PRD-OperationMgt

Page 1

Operation Management

หัวขอการเรียนรู การบริหารการผลิต – ภาพรวมการจัดการดานการผลิต – การเลือกทําเลที่ตั้ง – การออกแบบผลิตภัณฑ – การสรางมูลคาเพิ่ม – การวางแผนการผลิต – การประมาณตนทุนการผลิต – การจัดการคลังสินคา – การจัดการดานคุณภาพ


ทําไมตองบริหารจัดการธุรกิจ เพื่อที่จะตอบสนองพลังหรือตัวเรง : 3C 1. Customer

2. Competition

3. Change

Electronic mail Letter

มุมมองเชิงระบบ โครงรางองคกร สภาพแวดลอม ความสัมพันธ และความทาทาย 2. การวางแผน เชิงกลยุทธ

5. การมุงเนน ทรัพยากรบุคคล 7. ผลลัพธ ทางธุรกิจ

1. การนํา องคกร 3. การมุงเนน ลูกคาและตลาด

6. การจัดการ กระบวนการ

4. การวัด การวิเคราะหและการจัดการความรู


z

Software z Auto industry z Fashion

z

Low Tech

Level of Sophistication

High Tech

ยุทธศาสตรของประเทศไทย

Foods

z

Low Touch Level of Customization

Tourism

Tourism

เมืองหลวงแหง การทองเที่ยวของเอเชีย

Foods

ครัวของโลก

Fashion

เมืองแฟชั่นระดับโลก

Auto

ศูนยกลางผลิตรถยนต ของโลก

High Touch Software

ศูนยกลางออกแบบ คอมพิวเตอรกราฟฟค ของโลก

คําถามกอน การผลิตสินคาและบริการ ซื้อวัตถุดบิ ทีไ่ หน ? ผลิตอะไร ? จะขายอยางไร ? ผลิตใหใคร ? ราคาเทาไร ? ผลิตเทาไร ? ฯลฯ ผลิตที่ไหน ? ผลิตอยางไร ? ผลิตเมื่อไร ? จะใชใครบางในการผลิต ?


การผลิตสินคา จาก อดีต

ปจจุบัน

ผลิตตามที่ผูผลิตเปนผูกําหนด ผลิตตามที่ลูกคาตองการ ผลิต/ใหบริการที่สรางความพึงพอใจแกลูกคา ผลิต/ใหบริการที่สรางความประทับใจแกลูกคา ผลิต/ใหบริการที่สรางใหลูกคาติดใจ

ความแตกตางระหวางผลิตภัณฑและบริการ ผลิตภัณฑ • • • • • •

จับตองไดเปนรูปธรรม มีความเกี่ยวของกับลูกคานอย ลูกคามีสวนรวมในการผลิตนอย สามารถบริโภคเมื่อไรก็ได ใชเครื่องมือเครื่องจักรในการผลิต วัดและประเมินคุณภาพไดงาย

บริการ • • • • • •

ไมสามารถจับตองได มีความเกี่ยวของกับลูกคามาก ลูกคามีสวนรวมมาก ตองบริโภคทันที ใชแรงงานเปนสวนใหญ วัดและประเมินคุณภาพไดยาก


กลยุทธที่นิยมใชในการผลิตและบริการ กลยุทธสรางความแตกตาง เชน ดานผลิตภัณฑ ดานบริการและ ภาพลักษณ กลยุทธการเปนผูนําดานตนทุน เชน มุงความเปนมาตรฐานเพื่อลด ตนทุน เกิดความประหยัดตอขนาดการผลิต เปนตน กลยุทธการตอบสนองอยางรวดเร็ว เชน การพัฒนาสินคาใหม การ ปรับปรุงสินคาเดิม การสงมอบไดทันเวลา และการใหความสําคัญ ในการตอบคําถามลูกคา เปนตน

ระบบการผลิต มูลคาเพิ่ม

ปจจัยนําเขา -เงินลงทุน -วัสดุ -เครื่องมือ -แรงงาน ขอมูล ดําเนินงาน

ผลลัพธ -สินคา -บริการ -ความคิด -ความสูญเสีย -ของเสีย

ระบบการแปรรูป -การแปลงสภาพ -การขนสง -การเก็บรักษา -การตรวจสอบ ดําเนินงาน การติดตาม ตรวจสอบและควบคุม

ขอมูล


กระบวนการใหบริการ คน , อุปกรณ, สิ่งอํานวยความสะดวก

กอนใหบริการ

ระหวPROCESS างการใหบริการ

หลังใหบริการ

กระบวนการใหบริการ

•สิ่งอํานวยความสะดวก •อุปกรณใหบริการ •พนักงานใหบริการ •ตัวลูกคา •ลูกคาคนอื่นๆ ที่เขามาใหบริการพรอมๆ กัน

ประสบการณ


การจัดการกระบวนการ (Process Management) กระบวนการหลัก (Main Process) ตลาด Market

กระบวนการ ออกแบบ (Design)

กระบวนผลิต กระบวนการขาย และบริการ และสงมอบ (Production/Service) (Sales&Delivery)

ตลาดและลูกคา Market&Customer

กระบวนการสนับสนุน (Support Process)

กระบวนการทางธุรกิจ (Business Process) Partner, Supplier, and Subcontractors

ความหมายของระบบบริหารการผลิต ระบบบริหารการผลิต (Production Management System)

“ระบบสําหรับจัดการกระบวนการผลิตขององคกร ในการเปลี่ยนรูปจาก ปจจัยนําเขา (Input) ไปอยูในรูปของผลิตภัณฑ/บริการที่มีมูลคาเพิ่มขึ้น” กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพ (Conversion Process)


การแบงประเภทการผลิต

1. การผลิตเขาเก็บ (Make-to-stock)

คําสั่งซื้อ

stock

ผลิต

ลูกคา

สินคา 2. การผลิตตามสั่ง (Make-to-order) คําสั่งซื้อ ผลิต

ลูกคา สินคา

การแบงประเภทการผลิต

3. การประกอบตามคําสั่ง (Assemble-to-order) ลูกคา

คําสั่งซื้อ

stock

สินคา ประกอบเปนผลิตภัณฑ

ผลิตเปนชิ้นสวน


การแบงประเภทการผลิต

4. วิศวกรรมตามสั่ง (Engineer-to-order) คําสั่งซื้อ ลูกคา

สินคา

ออกแบบทาง วิศวกรรม

ผลิต

Workshop

รานขาวแกง รานกาแฟสด รานขาวเหนียวหมูปง รานซักแหง รานจัดดอกไม รานเบเกอรี่ รับเหมาสรางบาน อูซอมรถ รถเมล มอเตอรไซดรับจาง SPA บริการลางรถ

รานขาวตม รานใหเชา VDO รานขายเครื่องใชไฟฟา รานขายและติดตั้งปมน้ํา รานตัดผม ราน Jewelry อาบอบนวด หอพัก โรงแรม Fitness สนามไดรกอลฟ บริการที่จอดรถ


ความหมายของการบริการ กิจกรรมของกระบวนการสงมอบสินคาที่ไมมีตวั ตน (Intangible goods) ของธุรกิจใหกับผูรับบริการ โดยสินคาที่ไมมี ตัวตนนัน้ จะตองตอบสนองความตองการของผูรับบริการจน นําไปสูความพึงพอใจได

ประเภทของธุรกิจบริการ ประเภทของบริการ

ตัวอยาง

คุณคาที่ลูกคาตองการ

1. ธุรกิจดานการเงินและการประกันภัย

ธนาคาร, บริษัทเงินทุน, บริษัทประกันภัย

หลักประภัน, ความมั่นคง, ไมทอดทิ้งลูกคา

2. ธุรกิจสื่อสารและบันเทิง

โรงภาพยนตร, ไปรษณีย, internet cafe’

ความรวดเร็ว, ความถูกตอง, ความสนุกสนาน

3. ธุรกิจขนสง

รถเมล, รถไฟ, สายการบิน, Taxi, บริษทั ขนสง

ความปลอดภัย, ความรวดเร็ว

4. ธุรกิจสุขภาพความงาม และแฟชั่น

รานตัดผม, สปา, รานตัดเสื้อ, ราน Jewelry

ความสวยงาม, ความสบายกาย สบายใจ

5. ธุรกิจทองเที่ยว

โรงแรม, บริษัททัวร, ไนตคลับ, สวนสัตว

ความสวยงาม, ความสะดวกสบาย

6. ธุรกิจการศึกษาและภาษา

โรงเรียน, สถาบันฯสอนตางๆ

คุณภาพของวิชาการ, การยอมรับ, ชือ่ เสียง

7. ธุรกิจใหคําปรึกษาแนะนํา

บริษัททีป่ รึกษา, ทนายความ, หมอดู

ความนาเชื่อถือ, คําแนะนําที่มีคุณภาพ

8. ธุรกิจรักษาพยาบาล

โรงพยาบาล, คลินิก, เนิรส เซอรี่

ความปลอดภัย, ความไววางใจ, ความถูกตอง

9. ธุรกิจซอมบํารุง

ซอมรถ, ลางแอร, ซอมเครื่องใชไฟฟา

ความรวดเร็ว, คุณภาพของงาน

10. ธุรกิจสรางบาน ทําความสะอาด และรักษาความปลอดภัย

บริษัทออกแบบบาน, ทําความสะอาด, บริษัทยาม ความซื่อสัตย, ความปลอดภัย, คุณภาพชอง งาน

11. ธุรกิจตัวแทน คนกลาง

หางสรรพสินคา, ตัวแทนจําหนาย, ประมูล

ความครบถวน,หลากหลาย ตรงตามที่ตองการ

12. ธุรกิจบริการสาธารณะ

ตํารวจ, สถานีดับเพลิง, กรมอุตุฯ, ศูนยขอมูล

ความถูกตอง, ยุติธรรม, ซื่อสัตย, รวดเร็ว


ลักษณะเฉพาะของการบริการ 1. ความไมมีตวั ตน (Intangibility) 2. การแยกจากกันไมได (Inseparability) 3. การเก็บรักษาไมได (Perish ability) 4. ความตองการที่ไมแนนอน (Fluctuating Demand) 5. ความแตกตางของการบริการในแตละครั้ง (Variability)

สวนผสมทางการตลาดในมุมมองธุรกิจและลูกคา มุมมองของธุรกิจ (7P)

มุมมองของลูกคา (7C)

1. ผลิตภัณฑ (Product)

1. คุณคาที่จะไดรับ (Customer Value)

2. ราคา (Price)

2. ตนทุน (Cost to Customer)

3. ชองทางการจําหนาย (Place)

3. ความสะดวก (Convenience)

4. การสงเสริมการตลาด (Promotion)

4. การติดตอสื่อสาร (Communication)

5. พนักงาน (People)

5. การดูแลเอาใจใส (Caring)

6. กระบวนการใหบริการ (Process)

6. การตอบสนองความตองการอยางครบถวน (Completion)

7. รูปลักษณที่พบเห็น (Physical Evidence)

7. ความสบาย (Comfort)


คุณคาที่ลูกคาตองการ คุณคาที่ลูกคาตองการ = สิทธิประโยชนทั้งหมด – ตนทุนทั้งหมด • หากสิทธิประโยชนทั้งหมด > ตนทุนทั้งหมด : ลูกคายอมพอใจ • หากสิทธิประโยชนทั้งหมด < ตนทุนทั้งหมด : ลูกคายอมไมพอใจ

บริการมีลักษณะเปนกระบวนการ (Process) ลูกคาโทรศัพทนัดหมอทําฟน

รอจายยา

เดินทางมารานหมอฟน

รับยา

จอดรถ

ชําระเงิน

ติดตอที่ Counter

รับใบนัดครั้งตอไป

นั่งรอ

ออกจากราน

ทําฟน

ไดรับการติดตอลวงหนา


ลักษณะความตองการและพฤติกรรม 1. ความตองการและพฤติกรรมของลูกคาแตละคนไมเหมือนกัน 2. ความตองการและพฤติกรรมของลูกคาสามารถจัดเปนกลุมได 3. ความตองการและพฤติกรรมของลูกคาเปลี่ยนแปลงได 4. พฤติกรรมอยางหนึ่งจะเปลี่ยนไป หากมีบริการใหมที่ตรงกับความ ตองการมากขึ้นมาตอบสนอง 5. ลูกคายังมีความตองการไมสิ้นสุดหรือไมจํากัด 6. บอยครั้งที่ลูกคาไมสามารถบอกความตองการของตนเองได 7. ลูกคาทุกคนมีความตองการและพฤติกรรมที่ซอนเรน

การเลือกทําเลที่ตั้ง ใกลแหลงตางๆ เชน วัตถุดบิ , ขนสง เพื่อลด คาใชจาย ใกลแหลงลูกคา ใกลแหลงแรงงาน การสื่อสาร สถานที่ตั้ง ทองทีต่ างๆ ทัศนคติ ภาษี กฎหมาย การขออนุญาตตางๆ คุณภาพและอายุการจัดเก็บ ราคาที่ดิน สาธารณูปโภค อื่นๆ เชน คูแขงในพื้นที่ การขยายใน อนาคต


การเลือกทําเลที่ตั้งสถานประกอบการทําเมื่อใด 1. เมื่อตั้งสถานประกอบการ ใหม เชน โรงงาน สถานีบริการ สํานักงาน 2. เมื่อหมดสัญญาเชาที่ดินเดิม 3. เมื่อตองการขยายกิจการ 4. ที่ตงั้ เดิมเสื่อมโทรม ในแงเศรษฐศาสตร หรือสังคม และการเมือง 5. ที่ตงั้ เดิมถูกกฎหมายบังคับ เชน เรื่องสิ่งแวดลอม เรื่องการหามใชน้ําบาดาล 6. เมื่อเกิดโอกาสใหม เชน แหลงวัตถุดิบใหม ตลาดใหม

การเปรียบเทียบที่ตั้งโรงงานกับสถานบริการ Manufacturing/Distribution

Service/Retail

คาใชจา ย

รายรับ/ยอดการซื้อ

คาใชจา ยในการขนสง

สถิติประชากร : อายุ , รายได อื่นๆ

คาใชจา ยและความพรอมของพลังงาน อํานาจการซื้อในพื้นที่ คาแรง/ความพรอม/ทักษะ

การแขงขัน

คาใชจา ยในการกอสราง

ความหนาแนนของลูกคา

ใกลแหลงวัตถุดิบ, แรงงาน, ทรัพยากร การเขาออก/ที่จอดรถ


1. การเลือกทําเลที่ตงั้ โดยวิธีเปรียบเทียบคาใชจาย ทําเลที่ตั้ง A

B

C

คาที่ดิน คาถมดินและทําถนน คาอาคาร - รวมคาลงทุนในปจจุบัน

13 2 10 25

20 4 10 34

8 5 12 25

คาใชจายรายป

15

16

10

40

50

35

- มูลคาปจจุบันของคาใชจายรายป

2. การเลือกทําเลที่ตงั้ โดยวิธีเปรียบเทียบคะแนน ปจจัย . - วัตถุดิบ - ตลาด - แรงงาน - การขนสง - น้ํา - ไฟฟา - การบําบัดของเสีย - ที่ดินและสิ่งกอสราง - สิ่งแวดลอม

รวม

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

400 300 300 250 200 200 150 150 150

ทําเ ลA 300 200 200 200 100 100 50 50 50

ทําเล B ทําเล C 250 250 200 250 200 250 200 180 150 180 150 180 100 140 120 130 120 130

2,000

1,260

1,400 1,490


การออกแบบผลิตภัณฑ • การวิเคราะหขอ มูลตางๆ เกี่ยวกับหนาที่ใชสอยของ ผลิตภัณฑ(Function) ขอมูลเกี่ยวกับผูบริโภค (Consumer, User) ขอมูลเกี่ยวกับการตลาด (Market) แลวนํามาออกแบบหรือปรับปรุงผลิตภัณฑ เพื่อชักจูงผูบริโภคเกิดความ ตองการที่จะซื้อผลิตภัณฑนั้น

แบบจําลองของ KANO กับความคาดหวังของลูกคา

Nothing Wrong

Anything Right


กระบวนการในการออกแบบผลิตภัณฑ เสนอแนว ความคิดตางๆ

ศึกษา ความเปนไปได

ทดสอบ Yes ออกแบบเบื้องตน ความเปนไปได No

ออกแบบ ขั้นสุดทาย

ผลิตภัณฑตนแบบ

การระบุขอกําหนด ของการออกแบบและการผลิต การผลิต

สิ่งที่จะตองคํานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ • กลุมเปาหมาย (Target Group) คือกลุมที่เปนผูบริโภคผลิตภัณฑ อาจจะ เปน ผูชาย ผูหญิง เด็ก คนชรา หมา แมว ซึ่งจะตองออกแบบอยางไรใหเหมาะสมกับ กลุมเปาหมาย

วางแผน กระบวนการผลิต


สิ่งที่จะตองคํานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ • รสนิยม (Style) เปนเรื่องของจิตวิทยา ถา กลุมเปาหมายมีฐานะดีและมี รสนิยมสูง จะออกแบบอยางไร เพื่อใหเขากับรสนิยมของ กลุมเปาหมายที่สุด หรือเปนแบบ สมัยใหมเรียบงาย

สิ่งที่จะตองคํานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ • กายภาพ (Ergonomics) รูปรางหนาตาของกลุมเปาหมายเปนอยางไร สัดสวน กริยา เชนขนาดมือ ระดับ สายตา ความสูง ฯลฯ ซึ่งจะตองนํามาใชในการออกแบบวาผลิตภัณฑนั้นใชงาน อยางไรเกี่ยวของกับอวัยวะใดบาง กลุมเปาหมายอาจเปน คนตัวใหญๆ หรือ ตัว เล็กๆ เชนเด็ก หรืออาจเปนคนพิการก็ได


สิ่งที่จะตองคํานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ • ประโยชนใชสอย (Function) คือ การใชงาน และหนาที่ การออกแบบที่ดีผลิตภัณฑตองสามารถใชงานไดดีดวย

สิ่งที่จะตองคํานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ • รูปแบบของผลิตภัณฑ (Physical) เกิดจากการนําเอารูปทรงตางๆ ตอไปนี้มาดัดแปลง เชน •ปรามิด •รูปทรงไข •ทรงกรวย •ทรงกลม •ทรงลูกบาศก •ทรงกระบอก


สิ่งที่จะตองคํานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ • วัสดุ (Material) วัสดุที่ใชในงานออกแบบมีหลาย อยาง เชน ไม พลาสติก โลหะ แกว ฯลฯ การเลือกใชวัสดุนั้น ตองสัมพันธและเหมาะสมกับ ผลิตภัณฑ คือ มีความแข็งแรง ทนทาน และสวยงาม

สิ่งที่จะตองคํานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ • การสื่อความหมาย (Representative) โดยปกติผลิตภัณฑที่สาํ เร็จออกมา โครงสรางทางรูปรางหนาตาของผลิตภัณฑจะ เปนสื่อแสดงความหมายแทนตัวของมันเองใหผูบริโภคทราบทันทีวา มันคืออะไร และใชภาระกิจแบบไหน ความตองการดานสื่อความหมายจึงเปนสิ่งที่คูกันกับโครงสรางของผลิตภัณฑที่ ขาดไมได


12 กลยุทธในการคิดคน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ขจัดออก ตรงกันขาม คาคงที่กับตัวแปร ปกติกับผิดปกติ รวมกันหรือแยกกัน ขยายกับยอ

7. 8. 9. 10. 11. 12.

ตอเติมกับเอาออก สับเปลี่ยนลําดับ ขนานกับอนุกรม จุดรวมหรือจุดตาง ทดแทน ทําใหงาย

การพยากรณ (Forecasting)


การพยากรณ (Forecasting) การพยากรณ (Forecasting)

“การคาดการณถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะเกิดขึ้นในชวงเวลาในอนาคต” เชน • การพยากรณสภาพอากาศ • การพยากรณยอดขายในไตรมาสตอไป • การพยากรณความตองการของตลาดที่มีตอผลิตภัณฑใหม • การพยากรณราคาน้ํามัน

เทคนิคการพยากรณ (Forecasting Techniques) การพยากรณแบงออกเปน 2 ประเภท

การพยากรณเชิงปริมาณ

(Quantitative Forecasting)

การพยากรณเชิงคุณภาพ

(Qualitative Forecasting)


เทคนิคการพยากรณ (Forecasting Techniques)

การพยากรณเชิงปริมาณ (Quantitative Forecasting)

• เปนเทคนิคที่อาศัยขอมูลในอดีตเปนหลัก • อาศัยหลักคณิตศาสตรหรือสถิติ มากําหนดเปนสูตรหรือวิธีการเพื่อชวยใน การพยากรณ อาทิเชน ¾

วิธีการปรับเรียบ (Smoothing Techniques)

¾

วิธีวิเคราะหการถดถอย (Regression Analysis)

เทคนิคการพยากรณ (Forecasting Techniques)

การพยากรณเชิงคุณภาพ (Qualitative Forecasting)

• อาศัยความรูสึกหรือสามัญสํานึกและประสบการณตาง ๆ ที่ผานมา • ใชรวมกับขอมูลที่ไดจากผูบริหารหรือผูที่มีหนาที่เกี่ยวของ • คํานึงถึงผลกระทบจากปจจัยตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก อาทิเชน ¾ การทําวิจัยการตลาด/การทําแบบสํารวจผูบริโภค ¾ การคาดการณโดยผูบริหารในองคกร


ขอมูลการพยากรณ (Forecasting Data)

ขอมูลทีม่ ีรปู แบบเปนแนวราบ (Horizontal Pattern)

ความตองการ

• ทิศทางไมเปนระบบ และอยูในแนวราบ

เวลา

ขอมูลการพยากรณ (Forecasting Data)

ขอมูลทีม่ ีรปู แบบเปนแนวโนม (Trend Pattern)

ความตองการ

• คาของขอมูลจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงเมื่อเวลาผานไป

เวลา


ขอมูลการพยากรณ (Forecasting Data)

ขอมูลทีม่ ีรปู แบบตามฤดูกาล (Seasonal Pattern)

ความตองการ

• ขอมูลขึ้นลงเนื่องจากอิทธิพลของฤดูกาล

เวลา

ขอมูลการพยากรณ (Forecasting Data)

ขอมูลทีม่ ีรปู แบบเปนวัฏจักร (Cyclical Pattern)

ความตองการ

• ขอมูลขึ้นลงซ้ําแบบเดิม ซึ่งชวงความยาวแตละรอบจะนานกวา 1 ป

เวลา


การวางแผน (Planning)

การวางแผนและควบคุมการผลิตอยางไร การวางแผนและควบคุมการผลิต หมายถึง การจัดระเบียบการไหลของงานในระบบ แลว ติดตามการ ทํางานนัน้ วาเปนไปตามแผนที่ไดวางไวหรือไม เพื่อที่จะสามารถแกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นไดทันเวลา โดยปกติแลวประกอบดวยขั้นตอนพื้นฐาน 3 ประการคือ 1. การวางแผนการผลิต

ตัดสินใจวาจะผลิตอะไร และตองใชวัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ และแรงงานอะไรบาง

2. การกําหนดขั้นตอน และตารางเวลา

จัดเตรียมลําดับการผลิต และกําหนดระยะเวลาการผลิต

3. การควบคุม

มอบหมายการดําเนินการตางๆ เพื่อเริ่มการผลิต แลว ติดตามผล การดําเนินการเพื่อเปนไปตามแผนงาน


รายละเอียดของผลิตภัณฑ กอนการวางแผนการผลิต จําเปนตองทราบขอมูลเบื้องตนของผลิตภัณฑ เชน วัตถุดิบที่ตองใช วิธีการผลิต ขั้นตอนการดําเนินงาน อุปกรณที่จะใชในการผลิต ประมาณเวลาที่ใชในการผลิตแตละขั้นตอน มาตรฐานผลิตภัณฑ หรือขอกําหนดตางๆ

การจัดทําแผนการผลิต เมื่อคุณเริ่มวางแผนการผลิต สิ่งที่ตองคิดคือ จะผลิตอะไร ผลิตเมื่อใด ผลิตจํานวนเทาใด ผลิต อยางไร และสิ่งที่จะตองพิจารณาประกอบ ไดแก เวลาเตรียมการจัดซื้อวัสดุ แรงงานทีม่ ีอยู และการทํางานลวงเวลา กําลังการผลิตของโรงงาน อุปกรณเครื่องมือที่ตองใช ลําดับขั้นตอนการทํางาน

ถาคุณมีโรงงานที่ผลิตงานตามคําสั่งซื้อของลูกคา สิ่งที่ตองทําคือ รอใหไดใบสั่งซื้อกอนถึง จะตัดสินใจวาจะผลิตอยางไร แตถาโรงงานของคุณเปนงานผลิตเพื่อขายเอง ก็ตองมั่นใจวาสินคา ที่ผลิตสามารถขายได


ประเภทของการวางแผนการผลิต z z

z

z z z

การวางแผนระยะยาว (Long-range capacity planning) การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate production planning) เปนแผนระยะกลาง การวางแผนการผลิตยอย (Desegregate production planning) เปนแผนระยะสั้น ตารางการผลิตหลัก (Master Production Schedule) การวางแผนความตองการวัสดุ (Material Requirement Planning;MRP) การวางแผนทรัพยากรการผลิต (Manufacturing Resources Planning;MRP II)

ความสัมพันธของการวางแผนการผลิต การพยากรณ

ระยะยาว ระยะกลาง ระยะสั้น

Long-range (Strategic) Capacity Planning

ระยะ ยาว

Aggregate Production Planning

ระยะ กลาง

Master Production Scheduling Material Requirements Planning Short-range Scheduling Production/Material Control and Feedback

Capacity Requirements Planning Capacity Control

ระยะ สั้น


การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) สภาพปจจุบัน • อัตราการผลิต • แรงงาน • สินคาคงคลัง • คําสั่งซื้อ • พยากรณ

ระยะกลาง

แผนการผลิตรวม

ขอจํากัดตาง ๆ • เครื่องมือ • บุคลากร • วัตถุดิบ • ทํางานลวงเวลา • การจางเหมา

แผนการผลิต: • อัตราการผลิต • ขนาดแรงงาน • ระดับสินคาคงคลัง

การจัดตารางการผลิตหลัก(Master Production Scheduling) การพยากรณ • กลาง • สั้น

แผนการผลิตรวม การสั่งซื้อของลูกคา • ขอจํากัดกําลังการผลิต • ขอจํากัดดานเวลานํา (Lead time)ของการผลิต

ระยะสัน้ ผลิตอะไร (กําหนด)

ตารางการผลิตหลัก

ผลิตเมื่อไร (เวลา) ผลิตจํานวน เทาไร(ปริมาณ)


การวางแผนความตองการวัสดุ (Material Requirements Planning) ตารางการผลิตหลัก (Master Production Schedule)

โครงสรางผลิตภัณฑ (Bill of Materials)

• • • • •

การวางแผนความตองการวัสดุ (Material Requirements Planning)

สถานะสินคาคงคลัง จํานวนทีม่ ีอยู การสั่งซือ้ ขนาดลอท เวลานํา สตอคเผื่อขาด

แผนการสั่งวัสดุ (Planned Order Release)

ใบสั่งซื้อ

ใบสั่งผลิต

ใบเปลี่ยนแปลงตารางผลิตใหม

(Purchase Orders)

(Work Orders)

(Rescheduling Notices)

สูตรการผลิต / Bill of Material (BOM) Clipboard

Clip Assembly (10)

Rivet (2)

Top Clip (1)

Bottom Clip (1)

Pivot (1)

Spring (1)

Sheet Metal (8 in2)

Sheet Metal (8 in2)

Spring Steel (10 in.)

Iron Rod (3 in.)

© 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e

Level 0

Board (1)

Pressboard (1)

Level 1

Finish (2oz.) Level 2

Level 3

Ch 13 - 8


กลยุทธในการวางแผนการผลิต • กลยุทธ หมายถึง ทางเลือกทางหนึ่ง ซึ่งเปนแผนที่จะใชตัวแปรใด ควบคุมกําลังการผลิต เชน (1) ยอมใหมีการเพิ่มหรือลดจํานวนพนักงาน (2) ยอมใหมีการทํางานลวงเวลา (3) ยอมใหมีการเก็บ Stock (4) ยอมใหมีการจางเหมาชวง (5) ทําหลายๆ อยางไปพรอมๆ กัน

โครงสรางตนทุน เงินเดือนพนง.ขาย คาเลี้ยงรับรอง คาโฆษณา คาโทรศัพท คาเสื่อมราคา คาบํารุงรักษา คาน้ํา ไฟฟา คาเชื้อเพลิง

คาแรงทางออม คาขนสง คาเบี้ยประกัน ตนทุนทางออม

วัตถุดิบทางตรง แรงงานทางตรง คาใชจายทางตรง

ตนทุนทางตรง

คชจ.ขาย คชจ. บริหาร

เงินเดือนบริหาร เงินเดือน/สวัสดิการ ดอกเบี้ย /ภาษี คาเชาอาคาร คชจ. สํานักงาน

กําไร คาใชจายการขาย และบริหาร ตนทุนการผลิต

ตนทุนรวม

ราคาขาย


รายละเอียดการจําแนกตนทุน ตามเวลา

ตามลักษณะ ตามสวนประกอบ ตามปริมาณ เพื่อการควบคุมและ การดําเนินงาน ผลิตภัณฑ กิจกรรม วัดผลการปฏิบัติงาน เพื่อการตัดสินใจ

ตนทุนการ ตนทุนวัตถุดิบ ตนทุนที่ ตนทุนสวนแตกตาง ตนทุนแปรผัน ผลิต ควบคุมได (Differential Cost) (Materials Cost) (Variable (Manufacturing (Controllable Cost) ตนทุนทดแทน Cost) Cost) ตนทุนแรงงาน ตนทุนทีห่ ลีกเลี่ยงได (Replacement (Avoidable Cost) ตนทุนทีไ่ มเกี่ยวกับ (Labor Cost) Cost) ตนทุนที่ลดได การผลิต คาใชจายหรือ ตนทุนคงที่ (Reducible ตนทุนในอนาคต (Non manufacturing ตนทุนคาเสียโอกาส โสหุยการผลิต (Fixed Cost) Cost) (Future Cost) (Opportunity Cost) Cost) (Overhead) ตนทุนในอดีต (Historical Cost)

โครงสรางตนทุนจําแนกตามสวนประกอบผลิตภัณฑ วัตถุดิบทางตรง

แรงงานทางตรง โสหุยการผลิต

ผลิตภัณฑ/บริการ แผนก

ปนสวนตนทุนที่เกิดขึ้น โดยอางอิงจากปจจัยใด ปจจัยหนึ่ง เพียงปจจัยเดียว


ความสัมพันธของงบประมาณประเภทตางๆ แผนระยะยาว

งบประมาณการลงทุน งบประมาณการขาย งบประมาณการผลิต

งบประมาณคาใชจา ยการขาย งบประมาณคาใชจา ยบริหาร

งบประมาณวัสดุทางตรง งบประมาณแรงงานทางตรง งบประมาณคาใชจา ยการผลิต

งบประมาณเงินสด งบกําไรขาดทุน งบดุล

การวิเคราะหจุดคุมทุน เปนการวิเคราะหเพื่อหาปริมาณที่ผลิตที่ทําใหมีคาเทากับตนทุน การผลิตและการดําเนินงาน ซึ่งประเภทตนทุนไดแก • ตนทุนคงที่(Fixed cost)คือตนทุนที่มีคาคงที่ในขณะที่ปริมาณ การผลิตคงที่ เชน คาเครื่องจักร คาเสื่อมราคา และคาเชาเปนตน • ตนทุนผันแปร(Variable cost)คือตนทุนที่เปลี่ยนแปลงไปตาม ปริมาณสินคาที่ผลิต เชน วัตถุดิบ และคาแรงงานทางตรง เปน ตน


การวิเคราะหจุดคุมทุน จํานวนเงิน รายรับ

BEP =

รายจาย

จุดคุมทุน

ตนทุนผัน แปร ตนทุนคงที่

F P −V

F = ตนทุนคงที่ P = ราคาตอหนวย V = ตนทุนผันแปรตอหนวย

ตัวอยางการวิเคราะหจุดคุมทุน • ผูจัดการโรงงานแหงหนึ่งตองการทราบวาเขาจะตองผลิตสินคากี่หนวยจึง จะคุมทุนโดยที่สายการผลิตมีตนทุนคงที่ 10,000 บาท ตนทุนผันแปร 50 บาทตอหนวย และสินคามีราคาขาย 75 บาทตอหนวย

BEP =

F 10,000 = = 400Unit P − V 75 − 50

เปนเงิน = (400)(75) = 30,000 บาท ดังนั้นเขาจะตองผลิตอยางนอย 400 หนวย หรือคิดเปนมูลคาสินคา 30,000 บาท


วัฏจักรของการบัญชีตนทุน ตนทุน วัตถุดิบ

คลังวัตถุดิบ

ตนทุน วัตถุดิบที่ใช

•คาวัตถุดิบ •คาตรวจสอบวัตถุดิบ •คาใชจายคลังวัตถุดิบ

โรงงาน •ตนทุนวัตถุดิบ •คาแรงงานทางตรง •โสหุยการผลิต

ตนทุน การผลิต

คลังสินคา

ตนทุนรวม จากการผลิต

•คาเก็บรักษาสินคา •คาตรวจสอบสินคา •คาใชจายคลังสินคา

สํานักงานขาย •คาใชจายในการขาย •คาใชจายการบริหาร •คาขนสงสินคา

ระบบตนทุน ระบบตนทุนงานสั่งทํา (Job Order Cost System)

ระบบตนทุนกระบวนการ (Process Cost System)

ระบบตนทุนมาตรฐาน (Standard Cost System)

ตนทุน รวม


ระบบตนทุนงานสั่งทํา • • •

ระบบตนทุนงานสั่งทําเปนระบบที่ใชกับโรงงานอุตสาหกรรมที่มี กระบวนการผลิตไมตอเนื่อง มีลักษณะเปนงานสั่งทําเปนชิ้น งานรับเหมา จางทํา การคิดตนทุนจะใชวิธีคํานวณตนทุนของแตละกระบวนการ สะสมกันไป จนเปนตนทุนของการผลิตของงานสั่งทําแตละงาน

ตัวอยางโรงงานที่ใชระบบตนทุนงานสั่งทําไดแก : โรงกลึง โรงงานผลิตชิ้นสวนรถยนต

ระบบตนทุนกระบวนการ • • •

ระบบตนทุนกระบวนการเปนระบบที่ใชกับโรงงานอุตสาหกรรม ที่มีกระบวนการผลิตตอเนื่อง มีลักษณะเปนการผลิตสินคาที่คอนขางเปนมาตรฐาน การผลิต สวนใหญจะผลิตเก็บไวเปน Stock กอนนําไปจําหนาย การคิดตนทุนจะใชวิธีสะสมตนทุนการผลิตสําหรับผลิตภัณฑ ทั้งหมด ในชวงเวลาที่กําหนด และหาตนทุนโดยวิธีเฉลี่ยตอ หนวย

ตัวอยางโรงงานที่ใชระบบตนทุนกระบวนการไดแก : โรงงาน เคมีภัณฑ, สี ,แกว, กระดาษ, ยาง, ปูนซีเมนต, เบียร


แนวทางการลดตนทุนการผลิต • การวิเคราะหตนทุน • การปรับปรุงการผลิตภาพและคุณภาพ • การประหยัดพลังงาน • การบริหารวัสดุคงคลัง • การบริหารดานการจัดสง • การวิเคราะห ผลิต หรือ ซื้อ • การบริหารการจัดซื้อและกลยุทธการตอรองราคากับผูขาย • การปรับปรุงประสิทธิภาพดานแรงงาน • การวางแผนและควบคุมการผลิต • ฯลฯ

การควบคุมสินคาคงคลัง (Inventory Control)


การควบคุมสินคาคงคลัง (Inventory Control) สินคาคงคลัง (Inventory)

• สตอคของสิ่งของที่เก็บไว • ใหเพียงพอตอความตองการของลูกคา

• วัตถุดิบ, สินคาสําเร็จรูป • ชิ้นสวนในระหวางกระบวนการ (Work in process: WIP)

• ชิ้นสวนประกอบ • ชิ้นสวนที่สั่งซื้อเขามา

การควบคุมสินคาคงคลัง (Inventory Control) วัตถุประสงคของการควบคุมสินคาคงคลัง “เพื่อกําหนดหาระดับของสินคาคงคลังที่จะเก็บ และเวลาที่จะตองสั่งเขามาเพิ่ม”

• เมื่อใดสมควรสั่งซื้อสินคา/วัตถุดิบ • ปริมาณสินคาที่สมควรสั่งซื้อเปนเทาไร I n v e n t o r y


การควบคุมสินคาคงคลัง (Inventory Control) คาใชจา ยสินคาคงคลัง และคาใชจายการใหบริการลูกคา Total cost (คาใชจายรวม) Inventory costs (คาใชจายสินคาคงคลัง)

Cost ($)

Customer service costs (คาใชจายการใหบริการลูกคา)

Inventory level

คาใชจายสินคาคงคลัง (Inventory Costs)

คาใชจายการจัดเก็บ (Carrying costs)

“ตนทุนในการเก็บสิ่งของไวในคลังสินคา รวมถึงตนทุนในการสูญเสียโอกาสที่จะนํา เงินไปใชประโยชนอื่น ๆ”

¾

ดอกเบี้ย

¾

คาเสื่อมของสินคา

¾

คาเชา, คาไฟ และระบบความเย็น

¾

คาดูแล และรักษาความปลอดภัย

¾

ฯลฯ


คาใชจายสินคาคงคลัง (Inventory Costs)

คาใชจายการสั่งสินคา (Ordering costs)

“คาใชจายที่เกี่ยวของกับการสั่งสินคาเพื่อ เติมสตอค คาใชจายนีข้ ึ้นกับจํานวนครั้งที่ สั่งสินคา”

¾

คาสั่งสินคา

¾

คาขนสง

¾

คาตรวจรับ

¾

คาเคลือ่ นยาย

¾

ฯลฯ

คาใชจายสินคาคงคลัง (Inventory Costs)

คาใชจายในการขาดสตอค (Shortage costs)

“คาเสียหายที่เกิดขึ้นจากการขาดสินคา ทํา ใหสูญเสียโอกาสในการขายทั้งชั่วคราว และ ถาวร”

¾

สูญเสียลูกคา

¾

คาปรับ

¾

สูญเสียโอกาสในการขาย

¾

กระบวนการผลิตหยุดชะงัก

¾

ฯลฯ


ระบบควบคุมสินคา (Inventory Control Systems) การแบงประเภทสินคาแบบ ABC (ABC Classification)

Class

ประเภท/ชนิด

มูลคา

การเคลื่อนไหว

A

5-15%

70-80%

เร็ว

B

~30%

~15%

C

~50-60%

~5-10%

ปริมาณสินคา

แบงประเภทเปน ABC

ปานกลาง ชา

A

B

C

ผลิตภัณฑ

ระบบควบคุมสินคา (Inventory Control Systems) ระบบควบคุมสินคาคงคลังแบบตอเนื่อง (Continuous Review System)

• สั่งซื้อเมื่อระดับสินคาคงคลัง ลดลงถึง จุดสั่งใหม (Reorder point)

• เกี่ยวของกับปริมาณการสั่งซื้อ แบบประหยัด (Economic order quantity)

Order quantity, Q

Demand rate

Inventory level

• บันทึกระดับสินคาคงคลังอยาง ตอเนื่อง

Reorder point, R

0

Lead time Order Order placed receipt

Lead time Order Order placed receipt

Time


ระบบควบคุมสินคา (Inventory Control Systems) ระบบสั่งตามรอบเวลา (Periodic Review System)

• จํานวนที่สั่งเขาจะไมคงที่ขึ้นกับ จํานวนสินคาคงคลังที่เหลือ • เชนเช็คสตอครานหนังสือใน มหาวิทยาลัย/เครื่องใชสํานักงาน ในบริษัท

Order quantity, Q Inventory level

• ระบบที่ระดับสินคาจะถูก ตรวจสอบเมื่อถึงชวงเวลาหนึ่ง เชน รายสัปดาห รายเดือน

30 20

0

1

การควบคุมคุณภาพ

2

3

4

Week


กระบวนการผลิต คน และเครื่องจักร

วัตถุดบิ

PROCESS

ผลิตภัณฑ

Finished files of financial information are the result of four years of scientific study combined with the experience of research from fifty professionals from the University of Frankfurt. These files will be frozen effective the first day of February.


ระบบการบริหารงานคุณภาพ ISO9000 :2000 4. การปรับปรุงระบบบริหารงานคุณภาพ อยางตอเนือ่ ง

ข ลู อ ก กํา ค ห า น ด

5. ความรับผิดชอบ ดานการบริหาร 8. การวัด, การวิเคราะห, การปรับปรุง

6. การจัดการ ทรัพยากร

ปจจัยนําเขา

7. การผลิต / บริการ

ผลผลิต

สินคา / บริการ

รูปแบบกระบวนการบริหารงานคุณภาพที่อยูบ นพื้นฐานของกระบวนการ คําอธิบาย:

เพิ่มมูลคา ขอมูล

Questions?

ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ

ลู ก ค า


กําพล กิจชระภูมิ ที่ปรึกษาดานบริหารการผลิต kampol_ftpi@yahoo.com kampol@ismed.or.th 081- 4205720


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.