามารถหรือคน เสมือนไร้ ความสามารถ (๔) ไม่เคยได้รับโทษ จาคุกโดยคาพิพากษา ถึงที่สุดให้จาคุก เว้น แต่เป็นโทษสาหรับ ความผิดที่ได้กระทา โดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ (๕) ไม่เป็นผู้ดารง ตาแหน่งทาง การเมือง สมาชิกสภา ท้องถิ่นหรือผู้บริหาร ท้องถิ่น กรรมการหรือผู้ดารง ตาแหน่งซึง่ รับผิดชอบการ บริหารพรรค การเมือง ทีป่ รึกษา พรรคการเมือง หรือ เจ้าหน้าที่พรรค การเมือง มาตรา 6/2 กาหนดให้กรรมการ ซึ่งเป็นผู้แทนสถาบัน หรือองค์การอิสระ และบุคคลอื่น ที่เกี่ยวข้องกับการผัง เมือง จะต้องไม่เป็น ข้าราชการหรือ พนักงานส่วนท้องถิ่น

-8-

กาหนดลักษณะ ต้องห้ามของ กรรมการซึ่งเป็น ผู้แทนสถาบัน หรือองค์การ อิสระ และบุคคล อื่นที่มีความ เกี่ยวข้องกับการ ผังเมือง


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

มาตรา 9 วาระการดารง ตาแหน่งของ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ และ กรรมการซึ่งเป็น ผู้แทนสถาบันหรือ องค์การอิสระ และ บุคคลอื่น ที่มีความ เกี่ยวข้องกับการผัง เมือง 2 ปี กรรมการ หมดวาระ ปฏิบัติ หน้าที่ต่อไม่ได้

มาตรา 10 นอกจากการพ้นจาก ตาแหน่งตามวาระ ให้กรรมการซึง่ คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง พ้นจากตาแหน่งเมือ่ (๑) ตาย (๒) ลาออก

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 ซึ่งมีตาแหน่งหรือ เงินเดือนประจา มาตรา 9 วาระการดารง ตาแหน่งของ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ และ กรรมการซึ่งเป็น ผู้แทนสถาบันหรือ องค์การอิสระ และ บุคคลอื่นทีม่ ีความ เกี่ยวข้องกับการผัง เมือง 3 ปี กรรมการ หมดวาระ ให้ปฏิบัติ หน้าที่ไปพลางก่อน ได้จนกว่าจะแต่งตั้ง ใหม่

มาตรา 10 นอกจากการพ้นจาก ตาแหน่งตามวาระ ให้กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิและ กรรมการซึ่งเป็น ผู้แทนสถาบันหรือ องค์การ -9-

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข

เพื่อกาหนดให้ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ และกรรมการซึ่ง เป็นผู้แทน สถาบันหรือ องค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มี ความเกี่ยวข้อง กับการผังเมือง มี วาระการดารง ตาแหน่งคราวละ 3 ปี ซึ่งจะทาให้ การทางาน เป็นไป อย่าง ต่อเนื่องมากขึ้น และสามารถ ติดตาม ประเมินผลการ ใช้บังคับผังเมือง ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อกาหนดเหตุ แห่งการพ้น จากตาแหน่ง ก่อนวาระของ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้แทน สถาบันหรือ องค์การอิสระ


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

(๓) คณะรัฐมนตรีให้ ออก (๔) เป็นคนล้มละลาย (๕)เป็นคนไร้ ความสามารถหรือ เสมือนไร้ ความสามารถ (๖) ได้รับโทษจาคุก โดยคาพิพากษาถึง ที่สุดให้จาคุกเว้นแต่ ความผิดลหุโทษ หรือ ความผิดอันได้กระทา โดยประมาท

ประเด็นที่ 3 องค์ประกอบของผัง เมืองรวม มาตรา 17 ผังเมืองรวม ประกอบด้วย (๑) วัตถุประสงค์ใน การวางและจัดทา ผังเมืองรวม

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 อิสระ และบุคคลอื่น ที่มีความเกี่ยวข้องกับ การผังเมือง พ้นจาก ตาแหน่งเมือ่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีให้ ออก เพราะบกพร่อง ต่อหน้าที่ มีความ ประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อน ความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะ ต้องห้ามตามมาตรา 6/1 หรือมาตรา 6/2

มาตรา 9 เพิ่มองค์ประกอบของ ผังเมืองรวมมี รายละเอียดทีม่ ากขึ้น มาตรา 17 ผังเมือง รวมประกอบด้วย (1) วัตถุประสงค์ใน การวางและจัดทา ผังเมืองรวมให้ กาหนดโดยคานึงถึง ความเป็นระเบียบ ความสวยงาม การใช้ ประโยชน์ใน ทรัพย์สิน ความ -10-

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข และบุคคลอื่นที่มี ความเกี่ยวข้อง กับการผังเมืองให้ สอดคล้องกับการ กาหนดคุณสมบัติ และลักษณะ ต้องห้ามของ บุคคลดังกล่าว

เพื่อกาหนดให้ใน การวางและ จัดทาผังเมือง รวมประกอบด้วย ข้อกาหนดทีจ่ ะ ให้ปฏิบัตหิ รือ ไม่ให้ปฏิบัติ เพื่อให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ ของผังเมืองรวม ตามที่กาหนดไว้ ทั้งนี้ เพื่อให้การ วางและจัดทาผัง เมืองรวมเป็น


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

(๒) แผนที่แสดงเขต ของผังเมืองรวม

(๓) แผนผังซึง่ ทาขึ้น เป็นฉบับเดียวหรือ หลายฉบับพร้อมด้วย ข้อกาหนด โดยมี สาระสาคัญทุก ประการหรือบาง ประการ ดังต่อไปนี้ (ก)แผนผัง กาหนดการใช้ ประโยชน์ ที่ดินตามที่ได้จาแนก ประเภท -11-

ประเด็นสาคัญ เจตนารมณ์ / พ.ร.บ. การผังเมือง เหตุผลในการขอ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. แก้ไข 2558 ปลอดภัยของ มาตรฐาน ประชาชน การ เดียวกัน เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ การดารงรักษา สถานที่ที่มีคุณค่าทาง ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ หรือ โบราณคดี และการจัด สภาพแวดล้อมทีท่ ุก คนสามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์ ร่วมกันได้อย่าง เท่าเทียมกัน (2) แผนที่แสดงเขต ของผังเมืองรวมที่ ต้องแสดงข้อมูลภูมิ ประเทศและ ระดับชั้นความสูง (3) แผนผังซึง่ ทาขึ้น เป็นฉบับเดียวหรือ หลายฉบับโดยมี สาระสาคัญทุก ประการหรือบาง ประการ ดังต่อไปนี้ (ก)แผนผัง กาหนดการใช้ ประโยชน์ที่ดินตามที่ ได้จาแนกประเภท (ข) แผนผังแสดงที่ โล่ง


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

(ข) แผนผังแสดงที่ โล่ง (ค) แผนผังแสดง โครงการคมนาคม และขนส่ง (ง) แผนผังแสดง โครงการกิจการ สาธารณูปโภค (๔) รายการประกอบ แผนผัง (๕)นโยบาย มาตรการ และ วิธีดาเนินการเพื่อ ปฏิบัติตาม วัตถุประสงค์ของผัง เมืองรวม

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 (ค) แผนผังแสดง โครงการคมนาคม และขนส่ง (ง) แผนผังแสดง โครงการกิจการ สาธารณูปโภค (4) รายการประกอบ แผนผัง (5) ข้อกาหนดทีจ่ ะ ให้ปฏิบัตหิ รือไม่ให้ ปฏิบัติเพื่อให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของ ผังเมืองรวมทุก ประการ ดังต่อไปนี้ (ก) ประเภทและ ขนาดกิจการที่จะ อนุญาตหรือไม่ อนุญาตให้ดาเนินการ (ข) ประเภท ชนิด ขนาด ความสูงและ ลักษณะของอาคารที่ จะอนุญาตหรือไม่ อนุญาตให้สร้าง (ค) อัตราส่วนพื้นที่ อาคารรวมกันทุกชั้น ของอาคารทุกหลังต่อ พื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้ เป็นที่ตงั้ อาคาร (F.A.R.) (ง) อัตราส่วนพื้นที่ อาคารปกคลุมดิน

-12-

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

-13-

ประเด็นสาคัญ เจตนารมณ์ / พ.ร.บ. การผังเมือง เหตุผลในการขอ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. แก้ไข 2558 ต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (B.C.R.) (จ) อัตราส่วนพื้น ที่ว่างอันปราศจาก สิ่งปกคลุมของแปลง ที่ดินที่อาคารตั้งอยู่ ต่อพื้นที่ใช้สอยรวม ของอาคาร (O.S.R.) (ฉ) ระยะถอยร่นจาก แนวธรรมชาติ ถนน แนวเขตที่ดิน อาคาร หรือสถานที่ อื่นๆ ที่จาเป็น (Set Back) (ช) ขนาดของแปลง ที่ดินที่จะอนุญาตให้ สร้างอาคาร (Lot Size) (ซ) ข้อกาหนดอื่นที่ จาเป็นโดยรัฐมนตรี ประกาศกาหนดตาม คาแนะนาของ คณะกรรมการผัง เมืองในกรณีทผี่ ัง เมืองรวมไม่มี ข้อกาหนดบาง ประการตาม (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช) และ (ซ) จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการผัง เมือง โดยมีเหตุผล อันสมควร


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นที่ 4 ระยะเวลาการใช้ บังคับผังเมืองรวม มาตรา 26 การใช้บังคับผังเมือง รวมให้กระทาโดย กฎกระทรวง และให้ ใช้บังคับไม่เกิน 5 ปี

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

มาตรา 3 มาตรา ๒๓ เมื่อ คณะกรรมการผัง เมืองให้ความ เห็นชอบแล้วให้ สานักผังเมืองหรือ เจ้าพนักงาน ท้องถิ่นผู้วางและ จัดทาผังเมืองรวม นั้น จัดให้มีการ ปิดประกาศแผนที่ แสดงเขตของผัง เมืองรวมไว้ในที่ เปิดเผย ณ ที่ว่า การเขตหรือที่ทา การแขวงของ กรุงเทพมหานคร หรือที่ว่าการ อาเภอ ที่ทาการ ขององค์การ บริหารส่วน ท้องถิ่น และ สาธารณสถาน ภายในเขตของผัง เมืองรวมนั้นเป็น -14-

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 (6) นโยบาย มาตรการ และ วิธีดาเนินการเพื่อ ปฏิบัติตาม วัตถุประสงค์ของผัง เมืองรวม

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข

มาตรา 10 มาตรา 26 การใช้ บังคับผังเมืองรวม ให้กระทาโดย กฎกระทรวง และ จะต้องมีสาระสาคัญ ตามมาตรา 17 และ ไม่มีกาหนดอายุใช้ บังคับ

เพื่อกาหนดให้ กฎกระทรวงไม่มี ระยะเวลาการใช้ บังคับ และ เพื่อให้การใช้ บังคับผังเมือง รวมเป็นไปโดย ต่อเนื่องไม่เกิด ช่องว่างของ กฎหมาย โดยได้ กาหนดให้กรม โยธาธิการและผัง เมืองหรือเจ้า พนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณี จัดทารายงาน การประเมินผล การเปลี่ยนแปลง สภาพการณ์และ สิ่งแวดล้อมใน การใช้บังคับตาม ระยะเวลาที่ เหมาะสมหรือ เมื่อ


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525 เวลาไม่น้อยกว่า เก้าสิบวัน โดยให้ ลงวันที่ทปี่ ิด ประกาศในใบ ประกาศนั้นด้วย

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข คณะกรรมการผัง เมืองเห็นสมควร

มาตรา ๒๔ หาก ภายในกาหนดเก้า สิบวันนับตัง้ แต่วัน ปิดประกาศ ดังกล่าวในมาตรา ๒๓ ผู้มสี ่วนได้เสียผู้ใด มีหนังสือถึงสานัก ผังเมืองหรือเจ้า พนักงานท้องถิ่น ผู้วางและจัดทาผัง เมืองรวมทัง้ ร้อง ขอให้แก้ไขหรือ เปลี่ยนแปลงหรือ ยกเลิกข้อกาหนด เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ของผังเมืองรวม นั้น และไม่ว่า สานักผังเมืองหรือ เจ้าพนักงาน ท้องถิ่นจะเห็น พ้องด้วยกับคา ร้องขอนั้นหรือไม่ ก็ตาม ให้สานักผัง เมืองหรือเจ้า พนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณี -15-


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2535 เสนอคาร้องขอ นั้นต่อ คณะกรรมการผัง เมืองพร้อมด้วย ความเห็น ในกรณี ที่ เจ้าพนักงาน ท้องถิ่นเป็นผู้ เสนอให้ ดาเนินการผ่าน สานักผังเมือง มาตรา ๒๕ หาก เมื่อพ้นกาหนด เก้าสิบวัน นับตั้งแต่วันปิด ประกาศดังกล่าว ในมาตรา ๒๓ ไม่มีผู้มสี ่วนได้ ส่วนเสียผู้ใดขอให้ แก้ไขหรือ เปลี่ยนแปลงหรือ ยกเลิกข้อกาหนด เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ของผังเมืองรวม นั้น หรือมีแต่ คณะกรรมการผัง เมืองได้สั่งยกคา ร้องขอนั้นหรือ คณะกรรมการผัง เมืองได้สั่งให้ แก้ไขหรือ เปลี่ยนแปลงหรือ ยกเลิกข้อกาหนด -16-

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ภายใน 1 ปี ก่อน การใช้บังคับ กฎกระทรวงจะ สิ้นสุดลง ให้ ประเมินผลผังเมือง รวมและหากไม่มกี าร เปลี่ยนแปลงใน สาระสาคัญให้จัดให้มี การประชุมรับฟัง ความคิดเห็นของ ประชาชน หากไม่มี ผู้ใดคัดค้าน ให้ขยาย ระยะเวลาการใช้ บังคับกฎกระทรวงได้ อีก 5 ปี แต่ถ้ามีการ เปลี่ยนแปลงใน สาระสาคัญให้แก้ไข ปรับปรุงผังเมืองรวม ให้เหมาะสมหาก แก้ไขผังเมืองรวมไม่ ทันเวลาใช้บังคับ

ประเด็นสาคัญ ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2535 ดังกล่าว และ สานักผังเมืองหรือ เจ้าพนักงาน ท้องถิ่น แล้วแต่ กรณี ได้จัดการให้ เป็นไปตามนั้น แล้ว ให้สานักผัง เมืองเสนอผังเมือง รวมต่อรัฐมนตรี เพื่อดาเนินการ ออก กฎกระทรวง ใช้บังคับผังเมือง รวมนั้นต่อไป มาตรา 5 เวลาปิดประกาศ แผนที่แสดงเขต ผังเมืองรวมตาม มาตรา๒๓ กาหนดเวลา สาหรับยื่นคาร้อง ขอให้แก้ไขหรือ เปลี่ยนแปลง หรือ ยกเลิกข้อกาหนด เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ตามมาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๕ ถ้ายังมิได้สิ้นสุด ลงก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ ให้นับ เวลาดังกล่าว ต่อไปมาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และ -17-

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558

ต้องจัดทารายงาน การประเมินผลผัง เมืองรวม ตามระยะเวลาที่ คณะกรรมการผัง เมืองกาหนด แต่จะต้องไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่ กฎกระทรวง ประกาศใช้บงั คับ ทั้งนี้ รายงานการ ประเมินผลผังเมือง รวม จะต้องเป็นไป ตามระเบียบที่ คณะกรรมการผัง เมืองกาหนด และ จะต้องแสดง ข้อเท็จจริงให้ปรากฏ 8 เรื่อง ได้แก่ (1) การเปลี่ยนแปลง การใช้ประโยชน์ที่ดิน

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525 (5 ปี) ให้ขยาย มาตรา ๒๕ ซึ่ง ระยะเวลาการใช้ แก้ไขเพิ่มเติม บังคับได้อีก 2 ครั้ง ๆ ตั้งแต่วันที่ ละไม่เกิน 1 ปี พระราชบัญญัตินี้ (5+1+1 = 7 ปี) ใช้บังคับจนครบ ทั้งนี้ การขยายเวลา 90 วัน การใช้บังคับจะต้อง กระทาโดย กฎกระทรวง

ประเด็นที่ 5 การแก้ไขผังเมือง รวมในระหว่างใช้ บังคับ มาตรา 26 วรรค สาม การแก้ไข ปรับปรุงผังเมืองรวม ระหว่างใช้บงั คับ จะต้องมีการปิด ประกาศไม่นอ้ ยกว่า 90 วัน เพื่อให้ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียร้อง ขอแก้ไขหรือ เปลี่ยนแปลงหรือ ยกเลิกข้อกาหนด

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

ประเด็นสาคัญ เจตนารมณ์ / พ.ร.บ. การผังเมือง เหตุผลในการขอ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. แก้ไข 2558 (2) ความหนาแน่น ของประชากร (3) นโยบายหรือ โครงการของรัฐบาล (4) สภาวการณ์ทาง เศรษฐกิจ สังคมและ สิ่งแวดล้อม (5) การคมนาคมและ ขนส่ง (6) การป้องกันการ เกิดภัยพิบัติ (7) ความมั่นคงของ ประเทศ (8) ปัจจัยอื่นที่ เกี่ยวข้องกับการผัง เมือง ทัง้ นี้ จะต้อง คานึงถึงการมีส่วน ร่วมของประชาชน ด้วย

มาตรา 6 มาตรา 29 เมื่อมี กฎกระทรวงให้ใช้ บังคับผังเมืองรวม ณ ท้องที่ใดแล้ว ถ้าเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น จัดให้มี การวางและจัดทา ผังเมืองเฉพาะขึ้น จะต้องสอดคล้อง กับผังเมืองรวม

มาตรา 10 (กรณีแก้ไขปรับปรุง ผังเมืองรวมทัง้ บริเวณ) มาตรา 26 ภายหลัง การประเมินผลผังใน ระยะเวลาที่กาหนด และคณะกรรมการ ผังเมืองเห็นชอบให้ แก้ไขปรับปรุงผัง เมืองรวมแล้ว ยังคง

-18-


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518 เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ที่ดินของผัง เมืองรวม ทั้งนี้ การ แก้ไขปรับปรุงผัง เมืองรวมจะต้องให้ เหมาะสมกับ สภาพการณ์และ สิ่งแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงไป หรือ เพื่อประโยชน์ แห่งรัฐก็ได้

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 และให้ คณะกรรมการผัง เมืองพิจารณา เห็นชอบก่อน เจ้า พนักงานท้องถิ่น มาแสดงความ คิดเห็นหรือขอ คาแนะนาต่อ สานักผังเมืองได้

ประเด็นสาคัญ เจตนารมณ์ / พ.ร.บ. การผังเมือง เหตุผลในการขอ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. แก้ไข 2558 ต้องปิดประกาศไม่ น้อยกว่า 90 วัน เพื่อให้ผู้มสี ่วนได้ส่วน เสียร้องขอแก้ไขหรือ เปลี่ยนแปลงหรือ ยกเลิกข้อกาหนด เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ที่ดินของผัง เมืองรวม มาตรา 11 (กรณีแก้ไขผังเมือง รวมเฉพาะบริเวณ) มาตรา 26/1 กรณี แก้ไขผังเมืองรวม เฉพาะบริเวณ สามารถกระทาได้ แต่จะต้องให้ เหมาะสมกับ สภาพการณ์และ สิ่งแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงไปหรือ เพื่อประโยชน์ สาธารณะและต้อง ผ่านการพิจารณาจาก คณะกรรมการผัง เมือง ทัง้ นี้ จะต้องมี การประชาสัมพันธ์ ปิดประกาศไม่น้อย กว่า 30 วัน เพื่อให้ผู้ มีส่วนได้เสียแสดง ข้อคิดเห็นเป็นลาย ลักษณ์อักษร

-19-

เพื่อปรับปรุง วิธีการแก้ไขผัง เมืองรวมเฉพาะ บริเวณหรือ เฉพาะส่วนหนึ่ง ส่วนใดให้กระทา โดยกฎกระทรวง และกาหนด กระบวนการ ดาเนินการให้มี ความเหมาะสม ยิ่งขึ้น


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

ประเด็นที่ 6 บทเฉพาะกาล เกี่ยวกับการวางและ จัดทาผังเมืองรวม ก่อน พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558

-20-

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 บทเฉพาะกาล คือ บทบัญญัติของ กฎหมายทีป่ รากฏอยู่ ในส่วนสุดท้ายของ กฎหมาย แต่ละฉบับ มีขึ้นเพื่อเป็นการ รองรับมิให้การ ดาเนินการหรือผล บังคับของกฎหมาย ขาดตอนไร้สภาพ บังคับ ก่อให้เกิด ความเสียหายต่อผู้ ได้รับสิทธิและ ประโยชน์ตาม กฎหมายเดิม มาตรา 12 คณะกรรมการผัง เมืองชุดเดิม สิ้นสุด วาระ การดารง ตาแหน่งตั้งแต่ 8 กันยายน 2558 แต่ สามารถปฏิบัติหน้าที่ ไปก่อนจนกว่าจะมี การแต่งตั้ง คณะกรรมการผัง เมืองชุดใหม่ ทั้งนี้ จะต้องไม่เกิน 90 วัน นับจากวันที่ พระราชบัญญัติฉบับ นี้บังคับใช้การนับ วาระการดารง ตาแหน่งของ คณะกรรมการผัง เมืองสามารถดารง

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข

เพื่อกาหนดให้ คณะกรรมการ ผังเมืองชุดเดิม ปฏิบัติหน้าที่ ต่อไป จนกว่าจะ แต่งตัง้ คณะกรรมการ ขึ้นใหม่ตาม พระราชบัญญัตินี้ แต่ต้องไม่เกิน 90 วัน และเพื่อ กาหนดให้นบั วาระการดารง ตาแหน่งของ กรรมการผังเมือง ซึ่งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งตาม พระราชบัญญัตินี้ เป็นวาระแรก


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 ตาแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระผู้ที่ดารง ตาแหน่งก่อน พระราชบัญญัติฉบับ นี้ประกาศใช้บงั คับให้ นับเป็นวาระที่ 1 และหากได้รับการ แต่งตั้งอีกให้ถือเป็น วาระที่ 2 มาตรา 13 การวาง จัดทา และ แก้ไขผังเมืองรวมที่ ดาเนินการก่อน พระราชบัญญัติฉบับ นี้ ใช้บังคับ ให้ถือเป็น การวาง จัดทา และ แก้ไขผังเมืองรวม ฉบับปัจจุบันนี้

มาตรา 14 กฎกระทรวงผังเมือง รวมที่ใช้บังคับอยู่ ก่อน วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้ บังคับ ให้คงใช้บงั คับ ต่อไปจนกว่าจะมี -21-

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข

เพื่อกาหนดให้ กระบวนการวาง จัดทา และแก้ไข ผังเมืองรวมทีอ่ ยู่ ระหว่าง ดาเนินการตาม พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2518 อยู่ ในวันก่อนที่ พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ ให้ถือว่า เป็นกระบวนการ วาง จัดทา และแก้ไขผังเมือง รวมตาม พระราชบัญญัติ เพื่อกาหนดให้ กฎกระทรวงให้ ใช้บังคับผังเมือง รวมที่ใช้บังคับอยู่ ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้


ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผัง เมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

-22-

ประเด็นสาคัญ พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 กฎกระทรวงผังเมือง รวมฉบับใหม่ออกมา ใช้บังคับ ทั้งนี้ ให้นา มาตรา 26 ของ พระราชบัญญัติ ฉบับนี้มาใช้บงั คับ โดยอนุโลม

เจตนารมณ์ / เหตุผลในการขอ แก้ไข ใช้บังคับ ให้คงใช้ บังคับต่อไปได้ ตาม พระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกว่าจะ ได้มีกฎกระทรวง ให้ใช้บังคับผัง เมืองรวมทีอ่ อก ตาม พระราชบัญญัตินี้


แผนผังแสดงคณะกรรมการผังเมือง ตาม พ.ร.บ.การผังเมือง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ ประธานกรรมการ (ปลัดกระทรวงมหาดไทย) ผู้แทนส่วนราชการ (กรรมการ โดยตาแหน่ง 9 คน) ๑. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ๒. ปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ๓. ปลัดกระทรวงคมนาคม ๔. ปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ๕. ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ๖. เลขาธิการคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ๗. ผู้อานวยการสานักงบประมาณ ๘. เลขาธิการคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน ๙. อธิบดีกรมโยธาธิการและผัง เมือง

ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งไม่เกิน ๙ คน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

การผังเมือง สถาปัตยกรรมศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์หรือ โบราณคดี ๘. สังคม ๙. ผู้ทรงคุณวุฒิจาก สถาบันอุดมศึกษาที่มี หลักสูตรเกี่ยวกับการผัง เมือง อย่างน้อย ๑ คน

กรณีที่เป็นการวางและจัดทาผัง เมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะในเขต กรุงเทพมหานครปลัด กรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการ ร่วมด้วย กรณีที่มีพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับ ความมั่นคงทางทหารให้ ปลัดกระทรวงกลาโหมเป็น กรรมการร่วมด้วย

กรรมการและเลขานุการ อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง -23-

ผู้แทนสถาบัน องค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้อง กับการผังเมือง ไม่เกิน ๙ คน ๑. กรรมการซึ่งเป็นผู้แทน 1.1 ผู้แทนสภาวิศวกร 1.2 ผู้แทนสภาสถาปนิก 1.3 ผู้แทนสภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย 1.4 ผู้แทนสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย 1.5 ผู้แทนสภาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ๒. กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งไม่เกิน ๔ คน


แผนผังแสดงองค์ประกอบของผังเมืองรวม กรณีตามพ.ร.บ.การผังเมือง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ องค์ประกอบของผังเมืองรวม (มาตรา ๑๗) 1. วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทาผังเมืองรวมให้กาหนดโดยคานึงถึงความเป็นระเบียบ ความสวยงาม การ ใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน ความปลอดภัยของประชาชน การเศรษฐกิจทรัพยากรธรรมชาติ การดารงรักษา สถานที่ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี และการจัดสภาพแวดล้อมที่ ทุกคนสามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างเท่าเทียมกัน 2. แผนที่แแสดงเขตของผังเมืองรวม โดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง 3. แผนผังซึ่งจัดทาขึ้นเป็นฉบับเดียวหรือหลายฉบับ โดยมีสาระสาคัญทุกประการหรือบางประการ 4. รายการประกอบแผนผัง 5. ข้อกาหนดที่จะให้ปฏิบัติหรือไม่ให้ปฏิบัติ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวมทุกประการ 6. นโยบาย มาตรการ และวิธีดาเนินการ เพื่อปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม

๑. วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทาผังเมืองรวม มีแนวทางการปฏิบัติ คือ ข้อ... การวางและจัดทาผังเมืองรวมนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้จงั หวัด... เป็นเมืองศูนย์กลางระดับภูมิภาค ทีมี่บทบาทสาคัญด้านการบริหารและการปกครอง การค้าการบริการที่ได้มาตรฐานและมีประสิท ธิภาพทั้งใน ระดับประเทศและระดับสากล สอดคล้องกับกรอบความร่วมมือประชาคมอาเซียน มีการอนุรักษ์และพัฒนา แหล่งทรัพยากรธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน มีความมั่นคงทั้งด้านอาหารและพลังงาน รวมถึงเป็น พื้นที่ต้นแบบในการพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนของประเทศ โดยมีแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนาจังหวัด... ภายในบริเวณแนวเขตข้อ... ดังต่อไปนี้ 1) ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางด้านธุรกิจและพาณิชยกรรมของภาคใต้ตอนล่าง และสอดคล้องกั บ นโยบายความร่วมมือระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันจากฐาน กิจกรรมและทรัพยากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการและการบริการทาง สังคมให้เพียงพอและได้มาตรฐาน ให้มีความพร้อมในพื้นที่พัฒนาเมือง อุตสาหกรรม เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และด่านการค้าชายแดน 2) กาหนดพื้นที่และพัฒนาปัจจัยการเพาะปลูกพืชอาหารและพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของจังหวัดได้ อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ 3) กาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินพื้นที่พัฒนาเมืองเพื่อรองรับการเติบโตของประชากรและกิจกรรมได้ อย่างเพียงพอ มีคุณภาพ และป้องกันผลกระทบต่อพื้นที่แหล่งทรัพยากรและเกษตรกรรม โดยเฉพาะการตั้งถิ่น ฐานและย่านเศรษฐกิจการค้าการลงทุน

-24-


4) ส่งเสริมการพัฒนารูปแบบกลุม่ อุตสาหกรรมการผลิตที่มศี ักยภาพตามห่วงโซ่อุปทานโครงข่ายการ คมนาคมขนส่ ง และแรงงาน ควบคู่ กั บ การประยุ ก ต์ ใ ช้ ม าตรการ เพื่ อ ป้ อ งกั น และลดผลกระทบ ต่ อ สภาพแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ 5) ส่งเสริมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีคุณค่าของจังหวัด...ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและเท่าเทียม 6) ส่งเสริมมาตรการแก้ไขและป้องกันปัญหาภัยพิบัติจากธรรมชาติ และจากการกระทาของมนุษย์ โดยเฉพาะอุทกภัยและภัยแล้งในพื้นที่จังหวัด… 7) ส่งเสริมบทบาทการพัฒนาจังหวัด... อย่างยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการลดการใช้พลังงานและเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อช่วยลดก๊าซเรือนกระจก ๒. แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวม โดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง มีแนวทางการปฏิบัติ คือ ก าหนดเส้นชั้นความสูงในแผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมจังหวัด (แผนที่ ท้ ายกฎกระทรวง) ควร กาหนดระยะห่างระหว่างเส้นชั้นความสูงให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศของพื้นที่ในแต่ละจังหวัด ตัวอย่างเช่น - บริเ วณพื้ นที่ ที่ มีลัก ษณะภูมิป ระเทศเป็นภูเ ขา พื้ นที่ สูงชัน ควรแสดงเส้นชั้นความสูงให้มี ระยะห่างระหว่าง 50 เมตร หรือ 100 เมตร - บริเวณพื้นที่ทีมี่ลักษณะภูมิประเทศ เป็นพื้นที่ลาดชันปานกลาง ควรแสดงเส้นชั้นความสูงให้ มีระยะห่างระหว่าง 10 เมตร 20 เมตร 30 เมตร 40 เมตร และ 50 เมตร - บริเวณพื้นที่ค่อนข้างราบ และพื้นที่ราบ ควรแสดงเส้นชั้นความสูงที่ระยะ 1 เมตร 2 เมตร และ 5 เมตร ในพื้นที่จังหวัดสามารถแสดงเส้นชั้นความสูงได้หลายแบบ ตามสภาพความเหมาะสมของพื้นที่ และ การแสดงเส้นชั้นความสูงจะต้องกาหนดให้ระยะห่างมีความเหมาะสม เพื่อไม่ให้การแสดงเครื่องหมายต่างๆ ใน แผนที่ท้ายกฎกระทรวงขาดความชัดเจน ๓. แผนผังซึ่งทาขึ้นเป็นฉบับเดียวหรือหลายฉบับ โดยมีสาระสาคัญทุกประการหรือบางประการ ดังนี้ (ก) แผนผังกาหนดการใช้ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท (ข) แผนผังแสดงที่โล่ง (ค) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง (ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค ๔. รายการประกอบแผนผัง 4.1 รายการประกอบแผนผัง จะต้องดาเนินการควบคู่ไปกับแผนผังแต่ละฉบับที่ได้ดาเนินการจัดทาแนว ทางการปฏิบัติ 4.2 การวางและจัดทาผังเมืองรวมจังหวัดปัจจุบันได้กาหนดให้มีแผนผังกาหนดการใช้ที่ดินตามที่ -25-


4.3 จาแนกประเภท จึงต้องจัดทารายการประกอบแผนผังกาหนดการใช้ที่ดิ น ซึ่งหมายถึง คาบรรยายที่ ใช้อธิบายขอบเขตบริเวณที่ดินที่ใช้ในการอ้างอิงประกอบแผนผังฯ 4.4 ในอนาคตถ้าผังเมืองรวมจังหวัดมีการดาเนินการจัดทาแผนผังแสดงที่โล่ง แผนผังแสดงโครงการ คมนาคมและขนส่ง และแผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค จะต้องจัดทารายการประกอบ แผนผังแต่ละประเภทด้วย 5. ข้อกาหนดที่จะให้ปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวมทุกประการ ดังนี้ (ก) ประเภทและขนาดกิจการที่จะขออนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ดาเนินการ (ข) ประเภท ชนิด ขนาด ความสูง และลักษณะของอาคารที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้สร้าง (ค) อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้ตั้งอาคาร (ง) อัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (จ) อัตราส่วนพื้นที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมของแปลงที่ตั้งอาคารอยู่ต่อพื้นที่ใช้สอยรวมของอาคาร (ฉ) ระยะถอยร่นจากแนวธรรมชาติ ถนน แนวเขตที่ดิน อาคาร หรือสถานที่อื่น ๆ ที่จาเป็น (ช) ขนาดของแปลงที่ดินที่จะขออนุญาตให้สร้างอาคาร (ซ) ข้อกาหนดอื่นที่จาเป็นโดยรัฐมนตรีประกาศกาหนดตามคาแนะนาของคณะกรรมการผังเมือง ๖. นโยบาย มาตรการและวิธีการเพื่อปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม มีแนวทางการปฏิบัติ คือ 6.1 การกาหนดนโยบาย มาตรการและวิธีการเพื่อปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวมจังหวัดเป็น การดาเนินการภายใต้กลไกทางกฎหมายที่มีอยู่ แนวทางการดาเนินการที่เหมาะสม เพื่อให้บรรลุและ สอดคล้อง 6.2 ตามวัตถุประสงค์ 6.3 นโยบายของผังเมืองรวมจังหวัด จะเป็นการส่งเสริมและควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้อง และเป็นไปตามประเภทการใช้ที่ดินประเภทนั้นๆ หรือเป็นการกาหนดเพื่อการแก้ไขปัญหา เพื่อ พัฒ นาทางกายภาพของจังหวัด ก าหนดให้เ หมาะสมสอดคล้องกับยุท ธศาสตร์ หรือก าหนดการ พัฒนาเฉพาะพื้นที่ที่ต้องการพัฒนา เป็นต้น 6.4 มาตรการเพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวมจังหวัดแบ่งเป็น มาตรการส่งเสริม การใช้ประโยชน์ที่ดิน และมาตรการควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน

-26-


กระบวนการจัดทากฎกระทรวงผังเมือง รวม ขั้นตอนการดาเนินการวางและจัดทาผังเมืองรวมเมือง / ชุมชน ปีที่ ๑ ๑. การกาหนดเขตผังเมือง รวมและแต่งตัง้ คณะที่ ปรึกษาผังเมือง

ปีที่ 2

ปีที่ 3

๕. คณะกรรมการผังเมือง พิจารณาเห็นชอบ

๙. เสนอ คกก. พิจารณาร่าง กฎหมาย กระทรวงมหาดไทย

๖. ปิดประกาศ ๙๐ วัน ๒. ดาเนินการวางและจัดทา ผังเมืองรวม (ฉบับร่าง) ๓. กรมโยธาธิการและผัง เมืองพิจารณาเห็นชอบ ๔. ดาเนินการโฆษณาปิด ประกาศและประชุมรับฟัง ความคิดเห็น

๗. การรวบรวมและพิจารณา คาร้อง ๘. จัดทาเอกสารเสนอ กระทรวงมหาดไทย

๑๐. เสนอ รมต.มหาดไทย นาร่างกฎกระทรวงผังเมือง รวม เสนอ ครม. ๑๑. เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อ ทราบและรับหลักการ

๑๒. ครม. พิจารณาเห็นชอบและส่ง สนง. คณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๓. สนง.คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจารณาเห็นชอบ ๑๔. สนง.คณะกรรมการกฤษฎีกา กฎกระทรวงให้ สนง.เลขา คณะรัฐมนตรี และกระทรวง

การดาเนินการก่อนกฎกระทรวงประกาศใช้

๑๕. สนง.เลขานุการคณะรัฐมนตรี เข้า กระทรวงมหาดไทยลงนามในกฎหมาย ๑๖. รัฐมนตรีลงนามในกฎหระทรวง ๑๗. กรมโยธาธิการและผังเมืองจัดพิมพ์ แผนที่และแผนผัง -27-

๑๘. ประกาศกฎกระทรวงลง ในราชกิจจานุเบกษา


กระบวนการจัดทากฎกระทรวงผังเมือง รวม ขั้นตอนหลักของการประเมินผลผังเมืองรวมเมือง / ชุมชน ๑. จัดเตรียมแผนทีจ่ ัดเก็บรวมรวมข้อมูลทบทวน กฎกระทรวงผังเมืองรวม

๕. ประชุมการมีส่วนร่วม ** การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) การประชุมผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders)

2. สารวจ จัดเก็บข้อมูล การเปลี่ยนแปลงฯ แผนงาน โครงการทีม่ ีผลกระทบต่อเมือง ชุมชน สารวจความคิดเห็น

แบบสอบถาม (Questionnaires)

๓. วิเคราะห์เพื่อประเมินผลการเปลี่ยนแปลง * สภาพการณ์และสิง่ แวดล้อมการใช้บังคับผังเมือง รวม

การสัมภาษณ์ (Interview) ๖. จัดทาเอกสารรายงาน การประเมินผลผัง เมืองรวม

๔. จัดทาร่างรายงานการประเมินผลผังเมืองรวม ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไขรายงานฯ

๗. ประชุมคณะทีป่ รึกษาผังเมืองรวมจังหวัด

๑๐. ประชุมคณะกรรมการผังเมือง

๘. ประชุมประกอบความคิดเห็นด้านผังเมือง ผลการประเมินผลการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์ และสิง่ แวดล้อม การใช้บังคับผังเมืองรวม สรุป ได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปในสาระสาคัญ ทาให้ ผังเมืองรวมไม่เหมาะสมที่จะรองรับการพัฒนา หรือดารงรักษาเมืองต่อไป ให้ปรับปรุงโดยการ วางและจัดทาผังเมืองรวมขึ้นใหม่

๙. ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองเพื่อ ติดตามเร่งรัดและประเมินผลการวางและ จัดทาผังเมืองรวม

ผลการประเมินผลการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์ และสิง่ แวดล้อมการใช้บังคับผังเมืองรวม สรุปได้ ว่า ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสาระสาคัญ ให้ใช้บงั คับ กฎกระทรวงผังเมืองรวมนั้นต่อไป

การดาเนินการหลังกฎกระทรวงประกาศใช้

-28-


ตารางที่ 2 กระบวนการวางและจัดทาผังเมืองรวมจังหวัด ผังเมืองรวมเมืองหรือผังเมืองรวมชุมชน ตาม พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 : กรณีผังพื้นที่เปิดใหม่ ขั้นตอน มาตรา รายละเอียด 1 14 ตราพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตที่ดินที่จะทาการสารวจ เพื่อการวางและจัดทาผัง เมืองรวม (ไม่บังคับ) 15 สารวจ กาหนดเขตผัง 18 กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการวางและจัดทาผังเมืองรวม ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการผังเมืองก่อน 19 กรณีกรมโยธาธิการและผังเมืองดาเนินการวางและจัดทาผังเมืองรวม ต้องแจ้งให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ ทราบ 21 แต่งตั้งคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม 2 17 วิเคราะห์ข้อมูลวางผังร่าง องค์ประกอบของผังเมืองรวมที่ต้องดาเนินการจะต้องประกอบด้วย (1) วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทาผังเมืองรวม ให้กาหนดโดยคานึงถึงความ เป็นระเบียบ ความสวยงาม การใช้ป ระโยชน์ในทรัพย์สิน ความปลอดภัยของ ประชาชน การเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ การดารงรักษาสถานที่ที่มีคุณค่า ทางศิ ล ปกรรม สถาปั ต ยกรรม ประวั ติ ศ าสตร์ หรื อ โบราณคดี และการจัด สภาพแวดล้อมที่ทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างเท่าเทียม กัน (2) แผนที่แสดงเขตผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง (3) แผนผังซึ่งทาขึ้นเป็นฉบับเดียวหรือหลายฉบับโดยมีสาระสาคัญทุกประการ หรือบางประการ ดังนี้ (ก) แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท (ข) แผนผังแสดงที่โล่ง (ค) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง (ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค (4) รายการประกอบแผนผัง (5) ข้อกาหนดที่จะให้ปฏิบัติหรือไม่ให้ปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ ผังเมืองรวมทุกประการ ดังต่อไปนี้ (ก) ประเภทและขนาดกิจการที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ดาเนินการ (ข) ประเภท ชนิด ขนาด ความสูง และลักษณะของอาคารที่จะอนุญาตหรือไม่ อนุญาตให้สร้าง (ค) อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ ใช้ เป็นที่ตั้งอาคาร (F.A.R.) (ง) อัตราส่วนพื้นที่ปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (B.C.R.) (จ) อัตราส่วนพื้นที่ ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมของแปลงที่ดิน ที่อาคารตั้งอยู่ต่อ พื้นที่ใช้สอยรวมของอาคาร(O.S.R.) (ฉ) ระยะถอยร่นจากแนวธรรมชาติ ถนน แนวเขตที่ดิน อาคาร -29-


ขั้นตอน

มาตรา

3

20

4

19

5

22

6 7

23 24

25 8 9 10 11 12 13 14 15 16

รายละเอียด หรือสถานที่อื่น ๆ ที่จาเป็น (Set Back) (ช) ขนาดของแปลงที่ดินที่จะอนุญาตให้สร้างอาคาร (Lot Size) ข้อกาหนดอื่นที่ จาเป็นโดยรัฐมนตรีประกาศกาหนดตามคาแนะนาของคณะกรรมการผังเมือง (ซ) คณะกรรมการผังเมือง **กรณีที่ผังเมืองรวมไม่มีข้อกาหนดบางประการตาม (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช) และ (ซ) จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง โดยมีเหตุผลอัน สมควร (๖) นโยบาย มาตรการ และวิธีดาเนินการเพื่อปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของผังเมือง รวม ประชุมเพื่อประกอบการให้ความเห็นด้านผังเมือง ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองเพื่อประสานงานวางและจัดทาผังเมือง โฆษณาทางวิทยุ/หนังสือพิมพ์/ระบบเครือข่ายสารสนเทศไม่น้อยกว่า 7 วัน ปิดประกาศในที่เปิดเผย ไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็น ของประชาชน ประชุมรับฟังความคิดเห็นประชาชน (ไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง) ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองเพื่อพิจารณาด้านผังเมือง ประชุมคณะกรรมการผังเมือง ปิดประกาศพร้อมข้อกาหนด 90 วัน รวบรวม ตรวจสอบ และพิจารณาคาร้อง • ประชุมคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม • ประชุมเพื่อประกอบการให้ความเห็นด้านผังเมือง (พิจารณาคาร้อง) • ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคาร้องของผู้มีส่วนได้เสีย ที่ร้องขอแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง หรือยกเลิกข้อกาหนดเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ ที่ดินของผังเมือง • ประชุมคณะกรรมการผังเมือง แจ้งผลการพิจารณาคาร้องต่อผู้มีส่วนได้เสีย กรณีไม่มีคาร้อง ให้แจ้งต่อที่ประชุมทุกคณะเหมือนข้างต้น จัดทาเอกสารเสนอคณะกรรมการร่างกฎหมายกระทรวงมหาดไทย ประชุ ม คณะกรรมการร่ า งกฎหมายกระทรวงมหาดไทยและประชุ ม กระทรวงมหาดไทย เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณารับหลักการ คณะรัฐมนตรีพิจารณาเห็นชอบและส่งให้สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกานัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมฯ จัดทาร่างกฎกระทรวงที่สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจแล้ว สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาส่งให้กระทรวงมหาดไทย สนอร่างกฎกระทรวงให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยลงนาม -30-


ขั้นตอน มาตรา รายละเอียด 17 กรมฯ จัดพิมพ์แผนที่และแผนผัง 18 ส่งกฎกระทรวงไปประกาศราชกิจจานุเบกษา ปัจจัยที่ใช้ในการประเมินผลผังเมืองรวมเมือง/ชุมชนมีทั้งสิ้น 8 ปัจจัย ได้แก่ 1. การใช้ประโยชน์ที่ดิน 2. ความหนาแน่นของประชากร 3. นโยบายรัฐบาลและโครงการพัฒนาในพื้นที่ทั้งของรัฐและเอกชน 4. สภาวการณ์ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 5. โครงการคมนาคมและขนส่ง 6. การป้องกันการเกิดภัยพิบัติ 7. ความมั่นคงของประเทศ 8. ปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับการผังเมือง ซึ่งรายละเอียดของแต่ละปัจจัย มีดังนี้ 1. การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตารางที่ 3 แนวทางปฏิบัติ : ให้แสดงสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในปีที่ทาการประเมินผล เพื่อให้ทราบการ เปลี่ยนแปลงด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินและอธิบายสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น วัตถุประสงค์การประเมินผล ข้อมูลที่ใช้ดาเนินการ ตัวอย่างแหล่งข้อมูล 1. เพื่อให้ทราบการเปลี่ยนแปลง 1. การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ - จากการสารวจ ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โย ชน์ ที่ ดิ นที่ เ ป็ น กิจกรรมหลักและกิจกรรมอื่นปีที่ - กรมพัฒนาที่ดิน กิ จ กรรมหลั ก และกิ จ กรรมอื่ น ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง ใ ช้ บั ง คั บ กั บ ปี - ภาพถ่ายดาวเทียมผังเมืองรวม เปรียบเที ยบกับการใช้ประโยชน์ ประเมินผล จังหวัด ที่ดินปีที่กฎกระทรวงบังคับใช้ 2. จานวนอาคารและการใช้ที่ดิน 2. เ พื่ อ ใ ห้ ท รา บทิ ศ ทางกา ร เปรียบเที ยบปีที่ ก ฎกระทรวงใช้ ขยายตัวของชุมชน บังคับกับปีประเมินผล 3. เพื่ออธิบายสาเหตุหรือปัจจัยที่ สงผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง นั้น 2. ความหนาแน่นของประชากร ตารางที่ 4 แนวทางปฏิบัติ : ให้แสดงความหนาแน่นของประชากรในปีที่ทาการประเมินผล วัตถุประสงค์การประเมินผล ข้อมูลที่ใช้ดาเนินการ ตัวอย่างแหล่งข้อมูล 1. เพื่อให้ทราบความหนาแน่น 1. จานวนประชากรในที่ดิน - สานักบริหารการทะเบียน ของประชากรรายประเภทที่ดิน (กรมการปกครอง) -31-


วัตถุประสงค์การประเมินผล และรายบริเ วณเปรียบเที ยบกั บ เกณฑ์ แ ละมาตรฐานของกรม โยธาธิการและผังเมือง 2. เพื่อให้ทราบการขยายตัวของ ประชากรปัจจุบันเปรียบเทียบกับ ประชากรเป้าหมาย 3. เพื่ อ ให้ ท ราบทิ ศ ทางและ แนวโน้มการขยายตัวของชุมชน

ข้อมูลที่ใช้ดาเนินการ ตัวอย่างแหล่งข้อมูล แต่ละประเภทและรายบริเวณใน - การคานวณ ปีประเมินผล - รายงานการวิเ คราะห์เ พื่อการ 2. จานวนประชากรปีประเมินผล วางผัง เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ป ร ะ ช า ก ร คาดการณ์

3. นโยบายรัฐบาลและโครงการพัฒนาในพื้นที่ทั้งของรัฐและเอกชน ตารางที่ 5 แนวทางปฏิบัติ : วิเคราะห์ผลกระทบต่อผังเมืองรวมที่มีการบังคับใช้ พร้อมทั้งแสดงรายละเอียด ของแผนงาน/โครงการนั้น วัตถุประสงค์การประเมินผล ข้อมูลที่ใช้ดาเนินการ ตัวอย่างแหล่งข้อมูล 1. เพื่ อ ให้ ท ราบผลกระทบต่ อ โครงการพั ฒ นาขนาดใหญ่ ที่ - ส า นั ก ง า น คณะ ก ร ร ม ก า ร บทบาทของเมือง เกิดขึ้นหลังกฎกระทรวงบังคับใช้ พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คม 2. เพื่อให้ทราบผลกระทบต่อการ หรือมีแผนงานโครงการชัดเจนใน แห่งชาติ (สศช.) เ ป ลี่ ย น แป ลงด้ า น ประชากร อนาคต - สานักงานจังหวัด เศรษฐกิจ สังคมและกายภาพของ - แผนพัฒนาจังหวัด/ยุทธศาสตร์ เมือง จังหวัด 3. เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบที่มีต่อ - หนั ง สื อ ตอบจากหน่ ว ยงาน เขตผัง เมื องรวมที่ ใช้บัง คับ ทั้ ง ใน ราชการต่ า ง ๆ จ านวน 245 ระยะสั้นและระยะยาว หน่วยงาน - ที่ ป ระชุม คณะอนุก รรมการผั ง เมื อ งเพื่ อพิ จ ารณาประสานงาน วางและจัดทาผังเมือง 4. สภาวการณ์ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ตารางที่ 6 แนวทางปฏิบัติ : แสดงการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมของเมือง วัตถุประสงค์การประเมินผล ข้อมูลที่ใช้ดาเนินการ ตัวอย่างแหล่งข้อมูล 1. เพื่ อ ให้ ท ราบแนวโน้ ม การ 1. จ านวนและประเภทของ - ส า นั ก ง า น คณะ ก ร ร ม ก า ร เปลี่ ย นแปลงฐานเศรษฐกิ จ ของ กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการใช้ พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คม เมือง ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ ดิ น เ พื่ อ ร อ ง รั บ แห่งชาติ (สศช.) 2. เพื่อให้ทราบถึงความสามารถ กิ จ ก ร ร ม ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ปี ที่ - ส ามะโนธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม ในการจัดบริการสาธารณะ (สานักงานสถิติแห่งชาติ) -32-


วัตถุประสงค์การประเมินผล 3. เพื่อให้ทราบสภาวการณ์ของ สภาพแวดล้อมของเมือง

ข้อมูลที่ใช้ดาเนินการ ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง ใ ช้ บั ง คั บ กั บ ปี ประเมินผล 2. จ านวนและประเภทของ บริการสาธารณะในปีประเมินผล 3. ข้อ มู ล การดาเนินการในเรื่อง ขยะระบบระบายน้า ปัญหามลพิษ พื้นที่ สวนสาธารณะและสถานพักผ่อน หย่อนใจ ฯลฯ

ตัวอย่างแหล่งข้อมูล - ทาเนียบโรงงานอุตสาหกรรม (กรมโรงงานอุตสาหกรรม) - กรมควบคุมมลพิษ - กรมการท่องเที่ยว - สานักงานเกษตรจังหวัด - สานักงานพาณิชย์จังหวัด - สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด - แผนพั ฒ นา ๓ ปี (๔ ปี ) ของ อปท. ในเขตผัง

5. โครงการคมนาคมและขนส่ง ตารางที่ 7 แนวทางปฏิบัติ : ให้แสดงสภาพปัจจุบันของระบบคมนาคมและขนส่งของเมือง เพื่อให้ทราบถึงการ พัฒนาตามโครงการคมนาคมและขนส่งที่กาหนดในผังเมืองรวม โครงการพัฒนาระบบคมนาคมและขนส่งอื่น ๆ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงที่อาจส่งผลกระทบต่อการคมนาคมขนส่งและสภาพการจราจร วัตถุประสงค์การประเมินผล ข้อมูลที่ใช้ดาเนินการ ตัวอย่างแหล่งข้อมูล 1. เพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง การพั ฒ นา 1. โครงข่ายคมนาคมและขนส่งที่ - องค์ก รปกครองส่วนท้ องถิ่นใน โครงการคมนาคมและขนส่ ง มีการดาเนินการตามกฎกระทรวง เขตผัง ตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง 2. โครงการพัฒนาอื่น ๆ ที่กระทบ - แขวงการทางกรมทางหลวง 2. เพื่อให้ทราบถึงโครงการพัฒนา ต่อการคมนาคมขนส่งและสภาพ - ส านั ก งานทางหลวงชนบท ระบบคมนาคมและขนส่งอื่น ๆ การจราจร จังหวัด 3. เ พื่ อ ใ ห้ ท ร า บ ถึ ง ก า ร เปลี่ยนแปลงที่ อาจส่งผลกระทบ ต่อการคมนาคมขนส่งและสภาพ การจราจร 6. การป้องกันการเกิดภัยพิบัติ ตารางที่ 8 แนวทางปฏิบัติ : กรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผังเมืองรวมบังคับใช้ประสบปัญหาด้านภัย พิบัติให้แสดงสาเหตุและสภาพปัจจุบันของปัญหาภัยพิบัติ ตลอดจนการดาเนินการเพื่อแก้ไขหรือบรรเทาภัย พิบัตินั้น วัตถุประสงค์การประเมินผล ข้อมูลที่ใช้ดาเนินการ ตัวอย่างแหล่งข้อมูล เพื่ อ ให้ ท ราบมาตรการและแนว 1. ข้อมูลปัญหาภัยพิบัติที่เกิดขึ้น - แผนพัฒนาอปท. ๓ ปี ทางการป้องกันการเกิดภัยพิบัติ ในพื้ นที่ วางผัง เช่น น้าท่ วม ภัย - อปท. ในเขตผังเมืองรวม แล้งกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม เสี่ยง - ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด -33-


วัตถุประสงค์การประเมินผล

ข้อมูลที่ใช้ดาเนินการ ตัวอย่างแหล่งข้อมูล ภัยต่อคลังวัตถุระเบิดหรือสารเคมี - สถิติจังหวัด อันตราย เป็นต้น - กรมป้ อ งกั น และบรรเทาสา 2. ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติจาก ธารณภัย การรวบรวมของหน่วยงานต่าง ๆ เป็นรายปี 3. โครงการพัฒนาเพื่อบรรเทา/ ป้องกันภัยพิบัติ

7. ความมั่นคงของประเทศ ตารางที่ 9 แนวทางปฏิบัติ : ให้แสดงผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงใน บริบทต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับนโยบายความมั่นคงแห่งชาติในประเด็นที่เกี่ยวข้องหรือกระทบต่อท้องที่ผังเมือง รวม วัตถุประสงค์การประเมินผล ข้อมูลที่ใช้ดาเนินการ ตัวอย่างแหล่งข้อมูล 1. เพื่ อ ให้ ท ราบมาตรการและ 1. มาตรการ/โครงการเกี่ยวกับ - กรมธุรกิจพลังงาน แนวทางในการรักษาความมั่ นคง การบริหารจัดการ - กระทรวงพลังงาน ของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ ทรัพยากรธรรมชาติและ - ส านัก งานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ง แวดล้อมการรักษาพื้ นที่ป่าไม้ สิ่งแวดล้อม และสิ่งแวดล้อมจังหวัด การรัก ษาพื้ นที่ ชุ่ม น้า การสงวน - กรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป่ า พื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์ป่า เป็นต้น และพันธุ์พืช 2. เพื่ อ ให้ ท ราบมาตรการและ 1. มาตรการ/โครงการด้านการจัด - สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร - กรมชลประทาน แนวทางในการรักษาความมั่ นคง การพลังงาน ทางพลั ง งานและอาหาร การ 2. มาตรการ/โครงการเกี่ยวกับ - การไฟฟ้าฝ่ายผลิต รักษาแหล่งเกษตรกรรมชั้นดี การ การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อ - กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี รักษาแหล่งประมง เป็นต้น การผลิตอาหาร 8. ปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับการผังเมือง กรณีที่มีปัจจัยอื่นนอกเหนือจากที่ระบุไว้ซึ่งเกี่ยวกับการผังเมืองให้แสดงข้อเท็จจริงและผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงของเมือง เช่น บทบาทของเมืองที่ปรับเปลี่ยนเนื่องจากนโยบายรัฐ เป็นต้น แนวทางปฏิบัติ กรณีการมีส่วนร่วมของประชาชน คณะอนุกรรมการผังเมืองฯ พิจารณาแล้ว มีความเห็นว่า การจัดทารายงานการประเมินผลฯ ผังเมือง รวมตามระเบียบของคณะกรรมการผังเมืองจะต้องคานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน ดังนั้น เห็นควรให้ผู้ วางผังดาเนินการตามขั้นตอนโดยประยุกต์ใช้และพิจารณาจากหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน ๕ ระดับเป็น หลัก ได้แก่ (๑) การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน -34-


(๒) การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (๓) การปรึกษาหารือ/มีส่วนร่วม (๔) การร่วมมือ และ (๕) การเสริมอานาจให้กับประชาชน โดยที่ประชุมมีข้อสังเกตว่า ในการสร้างการมีส่วนร่วมควรมี แนวปฏิบัติที่ ชัดเจน เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน โดยไม่จาเป็นต้องกาหนดไว้ในระเบียบ ทั้งนี้ ในการแก้ไขผังเมืองรวมตามมาตรา ๒๖/๑ จะต้องจัดให้ มีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องในเขตผังเมืองรวมได้รับทราบโดยคานึงถึงแนวทางการ มีส่วนร่วมทั้ง ๕ ระดับ ดังกล่าว สาหรับกรณีการแก้ไขผังตามมาตรา ๒๖/๑ ซึ่งใช้คาว่า “ให้ผู้มีส่วนได้เสียแสดง ข้ อ คิ ด เห็น ” ให้ มี ค วามหมายเช่ นเดี ยวกั บ “ค าร้ อ งขอของผู้มี ส่ว นได้เ สีย ” โดยมี ก ระบวนการพิจ ารณา เช่นเดียวกัน

-35-


ขั้นตอนหลักของกระบวนการมีส่วนร่วมงานประเมินผลผังเมืองรวม 1. การติดตามผัง (Monitoring)

การประเมินผลการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์ * และสิ่งแวดล้อมการใช้บังคับผังเมืองรวม พ.ศ. 2558 ๑. การใช้ประโยชน์ที่ดิน ๒. ความหนาแน่นของประชากร ๓. นโยบายหรือโครงการของรัฐบาล ๔. สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ๕. การคมนาคมและขนส่ง ๖. การป้องกันการเกิดภัยพิบัติ ๗. ความมั่นคงของประเทศ ๘. ปัจจัยอื่นที่เกี่ยวกับการผังเมือง

2. การประเมินผลผัง (Evaluation) 3. การมีส่วนร่วม (Public Participation)

4. รายงานการประเมินผลผัง (Evaluation Report)

5. ขั้นตอนการประชุม • ประชุมคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม • ประชุมประกอบความคิดเห็นด้านผังเมือง • ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองเพื่อติดตามเร่งรัด และประเมินผลการวางและจัดทาผังเมืองรวม • ประชุมคณะกรรมการผังเมือง

กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ** การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) การประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) แบบสอบถาม (Questionnaires)

ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ** อาจใช้วิธีการอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างได้

การสัมภาษณ์ (Interview) 1. ผังเมืองรวมจังหวัด 2. ผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน • แบบสอบถามงานประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) • แบบสอบถามงานประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

วิธีดาเนินการประเด็นที่ ๕ การแก้ไขผังเมืองรวมในระหว่างใช้บังคับ 1. 2. 3. 4. 5.

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมให้ความเห็น กรมโยธาธิการและผังเมืองพิจารณาให้ความเห็น ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองเพื่อพิจารณาด้านผังเมือง คณะกรรมการผังเมืองพิจารณาให้ความเห็นชอบ จัดให้มีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ประชาชนและผูท้ ี่เกี่ยวข้องในเขตผังเมืองรวมให้รบั ทราบ

-36-


6. จัดให้มีการปิดประกาศแผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมที่แก้ไขและรายละเอียดของการแก้ไขไว้ในที่ เปิดเผย ณ สานักงานเขตหรือที่ว่าการอาเภอ ที่ทาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสาธารณะ สถานในเขตผังเมืองรวมนั้น เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ตารางที่ 10 วิธีดาเนินการประเด็นที่ ๕ การแก้ไขผังเมืองรวมในระหว่างใช้บังคับ ครบกาหนด มีคาร้อง คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมให้ความเห็น กรมโยธาธิการผังเมืองให้ความเห็น

ครบกาหนด ไม่มีคาร้อง แจ้งคณะกรรมการผังเมืองเพื่อทราบ ผู้วางผังและกรมฯ ดาเนินการออกกฎกระทรวง ต่อไป

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคาร้องฯ ให้ ความเห็น คณะกรรมการผังเมืองพิจารณา * มีมติให้ตามคาร้อง ผู้วางผังและกรมฯ แก้ไขผังฯ ตามมติแล้วดาเนินการออกกฎกระทรวงต่อไป * มีมติยกคาร้อง ผู้วางผังและกรมฯ ดาเนินการ ออกกฎกระทรวงต่อไป ตารางที่ 11 กระบวนการประเมินผล ปรับปรุง และแก้ไขผังเมืองรวมเมือง/ผังเมืองรวมชุมชนทั้งบริเวณและ เฉพาะบริเวณตาม พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 ขั้นตอน

1

เมื่อผังเมืองรวมประกาศใช้บังคับในราชกิจจานุเบกษา จะไม่มีกาหนดอายุใช้บังคับ มาตรา รายละเอียด ขั้นตอน มาตรา รายละเอียด การประเมินผล ปรับปรุง และแก้ไข การปรับปรุง และแก้ไชผังเมือง ผังเมืองรวมเมือง / ชุมชนทั้งบริเวณ รวมเฉพาะบริเวณ

26 จัดทารายงานการประเมินผลการ เปลี่ยนแปลงสภาพการณ์ และสิง่ แวดล้อมการใช้บังคับผัง เมืองรวม (ตามระยะเวลาที่คณะกรรมการ ผังเมืองกาหนด แต่ไม่เกิน 5 ปีนับแต่วันที่กฎกระทรวงให้ใช้ บังคับผังเมืองรวม ใช้บังคับ หรือนับแต่วันที่ คณะกรรมการผังเมืองพิจารณา รายงานการประเมินผลครัง้ ที่ ผ่านมาเสร็จสิ้น) • ประชุมคณะที่ปรึกษาผังเมือง รวม -37-

1 26/1 กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือ เจ้าพนักงานท้องถิ่นเสนอ ขอปรับปรุง และแก้ไขผังเมือง รวมเมือง/ชุมชนเฉพาะ บริเวณโดยจะต้องทาการ สารวจ วิเคราะห์ข้อมูลเฉพาะ บริเวณที่ขอปรับปรุง หรือแก้ไข และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพือ่ เสนอต่อที่ ประชุม ดังนี้ • ประชุมคณะที่ปรึกษาผังเมือง รวม • ประชุมเพื่อประกอบการให้ ความเห็นด้านผังเมือง


ขั้นตอน

เมื่อผังเมืองรวมประกาศใช้บังคับในราชกิจจานุเบกษา จะไม่มีกาหนดอายุใช้บังคับ มาตรา รายละเอียด ขั้นตอน มาตรา รายละเอียด การประเมินผล ปรับปรุง และแก้ไข การปรับปรุง และแก้ไชผังเมือง ผังเมืองรวมเมือง / ชุมชนทั้งบริเวณ รวมเฉพาะบริเวณ

• ประชุมเพื่อประกอบการให้ ความเห็นด้านผังเมือง • ประชุมคณะอนุกรรมการผัง เมืองเพื่อติดตามเร่งรัด และประเมินผลการวางและ จัดทาผังเมืองรวม • ประชุมคณะกรรมการผังเมือง ** การจัดทารายงานการ ประเมินผลต้องเป็นไปตาม ระเบียบที่คณะกรรมการผังเมือง กาหนดและจะต้องแสดง ข้อเท็จจริงให้ปรากฏในเรื่อง ต่อไปนี้ - การเปลีย่ นแปลงการใช้ ประโยชน์ที่ดิน - ความหนาแน่นของประชากร - นโยบายหรือโครงการของ รัฐบาล - สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม - การคมนาคมขนส่ง - การป้องกันการเกิดภัยพิบัติ - ความมั่นคงของประเทศ - ปัจจัยอื่นทีเ่ กี่ยวข้องกับการผัง เมือง ** ต้องคานึงถึงการมีส่วนร่วม ของประชาชนในขั้นตอนการ ประเมินผลผังด้วย ** ผังเมืองรวมที่ถ่ายโอนภารกิจ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น จัดทารายงานการประเมินผลฯ แต่ถ้ายังไม่ถ่ายโอนภารกิจ ให้ กรมโยธาธิการและผังเมืองจัดทา รายงาน -38-

• ประชุมคณะอนุกรรมการผัง เมืองเพื่อพิจารณา ด้านผังเมือง • ประชุมคณะกรรมการผังเมือง ** ผังเมืองรวมทีถ่ายโอน ภารกิจ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น เสนอขอปรับปรุง/แก้ไข โดย ดาเนินการผ่านกรมโยธาธิการ และผังเมือง แต่ถ้ายังไม่ถ่าย โอนภารกิจ ให้กรมโยธาธิการ และผังเมือง เสนอขอปรับปรุง/ แก้ไข


ขั้นตอน

เมื่อผังเมืองรวมประกาศใช้บังคับในราชกิจจานุเบกษา จะไม่มีกาหนดอายุใช้บังคับ มาตรา รายละเอียด ขั้นตอน มาตรา รายละเอียด การประเมินผล ปรับปรุง และแก้ไข การปรับปรุง และแก้ไชผังเมือง ผังเมืองรวมเมือง / ชุมชนทั้งบริเวณ รวมเฉพาะบริเวณ

การประเมินผลฯ กรณี 1 กรณี 2 คณะกรรม- คณะกรรมการ การผังเมือง ผังเมือง พิจารณาแล้ว พิจารณาแล้ว เห็นว่าไม่ต้อง เห็นว่าต้อง ปรับปรุง หรือ ปรับปรุง หรือ แก้ไขผังเมือง แก้ไขผังเมือง รวมเมือง/ รวม/ชุมชน ก็ให้ ชุมชน ก็ให้ใช้ ดาเนินการ บังคับผังเมือง ปรับปรุง หรือ รวมเมือง/ แก้ไขให้ ชุมชนนั้นๆ เหมาะสมกับ ต่อไป สภาพการณ์ และสิง่ แวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลง ไป

2

17

3

20

สารวจ วิเคราะห์ ข้อมูล วางผังร่าง ซึ่งจะต้องมี องค์ประกอบ ตามที่ระบุใน มาตรา ๑๗ • ประชุมเพื่อ ประกอบการให้ ความเห็นด้านผัง เมือง • ประชุมคณะ อนุกรรมการผัง -39-

กรณี 1 คณะกรรมการผังเมือง พิจารณาแล้ว เห็นว่าไม่ต้อง ปรับปรุง หรือแก้ไขผัง เมืองรวม เมือง/ชุมชน ก็ให้ใช้บังคับ ผังเมืองรวม เมือง/ชุมชน นั้นๆ ต่อไป

กรณี 2 คณะกรรมการ ผังเมือง พิจารณาแล้ว เห็นว่าต้อง ปรับปรุง หรือ แก้ไขผังเมือง รวมเมือง/ ชุมชนก็ให้กรม ฯ หรือเจ้า พนักงาน ท้องถิ่น ดาเนินการ ปรับปรุงหรือ แก้ไขให้ เหมาะสมกับ สภาพการณ์ และ สิ่งแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลง ไป


ขั้นตอน

เมื่อผังเมืองรวมประกาศใช้บังคับในราชกิจจานุเบกษา จะไม่มีกาหนดอายุใช้บังคับ มาตรา รายละเอียด ขั้นตอน มาตรา รายละเอียด การประเมินผล ปรับปรุง และแก้ไข การปรับปรุง และแก้ไชผังเมือง ผังเมืองรวมเมือง / ชุมชนทั้งบริเวณ รวมเฉพาะบริเวณ

4

19

5

22

6

23

เมืองเพื่อ ประสานงานวาง และจัดทาผัง เมือง • โฆษณาทาง วิทยุ/ หนังสือพิมพ์ /ระบบ เครือข่าย/ สารสนเทศไม่ น้อยกว่า ๗ วัน • ปิดประกาศใน ที่เปิดเผยไม่นอ้ ย กว่า ๑๕ วัน ก่อนวันประชุม เพื่อรับฟังความ คิดเห็นของ ประชาชน • ประชุมรับฟัง ความคิดเห็น ประชาชน (ไม่ น้อยกว่า ๑ ครั้ง) • ประชุมคณะ อนุกรรมการผัง เมืองเพื่อ พิจารณาด้านผัง เมือง ปิดประกาศ พร้อมข้อกาหนด ๙๐ วัน

-40-

2 26/1

• ประชาสัมพันธ์ ชี้แจงให้ ประชาชนและ ผู้เกี่ยวข้องในเขต ผังเมืองรวมได้ รับทราบ


ขั้นตอน

7

เมื่อผังเมืองรวมประกาศใช้บังคับในราชกิจจานุเบกษา จะไม่มีกาหนดอายุใช้บังคับ มาตรา รายละเอียด ขั้นตอน มาตรา รายละเอียด การประเมินผล ปรับปรุง และแก้ไข การปรับปรุง และแก้ไชผังเมือง ผังเมืองรวมเมือง / ชุมชนทั้งบริเวณ รวมเฉพาะบริเวณ

24

รวบรวม ตรวจสอบ และ พิจารณาคาร้อง • ประชุมคณะที่ ปรึกษาผังเมือง รวม • ประชุมเพื่อ ประกอบการให้ ความเห็นด้านผัง เมือง (พิจารณา คาร้อง) • ประชุมคณะ อนุกรรมการผัง เมืองพิจารณาคา ร้องของผูม้ ีส่วน ได้เสียทีร่ ้องขอ แก้ไข หรือ เปลี่ยนแปลง หรือยกเลิก ข้อกาหนด เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ของผังเมือง • ประชุม คณะกรรมการ ผังเมือง

-41-

3 26/1

• ปิดประกาศใน ที่เปิดเผยไม่นอ้ ย กว่า ๓๐ วัน ก่อนวันประชุม เพื่อรับฟังความ คิดเห็นของ ประชาชน รวบรวม ตรวจสอบ และ พิจารณา ข้อคิดเห็นของผู้ มีส่วนได้เสีย • ประชุมคณะที่ ปรึกษาผังเมือง รวม • ประชุมเพื่อ ประกอบการให้ ความเห็นด้านผัง เมือง(พิจารณา คาร้อง) • ประชุมคณะ อนุกรรมการผังเมือง พิจารณาคาร้อง ของผู้มสี ่วนได้ เสียทีร่ ้องขอ แก้ไข หรือ เปลี่ยนแปลง หรือยกเลิก ข้อกาหนด เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ของผังเมือง


ขั้นตอน

เมื่อผังเมืองรวมประกาศใช้บังคับในราชกิจจานุเบกษา จะไม่มีกาหนดอายุใช้บังคับ มาตรา รายละเอียด ขั้นตอน มาตรา รายละเอียด การประเมินผล ปรับปรุง และแก้ไข การปรับปรุง และแก้ไชผังเมือง ผังเมืองรวมเมือง / ชุมชนทั้งบริเวณ รวมเฉพาะบริเวณ

8-18

ดาเนินการออก กฎกระทรวง ผังเมืองรวม (ขั้นตอนเหมือน การวางและ จัดทาผังเมือง รวม กรณีผงั พื้นที่เปิดใหม่)

-42-

เข้าขั้นตอน 8-18

• แจ้งผลการ พิจารณาคาร้อง ต่อผู้มสี ่วนได้เสีย กรณีไม่มีคาร้อง ให้แจ้งต่อที่ ประชุมทุกคณะ เหมือนข้างต้น

• ประชุม คณะกรรมการ ผังเมือง • แจ้งผลการ พิจารณาต่อผู้มี ส่วนได้เสียกรณี ไม่มีการแสดง ข้อคิดเห็นให้แจ้ง ต่อที่ประชุมทุก คณะเหมือน ข้างต้น ดาเนินการออก กฎกระทรวง ผังเมืองรวม (ขั้นตอนเหมือน การวางและ จัดทาผังเมือง รวม กรณีผงั พื้นทีเ่ ปิด ใหม่)


บรรณานุกรม กรมโยธาธิการและผังเมือง. (2554). การจัดการความรู้ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ความรู้เรื่อง กฎกระทรวงผังเมืองรวม. กรมโยธาธิการและผังเมือง. (2549). เกณฑ์และมาตรฐานผังเมืองรวม พ.ศ. ๒๕๔๙. กรมโยธาธิการและผังเมือง. (2518). พระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘. กรมโยธาธิการและผังเมือง. (2525). พระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๕. กรมโยธาธิการและผังเมือง. (2535). พระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมโยธาธิการและผังเมือง. (2558). พระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘. กรมโยธาธิการและผังเมือง. (2558). แนวทางการปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. ๒๕๕๘.

-43-


ภาคผนวก พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2518 ----------------------------ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 เป็นปีที่ 30 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและผังชนบทเสียใหม่ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้ นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทาหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา 3 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติการผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่น ในส่วนที่บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติ แห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “การผังเมือง” หมายความว่า การวาง จัดทาและดาเนินการให้เป็นไปตามผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะในบริเ วณ เมืองและบริเวณที่ เกี่ยวข้องหรือชนบทเพื่อสร้างหรือพัฒนาเมืองหรือส่วนของเมืองขึ้ นใหม่หรือแทนเมืองหรือส่วนของเมืองที่ ได้รับความเสียหายเพื่ อให้ มีหรื อท าให้ดียิ่ งขึ้ นซึ่ งสุข ลักษณะ ความสะดวกสบาย ความเป็นระเบียบ ความสวยงาม การใช้ ประโยชน์ ใ นทรั พ ย์ สิ น ความปลอดภั ย ของประชาชน และสวั ส ดิ ภ าพของสั ง คม เพื่ อส่ ง เสริ มการเศรษฐกิ จสั ง คม และ สภาพแวดล้ อม เพื่ อด ารงรั กษาหรื อบู ร ณะสถานที่ แ ละวั ต ถุ ที่ มีป ระโยชน์ ห รื อคุ ณค่ าในทางศิ ล ปกรรม สถาปั ต ยกรรม ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี หรือเพื่อบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศที่งดงาม หรือมีคุณค่าในทางธรรมชาติ “ผั ง เมื องรวม” หมายความว่ า แผนผั ง นโยบายและโครงการ รวมทั้ ง มาตรการควบคุ มโดยทั่ วไป เพื่ อใช้ เป็น แนวทางในการพัฒ นาและการดารงรั กษาเมื องและบริเวณที่ เ กี่ย วข้ องหรื อชนบทในด้านการใช้ประโยชน์ใ นทรัพย์ สิ น การ คมนาคมและ การขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะและสภาพแวดล้อม เพื่ อบรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง “ผังเมืองเฉพาะ” หมายความว่า แผนผังและโครงการดาเนินการเพื่อพัฒนาหรือดารงรักษาบริเวณเฉพาะแห่ งหรือ กิจการที่เกี่ยวข้อง ในเมืองหรือบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท เพื่อประโยชน์แก่การผังเมือง “อาคาร” หมายความว่า อาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคาร รวมทั้งสิ่ งปลูกสร้างทุกชนิด หรือ สิ่งอื่นใดที่วางบน ใต ้หรือผ่านเหนือพื้นดิน หรือพื้นน้า “ที่อุปกรณ์” หมายความว่า ที่ดินของเอกชนซึ่งผังเมืองเฉพาะจัดให้เป็นที่ เว้นว่างหรือใช้เพื่ อสาธารณประโยชน์ อย่าง อื่นด้วย เช่น ทางเท้า ทางเดิน ตรอกหลังหรือข้างอาคาร ทางน้า ทางหรือท่อระบายน้า -44-


“ที่โล่ง” หมายความว่า บริเวณที่ดินอันได้ระบุไว้ในผังเมืองรวม หรือผังเมืองเฉพาะให้เป็นที่ ว่างเป็นส่วนใหญ่ แ ละ เพื่อใช้ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ “เจ้าพนักงานการผัง” ในกรณีที่มีการประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตที่ ดินที่จะทาการสารวจเพื่อ วาง จัดทา หรืออนุมัติผั งเมื องรวมและหรื อผัง เมื องเฉพาะ หมายความว่ า เจ้าพนักงานการผั งตามที่ ได้ร ะบุ ไ ว้ใ นพระราช กฤษฎีกา ใน กรณีที่มีการบังคับใช้ผังเมืองรวม หมายความว่า อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง หรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น ผู้วาง และจัดทาผัง เมืองรวม ในกรณีที่มีการใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ หมายความว่า ผู้วางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” หมายความว่า (๑) ในเขตเทศบาล คือ คณะเทศมนตรี (๒) ในเขตสุขาภิบาล คือ คณะกรรมการสุขาภิบาล (๓) ในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด คือ ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายอาเภอ ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการ จังหวัดให้ทาการแทน (๔) ในเขตกรุงเทพมหานคร คือ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือหัวหน้าเขตซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครให้ทาการแทน “เจ้าหน้าที่ดาเนินการ” หมายความว่า เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือองค์การหรือบรรษัทของรัฐซึ่งมีอานาจหน้าที่หรือ ซึ่ง ได้รับมอบหมายให้มีอานาจหน้าที่กระทากิจการให้เป็นไปตามผังเมืองเฉพาะ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง “ผู้ว่าราชการจังหวัด ” หมายความรวมถึง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในกรณีที่ เป็นการวางและจัดทาผังเมือง รวม หรือผังเมืองเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผรู้ ักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 5 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ หมวด 1 คณะกรรมการผังเมือง มาตรา 6 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการผังเมือง” ประกอบด้วย (1) ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานกรรมการ (2) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสั ง คม แห่งชาติเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และผูอ้ านวยการสานักงบประมาณ (3) กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง คณะรั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตั้ ง จากผู้ มีค วามรู้ ค วามสามารถ ความเชี่ ย วชาญ และ ประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในด้านการผังเมือง สถาปัตยกรรมศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สิง่ แวดล้อม ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดีหรือสังคม จานวนไม่เกินเก้าคน ในจานวนนี้ จะต้องแต่งตั้งจากผูม้ ีประสบการณ์ด้านการสอนใน หลักสูตรเกี่ยวกับการผังเมืองในสถาบันอุดมศึกษาอย่างน้อยหนึ่งคน (4) กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนสภาวิศวกร ผูแ้ ทนสภาสถาปนิก ผูแ้ ทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ผูแ้ ทนสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และผูแ้ ทนสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (5) กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้แทนสถาบันองค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกั บ การ ผังเมือง จานวนไม่เกินสี่คน ให้อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เป็นกรรมการและเลขานุการ ในกรณีทีเป็นการวาง จัดทา แก้ไข หรืออนุมัติผังเมืองรวม หรือผังเมืองเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ปลัด กรุงเทพมหานครเข้าร่วมเป็นกรรมการ หรือในเขตพื้นที่ที่เกี่ยวกับความมั่นคงทางทหารให้ปลัดกระทรวงกลาโหมเข้าร่วมเป็น -45-


กรรมการด้วย มาตรา 7 ให้คณะกรรมการผังเมืองมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการผังเมืองตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ และให้ มีหน้าที่แนะนาเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับการผังเมืองแก่หน่วยงานที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการผังเมือง มาตรา 8 ให้คณะกรรมการผังเมืองมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นคณะหนึ่งหรือหลายคณะ เพื่อกระทาการ หรือวินิจฉัยเรื่องที่อยู่ในอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ หรือให้ช่วยเหลือในการดาเนินกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ได้รับ มอบหมาย แล้วรายงานคณะกรรมการ และให้นามาตรา 11 และมาตรา 12 มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา 9 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนสถาบั นหรือองค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความ เกี่ยวข้องกับการผังเมืองมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสามปี ในกรณีที่กรรมการผู้ ทรงคุ ณ วุ ฒิหรื อกรรมการซึ่งเป็น ผู้แ ทนสถาบั นหรือองค์ การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีค วาม เกี่ยวข้องกับการผังเมืองพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ หรือในกรณี ที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการ ซึ่ง แต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผไู้ ด้รับแต่งตั้งแทนตาแหน่งที่ว่างหรือเป็นกรรมการเพิ่มขึ้นอยู่ในตาแหน่งเท่ากับ วาระ ที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว เมื่อครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่ง ตั้งกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิหรือกรรมการซึ่งเป็นผูแ้ ทน สถาบันหรือองค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการผังเมืองขึ้นใหม่​่ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้น อยู่ในตาแหน่งเพื่อดาเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิและกรรมการซึ่งเป็นผูแ้ ทนสถาบันหรือองค์การอิสระและบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการ ผังเมืองซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระ อาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้แต่จะดารงตาแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ มาตรา 10 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิและกรรมการซึ่งเป็นผูแ้ ทนสถาบั นหรือ องค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการผังเมืองพ้นจากตาแหน่ง เมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) คณะรัฐมนตรีให้ออก เพราะบกพร่องต่อหน้าที่มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อนความสามารถ (4) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 6/1 หรือมาตรา 6/2 มาตรา 11 การประชุมของคณะกรรมการผังเมืองต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า กึ่งจานวนของกรรมการ ทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการคนหนึ่ง เป็นประธานในที่ประชุม มาตรา 12 การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้น อีก เสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา 13 ให้กรมโยธาธิการและผังเมือง ดาเนินการให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการผังเมือง ในกรณี ที่เป็น กิจการตามอานาจหน้าที่ของหน่วยงานหรือบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นใด ให้กรมโยธาธิการและผังเมื อง แจ้งมติของคณะกรรมการให้หน่วยงานหรือบุคคลนั้นทราบโดยเร็ว และติดตามผลการปฏิบัติกิจการของหน่วยงานหรือบุคคล นั้น แล้วรายงานให้คณะกรรมการผังเมืองทราบโดยมิชักช้า

-46-


หมวด 2 การสารวจเพื่อวางและจัดทาผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะ มาตรา 14 ในการวางและจัดทาผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะ จะตราพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตที่ดินที่ จะท า การสารวจ เพื่อการวางและจัดทาผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะไว้ก็ได้ ในพระราชกฤษฎีกานั้นให้ระบุ (1) วัตถุประสงค์เพื่อทาการสารวจในการวางและจัดทาผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะ (2) เจ้าพนักงานการผัง (3) เขตท้องที่ที่จะทาการสารวจพร้อมด้วยแผนที่แสดงเขตสารวจแนบท้ายพระราชกฤษฎีกา (4) กาหนดเวลาการใช้บังคับพระราชกฤษฎีกาซึ่งต้องไม่เกินห้าปี มาตรา 15 ในระหว่างกาหนดเวลาที่พระราชกฤษฎีกากาหนดเขตที่ดินที่จะทาการสารวจใช้บังคับ ให้เจ้าพนักงาน การผังมีอานาจดังต่อไปนี้ (1) เข้าไปทาการอันจาเป็นเพื่อการสารวจ (2) กาหนดเขตที่ดินที่ประสงค์จะให้เป็นเขตผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะ (3) กาหนดหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ใ นทรัพย์สิ น เพื่อประโยชน์ในการวางและจัดทาผังเมืองรวมหรื อผั ง เมืองเฉพาะ ทั้งนี้เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมืองแล้ว (4) ทาเครื่องหมายระดับ ขอบเขตและแนวเขตตามความจาเป็น (5) แจ้งให้หน่วยราชการ องค์การของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจส่งแผนที่หรือแผนผังแสดงเขตที่ดินเพียงเท่าที่จาเป็น เพื่อประโยชน์ในการวางและจัดทาผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะ ทั้งนี้ห้ามมิให้เข้าไปในอาคาร ลานบ้านหรือสวนมี รั้วกั้นอันติดต่อกับบ้านซึ่งเป็นที่อยู่อาศัย เว้นแต่เจ้าของหรือ ผู้ ครอบครองอสังหาริมทรัพย์อนุญาต หรือเจ้าของหรือ ผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์ได้รับแจ้งความเรื่องกิจการที่จะกระทาไม่ น้อย กว่าสามวันก่อนเริ่มกระทาการนั้น มาตรา 16 พระราชกฤษฎีกาซึ่งได้ประกาศตามมาตรา 14 ให้หมดอายุการใช้บังคับ เมื่อได้มีกฎกระทรวงให้ ใช้ บังคับผังเมืองรวม หรือเมื่อใช้บังคับพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะแล้วแต่กรณีในเขตแห่งพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว หมวด 3 การวางและจัดทาผังเมืองรวม มาตรา 17 ผังเมืองรวมประกอบด้วย (1) วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทาผังเมืองรวม ให้กาหนดโดยคานึงถึงความเป็นระเบียบ ความสวยงาม การ ใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน ความปลอดภัยของประชาชน การเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติการดารงรักษาสถานที่ที่มีคุณค่า ทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดีและการจัดสภาพแวดล้อมที่ทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ ร่วมกันได้อย่างเท่าเทียมกัน (2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวม โดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชัน้ ความสูง (3) แผนผังซึ่งทาขึ้นเป็นฉบับเดียวหรือหลายฉบับโดยมีสาระสาคัญทุกประการหรือบางประการ ดังต่อไปนี้(ก) แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท (ข) แผนผังแสดงที่โล่ง (ค) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและ ขนส่ง (ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค (4) รายการประกอบแผนผัง (5) ข้ อกาหนดที่ จะให้ ป ฏิ บัติ หรื อไม่ ให้ ปฏิ บัติ เพื่ อ ให้เ ป็นไปตามวั ต ถุ ประสงค์ ข องผัง เมื องรวมทุ กประการ ดังต่อไปนี้ (ก) ประเภทและขนาดกิจการที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ดาเนินการ (ข) ประเภท ชนิด ขนาด ความสูง และลักษณะของอาคารที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้สร้าง (ค) อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชัน้ ของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร -47-


(ง) อัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (จ) อัตราส่วนพื้นที่ ว่างอั นปราศจากสิ่งปกคลุ มของแปลงที่ดิ นที่ อาคารตั้ ง อยู่ต่ อพื้ นที่ใ ช้ส อยรวมของ อาคาร (ฉ) ระยะถอยร่นจากแนวธรรมชาติถนน แนวเขตที่ดิน อาคาร หรือสถานที่อื่นๆ ที่จาเป็น (ช) ขนาดของแปลงที่ดินที่จะอนุญาตให้สร้างอาคาร (ซ) ข้อกาหนดอื่นที่จาเป็นโดยรัฐมนตรีประกาศกาหนดตามคาแนะนาของคณะกรรมการผังเมือง ในกรณีที่ผังเมืองรวมไม่มีข้อกาหนดบางประการตาม (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช) และ (ซ) จะต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง โดยมีเหตุผลอันสมควร (6) นโยบาย มาตรการ และวิธีดาเนินการเพื่อปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม มาตรา 18 เมื่อเห็นสมควรวางและจัดทาผังเมืองรวม ณ ท้องที่ใด กรมโยธาธิการและผังเมืองจะวางและจัดทา ผัง เมืองรวมของท้องถิ่นนั้นขึ้น หรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นของท้องที่นั้นจะวางและจัดทาผังเมืองรวมในท้องที่ของตนขึ้นก็ได้ใน กรณี ที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นจะวางและจัดทาเองต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการผังเมืองก่อน ถ้าเขตแห่งผังเมืองรวมนั้นคาบบริเวณของเขตปกครองท้องที่หลายท้องที่คณะกรรมการผังเมืองจะสั่งให้กรม โยธาธิ การและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นของท้องที่เดียวหรือของท้องที่ที่เกี่ยวข้องร่วมกันวางและจัดทาผังเมืองรวม และ จะ กาหนดค่าใช้จ่ายซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของแต่ละท้องที่จะต้องจ่ายตามส่วนของตนก็ได้ ในกรณีที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นขอคาแนะนาจากกรมโยธาธิการและผังเมืองในการวางและจัดทาผังเมืองรวม ให้กรม โยธาธิการและผังเมืองให้ความร่วมมือแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นตามที่ได้ขอมานั้น มาตรา 19 เมื่อกรมโยธาธิการและผังเมืองจะวางหรือจัดทาผังเมืองรวมของท้องที่ใด ให้กรมโยธาธิการและ ผัง เมืองแจ้งให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นของท้องที่นั้นทราบ และให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นนั้นมาแสดงความคิดเห็นต่อกรมโยธาธิการ และ ผังเมืองด้วย ในการวางและจัดทาผังเมืองรวมใด ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นแล้วแต่กรณีจัดให้ มีการ โฆษณาให้ประชาชนทราบ แล้วจัดการประชุมไม่น้อยกว่า หนึ่งครั้ง เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นของประชาชนในท้องที่ที่จะมีการวาง และจัดทาผังเมืองรวมนั้ น ในการรับฟังข้อคิดเห็น นี้จะกาหนดเฉพาะให้ ผู้แ ทนของประชาชนเข้ าร่วมการประชุ มตามความ เหมาะสมก็ได้หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการโฆษณา การประชุม และการแสดงข้อคิดเห็น ให้กาหนดโดยกฎกระทรวง มาตรา 20 เมื่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นได้วางและจัดทาผังเมืองรวมแล้ว ให้ส่งผังเมืองรวมมาให้กรมโยธาธิการและ ผังเมืองพิจารณา ถ้ากรมโยธาธิการและผังเมืองเห็นว่าควรมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงผังเมืองรวมให้แจ้งให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น ทราบพร้อมด้วยเหตุผลหากเจ้าพนักงานท้องถิ่นไม่เห็นด้วยกับความเห็นของกรมโยธาธิการและผังเมือง ให้แจ้งเหตุผลต่อกรม โยธาธิการและผังเมืองแล้วให้กรมโยธาธิการและผังเมืองดาเนินการตามมาตรา 22 โดยมิชักช้า มาตรา 21 เมื่อมีการวางและจัดทาผังเมืองรวมขึ้นในท้องที่ของจังหวัดใด ให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดแห่งจังหวัดนั้น แต่งตั้งคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมขึ้นคณะหนึ่งในแต่ละท้ องที่ที่วางผั งเมืองรวมนั้ น ประกอบด้วยผู้แทนองค์การบริหารส่ วน ท้องถิ่น ผูแ้ ทนกรมโยธาธิการและผังเมือง ผูแ้ ทนส่วนราชการต่าง ๆ ในท้องที่ที่วางผังเมืองรวมนั้น และบุคคลอื่นที่เห็นสมควร มีจานวนรวมทั้งสิ้นไม่น้อยกว่าสิบห้าคน และไม่เกิน ยี่สิบเอ็ดคน มีหน้าที่ให้คาปรึกษาและความคิดเห็น เกี่ยวกับผังเมืองรวมที่ กรมโยธาธิการและผังเมือง หรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นวางและจัดทาขึ้น ในกรณีที่เป็นการวางและจัดทาผังเมืองรวมขึ้นในท้องที่คาบเกี่ยวกันตั้งแต่สองจังหวัดขึ้นไป ให้คณะกรรมการ ผัง เมืองเป็นผูแ้ ต่งตั้งคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม ให้รัฐมนตรีวางระเบียบเกี่ยวกับการแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมและการปฏิบัติหน้า ที่ของคณะที่ปรึกษาผัง เมือง รวมดังกล่าว ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยการประชุมในหมวด 1 มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมโดยอนุโลม มาตรา 22 ผังเมืองรวมที่กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นวางและจัดทาเสร็จแล้ว ให้กรมโยธาธิ การและผังเมืองเสนอคณะกรรมการผังเมืองพิจารณา ในกรณีผังเมืองรวมที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นวางและจัดทาซึ่งกรมโยธาธิการ -48-


และผังเมืองมีความเห็นควรแก้ไข หรือเปลี่ยนแปลง แต่เจ้าพนักงานท้องถิ่นไม่เห็นพ้องด้วย ให้เสนอความเห็นของกรม โยธาธิ การและผังเมืองและเหตุผลของเจ้าพนักงานท้องถิ่นที่ไม่เห็นพ้องไปพร้อมกันด้วย มาตรา 23 เมื่อคณะกรรมการผัง เมื องให้ค วามเห็ นชอบแล้ ว ให้กรมโยธาธิ การและผั งเมื องหรื อเจ้ าพนั ก งาน ท้องถิ่นผูว้ างและจัดทาผังเมืองรวมนั้น จัดให้มีการปิดประกาศแผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมไว้ใ นที่เปิดเผย ณ ที่ว่าการเขต หรือที่ทาการแขวงของกรุงเทพมหานคร หรือ ที่ว่าการอาเภอ ที่ทาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสาธารณสถาน ภายในเขตของผังเมืองรวมนั้นเป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน โดยให้ลงวันที่ที่ปิดประกาศในใบประกาศนั้นด้วย ในใบประกาศดังกล่าว ให้มีคาประกาศเชิญชวนให้ผมู้ ีส่วนได้เสียไปตรวจดูแผนผังและกาหนดของผังเมืองรวมได้ ณ กรมโยธาธิการและผังเมือง หรือที่ทาการของเจ้าพนักงานท้องถิ่นผู้วางและจัดทาผังเมืองรวมนั้น วิธีการประกาศให้เป็นไปตาม ระเบียบของกระทรวงมหาดไทย มาตรา 24 หากภายในกาหนดเก้าสิบวันนับตั้งแต่วันปิดประกาศดังกล่าวในมาตรา 23 ผูม้ ีส่วนได้เสียผู้ใดมีหนังสือ ถึงกรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น ผู้วางและจัดทาผังเมืองรวมนั้นร้องขอให้แก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง หรือ ยกเลิกข้อกาหนดเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ ที่ดิ นของผังเมืองรวมนั้ น และไม่ว่ากรมโยธาธิการและผังเมื องหรื อเจ้ าพนั กงาน ท้องถิ่นจะเห็นพ้องด้วยกับคาร้องนั้นหรือไม่ก็ตาม ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณีเสนอ คา ร้องนั้นต่อคณะกรรมการผังเมืองพร้อมด้วยความเห็น ในกรณี ที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นเป็นผู้เสนอ ให้ดาเนินการผ่านกรมโยธาธิ การและผังเมือง ในกรณีที่คณะกรรมการผังเมืองเห็นชอบด้วยกับคาร้องขอ ให้คณะกรรมการผังเมืองสั่งให้กรมโยธาธิการและผัง เมือง หรือเจ้าพนักงานท้ องถิ่ น แล้วแต่กรณีแก้ไขหรือเปลี่ย นแปลงหรือยกเลิ กข้ อกาหนดดัง กล่าวในผั งเมื องรวมนั้น ถ้าไม่ เห็นชอบ ด้วยก็ให้สั่งยกเลิกคาร้องขอนั้น มาตรา 25 หากเมื่อพ้นกาหนดเก้าสิบวันนับ ตั้งแต่วันปิดประกาศดังกล่าวในมาตรา 23 ไม่มี ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้ใด ร้ อ งขอให้ แ ก้ ไ ขหรื อ เปลี่ ย นแปลงหรื อ ยกเลิ ก ข้ อ ก าหนดเกี่ ย วกั บ การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ของผั ง เมื อ งรวมนั้ น หรื อ มี แ ต่ คณะกรรมการผังเมืองได้สั่งยกคาร้องขอนั้นหรือคณะกรรมการผังเมืองได้สั่งให้แก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกข้อกาหนด ดังกล่าว และกรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณีได้จัดการให้เป็นไปตามนั้นแล้ว ให้กรมโยธาธิการ และผังเมืองเสนอผังเมืองรวมต่อรัฐมนตรีเพื่อดาเนินการออกกฎกระทรวงใช้บังคับผังเมืองรวมนั้นต่อไป หมวด 4 การใช้บังคับผังเมืองรวม มาตรา 26 การใช้บังคับผังเมืองรวมให้กระทาโดยกฎกระทรวง และต้องมีสาระสาคัญตามมาตรา 17 ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณีจัดทารายงานการประเมินผลการเปลี่ยนแปลง สภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมการใช้บังคับผังเมืองรวมตามระยะเวลาที่คณะกรรมการผังเมืองกาหนด แต่ไม่เกินห้าปีนับแต่ วัน ที่ กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมใช้บังคับ หรือนับแต่วันที่คณะกรรมการผังเมืองพิจารณารายงานการประเมินผลครั้งที่ผ่ าน มาเสร็จสิ้น แล้วเสนอคณะกรรมการผังเมืองพิจารณา หากคณะกรรมการผังเมืองเห็นว่าสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมมี ก าร เปลี่ ย นแปลงไปในสาระส าคั ญ ท าให้ ผั ง เมื องรวมนั้ น ไม่ เ หมาะสมที่ จะรองรั บ การพั ฒ นาหรื อด ารงรั กษาเมื องต่ อไปหรื อ จาเป็นต้อง เปลี่ยนแปลงแก้ไขเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเมืองทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้กรมโยธาธิ การ และผังเมือง หรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นดาเนินการปรับปรุงโดยการวางและจัดทาผังเมืองรวมขึ้นใหม่ให้เหมาะสมได้ การจัดทารายงานการประเมินผลตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการผังเมืองกาหนด ซึ่งต้องมี การ แสดงข้อเท็จจริงให้ปรากฏทั้งในเรื่องการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ความหนาแน่นของประชากร นโยบายหรือ โครงการ ของรัฐบาล สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม การคมนาคมและขนส่ง การป้องก้นการเกิดภัยพิ บัติ ความมั่นคง ของประเทศ และปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับการผังเมือง โดยให้คานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนประกอบด้วย มาตรา 27 ในเขตที่ได้มีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมแล้ว ห้ามบุคคลใดใช้ประโยชน์ ที่ดินผิดไปจากที่ได้ กาหนดไว้ในผังเมืองรวม หรือปฏิบัติการใด ๆ ซึ่งขัดกับข้อกาหนดของผังเมืองรวมนั้น -49-


ความในวรรคหนึ่ ง มิ ใ ห้ ใ ช้ บั ง คั บ แก่ กรณี ที่ เ จ้ า ของหรื อ ผู้ ค รอบครองที่ ดิ น ได้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ นมาก่ อ นที่ จ ะมี กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมและจะใช้ประโยชน์ที่ดินเช่นนั้นต่อไปเมื่อมีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมแล้ว แต่ถ้า คณะกรรมการผังเมืองเห็นว่าการใช้ประโยชน์ที่ดินเช่นนั้นต่อไปเป็นการขัดต่อนโยบายของผังเมืองรวมในสาระสาคัญที่เกี่ย วกับ สุขลักษณะ ความปลอดภัยของประชาชนและสวัสดิภาพของสังคม คณะกรรมการผังเมืองมีอานาจกาหนดหลัก เกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่เจ้าของหรื อผู้ครอบครองที่ดิ นจะต้องแก้ ไขเปลี่ย นแปลงหรื อระงับ การใช้ประโยชน์ ที่ดิ นเช่ นนั้ นต่ อไปภายใน ระยะเวลาที่เห็นสมควรได้การกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขดังกล่าวให้คานึงถึงกิจการที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพ ของที่ดินและทรัพย์สินอื่นที่เกี่ยวกับที่ดิน การลงทุน ประโยชน์หรือความเดือดร้อนราคาญที่ประชาชนได้รับจากกิจการนั้ น ทั้งนี้ให้คณะกรรมการผังเมืองเชิญเจ้าของหรือผูค้ รอบครองที่ดินมาแสดงข้อเท็จจริงและความคิดเห็นประกอบด้วย เมื่อได้กาหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขดังกล่าวในวรรคสองแล้ว ให้คณะกรรมการผังเมืองมีหนังสือแจ้ง ให้ เจ้าของหรือผูค้ รอบครองที่ดินทราบ และเจ้าของหรือผูค้ รอบครองที่ดินมีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามมาตรา 70 หมวด 5 การวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ มาตรา 28 ผังเมืองเฉพาะประกอบด้วย (1) วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ (2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองเฉพาะ (3) แผนผังเมืองหรือแผนผังบริเวณซึ่งทาขึ้นเป็นฉบับเดียวหรือหลายฉบับ โดยมีสาระสาคัญทุกประการ หรือ บางประการ ดังต่อไปนี้ (ก) แผนผังแสดงการกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินซึ่งจาแนกเป็นประเภทกิจการ พร้อมทั้งแนวเขตการ แบ่ง ที่ดินออกเป็นประเภทและย่าน (ข) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง พร้อมทั้งรายละเอียดแสดงแนวและขนาดทางสาธารณะ (ค) แผนผังแสดงรายละเอียดของกิจการสาธารณูปโภค (ง) แผนผังแสดงที่โล่ง (จ) แผนผังแสดงการกาหนดระดับพื้นดิน (ฉ) แผนผั ง แสดงที่ ตั้ ง ของสถานที่ ห รื อวั ต ถุ ที่ มี ป ระโยชน์ ห รื อคุ ณค่ าในทางศิ ล ปกรรม สถาปั ต ยกรรม ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดีที่จะพึงส่งเสริมดารงรักษาหรือบูรณะ (ช) แผนผังแสดงบริเ วณที่ มีทรัพยากรธรรมชาติห รือภูมิประเทศที่ งดงามหรื อมีคุ ณค่ าในทางธรรมชาติ รวมทั้งต้นไม้เดี่ยวหรือต้นไม้หมู่ที่จะพึงส่งเสริมหรือบารุงรักษา (4) รายการและคาอธิบายประกอบแผนผังตาม (3) รวมทั้งประเภทและชนิดของอาคารที่จะอนุญาตหรือไม่ อนุญาตให้ก่อสร้าง (5) ข้อกาหนดที่จะให้ปฏิบัติหรือไม่ให้ปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองเฉพาะทุกประการ หรือ บางประการ ดังต่อไปนี้ (ก) แนวทางและขนาดของที่อุปกรณ์ (ข) ประเภท ชนิด ขนาด และจานวนของอาคารที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้สร้าง (ค) ประเภท ชนิด ขนาด จานวนและลั กษณะของอาคารที่ชารุดทรุดโทรม หรืออยู่ในสภาพอันเป็นที่น่า รังเกียจ หรือน่าจะเป็นอันตรายแก่ผู้อาศัยหรือสัญจรไปมาซึ่งจะถูกสั่งให้รื้อหรือย้ายตามคาสั่งของคณะกรรมการบริหารผังเมือง ส่วนท้องถิ่นตามมาตรา 55 (ง) การใช้ประโยชน์ของอาคารที่อนุญาตให้สร้างขึ้นใหม่​่หรืออนุญาตให้เปลี่ยนแปลง อันผิดไปจากการ ใช้ ประโยชน์ตามที่ได้ขอไว้เมื่อขออนุญาตก่อสร้าง ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น (จ) ขนาดและแปลงที่ดินที่จะอนุญาตให้เป็นที่สร้างอาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ต่าง ๆ ตามที่ได้ระบุไว้ในผัง เมืองเฉพาะ รวมทั้งบริเวณของที่ดินที่กาหนดให้เป็นที่โล่งเพื่อประโยชน์ตามที่ระบุไว้ (ฉ) การส่งเสริมดารงรักษาหรือบูรณะสถานที่หรือวัตถุที่มีประโยชน์หรือคุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี(ช) การดารงรักษาที่โล่ง -50-


(ซ) การส่งเสริมหรือบารุงรักษาต้นไม้เดี่ยวหรือต้นไม้หมู่(ฌ) การรื้อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคาร (ญ) การอื่นที่จาเป็นเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองเฉพาะ (6) รายละเอียดระบุที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นที่ต้องเวนคืนพร้อมทั้งรายชื่อเจ้าของหรือผู้ครอบครอง ทรัพย์สินโดยชอบด้วยกฎหมาย โดยมีแผนที่แสดงเขตที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นที่เวนคืนเพื่อประโยชน์แก่การผังเมื อง สาหรับใช้เป็นทางหลวงตามมาตรา 43(1) (7) รายละเอียดระบุที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นที่ต้องเวนคืนพร้อมทั้งรายชือ่ เจ้าของ หรือผู้ครอบครอง ทรัพย์สินโดยชอบด้วยกฎหมาย โดยมีแผนที่แสดงเขตที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นที่เวนคืน เพื่อประโยชน์แก่การผังเมือง อย่างอื่นตามมาตรา 43(2) (8) รายละเอียดและแผนที่ระบุที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นซึ่งเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดิน หรือซึ่ง กระทรวง ทบวง กรม จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์การของรัฐ เป็นเจ้าของ ผูค้ รอบครองหรือผูด้ ูแลรักษา ซึ่ง จะนามาใช้เป็นทางหลวง หรือใช้เพื่อประโยชน์แก่การผังเมืองอย่างอื่น (9) แผนที่แผนผังหรือรายละเอียดอื่น ๆ ตามความจาเป็น มาตรา 29 เมื่อได้มีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ณ ท้องที่ใดแล้ว ถ้าเจ้าพนักงานท้องถิ่นของท้องที่ นั้น เห็นสมควรจะจัดให้มีการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะขึ้นหรือจะขอให้กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นผู้วางและจัดทาผังเมื อง เฉพาะก็ได้ผังเมืองเฉพาะจะต้องสอดคล้องกับผังเมืองรวม ถ้ าท้ องที่ ใ ดยั ง ไม่ มีกฎกระทรวงให้ใ ช้ บัง คั บผั ง เมื องรวม รั ฐ มนตรี จะสั่ ง ให้ กรมโยธาธิ การและผัง เมื องหรื อเจ้า พนักงาน ท้องถิ่นวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะก็ได้ ในกรณีเจ้าพนักงานท้องถิ่นวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นเสนอหลักการที่จะวางและจัดทา ผังเมืองเฉพาะให้คณะกรรมการผังเมืองพิจารณาเห็นชอบก่อน ในการนี้เจ้าพนักงานท้องถิ่นจะมาแสดงความคิดเห็นหรือขอ คาแนะนาเกี่ยวกับการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะต่อกรมโยธาธิการและผังเมืองก็ได้ มาตรา 30 ในกรณีที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นจะวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะตามมาตรา 29 ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น ปิด ประกาศแสดงเขตที่ประมาณว่ าจะวางและจัดท าผังเมื องเฉพาะไว้ใ นที่เปิดเผย ณ ที่ว่าการเขตหรือที่ทาการแขวงของ กรุงเทพ มหานครหรือที่ว่าการอาเภอ ที่ทาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสาธารณสถานภายในเขตที่จะวางและ จัดทาผังเมือง เฉพาะนั้น มาตรา 31 ในกรณีที่กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นผูว้ างและจัดทาผังเมืองเฉพาะตามคาสั่งของรัฐมนตรีหรือตาม คาขอของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามมาตรา 29 ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองส่งแผนที่แสดงเขตที่ประมาณว่าจะวางและจัด ทา ผังเมืองเฉพาะไปให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นนาไปปิดไว้ณ ที่เปิดเผยตามนัยแห่งมาตรา 30 มาตรา 32 ในการประกาศแสดงเขตที่ประมาณว่าจะวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะตามมาตรา 30 และมาตรา 31 ให้มีคาประกาศเชิญชวนให้เจ้าของหรือ ผูค้ รอบครองที่ดินหรือผูม้ ีสิทธิก่อสร้างอาคารเหนือที่ดินของผู้อื่น ให้เสนอความคิดเห็น ตลอดจนความประสงค์ในการปรับปรุง ที่ดินในเขตที่ได้แสดงไว้โดยทาเป็นหนังสือเสนอต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือกรมโยธาธิ การและผังเมือง แล้วแต่กรณีภายในสีส่ ิบห้าวันนับแต่วันปิดประกาศ เจ้ าพนั กงานท้ องถิ่ นหรื อกรมโยธาธิ การและผั งเมื องอาจแจ้ ง ให้ ผู้ มีหนั ง สื อแสดงความคิ ดเห็นและแสดงความ ประสงค์ตามวรรคหนึ่ง มาชี้แจงแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมอีกก็ได้ มาตรา 33 ในการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะใด ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่ กรณีจัดให้มีการโฆษณาให้ประชาชนทราบ แล้วจัดการประชุมไม่น้อยกว่าสองครั้ง เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นของประชาชนในท้ องที่ ที่จะมีการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะนั้น ในการรับฟังข้อคิดเห็นนี้จะกาหนดเฉพาะให้ผแู้ ทนของประชาชนเข้าร่วมการประชุม ตามความเหมาะสมก็ ไ ด้หลั กเกณฑ์ วิธีการและเงื่ อนไขในการโฆษณา การประชุม และการแสดงข้อคิดเห็ นให้กาหนดโดย กฎกระทรวง มาตรา 34 ถ้าเจ้าของ ผูค้ รอบครองที่ดินหรือผูม้ ีสิทธิก่อสร้างอาคารเหนือที่ดินของผู้อื่น ประสงค์จะจัดสรรที่ ดิน -51-


หรือ ก่อสร้างอาคารเพื่อประโยชน์แก่การศึกษา การสาธารณสุขหรือสาธารณูปการ ในเขตที่ได้ปิดประกาศไว้ตามมาตรา 30 หรือ มาตรา 31 ให้มีหนังสือแสดงความประสงค์พร้อมกับส่งโครงการดังกล่าวต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือกรมโยธาธิการและ ผังเมือง แล้วแต่กรณี มาตรา 35 เมื่อได้รับหนังสือแสดงความประสงค์ตามมาตรา 32 หรือมาตรา 34 เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือกรม โยธาธิการและผังเมืองจะให้ความเห็ นชอบตามข้ อเสนอ หรืออาจปฏิเสธหรือ สั่งการเป็ นลายลั กษณ์ อักษร ให้ ผู้แสดงความ ประสงค์จะจัดสรรที่ดินหรือก่อสร้างอาคาร แก้ไขโครงการที่จะจัดสรรที่ดินหรือที่จะก่อสร้างอาคารให้เป็นไปตามหลักการที่ คณะกรรมการผังเมืองเห็นชอบตามมาตรา 29 ภายในกาหนดสามสิบวันนับแต่วันได้รับหนังสือแสดงความประ สงค์เจ้าของ หรือ ผูค้ รอบครองที่ดินผูไ้ ม่เห็นชอบด้วยกับการปฏิเสธหรือการสั่งการให้แก้ไขมีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามมาตรา 70 มาตรา 36 เมื่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือกรมโยธาธิการและผังเมืองพิจารณาเห็นว่าการจัดสรรที่ดินและประเภท ของอาคารที่จะก่อสร้างเป็นไปตามหลักการที่คณะกรรมการผังเมืองเห็นชอบแล้วตามมาตรา 29 เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรื อกรม โยธาธิการและผังเมืองจะให้ผแู้ สดงความประสงค์ตามมาตรา 34 ทาสัญญาว่าจะจัดสรรที่ดินหรือก่อสร้างอาคารตามที่ ต กลง กัน ได้ในกรณีที่ทาสัญญากับผู้มีสิทธิก่อสร้างอาคารเหนือที่ดินของผู้อื่น ต้องได้รับความเห็นชอบจากเจ้าของและผู้ครอบครอง ที่ดิน ที่ชอบด้วยกฎหมาย สัญญาที่จะทาขึ้นกับเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือกรมโยธาธิ การและผังเมื องให้ประกอบด้วยแผนผั ง บริเวณ อาคาร และรูปแบบอาคารที่จะขอก่อสร้างโดยละเอียดด้วย วิธีการเสนอแผนผังตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามระเบียบที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด มาตรา 37 การวางและจัด ทาผัง เมื องเฉพาะต้ องให้ ส อดคล้ องกับ สั ญญาตามมาตรา 36 และให้คานึงถึ ง การ อนุญาต ให้มีการก่อสร้างอาคารภายในระยะเวลาที่ได้ประกาศพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตที่ดินที่จะทาการสารวจเพื่อวางและ จัดทา ผังเมืองเฉพาะ มาตรา 38 ในกรณีที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะตามมาตรา 29 ให้ส่งผัง เมืองเฉพาะไปยัง กรม โยธาธิการและผังเมืองเพื่อพิจารณาให้ความเห็น ถ้ากรมโยธาธิการและผังเมืองไม่เห็นพ้องด้วยกับผังเมืองเฉพาะ และเจ้า พนักงานท้องถิ่นไม่อาจแก้ไขปรับปรุงผังเมืองเฉพาะให้สอดคล้องกับความเห็นของกรมโยธาธิการและผังเมืองได้ให้กรมโยธาธิ การและผังเมืองเสนอคณะกรรมการผังเมืองเพื่อพิจารณาชี้ขาด มาตรา 39 ในกรณีที่กรมโยธาธิการและผังเมืองวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะตามคาสั่งของรัฐมนตรีหรือตามคาขอ ของเจ้ าพนั กงานท้ องถิ่นตามมาตรา 29 ให้ ส่ ง ผั ง เมื องเฉพาะไปยัง เจ้ าพนั กงานท้ องถิ่นเพื่อพิ จารณาให้ค วามเห็น ถ้ าเจ้ า พนักงาน ท้องถิ่นไม่เห็นพ้องด้วยกับผังเมืองเฉพาะ และกรมโยธาธิการและผังเมืองเห็นว่าไม่อาจแก้ไขปรับปรุงผังเมืองเฉพาะ ให้สอดคล้องกับความเห็นของเจ้าพนักงานท้องถิ่นได้ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองเสนอคณะกรรมการผังเมืองเพื่อพิจารณาชี้ ขาด มาตรา 40 เมื่อคณะกรรมการผังเมืองเห็นชอบกับผังเมือง เฉพาะที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือกรมโยธาธิการและ ผัง เมืองจัดทาแล้ว ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองเสนอผังเมืองเฉพาะต่อรัฐมนตรีเพื่อดาเนินการตราพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับ ผัง เมืองเฉพาะนั้นต่อไป หมวด 6 การใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ มาตรา 41 ผังเมืองเฉพาะจะใช้ในท้องที่ใดให้ตราเป็นพระราชบัญญัติถ้าพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ มิได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ให้พระราชบัญญัติดังกล่าวใช้บังคับได้ไม่เกินห้าปี เมื่อระยะเวลาตามวรรคหนึ่งได้สิ้นสุดลง ถ้าเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือกรมโยธาธิการและผังเมืองเห็นสมควรขยาย ระยะเวลาการใช้ บั ง คั บ พระราชบั ญ ญั ติ ใ ห้ เ สนอความเห็ น ต่ อ คณะกรรมการผั ง เมื องเพื่ อพิ จ ารณาด าเนิ น การตราเป็ น พระราชบัญญัติขยายระยะเวลาการใช้บังคับผังเมืองเฉพาะต่อไป พระราชบัญญัติขยายระยะเวลาจะกาหนดการแก้ไขปรับปรุง ผังเมืองเฉพาะเสียใหม่ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปก็ได้ -52-


มาตรา 42 ในระหว่างที่ใช้บังคับพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะในท้องที่ใด ถ้าเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือ กรมโยธาธิ การและผั งเมื องเห็ นว่ าสภาพการณ์แ ละสิ่ งแวดล้ อมในเขตของผัง เมื องเฉพาะได้ เปลี่ ยนแปลงไป สมควรแก้ ไ ข ปรับปรุง ข้อกาหนดหรือรายละเอียดของผังเมืองเฉพาะที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผั งเมืองเฉพาะเสียใหม่ ใ ห้ เหมาะสม ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือกรมโยธาธิการและผังเมืองเสนอขอแก้ไขปรับปรุงผังเมืองเฉพาะต่อคณะกรรมการผัง เมือง ถ้า คณะกรรมการผั งเมืองเห็ นชอบด้ วยกับ การแก้ไ ขปรับ ปรุง การแก้ไขปรับปรุง นั้ นไม่เ ปลี่ย นแปลงข้ อกาหนดและ รายละเอียดของ ผังเมืองเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการเวนคืนที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น หรือการที่จะต้องรื้อหรือย้าย อาคาร หรือไม่ก่อให้เ กิด การเวนคื น ที่ ดิ นหรื ออสัง หาริ มทรัพย์ อย่ างอื่ นขึ้ น อี ก หรือการที่จะต้ องรื้ อหรื อย้ายอาคารใหม่​่ให้ คณะกรรมการผังเมือง รายงานรัฐมนตรีเพื่อออกกฎกระทรวงแก้ไขปรับปรุงผังเมืองเฉพาะ มาตรา 43 เมื่อได้ประกาศพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะในท้องที่ใด ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผูค้ รอบครองและถูกกาหนดในพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะให้เวนคืน ถ้า (1) เพื่อใช้เป็นทางหลวง ให้ถือว่าถูกเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง และให้นาบทบัญญัติแห่ง กฎหมาย ดังกล่าวมาใช้บังคับแก่การเวนคืนโดยอนุโลม ทั้งนีเ้ ว้นแต่ที่บัญญัติไว้โดยเฉพาะในพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมือง เฉพาะ (2) เพื่อใช้ในการอันเป็นประโยชน์แก่การผังเมืองอย่างอื่น ให้ถือว่าถูกเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืน อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์แ ละให้นาบทบัญ ญั ติแ ห่ง กฎหมายดั งกล่ าวมาใช้ บัง คับ แก่ การเวนคื นโดยอนุ โ ลม ทั้ ง นี้ เ ว้ นแต่ ที่ บั ญ ญัติไว้ โดยเฉพาะในพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ ในทั้งสองกรณีให้อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมืองหรือผูว้ ่าราชการจังหวัดแห่งท้องที่ซึ่งระบุไว้ในพระราชบัญญัติให้ ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนอสังหาริมทรัพย์และให้ถือแนวเขตที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นที่จะเวนคืนที่ มีอยู่ในแผนที่ท้ายพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะเป็นแนวเขตที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นที่ถูกเวนคืน ในกรณีที่ใช้บังคับพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะภายในห้าปีนับแต่วันใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากาหนด เขตที่ดินที่จะทาการสารวจตามมาตรา 14 เงินค่าทดแทนที่จะจ่ายให้แก่เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองทรัพย์สินที่ถูกเวนคืนตาม มาตรานีถ้ ้าพระราชบัญญัตินใี้ ห้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะไม่ได้กาหนดเงินค่าทดแทนไว้เป็นอย่างอื่นให้กาหนดตามราคาทรัพย์ สิน ที่ต้องเวนคืนตามความเป็นธรรมที่เป็นอยู่ในวันใช้บังคับพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว ในกรณีที่ใช้บังคับพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะโดยไม่ได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว หรือ ใช้ บังคับเมื่อพ้นห้าปีนับแต่วันใช้บังคับพระราชกฤษฎีกาและพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะไม่ได้กาหนดเงินค่าทดแทน ไว้เป็นอย่างอื่น ให้กาหนดตามราคาทรัพย์สินที่ต้องเวนคืนนั้นตามความเป็นธรรมที่เป็นอยู่ในวันใช้บังคับพระราชบัญญัติใ ห้ ใช้ บังคับผังเมืองเฉพาะ ในกรณีที่เป็นการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อปรับปรุงให้เป็นไปตามผังเมื องเฉพาะ เมื่อเจ้าหน้าที่ดาเนินการได้ ดาเนินการปรับปรุงแล้วและประสงค์จะให้เช่าหรือหาประโยชน์ในอสังหาริมทรัพย์ นั้นต่อไปก็ให้กระทาได้แต่จะกระทาการอันมี ผลเป็นการโอนกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย์นั้นมิได้ การโอนกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย์ที่เวนคืนเพื่อปรับปรุงดังกล่าวจะกระทาได้ก็โดยการตราพระราชบัญญัติ มาตรา 44 ในกรณีที่มีความจาเป็นจะต้องเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งได้ดาเนินการตามมาตรา 43(1) ให้ เจ้าหน้าที่ดาเนินการตกลงกับเจ้าของ ผูค้ รอบครอง หรือผูด้ ูแลรักษาอสังหาริมทรัพย์เกี่ยวกับกาหนดเวลาที่จะเข้าครอบครอง ในกรณีที่มีความจาเป็นจะต้องเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพ ย์ซึ่งได้ดาเนินการตามมาตรา 43(2) และพระราชบัญญัติให้ใช้ บังคับผังเมืองเฉพาะได้บัญญัติให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์ได้ก่อนการใช้เงินหรือวางเงินค่า ทดแทน ตามกฎหมายว่ าด้วยการเวนคื นอสั งหาริม ทรัพย์ ให้ นาความในวรรคหนึ่ งมาใช้บั งคับโดยอนุโ ลม แต่กาหนดวันที่เ จ้ าหน้ า ที่ ดาเนินการหรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้า ที่ดาเนินการจะเข้าครอบครองต้องไม่น้อยกว่าสามสิบวันนับแต่วัน มีหนังสือ แสดงความจานงที่จะเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้น ในกรณีที่ไม่สามารถพบตัวเจ้าของ หรือผูค้ รอบครองอสังหาริมทรัพย์ตามมาตรา 43(2) และไม่สามารถส่งหนัง สือ แสดงความจานงถึงเจ้าของหรือผูค้ รอบครองอสังหาริมทรัพย์ได้กาหนดวันที่จะเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์ต้องไม่น้อยกว่า สามสิบวันนับแต่วันปิดแจ้งความ ซึ่งปิดไว้ณ ที่ที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่ เมื่อพ้นกาหนดเวลาตามวรรคสองหรือวรรคสาม ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการหรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ ดาเนินการมีอานาจเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นได้แม้จะยังมิได้ชาระเงินค่าทดแทน -53-


มาตรา 45 ให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนด (1) รายละเอียดแห่งข้อกาหนดต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ (2) หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ กฎกระทรวงนั้น เมื่อ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ มาตรา 46 บรรดาข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติซึ่งออกโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้ าง อาคาร กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข กฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมื อง กฎหมายว่าด้วยการควบคุมสุสานและฌาปนสถานหรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นที่ใช้ บังคับอยู่ในเขตท้องที่ที่ใช้บังคับพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในกฎกระทรวงที่ออกตาม มาตรา 45 หรือซึ่งชัดแย้งกับกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 45 ให้ใช้กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 45 แทน มาตรา 47 ในท้องที่ใดที่ใช้บังคับพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ แต่ยังไม่ได้ตราพระราชกฤษฎีกาให้ ใช้ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคาร ให้ถือว่าได้มีการประกาศพระราชกฤษฎีกาให้ใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการ ควบคุมการก่อสร้างอาคารในเขตแห่งผังเมืองเฉพาะนั้น รวมทั้งบริเวณโดยรอบหนึ่งกิโลเมตรนับจากแนวเขตผังเมืองเฉพาะด้วย ในบริเวณหนึ่งกิโลเมตรโดยรอบเขตแห่งผังเมืองเฉพาะที่ใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคาร ตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นผู้มีอานาจอนุญาตการก่อสร้าง ดัดแปลง ต่อเติม หรือซ่อมแซมอาคารตามกฎหมายว่า ด้วยการควบคุมการก่อสร้ างอาคาร เสนอหลักการให้ค ณะกรรมการบริ หารการผังเมื องส่ วนท้ องถิ่นพิจารณา และให้ผู้ ว่า ราชการ จังหวัดควบคุมการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานท้องถิ่นให้เป็นไปตามหลักการที่คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่ วน ท้องถิ่นได้กาหนดไว้ มาตรา 48 ในท้องที่ที่ใช้บังคับพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ ห้ามบุคคลใดใช้ประโยชน์ที่ดินหรือแก้ไข หรือเปลี่ยนแปลงอสังหาริมทรัพย์ให้ผิดไปจากที่ได้กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะหรือในกฎกระทรวงที่ ออกตามมาตรา 42 หรือมาตรา 45 มาตรา 49 ในกรณี ที่ เ ขตผั ง เมื องเฉพาะรวมเขตขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นหลายเขต รั ฐ มนตรี จะออก กฎกระทรวงให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งเป็นผู้มีอานาจหน้าที่อนุญาตการก่อสร้าง ดัดแปลง ต่อเติม หรือซ่อมแซมอาคารแต่เพียงผูเ้ ดียวก็ได้ในกรณีเช่นว่านีใ้ ห้เจ้าพนักงานท้องถิ่นดังกล่าวมีอานาจหน้าที่อนุญ าต การก่อสร้าง ดัดแปลง ต่อ เติม หรือซ่อมแซมอาคารตลอดเขตแห่ งผังเมื องเฉพาะนั้นตามกฎหมายว่ าด้ วยการควบคุ ม การ ก่อสร้างอาคาร หมวด 7 คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น มาตรา 50 ในท้องที่ที่ใช้บังคับพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ ให้มีคณะกรรมการบริหารการผังเมือง ส่วนท้องถิ่นคณะหนึ่ง ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้ (1) ในเขตกรุ ง เทพมหานคร ให้ ผู้ ว่าราชการกรุ ง เทพมหานครเป็ นประธานกรรมการ ผู้ แ ทนกระทรวง สาธารณสุข ผู้แทนกรมธนารั กษ์ผู้ แทนกรมอัย การ ผู้แทนการเคหะแห่งชาติผู้ แทนการนิค มอุต สาหกรรมแห่ งประเทศไทย ผู้แทนกรมโยธาธิ การและผั งเมื อง เจ้าพนักงานที่ ดินกรุ งเทพมหานคร หัวหน้ากองผังเมื องกรุ งเทพมหานคร ผู้ทรงคุณ วุ ฒิ ทางการผังเมืองหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการผังเมืองไม่เกินสีค่ น และผูแ้ ทนสถาบัน องค์การอิสระและบุคคลอื่ นที่มี ความเกี่ยวข้องกับการผังเมืองไม่เกินสีค่ น ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็นกรรมการ (2) ในเขตจังหวัดอื่น ให้ผวู้ ่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด1 สรรพากร จังหวัด แพทย์ใหญ่จังหวัด อัยการจังหวัด เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด ผู้ทรงคุณวุฒิทางการผังเมืองหรือสาขาวิช าที่เกี่ย วข้ อง โดยตรงกับการผังเมืองไม่เกินสามคน และผูแ้ ทนสถาบัน องค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการ ผังเมืองไม่เกิน 1

คาว่า “โยธาธิการจังหวัด” ในพระราชบัญญัตินี้แก้ไขเป็น “โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด” โดยมาตรา 27 แห่ง พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอน อานาจ หน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2545

-54-


สามคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็นกรรมการ ในกรณีที่ต้องดาเนินการในเขตเทศบาลหรือสุขาภิบาลใดให้นายกเทศมนตรีหรือประธานกรรมการสุขาภิบาลแห่ง ท้องถิ่นนั้นเป็นกรรมการร่วมด้ วย และในกรณีที่ต้องดาเนินการท้ องถิ่ นนอกเขตเทศบาลหรื อสุข าภิบาล ให้นายอาเภอแห่ ง ท้องถิ่นนั้นเป็นผูด้ าเนินการด้วย กรรมการซึ่งแต่งตั้งจากผู้แทนสถาบั น องค์การอิสระและบุคคลอื่น จะต้องไม่เป็นข้าราชการหรื อพนักงานส่ วน ท้องถิ่น ซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา ให้ประธานคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นแต่งตั้งกรรมการหรือบุคคลใด เป็นเลขานุการคณะกรรมการ มาตรา 51 ให้คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นมีอานาจหน้าที่ดังนี้ (1) พิจารณาและสั่งการเกี่ยวกับการจัดที่ดินของเอกชนเพื่อใช้เป็นที่อุปกรณ์ตามผังเมืองเฉพาะ (2) อนุมัติการยกที่อุปกรณ์ให้เป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน (3) พิจารณาและสั่งการเกี่ยวกับการรื้อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคารที่จะต้องรื้อ ย้าย หรือดัดแปลงตามผังเมื อง เฉพาะ (4) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ที่ยื่นต่อคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น (5) ดาเนินการอื่นใดตามอานาจหน้าที่ซึ่งมีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 52 ให้กรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละสองปี ในกรณีที่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระ อยู่ในตาแหน่ง ไม่ว่าจะเป็นการแต่ง ตั้งเพิ่มขึ้นหรือแต่งตั้งซ่อม ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งนั้นอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของ กรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้วนั้น กรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นที่พ้นจากตาแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอีกได้ มาตรา 53 ให้นามาตรา 10 มาตรา 11 และมาตรา 12 มาใช้แก่คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้ องถิ่น โดย อนุโลม หมวด 8 การรื้อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคาร มาตรา 54 ในกรณีที่พระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ กาหนดให้มีการรื้อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคารให้ เจ้าหน้าที่ดาเนินการจัดทารายละเอียดแสดงการรื้อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคารให้คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น พิจารณา มาตรา 55 ให้คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นพิจารณาเหตุผลและรายละเอียดแสดงการรื้อ ย้าย หรือ ดัดแปลงอาคาร ให้เป็นไปตามผังเมืองเฉพาะ ในการนี้จะขอความเห็นจากกรมโยธาธิการและผังเมืองก็ได้หรือจะสั่งให้ เจ้าหน้าที่ดาเนินการจัดทารายละเอียดเสียใหม่ก็ได้ เมื่อคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นพิจารณาเสร็จแล้ว และสั่งการประการใด ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการ มีหนังสือถึงเจ้าของหรือผูค้ รอบครองอาคารที่เกี่ยวข้องให้ทราบถึงคาสั่งของคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นและ การ ดาเนินการตามคาสั่งนั้นเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกสิบวันก่อนวัน ที่จะมีการดาเนินการ และให้ส่งรายละเอียดแสดงการรื้อ ย้าย หรือ ดัดแปลงอาคารเท่ าที่เ กี่ ย วข้ องไปด้ วย แต่เจ้าของหรื อ ผู้ ครอบครองอาคารผู้ไ ม่เ ห็ นชอบด้ วยกั บค าสั่ ง ของคณะ กรรมการบริหาร การผังเมืองส่วนท้องถิ่น มีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามมาตรา 70 มาตรา 56 ถ้าอาคารที่จะต้องรื้อ ย้าย หรือดัดแปลงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือทรัพย์สินของแผ่ นดิ น ที่ อยู่ในความครอบครองหรือดูแลรักษาของส่วนราชการใด ให้ผวู้ ่าราชการจังหวัดมีหนังสือแจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับ สา ธารณสมบัติของแผ่นดินหรือทรัพย์สินของแผ่นดินทราบ และให้ส่วนราชการดังกล่าวมีหนังสือแสดงความยินยอมหรือขัดข้ อง ให้คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้ องถิ่นทราบ ถ้ามีปัญหาโต้แย้งระหว่างส่วนราชการกับคณะกรรมการบริหารการผัง -55-


เมืองส่วนท้องถิ่นให้เสนอคณะกรรมการผังเมืองวินิจฉัย มาตรา 57 ในกรณีที่เอกชนซึ่งเป็นเจ้าของอาคารได้รับหนังสือแจ้งให้จัดการรื้อหรือย้ายอาคารแล้ว ไม่ได้ใช้ สิทธิ์ อุทธรณ์ตามมาตรา 70 หรือใช้สิทธิอุทธรณ์แต่คณะกรรมการอุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับการอุทธรณ์เจ้าของอาคารต้องปฏิบัติต าม คาสั่งของเจ้าหน้าที่ดาเนินการหรือคาวินิจฉัยอุทธรณ์ภายในกาหนดเวลาสามสิบวันนับแต่วันทราบคาสั่งหรือคาวินิจฉัยอุทธรณ์ ถ้ าเจ้ าของอาคารไม่ เ ริ่ ม ด าเนิ นการรื้ อ หรื อย้ายอาคาร หรื อได้ รื้ อหรื อย้ ายอาคารไปบ้างแล้ ว แต่ เ ป็ น ที่ เ ห็ นได้ ประจักษ์ว่าการรื้อหรือย้ายอาคารจะไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กาหนดไว้ในคาสั่ง ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการเตือนเป็นหนังสือไปยัง เจ้าของ อาคาร ถ้าผู้นั้นยังคงละเลยไม่ดาเนินการตามคาสั่งภายในเวลาที่กาหนดไว้ในคาเตือนซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสิบห้าวันโดย ไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้เจ้าหน้า ที่ดาเนินการมีอานาจเข้าไปในที่ดินและรื้อหรือย้ายอาคารนั้นโดยคิดค่าใช้จ่ายจากเจ้าของ อาคาร ค่าใช้จ่ายจะคิดหักเอาจากเงินค่าตอบแทนตามมาตรา 59 ที่จะพึงจ่ายให้แก่เจ้าของอาคารนั้นก็ได้การรื้อหรือย้ าย อาคารนั้ น เจ้ าหน้ า ที่ ด าเนิ นการต้ องกระท าโดยประหยั ด และค่ าใช้ จ่ ายที่ คิ ด จากเจ้ าของอาคารจะต้ องไม่ ม ากกว่ า เงิ น ค่าตอบแทนตามมาตรา 59 เมื่อได้คิดค่าใช้จ่ายแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการแจ้งเป็นหนังสือให้เจ้าของอาคารทราบ เจ้าของอาคารผู้ไม่เห็นชอบ ด้วยกับการคิดค่าใช้จ่ายมีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามมาตรา 70 มาตรา 58 ในกรณีที่เอกชนซึ่งเป็นเจ้าของหรื อผู้ครอบครองอาคารได้รับแจ้งให้ จัดการดัดแปลงอาคาร ไม่ เริ่ม ดาเนินการดัดแปลงอาคารหรือได้ดัดแปลงอาคารไปบ้างแล้ว แต่เป็นสิ่งที่เห็นได้ประจักษ์ว่าการดัดแปลงอาคารจะไม่แล้วเสร็จ ภายในเวลาที่กาหนดไว้ในคาสั่งให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการเตือนเป็นหนังสือไปยังเจ้าของหรือ ผู้ครอบครองอาคาร และหากผู้นั้น ยังคงละเลยไม่ดาเนินการตามคาสั่งภายในเวลาที่กาหนดไว้ในคาเตือน ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการรายงานต่อคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นเพื่อสั่งเพิกถอนคาสั่งให้ดัดแปลงนั้น และสั่งให้ รื้อย้ายอาคารต่อไป และให้นามาตรา 57 มาใช้บังคับแก่การสั่งรื้อหรือย้ายอาคาร และการคิดค่าใช้จ่ายจากเจ้าของหรื อ ผู้ ครอบครองโดยอนุโลม มาตรา 59 เมื่อคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นได้สั่งให้เจ้าของรื้อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคารตาม มาตรา 57 หรือมาตรา 58 ให้เจ้าหน้า ที่ดาเนินการด้วยความเห็ นชอบของคณะกรรมการบริหารการผังเมื องส่ วนท้ องถิ่ น กาหนด เงินค่าตอบแทนตามความเป็นธรรมและจ่ายให้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ (1) ถ้าเป็นอาคารที่ไม่อาจย้ายได้ให้ จ่ายเงินค่ าตอบแทนแก่เจ้ าของอาคาร ซึ่งปลูกสร้างอยู่ในวันที่ ใช้ บั ง คั บ พระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ (2) ถ้าเป็นอาคารหรือส่วนของอาคารที่รื้อย้ายได้ให้จ่ายเงินค่าตอบแทนแก่เจ้าของอาคารซึ่งปลูกสร้างอยู่ใน วันที่ใช้บังคับพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ เงินค่าตอบแทนดังกล่าวพึงกาหนดให้เฉพาะค่า รื้ออาคารค่าขนย้ายและ ค่าปลูกสร้างใหม่​่ (3) ผู้เช่าที่ดินหรือผู้เช่าอาคารที่จะต้ องรื้ อหรื อย้ าย ซึ่งมีสัญญาเช่าเป็นหนัง สือ หรือทาเป็นหนังสือและจด ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้ าที่ซึ่งจะฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และหลักฐานนั้นได้ทาไว้ ก่อนวันใช้บั งคับ พระราชบั ญ ญัติให้ ใช้ บังคั บผั งเมื องเฉพาะหรื อได้ ทาขึ้ นภายหลั ง วั นนั้ นโดยได้รั บ อนุ ญ าตจากเจ้ าพนั กงาน ท้องถิ่น และการเช่านั้นยัง ไม่ระงับในวั นที่เ จ้ าพนักงานท้ องถิ่ นได้สั่ งให้รื้ อหรื อย้ ายอาคาร เงินค่าตอบแทนในการเช่ น นี้ พึ ง กาหนดให้เฉพาะที่ผู้เช่าได้เสียหายจริงโดยเหตุผลที่ต้องออกจากที่ดินหรืออาคารก่อนสัญญาเช่าระงับ (4) บุคคลซึ่งมีสิทธิตามมาตรา 1349 หรือมาตรา 1352 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และเสียสิทธิ์ ในการใช้ทางหรือเสียสิทธิในการวางท่อน้า ทางระบายน้า สายไฟฟ้าหรือสิ่งอื่นซึ่งคล้ายกัน ผ่านที่ดินซึ่งต้องมีการรื้อหรือย้ าย อาคารในเมื่อบุคคลเช่นว่านั้นได้ให้เงินค่าตอบแทนในการที่ได้ใช้สิทธินั้น ๆ แก่เจ้าของที่ดินไปแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการมีหนังสือแจ้งจานวนเงินค่าตอบแทนให้แก่ ผมู้ ีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนทราบ ผู้มีสิทธิได้รับ เงินค่าตอบแทน ผูไ้ ม่เห็นชอบด้วยกับจานวนเงินค่าตอบแทนดังกล่าวมีสิท ธิอุทธรณ์ได้ตามมาตรา 70 มาตรา 60 ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการจัดหาที่อยู่ชั่วคราวที่เหมาะสมให้แก่บุ คคลตามมาตรา 59(1) (2) หรือ (3) อาศัย อยู่เป็นเวลาตามความจาเป็นแต่ต้องไม่น้อยกว่าหกเดือนและไม่เกินหนึ่งปีในเมื่อบุคคลดังกล่าวไม่สามารถจัดหาที่อยู่ของ ตนเองได้การกาหนดเงินค่าตอบแทนตามมาตรา 59 จะคานึงถึงการจัดหาที่อยู่ชว่ั คราวด้วยก็ได้ -56-


ในกรณีที่เห็นสมควรเจ้าหน้าที่ดาเนินการจะผ่อนผันให้อาศัยต่อไปอีกไม่เกินหกเดือนก็ได้ มาตรา 61 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ดาเนินการจัดหาที่ดินและหรืออาคารให้บุคคลดังกล่าวในมาตรา 60 เข้า อยู่ในที่ ใหม่​่โดยการเช่าซื้อหรือเช่า และบุคคลดังกล่าวสมัครใจเข้าอยู่ในที่ดินและหรืออาคารที่จัดหาให้ใหม่นั้น ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการ กัน เงินค่าตอบแทนที่จะพึงจ่ายตามมาตรา 59 ไว้เพื่อจ่ายในการเช่าซื้อหรือเช่า ถ้าเป็นการเช่าซื้อ จานวนเงินที่กันไว้ให้เป็นไป ตามที่เจ้าหน้าที่ดาเนินการและบุคคลดังกล่าวตกลงกัน ถ้าเป็นการเช่าให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการกันเงินไว้เป็นค่าเช่ าสาหรับหนึ่งปี หกเดือน จานวนเงินที่เหลือจากที่กันไว้ให้จ่ายแก่บุคคลดังกล่าว ในการนีใ้ ห้เจ้าหน้าที่ดาเนินการมีหนังสือแจ้งจานวนเงิ น ที่ กัน ไว้และจานวนเงินที่เหลือจ่ายให้บุคคลดังกล่าวทราบ บุคคลดังกล่าวผูไ้ ม่เห็นชอบด้วยมีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามมาตรา 70 ในกรณีที่จัดที่ดินไว้ให้บุคคลดังกล่าวปลูกสร้างเอง ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการช่วยเหลือและให้ความสะดวกในการที่จะ ปลูกสร้าง อาคารลงในที่ดินที่จัดให้ มาตรา 62 ในกรณีที่คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นสั่งให้จัดที่ดินเพื่อใช้เป็นที่อุปกรณ์ให้เจ้าหน้ าที่ ดาเนินการจ่ายเงินค่าตอบแทนตามที่คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นกาหนดแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดิน ดังกล่าว ซึ่งต้องเสียสิทธิบางประการเกี่ยวกับการใช้ที่ดินเนื่องจากการจัดที่ดินนั้นหรือต้องรับภาระที่ต้องปฏิบัติหรืองดเว้ น ไม่ ปฏิบัติตามข้อกาหนดอันเกี่ยวกับที่ดินที่จัดนั้น ในการกาหนดเงินค่าตอบแทนตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นพิจารณาถึงความ มาก น้อยแห่งสิท ธิที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินต้องเสียหรือถูกจากัด หรือภาระที่ต้องปฏิบัติหรืองดเว้นไม่ ปฏิบัติรวมทั้ง ประโยชน์ที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินพังได้รับในการใช้ที่อุปกรณ์ด้วย แต่ทั้งนี้เงินค่าตอบแทนที่กาหนดต้องไม่เกินราคา ที่ดิน และเพื่อ ประโยชน์ในการคานวณราคาที่ดินตามมาตรานี้ให้นาความในมาตรา 64 ที่เกี่ยวกับราคาที่โอนตามความเป็น ธรรมมาใช้บังคับ โดยอนุโลม ให้ ค ณะกรรมการบริ ห ารการผั ง เมื องส่ วนท้ องถิ่ นมี ห นั ง สื อแจ้ ง การกาหนดเงิ นค่ าตอบแทนให้ เ จ้ าของหรื อ ผู้ ครอบครองที่ดินทราบ เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินผูไ้ ม่เห็นชอบด้วยมีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามมาตรา 70 มาตรา 63 ที่ดินที่ถูกจัดให้เป็นที่อุปกรณ์ให้ได้รับยกเว้นไม้ต้องเสียภาษีบารุงท้องที่ในส่วนที่ถูกจัดนั้น มาตรา 64 เจ้ า ของที่ อุ ป กรณ์ ผู้ ใ ดประสงค์ จ ะยกที่ อุ ป กรณ์ ใ ห้ เ ป็ น ที่ ส าธารณสมบั ติ ข องแผ่ น ดิ น โดยมี เ งิ น ค่าตอบแทน หากคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นพิจารณาเห็นว่าที่อุปกรณ์นั้นได้ใช้เพื่อประโยชน์สาธารณะเป็น ส่วนใหญ่ก็ให้รับอุปกรณ์นั้นเป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินได้และให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการจ่ายเงินค่าตอบแทนให้แก่เจ้ าของ ตามราคาที่พระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะบัญญัติ ไว้ถ้าไม่ได้บัญ ญัติไว้ให้ กาหนดเท่ากับราคาของที่ดินที่โอนตาม ความเป็นธรรม ที่เป็นอยู่ในวั นใช้บั งคับ พระราชกฤษฎีกากาหนดเขตที่ ดิน ที่ จะท าการส ารวจ ทั้งนี้ไม่ว่าพระราชกฤษฎี กา ดังกล่าวจะยังคงใช้บังคับหรือไม่ ถ้าไม่มีพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว หรือใช้บังคับพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะภายหลังห้าปีนับแต่วัน ที่ใช้ บังคับพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว และพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะไม่ได้กาหนดเงินค่าตอบแทนไว้เ ป็นอย่างอื่น ให้ กาหนดเงินค่าตอบแทนเท่ าราคาที่ดิ นที่โ อนตามความเป็ นธรรมที่เป็ น อยู่ใ นวั นใช้บังคับพระราชบั ญญัติให้ ใช้บังคับ ผัง เมื อง เฉพาะ ความในวรรคหนึ่ ง และวรรคสองไม่ ใ ห้ ใ ช้ บั ง คั บ ในกรณี ที่ ก ารยกให้ เ กิ ด ขึ้ น ภายหลั ง ห้ าปี นั บ แต่ วั น ใช้ บั ง คั บ พระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ ในกรณีนี้ถ้าพระราชบัญญัติให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะไม่ได้กาหนดเงินค่าตอบแทนไว้ เป็นอย่างอื่น ให้เงินค่าตอบแทนเป็นไปตามที่ตกลงกัน ซึ่งจะต้องไม่ต่ากว่าราคาที่ดินตามความเป็นธรรมตามวรรคหนึ่งหรือ วรรคสอง แล้วแต่กรณี มาตรา 65 ในการคานวณเงินค่าตอบแทนตามมาตรา 64 ถ้ามีการสร้างหรือจัดทาเพื่อให้เป็นที่อุปกรณ์ตามแบบ และรายการที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นอนุญาตก่อนที่จะมีการยกให้ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการจ่ายเงินค่าตอบแทนค่าใช้จ่ายในการ สร้าง หรือจัดทาดังกล่าวแก่เจ้าของเพิ่มขึ้นจากเงินค่าตอบแทนอันพึงจ่ายให้เนื่องในการยกให้นอกจากเจ้าหน้าที่ดาเนินการเป็น ผู้ออก ค่าใช้จ่ายเอง เงินค่าตอบแทนอันจะพึงจ่ายให้ เพิ่ มขึ้ นตามมาตรานี้ให้ค ณะกรรมการบริหารการผังเมื องส่วนท้ องถิ่ น พิจารณา กาหนดให้ตามที่เห็นสมควร โดยคานึงถึงประโยชน์ของเจ้าของหรือ ผูค้ รอบครองประโยชน์สาธารณะ สภาพของสิ่งที่ -57-


ก่อสร้าง หรือสิ่งที่จัดทา หรือสิ่งที่สร้างในขณะที่มีการยกให้ประกอบด้วย มาตรา 66 ในกรณีที่คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น ได้กาหนดจานวนเงินค่าตอบแทนอันจะพึง จ่าย ให้หรือได้มีการจ่ายเงินค่าตอบแทนตามที่กาหนดไว้ให้แก่เจ้าของหรือผูค้ รอบครองที่ดินตามมาตรา 62 ให้หักเงินค่าตอบแทน ที่กาหนดไว้หรือที่ได้จ่ายไปแล้วออกจากเงินค่าตอบแทนในการยกให้ตามมาตรา 64 มาตรา 67 ในการจัดที่ดินให้เป็นที่ อุป กรณ์ห ากมีค วามจาเป็ นต้ องสร้างหรือจัดท าเพื่ อให้เป็ นไปตามแบบและ รายการที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกาหนด และเจ้าของหรือผูค้ รอบครองที่ดินร้องขอ เจ้าหน้าที่ดาเนินการจะสร้างหรือจัดทาให้ก็ ได้ เมื่อพิจารณาเห็นเป็นการสมควร โดยคิดค่าใช้จ่ายจากเจ้าของหรือผูค้ รอบครองที่ดินนั้น ในการคิดค่าใช้จ่ายตามวรรคหนึ่ง ถ้าการสร้างหรือจัดทาของเจ้าหน้า ที่ดาเนินการเป็นไปเพียงเพื่อประโยชน์ของ เจ้าของหรื อ ผู้ค รอบครองที่ดิ น ผู้ร้ องขอนั้ น ให้คิดค่าใช้จ่ายในการสร้ างหรื อจัดท านั้ นทั้ งหมด แต่ถ้าเป็นไปเพื่ อ สาธารณะ ประโยชน์ด้วย เจ้าหน้าที่ดาเนินการจะออกค่าใช้จ่ายทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้ตามที่เห็นสมควร และให้เจ้าของที่ดินเป็นผู้ ออกค่าใช้จ่ายส่วนที่เหลือ มาตรา 68 เพื่อดาเนินการให้เป็นไปตามผังเมืองเฉพาะ ในกรณีจาเป็นที่ต้องใช้ที่ดินของบุคคลใด ๆ ในบริเวณไม่ เกินหนึ่งกิโลเมตรนับจากแนวเขตผังเมือเฉพาะ เจ้าพนักงานการผังมีอานาจจัดให้ทาหรือวางท่อ น้า ทางระบายน้า สายไฟฟ้า หรือสิ่งอื่นซึ่งคล้ายกันลงบน ใต้หรือเหนือ พื้นดินของบุคคลนั้นได้ในเมื่อพื้นดินนั้นไม่ใช่เป็นที่ตั้งโรงเรือน โดยแจ้งเป็นหนังสือ พร้อมทั้งแผนผังแสดงแนวทางการใช้ที่ดินให้เจ้าของหรือผูค้ รอบครองที่ดินที่เกี่ยวข้องทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวั นก่ อน วันที่จะมีการดาเนินการ ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานการผังกาหนดเงินค่าตอบแทนอันเป็นธรรมในการใช้ ที่ดินนั้ นที่ จะ จ่ายให้แก่เจ้าของหรือผูค้ รอบครองที่ดิน และให้แจ้งเป็นหนังสือให้เจ้าของหรือผูค้ รอบครองที่ดินที่เกี่ยวข้องทราบโดยมิชักช้า เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินผู้ไม่เห็นชอบด้วยกับการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง หรือการกาหนดเงินค่าตอบแทน ตามวรรคสอง มีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามมาตรา 70 มาตรา 69 โดยปกติให้เจ้าพนักงานท้ องถิ่ นแห่ งท้ องที่ ที่ใ ช้บั งคั บ ผังเมื องเฉพาะเป็ นเจ้ าหน้ า ที่ด าเนิ นการ แต่ รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการผั งเมื องอาจแต่ง ตั้งให้ องค์การหรือบรรษัทของรัฐ ซึ่ง มีอานาจหน้ าที่หรือ ซึ่ง ได้ รั บ มอบหมายให้มีอานาจหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่ดาเนินการในท้องที่นั้นได้ หมวด 9 อุทธรณ์ มาตรา 70 ผู้มีสิทธิอุท ธรณ์ อาจอุท ธรณ์ ภ ายในสามสิบ วั นนับ แต่ วันได้รับ คาสั่ งหรื อหนั งสื อแจ้งความ ในกรณี ต่อไปนี้ (1) การกาหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการใช้ประโยชน์ที่ดินตามมาตรา 27 วรรคสอง (2) การปฏิเสธหรือสั่งการเกี่ยวกับโครงการที่จะจัดสรรที่ดิน หรือที่จะก่อสร้างอาคารตามมาตรา 35 (3) การสั่งให้รื้อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคารตามมาตรา 55 (4) การคิดค่าใช้จ่ายในการรื้อหรือย้ายอาคารตามมาตรา 57 วรรคสองหรือมาตรา 58 (5) การกาหนดจานวนเงินค่าตอบแทนตามมาตรา 57 (6) การกันเงินค่าตอบแทนไว้ตามมาตรา 61 (7) การกาหนดจานวนเงินค่าตอบแทนตามมาตรา 62 (8) การจัดให้ทาหรือวางท่อน้า ทางระบายน้า สายไฟฟ้าหรือสิ่งอื่นซึ่งคล้ายคลึงกันตามมาตรา 68 วรรคหนึ่ง และการกาหนดจานวนเงินค่าตอบแทนในการใช้ ที่ดิ นตามมาตรา 68 วรรคสอง อุทธรณ์กรณี (4) และ (6) ให้ ยื่นต่อคณะ กรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น ในกรณี (1) (2) (3) (5) (7) และ (8) ให้ยื่นต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ เมื่อคณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น หรือคณะกรรมการอุทธรณ์แล้วแต่กรณีได้มีคาวินิจฉัยแล้ว หาก -58-


ผู้อุทธรณ์ไม่พอใจในคาวินิจฉัย อุทธรณ์ผู้อุทธรณ์ย่อมมีสิทธิ์ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองได้ภายในกาหนดหนึ่งเดือน นับแต่วันที่ได้ ทราบคาวินิจฉัยนั้น ในกรณีที่ยังมิได้มีการตั้งศาลปกครองตามรัฐธรรมนูญ มิให้นาความในวรรคนีม้ าใช้บังคับ มาตรา 71 ให้ มี ค ณะกรรมการอุ ท ธรณ์ ป ระกอบด้ ว ยรั ฐ มนตรี เ ป็ น ประธานกรรมการ อธิ บ ดี ก รมอั ย การ ผูท้ รงคุณวุฒิทางการผังเมืองหนึ่งคน ผูท้ รงคุณวุฒิทางกฎหมายหนึ่งคน ผูท้ รงคุณวุฒิทางเศรษฐศาสตร์หนึ่งคน เป็นกรรมการ ให้ประธานคณะกรรมการอุทธรณ์แต่งตั้งกรรมการหรือบุคคลใดเป็นเลขานุการคณะกรรมการ ให้คณะรัฐมนตรีแต่ง ตั้งผู้ทรงคุ ณวุฒิเป็ นกรรมการอุท ธรณ์ กรรมการผู้ทรงคุ ณวุฒิจะเป็นกรรมการผั งเมื องหรื อ อนุกรรมการในคณะกรรมการผังเมืองในขณะเดียวกันมิได้ มาตรา 72 ให้คณะกรรมการอุทธรณ์มีอานาจหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยคาอุทธรณ์ที่ยื่นต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ มาตรา 73 ให้คณะกรรมการอุทธรณ์มีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นคณะหนึ่งหรือหลายคณะเพื่อกระทาการ ที่อยู่ในอานาจของคณะกรรมการ หรือให้ช่วยเหลือในการดาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้เว้นแต่การ วินิจฉัยอุทธรณ์และให้นามาตรา 11 และมาตรา 12 มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา 74 ให้กรรมการอุทธรณ์ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละสองปีกรรมการซึ่งพ้นจาก ตาแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอีกได้ ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการอุทธรณ์ในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ได้รับ แต่งตั้งนั้นอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการอุทธรณ์ซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้วนั้น มาตรา 75 ให้นามาตรา 10 มาตรา 11 และมาตรา 12 มาใช้แก่คณะกรรมการอุทธรณ์โดยอนุโลม มาตรา 76 หลั กเกณฑ์ แ ละวิ ธีการในการยื่ นอุ ทธรณ์ แ ละวิ ธีพิ จารณาในการวิ นิจฉั ยค าอุ ทธรณ์ ใ ห้กาหนดโดย กฎกระทรวง มาตรา 77 ในระหว่างอุทธรณ์ห้ามมิให้ผู้อุทธรณ์เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินหรืออาคาร ผู้มีสิทธิครอบครอง เหนือที่ดินของผู้อื่น เจ้าพนักงานการผัง คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่ วนท้ องถิ่ น เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรื อเจ้าหน้ าที่ ดาเนินการ แล้วแต่กรณีดาเนินการหรือกระทาการใด ๆ อันเป็นกรณีแห่งการอุทธรณ์ หมวด 10 บทเบ็ดเสร็จ มาตรา 78 ในการปฏิบัติการตามหน้า ที่ ให้เจ้ าพนักงานท้ องถิ่ น เจ้าพนักงานการผั ง เจ้าหน้า ที่ดาเนินการและ กรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น มีอานาจออกหนังสือเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องมาชี้แจง หรือให้ส่งเอกสารหลักฐาน หรือ สิ่งอื่นที่จาเป็นเพื่อการปฏิบัติการตามหน้าที่มาประกอบการพิจารณาได้ มาตรา 79 ในการปฏิ บั ติ การตามหน้ า ที่ ใ ห้ เ จ้ าพนั กงานท้ องถิ่ น เจ้ าพนั กงานการผั ง เจ้ าหน้ า ที่ ด าเนิ น การ กรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น และพนักงานเจ้าหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น พนักงานเจ้าหน้าที่ของเจ้าพนั กงาน การผัง พนักงานเจ้าหน้า ที่ของเจ้าหน้าที่ดาเนินการ หรือพนักงานเจ้าหน้า ที่ของกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น มี อานาจเข้าไปในที่ดินหรืออาคาร ซึ่งอยู่ในท้องที่ที่มีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมหรือท้องที่ที่ใช้บังคับพระราชบัญญัติ ให้ ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตกเพื่อสอบถามข้อเท็จจริงหรือขอดูเอกสารหลักฐานหรือ สิ่งที่เกี่ยวข้องจากเจ้ าของ ผู้ครอบครองหรื อ ผู้ดูแ ลรั กษาที่ดิ นหรื ออาคารนั้ น หรือเพื่อกระทาการใด ๆ เท่าที่จาเป็น และ พยายาม ไม่ให้เกิดความเสียหาย ถ้ามีความเสียหายเกิดขึ้นจากการกระทาดังกล่าว ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น เจ้าพนักงานการผัง เจ้าหน้าที่ดาเนินการหรือกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น แล้วแต่กรณีกาหนดเงินค่าตอบแทนความเสียหายและจ่ าย -59-


ให้แก ่ผเู้ สียหายนั้น ในกรณีที่จาเป็นต้องกระทาการเพื่อการสารวจ ให้แจ้งเจ้าของ ผูค้ รอบครอง หรือผูด้ ูแลรักษาที่ดินหรืออาคารทราบ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนกระทาการนั้น ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น เจ้าพนักงานการผัง เจ้าหน้าที่ดาเนินการ กรรมการบริหารการ ผังเมืองส่วนท้องถิ่น และพนักงานเจ้าหน้าที่ข องเจ้าพนั กงานท้ องถิ่ น พนักงานเจ้าหน้าที่ข องเจ้ าพนั กงานการผัง พนักงาน เจ้าหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ดาเนินการ หรือพนักงานเจ้าหน้า ที่ของกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นแสดงบัตรประจาตัว หรือ หนังสือแสดงตาแหน่งหน้าที่ต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง มาตรา 80 เพื่อประโยชน์แก่การปฏิบัติ การตามพระราชบั ญ ญัติ นี้ให้เ จ้ าพนั กงานท้ องถิ่น เจ้าพนักงานการผั ง เจ้าหน้าที่ดาเนินการ กรรมการบริหารการผัง เมื องส่วนท้ องถิ่น และพนักงานเจ้าหน้ าที่ข องเจ้ าพนักงานท้ องถิ่น พนักงาน เจ้าหน้าที่ของเจ้าพนักงานการผัง พนักงานเจ้าหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ดาเนินการ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ของกรรมการบริหารการ ผังเมืองส่วนท้องถิ่น เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 81 พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ดาเนินการมีอานาจเข้าไปในที่ดินหรืออาคารซึ่ งอยู่ ในท้องที่ที่ใช้บังคับพระราชบัญญัติ ให้ใช้บังคับผังเมืองเฉพาะเพื่อตรวจซ่อมแซม บารุง รักษา หรือทาความสะอาดท่อน้า ทาง ระบายน้า สายไฟฟ้าหรือสิ่งอื่นซึ่งคล้ายกัน หรือเพื่อตรวจสอบสภาพของที่โล่งในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก ในการปฏิบัติตามหน้าที่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ต ามวรรคหนึ่งแสดงบั ตรประจาตัวและหนังสื อแสดงตาแหน่งหน้าที่พร้ อมทั้ ง หนังสือมอบหมายของเจ้าหน้าที่ดาเนินการให้ไปกระทาการดังกล่าวต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง มาตรา 82 ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น เจ้าพนักงานการผัง เจ้าหน้าที่ดาเนินการ กรรมการบริหาร การผังเมืองส่วนท้องถิ่น และพนักงานเจ้าหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น พนักงานเจ้าหน้าที่ของเจ้าพนักงานการผัง พนักงาน เจ้าหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ดาเนินการ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ของกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญ ญัตินี้ เจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ดูแลรักษาที่ดินหรืออาคารต้องอานวยความสะดวกให้ตามสมควร หมวด 11 บทกาหนดโทษ มาตรา 83 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 27 หรือมาตรา 48 มีความผิดต้องระวางโทษจาคุกไม่เ กิ นหก เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ เมื่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นร้ องขอ ศาลอาจสั่งให้ผู้กระทาผิดแก้ไ ขสภาพของอสังหาริ มทรัพย์ ที่ถู กเปลี่ย นแปลงให้ เป็นไปตามที่ได้กาหนดไว้ใ นผั งเมื องรวมหรือในผังเมื องเฉพาะ ภายในระยะเวลาที่กาหนดให้หรื อให้เ จ้ าพนักงานท้ องถิ่ นมี อานาจจัดการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เป็นไปตามผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะนั้น และคิดเอาค่าใช้จ่าย จากเจ้าของหรือผูค้ รอบครองอสังหาริมทรัพย์ตามที่จ่ายจริงโดยประหยัด มาตรา 84 ผูใ้ ด (1) ไม่ไปชี้แจงหรื อไม่ ส่ งเอกสารหลั กฐานหรื อ สิ่ งที่เ กี่ ยวข้ องตามหนั ง สื อเรีย กของเจ้ าพนั กงานท้ องถิ่ นเจ้ า พนักงานการผังหรือกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นตามมาตรา 78 หรือไม่ยอมชี้แจงหรือชี้แจงด้วยข้อความอั นเป็น เท็จ (2) ขั ด ขวางหรื อ ไม่ ใ ห้ ค วามสะดวกแก่ เ จ้ าพนั ก งานท้ องถิ่ น เจ้ าพนั กงานการผั ง เจ้ าหน้ า ที่ ด าเนิ น การ กรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่นและพนักงานเจ้าหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น พนักงานเจ้าหน้าที่ของเจ้าพนั กงาน การผัง พนักงานเจ้าหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ดาเนินการ หรือพนักงานเจ้าหน้า ที่ของกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น ใน การ ใช้อานาจตามมาตรา 15 หรือมาตรา 82 หรือ (3) ฝ่าฝืนคาสั่งให้รื้อ หรือย้ายอาคาร หรือคาวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา 57 มีความผิดต้องระวางโทษจาคุ กไม่ -60-


เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสามพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ สัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี

หมายเหต ุเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ เนื่องจากกฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและผังชนบทได้ใช้บังคับ มากว่ายี่สิบปีประกอบกับได้มีการพัฒนาทั้งในด้านเกษตรกรรม พาณิชยกรรม และอุตสาหกรรม และจานวนประชากรใน ท้องที่ต่าง ๆ ได้ทวีความหนาแน่นมากยิ่งขึ้น มาตรการและโครงการที่ได้กาหนดไว้ในกฎหมายจึงไม่เหมาะสมกับสภาวะ ปัจจุบัน สมควรปรับปรุงเสียใหม่ให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของวิชาผังเมืองและสภาพของท้องที่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ฉบับพิเศษ ตอนที่ 8 วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2518 กรวรรณ/ปรับปรุง 23 มีนาคม 2561

-61-


พระราชบัญญัติ การผังเมือง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๕ ----------------------------ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๒๕ เป็นปที่ ๓๗ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เป็นการสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาด้วยการผังเมืองใหเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้งไวโดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภาดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา "พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๒๕" มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตนไป มาตรา ๓ ใหยกเลิกความในมาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๕ แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และใหใชความตอไปนี้แทน " มาตรา ๒๓ เมื่อคณะกรรมการผังเมืองใหความเห็นชอบแลวใหสานักผังเมืองหรือ เจาพนักงานทองถิ่นผูว้ างและจัดทาผังเมืองรวมนั้น จัดใหมีการปดประกาศแผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมไวในที่ เปดเผย ณ ที่วาการเขตหรือที่ทาการแขวงของกรุงเทพมหานคร หรือที่วาการอาเภอ ที่ทาการขององคการบริหารสวนทองถิ่น และสาธารณสถานภายในเขตของผังเมืองรวมนั้นเป็นเวลาไมนอยกวาเกาสิบวัน โดยใหลงวันที่ที่ปดประกาศในใบประกาศนั้น ด้วย ในใบประกาศดังกลาว ใหมีคาประกาศเชิญชวนใหผู้มีสวนไดเสียไปตรวจดูแผนผังและขอกาหนดของผังเมืองรวม ได ณ สานักผังเมือง หรือที่ทาการของเจาพนักงานทองถิ่น ผู้ วางและจัดท าผั งเมื องรวมนั้ น วิธีการประกาศใหเป็นไปตาม ระเบียบของกระทรวงมหาดไทย มาตรา ๒๔ หากภายในกาหนดเกาสิบวันนับตั้งแตวันปดประกาศดังกลาวในมาตรา ๒๓ ผูม้ ีสวนไดเสียผู้ใดมีหนังสือถึงสานักผังเมืองหรือเจาพนักงานทองถิ่น ผู้วางและจัดทาผังเมืองรวมทั้งรองขอใหแก ไขหรือเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกขอกาหนดเกี่ยวกับการใชประโยชนที่ดินของผังเมืองรวมนั้น และไมวาสานักผังเมืองหรื อเจา พนักงานทองถิ่นจะเห็นพองด้วยกับคารองขอนั้นหรือไมก็ตาม ใหสานักผังเมืองหรือเจาพนักงานทองถิ่นแลวแตกรณี เสนอ คารองขอนั้นตอคณะกรรมการผังเมืองพรอมด้วยความเห็น ในกรณีที่ เจาพนักงานทองถิ่นเป็นผู้ เสนอใหดาเนินการผาน สานักผังเมือง ในกรณีที่คณะกรรมการผังเมืองเห็นชอบด้วยกับคารองขอ ใหคณะกรรมการผังเมืองสั่งให สานักผังเมืองหรือเจาพนักงานทองถิ่น แลวแตกรณีแกไขหรือเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกขอกาหนดดังกลาวในผัง เมืองรวมนั้น ถาไมเห็นชอบด้วยก็ใหสั่งยกคารองขอนั้น มาตรา ๒๕ หากเมื่อพนกาหนดเกาสิบวันนับตั้งแตวันปดประกาศดังกลาวในมาตรา ๒๓ ไมมีผมู้ ีสวนไดสวนเสียผู้ใดขอใหแกไขหรือเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกขอกาหนดเกี่ยวกับการใชประโยชนที่ดินของผัง เมืองรวมนั้น หรือมีแตคณะกรรมการผังเมืองไดสั่งยกคารองขอนั้นหรือคณะกรรมการผังเมืองไดสั่งใหแกไขหรือเปลี่ยนแปลง หรือยกเลิกขอกาหนดดังกลาว และสานักผังเมืองหรือเจาพนักงานทองถิ่น แลวแตกรณี ไดจัดการใหเป็นไปตามนั้นแลว ให สานักผังเมืองเสนอผังเมืองรวมตอรัฐมนตรีเพื่อดาเนินการออก กฎกระทรวงใชบังคับผังเมืองรวมนั้นตอไป " มาตรา ๔ ใหยกเลิกความในมาตรา ๕๗ แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.๒๕๑๘ และใหใชอาคารแลวไมได ใชสิทธิอุทธรณตามมาตรา ๗๐ หรือใชสิทธิอุทธรณ แตคณะกรรมการอุทธรณไมเห็นด้วยกับการอุทธรณ เจาของอาคารตอง ปฏิบัติตามคาสั่งของเจาหนาที่ดาเนินการหรือคาวินิจฉัยอุทธรณภายในกาหนดเวลาสามสิบวันนับแตวันทราบคาสั่งหรือคา วินิจฉัยอุทธรณ -62-


ถาเจาของอาคารไมเริ่มดาเนินการรื้อหรือยายอาคาร หรือไดรื้อหรือบายอาคารไปบาง แลวแตเป็นที่เห็นไดประจักษ วาการรื้อยายอาคารจะไมแลวเสร็จภายในเวลาที่กาหนดไวในคาสั่ง ใหเจาหนาที่ ดาเนินการเตือนเป็นหนังสือไปยังเจาของอาคาร ถาผู้ นั้นยังคงละเลยไมดาเนินการตามคาสั่งภายในเวลาที่กาหนดไวในคา เตือน ซึ่งตองไมนอยกวาสิบหาวันโดยไมมีเหตุผลอันสมควรใหเจาหนาที่ดาเนินการมีอานาจเขาไปในที่ดินและรื้อหรือยาย อาคารนั้นโดยคิดคาใชจายจากเจาของอาคาร คาใชจายจะคิดหักเอาจากเงินคาตอบแทนตามมาตรา ๕๙ ที่จะพึงจายใหแก เจ้าของอาคารนั้นก็ได การรื้อหรือยายอาคารนั้น เจาหนาที่ดาเนินการตองกระทาโดยประหยัดและคาใชจายที่คิดจากเจาของ อาคารจะตองไมมากกวาเงินคาตอบแทนตามมาตรา ๕๙ เมื่อไดคิดคาใชจายแลว ใหเจาหนาที่ดาเนินการแจงเป็นหนังสือใหเจาของอาคารทราบเจา ของอาคารผูไ้ มเห็นชอบด้วยกับการคิดคาใชจายมีสิทธิอุทธรณไดตามมาตรา ๗๐ " มาตรา ๕ กาหนดเวลาปดประกาศแผนที่แสดงเขตผังเมืองรวมตามมาตรา ๒๓ กาหนดเวลาสาหรับยื่นคารอง ขอใหแกไขหรือเปลี่ ยนแปลง หรือยกเลิกขอกาหนดเกี่ย วกับ การใชประโยชนที่ดิ นของผัง เมื องรวมตามมาตรา ๒๔ และ กาหนดเวลาในการที่ กาหนดผั งเมื องเสนอผังเมื องรวมตอรัฐมนตรีต ามมาตรา ๒๕ แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ถายังมิไดสิ้นสุดลงกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ ใชบังคับ ใหนับเวลาดังกลาวตอไปมาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และ มาตรา ๒๕ แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.๒๕๑๘ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ตั้งแตวันที่พระราชบัญญัติ นี้ใช บังคับจนครบเกาสิบวัน มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ป. ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรี (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ หนา ๙ เลม ๙๙ ตอนที่ ๓๓ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๒๕) ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้คือ โดยที่เป็นการสมควรแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.๒๕๑๘ โดยขยายระยะเวลาส าหรั บ การปดประกาศแผนที่ แ สดงเขตผั ง เมื องรวม การยื่ นค าร องขอใหแกไขหรื อ เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกขอกาหนดเกี่ยวกับการใชประโยชนที่ดินของผังเมืองรวมของผู้มีสวนไดเสียและการที่สานักผังเมือง เสนอผังเมืองรวมตอรัฐมนตรีจากหกสิบวันเป็นเกาสิบวันเพื่อใหประชาชนไดมีเวลายื่นคารองขอมากยิ่งขึ้น กับแกไขเพิ่ มเติ ม ชื่อคณะกรรมการและเลขมาตราที่อางในมาตรา ๕๗ ใหถูกตอง จึงจาเป็นตองตราพระราชบัญญัตินี้

กรวรรณ/ปรับปรุง 23 มีนาคม 2561

-63-


พระราชบัญญัติ การผังเมือง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ ----------------------------ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทาหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ มาตรา ๑๙ เมื่อสานักผังเมืองจะวางหรือ จัดทาผังเมืองรวมของท้ องที่ใด ให้สานักผังเมืองแจ้งให้เจ้าพนั ก งาน ท้องถิ่นของท้องที่นั้นทราบ และให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นนั้นมาแสดงความคิดเห็นต่อสานักผังเมืองด้วย ในการวางและจัดทาผังเมืองรวมใด ให้สานักผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นแล้วแต่กรณี จั ดให้มีการโฆษณาให้ ประชาชนทราบ แล้วจัดการประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งครั้ง เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นของประชาชนในท้องที่ที่จะมีการวางและจัดท าผัง เมืองรวมนั้น ในการรับฟังข้อคิดเห็นนี้จะกาหนดเฉพาะให้ผู้แทนของประชาชนเข้าร่วมการประชุมตามความเหมาะสมก็ ไ ด้ หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการโฆษณา การประชุม และการแสดงข้อคิดเห็น ให้กาหนดโดยกฎกระทรวง ” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ มาตรา ๒๑ เมื่อมีการวางและจัดทาผังเมืองรวมขึ้นในท้องที่ของจังหวัดใด ให้ผู้ว่าราชการจั งหวัดแห่งจังหวั ด นั้น แต่งตั้งคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมขึ้นคณะหนึ่งในแต่ละท้ องที่ที่วางผั งเมืองรวมนั้ น ประกอบด้วยผู้แทนองค์การบริหารส่ วน ท้องถิ่น ผู้แทนสานักผังเมือง ผู้แทนส่วนราชการต่าง ๆ ในท้องที่ที่วางผังเมืองรวมนั้น และบุคคลอื่นที่เห็นสมควร มีจานวนรวม ทั้งสิ้นไม่น้อยกว่าสิบห้าคนและไม่เกินยี่สิบเอ็ดคน มีหน้าที่ให้คาปรึกษาและความคิดเห็นเกี่ยวกับผังเมืองรวมที่สานักผังเมือง หรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นวางและจัดทาขึ้น ในกรณีที่เป็นการวางและจัดทาผังเมืองรวมขึ้นในท้องที่คาบเกี่ยวกันตั้งแต่สองจังหวัดขึ้นไป ให้คณะกรรมการผัง เมืองเป็นผู้แต่งตั้งคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม ให้รัฐมนตรีวางระเบียบเกี่ยวกับการแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะที่ปรึกษาผัง เมืองรวมดังกล่าว ให้ นาบทบั ญ ญั ติ ว่าด้ วยการประชุมในหมวด ๑ มาใช้ บั ง คั บ แก่ การประชุ มของคณะที่ ป รึกษาผั ง เมื องรวมโดย อนุโลม” มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๖ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ มาตรา ๒๖ การใช้บังคับผังเมืองรวมให้กระทาโดยกฎกระทรวง -64-


กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งต้องมีรายการตามมาตรา ๑๗ และให้ใช้บังคับได้ไม่เกินห้าปี ในระหว่างที่กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งใช้บังคับ ถ้าสานักผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นเห็นสมควร จะกาหนดให้ แก้ไขปรับปรุงผังเมืองรวมเสียใหม่ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป หรือเพื่อประโยชน์แห่งรัฐก็ได้ โดยให้นาความในมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๕ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ภายในหนึ่งปีก่อนระยะเวลาการใช้บังคับกฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งสิ้นสุดลง ให้สานักผังเมืองหรือเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น แล้วแต่กรณี สารวจว่าสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมในการใช้ผังเมืองรวมดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ ถ้าเห็นว่า สภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมไม่มีการเปลี่ยนแปลงในสาระสาคัญ ให้สานักผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณี จัดให้มี การประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในท้องที่ที่ใช้บังคับผังเมืองรวมนั้นตามมาตรา ๑๙ วรรคสอง และถ้าไม่มีผู้ใด คัดค้าน ก็ให้สานักผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการผังเมืองขยายระยะเวลาการใช้บังคับ กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งได้อีกห้าปี แต่ในกรณีที่เห็นว่าสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงในสาระสาคัญ ก็ให้ สานักผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นดาเนินการแก้ไขปรับปรุงผังเมืองรวมเสียใหม่ให้เหมาะสมได้ ในกรณีที่ไม่อาจดาเนินการแก้ไขผังเมืองรวมได้ทันภายในระยะเวลาที่กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งใช้บังคับ ให้สานัก ผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการผังเมืองขยายระยะเวลาการใช้บังคับกฎกระทรวงตาม วรรคหนึ่งได้อีกสองครั้ง ครั้งละไม่เกินหนึ่งปี การขอขยายระยะเวลาการใช้บังคับผังเมืองรวมตามวรรคห้า ให้กระทาโดยกฎกระทรวง” มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๙ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ มาตรา ๒๙ เมื่อได้มีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ณ ท้องที่ใดแล้ว ถ้าเจ้าพนักงานท้องถิ่นของท้องที่นั้น เห็นสมควรจะจัดให้มีการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะขึ้น หรือจะขอให้สานักผังเมืองเป็นผู้วางและจัดทาผังเมืองเฉพาะก็ได้ ผัง เมืองเฉพาะจะต้องสอดคล้องกับผังเมืองรวม ถ้าท้องที่ใดยังไม่มีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม รัฐมนตรีจะสั่งให้สานักผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นวาง และจัดทาผังเมืองเฉพาะก็ได้ ในกรณีเจ้าพนักงานท้องถิ่นวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นเสนอหลักการที่จะวางและจัดทาผัง เมืองเฉพาะให้คณะกรรมการผังเมืองพิจารณาเห็นชอบก่อน ในการนี้เจ้าพนักงานท้องถิ่นจะมาแสดงความคิดเห็นหรือขอ คาแนะนาเกี่ยวกับการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะต่อสานักผังเมืองก็ได้ ” ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรเพิ่ม บทบัญญัติให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นและ สานักผังเมืองสามารถแก้ไขปรับปรุงและขยายระยะเวลาการใช้บังคับผังเมืองรวม กับเพิ่มจานวนและหน้าที่ของคณะที่ปรึ กษา ผังเมืองรวมให้มากขึ้น รวมทั้งแก้ไขบทบัญญัติเพื่อให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นสามารถใช้ดุลพินิจในการวางและจัดทาผังเมืองเฉพาะ ได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อให้การวาง จัดทา และแก้ไขปรับปรุงผังเมืองรวมเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการผังเมืองได้อย่าง กว้างขวาง รวดเร็ว และสอดคล้องกับสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป อันจะก่อให้เกิดผลดีแก่การผังเมืองยิ่ง ขึ้น จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ กรวรรณ/ปรับปรุง 23 มีนาคม 2561 -65-


พระราชบัญญัติ การผังเมือง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ ----------------------------ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ ๒๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้แก้ไขคาว่า “องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น” ในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็น “องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น” ทุกแห่ง มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคาว่า “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมื อง พ.ศ. ๒๕๑๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” หมายความว่า (๑) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด สาหรับในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด (๒) นายกเทศมนตรี สาหรับในเขตเทศบาล (๓) นายกองค์การบริหารส่วนตาบล สาหรับในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล (๔) ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร สาหรับในเขตกรุงเทพมหานคร (๕) นายกเมืองพัทยา สาหรับในเขตเมืองพัทยา (๖) ผู้บริหารท้องถิ่นหรือหัวหน้าคณะผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ที่มีกฎหมายจัดตั้ง สาหรับในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น” มาตรา ๕ ให้ยกเลิกบทนิยามคาว่า “องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ““องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง” มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และให้ใช้ความต่อไปนีแ้ ทน “ มาตรา ๖ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “ คณะกรรมการผังเมือง ” ประกอบด้วย (๑) ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานกรรมการ (๒) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวง -66-


ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และผูอ้ านวยการ สานักงบประมาณ (๓) กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ง คณะรั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตั้ ง จากผู้ มีค วามรู้ ค วามสามารถ ความเช่​่ยวชาญ และ ประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในด้านการผังเมือง สถาปัตยกรรมศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์นิติศาสตร์เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดีหรือสังคม จานวนไม่เกินเก้าคน ในจานวนนี้จะต้องแต่งตั้งจากผูม้ ีประสบการณ์ด้านการสอนใน หลักสูตรเกี่ยวกับการผังเมืองในสถาบันอุดมศึกษา อย่างน้อยหนึ่งคน (๔) กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนสภาวิศวกร ผูแ้ ทนสภาสถาปนิก ผูแ้ ทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ผูแ้ ทนสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และผูแ้ ทนสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (๕) กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผูแ้ ทนสถาบันหรือองค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มคี วามเกี่ยวข้ องกับ การผังเมือง จานวนไม่เกินสีค่ น ให้อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เป็นกรรมการและเลขานุการ ในกรณีที่เป็นการวาง จัด ทา แก้ไข หรืออนุมัติผังเมืองรวม หรือผังเมืองเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ปลัด กรุงเทพมหานครเข้าร่วมเป็นกรรมการ หรือในเขตพื้นที่ที่เกี่ยวกับความมั่นคงทางทหาร ให้ปลัดกระทรวงกลาโหมเข้าร่วมเป็น กรรมการด้วย” มาตรา ๗ ให้เพิ่มความต่อไปนีเ้ ป็นมาตรา ๖/๑ และมาตรา ๖/๒ แห่งพระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ “ มาตรา ๖/๑ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิและกรรมการซึ่งเป็นผูแ้ ทนสถาบันหรือองค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความ เกี่ยวข้องกับการผังเมือง ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ากว่าสามสิบห้าปีบริบูรณ์ (๓) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๔) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึง ที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิด ที่ได้กระทาโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๕) ไม่ เ ป็ น ผู้ ด ารงต าแหน่ ง ทางการเมื อง สมาชิ กสภาท้ องถิ่ นหรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ องถิ่ น กรรมการ หรื อ ผู้ ด ารง ตาแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง มาตรา ๖/๒ กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนสถาบันหรือองค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้อง กับการผังเมือง จะต้องไม่เป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา ” มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และให้ใช้ ความต่อไปนีแ้ ทน “ มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนสถาบันหรือองค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความ เกี่ยวข้องกับการผังเมืองมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสามปี ในกรณีที่กรรมการผู้ ทรงคุ ณ วุ ฒิหรื อกรรมการซึ่งเป็น ผู้แ ทนสถาบั นหรื อองค์ การอิ สระ และบุคคลอื่นที่มีค วาม เกี่ยวข้องกับการผังเมืองพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ หรือในกรณี ที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการ ซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผไู้ ด้รับแต่งตั้ง แทนตาแหน่งที่ว่างหรือเป็นกรรมการเพิ่มขึ้นอยู่ในตาแหน่งเท่ากับ วาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว เมื่อครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหรือกรรมการ ซึ่งเป็นผู้แทน สถาบันหรือองค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการผังเมืองขึ้นใหม่​่ให้กรรมการ ซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้น อยู่ในตาแหน่งเพื่อดาเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่​่เข้ารับหน้าที่ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนสถาบันหรือองค์การอิสระและบุคคลอื่น ที่มีความเกี่ยวข้องกับ การผังเมืองซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระ อาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้แต่จะดารงตาแหน่ง ติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิและกรรมการ ซึ่งเป็นผูแ้ ทนสถาบันหรือ องค์การอิสระ และบุคคลอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการผังเมืองพ้นจากตาแหน่ง เมื่อ (๑) ตาย -67-


(๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีให้ออก เพราะบกพร่องต่อหน้าที่มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อนความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๖/๑ หรือมาตรา ๖/๒” มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และให้ใช้ความต่อไปนีแ้ ทน “ มาตรา ๑๗ ผังเมืองรวมประกอบด้วย (๑) วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทาผังเมืองรวมให้กาหนดโดยคานึงถึงความเป็นระเบียบ ความสวยงาม การ ใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน ความปลอดภัยของประชาชน การเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติการดารงรักษาสถานที่ที่มีคุณค่ าทาง ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติ ศาสตร์หรือโบราณคดีและการจัด สภาพแวดล้อมที่ทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ ร่วมกันได้อย่างเท่าเทียมกัน (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชัน้ ความสูง (๓) แผนผังซึ่งทาขึ้นเป็นฉบับเดียวหรือหลายฉบับโดยมีสาระสาคัญทุกประการหรือบางประการ ดังต่อไปนี้ (ก) แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท (ข) แผนผังแสดงที่โล่ง (ค) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง (ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค (๔) รายการประกอบแผนผัง (๕) ข้อกาหนดที่ จะให้ปฏิ บัติหรื อไม่ใ ห้ปฏิบั ติ เพื่ อ ให้เ ป็ นไปตามวัตถุ ประสงค์ข องผั งเมื องรวม ทุกประการ ดังต่อไปนี้ (ก) ประเภทและขนาดกิจการที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ดาเนินการ (ข) ประเภท ชนิด ขนาด ความสูง และลักษณะของอาคารที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาต ให้สร้าง (ค) อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็น ที่ตั้งอาคาร (ง) อัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร (จ) อัตราส่วนพื้นที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมของแปลงที่ดินที่อาคารตั้งอยู่ต่อพื้นที่ใช้สอยรวมของอาคาร (ฉ) ระยะถอยร่นจากแนวธรรมชาติถนน แนวเขตที่ดิน อาคาร หรือสถานที่อื่น ๆ ที่จาเป็น (ช) ขนาดของแปลงที่ดินที่จะอนุญาตให้สร้างอาคาร (ซ) ข้อกาหนดอื่นที่จาเป็นโดยรัฐมนตรีประกาศกาหนดตามคาแนะนาของคณะกรรมการผังเมือง ในกรณีที่ผังเมืองรวมไม่มีข้อกาหนดบางประการตาม (ก)(ข)(ค)(ง)(จ)(ฉ)(ช) และ (ซ) จะต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการผังเมือง โดยมีเหตุผลอันสมควร (๖) นโยบาย มาตรการ และวิธีดาเนินการเพื่อปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม” มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๖ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมื อง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนีแ้ ทน “ มาตรา ๒๖ การใช้บังคับผังเมืองรวมให้กระทาโดยกฎกระทรวง และต้องมีสาระสาคัญ ตามมาตรา ๑๗ ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณีจัดทารายงานการประเมิน ผลการเปลี่ยนแปลง สภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมการใช้บังคับผังเมืองรวมตามระยะเวลาที่คณะกรรมการ ผังเมืองกาหนด แต่ไม่เกินห้าปีนับแต่วันที่ กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมใช้บังคับ หรือนับแต่วันที่คณะกรรมการผังเมืองพิจารณารายงานการประเมินผลครั้งที่ผ่ าน มาเสร็จสิ้น แล้วเสนอคณะกรรมการผังเมือง พิจารณา หากคณะกรรมการผังเมืองเห็นว่าสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมมีการ เปลี่ ย นแปลงไปในสาระส าคั ญ ท าให้ ผั ง เมื องรวมนั้ นไม่ เ หมาะสมที่ จะรองรั บ การพั ฒ นาหรื อด ารงรั กษาเมื องต่ อไปหรื อ จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลง แก้ไขเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเมืองทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้กรมโยธาธิ การ และผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นดาเนินการปรับปรุงโดยการวางและจัดทาผังเมืองรวมขึ้นใหม่ให้เหมาะสมได้ การจัดทารายงานการประเมินผลตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการผังเมืองกาหนด ซึ่งต้องมี การแสดงข้อเท็จจริงให้ปรากฏทั้งในเรื่องการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ความหนาแน่น ของประชากร นโยบายหรือ โครงการของรัฐบาล สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม การคมนาคม และขนส่ง การป้องกันการเกิดภัยพิ บัติ -68-


ความมั่นคงของประเทศ และปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับการผังเมือง โดยให้คานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนประกอบด้วย ” มาตรา ๑๑ ให้เพิ่มความต่อไปนีเ้ ป็นมาตรา ๒๖/๑ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ “ มาตรา ๒๖/๑ การแก้ไขผังเมืองรวมเฉพาะบริเวณหรือเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดให้เหมาะสม กับสภาพการณ์ และ สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปหรือเพื่อประโยชน์สาธารณะ ให้กรมโยธาธิการและผังเมือง หรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณี เสนอคณะกรรมการผังเมืองพิจารณา เมื่อคณะกรรมการผังเมือง พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้ว ให้กรมโยธาธิการและผังเมือง หรื อเจ้ าพนั กงานท้ องถิ่ น แล้ วแต่ กรณี จัด ให้ มี การประชาสั ม พันธ์ ช้ี แ จงให้ ประชาชนและผู้ เ กี่ ยวข้ องในเขตผั งเมื องรวมได้ รับทราบ และจัดให้มีการปิดประกาศ แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมที่แก้ไขและรายละเอียดของการแก้ไขไว้ในที่เปิดเผย ณ สานักงานเขต หรือที่ว่าการอาเภอ ที่ทาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสาธารณสถาน ภายในเขตของผังเมืองรวมนั้น เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวั น และในประกาศนั้นให้มีคาเชิญชวนให้ ผู้มีส่วนได้เสียแสดงข้อคิดเห็ นเป็น ลายลักษณ์อักษร ภายในระยะเวลาที่มีการปิดประกาศ ภายในระยะเวลาที่มีการปิดประกาศตามวรรคหนึ่ง ถ้ามีผมู้ ีส่วนได้เสียผู้ใดแสดงข้อคิดเห็น ในการแก้ไขผังเมืองรวม นั้น ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณีเสนอข้อคิดเห็นของ ผูม้ ีส่วนได้เสียพร้อมด้วยความเห็น ของกรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณีต่อคณะกรรมการผังเมือง ในกรณีที่เจ้าพนักงานท้ องถิ่น เป็นผูเ้ สนอ ให้ดาเนินการผ่านกรมโยธาธิการ และผังเมือง เมื่อคณะกรรมการผังเมืองเห็นชอบกับข้อคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย ให้คณะกรรมการผังเมืองสั่งให้กรมโยธาธิการ และผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณีแก้ไขให้เป็นไปตามข้อคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียซึ่งคณะกรรมการผังเมือง เห็นชอบด้วยนั้น แต่ถ้าคณะกรรมการผังเมืองไม่เห็นชอบกับข้อคิดเห็นของ ผูม้ ีส่วนได้เสีย ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองเสนอ ผังเมืองรวมต่อรัฐมนตรีเพื่อดาเนินการออกกฎกระทรวง แก้ไขผังเมืองรวมต่อไป เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาที่มีการปิดประกาศตามวรรคหนึ่ง หากไม่มีผู้มีส่วนได้เสียแสดงข้อคิดเห็น ให้กรมโยธาธิ การและผังเมืองดาเนินการตามวรรคสามต่อไป ” มาตรา ๑๒ ให้ ค ณะกรรมการผัง เมื องซึ่ ง ดารงตาแหน่ ง อยู่ใ นวั นก่ อนวั น ที่ พ ระราชบั ญ ญัติ นี้ใช้ บั งคั บ คงอยู่ ใ น ตาแหน่งต่อไปจนกว่าจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการผังเมืองตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัตินี้ซึ่งต้องไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินใี้ ช้บังคับ การนับวาระการดารงตาแหน่งของกรรมการผังเมืองซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินใี้ ห้นับวาระการดารงตาแหน่งตามวรรคหนึ่ง เป็นวาระแรก มาตรา ๑๓ การวาง จัดทา และแก้ไขผังเมืองรวมที่อยู่ในระหว่างดาเนินการตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าเป็นการวาง จัด ทา และแก้ไขผังเมืองรวมตาม พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๔ บรรดากฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ คงใช้บังคับต่อไปได้จนกว่าจะมีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมที่ออกตาม พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่ง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินใี้ ช้บังคับ ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณีจัดทารายงานการประเมินผล การเปลี่ยนแปลง สภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมการใช้บังคับกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมตามวรรคหนึ่ง ตามระยะเวลาที่คณะกรรมการผัง เมืองกาหนด แต่ไม่เกินห้าปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินใี้ ช้บังคับ และให้นา มาตรา ๒๖ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินมี้ าใช้บังคับ โดยอนุโลม รายงานการประเมินผลการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่จัดทาขึ้นตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และได้เสนอคณะกรรมการผังเมืองก่อนวัน ที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่า เป็นรายงานการประเมินผลการ เปลี่ยนแปลงสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ -69-


ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนีค้ ือ โดยที่บทบัญญัติในกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง ซึ่งใช้บังคับอยู่ใน ปั จจุ บั นยั ง ไม่ มีมาตรการทางกฎหมายเพี ย งพอที่ จะท าให้ บ รรลุ วัต ถุ ป ระสงค์ ของการผั ง เมื องได้ แ ละไม่ ส ามารถใช้ บังคับ กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมได้อย่างต่อ เนื่อง อันเนื่องมาจากการวางและจัด ทา ผังเมืองรวมมีขั้นตอนและรายละเอี ยด มาก ทาให้ไม่อาจดาเนิ นการวางและจัดท าผั งเมื องรวมได้ทั นกาหนดเวลา ที่ผังเมืองรวมเดิม สิ้ นสุด ลง เป็นเหตุให้มีการใช้ ประโยชน์ที่ดินไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการผังเมือง ในระหว่างที่ยังไม่มีผังเมืองรวมฉบับใหม่ใช้บังคับ ประกอบกับใน ปัจจุบันได้มีการใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการกาหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่ง กฎหมายดังกล่าวมีบทบัญญัติที่กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีภารกิจในการผังเมืองด้วย ดัง นั้น เพื่อให้การวางและ จัดทาผังเมืองรวมและการใช้บังคับกฎหมายเป็นไปอย่างมีประสิท ธิภาพและเกิดประสิท ธิผลสูงสุด สมควรกาหนดกลไกทาง กฎหมายที่สามารถ ผลักดันให้การวางและจัดทาผังเมืองรวมบรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง รวมทั้งปรับปรุงองค์ประกอบ ของ คณะกรรมการผังเมืองให้เหมาะสม จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ กรวรรณ/ปรับปรุง 23 มีนาคม 2561

-70-


ผ จ  ู ด ั ท ำ อ ง ค ก  า ร บ ร ห ิ า ร ส ว  น จ ง ั ห ว ด ั ล พ บ ร ุ ี ก อ ง แ ผ น แ ล ะ ง บ ป ร ะ ม า ณ ฝ า  ย ต ร ว จ ต ด ิ ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ ม น ิ ผ ล แ ผ น ง า น โ ค ร ง ก า ร โ ท ร ศ พ ั ท /  โ ท ร ส า ร๐ ๓ ๖ ๔ ๑ ๑ ๔ ๐ ๓ต อ๑  ๐ ๔ h t t p : / / w w w . l o p p a o . c o m/ i c e n t e r / i n d e x . p h p


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.