1 บทนำ

Page 1

บทนํา เปนที่ทราบกันทั่วไปแลววา ในป ค.ศ. 2015 หรือป พ.ศ. 2558 นั้น อาเซียนจะทําการเปลี่ยนแปลงจาก รูปแบบการรวมตัวแบบสมาคม (Association) ไปเปนแบบประชาคม (Community) โดยแบงเปนสามเสาหลัก คือ เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community : APSC) เสาดานประชาคม เศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community : AEC) และเสาดานประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN SocioCultural Community : ASCC) อยางไรก็ตาม หนึ่งในสามเสาหลักที่ดูจะมีปญหาในการปฏิบัติมากที่สุดนั่นก็คือ เสา ดานประชาคมการเมืองและความมั่นคง ซึ่งไดมีการคาดการณไวแตแรกแลวเชนกันวา เสาดานนี้ จะมีปญหาในการ ผลักดันมากที่สุด เห็นไดจากประโยคสุดทายในหัวขอ Introduction ของหนังสือพิมพเขียวนั้นที่ระบุวา ‘[t]he APSC Blueprint would also have the flexibility to continue programmes/activities beyond 2015 in order 1 to retain its significance and have an enduring quality.’ อยางไรก็ตาม ถึงแมวา จะเขาใจดีวา เสาดานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีความยากในการ ปฏิบัติ แตก็ปวยการที่จะคิดในแงนั้น เพราะไมวาจะอยางไร ประเทศสมาชิกก็จําเปนตองทําใหเสาประชาคมดานนี้เกิด ขึ้นมาใหได ทั้งนี้ นักวิชาการดานอาเซียนและผูที่ทํางานเกี่ยวของกับเสาดานประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ไดนําเสนอหาทางจุดประกายการทํางานเพื่อใหเสาประชาคมดานนี้เริ่มตน และขยายตัวตอไปในอนาคต โดยหลาย ทานไดชี้ไปที่การหาบางสิ่ง ที่ประเทศสมาชิกอาเซียนนั้นมีความเห็นรวมกัน เชนเห็นวา เปนผลประโยชนหรือเปนภัย รวมกัน ซึ่งทําใหประเด็นเรื่องภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบ (Non-Traditional Security) นั้นเขามาอยูในความ สนใจ เชน การกอการราย อาชญากรรมขามชาติ และภัยธรรมชาติ เนื่องจาก เปนภัยที่แตละประเทศไมสามารถแกไข ปญหาดวยตนเองไดเพียงลําพัง ซึ่งจะเปนการบังคับกลาย ๆ ใหแตละประเทศนั้นจําเปนตองรวมมือกันแบบพหุภาคี และเปนจุดเริ่มใหแตละประเทศเรียนรูที่จะสละอํานาจอธิปไตยของตนบางสวนเพื่อผลประโยชนรวมกันในภูมิภาค ดวยสภาพปจจุบันของอาเซียนนั้น เปนองคกรความรวมมือระหวางประเทศ โดยผูนํารัฐบาลของแตล ะ ประเทศเปนผูมีอํานาจตัดสินใจบนพื้นฐานของปฏิญญาและความสมัครใจ ซึ่งไมไดมีกฎบัตรหรือกฎหมายใด ๆ ภายใต อาเซีย นที่สามารถบั งคับใช ประเทศสมาชิกได อยางมี ประสิ ทธิผล กลายเปนวา อาเซียนนั้น เปน เพียงพื้น ที่พูดคุ ย แลกเปลี่ยน และเจรจาตอรองของผูนํารัฐบาล และชนชั้นนําของประเทศสมาชิกบนพื้นฐานของผลประโยชนของชาติ หรื อ ผลประโยชน ข องผู นํ า ซึ่ ง ถึ ง แม อาเซี ย นจะประกอบด ว ย องค ก รที่ ไ ม ใ ช รั ฐ บาล (Non-governmental Organization) จํานวนมาก ที่สามารถเปนกลุมกดดัน (Pressure group) ซึ่งมีสวนกับการออกนโยบายของอาเซียน 2 แตสุดทายแลวการตัดสินใจทุกอยางอยูที่อํานาจของรัฐบาลของแตละประเทศสมาชิก อยางไรก็ตาม อาชญากรรม ขามชาติซึ่งเปนสวนหนึ่งของภัยดานความมั่นคงนอกรูปแบบนั้น อาจจะเปนความหวังใหเสาดานประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียนนั้นเดินหนาไปได เพราะการแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาตินั้น ตองอาศัยความรวมมือโดย ธรรมชาติอยูแลว จึงไมมีประเทศใดที่จะปฏิเสธที่จะใหความรวมมือ ซึ่งจะสงผลใหเกิดการรวมตัวในอนาคต อาชญากรรมขามชาติ เปนภัยที่รายแรงตอนานาอารยะประเทศที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งทุกประเทศ ตางตระหนักถึงภัยที่เกิดขึ้น ในประเทศไทยมีกลุมอาชญากรรมขามชาติเขามาเคลื่อนไหว และมีการเชื่อมโยงเปน เครือขายอาชญากรรมขามชาติ ทั้งในกรุงเทพมหานคร และตางจังหวัด โดยเครือขายอาชญากรรมขามชาติจะดํา เนิน ธุรกิจผิดกฎหมายที่มีผลตอบแทนสูง เชน การคามนุษย การคายาเสพติด การคาอาวุธ การลักลอบเขาเมือง การฟอก เงิน การฉอโกงขามชาติ ฯลฯ สรางความเสียหาย และสงผลกระทบดานเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ อยางหลีกเลี่ยงไมได ในการดําเนินนโยบายเปดประเทศดานการทองเที่ยว และการเปนศู นยกลางของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตของประเทศไทย จะทํ า ใหอาชญากรรมขา มชาติแอบแฝงเขามาในประเทศไทยในรูปแบบของ 1 2

ASEAN. (2009). ASEAN Political-Security Community Blueprint. Cini M. (2010). Intergovernmentalism. In M. Cini & Borragan N.P.S (Eds). Oxford University Press.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.