Professional practies Business form

Page 1

1

Professional Practices INT 470


2

สารบัญ ตอนที่

1

เอกสารทางธุรกิจ (งานที่ปรึกษาโครงการ)

ศึกษาความเปนไปได Feasibility Study................................................................................................................................................................... 4 วิธีจัดทําแผนธุรกิจ.................................................................. ............................................. .................................................................................................................. 5

ตอนที่

2

เอกสารเพื่อใชประกอบวิชาชีพ (งานบริหารจัดการโครงการออกแบบ)

ตัวอยางแบบฟอรมการเสนองานโครงการออกแบบงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป................................18 ตัวอยางแบบฟอรมการเสนองานโครงการออกแบบ ภาษาอังกฤษ..... ........................................................... .....................................24 สัญญาจางเหมางานตกแตงภายในและเฟอรนิเจอร........................................................................................................................................ 28 สัญญาบริหารการกอสรางลักษณะตัวแทนเจาของ............................................................................................................................................34 สัญญาจางเขียนแบบกอสรางหรือตกแตง Working Drawing....................................................................................................................38 สัญญาจางทํา PERSPECTIVE.................................................... ........................................................................................................................................40 สัญญาจางทําแบบจําลอง Model Making.................................................... ............................................................................................................. 42

ตอนที่

3

กฎหมายและพระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543.................................. ........................................................................................................................................ 42 ใบสมัครสมาชิกสภาสถาปนิก.................................. ........................................................................... ....................................................................................64 หนังสือรับรองของผูป ระกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม.................................. ...................................................................................... 72

Professional Practices INT 470


3

คํานํา เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมเอกสารสัญญา สําคัญๆสําหรับการปฏิบัติวิชาชีพงาน ออกแบบภายในและมัณฑนศิลปในอนาคต รวมทั้งแบบฟอรม การทําขอเสนอและขั้นตอนการออกแบบ รวมทั้ง รายละเอียดกฎหมายพระราชบัญญัติ กฎกระทรวงตางๆที่เกี่ยวของกับการประกอบวิชาชีพสถาปนิกภายในหรือมัณฑนา กรตามความเหมาะสมที่นักศึกษาหรือผูที่สนใจ รวมทั้งบริษัท องคกรที่เกี่ยวของกับวิชาชีพมัณฑนศิลปและ สถาปตยกรรมภายในตางๆ นําไปประยุกตใชไดไมมากก็นอย อีกทั้งเปนประโยชนกับระบบการบริหารและการจัดการ สํานักงานหรือบริษัทที่ปรึกษางานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ซึ่งในปจจุบันวิชาชีพนี้เปนสวนหนึ่งในสาขา สถาปตยกรรมควบคุมตางๆ 4 สาขา ไดแก สาขาสถาปตยกรรมหลัก สาขาสถาปตยกรรมผังเมือง สาขาภูมิ สถาปตยกรรมและสาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป โดยไดมีการประกาศใหใชพระราชบัญญัติวิชาชีพ สถาปนิก พ.ศ. 2543 ตัวอยางและแบบฟอรมในเอกสารประกอบการสอนนี้ จะชวยใหนักศึกษาและผูที่ป ระกอบวิชาชีพงาน ออกแบบภายในและมัณฑนศิลป เปนมาตรฐานรูป แบบการทําเอกสารอยางมืออาชีพที่สามารถใชงานไดตาม กระบวนการขั้นตอนในการประกอบวิชาชีพไดจริง สามารถใชการประกอบธุรกิจในเบื้องตนจนถึงระดับสากล อีกทั้งเปน ประโยชนตอระบบการบริหารและการจัดการในรูปการดําเนินงานตางๆของสํานักงานออกแบบอีกดวย

อาจารยคงรัฐ สุนทรโรจนพัฒนา สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยรังสิต

Professional Practices INT 470


4

Business Document

การศึกษาความเปนไปได การพัฒนาโครงการ FEASIBIL IT Y ST UD Y

Professional Practices INT 470


5 FEASIBILITY STUDY การศึกษาความเปนไปได การพัฒนาโครงการ รายงานศึกษาความเปนไปได Feasibility Study เปนเครื่องมือสําหรับ การวิเคราะหโครงการที่จะพัฒนา เชน อพารทเมนตใหเชา เปนการศึกษา เพื่อใหรูถึงปญหาจุดเดนจุดดอยของโครงการทีจ่ ะทํา เพื่อใหทราบวาอพารทเมนตที่จะ พัฒนามีโอกาสทางธุรกิจ ที่จะสามารถกาวไปขางหนาไดอยางมั่นคง และมีผลตอบแทนที่นาพอใจเพียงใดกิจการที่จะ จัดตั้งขึ้นใหมหรือพัฒนาใหกาวหนาตอไปในอนาคตจําเปนตองถูกวิเคราะหป จจัยตางๆ อยางละเอียดและถูกตอง เพื่อ นําไปสูก ารกําหนดกลยุทธการดําเนินงานใหเกิดความ ไดเปรียบในการแขงขันไปจนถึงการวางแผนในดานการ บริหาร การตลาด และการเงินอยางเปนรูปธรรม นอกจากนั้นยังถูกนําไปใช ในการประเมินความสามารถในการชําระหนี้ สําหรับ ผูที่ตองการกูเงินจากสถาบันการเงิน ซึ่งมีความสําคัญไมนอยกวาหลักทรัพยที่ใช ค้ําประกัน การวิเคราะหความเปนไปไดของโครงการ : Project Feasibility Analysis การวิเคราะหความเปนไปไดของการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย เชน อพารทเมนต จะทําการวิเคราะหในหลายๆ ดาน เชน ที่ดิน ทําเลที่ตั้ง ทางเขาออก สภาพแวดลอม - การกอสราง .- กลุมเปาหมาย (Demand) .- คูแขง (Supply) วิเคราะห อัตราการเขาพัก คาเชา คาบริการตางๆที่เ รียกเก็ บจากผูเชา .- SWOT Analysis คือการวิเคราะห ปจจัยภายใน เป น การตรวจสอบความสามารถ ความพรอมของกิจการใน ดานตาง ๆ โดยมุงเนนในสวนตางๆ ดังนี้  จุดแข็ง (Strengths)  จุดออน ( Weaknesses)  โอกาส ( Opportunities)  อุป สรรค ( Threats) .- การเงิน สวนสําคัญที่สุดอยูที่การวิเ คราะห ท างดานการเงิน หรือเรียกอีกอยางวาการวิเคราะหความคุมคาการ ลงทุนซึ่งเปนปจจัยหลักที่กําหนด การตัดสินใจลงทุนหรือไมลงทุนในโครงการนั้นๆ -

ดัชนีที่ใชในการวิเคราะหความคุมคาของการลงทุนมี 3 ดัชนีหลักคือ 1. ระยะเวลาคืนทุ น (Payback period) คือระยะเวลาที่โครงการจะใหผลตอบแทนสุ ทธิสะสมเทากั บ เงิ น ลงทุ น 2. มูลคาปจจุบั น สุท ธิ (Net present value) คือมูลคา สุท ธิของรายไดและคาใช จายรวมตลอดโครงการ 3. อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal rate of return) คืออัตราผลตอบแทนที่โครงการใหกั บผูลงทุนกรณีถา ตัดสินใจลงทุนโครงการ เมื่อทราบคาของทั้ง 3 ดัชนี เจาของเงินทุนก็จะทราบทันทีวาโครงการจะใหผลกําไรหรือไม มากหรือนอยอยางไร เพื่อ นําไปสูการตัดสินใจ นับ เนื่องจากธรรมชาติไดสรางใหมนุษยไดวิวัฒนาการ

Professional Practices INT 470


6

วิธีจัดทําแผนธุรกิจ (Writing a Business Plan) แผนธุรกิจ (Business Plan) เปนเครื่องมือที่มีความสําคัญยิ่งสําหรับผูประกอบการที่ริเริ่มจะกอตั้งกิจการ แผนนี้เปนผลสรุป หรือผลรวมแหงกระบวนการคิดพิจารณา และการตัดสินใจที่จะเปลี่ยนความคิดของผูป ระกอบการออกมาเปนโอกาสทาง ธุรกิจ มีผูเปรียบเทียบวาแผนธุรกิจเปรียบเหมือนแผนที่ในการเดินทาง ที่จะชี้แนะขั้นตอนตางๆ ทีละขั้นตอนใน กระบวนการกอตั้งกิจการ แผนจะใหรายละเอียดตางๆ ทั้งเรื่องของการตลาดการแขงขันกลยุทธในการดําเนินธุรกิจ การ คาดคะเนทางการเงิน ที่จะชี้นําผูประกอบการไปสูความสําเร็จหรือชี้ใหเห็นถึงจุดออนและขอควรระวังดวยเชนกัน ถาเปรียบวาแผนที่ที่ดียอมจะใหรายละเอียดถนนหนทาง และทิศทางที่ชัดเจนแลว แผนธุรกิจก็ไมตางกันในการ ที่จะใหรายละเอียดอยางเพียงพอที่จะทําใหผูรวมลงทุนตัดสินใจไดวาธุรกิจนั้นควรจะรวมลงทุนดวยหรือไมจากแผนธุรกิจ จะทําใหผูรวมลงทุนเขาใจวัตถุประสงคของธุรกิจอยางชัดเจน เขาใจแนวคิดและปรัชญาของธุรกิจแผนปฏิบัติการ ปญหา อุป สรรค และหนทางที่เตรียมการเพื่อไปสูความสําเร็จถึงแมวาผูป ระกอบการจะใชเงินลงทุนของตัวเองไมตองการผูรวม ลงทุน หรือเงินกูจากสถาบันการเงินแผนธุรกิจก็ยังจําเปนอยูดีเพื่อใหผูประกอบการมีแผนที่ในการบอกทิศทางของการ ดําเนินกิจการในอนาคต แผนธุรกิจสําคัญอยางไร สําหรับ ผูป ระกอบการแลว แผนธุรกิจเปนเอกสารที่มีความสําคัญยิ่งกวาเอกสารใดๆ ที่เคยมีการรวบรวมมาความสําคัญ เหลานี้ไดแก

1. แผนธุรกิจสําคัญในฐานะที่จะใหรายละเอียดของการเริ่มตนธุรกิจ แผนธุรกิจทําใหผูประกอบการมีเปาหมายที่ ชัดเจน กําหนดแนวทางของความคิด และชวยใหผูป ระกอบการแนวแนตอการใชทรัพยากรและกําลังความพยายามเพื่อ ไปสูเปาหมาย

2. แผนธุรกิจสําคัญในฐานะเปนเครื่องมือที่จะแสวงหาเงินทุนจากผูรวมลงทุน จากกองทุนรวมลงทุน และจาก สถาบันการเงินตางๆ

3. แผนธุรกิจสําคัญในฐานะที่เปนเสมือนพิมพเขียวที่ใหรายละเอียดของกิจกรรมตางๆ ทั้งกิจกรรมในการจัดหา เงินทุน กิจกรรมในการพัฒนาผลิตภัณฑ กิจกรรมการตลาด และอื่นๆ ในการบริหารกิจการใหม แผนธุรกิจยังใชเพื่อ กําหนดการปฏิบัติงานที่ตอเนื่องในอนาคตของกิจการอีกดวย แผนธุรกิจควรมีอะไรบาง เนื่องจากแผนธุรกิจที่ดียอมชวยในการวัดถึงความเปนไปไดของกิจการที่จะลงทุนแผนจึงควรประกอบดวยการวิเคราะห อยางละเอียดในตัวแปรหรือปจจัยดังตอไปนี้

1. สินคาหรือบริการที่จะขาย 2. กลุมลูกคาที่คาดหวัง 3. จุดแข็งและจุดออนของกิจการที่จะทํา 4. นโยบายการตลาด เชน นโยบายดานราคา การสงเสริมการตลาด การกระจายสินคา 5. วิธีการหรือกระบวนการในการผลิต รวมถึงเครื่องจักร อุปกรณที่ตองใช

Professional Practices INT 470


7 6. ตัวเลขทางการเงิน นับตั้งแตรายไดที่คาดวาจะได คาใชจาย กําไร ขาดทุน จํานวนเงินลงทุนที่ตองการ และ กระแสเงินสดที่คาดวาจะไดมาหรือใชไป แผนธุรกิจที่ดี เมื่ออานแลวควรจะตองตอบคําถามเหลานี้ได

1. การกอตั้งธุรกิจเปนรูปรางชัดเจนขนาดไหน เสร็จสมบูรณแลวหรือยัง 2. ธุรกิจนี้นาลงทุนไหม 3. ธุรกิจมีแนวโนมหรือโอกาสที่จะประสบความสําเร็จตั้งแตเมื่อแรกตั้งมากนอยขนาดไหน 4. ธุรกิจนี้มีความไดเปรียบหรือความสามารถในการแขงขันในระยะยาวมากนอยเพียงใด 5. สินคาที่จะผลิตมีวิธีการผลิตที่มปี ระสิทธิภาพเพียงใด 6. สินคาที่ผลิตสามารถวางตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพเพียงใด 7. วิธีการผลิตและการวางตลาดสินคานั้น มีทางเลือกอื่นๆ ที่ประหยัดไดมากกวาหรือไม 8. หนาที่ตางๆ เชนการผลิต การจําหนาย การจัดการทางการเงิน การจัดการคน มีการจัดการที่ดีและเหมาะสม เพียงใด

9. จํานวนและคุณภาพของพนักงานที่ตองการมีเพียงพอหรือไม โดยสรุปแลวแผนธุรกิจที่มีการรวบรวมและเขียนขึ้นอยางดีนั้น ไมเพียงแตใหขอมูลที่เปนขอเท็จจริงเทานั้น ตัว แผนตองสามารถเปนเครื่องมือสื่อสารที่ดีที่จะสงผานความคิด ผลการวิจัยและแผนที่จะนําเสนอใหกับผูอาน โดยเฉพาะ อยางยิ่งเจาของเงินตองเปนพื้นฐานสําคัญของการบริหารและดําเนินกิจการที่จะจัดตั้งขึ้นนอกจากนี้ยังตองเปนเครื่องมือ ในการวัดผลความกาวหนาของกิจการ รวมถึงการประเมินถึงความเปลี่ยนแปลงที่จําเปน ดังนั้นนับไดวาการวางแผนธุรกิจ เปนเรื่องที่ตอ งพิถีพิถัน ใชเวลาใชความพยายามเสียคาใชจายแตผลลัพธที่ไดกลับ มาคือความแตกตางระหวาง ความสําเร็จและความลมเหลวของกิจการทีเดียว องคประกอบของแผนธุรกิจ แมวาองคป ระกอบของแผนธุรกิจจะไมไดมีกําหนดไวตายตัว หากแตองคประกอบหลัก ซึ่งนักลงทุนพิจารณาวา เปนสิ่งสําคัญและตองการรูจะประกอบดวยสิ่งเหลานี้ คือ

1. บทสรุปสําหรับผูบริหาร 2. ประวัติโดยยอของกิจการ 3. การวิเคราะหสถานการณ 4. วัตถุประสงคและเปาหมายทางธุรกิจ 5. แผนการตลาด 6. แผนการจัดการและแผนกําลังคน 7. แผนการผลิต/ปฏิบัติการ 8. แผนการเงิน 9. แผนการดําเนินงาน 10. แผนฉุกเฉิน

Professional Practices INT 470


8 หมายเหตุ : คูมือการจัดทําแผนธุรกิจ (Business Plan) ฉบับนี้ ยอจากเอกสารประกอบการบรรยายในโครงการอบรม วิทยากร หลักสูตร "การวางแผนธุรกิจ" ซึ่งสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมไดจัดทําขึ้น เพื่ออบรมคณะ จารยในระดับ อุดมศึกษาสังกัดทบวงมหาวิทยาลัยและกระทรวงศึกษาธิการ คูมือการจัดทําแผนธุรกิจฉบับยอนี้จะแสดงใหเห็นความสําคัญของแผนธุรกิจ แนวทางการเขียนแผนธุรกิจและ องคประกอบที่สําคัญของแผนธุรกิจพอสังเขป ผูประกอบการที่ริเริ่มประกอบกิจการหรือสิตนักศึกษา เยาวชนและบุคคล ทั่วไปที่มีความสนใจในการดําเนินธุรกิจสวนตัวสามารถนําไปศึกษาเพื่อเปนแนว ทางในการทําแผนธุรกิจตอไปได

องคประกอบที่ 1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร เปนสวนที่จะสรุป ใจความสําคัญๆ ของแผนธุรกิจทั้งหมดใหอยูในความยาวไมเกิน 1-2 หนา สวนนี้มี ความสําคัญ เพราะเปนสวนแรกที่ผูรวมลงทุนจะอานและจะตองตัดสินใจจากสวนนี้วาจะอานรายละเอียดในตัวแผนตอ หรือไม ดังนั้น บทสรุปผูบริหารจึงตองชี้ใหเห็นประเด็นสําคัญสองประการคือ หนึ่งชี้ใหเห็นวามีโอกาสจริงๆ เกิดขึ้นใน ตลาดสําหรับธุรกิจที่กําลังคิดจะทํา สองตองชี้ใหเห็นวาสินคาหรือบริการที่จะทํานั้นจะสามารถใชโอกาสใชโอกาสในตลาด ที่วานั้นใหเปนประโยชนไดอยางไร บทสรุปผูบริหารจึงตองเขียนใหเกิดความนาเชื่อถือ หนักแนน และชวนใหติดตาม รายละเอียดที่อยูในแผนตอไป ผูเขียนแผนควรระลึกไวเสมอวาคุณภาพของบทสรุป ผูบริหารจะสะทอนถึงคุณภาพของแผน โดยรวม จึงควรใหเวลากับการเขียนสวนนี้อยางพิถีพิถัน เนื้อหาในบทสรุปผูบริห ารควรจะกลาวถึงสิ่งตอไปนี้ 1.1 อธิบายวาจะทําธุรกิจอะไรและแนวคิดของธุรกิจนั้นเปนอยางไร พยายามอธิบายใหเห็นวาสินคาหรือบริการที่จะทํานั้นจะเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต หรือวิถีการใชสินคาหรือบริการไปจากเดิม อยางไร บอกดวยวาธุรกิจจะกอตั้งเมื่อไรสินคา/บริการมีคุณสมบัติพิเศษอะไรในแงรูปลักษณ ประโยชนใชสอยเทคโนโลยี ฯลฯ ที่จะไดเปรียบเหนือคูแขง หากธุรกิจดําเนินการมาเปนระยะเวลาหนึ่งแลว บอกดวยวาขนาดของธุรกิจใหญขนาดไหน มีความเติบโตกาวหนาในชวงที่ผานมาอยางไร

1.2 โอกาสและกลยุทธ สรุปวาอะไรคือโอกาสทําไมจึงนาในใจ และจะใชโอกาสนั้นดวยวิธีอยางไร ขอมูลสวนนี้ อาจนําเสนอในรูป ขอเท็จจริงของตลาดเงื่อนไขตลาด สภาพของคูแขง (เชนคูแขงขันไมปรับปรุงสินคามานานแลว คูแขงขัน กําลังเพลี่ยงพล้ําแนวโนมของอุตสาหกรรมและอื่นๆ ที่แสดงวาโอกาสทางการคากําลังเปดให

1.3 กลุมลูกคาเปาหมายและการคะเนลูกคาเปาหมาย ระบุและอธิบายยอๆ ถึงลักษณะตลาด ใครเปนกลุม ลูกคาหลัก จะจัดวางตําแหนงผลิตภัณฑอยางไรจะวาง แผนการเขาถึงลูกคาอยางไร รวมถึงขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงสราง ของตลาด ขนาด และอัตราการเติบโตของกลุมลูกคา ยอดขาย และสวนแบงตลาดที่คาดหมาย

1.4 ความไดเปรียบเชิงแขงขันของธุรกิจ ระบุถึงความไดเปรียบและความเหนือกวาในการแขงขัน เชนความ ไดเปรียบจากตัวผลิตภัณฑ การไดเปรียบจากการเขาตลาดกอน ความไดเปรียบจากการที่คูแขงขันอยูในภาวะออนแอ ตลอดจนเงื่อนไขอื่นๆ ของอุตสาหกรรมนั้นๆ

Professional Practices INT 470


9 1.5 ความคุมคาเชิงเศรษฐกิจและความสามารถในการทํากําไร บทสรุปใหเห็นถึงความคุมคาของการลงทุน เชน กําไรขั้นตน กําไรจากการดําเนินงานระยะเวลาของการทํากําไร ระยะเวลาการคุมทุน ระยะเวลาที่กระแสเงินสดจะเปน บวก การคาดหมายอัตราผลตอบแทนจาการลงทุน และการคาดคะเนผลตอบแทนทางการเงินอื่นๆ

1.6 ทีมผูบริหาร สรุปความรูความสามารถ ประสบการณ และทักษะของผูที่เปนตัวหลักในการกอตั้งและบริหาร พรอมสมาชิกในทีม บอกยอๆ ถึงความสําเร็จในอดีตโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับ การทํากําไร การบริหารงานและคน

1.7 ขอเสนอผลตอบแทน ระบุสั้นๆ ถึงเงินลงทุนหรือเงินกูที่ตองการจะเอาเงินไปทําอะไร จะตอบแทนเจาของเงิน อยางไร ผลตอบแทนของการลงทุนของเจาหนาที่หรือผูรวมลงทุนจะเปนเทาใด

องคประกอบที่ 2 ประวัติยอของกิจการ สวนนี้คือ การใหขอมูลเบื้อตนเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของการกอการทั้งในดานรูปแบบการจัดตั้งหรือจด ทะเบียน ตลอดจนแนวคิดและที่มาของการเล็งเห็นโอกาสทางการตลาด การคิดคนและพัฒนาสินคา/บริการ ที่ตองการ นําเสนอใหกับลูกคากลุมเปาหมาย นอกจากนี้ควรใหขอมูลเกี่ยวกับ เปาหมายระยะที่ตองการใหเปนในอนาคต

องคประกอบที่ 3 การวิเคราะหสถานการ ขั้นตอนแรกของการจัดทําแผนธุรกิจคือ การพยายามทําความเขาใจถึงสภาพแวดลอมของการดําเนินธุรกิจใน ปจจุบ ันและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงในอนาคตของปจจัยสําคัญๆที่สงผลกระทบตอสถานการณการแขงขัน ความ นาสนใจโดยรวมของอุตสาหกรรม ตลอดจนความสามารถในการทํากําไรและความพรอมในดานตางๆ ของกิจการ ดังนั้น การวิเคราะหสถานการณจึงเปนงานอันดับแรกที่สําคัญที่ผูประกอบการควรกระทําเพื่อใชเปนขอมูลในการกําหนดทิศทาง กลยุทธ และแผนการดําเนินงานของกิจการ การวิเคราะหสถานการณหรือเรียกอยางยอๆ วา SWOT ANALYSIS

1) การวิเคราะหปจจัยภายใน หมายถึง การตรวจสอบความสามารถและความพรอมของกิจการในดานตางๆ ทั้งนี้โดยมุงเนนการวิเคราะหในสวนที่เปนจุดแข็ง (Strengths) และจุดออน (Weaknesses) ของกิจการ 2) การวิเคราะหปจจัยภายนอก หมายถึง การประเมินสภาพแวดลอมในการดําเนินธุรกิจที่ผูประกอบการไม สามารถควบคุม หรือเปลี่ยนแปลงได ดังนั้นจึงตองพยายามเขาใจในสถานการณป จจุบ ันและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงใน อนาคตของสภาพแ;ดลอมดังกลาว เปนไปในลักษณะที่เปนโอกาส (Opportunities) หรืออุปสรรค (Threats) ในการ ดําเนินธุรกิจ ผลลัพธจากขั้นตอนของการวิเคราะหสถานการณคือ บทวิเคราะหความเปนไปและแนวโนมการเปลี่ยนแปลง ของการดําเนินธุรกิจที่เปนประโยชนในการกําหนดกลยุทธดานตางๆ ของกิจการ

องคประกอบที่ 4 วัตถุประสงคและเปาหมายทางธุรกิจ

Professional Practices INT 470


10 วัตถุประสงคและเปาหมายทางธุรกิจ หมายถึง ผลลัพธทางธุรกิจที่กิจการตองการไดรับ ในชวงระยะเวลาของ แผนซึ่งโดยทั่วไปเปาหมายทางธุรกิจอาจเปนเปาหมายโดยรวมของกิจการและเปาหมายเฉพาะดานในแตละแผนกหรือ ลักษณะงาน เชน เปาหมายทางการตลาด เปาหมายทางการจัดการ เปาหมายทางการผลิต และเปาหมายทางการเงิน เปนตน นอกจากนี้เปาหมายทางธุรกิจอาจแบงเปนเปาหมายระยะสั้นคือ ภายใน 1 ป เปาหมายระยะกลางประมาณ 3-5 ป และเปาหมายระยะยาวที่นานกวา 5 ป ลักษณะของเปาหมายของธุรกิจที่ดีมี 3 ประการคือ

1) มีความเปนไปได หมายความวา กิจการมีโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายได หากไดมีการดําเนินงานอยางเต็มที่ ตามแผนธุรกิจที่วางไว การกําหนดเปาหมายทางธุรกิจควรประเมินจากสภาพแลดลอมในการดําเนินธุรกิจทั้งภายนอก และภายใจกิจการ กลาวคือ ไมควรตั้งเปาหมายที่เลื่อนลอยเกินความจริงจนทําไมได และกอใหเกิดความทอแทแตก็ไม ควรตั้งเปาหมายที่งายจนเกินไปจนไมตองทุม เทความพยายามใดๆ ก็สามารถที่จะบรรลุเปาหมายไดโดยงาย เปาหมายที่ ดีจึงควรเปนผลลัพธที่ทําไดยากแตมีความเปนไปได

2) สามารถวัดผลไดอยางเปนรูปธรรม หมายถึงมีความชัดเจนที่สามารถประเมินไดวากิจการบรรลุตาม เปาหมายนั้นหรือไม ทั้งนี้โดยทั่วไป ควรจะตองกําหนดระยะเวลาใหชัดเจนวาจะตองบรรลุถึงเปาหมายนั้นภายใน ระยะเวลาเทาใด

3) เปนไปในทิศทางเดียวกัน หมายถึง เปาหมายยอยๆ ในแตละฝายควรมีความสอดคลองและเปนไปในทิศทาง เดียวกัน พรอมทั้งในแนใจวาเปาหมายระยะสั้นๆเปนไปเพื่อสนับสนุนและสงเสริมเปาหมายในระยะปานกลางและระยะ ยาว กลาวคือ ไมมุงหวังเพียงกําไรหรือผลลัพธในระยะสั้นมากจนเกินไป โดยเฉพาะหากผลในระยะสั้นนั้นจะกอใหเกิด ผลเสียไดในระยะปานกลางและระยะยาว

องคประกอบที่ 5 แผนการตลาด แผนการตลาด คือ การกําหนดทิศทางและแนวทางในการทุมเทความพยายามทางการตลาด ตลอดจนกลไกใน การตรวจสอบและประเมินผลกิจกรรมการตลาดไวลวงหนาโดยใชประโยชนจากความเขาใจที่ไดรับ จากการวิเคราะห สถานการณในองคประกอบที่ 3 มาพิจารณารวมกับ วัตถุประสงคและเปาหมายทางธุรกิจที่กําหนดไวในองคประกอบที่ 4 ดังนั้น การวางแผนการตลาดจึงเปนการกําหนดกลยุทธและวิธีในการดําเนินกิจกรรมทางการตลาดเพื่อให กิจการสามารถบรรลุวัตถุป ระสงคและเปาหมายที่มุงหวัง โดยคํานึงถึงการใชทรัพยากรทางการตลาดใหเกิดประโยชน สูงสุดในการตอบรับกับความเปนไปและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมในดําเนินธุรกิจทั้งภายนอกและ ภายในกิจการ เนื้อหาของแผนการตลาดตองตอบคําถามหลักๆ ใหกับผูประกอบการอยางตอนอยดังตอไปนี้ คือ

    

เปาหมายทางการตลาดที่ตองทําใหไดในระยะเวลาของแผนคือเรื่องอะไรบาง ใครคือลูกคากลุมเปาหมาย ทั้งกลุมเปาหมายหลักและกลุมเปาหมายรอง จะนําเสนอสินคา/บริการอะไรใหกลุมเปาหมาย ในราคาเทาใด และดวยวิธีการใด จะสรางและรักษาความพึงพอใจใหกับกลุมเปาหมายเหลานั้นไดดวยวิธีการใดบาง ถาสถานการณไมเปนไปตามที่คาดหวังไวจะปรับตัวหรือแกไขอยางไร

Professional Practices INT 470


11 ในการตอบคําถามดังกลาวขางตน ผูประกอบการจําเปนตองใชความรู ความสามารถ ตลอดจนประสบการณและความ วิจารณญาณที่ดี ในการกําหนดเปาหมาย กลยุทธ และวิธีการทางการตลาดสําหรับกิจการตามองคประกอบที่สําคัญของ แผนการตลาดซึ่งมีเนื้อหาหลัก 4 สวน ดังตอไปนี้ คือ

      

เปาหมายทางการตลาด การวิเคราะหกลุมเปาหมาย กลยุทธและกิจกรรมทางการตลาด กลยุทธการตลาดเพื่อความไดเปรียบในการแขงขัน กลยุทธเพื่อการเติบ โตทางการตลาด กลยุทธสวนประสมทางการตลาด การควบคุมและประเมินผลทางการตลาด

องคประกอบที่ 6 แผนการจัดการและแผนคน ในสวนนี้ผูจัดทําแผนจะตองระบุโครงสรางขององคการใหชัดเจน โดยแสดงแผนผังโครงสรางขององคกรวา ประกอบไปดวยหนวยงานอะไรบาง หนวยงานแตละหนวยมีความรับผิดชอบอะไร รวมถึงตําแหนงผูบ ริหารหลักๆ ของ องคการโครงสรางของคณะกรรมการและการถือหุน การเขียนในสวนนี้ควรจะทําใหผูอานเห็นวาคณะผูบ ริหารรวมตัวกัน ในลักษณะเปนทีมที่ดีในการบริหาร มีความสมดุลในดานความรู ความสามารถที่ครบถวน ทั้งดานเทคนิคและการบริหาร มีความชํานาญและประสบการณในกิจการที่ทํา รายละเอียดในสวนนี้ป ระกอบดวยหัวขอดังตอไปนี้ คือ

1) โครงสรางองคกร 1.1 ตําแหนงงานหลักๆ ขององคการ คนที่จะมาดํารงตําแหนงพรอมทั้งแผนผังองคการ1.2 หาก ผูบ ริหารคนใดคนหนึ่ง ไมสามารถปฏิบ ัติหนาที่ไดเต็มเวลา ตองระบุวาใครจะเปนผูชวยในงานนั้น เพื่อ ทําใหงานสมบูรณ

1.3 หากทีมงานผูบริหารเคยทํางานรวมกันมากอนใหระบุวาเคยทํางานอะไร มีความสําเร็จในฐานะทีม ที่ดีอะไรบาง

2) ตําแหนงบริหารหลัก 2.1 ระบุวาตําแหนงบริหารหลักๆ มีความรู ความชํานาญอะไรบางและมีความเหมาะสมในตําแหนง งานนั้นอยางไร

2.2 ระบุบทบาท ภาระความรับผิดชอบของแตละตําแหนงในทีมบริหาร 2.3 อาจใสประวัติสั้นๆ ของทีมบริหารเอาไวในสวนนี้ดวยก็ได หรือมิฉะนั้นอาจนําไปใสไวรวมกันใน ภาคผนวก

Professional Practices INT 470


12 3) ผลประโยชนตอบแทนแกผูบริหาร ระบุเงินเดือนที่จายแกผูบริหาร ตลอดจนผลประโยชนในรูปแบบอื่นๆ และ สัดสวนการถือหุน ของผูบริหารแตละคน

4) ผูรวมลงทุน ระบุผูรวมลงทุนอื่นๆ และเปอรเซ็นตการถือหุน 5) คณะกรรมการบริษัท ระบุคุณสมบัติของกรรมการบริษัท องคประกอบและภูมิหลังของกรรมการแตละคนวาจะเปนประโยชนตอกิจการอยางไร

องคประกอบที่ 7 แผนการผลิต การจัดทําแผนการผลิต/ปฏิบัติการ หลังจากที่ผูประกอบการ ไดทําการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอกของกิจการ ตลอดจนกําหนด วัตถุประสงคทางธุรกิจและแผนกลยุทธของกิจการในภาพรวม เพื่อสรางความไดเปรียบเชิงแขงขันแลว ผูประกอบการ จําเปนตองถายทอดสิ่งเหลานั้นใหออกมาเปนแผนการผลิต/ปฏิบัติที่สอดคลองและเชื่อมโยงกับแผนธุรกิจสวนอื่นๆ ของ บริษัท อันไดแก แผนการตลาด แผนการบริหารและจัดการบุคลากรและแผนการเงิน เพื่อสนับ สนุนและสงเสริมใหองคกรมี ศักยภาพในการบรรลุเปาหมายตามแผนนั้นๆ แผนการผลิต/ปฏิบัติการที่ดีจะตองสะทอนความสามารถของกิจการในการจัดการกระบวนการผลิตและ ปฏิบัติการใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขันใหกับ ธุรกิจ โดยมุงเนนประเด็นการจัดการไป ยังระบบการแปลงสภาพวัตถุดิบ และทรัพยากรในการผลิตใหเปนผลผลิตซึ่งสามารถแสดงความสัมพันธไดดังแผนภาพที่

1 โดยวัตถุดิบและทรัพยากรนั้น หมายถึง ปริมาณวัตถุดิบที่ใช ชั่วโมงแรงงานที่ทําการผลิต หรือคาใชจายรวมของ ทรัพยากรทุกอยางที่ใชไดแก คาวัตถุดิบ คาแรงงาน เงินลงทุน และอื่นๆ สําหรับ กระบวนการผลิตและปฏิบัติการ หมายถึง กระบวนการในการแปลงสภาพวัตถุดิบ และทรัพยากรการผลิตใหเปนผลผลิต และผลผลิตนั้น หมายความถึง จํานวนหรือ มูลคาของสินคาและบริการที่ผลิตได

Professional Practices INT 470


13

ในการวางแผนการผลิต/ปฏิบัตินั้น ผูประกอบการตองพิจารณาตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวของกับ การผลิตและ ปฏิบัติการภายในกิจการตามประเด็นที่สําคัญๆ รวม 10 ประเด็นดังตอไปนี้ คือ

1. คุณภาพ 2. การออกแบบสินคาและบริหาร 3. การออกแบบกระบวนการผลิตและปฏิบัติการ และการตัดสินใจเรื่องกําลังการผลิต 4. การเลือกสถานที่ตั้ง 5. การออกแบบผังของสถานประกอบการ 6. การออกแบบระบบงานและการวางแผนกําลังคน 7. การจัดกระบวนการจัดสงวัตถุดิบ และสินคาสําเร็จรูป (Supply-Chain Management) 8. ระบบสินคาคงคลัง 9. กําหนดการผลิตและปฏิบัติการ 10. การดํารงรักษาเครื่องมือและเครื่องจักร

องคประกอบที่ 8 แผนการเงิน ในการจัดทําแผนธุรกิจนั้น กิจการตองทราบใหไดวาแผนที่จะจัดทําขึ้นนั้น เปนไปตามวัตถุป ระสงคที่ตั้งไวหรือไม การที่จะบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว จะตองใชเงินลงทุนจํานวนเทาใด จะไดมาจากแหลงใดบางจากแหลงเงินทุนภายใน Professional Practices INT 470


14 ในรูปของเจาของกิจการ หรือแหลงเงินทุนภายนอกในรูป ของการกูยืมจากเจาหนี้ เรียกวา กิจกรรมจัดหาเงิน(Financing

Activities) จากนั้นจะเปนเรื่องของการตัดสินใจนําเงินไปลงทุน กิจกรรมนี้เรียกวา กิจกรรมลงทุน (Investing Activities) ซึ่งจะแตกตางไปตามประเภทของธุรกิจ กิจกรรมที่สําคัญตอเนื่องจากกิจกรรมดังกลาวขางตนคือ กิจกรรม ดําเนินงาน (Operating Activities) ซึ่งจะประกอบไปดวยการผลิต การซื้อ การขาย และการจายคาใชจายตางๆ การตัดสินใจเกี่ยวกับกิจกรรมหลักทั้งสาม คือ กิจกรรมจัดหาเงิน กิจกรรมลงทุน และกิจกรรมดําเนินงานจะเปน ปจจัยสําคัญตอความสําเร็จของการดําเนินธุรกิจ นักบัญชีจะเปนผูนําเสนอผลของกิจกรรมทั้งสาม และสรุปออกมาเปน งบการเงิน (Financial Statements)ซึ่งเปนรายงานสรุปขั้นสุดทายของขบวนการจัดทําบัญชี ที่แสดงใหเห็นถึงขอมูลทาง การเงินของธุรกิจหรืออาจจะเปนงบการเงินที่ครอบคลุมการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ทั้งนี้ เพื่อใหทราบวาในรอบระยะเวลาที่ผานมานั้น ธุรกิจมีฐานะการเงินอยางไร กําไรหรือขาดทุน มีการเปลี่ยนแปลงในเงินสด อยางไรบาง เพิ่มขึ้นหรือลดลง และสาเหตุเกิดจากอะไร งบการเงินประกอบดวย (1) งบดุล เปนรายงานที่แสดงถึงฐานะของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง ในงบดุลจะประกอบไปดวยขอมูลทาง การเงินที่แสดงถึงฐานะของกิจการ คือ ขอมูลเกี่ยวกับสินทรัพย หนี้สินและสวนของผูเปนเจาของ

(2) งบกําไรขาดทุน เปนงบที่แสดงถึงผลการดําเนินงานของกิจการโดยแสดงรายได คาใชจายและกําไรสุทธิหรือ ขาดทุนสุทธิ ในชวงระยะเวลาหนึ่ง

(3) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของสวนของผูเปนเจาของหรือสวนของผูถือหุนประกอบไปดวย 2 สวนดวยกัน คือ

 ทุนเรือนหุน  กําไรสะสม งบนี้จึงแสดงใหเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของทุนเรือนหุนและกําไรสะสม

(4) งบกระแสเงินสด เปนงบการเงินที่ใหขอมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินใดในรอบระยะเวลาใด เวลาหนึ่ง จะรายงานใหทราบวา เงินสดในปป จจุบันที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงนั้น มีสาเหตุจากอะไรในกิจกรรม3 ประเภท ดังตอไปนี้

1. กิจกรรมดําเนินงาน 2. กิจกรรมลงทุน 3. กิจกรรมจัดหาเงิน (5) นโยบายบัญชี หมายถึง หลักการบัญชีหรือวิธีปฏิบัติที่กิจการใชในการจัดทําและนําเสนอ งบ การเงิน เนื่องจากหลักการบัญชีที่กิจการเลือกใชมีไดหลายวิธี วิธีการบัญชีที่กิจการเลือกใชจะมีผลกระทบตองบ การเงินไมเหมือนกัน กิจการจึงตองบอกขอมูลดังกลาวใหผูใชในงบการเงินทราบ โดยทั่วไปแลวกิจการควร เปดเผยนโยบายบัญชีในเรื่องตอไปนี้ไวในงบการเงิน

 วิธีการรับรูรายได การตีราคาสินคาคงเหลือ

Professional Practices INT 470


15 การตีราคาเงินทุน คาเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ วิธีการคิดคาเสื่อมราคา และการตัดบัญชีสินทรัพยไมมีตัวตน การแปลงคาเงินตราตางประเทศ การจัดทํางบการเงินรวม

องคประกอบที่ 9 แผนการดําเนิน งาน หลังจากผูป ระกอบการกําหนดกลยุทธในดานตางๆ ของกิจการอยางรอบคอบและครบถวนแลวขั้นตอนตอมาก็ คือ การจัดทํารายละเอียดของกลยุทธดังกลาว โดยการกําหนดกิจกรรมของกลยุทธแตละดานใหเปนรูปธรรมที่ชัดเจน ในทางปฏิบ ัติ ผูป ระกอบการอาจจะทําแผนการดําเนินงานในลักษณะของตารางที่มีรายละเอียดของเปาหมาย กลยุทธ วิธีการ งบประมาณ และระยะเวลาดําเนินการ โดยจัดทํารายละเอียดเปนรายเดือนหรือรายสัปดาห ตามที่ ผูป ระกอบการเห็นสมควร

Professional Practices INT 470


16

องคประกอบที่ 10 แผนฉุกเฉิน แผนฉุกเฉินเปนการเตรียมแนวทางการดําเนินงานไวลวงหนาในกรณีที่สถานการณ หรือผลลัพธจากการ ดําเนินงานไมเปนไปตามที่คาดไว หรือมีเหตุการณที่ไมคาดฝนเกิดขึ้นจนเปนผลกระทบในทางลบกับกิจการ ซึ่งโดยทั่วไป ผูป ระกอบการควรอธิบายลักษณะความเสี่ยงทางธุรกิจที่อาจสงผลใหการดําเนินธุรกิจไมเปนไปอยางราบรื่นตามแผน ธุรกิจที่ไดกําหนดไว ตัวอยางของประเด็นความเสี่ยงทางธุรกิจและการเตรียมพรอมทีค่ วรระบุไวในแผนฉุกเฉินไดแกกรณีดังตอไปนี้

 ยอดขายหรือการเก็บเงินจากลูกหนี้ไมเปนไปตามคาดหมายจนทําใหเงินสดหมุนเวียนขาดสภาพคลอง Professional Practices INT 470


17  ธนาคารไมใหเงินกูหรือลดวงเงินกู  คูแขงตัดราคาหรือจัดกิจกรรมสงเสริมการขายอยางตอเนื่องระยะยาว  มีคูแขงรายใหมที่มีขนาดใหญกวา ทันสมัยกวา มีสินคาครบถวนกวา ราคาถูกกวา เขาสูอุตสาหกรรม หรือมาตั้งอยูในบริเวณใกลเคียง

      

สินคาถูกลอกเลียนแบบและขายในราคาที่ถูกกวา มีป ญหากับหุนสวนจนไมสามารถรวมงานกันได สินคาผลิตไมทันตามคําสั่งซื้อเนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบ สินคาผลิตมากจนเกินไป ทําใหมีสินคาในมือเหลือมาก เกิดการชะงักการเติบโตของทั้งอุตสาหกรรม ตนทุนการผลิต/การจัดการสูงกวาที่คาดไว ฯลฯ

คณะศิลปกรรม

มหาวิทยาลัยรังสิต Professional Practices INT 470

หมูบา นเมืองเอก ถนนพหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี โทร 02-9972222 ext. 3435 Fax. 3435 E-mail : kongrat@angsit.rsu.ac.th www.rsu.ac.th/arts


18

(งานบริหารจัดการโครงการออกแบบ)

ตัวอยางแบบฟอรม การเสนองานโครงการออกแบบ งานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

Professional Practices INT 470


19 ตราสัญลักษณ บริษัท

รายละเอียดการบริการวิชาการงานออกแบบภายใน โครงการ……………………………………………………………. 1.

รายละเอียดของโครงการ Area

50 m2

- ……………………………………………………………. - ……………………………………………………………. - ……………………………………………………………. - ……………………………………………………………. - ……………………………………………………………. - ……………………………………………………………. - ……………………………………………………………. - …………………………………………………………….

ทั้งนี้โดยรวมประมาณราคาคากอสรางงานตกแตงภายในทั้งหมด โดยคิดประมาณตารางเมตรละ …………………… บาท เปนจํานวนเงินโดยประมาณทั้งสิ้น…………………………………………………………….บาท (…………………………………………………………….) โดย ไมรวมอุปกรณพิเศษที่ใชในการบริการดานความงามและของประกอบการตกแตง , งานระบบไฟฟา, ระบบปรับอากาศ และระบายอากาศ , ระบบสุขาภิบาล ระบบโสตทัศนและระบบควบคุมตางๆ 2.ขอบเขตของงานออกแบบภายใน 2.1

งานออกแบบ เขียนแบบและรายการการกอสรางงานออกแบบภายใน 2.1.1 การแบงเนื้อที่การใชสอยและการจัดวางผังเพิ่มเติม ตามความเหมาะสม 2.1.2 การจัดสภาพแวดลอมภายในและภายนอกอาคารใหสัมพันธกัน 2.1.3 การงวางผังเฟอรน ิเจอร ออกแบบเฟอรน ิเจอรทั้งชนิดเคลื่อนที่และติดตั้งกับโครงการ รวมทั้งเฟอรนิเจอรสั่งซื้อสําเร็จรูป 2.1.4 จัดทําตัวอยางการทําสีการใชวัสดุพื้นผิวและวัสดุประกอบการตกแตง 2.1.5 การนําเสนอและควบคุมการตกแตงงานศิลปวัตถุแ ละของประกอบการตกแตง เชน งาน ศิลปะและอุปกรณประกอบการตกแตง ฯลฯ 2.1.6 การนําเสนองานทําปายสัญลักษณแ ละปายบอกทิศทาง

Professional Practices INT 470


20 3.

ขั้น ตอนของงานออกแบบภายใน งานออกแบบภายในแบงออกเปน 6 ขั้นตอน ดังตอไปนี้คือ 3.1 การศึกษาขอมูล วางแผนงานออกแบบโครงการและจัดวางแบบแปลน (Programming & Planning) 3.1.1 ทางผูออกแบบจะประสานงานกับผูรับผิดชอบโครงการ และผูเชี่ยวชาญของสถาน บริการซึ่งไดรับมอบหมายจากเจาของโครงการ เพื่อเปนขอมูลในการจัดวาง ขอบเขตของงานออกแบบภายใน กําหนดงบประมาณในการใชจายและกําหนด หลักเกณฑในการออกแบบเบื้องตน เพื่อใหไดตรงกับจุดประสงคการออกแบบทั้ง โครงการ 3.1.2 ทางผูออกแบบจะทํานําเสนอการออกแบบผังการจัดวางบริเวณทั้งหมด (Furniture LayOut) โดยเสนอแบบรางขั้ นตน ซึ่งระบุไวในขอบเขตงานออกแบบในมาตราสวน 1:50 3.2 การออกแบบรางและนําเสนอแนวความคิดในการออกแบบเบื้องตน (Pre-design & Conceptual)

ทางผูออกแบบ จะเสนอแบบรางแนวความคิดเบื้องตน ซึ่งประกอบดวย  แบบแปลนการจัดวางเฟอรนิเจอร 1:100 หรือ 1:50  แบบรางทัศนียภาพแนวทางการออกแบบ (Perspective)  แบบรางโครงสีและวัสดุ (Material & Color Scheme) การออกแบบรายละเอียดการกอสรางงานตกแตงภายใน 3.2.1

3.3

(Construction document)

ทางผูออกแบบจะจัดทําแบบรายละเอียดตางๆ เพื่อจัดเตรียมสําหรับ การ กอสรางรับ เหมางานตกแตงภายใน ซึ่งเอกสารชุดนี้ประกอบดวย  แบบแปลนการจัดวางพื้น ผนัง เพดาน แสดงตําแหนงงานระบบไฟฟา ปรับอากาศ สุขาภิบาลและรายละเอียดงานตกแตทั้งหมด  รายการประกอบแบบ รายละเอียดตางๆในงานตกแตงรวมถึง รายละเอียดของวัสดุและอุป กรณ  แบบเฟอรนิเจอรลอยตัวประกอบดวยรายละเอียดและขอกําหนดตางๆ ของการจัดทํารายการจํานวน ขนาด และวัสดุอุป กรณที่ใชในการแตละ ชิ้น รวมถึงรายการเฟอรนิเจอรสําเร็จรูปที่จะตองจัดซื้อทั้งหมด 3.3.1

Professional Practices INT 470


21 3.3.2

ทางผูออกแบบจะทําการยื่นเอกสาร ดังกลาวตอเจาของโครงการเพื่อ พิจารณา - 1 ชุด เพื่อพิจารณากอนทําการประกวดราคาหาผูรับเหมา - 5 ชุด เพื่อเซ็นสัญญาจางเหมาและใชงานในระยะเวลาดําเนินงาน - ถามีการจัดการ ประกวดราคา เพื่อคัดเลือกผูรับเหมาตกแตงภายใน ผูเขาประกวดราคาหรือผูรับเหมา

ขั้นตอนนี้จะสมบูรณไดโดยทางทํางาน เพื่อให แนใจวาทําถูกตองตามแนวคิด ที่ไดกําหนดไว ไดจัดสงเอกสารทั้งหมดใน ขอ 3.3.1 แกผูรับ ผิดชอบโครงการ ซึ่ง ไดรับมอบหมายจากเจาของโครงการ การตรวจงานระหวางการการติดตั้ง (Site Inspection & Installation) 3.4.1 เพื่อใหแนใจวาผูรับ เหมาไดปฏิบ ัติตามแบบและรายละเอียดที่ไดระบุไว ในสัญญาจางเหมา ทางศูนยบริการการออกแบบจะติดตามผลการ ทํางาน เพื่อให แนใจวาทําถูกตองตามแนวคิดที่ไดกําหนดไว 3.4.2 ทางผูอ อกแบบ มีสิทธิ์ที่จะปองกันการเสียหายอันเกิดขึ้นจากการทํางานของ ผูรับ เหมา และมีสิทธิ์ที่จะแนะนําหรือสั่งหยุดงานชั่วคราว ซึ่งทางทางศูนยบริการ การออกแบบ เห็นวางานที่ทําอยูนั้นดําเนินงานไมถูกตองตามแบบที่ระบุไว 3.4.3 ทางผูอ อกแบบ ไมอาจรับ ผิดชอบในฝมือชางของผูรับเหมาหรือชางเทคนิคอื่นๆ การประกอบงานตกแตงอันเกิดจากความไมชํานาญการ หรือปญหาอันเกิดจาก วัสดุตกแตง 3.4.4 งานขั้นตอนนี้จะสมบูรณเมื่อโครงการไดเปดดําเนินกิจการ โดยทาง ผูอ อกแบบ จะแสดงขอแกไขในงานตางๆที่อาจไมเหมาะสมและตรงกับ ที่ไดระบุไว ในแบบ พรอมใหคําแนะนําในการแกไขปรับปรุงของพื้นที่นั้นๆ 3.3.3

3.4

งานที่ไมรวมในการออกแบบตกแตงภายใน เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดขอบเขตของการออกแบบภายในกับ ผูเกี่ยวของอื่นๆ งานตอไปนี้จะไมรวมอยูใน ขอบเขตของงานออกแบบ 4.1 งานออกแบบดานวิศวกรรมไฟฟา ปรับ อากาศและการกําหนดชนิดของอุปกรณในงานดานดังกลาว 4.2 รายละเอียดของงานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม ยกเวนการตรวจสอบงานที่เกี่ยวของ ซึ่งทางทาง ศูนยบริการการออกแบบ ไดใหขอมูลเพื่อสะดวกในการจัดทําแบบดังกลาว 4.3 การเจรจากับเจาหนาที่ของรัฐหรือทําแบบพิเศษ เพื่อใชในการเจรจาหรือขออนุญาต หรือเพื่อขออนุญาต ฯลฯ 4.4 งานออกแบบพิเศษ เชน อุปกรณพิเศษที่ใชในการบริการดานความงาม ซึ่งตองใชผูชํานาญพิเศษเฉพาะ ดาน 4.

6.

คาบริการวิชาชีพ 6.1 คาบริการวิชาชีพงานออกแบบตกแตงภายใน

Professional Practices INT 470


22 คาบริการวิชาชีพออกแบบ …………………………………………………. (เจาของโครงการ) ทางศูนยบริการการ ออกแบบใครคิด คาบริการวิชาชีพแบบเหมาจาย 5 % จากงบประมาณการตกแตง เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น ……………………………………บาท (…………………………………………………………) โดยแบงการชําระออกเปน 3 งวด ดังนี้ งวดที่ 1 คิดเปนรอยละ 20 % ของคาบริการการออกแบบทั้งหมด จํานวน…………………………………………………. บาท(…………………………………………………….) เมื่อเจาของโครงการและอนุมัติใหผูออกแบบ ดําเนินการ ออกแบบภายใน ตามที่ไดเรียนเสนองานดังกลาว งวดที่ 2 คิดเปนรอยละ 30 % ของคาบริการการออกแบบทั้งหมด จํานวน จํานวน…………………………………………………….บา(…………………………………………………….) เมื่อทางผูออกแบบดําเนินการ ในขอ 3.1 และในขอ 3.2 แลวเสร็จ และไดเรียนเสนองานดังกลาว งวดที่ 3 คิดเปนรอยละ 50% ของคาบริการการออกแบบทั้งหมด จํานวน………………………………………….บาท (…………………………………………………….) บาท เมื่อผูออกแบบ ดําเนินการในขอ 3.3 และในขอ 3.4 แลวเสร็จ และไดเรียนเสนองานดังกลาว 6.2

คาบริการวิชาชีพการตรวจงานกอสรางตกแตงภายใน  หลังจากทางผูอ อกแบบ ไดรับมอบหมายใหทําการออกแบบภายใน และไดเซ็นอนุมัติใหออกแบบแลว นั้น ทางผูออกแบบ จะเริ่มดําเนินการออกแบบจนครบขั้นตอน หลังจากนั้นผูรับ เหมางานตกแตง ภายในเขาดําเนินการ ทางผูอ อกแบบ เขาไปทําการตรวจความคืบหนาของงาน สัปดาหละ 2 ครั้ง ตามความเหมาะสมและหรือไดรับการรองขอจากผูรับผิดชอบโครงการหรือผูไดรับมอบอํานาจ จาก……………………………………………………การจนกระทั่งงานตกแตงภายในของโครงการที่อยูในขอบเขตของ คาบริการการออกแบบทั้งหมดแลวเสร็จ

……………………………………………………

(มัณฑนากรผูรับผิดชอบโครงการ)

Professional Practices INT 470


23

ตัวอยางแบบฟอรม การเสนองานโครงการออกแบบ งานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป (ฉบับภาษาอังกฤษ)

Professional Practices INT 470


24

INTERIOR DESIGN SERVICES AND CONSULTANT AGREEMENT This agreement is made this day the date……ใสวันที่ที่จะเซ็นสัญญาเลย…… between ……………..ใสชื่อลูกคาหรือผูวาจางเลย………………………………..……… ( The client ) with registered house located at…….….ใสที่อยูลูกคาหรือผูวาจางเลย…… And Open Hub Co., Ltd. By Mr. Annop Sriwanut ( The interior design services) being a limited company registered under the law of Thailand , with its registered office located at 67/59 Soi Happy land 1 Khlongchan Bangkapi Bangkok 10240 Thailand This agreement is required to inform the Client of the scope and nature of the project involved the interior design services to be performed , and the method or remuneration for those services The interior Design Service shall not materially change the scope of a project without the Client’s consent In Consideration of the interior Design Services undertaking all reasonable steps towards achieving the work of interior design the Client here by agrees as follows; The title and address of the project ; The name , address , and name of the designer and the name and address of the client Description of interior design Services The scope of interior design services will be as follows; 1) Interior Design Service 2) Specify materials that will be used for the interior design ; Floor , wall , Ceiling , Surface finishing , built- in Furniture and moveable furniture. ( follows as detail bill of quantity BOQ in this contract ) Interior design services for The interior Design System Sanitary Work , Electric system and other ( follows as detail bill of quantity BOQ attention this contract ) 3) Consultancy services in selecting materials that involve with interior design

Professional Practices INT 470


25 The time frame and method of Payment The time frame and in which the design services must be complete including method of payment

Interior design service is price 1,790,000 Baht May 2, 2008 Project start.. The first payment for a professional fee is 720,000 Baht On date sign contact May 25 , 2008 The second payment for professional fee is 800,000 Baht on date that Interior design fee / sent perspective 3 D and first interior working drawing detail. Interior design installation / Electric ,Ceiling ,Wall ,Painting , and Sanitary work is finished about 70 %, Furniture Built- in is finished about 60 %. June 30, 2008 The Third payment for professional fee is 270,000 Baht on date that Interior design fee / sent interior working drawing detail complete and specification detail. Interior design installation / interior design work complete or finished. Remark : Timing of Payment no more than 5 days after the owner got the invoice. Service not included  Architecture design , Engineering design , Landscape Design , Art design , Model work  Vat and Tax  ELECTIC SUCH AS TV , REFRIGERTOR, HOOD, OVEN , SINK AND OTHER  OUT OF THIS B.O.Q ITEM TO REVICE FOLLOW SITE INSTALLATION  CHANDELIER , ART OBJECT AND ART PICTURE

Professional Practices INT 470


26 This agreement shall become effective as of the date first written here in . In witness here of , the authorized representatives of the parties hereto duly affix their respective signatures Signed

…………………………………………………….. The Cilent Mrs…………………………………………………

Signed

………………………………………………………. Mr.Annop Sriwanut The Interior Design Service and Consultant OPEN HUB COMPANY LIMITED.

Professional Practices INT 470


27

ตัวอยางแบบฟอรม สัญญาจางเหมา งานตกแตงภายในและเฟอรนิเจอร

Professional Practices INT 470


28 สัญญาจางเหมา

งานตกแตงภายในและเฟอรนิเจอร สัญญาจางเหมา งานตกแตงภายใน และ ทําเฟอรนิเจอร โครงการ _________________________________ หนังสือสัญญาวาจางเหมางานตกแตงภายใน และทําเฟอรนิเจอรฉบับนี้ทําขึ้น เมื่อวันที่__________ ณ ระหวาง ____________________________________ โดย ______________________________________ กรรมการผูมีอํานาจ ลงนามแทน สํานักงานตั้งอยูเลขที่ ___________________________________________ _____________________________________________ ซึ่งตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ ________________________________________ โดย ______________________________________ กรรมการผูมี อํานาจลงนาม สํานักงานตั้งอยูเลขที่ _______________________________________________ __________________________________________ ซึ่งตอไปในสั ญ ญานี้จะเรียกวา “ผูรับจาง” อีกฝายหนึ่ง ___________________________________________________________________________________

คูสัญญาทั้งสองตกลงทําสัญญาโดยมีขอความดังตอไปนี้ ขอ 1. ผูวาจางตกลงวาจาง และผูรับจางตกลงรับจางทําการ _____________________________________ โครงการ _______________________________________________________________________ ณ เลขที่ ________________________________________________________________________

ขอ 2. ผูรับจางตกลงรับทําการตามที่กําหนดดังกลาวในสัญญาขอ 1 โดยสัญญาวาจะจัดหาสิ่งของชนิดดี เครื่องมือดี และชางฝมือดี เพื่อประกอบการตามสัญญานี้จนแลวเสร็จ ขอ 3. การจางรายนี้ผูวาจางและผูรับจางไดตกลงราคากันรวมทั้งคาวัสดุสิ่งของสัมภาระและคาแรงทั้งสิ้นเปน เงิน _______________________ บาท (___________________________________________) และผูวาจางจะแบงจาย เปนงวดๆ ดังนี้ :-

งวดที่ 1 เมื่อ ____________________________________________________________

________________________________________________________________________ -

งวดที่ 2 เมื่อ ____________________________________________________________

________________________________________________________________________ -

งวดที่ 3 เมื่อ ____________________________________________________________

________________________________________________________________________ -

งวดที่ 4 เมื่อ ____________________________________________________________

________________________________________________________________________

Professional Practices INT 470


29 หมายเหตุ ราคาในสัญญานี้ ไมรวมถึง 1. _____________________________________________________________ 2. _____________________________________________________________ 3. _____________________________________________________________

ขอ 4. การยื่นใบเบิกเงิน จะตองยื่นตอผูวาจางโดยมีมัณฑนากรผูออกแบบลงชื่อรับรองวาไดทําถูกตองตาม สัญญาแลว ผูวาจางจึงจะจายเงินใหและผูวาจางจะจายเงินใหภายในกําหนดไมเกิน ______________ หลังจากที่ผู รับจางยื่นใบเบิกเงินแลว ขอ 5.

ผูรับจางสัญญาวา จะเริ่มลงมือทํางานจาง ณ สถานที่ที่กําหนดภายในวันที่ ________________ เดือน ______________ พ.ศ. _________ และใหแลวเสร็จบริบูรณภายในวันที่ ________________ เดือน ______________ พ.ศ. _________ ถาผูรับจางมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลาดังกลาวก็ดีหรือมีเหตุใหผูวาจางเชื่อไดวาผูรับจางไม สามารถทํางานใหแลวเสร็จบริบูรณไปแลวก็ดี หรือผูรับจางทําผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดก็ดี ผูวาจางมีสิทธิจะบอกเลิก สัญญานี้ได และมีอํานาจจางผูอื่นทํางานจางนี้ตอจากผูรับจางไดดวย การที่ผูวาจางบอกเลิกสัญญาตามความในวรรคหนึ่งนั้น ไมเปนเหตุใหผูรับจางพนจากความผิดตามสัญญานี้ ขอ 6. เมื่องานแลวเสร็จเรียบรอยและผูวาจางไดรับมอบงานจากผูรับจางหรือจากผูรับจางคนใหมในกรณีผู รับจางผิดสัญญาและผูวาจางใชสิทธิเลิกสัญญาตามขอ 5 ถามีเหตุชํารุดเสียหายเกิดขึ้นแกงานนี้ภายในกําหนด ______________ นับ แตวันที่ไดรั บมอบงานเปนวันเริ่มตน ซึ่งเหตุชํารุดเสียหายนั้นเกิดจากความบกพรองของผูรับจาง จะเปนโดยทําไวไมเรียบรอยหรือใชสิ่งของที่ไมดี หรือไมถูกตองตามหลักวิชาก็ตาม ผูรับจางตองรีบทําการแกไขให เปนที่เรียบรอยภายในระยะเวลาที่ผูวาจางกําหนด โดยไมคิดเอาสิ่งของคาแรงงานหรือคาใชจายอื่นใดจากผูวาจางอีก ถาผูรับจางบิดพริ้วไมแกไขซอมแซมภายในกําหนด ______________ นับแตวันที่ไดรับแจงเปนวันเริ่มตน หรือแกไข ซอมแซมไมแลวเสร็จเรียบรอยภายในเวลาที่ผูวาจางกําหนด ผูวาจางมีสิทธิจางผูอื่นใหทํางานนั้นแทนผูรบั จางได ถางานที่จางใชสิทธิจางผูอื่นทํางานจางแทนผูรับจางตามสัญญาขอ 5 และขอ 6 วรรคหนึ่ง ผูรับจางยอมจายเงิน คาจาง คาสิ่งของ คาคุมงาน และคาใชจายอื่นใด (ถามี) ตามจํานวนที่ผูวาจางตองเสียไปโดยสิ้นเชิงและผูรับจางยังคง ตองรับผิดชอบตามสัญญาขอ 13 เสมือนหนึ่งงานที่ผูรับจางคนใหมที่ทํานั้นเปนงานจางของตน ขอ 7. เนื่องจากพันธะซึ่งจะมีตอกันตามสัญญานี้ ผูรับจางยินยอมใหบรรดางานที่ผูรับจางไดทําขึ้นรวมทั้ง โรงงาน สิ่งปลูกสราง และสิ่งของตางๆ ที่ไดนํามาไว ณ สถานที่ทํางานจาง โดยเฉพาะเพื่องานดังกลาวในสัญญาขอ 1 ใหกรรมสิทธิตกเปนของผูวาจางทั้งสิ้น แตถามีอันตรายหรือความเสียหายใดๆ เกิดขึ้นแกสิ่งเหลานั้น แมจะเกิดขึ้น เพราะเหตุสุดวิสัยประการใดก็ตาม ผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดในความเสียหายเหลานั้น และจัดหามาใหมหรือแกไข ใหคืนดี ทั้งนี้ ภายในพันธะที่มีอยูในสัญญาอันยังไมถึงที่สุด เวนแตภายหลังเวลาสงมอบซึ่งผูรับจางจําตองรับผิดเพียง ความบกพรองและเพียงในความเสียหายที่มีขึ้นภายในระยะเวลาตามที่กลาวในสัญญาขอ 6 ในกรณีที่ผูรับจางทํางานแลวเสร็จบริบูรณตามสัญญา ถามีสิ่งของเหลืออยูเทาใด ผูว าจางยอมใหผูรับจาง นําเอากลับคืนไปได ขอ 8.

สัญญานี้มีแบบรูปและรายการละเอียดดังตอไปนี้

1. _____________________________________________________________________________

Professional Practices INT 470


30 2. _____________________________________________________________________________ 3. _____________________________________________________________________________

และใหถือวาแบบรูปและรายการละเอียดดังกลาวเปนสวนหนึ่งของสัญญา ขอ 9. ผูรับจางสัญญาวา จะไมทํางานจางนี้โดยไมมีแบบรูปและรายการละเอียดที่ถูกตองเปนอันขาดทั้งจะ รักษาแบบรูปและรายการละเอียดไว ณ สถานที่ทํางานใหเรียบรอย และโดยเปดเผยเพื่อใหผูวาจางหรือกรรมการตรวจ การจางหรือผูควบคุมงานตรวจดูไดทุกเวลา ขอ 10. ผูรับจางสัญญาวา จะไมเอางานทั้งหมดหรือสวนใดสวนหนึ่งแหงสัญญานี้ไปใหผูอื่นรับจางชวงอีกทอด หนึ่งโดยมิไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจาง แตทั้งนี้ ผูรับจางยังตองรับผิดชอบงานที่ใหชวงไปนั้นทุกประการ ขอ 11. ผูรับจางจะตองควบคุมงานที่รับจางนี้อยูตลอดเวลาที่งานยังไมแลวเสร็จ หรือมอบหมายใหผูอื่นเปนผู ควบคุมงานแทนก็ได ในกรณีเชนนี้ใหผูรับจางแจงชือ่ ผูไดรับมอบหมายใหผูวาจางทราบเปนหนังสือและผูควบคุมงาน แทนผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบแทนผูวาจาง คําสั่งตางๆ ซึ่งไดแจงแกผูแทนของผูรับจางถือไดวาไดแจงแกผูรับ จางแลว ขอ 12. ในกรณีที่ผูรับจางตั้งตัวแทนไปควบคุมงานตามขอ 11 ถาผูวาจางขอใหเปลี่ยนตัวแทนใหม ผูรับจาง ยินยอมเปลี่ยนตัวใหทันทีโดยจะไมเรียกรองคาเสียหายหรือถือเปนเหตุยืดวันทําการออกไป ถาผูรับจางจะเปลี่ยนผู ควบคุมงาน ตองแจงชื่อผูนั้นใหผูวาจางทราบเปนหนังสือทุกครั้งดวย ขอ 13. ผูรับจางจะตองรับผิดชอบตออุปทวเหตุ หรือภยันตราย ความเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ้นจากการงานของผู รับจางเอง และตองรับผิดชอบในเหตุที่เสียหายอันเกิดแกทรัพยสินของผูวาจางซึ่งมีอยูในบริเวณที่ทําการจางนี้โดยการ กระทําของคนงาน ชาง หรือบริวารของผูรับจางดวย ขอ 14. ผูรับจางจะจายเงินคาจางใหแกลูกจางของตนตามอัตราคาจาง และกําหนดเวลาที่ผูรับจางและลูกจางได ตกลงหรือสัญญากันไว ถาผูรับจางไมจายเงินคาจางใหแกลูกจางตามวรรคหนึ่ง ผูรับจางยอมใหผูวาจางเอาเงินคาจางทีผู่ วาจางจะจาย ใหแกผูรับจาง จายใหแกลูกจางของผูรับจางได และใหถือวาเงินจํานวนที่จายไปนี้เปนเงินคาจางที่ผูรับจางไดรับไป จากผูวาจางแลว การที่ผูรับจางไมจายเงินคาจางใหแกลูกจางของตนตามวรรคสอง นอกจากยอมใหผูวาจางจายเงินคาจางใหแก ลูกจางของผูรับจางแลว ยังใหถือวาผูรับจางผิดสัญญานี้ดวย และผูวาจางจะบอกเลิกสัญญาเสียทั้งหมดก็ได ขอ 15. ถาผูวาจางแตงตั้งกรรมการตรวจการจางหรือควบคุมงานไวประจํา ณ ที่ทําการจางนี้ในเวลาที่ผูรับจาง เตรียมการหรือกําลังทํางานจางนี้อยูก็ดี กรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานมีสิทธิจะเขาไปตรวจการงานไดทุก เวลา ผูรับจางหรือตัวแทนของผูรับจางจักตองใหความสะดวกและชวยเหลือตามสมควร การที่มีคณะกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานแทนคณะกรรมการตรวจการจางหาทําใหผูรับจางพนความ รับผิดชอบตามสัญญาขอหนึ่งขอใดไม ขอ 16. กอนหรือระหวางทํางานจางอยู ถาปรากฎวาแบบรูปหรือรายละเอียดตอทายสัญญานี้คลาดเคลื่อนผิดไป อยางหนึ่งอยางใด ผูรับจางสัญญาวาจะปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของคณะกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานแทน คณะกรรมการตรวจการจางและถาคําวินิจฉัยนี้ถูกตองกับรายการอันใดอันหนึ่งที่ปรากฏในแบบรูปแลว ผูรับจางตอง

Professional Practices INT 470


31 ถือวาเปนอันเด็ดขาด ถาอันหนึ่งอันใดมิไดระบุไวในรายละเอียด แตเปนการจําเปนตองทําเพื่อใหงานแลวเสร็จบริบูรณ ถูกตองตามแบบรูป ผูรับจางสัญญาวาจะจัดการทําการนั้นๆ ใหโดยไมคิดคาใชจายใดๆ เพิ่มเติม ทั้งนี้ รายการที่ คลาดเคลื่อนหรือมิไดระบุไวดังกลาวจะตองมิใชสวนที่เปนสาระสําคัญ ขอ 17. กรณีที่ผูวาจางแตงตั้งคระกรรมการตรวจการจาง หรือผูควบคุมงานแทนคณะกรรมการตรวจการจาง ผูรับจางยอมใหกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงาน มีอํานาจตรวจและควบคุมงานใหเปนไปตามขอกําหนดใน สัญญาแบบรูปและรายละเอียด โดยใหมีอํานาจสั่งเปลี่ยนแปลง แกไข เพิ่มเติม หรือตัดทอนกิจการจางนี้ได เพื่อให เปนไปตามขอกําหนดในสัญญา แบบรูปและรายละเอียด และถาผูรับจางขัดขืนก็ใหคณะกรรมการตรวจการจางหรือผู ควบคุมงานแทนคณะกรรมการตรวจการจางมีอํานาจสั่งหยุดกิจการนั้นไวชั่วคราวได และความลาชาในกรณีเชนนี้ ผูรับจางจะถือเปนเหตุขอยืดวันทําการออกไปมิได ขอ 18. ผูวาจางมีสิทธิที่จะทําการแกไขหรือเพิ่มเติมหรือลดงานจากแบบรูปและรายการละเอียดตามสัญญาได ทุกอยางโดยไมตองเลิกสัญญานี้ การเพิ่มเติมหรือลดงานจะตองคิดราคากันใหม และถาตองเพิ่มหรือลดเงินหรือ ยืดเวลาออกไปอีกก็จะตกลงกัน ณ บัดนั้น ขอ 19.

ถาผูรับจางสงมอบงานลาชากวาวันแลวเสร็จตามสัญญา ผูรับจางยอมใหผูวาจางปรับเปนรายวันวันละ ____________________________ บาท (__________________________________________) ขอ 20.

ถาผูวาจางบอกเลิกสัญญาแลว ผูรับจางยอมใหผูวาจางดําเนินการดังตอไปนี้

ยินยอมใหผูวาจางเรียกเอาคาจางที่เพิ่มขึ้นเพราะจางบุคคลอื่นทําการนี้ตอไปจนงานแลวเสร็จบริบูรณ (2) เรี ย กเอาค า ใช จ า ยในการควบคุ ม งานในเมื่ อ ผู วา จ า งต อ งจ า งผู ค วบคุ มงานนั้ น อีก ต อหนึ่ งจนงานแล วเสร็ จ สมบูรณ (3) เรียกคาเสียหายอันพึงมีจากผูรับจาง ขอ 21. เมื่อผูวาจางบอกเลิกสัญญาแลว บรรดางานที่ผูรับจางไดทําขึ้นและสิ่งของตางๆ ที่นํามาไว ณ สถานที่ ทํางานจางนั้น โดยเฉพาะเพื่องานจางดังกลาว ผูรับจางยอมใหตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูวาจาง โดยผูรับจางจะเรียกรอง คาตอบแทนและคาเสียหายใดๆ ไมไดเลย และผูรับจางยอมใหผูวาจางมีสิทธิระงับการจายคาจางที่คางชําระสําหรับ งานที่ทําไปแลว เพื่อเปนการประกันการชําระหนี้ (1)

ในกรณีที่ตองจางบุคคลอื่นทํางานที่คางอยูใหแลวเสร็จบริบูรณ หากปรากฎวาเงินคางานที่เหลือจายไมพอ สําหรับการทํางานรายนี้เปนจํานวนเทาใด ผูรับจางยอมใหผูวาจางหักเงินจํานวนนั้นจากคาจางที่คางชําระตามวรรค หนึ่ง และยอมรับผิดชดใชเงินจํานวนที่ยังขาดอยูนั้นจนครบถวน หากมีเงินคาจางตามสัญญาที่หักไวจายเปนคาปรับและคาเสียหายแลวยังเหลืออยูอีกเทาใด ผูวาจางจะคืนใหแก ผูรับจางทั้งหมด ขอ 22. ผูรับจางหรือบริวารผูรับจางไดกอสรางโรงงาน หรือสิ่งปลูกสรางใดๆ ลงในบริเวณที่รับจางก็ดีหรือทํา ใหเปนหลุมเปนบอก็ดี ผูรับจางสัญญาวาจะจัดการรักษาความสะอาดตลอดเวลาที่ทํางานจาง และเมื่องานจางแลวเสร็จ จะตองรื้อถอนสิ่งปลูกสรางและกลบเกลี่ยพื้นดินใหเรียบรอย และขนเศษอิฐเศษไมและสิ่งที่รกรุงรังออกไปใหพน บริเวณที่รับจาง พรอมทั้งทําความสะอาดบริเวณที่รับจางและสิ่งปลูกสรางใหเรียบรอยอยูในสภาพที่ผูวาจางจะใชการ ไดทันที

Professional Practices INT 470


32 ขอ 23. ระยะเวลาการเริ่มงานและการแลวเสร็จของงานที่อางอิงนี้ จะไมมีผลหากเกิดปญหาในเรื่องกฎหมาย การกอสรางขึ้น เชน การขออนุญาตกอสราง การขออนุญาตไฟฟา เปนตน สัญญานี้ทําขึ้นสองฉบับมีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาตางเก็บไวฝายละฉบับเพื่อเปนหลักฐาน คูสัญญาได อานและเขาใจขอความโดยละเอียดตลอดแลว จึงไดลงลายมือชื่อและประทับตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญตอหนาพยาน

ลงชื่อ___________________________ ผูวาจาง (___________________________)

บริษัท __________________ จํากัด ลงชื่อ___________________________ ผูรับจาง (___________________________)

บริษัท __________________ จํากัด ลงชื่อ___________________________ พยาน (___________________________)

ลงชื่อ___________________________ พยาน (___________________________)

Professional Practices INT 470


33

ตัวอยางแบบฟอรม สัญญาบริหารการกอสราง ลักษณะตัวแทนเจาของ

Professional Practices INT 470


34

สัญญาบริหารการกอสรางลักษณะตัวแทนเจาของ (OWNER REPRESENTATIVE) C B. M. : CONSTRUCTION BUSINESS MANAGEMENT

ลักษณะของการบริการและสัญญา เปนลักษณะการครองคลุมความรับ ผิดชอบทุกประการที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการ กอสราง จะใชสัญญานี้เมื่อผูลงทุนเริ่มตนโครงการกอนที่จะมีผูออกแบบทุกประเภท (อาจจะกอนการศึกษาความเปนไป ไดก็ได) หรือมิเชนนั้นจะใชเมื่อโครงการมีปญหาสะดุดและไมมมีผูใดเขามารับผิดชอบในการแกปญหาในภาพรวม (MACRO SCALE) เพราะตางเห็น วาไมใชหนาที่ สัญญาบริหารโครงการกอสราง โครงการ : งานกอสรางปรับปรุงภูมิทัศนบานคุณวัฒนา หมูบานเมืองเอก จ.ปทุมธานี หนังสือสัญญาจางบริหารโครงการฉบับนี้ทําขึ้น เมื่อวันที_________ ่ ณ__________________________________________________ ระหวาง _____________________________________ โดย _____________________________________ กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทน สํานักงานตั้งอยูเลขที่ __________________________________________

ซึ่งตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ _________________________________________ โดย _____________________________________ กรรมการผูม ีอํานาจ ลงนาม สํานักงานตั้งอยูเลขที่ _______________________________________________ __________________________________________ ซึ่งตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูรับจาง” อีกฝา ยหนึ่ง ____________________________________________

คูสัญญาทั้งสองตกลงทําสัญญาโดยมีขอความดังตอไปนี้ ขอ 1.

ผูวาจางตกลงจางผูรับจางใหดําเนินการบริหารโครงการกอสราง เพื่อกอสรางโครงการ ___________________________________________ บนที่ดิน โฉนดเลขที่ ___________________ อยูที่ ___________________________________________________________________________

ขอ 2. ผูรับจาง จะทําหนาที่ป ระสานงานดานการออกแบบและการกอสราง ในฐานะตัวแทนผูวาจาง เพื่อใหงานโครงการนีด้ ําเนินการไปไดดวยความราบรื่น หากมีงานสวนใดที่ไมมีหนวยงานใดรับ ผิดชอบ และเปนงานที่ผู รับจางสามารถทําไดสําเร็จตามเวลาที่กําหนดผูรับจางจะเปนผูเขาทําการแทน แตหากงานสวนนั้นผูรับ จางไมสามารถจะ ทําเองได หรือหากทําไดแตไมทันตอเวลาที่ตองการผูรับ จางจะตองหาทางแกป ญหา และแจงตอผูวาจางโดยเร็วที่สุดเพื่อ หาวิธีการดําเนินการตอไป ขอ 3. ดังตอไปนี้

ผูวาจางตกลงชําระเงินคาจาง เปนการตอบแทนการปฏิบัติงานของผูรับจาง ตามรายละเอียด

ชําระเปนเงินเหมารวมทั้งสิ้น ___________________ บาท (______________________________) โดย แบงการจายเงินออกเปน ____________ งวดทุกสิ้นเดือนตั้งแตวันที่ _____________________ ถึง วันที่ _______________ เปนเงินเดือนละ ______________ บาท (_______________________)

Professional Practices INT 470


35 ขอ 4. ผูรับจาง จะไมรับ เงิน-สินจาง-ผลประโยชนอนื่ ใดอันเกี่ยวเนื่องกับ โครงการนี้ทั้งทางตรงหรือทางออม นอกเหนือจากที่แสดงอยูในเอกสารนี้เทานั้น เงิน หรือสินจางนี้รวมถึงคา COMMISSION คา SPECIFICATION จากการสั่งซื้อวัสดุอุป กรณการกอสราง และ/หรือจากผูรับ จาง (ผลประโยชนที่เอยถึงนี้ทั้งหมด ผูรับจาง จะนําสงคืนใหผูวา จาง) หากพิสูจนไดวาผูรับ จาง รับ เงินหรือสินจางอื่นใดใหถือวาผูรับจาง มีความผิดทางอาญาฐานฉอโกงไดทันที ขอ 5. ผูรับจางสัญญาวาจะดําเนินการบริหารโครงการนี้ ดวยความรูความสามารถและดวยความซื่อสัตย เพื่อใหโครงการประสพความสําเร็จสูงสุด หากผูรับจางมิไดกระทําตามขอบเขตความรับผิดชอบงานใหแลวเสร็จตามที่ กําหนดให หรือกระทําการอื่นใดอันเปนการจงใจเปนเหตุใหผูวาจางไดรับ ความเสียหาย ผูรับ จางยินยอมใหผูวาจางบอก เลิกสัญญานี้ และผูรับจางยินยอมคืนคาจางที่ไดรับแลวทั้งหมดใหผูวา จาง ขอ 6. หากเมื่อฝายใดฝายหนึ่งดําเนินการผิดจากสัญญานี้ หรือไมปฏิบัติตามสัญญานี้ อีกฝายหนึ่งอาจจะ แจงเพื่อเลิกสัญญาได หรือแมไมมีฝายหนึ่งฝายใดกระทําผิดสัญญา แตคูสัญญาทั้งสองฝายตกกันเพื่อที่จะเลิกสัญญานี้ ก็ใหเลิกสัญญานี้เปนลายลักษณอักษรตามเวลาสมควร สัญญาจางฉบับนี้ทําขึ้นสองฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาตางเก็บไวคนละฉบับ เพื่อเปน หลักฐาน คูสัญญาไดอานและเขาใจขอความโดยตลอดแลว จึงไดลงลายมือชื่อ และประทับตราไวเปนสําคัญตอหนา พยาน

ลงชื่อ___________________________ ผูวาจาง (___________________________)

บริษัท __________________ จํากัด ลงชื่อ___________________________ ผูรับจาง (___________________________)

บริษัท __________________ จํากัด ลงชื่อ___________________________ พยาน (___________________________)

ลงชื่อ___________________________ พยาน (___________________________)

Professional Practices INT 470


36

ตัวอยางแบบฟอรม สัญญาจางเขียนแบบกอสรางหรือตกแตง Wo rking D rawing

Professional Practices INT 470


37

สัญญาจางเขียนแบบกอสรางหรือตกแตง (สําหรับแปลนบานเรือน, ตึก, คฤหาสน, หองแถว, ตึกแถว, แฟลต, อพาทเมนท, ทาวเฮาส, และอาคารที่ทํา การ ฯลฯ) สัญญาทําที… ่ …………………………………………….. วันที่………….เดือน……………………พ.ศ. 25……….. เวลา…………….น. สัญญานี้ทําขึ้นระหวาง ….……………………….………………….………อายุ……………ป บัตรประจําตัว….…………………เลขที… ่ .…………………ออกบัตรที… ่ .…………………………… วันออกบัตร…………/………../………..วันหมดอายุบัตร………./…..…../………/ อาชีพ…………… ภูมิลําเนาอยูเลขที….…………………ถนน….…………………ตําบล….…………………………….. เขต/อําเภอ….…………………….…………………จังหวัด….…………………เขตไปรษณียท… ี่ …… พักอยูท… ี่ .…………………….…………………ทํางานอยูท… ี่ .………………… โทร. …………….. ซึ่งในสัญญานี้เรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ….…………………….…………………….………… อายุ……………ป ซึ่งเปนสถาปนิกตามใบอนุญาตเลขที่….…………………ถือบัตรประจําตัว………. เลขที… ่ .…………ออกบัตรที… ่ .…………………ตําบล………….……………เขต/อําเภอ…………… จังหวัด….…………………เขตไปรษณียท… ี่ .…………………ขณะนี้พักที… ่ .……………………….. ทํางานที… ่ .…………………….……………ตําแหนง……….…………………โทร….……………… ซึ่งในสัญญานี้เรียกวา “ผูรับจาง” อีกฝายหนึ่ง ทั้งสองฝายไดตกลงกันทําสัญญาขึ้นเปนสองฉบับมี ขอความถูกตองตรงกัน เพื่อยึดถือไวเปนหลักฐานฝายละฉบับ ตามขอตกลงดังใจความตอไปนี้ (1) ผูวาจาง ขอวาจางใหผูรับจางเปนผูออกแบบเขียนแปลนเพื่อใชในการกอสราง…………… ….…………………ซึ่งจะทําการสรางขึ้น ณ บริเวณที่ ….…………………มีขนาดเนื้อที่ทําการกอสราง ….…………………ตารางเมตร ตามรูปแบบแผนผังหรือแผนที่ดานหลังของสัญญานี้ ซึ่งสถานที่สําหรับ กอสรางดังกลาวนี้ อยูที่ถนน….…………………ตําบล….…………………เขต/อําเภอ….…… (2) แบบกอสรางดังกลาวจะตองมีขนาดกวาง….…………เมตร ยาว……………เมตร และสูง ทั้งสิ้น………….เมตร โดยไมนับสวนสูงที่เลยจากฝาของเพดานชั้นบนสุด แบงออกเปน ……..ชั้น ทุกชั้น มีขนาดความกวางยาวและสูงเทากับชั้นลางสุดซึ่งสูง….………………เมตร รวมทั้งสิ้นมี……หอง คิดเปนเนื้อที่ภายในหองทั้งหมด ……………ลูกบาศกเมตร โดยผูออกแบบจะตองระบุขนาดและชนิด หรือคุณภาพของวัสดุที่ใชในการกอสราง ณ จุดตาง ๆ ใหละเอียดและเหมาะกับขนาดของแบบที่วาจางให Professional Practices INT 470


38 เขียนนั้นใหเหมาะสมที่สุด ทั้งจะตองคํานึงถึงความสวางภายในอาคารและทิศทางความรอนจาก แสงอาทิตยหรือแสงแดด ทิศทางของกระแสลมตาง ๆ ไมวาจะเปนพายุลมรอน-หนาว หรือพายุใตฝุน และพายุฝนดวย (3) ผูรับจางตกลงที่จะเขียนแบบแปลนการกอสรางหรือตกแตง…………………………….. ดังกลาวขางตนใหแลวเสร็จภายใน……….วันนับจากวันทําสัญญานี้ หากไมแลวเสร็จตามกําหนด ผูรับ จางยินดีใหปรับเปนจํานวน…………บาท ตอวันจนกวาจะสงมอบงานเขียนแบบที่สมบูรณนี้ไดและถาไม สามารถสงแบบที่จางใหเขียนไดภายในกําหนด…………..วัน ยินยอมใหผูวาจางเลิกสัญญาไดทันที (4) ผูวาจางตกลงที่จะจายคาจางในการเขียนแบบแปลนดังกลาวใหแกผูรับจางในวันที่ไดรับมอบ แบบแปลนทันทีในจํานวนเงิน….…………………บาท (….…………………….………………..……) (5) ….…………………….…………………….…………………….………………………….. ทุกฝายในสัญญานี้ไดอานและเขาใจขอความทั้งหมดนี้ดีแลว จึงลงชื่อเปนหลักฐานตอหนากันและตอหนา พยานทุกคนดวย

ลงชื่อ………………………………….ผูวาจาง ลงชื่อ……………………………………..พยาน (………………………………….) (……………………………………..) ลงชื่อ………………………………….ผูรับจาง ลงชื่อ……………………………………..พยาน/ (………………………………….) (……………………………………..)เขียน/พิมพ

Professional Practices INT 470


39

ตัวอยางแบบฟอรม สัญญาจางทํา

Professional Practices INT 470

PER SPECT IVE


40

สัญญาจางทํา PERSPECTIVE สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นที…่ …………………………………..เมื่อวันที…่ ……..เดือน…………………... พ.ศ. ………… ระหวาง…………………………………………..อยูเลขที่………………………………… ตรอก/ซอย……………………..ถนน…………………………………แขวง/ตําบล…………………………….. เขต/อําเภอ……………………จังหวัด………………………..ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา "ผูวาจาง" ฝายหนึ่ง กับ………………………………………………………….อยูเลขที…่ ……………………………… ตรอก/ซอย……………………..ถนน…………………………………แขวง/ตําบล…………………………….. เขต/อําเภอ……………………จังหวัด………………………..ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา "ผูรับจาง" ฝายหนึ่ง โดยมีขอตกลงกันดังนี้ ขอ 1. ผูวาจางตกลงผูร ับจาง และผูรับจางตกลงทํา PERSPECTIVE โครงการ…………………….. ที่อําเภอ……………………….จังหวัด………………………ตามแบบ…………………………………………. ที่ทางบริษัท……………………………………ไดใหแนบมา เพื่อเปน…………………………………………. โดยผูรับจางไดตกลงรับ จางเปนราคารวมทั้งสิ้น……………..บาท (…………………………………………….) ซึ่งเปนราคาที่ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม ขอ 2. ในวันที่ทําสัญญานี้ ผูวาจางไดชําระเงินคาจางที่กลาวมาในสัญญาขอ 1 เปนบางสวน วน จํานวน…………….…………บาท (……………………………………………) ใหแกผูรับจาง สวนที่เหลือซึ่ง ยังคางชําระอีก จํานวน………………………….บาท (…………………………………………………) ผูวาจางตกลงจายคาจางและผูรับจางตกลงรับ คาจางเปนงวด ๆ ดังนี้ งวดที่ 1. จํานวนเงิน…………………………..บาท (……………………………………………………...) จายเมื่อ……………………………………………………………………………………………….. งวดที่ 2. จํานวนเงิน…………………………..บาท (……………………………………………………...) จายเมื่อ……………………………………………………………………………………………….. งวดที่ 3. จํานวนเงิน…………………………..บาท (……………………………………………………...) จายเมื่อ……………………………………………………………………………………………….. ขอ 3. ผูรับจางสัญญาวาจะทํางานใหแลวเสร็จสมบูรณ ภายในกําหนดเวลา…………….วัน โดยเริ่ม ลงมือทํา PERSPECTIVE ภายในวันที่……….เดือน………………………พ.ศ………….. และใหงานที่วาจาง นี้เสร็จสมบูรณภายในวันที…่ ……เดือน……………………….. พ.ศ……………….. ถาผูรับ จางมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลาดังกลาวก็ดี หรือมีเหตุใหผูวาจางเชื่อไดวา ผูรับจาง ไมสามารถจะทํางานใหแลวเสร็จสมบูรณภายในกําหนดเวลาก็ดีหรือลวงกําหนดเวลาแลวเสร็จ ผูวาจางมีสิทธิ บอกเลิกสัญญานี้ได และมีอํานาจจางผูอื่นทํางานนี้ตอจากผูรับจางไดทันที ถาผูรับ จางทํางานไมเสร็จ หรือไมสามารถสงงานที่วาจางในสภาพเรียบรอย และถูกตองตามวัตถุ ประสงคแหงสัญญานี้ ผูรับ จางยินยอมใหผูวาจางหักเงินคาจางที่ยังเหลืออยูเปนคาปรับ โดยคิดเปน………….. บาท (………………………………………………….) ในกรณีตามวรรค 2 ขอ 3 หากผูวาจางไดวาจางบริษัท หรือบุคคลอื่นใดทํางานที่รับจาง ผูวาจางตอง

Professional Practices INT 470


41 รับผิดตอผลตางของจํานวนที่ผูวาจางตองเสียใหกับผูรับจางรายใหมที่เขามารับ ตามสัญญานี้ โดยผูวาจางมีสิทธิ หักเงินจํานวนดังกลาวจากเงินคาจางที่ผูวาจางยังคางชําระอยูตอ ขอ 4. ผูวาจางมีสิทธิที่จะทําการแกไข หรือเพิ่มเติม หรือลดงานจากแบบและรายละเอียดในสัญญา ไดทุกอยาง โดยไมตองบอกเลิกสัญญา การเพิ่มเติมงาน PERSPECTIVE หรือลดงานนี้ตองคิดและตกลง เปลี่ยนใหม ถามีการเพิ่มหรือลดเงิน หรือตองการยืดเวลาออกไปอีกก็จะไดตกลงกัน ณ บัดนี้ การแกไข เปลี่ยน แปลงตาง ๆ ใหทําเปนลายลักษณอักษร ลงชื่อทั้งฝายเปนสําคัญ ขอ 5. ในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยใด ๆ ที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได และเปนเหตุใหการทํา PERSPECTIVE ตองหยุดชะงักลงโดยมิใชความผิดของผูรับจาง หรือมีพฤติการณที่ฝายผูรับจางไมตองรับ ผิดชอบระยะเวลาแลว เสร็จตามสัญญาออกไปเทากับเวลาที่เสียไปเพราะเหตุดังกลาว โดยผูรับจางจะแจงเหตุดังกลาวพรอมหลักฐาน เปนหนังสือใหผูวาจางทราบ เพื่อขอขยายระยะเวลาการทํางานตามออกไปโดยพลัน นับ แตเกิดเหตุการณ ดังกลาว และตองไดรับการอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจางดวย สัญญานี้ทําขึ้นเปนสองฉบับมีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาไดอานและเขาใจขอความโดยตลอดแลว จึงลง ลายมือชื่อพรอมทั้งประทับ ตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญตอหนาพยานและเก็บ ไวฝายละหนึ่งฉบับ ลงชื่อ ……………………………………………….. ผูวาจาง (……………………………………………………)

ลงชื่อ ……………………………………………….. ผูรับจาง (……………………………………………………)

ลงชื่อ ……………………………………………….. พยาน (……………………………………………………)

ลงชื่อ ……………………………………………….. พยาน (……………………………………………………)

Professional Practices INT 470


42

ตัวอยางแบบฟอรม สัญญาจางทําแบบจําลอง Model Making

Professional Practices INT 470


43

สัญญาจางทํา MODEL (หุนจําลอง) สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นที…่ …………………………………..เมื่อวันที…่ ……..เดือน…………………... พ.ศ. ………… ระหวาง………………………………………………..อยูเลขที…่ ……………………………………… ตรอก/ซอย……………………..ถนน…………………………………แขวง/ตําบล…………………………………….. เขต/อําเภอ……………………จังหวัด………………………..ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา "ผูวาจาง" ฝายหนึ่ง กับ………………………………………………………….อยูเลขที่……………………………………… ตรอก/ซอย……………………..ถนน…………………………………แขวง/ตําบล…………………………………….. เขต/อําเภอ……………………จังหวัด………………………..ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา "ผูรับ จาง" ฝายหนึ่ง โดยมีขอตกลงกันดังนี้ ขอ 1. ผูวาจางตกลงผูรับ จาง และผูรับ จางตกลงทํา MODEL โครงการ MASTER PLAY LAY-OUT ที่อําเภอ……………………….จังหวัด………………………ตามแบบ……………………………………………………………. และแบบ CONTOUR ที่ทางบริษัท……………………………………ไดใหแนบมา เพื่อเปน แมบทในการจัดทํา MODEL โดยผูรับ จางไดตกลง รับจางเปนราคารวมทั้งสิ้น………………………………………………….บาท (…………………………………) ซึ่งเปนราคาที่ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม ขอ 2. ในวันที่ทําสัญญานี้ ผูวาจางไดชําระเงินคาจางที่กลาวมาในสัญญาขอ 1 เปนบางสวน จํานวน…………….…………………..………บาท (……………………………………………) ใหแกผูรับจาง สวนที่เหลือซึ่ง ยังคางชําระอีก จํานวน………………………………………..………….บาท (…………………………………………………) ผูวาจางตกลงจายคาจางและผูรับจางตกลงรับ คาจางเปนงวด ๆ ดังนี้ งวดที่ 1. จํานวนเงิน…………………………….…………………..บาท (……………………………………………………...) จายเมื่อ………………………………………………………………………………………………………………….. งวดที่ 2. จํานวนเงิน……………………………….………………..บาท (……………………………………………………...) จายเมื่อ………………………………….……………………………………………………………………………….. งวดที่ 3. จํานวนเงิน……………………………….………………..บาท (……………………………………………………...) จายเมื่อ……………………………….………………………………………………………………………………….. ขอ 3. ผูรับจางสัญญาวาจะทํางานใหแลวเสร็จสมบูรณ ภายในกําหนดเวลา…………….วัน โดยจะเริ่มลงมือทํา MODEL ภายในวันที…่ …….เดือน………………………พ.ศ………………….. และใหงานที่วาจาง นี้เสร็จสมบูรณภายในวันที…่ ………เดือน……………………….. พ.ศ……………….. ถาผูรับ จางมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลาดังกลาวก็ดี หรือมีเหตุใหผูวาจางเชื่อไดวา ผูรับจาง ไมสามารถจะทํางานใหแลวเสร็จสมบูรณภายในกําหนดเวลาก็ดีหรือลวงกําหนดเวลาแลวเสร็จ ผูวาจางมีสิทธิ บอกเลิกสัญญานี้ได และมีอํานาจจางผูอื่นทํางานนี้ตอจากผูรับจางไดทันที ถาผูรับ จางทํางานไมเสร็จ หรือไมสามารถสงงานที่วาจางในสภาพเรียบรอย และถูกตองตามวัตถุ ประสงคแหงสัญญานี้ ผูรับจางยินยอมใหผูวาจางหักเงินคาจางที่ยังเหลืออยูเปนคาปรับ โดยคิดเปนรายวัน วันละ …………………..บาท (………………………………………………….) Professional Practices INT 470


44 ในกรณีตามวรรค 2 ขอ 3 หากผูวาจางไดวาจางบริษัท หรือบุคคลอื่นใดทํางานที่รับจาง ผูวาจางตอง รับผิดตอผลตางของจํานวนที่ผูวาจางตองเสียใหกับผูรับจางรายใหมที่เขามารับ ตามสัญญานี้ โดยผูวาจางมีสิทธิ หักเงินจํานวนดังกลาวจากเงินคาจางที่ผูวาจางยังคางชําระอยูตอ ขอ 4. ผูวาจางมีสิทธิที่จะทําการแกไข หรือเพิ่มเติม หรือลดงานจากแบบและรายละเอียดในสัญญา ไดทุกอยาง โดยไมตองบอกเลิกสัญญา การเพิ่มเติม MODEL หรือลดงานนี้ตองคิดและตกลงเปลี่ยนใหม ถามีการเพิ่มหรือ ลดเงิน หรือตองการยืดเวลาออกไปอีกก็จะไดตกลงกัน ณ บัดนี้ การแกไข เปลี่ยนแปลงตาง ๆ ใหทําเปนลายลักษณอักษร ลงชื่อทั้งฝายเปนสําคัญ ขอ 5. ในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยใด ๆ ที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได และเปนเหตุใหการทํา MODEL ตองหยุดชะงักลง โดยมิใชความผิดของผูรับจาง หรือมีพฤติการณที่ฝายผูรับจางไมตองรับ ผิดชอบระยะเวลาแลวเสร็จตามสัญญาออกไป เทากับเวลาที่เสียไปเพราะเหตุดังกลาว โดยผูรับ จางจะแจงเหตุดังกลาวพรอมหลักฐานเปนหนังสือใหผูวาจางทราบ เพื่อ ขอขยายระยะเวลาการทํางานตามออกไปโดยพลัน นับแตเกิดเหตุการณดังกลาว และตองไดรับการอนุญาตเปนหนังสือ จากผูวาจางดวย สัญญานี้ทําขึ้นเปนสองฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาไดอานและเขาใจขอความโดยตลอด แลว จึงลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับ ตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญตอหนาพยานและเก็บไวฝายละหนึ่งฉบับ

ลงชื่อ

……………………………………………….. ผูวาจาง

(……………………………………………………)

ลงชื่อ

ผูรับจาง

………………………………………………..

(……………………………………………………)

ลงชื่อ

………………………………………………..

พยาน

(……………………………………………………)

ลงชื่อ

………………………………………………..

(……………………………………………………)

Professional Practices INT 470

พยาน


45

ที่เกี่ยวกับงานออกแบบ งานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

Professional Practices INT 470


46

พระราชบัญญัติ สถาปนิก พ.ศ. 2543

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 เปนปที่ 55 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหป ระกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยวิชาชีพ สถาปตยกรรม พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 39 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจ ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบ ังคับ ตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป (ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 117 ตอนที่ 10 ก วันที่ 20 กุมภาพันธ 2543) มาตรา 3 ใหยกเลิกพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “วิชาชีพสถาปต ยกรรม” หมายความวา วิชาชีพสถาปตยกรรมที่ใชศาสตรแ ละศิลปสรางสรรคสถาปตยกรรมและ สิ่งแวดลอมในสาขาสถาปตยกรรมหลัก สาขาสถาปตยกรรมผังเมือง สาขาภูมิสถาปตยกรรม สาขาสถาปตยกรรม ภายในและมัณฑนศิลป และสาขาสถาปตยกรรมอื่น ๆ ที่กําหนดในกฎกระทรวง “วิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม” หมายความวา วิชาชีพสถาปตยกรรมที่กําหนดในกฎกระทรวง “ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมตามพระราชบัญญัตินี้ “ผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพ สถาปตยกรรมควบคุมจากสภาสถาปนิก “สมาชิก” หมายความวา สมาชิกสภาสถาปนิก “กรรมการ” หมายความวา กรรมการสถาปนิก “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสภาสถาปนิก “เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการสภาสถาปนิก “พนักงานเจาหนาที”่ หมายความวา บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งให ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน ี้ Professional Practices INT 470


47 รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้ง พนักงานเจาหนาที่ กับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

หมวด 1 สภาสถาปนิก มาตรา 6 ใหมีสภาสถาปนิก มีวัตถุประสงคและอํานาจหนาที่ตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ ใหสภาสถาปนิกเปนนิติบุคคล มาตรา 7 สภาสถาปนิกมีวัตถุป ระสงคดังตอไปนี้ (1) สงเสริมการศึกษา การวิจัย และการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม (2) สงเสริมความสามัคคีและไกลเกลี่ ยขอพิพาทของสมาชิก (3) สงเสริมสวั สดิก ารและผดุ งเกียรติของสมาชิก (4) ควบคุม ความประพฤติและการดําเนิ นงานของผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุ ม ใหถูกตองตาม มาตรฐานและจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรม (5) ชวยเหลือ แนะนํา เผยแพร และใหบริการทางดานวิชาการตาง ๆ แกประชาชน และองคกรอื่น ในเรื่องที่ เกี่ยวกับวิทยาการและเทคโนโลยีทางสถาปตยกรรม (6) ใหคําปรึกษา หรือขอเสนอแนะตอรัฐบาลเกี่ยวกับ นโยบายและปญหาดานสถาปตยกรรม รวมทั้งดาน เทคโนโลยี

Professional Practices INT 470


48 (7) (8)

เปนตัวแทนของผูป ระกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมของประเทศไทย ดําเนินการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 8 สภาสถาปนิกมีอํานาจและหนาที่ดังตอไปนี้ (1) ออกใบอนุญาตใหแกผูขอประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุ ม (2) พักใชใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต (3) รับรองปริญญา อนุ ปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิ บัตรในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุ ม (4) รับรองความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม (5) เสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการกําหนดและการเลิกสาขาวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม (6) ออกขอบังคับ สภาสถาปนิกวาดวย (ก ) การกําหนดลักษณะตองหามตามมาตรา 12 (6) (ข) การรับสมัครเป นสมาชิก คาจดทะเบียนสมาชิก คาบํารุง และคาธรรมเนียมที่เรียกเก็บ จาก สมาชิกหรือบุคคลภายนอก (ค ) การเลือกและการเลือกตั้ งกรรมการตามมาตรา 32 (ง ) การออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การพักใชใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต และการ รับรองความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม (จ ) คุณสมบัติ วาระการดํารงตําแหนง และการพ นจากตําแหนงของผูตรวจการตามมาตรา 20 วรรคสอง (ฉ ) หลักเกณฑและคุณสมบัติของผูขอรับใบอนุญาตแตละระดับตามมาตรา 46 (ช ) คุณสมบัติและลักษณะตองหามของผูขอรับ ใบอนุญาตตามมาตรา 49 (ซ ) จรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรม และการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนํามาซึ่งความ เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ (ฌ) มาตรฐานในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม (ญ) การประชุ มของที่ ประชุมใหญสภาสถาปนิก (ฎ ) การใด ๆ ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติน ี้ ขอบังคับ สภาสถาปนิกนั้น ตองไดรับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ และเมื่อไดป ระกาศในราชกิจจานุเบกษา แลวใหใชบ ังคับ ได (7)

ดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุป ระสงคของสภาสถาปนิก

มาตรา 9 สภาสถาปนิกอาจมีรายไดดังนี้ (1) คาจดทะเบียนสมาชิก คาบํารุง และคาธรรมเนียมตามพระราชบั ญญัติน ี้ (2) เงิน อุดหนุ นจากงบประมาณแผน ดิน (3) ผลประโยชนจากการจัดการทรัพยสิน และการดําเนิ น กิจการของสภาสมาชิก (4) เงิน และทรัพยสินซึ่งมีผูใหแกสภาสถาปนิก (5) ดอกผลของเงินและทรัพยสินตาม (1) (2) (3) และ (4)

Professional Practices INT 470


49 มาตรา 10 ใหรฐั มนตรีดํารงตําแหนงสภานายกพิเศษแหงสภาสถาปนิกและมีอํานาจหนาที่ตามที่บ ัญญัติไวใน พระราชบัญญัตินี้ หมวด 2 สมาชิก มาตรา 11 สมาชิกสภาสถาปนิกมีสามประเภทดังนี้ (1) สมาชิกสามัญ (2) สมาชิกวิ สามัญ (3) สมาชิกกิตติมศักดิ์ มาตรา 12 สมาชิกสามัญตองเปนผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี้ (1) มีอายุไมต่ํากวาสิบ แปดป บริ บ ูรณ (2) มีสัญชาติไทย (3) มีความรูในวิชาชีพสถาปตยกรรมโดยไดรับ ปริญญา อนุ ป ริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิ บัตรในวิชา สถาปตยกรรมศาสตรที่สภาสถาปนิกรับ รอง (4) ไมเปน ผู ป ระพฤติ ผิด จรรยาบรรณอั น จะนํ ามาซึ่ งความเสื่ อ มเสี ยเกี ย รติ ศั กดิ์ แห งวิ ช าชี พ ตามที่ กํา หนดใน ขอบังคับสภาสถาปนิก (5) ไมเคยตองโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก ในคดีที่เป นการประพฤติผิดจรรยาบรรณ อันจะ นํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก (6) ไมเป น ผูมีจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือไมเป น โรคที่กําหนดในข อบังคับสภาสถาปนิก สมาชิกวิสามัญตองเปนผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวของกับวิชาชีพสถาปตยกรรม และมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ ตองหามตามที่กําหนดในขอบังคับ สภาสถาปนิก สมาชิกกิตติมศักดิ์ ไดแก ผูทรงคุณวุฒิซึ่งที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกแตงตั้ง มาตรา 13 สิทธิและหนาที่ของสมาชิกสามัญมีดังตอไปนี้ (1) แสดงความคิดเห็น ในการประชุ ม ใหญสภาสถาปนิก (2) ออกเสียงลงคะแนนในการประชุม ใหญสภาสถาปนิก (3) แสดงความเห็ น และซักถามเป นหนังสือเกี่ยวกับ กิจการของสภาสถาปนิกตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณา และในกรณีที่สมาชิกรวมกันตั้งแตหาสิบคนขึ้นไป เสนอใหคณะกรรมการพิจารณาเรื่องใดที่เกี่ยวกับกิจการของสภา สถาปนิก คณะกรรมการตองพิจารณา และแจงผลการพิจารณาใหผูเสนอทราบโดยมิชักชา (4) เลือก รับเลือกตั้ง หรือรั บแตงตั้งเป น กรรมการ (5) ชําระคาจดทะเบียนสมาชิกและคาบํารุงตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก (6) ผดุงไวซึ่งเกี ยรติศักดิ์แหงวิชาชีพและปฏิบัติตนตามพระราชบัญญัตินี้ สมาชิกวิสามัญ หรือสมาชิกกิตติมศักดิ์ใหมีสิทธิและหนาที่เชนเดียวกับ สมาชิกสามัญ เวนแตสิทธิและหนาที่ ตาม (2) และ (4) มาตรา 14 สมาชิกภาพของสมาชิกยอมสิ้นสุดเมื่อ Professional Practices INT 470


50 ตาย (2) ลาออก (3) คณะกรรมการมี ม ติใหพนจากสมาชิกภาพ เพราะขาดคณะสมบัติตามมาตรา 12 สําหรั บกรณีสมาชิก สามัญและสมาชิกวิสามัญ แลวแตกรณี (4) ที่ ประชุ ม ใหญสภาสถาปนิกมีม ติเพิกถอนการแตงตั้งใหเป น สมาชิกกิตติมศักดิ์ (5) ไมชําระคาจดทะเบียนสมาชิกหรือคาบํารุง โดยไมมีเหตุผลอันสมควรตามที่กําหนดในขอบังคับ สภา สถาปนิก (6) สภาสถาปนิกมีมติเพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา 64 (1)

มาตรา 15 ใหมีการประชุมสมาชิกเปนการประชุมใหญสามัญปละหนึ่งครั้ง การประชุมใหญคราวอื่นนอกจากนี้เรียกวา การประชุมใหญวิสามัญ มาตรา 16 ใหคณะกรรมการจัดใหมีการประชุมใหญตามที่จําเปน สมาชิกสามัญอาจขอใหป ระชุมใหญวิสามัญไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก ในการนี้คณะกรรมการตองเรียกประชุมใหญวิสามัญภายในสามสิบวันนับ แตวันรับ คํารองขอ มาตรา 17 ในการประชุมใหญสภาสถาปนิก ถาสมาชิกสามัญมาประชุมไมครบจํานวนหนึ่งรอยคนและการ ประชุมใหญนั้นไดเรียกตามคํารองขอของสมาชิกก็ใหงดประชุม แตถาเปนการประชุมใหญที่สมาชิกมิไดเปนผูรองขอ ให เลื่อนการประชุมนั้นออกไป โดยใหนายกสภาสถาปนิกเรียกประชุมใหญอีกครั้งภายในสี่สิบหาวัน มาตรา 18 ในการประชุมใหญสภาสถาปนิก ใหนายกสภาสถาปนิกเปนประธานในที่ประชุม ในกรณีที่นายก สภาสถาปนิกไมอยูในที่ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหอุปนายกสภาสถาปนิกผูทําการแทนตามมาตรา 34 เปนประธานในที่ประชุม ถานายกสภาสถาปนิกและอุปนายกสภาสถาปนิกไมอยูในที่ประชุม หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหสมาชิกที่มาประชุมเลือกสมาชิกคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม มาตรา 19 ในการประชุมใหญสามัญประจําป กิจการอันพึงกระทําไดแก (1) ใหความเห็นชอบแผนการดําเนินงานประจําปของคณะกรรมการ (2) พิจารณาและอนุมัติงบดุลประจําปของสภาสถาปนิก (3) ตั้งผูสอบบัญชีและกําหนดคาตอบแทนผูสอบบัญชี มาตรา 20 ใหมีผูตรวจคนหนึ่งหรือหลายคนตามที่ที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกแตงตั้งจากสมาชิกหรือ บุคคลภายนอก คุณสมบัติ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากการดํารงตําแหนงใหเปนไปตามที่กําหนดในขอบังคับ สภา สถาปนิก ผูตรวจมีอํานาจหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานของคณะกรรมการแลวทํารายงานเสนอตอที่ป ระชุมใหญสภา สถาปนิก

Professional Practices INT 470


51 มาตรา 21 ในการตรวจสอบการดําเนินงานของคณะกรรทมการ ใหผูตรวจมีอํานาจเขาไปตรวจในสถานที่ทํา การงานตาง ๆ ของสภาสถาปนิกในระหวางเวลาทํางานได และใหผูซึ่งเกี่ยวของอํานวยความสะดวก ชวยเหลือ หรือให คําชี้แจงแกผูตรวจตามควรแกกรณี มาตรา 22 กรรมการ อนุกรรมการ เจาหนาที่สภาสถาปนิก ลูกจาง และตัวแทนของสภาสถาปนิกมีหนาที่สง เอกสารหลักฐานตาง ๆ ซึ่งตนเก็บรักษาหรืออยูในอํานาจของตนใหแกผูตรวจ และใหคําชี้แจงเกี่ยวกับการดําเนินงานตาง ๆ ในกิจการของสภาสถาปนิก ทั้งนี้ เมื่อผูตรวจรองขอ มาตรา 23 ในกรณีที่พบวาคณะกรรมการมิไดดําเนินการตามแผนการดําเนินงานประจําป หรือดําเนินงานไป ในทางที่อาจกอใหเกิดความเสียหาย หรือขัดตอวัตถุป ระสงคของสภาสถาปนิก ใหผูตรวจแจงใหที่ประชุมใหญสภา สถาปนิกหรือสมาชิกสามัญตามที่ตนเห็นสมควรเพื่อพิจารณาดําเนินการตอไป หมวด 3 คณะกรรมการ มาตรา 24 ใหมีคณะกรรมการสภาสถาปนิกประกอบดวย (1) กรรมการซึ่งสมาชิกสามัญเลือกตั้งขึ้นจากสมาชิกสามัญ และมิไดดํารงตําแหนงอาจารยใน สถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาจํานวนสิบคน (2) กรรมการซึ่งสมาชิกสามัญเลือกตั้งขึ้นจากสมาชิกสามัญ และดํารงตําแหนงคณาจารยใน สถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาจํานวนหาคน (3) กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากสมาชิกสามัญโดยการเสนอชื่อของรัฐมนตรี จํานวนหาคน ในการเลือกตั้งและแตงตั้งกรรมการตามวรรคหนึ่ง ใหคํานึงถึงสัดสวนของสมาชิกสามัญจากสาขา สถาปตยกรรมควบคุมคาง ๆ ในสัดสวนที่เหมาะสม มาตรา 25 เมื่อไดมีการแตงตั้งกรรมการและทราบผลการเลือกตั้งกรรมการตามมาตรา 24 แลว ให สภานายกพิเศษกําหนดใหมีการประชุมคณะกรรมการภายในสามสิบ วัน และใหถือวาวันประชุมดังกลาวเปนวันเริ่มวาระ ของการอยูในตําแหนงกรรมการ มาตรา 26 ใหคณะกรรมการเลือกกรรมการเพื่อดํารงตําแหนงนายกสภาสถาปนิก อุปนายกสภาสถาปนิกคน ที่หนึ่ง และอุปนายกสภาสถาปนิกคนที่สองตําแหนงละหนึ่งคน ใหนายกสภาสถาปนิกเลือกกรรมการเพื่อดํารงตําแหนงเลขาธิการ เหรัญญิก ตําแหนงละหนึ่งคน และอาจ เลือกกรรมการเพื่อดํารงตําแหนงอื่นไดตามความจําเปน ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ใหนายกสภาสถาปนิกมีอํานาจถอดถอนเลขาธิการ เหรัญญิก และตําแหนงอื่นตามวรรคสองออกจากตําแหนง ได ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ นายกสภาสถาปนิก อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่ง และอุปนายกสภาสถาปนิกคนที่สองใหดํารงตําแหนง ตามวาระของกรรมการซึ่งไดรับ เลือกตั้ง เมื่อผูดํารงตําแหนงนายกสภาสมาชิกพนจากหนาที่ ใหเลขาธิการ เหรัญญิก และผุดํารงตําแหนงอื่นตามวรรค สองพนจากตําแหนงดวย

Professional Practices INT 470


52 มาตรา 27 กรรมการตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี้ (1) เปนผูไดรับใบอนุญาตระดับ สามัญสถาปนิกแลวไมนอยกวาสิบปหรือระดับ วุฒิสถาปนิก (2) ไมเคยถูกสั่งพักใชใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต (3) ไมเปนบุคคลลมละลาย มาตรา 28 กรรมการใหมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสามป กรรมการซึ่งไดรับเลือกตั้งจะดํารงตําแหนงเกิน สองวาระติดตอกันไมได ใหกรรมการที่พนจากตําแหนงตามวาระปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอนจนกวาจะมีการเลือกตั้งหรือแตงตั้งกรรมการ ใหม มาตรา 29 นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ (1) สมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา 14 (2) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 27 (3) ลาออก (4) สภาสถาปนิกมีมติใหออกดวยคะแนนเสียงไมน อยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกที่ มาประชุ ม (5) ตําแหนงกรรมการซึ่งไดรับเลือกตั้งวางลงรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการซึ่งไดรับเลือกตั้งทั้งหมด และวาระของกรรมการเหลืออยูไมถึงเกาสิบวัน (6) รัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีสั่งใหพนจากตําแหนงตามมาตรา 69 มาตรา 30 เมื่อตําแหนงกรรมการซึ่งไดรับ เลือกตั้งวางลงกอนครบวาระใหคณะกรรมการเลือกสมาชิกผูมี คุณสมบัติตามมาตรา 27 และมาตรา 24 (1) หรือ (2) แลวแตกรณี เปนกรรมการแทนภายในสามสิบวันนับ แตวันที่ ตําแหนงกรรมการนั้นวางลง แตถาวาระของกรรมการเหลืออยูไมถึงเกาสิบ วันคณะกรรมการจะใหมีการเลือกกรรมการ แทนหรือไมก็ได ในกรณีตําแหนงกรรมการตามวรรคหนึ่งวางลงรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการซึ่งไดรับ เลือกตั้งทั้งหมด และวาระของกรรมการเหลืออยูตั้งแตเกาสิบวันขึ้นไปใหมีการประชุมใหญเพื่อเลือกตั้งกรรมการขึ้นแทนตําแหนงกรรมการ ที่วางใหผูซึ่งไดรับเลือกหรือเลือกตั้งใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของผูซึ่งตนแทน มาตรา 31 เมื่อตําแหนงกรรมการซึ่งไดรับการแตงตั้งตามมาตรา 24 (3) วางลงกอนครบวาระใหดําเนินการ แตงตั้งกรรมการแทนตําแหนงที่วางภายในสามสิบวันนับแตวัน ที่ตําแหนงกรรมการนั้นวางลง แตถาวาระของกรรมการ เหลืออยูไมถึงเกาสิบ วันจะมีการแตงตั้งแทนหรือไมก็ได ใหผูซึ่งไดรับการแตงตั้งแทนอยูในตําแหนงเพียงวาระที่เหลืออยูของผูซึ่งตนแทน มาตรา 32 การเลือกตั้งกรรมการตามมาตรา 24 (1) และ (2) การเลือกกรรมการเพื่อดํารงตําแหนงตาง ๆ ตามมาตรา 26 และการเลือกหรือการเลือกตั้งกรรมการตามมาตรา 30 ใหเปนไปตามขอบังคับสภาสถาปนิก มาตรา 33 ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (1) บริห ารและดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุป ระสงคและขอบังคับของสภาสถาปนิก (2) สอดสองดูแลและดําเนิน การทางกฎหมายกับผูกระทําการฝาฝนพระราชบัญญัตินี้ Professional Practices INT 470


53 ออกระเบี ย บคณะกรรมการว า ด ว ยการใด ๆ ตามที่ กํ า หนดให เ ป น หน า ที่ ข องคณะกรรมการใน พระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกมอบหมาย (4) กําหนดแผนการดําเนินงานและงบประมาณของสภาสถาปนิก (5) วินิจฉัยชี้ขาดอุทธรณ ซึ่งผูไดรับใบอนุญาตอุทธรณคําวินิจฉัยของคณะกรรมการจรรยาบรรณตามมาตรา 62 (3)

มาตรา

34

เลขาธิการ

นายกสภาสถาปนิก

อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่ง

และเหรัญญิก

อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่สอง มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

นายกสภาสถาปนิกมีอํานาจหนาที่ (ก ) เปนผูแทนสภาสถาปนิกในกิจการที่เ กี่ยวกับ บุคคล (ข) เปนประธานในที่ป ระชุมคณะกรรมการ และที่ประชุมใหญสภาสถาปนิก (ค ) ดําเนิน กิจการของสภาสถาปนิกใหเ ปนไปตามมติของคณะกรรมการ (2) อุป นายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่งเปนผูชวยนายกสภาสถาปนิกในกิจการอันอยูในอํานาจหนาที่ของนายก สภาสถาปนิกตามี่นายกสภาสถาปนิกมอบหมาย และเปนผูทําการแทนนายกสภาสถาปนิกเมื่อนายกสภาสถาปนิกไมอยู หรือไมสามารถปฏิบ ัติหนาที่ได (3) อุป นายกสภาสถาปนิกคนที่สองเปน ผูชวยนายกสภาสถาปนิกในกิจการอันอยูในอํานาจหนาที่ของนายก สภาสถาปนิกตามที่นายกสภาสถาปนิกมอบหมาย และเปนผูทําการแทนนายกสภาสถาปนิกเมื่อนายกสภาสถาปนิก และอุป นายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่งไมอยู หรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได (4) เลขาธิการมีอํานาจหนาที่ (ก ) ควบคุม บังคับบัญชาเจาหนาที่สภาสถาปนิกทุกระดับ (ข) เปนเลขานุการในที่ป ระชุมคณะกรรมการ และที่ประชุมใหญสภาสถาปนิก (ค ) ดําเนิน การตามที่น ายกสภาสถาปนิกมอบหมาย (5) เหรัญ ญิก มีอํานาจหนาที่ควบคุม ดูแล รับ ผิด ชอบการบัญ ชี การเงิน และการงบประมาณของสภา สถาปนิก นายกสภาสถาปนิ กอาจมอบหมายให อุป นายก กรรมการ เลขาธิก าร เหรัญ ญิก หรื อเจาหนาที่ ของสภา สถาปนิกกระทําการอยางหนึ่งอยางใดแทนไดตามที่กําหนดในขอบังคับ สภาสถาปนิก (1)

หมวด 4 การดําเนิน การของคณะกรรมการ มาตรา 35 การประชุมคระกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเปนองคประชุม ใหนายกสภาสถาปนิกเปนประธานในที่ป ระชุม ในกรณีที่นายกสภาสถาปนิกไมอยูในที่ประชุมหรคือไมอาจ ปฏิบัติหนาที่ไดใหอุปนายกสภาสถาปนิกผูทําการแทนตามมาตรา 34 เปนประธานในที่ประชุม ถานายกสภาสถาปนิก

Professional Practices INT 470


54 และอุปนายกสภาสถาปนิกไมอยูในทีป่ ระชุม หรือไมอาจปฏิบ ัติหนาที่ไดใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่ง เปนประธานในที่ประชุม มติของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทกัน ให ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนี่งเปนเสียงชีขาด ้ ในกรณีใหสมาชิกพนจากสมาชิกภาพตามมาตรา 14 (3) มติของที่ประชุมใหถือคะแนนเสียงไมนอยกวาสอง ในสามของจํานวนกรรมการที่มาประชุม มาตรา 36 สภานายกพิเศษจะเขารวมการประชุม และชี้แจงแสดงความเห็นในที่ป ระชุมคณะกรรมการ หรือ จะสงความเห็นเปนหนังสือปงสภาสถาปนิกในเรื่องใด ๆ ก็ได มาตรา 37 ในการดําเนินงานของคณะกรรมการ ใหคระกรรมการจัดทําแผนการดําเนินงานและงบประมาณ ประจําปเสนอตอที่ประชุมใหญสภาสถาปนิก เมื่อที่ประชุมมีมติเห็นชอบแลวจึงจะดําเนินงานได ใหคณะกรรมการจัดทํารายงานประจําปแสดงผลงานของคณะกรรมการในปที่ลวงมา คําชี้แจงเกี่ยวกับ นโยบาย พรอมดวยงบดุลและบัญชีรายไดและรายจายประจําปซึ่งผูสอบบัญชีตามกฎหมายวาดวยผูสอบบัญชีรับรองเสนอตอที่ ประชุมใหญสภาสถาปนิกภายในหนึ่งรอยยี่สิบ วันนับ แตวันสิ้นปปฏิทิน มาตรา 38 คณะกรรมการจะแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพี่อพิจารณาหือปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดแทนคระ กรรมการได การประชุมของคณะอนุกรรมการใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบคณะกรรมการ มาตรา 39 ใหมีสํานักงานสภาสถาปนิกทําหนาที่ธุรการตาง ๆ ใหแกคณะกรรมการและสภาสถาปนิก มาตรา 40 ใหนายกสภาสถาปนิกแตงตั้งหัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิกตามมติของคณะกรรมการจากบุคคล ซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี้ (1) มีสัญชาติไทย (2) มีอายุไมต่ํากวาสามสิบ ป บริ บ ูรณ (3) ไมเป นบุคคลลมละลาย บุคคลวิก ลจริต หรือคนไรความสามารถหรือเสมือนไรความสามารถ (4) ไมเคยตองโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับ ความผิดที่ไดกระทําโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ (5) คุณสมบัติอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา 41 การดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง การกําหนดคาจาง และเงื่อนไขอื่นในการทํางานใน หนาที่หัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิกใหเปนไปตามแบบสัญญาจางที่สภาสถาปนิกกําหนด มาตรา 42 หัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิกมีอํานาจหนาที่ดังนี้ (1) ควบคุม รั บผิดชอบงานธุรการทั่วไปของสภาสถาปนิก (2) ดูแลรักษาทะเบียนสมาชิก ทะเบียนผูไดรับใบอนุญาต และทะเบี ยนอื่ น ๆ ของสภาสถาปนิก (3) ควบคุม ดูแลทรัพยสินของสภาสถาปนิก (4) ปฏิ บัติการอื่ นใดตามที่คณะกรรมการหรือเลขาธิการมอบหมาย Professional Practices INT 470


55 หมวด 5 ขอบังคับสภาสถาปนิก มาตรา 43 รางขอบังคับ สภาสถาปนิกจะเสนอไดก็แตโดยคณะกรรมการหรือสมาชิกสามัญ การเสนอรางขอบังคับสภาสถาปนิกของสมาชิกสามัญจะกระทําไดเมื่อมีสมาชิกสามัญจํานวนไมนอยกวาหนึ่ง รอยคนรับรอง ใหคณะกรรมการจัดใหมีการประชุมใหญสภาสถาปนิกเพื่อพิจารณารางขอบังคับสภาสถาปนิกที่มีการเสนอตาม ความเหมาะสมแกกรณี การพิจารณารางขอบังคับสภาสถาปนิกจะเสนอเปนวาระจรไมได แตตองกําหนดเปนวาระใน หนังสือนัดประชุมใหชัดเจน และแนบรางขอบังคับ สภาสถาปนิกที่เสนอไปพรอมกันดวย มาตรา 44 เมื่อที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกมีมติใหความเห็นชอบรางขอบังคับ สภาสถาปนิกดวยคะแนนเสียง ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของสมาชิกสามัญที่เขาประชุมใหน ายกสภาสถาปนิกเสนอรางขอบังคับ สภาสถาปนิกตอสภานายก พิเศษโดยไมชักชา สภานายกพิเ ศษอาจยับ ยั้งรางขอบังคับ นั้นไดแตตองแสดงเหตุผลโดยแจงชัด ในกรณีที่มิไดยับ ยั้ง ภายในสามสิบ วันนับแตวันที่ไดรับ รางขอบังคับที่นายกสภาสถาปนิกเสนอใหถือวาสภานายกพิเศษใหความเห็น ชอบราง ขอบังคับนั้น ถาสภานายกพิเศษยับ ยั้งรางขอบังคับ ใด ใหคณะกรรมการประชุม อีกครั้งหนึ่ งภายในสามสิบ วันนับ แตวันที่ ไดรับ การยับยั้ง ในการประชุมครั้งหลังนี้ถามีเสียงยืนยันมติไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งคณะ ใหถือวา รางขอบังคับ นั้นไดรับ ความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษแลว หมวด 6 การควบคุมการประอบวิชาชีพ สถาปตยกรรม มาตรา 45 หามมิใหผูใดประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมหรือแสดงดวยวิธีใด ๆ ใหผูอื่นเขาใจวาตน พรอมจะประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมสาขาใด เวนแตจะไดรับใบอนุญาตในสาขานั้นจากสภาสถาปนิก มาตรา 46 ผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมแตละสาขามี 4 ระดับคือ (1) วุฒิสถาปนิก (2) สามัญสมาชิก (3) ภาคีสถาปนิก (4) ภาคีสถาปนิกพิเศษ หลักเกณฑและคุณสมบัติของผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมแตละระดับ ขอบังคับสภาสถาปนิก

ใหเปนไปตามที่กําหนดใน

มาตรา 47 หามมิใหผูใดใชคําหรือขอความที่แสดงใหผูอื่นเขาใจวาตนเปนผูมีความรูความชํานาญในการ ประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ทั้งนี้ รวมถึง การใช จางวาน หรือยินยอมใหผูอื่นกระทําดังกลาวใหแกตน เวน แตผูไดรับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติเปนผูมีความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมสาขานัน้ ๆ จาก สภาสถาปนิกหรือสถาบันที่สภาสถาปนิกรับรอง หรือผูไดรับใบอนุญาต ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กําหนดในขอบังคับ สภา สถาปนิก Professional Practices INT 470


56 มาตรา 48 การออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การพักใชใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต และการ รับรองความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ใหเปนไปตามที่กําหนดในขอบังคับ สภา สถาปนิก มาตรา 49 ผู ขอรั บ ใบอนุ ญาตตองมี คุ ณสมบั ติและไม มีลักษณะต องหามตามที่กํ า หนดในขอบัง คั บ สภา สถาปนิก ผูขอรับ ใบอนุญาตที่เปนบุคคลธรรมดาตองเปน สมาชิกสามัญหรือสมาชิกวิสามัญของสภาสถาปนิก และถา ขาดจากสมาชิกภาพเมื่อใดใหใบอนุญาตของผูนั้นสิ้นสุด ผูขอรับใบอนุญาตที่เปนนิติบ ุคคลไมวาจะเปนนิติบ ุคคลซึ่งมีทุนเปนของคนตางดาวจํานวนเทาใด นิติบ ุคคลนัน้ อยางนอยตองมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ (1) มีสํานักงานใหญตั้งอยูในราชอาณาจักร (2) ผูเปนหุนสวนของหางหุนสวน กรรมการของบริษัทหรือสมาชิกในคณะผูบ ริหารของนิติบุคคลจํานวนไมนอย กวากึ่งหนึ่ง หรือหุนสวนผูจัดการของหางหุนสวน กรรมการผูจัดการของบริษัท หรือผูมีอํานาจบริหารแตผูเดียวของนิติ บุคคลเปนผูซึ่งไดรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 50 ผูไดรับใบอนุญาตตองประพฤติตนตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรมตามที่กําหนดใน ขอบังคับสภาสถาปนิก มาตรา 51 บุคคลซึ่งไดรับ ความเสียหายหรือพบการประพฤติผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรมของผู ไดรับ ใบอนุญาต มีสิทธิกลาวหาผูไดรับใบอนุญาตผูนั้น โดยทําเรื่องยื่นตอสภาสถาปนิก กรรมการหรือบุคคลอื่นมีสิทธิกลาวโทษผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม วาผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ สถาปตยกรรมควบคุมโดยแจงเรื่องตอสภาสถาปนิก สิทธิการกลาวหาตามวรรคหนึ่งหรือสิทธิการกลาวโทษตามวรรคสองสิ้นสุดลงเมื่อพนหนึ่งปนับแตวันที่ผูไดรับ ความเสียหาย หรือผูกลาวโทษรูเรื่องการประพฤติผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมดังกลาวและรูตัวผู ประพฤติผิด การถอนเรื่องการกลาวหาหรือการกลาวโทษที่ไดยื่นไวแลวนั้น ไมเปนเหตุใหระงับการดําเนินการตาม พระราชบัญญัตินี้ มาตรา 52 เมื่อสภาสถาปนิกไดรับเรื่องการกลาวหาหรือการกลาวโทษ ตามมาตรา 51 ใหเลขาธิการเสนอ เรื่องดังกลาวตอคณะกรรมการจรรยาบรรณโดยไมชักชา มาตรา 53 ใหมีคณะกรรมการจรรยาบรรณ ประกอบดวยประธานกรรมการจรรยาบรรณคนหนึ่งและ กรรมการจรรยาบรรณตามจํานวนที่คณะกรรมการกําหนด แตไมนอยกวาสามคน ใหคณะกรรมการแตงตั้งกรรมการจรรยาบรรณตามมติของที่ป ระชุมใหญสภาสถาปนิกจากสมาชิกซึ่งมี คุณสมบัติดังตอไปนี้ (1) เปนผูป ระกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมมาแลวไมนอยกวาสิบ ป (2) ไมเคยถูกลงโทษฐานประพฤติผิดจรรยาบรรณ Professional Practices INT 470


57 มาตรา 54 กรรมการจรรยาบรรณใหมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสามป และอาจไดรับแตงตั้งใหมได แตจะ ดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได ใหกรรมการจรรยาบรรณที่พนจากตําแหนงตามวาระปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอนจนกวาจะมีการแตงตั้งกรรมการ จรรยาบรรณใหม มาตรา 55 นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการจรรยาบรรณพนจากตําแหนงเมื่อ (1) ลาออก (2) สมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา 14 (3) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 53 วรรคสอง (4) สภาสถาปนิกมีมติใหออกดวยคะแนนเสียงไมน อยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกที่ มาประชุ ม มาตรา 56 เมื่อตําแหนงกรรมการจรรยาบรรณวางลงกอนครบวาระ ใหคณะกรรมการดําเนินการแตงตั้งแทน ตําแหนงที่วาง เวน แตวาระของกรรมการจรรยาบรรณเหลืออยูไมถึงเกาสิบ วัน คณะกรรมการจะดําเนินการแตงตั้งแทน ตําแหนงที่วาง หรือไมก็ได ใหกรรมการจรรยาบรรณซึ่งไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของผูซึ่งตน แทน มาตรา 57 คณะกรรมการจรรยาบรรณมีอํานาจหนาที่พิจารณาวินิจฉัย กรณีที่มีการกลาวหาวาผูไดรับ ใบอนุญาตประพฤติผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรม วิธีพิจารณาและวินิจฉัยของคณะกรรมการจรรยาบรรณ ใหเปนไปตามระเบียบของคณะกรรมการ มาตรา 58 คระกรรมการจรรยาบรรณจะแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอยางใดอยาง หนึ่งแทนคณะกรรมการจรรยาบรรณได การปฏิบัติการของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบียบของคณะกรรมการ มาตรา 59 ในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการจรรยาบรรณ และคณะอนุกรรมการซึ่งคณะกรรมการ จรรยาบรรณแตงตั้ง ใหกรรมการจรรยาบรรณและอนุกรรมการ มีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหบ ุคคลซึ่งเกี่ยวของมา ใหถอยคําหรือสงเอกสารหรือวัตถุใด ๆ เพื่อประโยชนแกการพิจารณา แตถาเปนการมีคําสั่งตอบุคคลซึ่งมิใชผูไดรับ ใบอนุญาตจะตองไดรับ ความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษหรือผูซึ่งสภานายกพิเศษมอบหมาย ในการปฏิบ ัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหกรรมการจรรยาบรรณหรืออนุกรรมการเปนเจาพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 60 ใหประธานกรรมการจรรยาบรรณมีหนังสือแจงขอกลาวหาหรือขอกลาวโทษ พรอมทั้งสงสําเนา เรื่องที่กลาวหาหรือกลาวโทษใหผูไดรับ ใบอนุญาตซึ่งถูกกลาวหาหรือถูกกลาวโทษลวงหนาไมนอยกวาสิบหาวันกอนเริ่ม พิจารณา ผูถูกกลาวหาหรือถูกกลาวโทษมีสิทธิทําคําชี้แจงหรือนําพยานหลักฐานใด ๆ สงใหคณะกรรมการจรรยาบรรณ หรือคณะอนุกรรมการซึ่งคณะกรรมการจรรยาบรรณแตงตั้งภายในสิบหาวันนับแตวันไดรับแจงจากประธานกรรมการ จรรยาบรร หรือภายในเวลาที่คณะกรรมการจรรยาบรรณกําหนด Professional Practices INT 470


58 มาตรา 61 คณะกรรมการจรรยาบรรณมีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดอยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้ (1) ยกขอกลาวหา (2) ตักเตือน (3) ภาคทัณฑ (4) พักใชใบอนุญาตมีกําหนดเวลาตามที่เห็นสมควร แตไมเกิ นหาป (5) เพิกถอนใบอนุญาต มาตรา 62 ผูไดรับ ใบอนุญาตซึ่งคณะกรรมการจรรยาบรรณวินิจฉัยชี้ขาดตามมาตรา 61 (2) (3) (4) หรือ (5) อาจอุทธรณคําวินิจฉัยชี้ขาดตอคณะกรรมการไดภายในสามสิบวันนับแตวันไดรับ แจงคําวินิจฉัย การอุทธรณใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในขอบังคับ สภาสถาปนิก คําวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการใหทําเปนคําสั่งสภาสถาปนิก พรอมดวยเหตุผลของการวินิจฉัยชี้ขาดและให ถือเปนที่สุด มาตรา 63 หามมิใหผูไดรับใบอนุญาตซึ่งอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตผูใดประกอบวิชาชีพ สถาปตยกรรมควบคุมหรือแสดงดวยวิธีใด ๆ ใหผูอื่นเขาใจวาตนมีสิทธิหรือพรอมจะประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม ควบคุมนับแตวันที่ทราบคําสั่งสภาสถาปนิกที่สั่งพักใชใบอนุญาตนั้น มาตรา 64 ผูไดรับ ใบอนุญาตซึ่งอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตผูใดกระทําการฝาฝนตามมาตรา 63 ให สภาสถาปนิกมีมติเพิกถอนใบอนุญาตของผูนั้นนับแตวันที่ศาลพิพากษาถึงที่สุด มาตรา 65 ผูไดรับใบอนุญาตซึ่งถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะยื่นขอรับใบอนุญาตอีกไมไดจนกวาจะพนหาป นับ แตวันที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ในกรณีที่ผูถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเปนนิติบ ุคคล ใหมีผลเปนการเพิกถอนใบอนุญาตของผูเปนหุนสวนของ หางหุนสวนกรรมการของบริษัท ผูบริหารของนิติบ ุคคลและพนักงานหรือลูกจางของหางหุนสวนหรือบริษัทหรือนิติบ ุคคล ที่มีสวนรวมในการกระทําอันเปนเหตุใหหางหุนสวนหรือบริษัทหรือนิติบุคคลนั้นถูกเพิกถอนใบอนุญาต และหามมิให บุคคลดังกลาวเปนหุนสวนของหางหุนสวน กรรมการของบริษัท ผูบริหารของนิติบ ุคคล ซึ่งไดรับใบอนุญาตตาม พระราชบัญญัตินี้จนกวาจะพนหาปคนับแตวันที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต หมวด 7 การกํากับดูแล มาตรา 66 ใหรัฐมนตรีมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (1) กํากับ ดูแลการดําเนินงานของสภาสถาปนิกและการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม (2) สั่งใหพนักงานเจาหนาที่สอบสวนขอเท็จจริงเกี่ยวกับการดําเนิ น งานของสภาสถาปนิกและการประกอบ วิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม (3) สั่งเปนหนังสือใหกรรมการชี้แจงขอเท็จจริงเกี่ยวกับกิจการของสภาสถาปนิก และจะใหสงเอกสารเกี่ยวกับ การดําเนินงานหรือรายงานการประชุมของคณะกรรมการก็ได

Professional Practices INT 470


59 สั่งเปนหนังสือใหสภาสถาปนิกระงับหรือแกไขการกระทําใด ๆ สถาปนิก กฎหมาย หรือขอบังคับ สภาสถาปนิก (4)

ที่ปรากฏวาขัดตอวัตถุป ระสงคของสภา

มาตรา 67 เพื่อปฏิบัติการตามคําสั่งของรัฐมนตรีตามมาตรา 66 ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจออกคําสั่ง เปนหนังสือใหบุคคลซึ่งเกี่ยวของมาใหถอยคํา หรือสงเอกสารหรือวัตถุใด ๆ เพื่อประโยชนแกการพิจารณา และมีอํานาจ เขาไปตรวจสอบเอกสารหรือหลักฐานในสํานักงานของสภาสถาปนิก หรือในสถานที่ประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม ควบคุมไดในระหวางเวลาทําการ หรือใหบุคคลซึ่งเกี่ยวของชี้แจงแกพนักงานเจาหนาที่ตามที่รองขอ ทั้งนี้ใหพนักงาน เจาหนาที่เปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา ในการปฏิบ ัติการของพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ใหบุคคลซึ่งเกี่ยวของอํานวยความสะดวกตามสมควร มาตรา 68 ในการปฏิบัติงานของพนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัวตอบุคคลที่เกี่ยวของ บัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ใหเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีกําหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 69 เมื่อปรากฏวาสภาสถาปนิกไมปฏิบ ัติตามคําสั่งของรัฐมนตรีตามมาตรา 66 หรือมีพฤติการณ แสดงใหเห็นวาคณะกรรมการ นายกสภาสถาปนิก หรือกรรมการคนหนึ่งคนใดกระทําการอันผิดวัตถุป ระสงคของสภา สถาปนิก หรือกระทําการอันเปนการเสื่อมเสียอยางรายแรงแกสภาสถาปนิก ใหรัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมี อํานาจสั่งใหคณะกรรมการ นายกสภาสถาปนิก หรือกรรมการคนนั้นพนจากตําแหนง ในกรณีที่รัฐมนตรีจะมีคําสั่งตามวรรคหนึ่ง ใหรัฐมนตรีแตงตั้งสมาชิกสามัญจํานวนหาคนเปนคณะกรรมการ สอบสวน คณะกรรมการสอบสวนตองรีบทําการสอบสวนใหแลวเสร็จโดยเร็ว แลวเสนอสํานวนการสอบสวนพรอมทั้ง ความเห็นตอรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการ คําสั่งของรัฐมนตรีใหถือเปนที่สดุ มาตรา 70 ในกรณีที่รัฐมนตรีมีคําสั่งตามมาตรา 69 ใหกรรมการทั้งคณะของสภาสถาปนิกพนจากตําแหนง ใหรัฐมนตรีแตงตั้งบุคคลจากสมาชิกสามัญของสภาสถาปนิกเทากับจํานวนกรรมการที่จะมีไดตามมาตรา 24 เปน กรรมการชั่วคราวแทนกรรมการที่พนจากตําแหนงในวันเดียวกันกับวันที่รัฐมนตรีมีคําสั่งใหกรรมการพนจากตําแหนง ใหกรรมการชั่วคราวตามวรรคหนึ่ง มีอํานาจหนาที่ป ฏิบัติการเพียงเทาที่จําเปน และดําเนินการภายในสามสิบ วันนับ แตวันที่รัฐมนตรีมีคําสั่งแตงตั้งกรรมการชั่วคราว เพื่อใหมีการเลือกตั้ง และแตงตั้งกรรมการใหมตามมาตรา 24 เมื่อกรรมการใหมเขารับหนาที่แลว ใหกรรมการชั่วคราวซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตําแหนง หมวด 8 บทกําหนดโทษ มาตรา 71 ผูใดฝาฝนมาตรา 45 หรือมาตรา 63 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่น บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 72 ผูใดฝาฝนมาตรา 47 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับ ไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ

Professional Practices INT 470


60 มาตรา 73 ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการจรรยาบรรณหรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา 59 หรือพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา 67 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือนหรือปรับ ไมเกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทัง ปรับ มาตรา 74 ในกรณีที่ผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เปนนิติบุคคลใหหุนสวนของหางหุนสวน กรรมการของบริษัท ผูแทนของนิติบุคคล หรือผูซึ่งมีสวนในการกระทําความผิดดังกลาว มีความผิดในฐานะเปนผูรวม กระทําความผิด ผูใชใหกระทําความผิดหรือผูสนับ สนุนในการกระทําความผิด แลวแตกรณี ตองระวางโทษตามที่ กําหนดไวในการกระทําความผิดนั้น และสําหรับนิติบุคคลตองระวางโทษปรับ ไมเกินสิบ เทาของอัตราโทษปรับสําหรับ ความผิดนั้นดวย บทเฉพาะกาล มาตรา 75 ใหคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ สถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางกอนจนกวาจะมีคณะกรรมการ ตามมาตรา 24 และใหมีอํานาจออกขอบังคับ สภาสถาปนิกตามมาตรา 8 (6) เทาที่จําเปน เพื่อใชเปนการชั่วคราว ขอบังคับดังกลาวใหมีผลใชบ ังคับ จนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลงขอบังคับนั้น ทั้งนี้ โดยไมใหนํามาตรา 43 และมาตรา 44 มาใชบังคับ ใหสํานักงาน ก.ส. ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ปฏิบัติหนาที่สํานักงานสภา สถาปนิกตามมาตรา 39 และใหนายทะเบียน ก.ส. ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ สถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ปฏิบัติ หนาที่หัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิกตามมาตรา 42 เปนการชั่วคราวไปจนกวาสํานักงานสภาสถาปนิกจะมีบุคลากร ปฏิบัติหนาที่ แตทั้งนี้ตองไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบ วันนับแตวันเริ่มวาระของการอยูในตําแหนงคณะกรรมการตามมาตรา 25 ในวาระแรกมิใหนําความในมาตรา 27 (1) มาใชบ ังคับ แกสถาปนิกสาขาสถาปตยกรรมผังเมือง สาขาภูมิ สถาปตยกรรม และสาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ที่มีวุฒิและผลงานไมนอยกวา 10 ป ตามเงื่อนไขที่ ก.ส. ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ สถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 กําหนด การเลือกตั้งและแตงตั้งกรรมการตามมาตรา 29 ใหกระทําใหแลวเสร็จภายในหนึงรอยแปดสิบวันนับ แตวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มาตรา 76 ใหผูซึ่งไดรับอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ประเภทภาคีสถาปนิก สามัญ สถาปนิก และวุฒิสถาปนิกตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 อยูแลวในวันที่พระราชบัญญัตินี้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนสมาชิกสามัญของสภาสถาปนิกตามพระราชบัญญัตินี้ ใหผู ไดรั บ ใบอนุญ าตประกอบวิ ชาชีพสถาป ตยกรรมควบคุม ประเภทใบอนุญาตพิเ ศษตามพระราชบัญญั ติ วิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 อยูแลว ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ป ระกาศในราชกิจจานุเ บกษาเปนสมาชิกวิสามัญ ของสภาสถาปนิกตามพระราชบัญญัตินี้ เมื่อพนกําหนดเวลาตามใบอนุญาตหรือพนกําหนดสองปนับ แตวันที่พ ระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ แลวแตกําหนด ระยะเวลาใดจะยาวกวา ใหสมาชิกภาพของสมาชิกตามวรรคหนึ่งและวรรคสองเปนอันสิ้นสุดลง เวนแตจะสมัครและได เปนสมาชิกของสภาสถาปนิกตามพระราชบัญญัตินี้

Professional Practices INT 470


61 ใหถือวาปริญญา อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรที่คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ไดรับ รองแลวเปนปริญญา อนุป ริญญา หรือประกาศนียบัตรที่ สภาสถาปนิกใหการรับรองตามมาตรา 8 (3) มาตรา 77 ใหผูซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูป ระกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมประเภทวุฒิสถาปนิก สามัญ สถาปนิก ภาคีสถาปนิก หรือใบอนุญาตพิเศษตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 และใบอนุญาต นั้นยังคงใชไดในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนผูไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม ควบคุมระดับวุฒิสถาปนิก สามัญสถาปนิก ภาคีสถาปนิก หรือภาคีสถาปนิกพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้ แลวแตกรณี เพื่อประโยชนตามมาตรา 27 (1) ใหถือวากําหนดเวลาที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูป ระกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม ควบคุม ประเภทสามั ญสถาปนิก ตามพระราชบัญญั ติวิ ชาชีพสถาปต ยกรรม พ.ศ. 2508 เปน กําหนดเวลาที่ไ ดรั บ ใบอนุญาตระดับสามัญสถาปนิกตมพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 78 คําขอรับใบอนุญาตซึ่งไดยื่นไวกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหดําเนิน การตอไปจนกวาจะ แลวเสร็จ โดยใหถือวาเปนการดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายในสองรอยยี่สิบ วันนับ แตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ หากพนกําหนดเวลาดังกลาว ใหพิจารณาดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหถือวาผูที่ไดรับใบอนุญาตตามความในวรรคกอนเปนสมาชิกสามัญหรือสมาชิกวิสามัญของสภาสถาปนิกตาม ความในมาตรา 76 โดยอนุโลม มาตรา 79 ในระหว างที่ยัง มิไ ดอ อกกฎกระทรวง ขอ บัง คับ ระเบี ยบ หรือประกาศเพื่ อปฏิบ ัติ การตาม พระราชบัญญัตินี้ ใหนํากฎกระทรวง ขอบังคับ ระเบียบ หรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 มาใชบ ังคับโดยอนุโลม มาตรา 80 ใหถือวาการกระทําผิดมรรยาทหรือขอกําหนดและเงื่อนไข ในการประกอบวิชาชีพ สถาปตยกรรม ควบคุมตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ซึ่งไดกระทํากอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับและยังไม มีการดําเนินการตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 เปน การประพฤติผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ สถาปตยกรรมตามพระราชบัญญัตินี้ และการดําเนินการตอไปใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณี ที่ มี ก ารดํ า เนิ น การกั บ ผู ก ระทํ า ผิ ด มรรยาท หรื อ ข อ กํ า หนดและเงื่ อ นไขในการประกอบวิ ช าชี พ สถาปตยกรรมควบคุมกอนวันที่พ ระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหถือวา การดําเนินการดังกลาวเปนการดําเนิน การตาม พระราชบัญญัตินี้ และการดําเนินการตอไปใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ ผูร ับ สนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี อัตราคาธรรมเนียม (1)

คาใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม บุคคลธรรมดา (ก) ระดับวุฒิสถาปนิก

Professional Practices INT 470

10,000 บาท


62

(2)

(3)

(4)

(5)

(ข) ระดับสามัญสถาปนิก 7,500 บาท (ค) ระดับภาคีสถาปนิก 5,000 บาท (ง) ระดับภาคีสถาปนิกพิเศษ 5,000 บาท นิติบุคคล คาใบอนุญาตนิติบุคคล 100,000 บาท คาตออายุใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ที่ขอตออายุใบอนุญาตกอนใบอนุญาต หมดอายุ บุคคลธรรมดา (ก) ระดับวุฒิสถาปนิก 3,000 บาท (ข) ระดับสามัญสถาปนิก 2,000 บาท (ค) ระดับภาคีสถาปนิก 1,000 บาท (ง) ระดับภาคีสถาปนิกพิเศษ 1,000 บาท สําหรับ ผูที่ขอตออายุใบอนุญาตหลังจากใบอนุญาต หมดอายุใหเพิ่มอัตราคาธรรมเนียม 2,000 บาท นิติบุคคล (ก) คาตอใบอนุญาตนิติบุคคลที่ขอตออายุใบอนุญาต กอนใบอนุญาตหมดอายุ 30,000 บาท (ข) คาตอใบอนุญาตนิติบุคคลที่ขอตออายุใบอนุญาต หลังจากใบอนุญาตหมดอายุ 50,000 บาท คาหนังสือรับรองความรูความชํานาญในการประกอบ วิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม 10,000 บาท คาใบแทนใบอนุญาตหรือหลักฐานรับรองการไดรับ ใบอนุญาต บุคคลธรรมดา 500 บาท นิติบุคคล 5,000 บาท คาทดสอบความรูในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม ควบคุมครั้งละ 2,000 บาท

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพ ระราชบัญญัติฉบับ นี้ คือ โดยที่วิทยาการดานสถาปตยกรรมมีการพัฒนาใน เนื้อหาและวัตถุป ระสงคแตกตางจากเดิมจนครอบคลุมการสรางสรรคสถาปตยกรรมและสิ่งแวดลอมใหมีป ระโยชนใชสอย ความงาม และมั่นคง เพื่อสนองความตองการทางเศรษฐกิจ เอกลักษณ วัฒนธรรม และคุณภาพชีวิตความเปนอยู ทํา ใหมีภาระที่ตองควบคุมดูแลมากกวาเดิม และการรวมตัวของสถาปนิกในการจัดตั้งองคกรวิชาชีพก็ไดดําเนินการมาจน มั่นคงเปนที่ประจักษในผลงานแลว สมควรใหผูป ระกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมรวมตัวกันตั้งองคกรวิชาชีพ เพื่อ ชวยรัฐใน การควบคุมดูแลมาตรฐานความรูและการประกอบวิชาชีพใหสามารถดําเนินการควบคุมไดใกลชิดยิ่งขึ้น และจากนโยบาย เปดเสรีในการคาและบริการในความสัมพันธระหวางประเทศทําใหตองเรงการรวมมือกันระหวางภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อสงเสริมคุณภาพการประกอบวิชาชีพใหพรอมกับการแขงขันกับ ตางประเทศ สมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยวิช าชีพ สถาปตยกรรม จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ Professional Practices INT 470


63

ตัวอยางแบบฟอรม ใบสมัครสมาชิกสภาสถาปนิก

Professional Practices INT 470


64

ใบสมัครสมาชิกสภาสถาปนิก

รูปถาย 2.5 ซม.

(โปรดทําเครื่องหมาย X ลงใน ใหตรงกับความประสงค)

เขียนที่ ………...…….…..……………

รหัสบุคคล

วันที่……...……….....…….………….

ทะเบียนสมาชิก (โดยเจาหนาที่)

ประเภท สมาชิกสามัญ ไทย) สาขา สถาปตยกรรมหลัก ภูมิสถาปตยกรรม

สมาชิกวิสามัญ (สัญชาติไทย)

สมาชิกวิสามัญ (ไมมีสัญชาติ

สถาปตยกรรมภายในและมัณฑณศิลป สถาปตยกรรมผังเมือง

สวนที่ 1 ขอมูลประวัติสวนตัว 1. ชื่อ-นามสกุล นาย นางสาว นาง ยศฯลฯ ………………………………….………………..……...……….. 2. ชื่อ-นามสกุลเปน ภาษาอังกฤษ……………………..……………….………………….………………………………… 3

ชื่อเดิม………………………………….. (กรณีเปลี่ยนภายหลังไดใบประกอบวิชาชีพ / สําเร็จการศึกษา) นามสกุลเดิม…………………………… (กรณีเปลี่ยนภายหลังไดใบประกอบวิชาชีพ / สําเร็จการศึกษา)

4. เกิดที่จังหวัด……………………..…..…ประเทศ ..…………….วัน/เดือน/ปเกิด……………………….…. 5. เชื้อชาติ………………..…… สัญชาติ ………….…………………ศาสนา ……….……………………… 6.

บัตรประจําตัวประชาชน บัตรขาราชการ หนังสือเดินทาง อื่นๆ(ระบุ)………………………… เลขที… ่ ……………………………..…………………ออกโดย…………..…………………….…..…… วันหมดอายุ…………………………………………..

7.

ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ประเภท ภาคี สาขาสถาปตยกรรมหลัก เลขที… ่ …………...เมื่อ วันที… ่ …..เดือน…….……….ป……...…. สามัญ สาขาสถาปตยกรรมหลัก เลขที… ่ ………….. เมื่อ วันที… ่ …..เดือน…….…….…ป……...…. วุฒิ สาขาสถาปตยกรรมหลัก เลขที… ่ ……………เมื่อ วันที… ่ .….เดือน……..………ป……...….

8.

หลักฐานประกอบ กรณีเปนผูไมมีสัญชาติไทย หนังสืออนุญาตใหทํางานในราชอาณาจักร

Professional Practices INT 470


65 อื่นๆ ……………………………………… สวนที่ 2 ขอมูลสถานที่ติดตอ

2.1 ที่อยูปจจุบัน (ที่สามารถติดตอได) บานเลขที… ่ …………………...หมูท.ี่ .............ซอย............................................ ถนน…………......…..............…..แขวง/ตําบล…………...…..............…….เขต/ อําเภอ….........…………… จังหวัด………......…………………… รหัสไปรษณีย ….…….โทรศัพท …………….………โทรสาร …………..………EMAIL………………………… 2.2 ที่ท ํางาน (สถานที่ทํางานประจํา) บริษัท หาง หางหุนสวน อื่นๆ…...……………….………………………………………………….. เลขที… ่ ………..อาคาร……..……………………………………………………………… ถนน…………………...…….แขวง/ตําบล…………………………..เขต/อําเภอ…………………..……..… จังหวัด ...….………….……………….รหัสไปรษณีย…  ………………..โทรศัพท …………………………...… โทรสาร ………………………………..….… 2.3 สถานที่ที่ตองการใหติดตอ

ที่บาน

ที่ทํางาน

สวนที่ 3 ขอมูลประวัติการศึกษา อบรม 3.1 การศึกษา 1. ระดับป.ว.ส / อนุป ริญญา.…………..………….……………………….. สาขา …….….……………....…………..…….. สถานศึกษา…………………………………………………………………………สําเร็จปการศึกษา ...………………….. 2. ระดับปริญญาตรี………………….………….….………………………. สาขา…………….……….………………..….. สถานศึกษา…………………………………………………………………………สําเร็จป การศึกษา…...……………….. 3. ปริญญาโท………………………...…………………………...…….…. สาขา…………………..………..……..……… สถานศึกษา…………………………………………………………………………สําเร็จป การศึกษา…...……………….. 4. ปริญญาเอก………………..………………….………………………… สาขา….………………….…………………….. สถานศึกษา…………………………………………………………………………สําเร็จป การศึกษา….………………….

Professional Practices INT 470


66 5. หลักสูตรอื่นๆ……………………………………………………….……. สาขา…….……………………………………… สถานศึกษา…………………………………………………………………………สําเร็จป การศึกษา……….……………. 3.2 การอบรม / สัมมนา ดานวิชาการ หรือ วิชาชีพ 1. หลักสูตร/เรื่อง………………………………..……………..…… สาขา………….……...……………………….…………. สถาบัน/สถานศึกษา…………………..………………………...ป พ.ศ.…..…… ระยะเวลาของการ อบรม……………….. 2. หลักสูตร/เรื่อง……………………………..…..………………… สาขา……………………………..…….……..………… สถาบัน/สถานศึกษา……………..……………………….……..ป พ.ศ.……..….ระยะเวลาของการ อบรม…………….…. 3. หลักสูตร/เรื่อง………………………………..………………….. สาขา…………………..……………….….………….… สถาบัน/สถานศึกษา…………………….….…………………...ป พ.ศ.…..…… ระยะเวลาของการ อบรม……......……… 4. หลักสูตร/เรื่อง…………………………………………….… ….. สาขา……………………………..……………………… สถาบัน/สถานศึกษา…………………………………………….ป พ.ศ.…..…… ระยะเวลาของการ อบรม……………..… 5. หลักสูตร/เรื่อง……………………………………………….…... สาขา……………………….………….………………… สถาบัน/สถานศึกษา…………………………………………….ป พ.ศ.…………ระยะเวลาของการ อบรม……………….. ขาพเจา ขอยื่นใบสมัครตอหัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิก พรอมเอกสารและหลักฐานตามขอบังคับสภาสถาปนิก ดังตอไปนี้ สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน บัตรขาราชการ หนังสือเดินทาง อื่นๆ…………… จํานวน….…. รายการ สําเนาทะเบียนบาน จํานวน…….. รายการ สําเนาหลักฐานการศึกษา จํานวน…….. รายการ ใบรับรองแพทย …..……………………………………………………………… จํานวน…….. รายการ รูปถายหนาตรงไมสวมหมวก ขนาด 2.5 เซนติเมตร ถายไวไมเกิน 1 ป จํานวน 2 รูป ขาพเจาขอรับรองวาขอความที่ใหไวนี้เปนความจริงทุกประการ (ลายมือชื่อ)..………………...........……………….… ผูสมัคร (…….……………….…………………….)

เอกสารประกอบ

Professional Practices INT 470


67 ขอมูลเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม 1. ปจจุบันประกอบอาชีพหลัก (FULL TIME) คือ 1. หนวยงานราชการ 2. รัฐวิสาหกิจ 3. บริษัทเอกชน 4. องคกรอิสระ 5. ปฏิบัติงานอิสระ 6. เกษียณแลว 7. อื่นๆ….…………………………………….…….. กรณี1- 4 โปรดระบุสถานที… ่ ……………………………………………………………….………………. 2. ประเภทของการปฏิบัตงิ านวิชาชีพที่ทานทําหนาที่อยูในปจจุบัน(ระบุไดมากกวา1 ประเภท) 1. บริหารการพัฒนาอสังหาริมทรัพย 2. บริหารโครงการ 3. บริหารการกอสราง 4. ผูชวยบริหารการกอสราง 5. ออกแบบสถาปตยกรรม 6. ผูชวยออกแบบสถาปตยกรรม 7. ออกแบบสถาปตยกรรมภายใน 8. ผูชวยออกแบบตกแตงภายใน 9. ออกแบบภูมิสถาปตยกรรม 10. ผูชวยออกแบบภูมิสถาปตยกรรม 11. ออกแบบวางผังชุมชนหรือเมือง 12. ผูชวยออกแบบวางผังชุมชนหรือเมือง 13. นักวิจัยสถาปตยกรรม 14. ผูเชี่ยวชาญออกแบบดานพลังงาน 15. ผูเชี่ยวชาญเทคนิควัสดุกอสราง 16. ผูรับ เหมางานกอสราง 17. อาจารยสถาบันระดับอุดมศึกษา 18. อาจารยสถาบันเทคนิคระดับอาชีวศึกษา 19. ผูบริหารหนวยงานราชการ 20. อื่นๆ(ระบุ)…………………………………….. 3. ประวัติ ผลงานที่ผานมา (กรุณากรอกขอมูลอยางนอย 5 ปที่ผานมา ปละ 2 ผลงาน) โครงการ / ที่ตั้ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

ปแลวเสร็จ

ภาระหนาที่

1. ใหคําปรึกษาโครงการ 2. ออกแบบ 3.ผูชวยออกแบบ 4. พิจารณาตรวจสอบ 5. อํานวยการกอสราง 6. อื่นๆ (ระบุ)………………… 4. การประกอบอาชีพรอง (PART TIME ) 1. ประกอบอาชีพรอง (นอกเวลา / PART TIME) ทํา ไมทํา 2. สถานที่ทํางานอาชีพรอง (นอกเวลา / PART TIME) บริษัทเอกชน ปฏิบ ัติงานอิสระ 3. ทํางานอาชีพรอง(นอกเวลา / PART TIME) ประมาณสัปดาหละ……………ชั่วโมง 4. ลักษณะงานของอาชีพ รอง…………………………………...………………………………………………………. 5. สถานที่ทํางานอาชีพรอง (PART TIME ) ชื่อหนวยงาน/ บริษัท…………………………………………………………..…………………...……………………… ที่ตั้งเลขที… ่ ………………………..อาคาร……………………….. ถนน………………………..…….………………… แขวง/ตําบล ………………………………เขต/อําเภอ ……………..…………… จังหวัด……………………………… ภาระหนาที่

Professional Practices INT 470


68 รหัสไปรษณีย ……………โทรศัพท ……………..….. โทรสาร……………………EMAIL………………………………

เอกสารประกอบคํารับรอง คุณสมบัติของผูรับรอง สมาชิกสามัญสภาสถาปนิกซึ่งจดทะเบียนและรับใบอนุญาตฯ มาแลว ไมนอยกวา 10 ป 1 ทาน หรือ สมาชิกสามัญสภาสถาปนิกซึ่งจดทะเบียนและรับใบอนุญาตฯ มาแลว ไมนอยกวา 5 ป 2 ทาน 1. ขาพเจา นาย/นางสาว/นาง/ยศฯลฯ………………………………………………นามสกุล…………………….... ……สมาชิกสามัญเลขที่………………ใบอนุญาตประเภท…………………เลขที่…………………ประกอบวิชาชีพ สถาปตยกรรมควบคุมมาแลว……….ป สถานที่ทํางาน……………………………………………………………….. เลขที… ่ ……………... หมูท… ี่ ……… ตรอก/ซอย……………………...……ถนน……..…………….………….…แขวง/ ตําบล……………………. เขต/อําเภอ……………………..…...จังหวัด……………………….…………… รหัสไปรษณีย…  ……………………………หมายเลขโทรศัพท……………………………………………………………. โทรสาร……………………………………….. EMAIL…………………………………….……………………. ขอรับรองวานาย/นางสาว/นาง/ยศ ฯลฯ………………………..………. นามสกุล…….……..…………………………ไมเปนผูมีความประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพรองในศีลธรรมอันดี และไม เปนผูมีประวัติหรือไดกระทําการอันใด ซึ่งแสดงใหเห็นวาไมนาไววางใจในความซื่อสัตยสุจริต และเปนผูมีความ เหมาะสมที่จะเปนสมาชิกสภาสถาปนิกประเภท…………….. …………………………………………………………. ได (ลายมือชื่อ)…….……………………..……….ผูรับรอง (....………………………………..) ….……/…….……./…….…… 2. ขาพเจา นาย/นางสาว/นาง/ยศฯลฯ………………………นามสกุล………………………สมาชิกสามัญ เลขที… ่ ……..……ใบอนุญาตประเภท…………………เลขที่…………………ประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม มาแลว……….ป สถานที่ทํางาน……………………………….เลขที… ่ ………. หมูท… ี่ ……… ตรอก/ซอย…………………ถนน……..………………….…แขวง/ตําบล……………………. เขต/ อําเภอ……………………..…...จังหวัด……………………รหัสไปรษณีย…  ……………………………หมายเลข โทรศัพท……………………โทรสาร………….EMAIL………………… ขอรับรองวานาย/นางสาว/นาง/ยศ ฯลฯ……………………นามสกุล…….……..……………ไมเปนผูมีความ ประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพรองในศีลธรรมอันดี และไมเปนผูมีป ระวัติหรือไดกระทําการอันใด ซึ่งแสดงใหเห็นวาไมนา ไววางใจในความซื่อสัตยสุจริต และเปนผูมีความเหมาะสมที่จะเปนสมาชิกสภาสถาปนิก ประเภท…………………………………. ได (ลายมือชื่อ)…………………...……….……….ผูรับรอง Professional Practices INT 470


69 (…………………………..………..) ……../…….…./….…… สําหรับเจาหนาที่สภาสถาปนิก 1. เจาหนาที่ตรวจสอบ ไดรับเอกสารและหลักฐานครบถวน (ตามหนา 2) ไดตรวจสอบเอกสารและหลักฐานแลวมีคุณสมบัติครบถวนตามขอบังคับสภาสถาปนิก ไดตรวจสอบเอกสารและหลักฐานแลวขาดคุณสมบัติ เนื่องจาก .......................................…………………………………..………………… (ลายมือชื่อ).……………………........……เจาหนาที่ตรวจสอบ (………………………….……….) 2. บันทึกหัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิก เห็นควรใหติดประกาศไว ณ สํานักงานสภาสถาปนิก เปนเวลาไมนอยกวา 15 วัน เพื่อใหโอกาสบุคคล อื่นคัดคาน (ถามี) ประกาศ ณ วันที… ่ ………………….…………ถึง………...………………….…… เสนอเลขาธิการสภาสถาปนิกนําเสนอตอคณะกรรมการสภาสถาปนิกเพื่อพิจารณา (พรอมคําคัดคานถามี) (ลายมือชื่อ)………......….………….…….หัวหนาสํานักงาน สถาปนิก (…………………...........…….….) 3. มติของคณะกรรมการสภาสถาปนิก ใหจดทะเบียนเปนสมาชิกได

ไมรับ จดทะเบียน เนื่องจาก………………………………………………………… สงคืนหัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิก (ลายมือชื่อ)……………………………….เลขาธิการสภา สถาปนิก (……………..…………….……..)

4. งานทะเบียน / ประวัติ ใหออกบัตรสมาชิกสภาสถาปนิกประเภท

สามัญ วิสามัญ (สัญชาติไทย) วิสามัญ (ไมใชสัญชาติไทย) (ลายมือชื่อ)....………………………….……….…….นาย ทะเบียน (…..……....…….....……….……..)

ทะเบียนสมาชิกเลขที่ …………………………….ตั้งแตวันที่……………………………………… รับบัตรสมาชิกไดในวันที่……………………………………………………………………….……. Professional Practices INT 470


70

(ลายมือชื่อ)....…………………….…….หัวหนางานทะเบียน/ ประวัติ (…..……....…….....……….……..)

คําขอชําระคาธรรมเนียมการจดทะเบียนสมาชิกและคาบํารุง

แบบ ส.ภ.ส.2/1 รหัสบุคคล………….…….

สําหรับผูที่สมัครเปนสมาชิกใหมใหยื่นแบบ ส.ภ.ส.2/1 นี้พรอมกับใบสมัครเปนสมาชิกสภาสถาปนิกแบบ ส.ภ.ส.1 ( โปรดทําเครื่องหมาย X ลงใน ใหตรงกับความประสงค ) ขาพเจามีความประสงคขอชําระเงินคาธรรมเนียมการจดทะเบียนสมาชิกและคาบํารุง ดังนี้

บาท

คาจดทะเบียนสมาชิก บาท คาบํารุงราย 2 ป

บาท บาท

คาบํารุงราย 5 ป บาท

บาท บาท บาท

ประเภทสามัญ / วิสามัญ

ฉบับละ 500

ประเภทสามัญ

อัตรา

500

ประเภทวิสามัญ (ผูมีสัญชาติไทย)

อัตรา

300

ประเภทวิสามัญ (ผูไมมีสัญชาติไทย)

อัตรา

3,000

ประเภทสามัญ

อัตรา

1,000

ประเภทวิสามัญ (ผูมีสัญชาติไทย)

อัตรา

600

ประเภทวิสามัญ (ผูไมมีสญ ั ชาติไทย)

อัตรา

6,000

คาทําบัตรสมาชิกสภาสถาปนิก

ฉบับละ

รวมเปนเงินทั้งสิ้น

200

บาท (ลายมือ ชื่อ)…..........................…….......................... (.………................................................. ....) วันที่ ............/..................../.............………

สําหรับเจาหนาที่

Professional Practices INT 470


71 ไดรับเงินตามใบเสร็จรับเงิน เลมที….……………………เลขที ่ … ่ …………………ลงวันที… ่ ……………………… (ลายมือชื่อ)…..……......….......................……........…....เจาหนาทีก่ ารเงิน

ตัวอยางแบบฟอรม หนังสือรับรองของ ผูประกอบวิชาชีพ สถาปตยกรรมควบคุม

Professional Practices INT 470


72

หนังสือรับรอง ของ ผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม เขียนที่ ........................................... วันที่ .......... เดือน ......................... พ.ศ. ................ โดยหนังสือฉบับนี้ ขาพเจา ...................................................................... อายุ .....................ป เชื้อชาติ ................. สัญชาติ ................. อยูบานเลขที่ ..................... หมูที่ .............. ถนน ............................... ตรอก/ซอย ................................ ตําบล/แขวง ....................................... อําเภอ/เขต ......................................... จังหวัด ......................... ที่ทํางาน ....................... โทรศัพท ที่บ าน ....................... โทรศัพทที่ทํางาน.................. ไดรับ ใบอนุญาตใหประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมประเภท .............................. สาขา ............................ แขนง ................................. ตามใบอนุญาตเลขทะเบียนที่ ..................................... และขณะนี้ไมไดถูกเพิกถอน ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ขอรับรองวาขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. ๒๕๐๘ โดยขาพเจาเปนผูควบคุมการกอสราง , วางผัง , ออกแบบ ทํารายการกอสราง เปนสิ่งกอสรางชนิด ........................................... จํานวน ....................................... เพื่อใช ............................... เปนสิ่งกอสรางชนิด ........................................... จํานวน ....................................... เพื่อใช ............................... เปนสิ่งกอสรางชนิด ........................................... จํานวน ....................................... เพื่อใช ............................... ของ .................................................................................................................................................................. กอสรางในโฉนดที่ ...................... หมูที่ .................. ถนน ........................ ตรอก/ซอย ....................................... ตําบล/แขวง ............................. อําเภอ/เขต ................................... จังหวัด ..................................................... ตามผังบริเวณ , แบบกอสราง , รายการกอสราง ที่ขาพเจาไดลงนามรับรองไวแลว ซึ่งแนบมาพรอมเรื่องราว ขอ อนุญาตปลูกสรางอาคาร เพื่อเปนหลักฐานขาพเจาไดลงลายมือชื่อไวเปนสําคัญ (

ลงชื่อ ) ...................................... สถาปนิก

ลงชื่อ ) ...................................... ผูขออนุญาตกอสราง ,ดัดแปลง , ตอเติม ( ลงชื่อ ) ...................................... พยาน (

(

ลงชื่อ ) ...................................... พยาน

คําเตือน ๑. ใหขีดฆาขอความที่ไมใชออก ๒. ใหสถาปนิกแนบภาพถายใบประกอบวิชาชีพ หรือภาพถายประจําตัว แสดงวา ไดรับอนุญาตใหป ระกอบวิชาชีพไปดวย ( พรอมทั้งลงนามรับรองในภาพถาย ) ๓. หากมีการเปลี่ยนแปลงสถาปนิกตามหนังสือรับรองฉบับนี้ ใหสถาปนิกรีบแจง ใหกรุงเทพมหานครทราบเปนลายลักษณอักษร Professional Practices INT 470


73

บรรณานุกรม 1. 2. 3. 4. 5. 6.

เอกสารหลักการประกอบวิชาชีพงานสถาปตยกรรม สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทย ป 2552 พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ.2543 ; ธีระพล อรุณะกสิกร พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2552 วิเคราะหฎีกาคําพรอมคําอธิบ าย ; สนิท สนั่นศิลป การบริหารงานกอสราง (CONSTRUCTION MANAGEMENT) โดย วิสูตร จิระดําเกิง ; 2552 การบริหารสํานักงานสมัยใหม ; รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน ธุรกิจเบื้องตน (Business : A Changing World) ; พรพรหม พรหมเพศ 2548 สํานักพิมพทอป

เว็บไซดอางอิง 1. 2. 3. 4. 5.

http://www.act.or.th/about08.html http://www.tida.or.th/ www.ncidq.org www.idec.org www.accredit-id.org

Professional Practices INT 470


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.