เสียงสำราญ

Page 1

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ

นายส�าราญ เกิดผล

ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง [ดนตรี ไทย] พ.ศ. 2548 ณ เมรุวัดเสนาสนารามราชวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2561


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ

นายส�าราญ เกิดผล

ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง [ดนตรี ไทย] พ.ศ. 2548 ณ เมรุวัดเสนาสนารามราชวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2561


สอนให้ ‘เป็น’ ดนตรี อย่าห่วงว่าจะต้อง ‘เก่ง’ เพราะความเป็นจะท�าให้เขาเป็นครูคนต่อไป


ส�าราญกายใจพร้อม เกิดผลตระการ ครุดุริยกานต์ ปลูกงานเกิดผลเพื่อ

ส�าราญ ก่อเกื้อ สืบสาย พาทย์เฮย ผู้อยู่ ส�าราญ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จตุพร สีม่วง


ศุกร์ 22 กรกฎาคม 2470 - อาทิตย์ 1 ตุลาคม 2560

อายุ 90 ปี





ส�ำนึกในพระมหำกรุณำธิคุณ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระราชานุเคราะห์ ในการพระราชทานเพลิงศพ นายส�าราญ เกิดผล ซึง่ นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ล้นเกล้าล้นกระหม่อม เป็นเกียรติอันสูงสุดแก่ผู้วายชนม์และวงศ์ตระกูลอย่างหาที่สุดมิได้ หากความทราบโดยญาณวิถีถึงดวงวิญญาณของ นายส�าราญ เกิดผล ได้ด้วยประการใดใน สัมปรายภพ คงจะมีความปลาบปลืม้ ซาบซึง้ เป็นล้นพ้นในพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีไ่ ด้รบั พระราชทาน เกียรติอันสูงยิ่งในวาระสุดท้ายแห่งชีวิต ข้าพระพุทธเจ้าผู้เป็นบุตร ธิดา และหลานๆ ขอพระราชทานกราบถวายบังคมแทบเบื้องพระ ยุคลบาท ด้วยความส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ และจะเทิดทูนไว้เหนือเกล้า เหนือกระหม่อม เป็นสรรพสิริมงคลแก่ข้าพระพุทธเจ้า และวงศ์ตระกูลตลอดไป ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า ครอบครัวเกิดผล





ส�ำนึกในพระมหำกรุณำธิคุณ เมื่อความได้ทราบถึงฝ่าละอองพระบาทว่า นายส�าราญ เกิดผล ได้ถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็ง ตับและทางเดินน�้าดี ณ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 แล้วนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพวงมาลาหน้าหีบศพ ณ วัดโคกหิรญ ั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และเสด็จพระราชด�าเนิน ไปในการพระราชทานเพลิงศพ นายส�าราญ เกิดผล ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ณ ฌาปนสถาน วัดเสนาสนารามราชวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้น กระหม่อมและเป็นเกียรติอันสูงสุดแก่ นายส�าราญ เกิดผล และวงศ์ตระกูลอย่างหาที่สุดมิได้ ซึ่ง หากนายส�าราญ เกิดผล มีญาณวิถีทราบได้แล้วคงจะมีแต่ความปิติชื่นชมโสมนัสและซาบซึ้งใน พระมหากรุณาธิคุณ ข้าพระพุทธเจ้าครอบครัว “เกิดผล” พร้อมทั้งกลุ่มนักดนตรี คณะ “พาทยรัตน์” และบรรดา ลูกศิษย์ทงั้ หลายรูส้ กึ ส�านึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อย่างหาทีส่ ดุ มิได้ และขอเทิดทูนพระมหากรุณาธิคณ ุ อันใหญ่หลวงนี้ไว้เหนือเกล้าเหนือกระหม่อม เพื่อเป็นสิริมงคลและเกียรติยศแก่ครอบครัวสืบไป ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า ครอบครัวเกิดผล


พระบำรมีปกเกล้ำ

รับพระราชทานปริญญาครุศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาดนตรีไทยและศิลปะการแสดง เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530


รับพระราชทานปริญญาศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาดนตรี เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

เฝ้าทูลละอองพระบาทในงานพิธีไหว้ครูดนตรีไทย ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2529


เฝ้าทูลละอองพระบาททูลฯ ถวายการบรรเลงโดยเยาวชนในโครงการสืบทอดศิลปะดนตรีไทยในพระด�าริฯ

รับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


เนื่องในโอกาสเฝ้าทูลละอองพระบาททูลฯ ถวายการบรรเลง โดยเยาวชนในโครงการสืบทอดศิลปะดนตรีไทยในพระด�าริฯ ณ อาคารชัยพัฒนา สวนจิตรลดา

เป็นผู้ประกอบพิธีไหว้ครูดนตรีไทยเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีไหว้ครูดนตรีไทย ณ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในงานฉลองอายุ 80 ปี นายส�าราญ เกิดผล


รับพระราชทานรางวัลยกย่องเป็น ‘ศิลปินแห่งชาติ’ สาขาศิลปะการแสดง [ดนตรีไทย] ประจ�าปี พ.ศ. 2548


รับประทานรางวัลจากการประพันธ์เพลงโหมโรงกาญจนาภิเษก จากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาธินัดดามาตุ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี เมื่อ พ.ศ. 2539

ช่อดอกไม้พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แด่ครูส�าราญ เกิดผล ณ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรุงเทพฯ



ค�าประกาศเกียรติคุณ

นายส�าราญ เกิดผล

ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) นายส�าราญ เกิดผล เกิดเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๗๐ ที่จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ส�าเร็จการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ได้เรียนปีพ่ าทย์จากครูหลายท่าน เช่น ครูจ�ารัส เกิดผล ครูเพ็ชร จรรย์นาฏย์ ครูเทียบ คงลายทอง ครูอาจ สุนทร เป็นต้น จนมีความ เชี่ยวชาญสามารถบรรเลงดนตรีได้หลายประเภท ได้แก่ เพลงสองชั้น เพลงขับร้องทั่วไป เพลง เรือ่ ง เพลงพิธตี า่ งๆ เพลงหน้าพาทย์ เพลงโหมโรง เพลงเสภา นายส�าราญ เกิดผล เป็นผูท้ ศี่ กึ ษา เรียนรูด้ นตรีไทยอย่างจริงจัง มีความรูท้ งั้ ด้านทฤษฎีและการปฏิบตั ิ เขียนและอ่านโน้ตสากลได้เป็น อย่างดี เป็นศิลปินท้องถิ่นที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องดนตรีไทย มีฝีมือยอดเยี่ยมและมีผลงาน ประพันธ์เพลงไทยเป็นจ�านวนมากและต่อเนือ่ งมาโดยตลอด ผลงานประพันธ์เพลง เช่น เพลงสาม ไม้ใน เถา เพลงกลางพนา เถา เพลงโหมโรงศิวะประสิทธิ์ ๓ ชั้น เพลงจีนเก็บบุปผา เถา เพลง ไอยราชูงวง เถา เพลงรั้วแดงก�าแพงเหลือง เถา ระบ�าบุษราคัมมณี เป็นต้น ได้รับยกย่องเชิดชู เกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม สาขาศิลปะ (ดนตรีไทย) จากส�านักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ ได้รบั คัดเลือกเป็นพ่อตัวอย่าง จากคณะกรรมการจัดงานวันพ่อแห่งชาติ นาย ส�าราญ เกิดผล เป็นครูทมี่ จี ติ ใจดีมนี า�้ ใจเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่แก่ผทู้ มี่ คี วามสนใจด้านดนตรี เป็นทีร่ กั ของ บรรดาลูกศิษย์ ใช้ชวี ติ ด้วยการเผยแพร่ดนตรีไทยให้แก่นกั เรียนนักศึกษาในสถาบันการศึกษาต่างๆ มากมาย นายส�าราญ เกิดผล จึงได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) พุทธศักราช ๒๕๔๘




นายส�าราญ เกิดผล


ชีวิตและงำน

นำยส�ำรำญ เกิดผล [พ.ศ. 2470-พ.ศ. 2560]

ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง [ดนตรีไทย] พ.ศ. 2548

2470 เกิดวันศุกร์ที่ 22 กรกฎาคม [ปีเถาะ] ณ บ้านเลขที่ 57 หมู่ 4 ต�าบลบ้านใหม่ อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บิดาชื่อ นายหงส์ [-2476] มารดาชื่อ นางสังวาล [2437-2505] ปู่ชื่อ นายวน [2409-2481] ย่าชื่อ นางช้อน [2409-2489] ตาชื่อ นายปุ่น เป็นบุตรล�าดับที่ 6 ในจ�านวนพี่น้อง 8 คน ได้แก่ นางศิริ บุญจ�าเริญ นายสวง เกิดผล [2460-2525] นางสาวสวัสดิ์ เกิดผล นางสมถวิล กลิ่นสุคนธ์ นางแสวง ตันฑะตนัย นายส�าราญ เกิดผล นางลออ เกิดผล นายจ�าลอง เกิดผล [2474-2557] 2479 อายุ 9 ขวบ เริ่มฝึกหัดดนตรีปี่พาทย์จากนายจ�ารัส เกิดผล น้องชายบิดาและคนระนาดเอกวงปี่พาทย์ บ้านใหม่หางกระเบนสมัยนั้น 2480 ส�าเร็จการศึกษาภาคบังคับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดจันทร์ประเทศ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2481 ฝากตัวเป็นศิษย์และพ�านักอยู่กับครูเพ็ชร จรรย์นาฏย์ บ้านวัดสามวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น เวลา 3 เดือน ต่อเพลงลาวดวงเดือน เถา และเพลงต้อยตลิ่ง เถา 2481 ช่วงปลายปีเดินทางเข้ากรุงเทพฯ ฝากตัวเป็นศิษย์ส�านักพาทยโกศล [หลังจากจางวางทั่ว พาทยโกศล ถึงแก่กรรมแล้วประมาณ 2 เดือน] ต่อเพลงกับนายเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล นายฉัตรและนายช่อ สุนทรวาทิน โดยการน�าฝากและเอื้อเฟื้อที่พักการกินอยู่ของนายเทียบ คงลายทอง 2482 ท�าหน้าที่เป็นคนระนาดเอกประจ�าวงพาทยโกศลบรรเลงดนตรีไทยออกอากาศทาง วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย คลื่นสั้นศาลาแดง เป็นประจ�า 2484 นายฉัตรและนายช่อ สุนทรวาทิน เดินทางไปพ�านักและสอนดนตรีที่วงปี่พาทย์บ้านใหม่ หางกระเบน เป็นเวลา 2 ปี ก่อนจะเดินทางไปพ�านักและสอนดนตรีที่คุ้มเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ใน พ.ศ. 2486 เป็นปีเดียวกันกับที่นายฉัตร สุนทรวาทิน ถึงแก่กรรม 2486 ฝากตัวเป็นศิษย์และพ�านักอยู่กับนายอาจ สุนทร ที่ส�านักปี่พาทย์วัดหญ้าไทร จังหวัดนนทบุรี ก่อนนายอาจจะเดินทางไปพ�านักและสอนดนตรีที่วงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบนในปีต่อมา โดยเปิดเป็น สถานศึกษาอ่านเขียนโน้ตสากลชื่อว่า ‘ดุริยางคศิลป์’ 2488 ประพันธ์เพลงไทยเพลงแรก ชื่อ สามไม้ใน เถา 2490 อุปสมบท ณ วัดบ�ารุงธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยพระครูศิริ ปุญญาธร เป็นพระอุปัชฌาย์

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

25


2492 บรรเลงวงปี่พาทย์ไม้แข็ง งาน ‘ดนตรีส�าหรับประชาชน’ ครั้งที่ 30 ใช้ชื่อคณะดุริยางคศิลป์ ในความ ควบคุมของนายอาจ สุนทร เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ [เพลงที่บรรเลง โหมโรงกัลยาณมิตร/ พม่าห้าท่อน 3 ชั้น/ ดอกไม้ไพร 3 ชั้น/ เขมรใหญ่ 3 ชั้น/ สุรางค์จ�าเรียง 3 ชั้น/ มังกรเล่นคลื่น 3 ชั้น] 2492 สมรสกับนางสาวทองอาบ ดนตรี [2469-2548] บุตรสาวนายชั้นและนางสมบุญ ดนตรี เจ้าของ วงปี่พาทย์ประจ�าต�าบลบางชะนี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2492 มีลูกคนแรกเป็นผู้ชาย ชื่อ สุนทร [ข้าราชการบ�านาญ ยศ ร.ต. สังกัด ร.1 พัน 1 ทหารมหาดเล็กรักษา พระองค์] สมรสกับ กาญจนา [อาชีพครูโรงเรียนบอสโกพิทักษ์] มีลูกชาย 1 คน ชื่อ ทนงศักดิ์ [อาชีพครู สอนดนตรีโรงเรียนศาสตร์ศิลป์ จังหวัดนครปฐม] 2493 รับมอบโองการประกอบพิธีไหว้ครูดนตรีไทยและโน้ตเพลงไทยต้นฉบับลายมือทั้งหมด จากนายอาจ สุนทร ในพิธีไหว้ครู ณ วัดบางรักใหญ่ จังหวัดนนทบุรี 2494 มีลูกคนที่ 2 เป็นผู้หญิง ชื่อ อุบล [ข้าราชการบ�านาญ อดีตอาชีพพยาบาลโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และโรงพยาบาลค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช] สมรสกับ สมนึก รักเสนาะ [อาชีพหัวหน้าประปา จังหวัดนครสวรรค์] มีลูกชายและลูกสาว 2 คน ชื่อ ชูศักดิ์ [ดร.นักวิชาการสุขาภิบาลช�านาญการ ส�านัก การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครพิษณุโลก] และจุฑามนต์ [พนักงานพัฒนาธุรกิจ 5 ธ.ก.ส. สาขาคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย] 2595 ฝากตัวเป็นศิษย์นายพุ่ม บาปุยะวาทย์ หลังจากนายอาจ สุนทร ถึงแก่กรรม 2496 มีลูกคนที่ 3 เป็นผู้หญิง ชื่อ เพียงจันทร์ [อาชีพครูโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์] สมรสกับ สุวิทย์ ศรีโยธา 2497 นายช่อ สุนทรวาทิน เดินทางกลับจากเชียงใหม่ ไปพ�านักและสอนดนตรีที่วงปี่พาทย์บ้านใหม่ หางกระเบน อีกครั้งกระทั่งถึงแก่กรรมใน พ.ศ. 2500 2498 ต่อเดี่ยวระนาดเอก ‘ทยอยเดี่ยว’ จากนายพุ่ม บาปุยะวาทย์ โดยนายเทียบ คงลายทอง เป็นผู้บอก โครงสร้างและเนื้อท�านองหลักของเพลงทยอยเดี่ยวให้ 2500 รับมอบโองการประกอบพิธีไหว้ครูดนตรีไทยจากนายช่อ สุนทรวาทิน 2500 มีลูกคนที่ 4 เป็นผู้หญิง ชื่อ จันทร์เพ็ญ [ข้าราชการบ�านาญ อดีตอาชีพครูต�าแหน่งวิทยฐานะช�านาญการ พิเศษ โรงเรียนอุดมศีลวิทยา] สมรสกับ นเรศ อินโท [อาชีพครูโรงเรียนอุดมศีลวิทยา] 2503 มีลูกคนที่ 5 เป็นผู้หญิง ชื่อ สุทธิรักษ์ [อาชีพครูโรงเรียนเซนต์จอห์น บัปติสต์] 2505 มีลูกคนที่ 6 เป็นผู้หญิง ชื่อ อุษา [อดีตครูโรงเรียนอ�านวยศิลป์] สมรสกับ นาวาอากาศเอกสราวุธ เพ็ง ปรีชา มีลูกชาย 1 คน คือ สิทธิพัฒน์ [ปริญญาตรี วิศวะปิโตเคมี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท ด้านบริหาร มหาวิทยาลัยรังสิต ปัจจุบันก�าลังศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก] 2508 มีลูกคนที่ 7 เป็นผู้ชาย ชื่อ คงเดช [อาชีพท�างานกรมสรรพสามิต] สมรสกับ สุรีรัตน์ [อาชีพท�างาน ธนาคารธนชาติ] มีลูกสาว 1 คน ชื่อ ธิดารัตน์ [นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์ วิทยาคม] 2508 สร้างบ้านเรือนไทย 2 ชั้น ริมแม่น�้าเจ้าพระยาเป็นที่พ�านักถึงปัจจุบัน [5 ปี จึงเสร็จสมบูรณ์] เลขที่ 23 หมู่ 5 ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2512 ได้รับแต่งตั้งเป็นแพทย์ประจ�าต�าบล ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แต่งตั้ง ณ วันที่ 6 ตุลาคม 26

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


2513 บรรเลงระนาดเอกวงปี่พาทย์ไม้แข็งในพิธีไหว้ครู วัดพระพิเรนทร์ กรุงเทพฯ จัดเป็นครั้งแรกโดยสมาคม สงเคราะห์สหายศิลปิน [เพลงที่บรรเลง เสภานอก เถา/ สุรางค์จ�าเรียง เถา/ ก�าสรวลสุรางค์ เถา] 2514 ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดแต่งเพลงในพิธีไหว้ครูวัดพระพิเรนทร์ กรุงเทพฯ จัดโดยสมาคมสงเคราะห์ สหายศิลปิน จากเพลง ‘พิศวง เถา’ 2516 ได้รับเลือกให้ด�ารงต�าแหน่งเป็น ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2518 ได้รับเลือกให้ด�ารงต�าแหน่งเป็น ก�านัน ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่วันที่ 6 พฤษภาคม [หนังสือส�าคัญแสดงหลักฐานการเป็นก�านัน ให้ไว้ ณ วันที่ 9 มิถุนายน] จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2530 ต่อมาได้ด�ารงต�าแหน่งเป็นเทศมนตรี และที่ปรึกษานายกเทศมนตรี เทศบาลต�าบลบางบาล อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามล�าดับ 2523 ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน บรรเลงงานอุทยานสโมสร ในวาระเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ณ พระราชวังบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2523 บรรเลงระนาดเอกวงปี่พาทย์ไม้แข็งประชันกับวงปี่พาทย์เสริมมิตรบรรเลง [นายประสงค์ พิณพาทย์ บรรเลงระนาดเอก] งาน ‘ดนตรีไทยพรรณนา’ ครั้งที่ 10 ณ โรงละครแห่งชาติ [เพลงที่บรรเลง โหมโรง ไอยเรศ/ ทยอยเขมร เถา ออกโอ้วิชากูล/ บัวตูมบัวบาน เถา/ เดี่ยวพญาโศกรอบวง/ ญวนวัดกัลยา] 2523 สมเด็จพระเทพรัตน์มีรับสั่งให้ราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ท�าหนังสือขอตัว เป็นเวลา 90 วัน เพื่อค้นคว้าเพลงไทย พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา กรุงเทพฯ 2524 เป็นผู้ค้นคว้า ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน บรรเลงเพลง พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต บันทึกเสียงในโอกาสครบรอบหนึ่งร้อยปีแห่งวันประสูติ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2524 ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน บรรเลงงานวาระครบรอบร้อยปีเกิด จางวางทั่ว พาทยโกศล ณ โรงละครแห่งชาติ กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 26-27 กันยายน 2525 ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน บรรเลงรับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตน์ ในงานวันลอยกระทง ณ พระราชวังบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2525 ท�าหน้าที่สอนดนตรีไทยขั้นพื้นฐานให้เด็กด้อยโอกาสจ�านวน 20 คน ที่วัดพรหมนิวาสวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และวัดโคกหิรัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2526 ควบคุมและฝึกซ้อมวงดนตรีคณะบ้านใหม่หางกระเบน บันทึกเสียงเพลงไทยเพื่อจัดท�ารายการวิทยุ ‘สังคีตภิรมย์’ ของศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด สาขาผ่านฟ้า กรุงเทพฯ ครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 2528 สมเด็จพระเทพรัตน์พระราชทานเนื้อร้องเพลงไอยราชูงวง เถา แก่วงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน เมื่อเดือนเมษายน ทั้งนี้ ได้พระราชทานเนื้อร้องเพลงไทยแก่วงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน อีกหลายเพลง ได้แก่ ตับชมสวนขวัญ [พระนิพนธ์เมื่อเดือนพฤศจิกายน] ลอยประทีป เถา จีนเด็ดดอกไม้ เถา อนงค์สุชาดา เถา [พระราชทานเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2530] วิหคเหิร เถา [พระราชทานเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2530] บรรทมไพร เถา อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

27


2528 บรรเลงผลงานประพันธ์เพลงโหมโรงอู่ทองและทองกวาว เถา งาน ‘บรรเลงบทเพลงเชิดชู นักแต่งเพลงไทย’ ครั้งที่ 4 จัดโดยสมาคมนักแต่งเพลงแห่งประเทศไทย ณ หอประชุมกรมประชาสัมพันธ์ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม [นางบรรเลง สาคริก เพลงลาวสวยรวย เถา/ นายสกล แก้วเพ็ญกาศ เพลง นางเยื้อง เถา/ นายส�ารวย แก้วสว่าง เพลงจักรีร�าลึก เถา/ ส.อ.สมชาย ดุริยประณีต เพลงพญากุญชร เถา] 2528 ได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษวิชาดนตรีไทย ประจ�าภาควิชาดนตรีศึกษา วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2529 ถวายค�าปรึกษารายละเอียดทางวิชาการดนตรีไทย แด่สมเด็จพระเทพรัตน์ เนื่องจากทรงมีพระราชด�าริให้ จัดท�าหนังสือเครื่องดนตรีไทยและการประสมวงดนตรีไทย ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา กรุงเทพฯ เมื่อ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2530 ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์ไม้แข็งบรรเลงถวายหน้าพระที่นั่ง ในโอกาสที่สมเด็จพระเทพรัตน์ เสด็จฯ เยือนบ้านนายสังเวียน เกิดผล [วงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน] จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และพระราชทานชื่อวงปี่พาทย์ให้ใหม่ว่า ‘พาทยรัตน์’ 2530 ได้รับปริญญาครุศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาดนตรีไทยและศิลปะการแสดง โดยได้รับอนุมัติจาก สภาการฝึกหัดครูเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม และเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2531 แสดงฝีมือเดี่ยวเพลงไทยถวายหน้าพระที่นั่ง งาน ‘มหกรรมเดี่ยวเพลงไทยชัยมงคล’ เดี่ยวระนาดเอกเพลง แขกมอญ 3 ชั้น โดยเป็นศิลปินอาวุโสที่มีอายุมากที่สุดที่ร่วมงานดังกล่าว เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2531 ได้รับยกย่องเป็นศิลปินพื้นบ้านจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผู้อุทิศตนเพื่องานดนตรีไทย จากศูนย์วัฒนธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2532 ได้รับยกย่องเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขาศิลปะ [ดนตรีไทย] ภาคกลาง จากคณะ กรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2533 ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์คณะพาทยรัตน์ บรรเลงในวันคล้ายวันประสูติ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ณ เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 2533 เป็นผู้ฝึกสอนและให้ที่พ�านักแก่เยาวชนจากกรมประชาสงเคราะห์ในโครงการ ‘สืบทอดศิลปะ ดนตรีไทยใน พระด�าริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี’ โดยจัดตั้งบ้านที่พักส่วนตัวเป็น ศูนย์ส่งเสริมและเผยแพร่ดนตรีไทยในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเวลานานหลายปี 2535 ได้รับยกย่องเป็นผู้สนับสนุนการอนุรักษ์มรดกไทยดีเด่น เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2536 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎไทย ชั้นที่ 5 ชื่อ เบญจมาภรณ์ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2537 ควบคุมและฝึกซ้อมวงพาทยรัตน์ 2 [เยาวชนจากศูนย์ส่งเสริมและเผยแพร่ดนตรีไทย ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี] ร่วมประชันปี่พาทย์ งานแสงทิพย์ประลองปี่พาทย์ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 2-3 และ 4 ธันวาคม 2539 ควบคุมและฝึกซ้อมวงพาทยรัตน์ 2 [เยาวชนจากศูนย์ส่งเสริมและเผยแพร่ดนตรีไทย ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี] ร่วมประชันปี่พาทย์ งานแสงทิพย์ประลองปี่พาทย์ ครั้งที่ 2 2539 ได้รับรางวัลจากการประพันธ์เพลงโหมโรงกาญจนาภิเษก จากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาธินัดดามาตุ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงครองสิริราช สมบัติครบ 50 ปี 28

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


2539 ได้รับยกย่องเป็นผู้มีคุณธรรม ส่งเสริมวัฒนธรรม และการพัฒนาจิตใจ จากสภาสังคมสงเคราะห์ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2540 ได้รับคัดเลือกเป็นพ่อตัวอย่าง จากคณะกรรมการจัดงานวันพ่อแห่งชาติ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เป็นผู้ประกอบพิธีไหว้ครูดนตรีไทย เนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระเทพรัตน์เสด็จฯ เป็นองค์ประธาน ในพิธีไหว้ครูดนตรีไทย ณ วัดจุฬามณี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในงานฉลองอายุครบ 72 ปี นายส�าราญ เกิดผล และได้มอบโองการประกอบพิธีไหว้ครูดนตรีไทยแก่นักดนตรีไทย 4 ท่าน ได้แก่ นายส�าเริง เกิดผล นายจ�าลอง เกิดผล นายกาหลง พึ่งทองค�า นายศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2543 ได้รับเชิญให้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทย วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2543 ได้รับยกย่องเป็นศิลปินดีเด่นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สาขาศิลปะการแสดง จากคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2543 ได้รับยกย่องเป็นบุคคลผู้ท�าคุณประโยชน์ต่อเยาวชน สาขาศิลปวัฒนธรรม จากคณะกรรมการจัดงาน วันเยาวชนแห่งชาติ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 ร่วมบรรเลงวงปี่พาทย์กับคณะพาทยโกศล หน้าพระที่นั่งสมเด็จพระเทพรัตน์ ในงานเชิดชูเกียรติ 120 ปี 3 ครูดนตรีไทย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต หลวงประดิษฐไพเราะ [ศร ศิลปบรรเลง] จางวางทั่ว พาทยโกศล ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 2544 ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์คณะพาทยรัตน์ บรรเลงในงานร�าลึก 120 ปีเกิดจางวางทั่ว พาทยโกศล ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด [มหาชน] 2545 บรรจุเป็นอาจารย์ประจ�าแขนงวิชาดนตรีไทยและดนตรีตะวันออก วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่วันที่ 3 มิถุนายน ถึงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2554 2546 ได้รับยกย่องเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม สาขาศิลปะ [ดนตรี] จากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2547 ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์คณะพาทยรัตน์ บรรเลงงานจุฬาวาทิต ครั้งที่ 117 ณ เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 2547 ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์คณะพาทยรัตน์ บรรเลงงานการบรรเลงปี่พาทย์เสภาวังหน้า ครั้งที่ 3 ณ ลานพระบวรราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว โรงละครแห่งชาติ กรุงเทพฯ 2548 ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์คณะพาทยรัตน์ บรรเลงงานการบรรเลงปี่พาทย์เสภาวังหน้า ครั้งที่ 4 ณ ลานพระบวรราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว โรงละครแห่งชาติ กรุงเทพฯ 2548 ได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 4 จากส�านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2548 ได้รับยกย่องเป็น ‘ศิลปินแห่งชาติ’ สาขาศิลปะการแสดง [ดนตรีไทย] 2549 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 ชื่อ จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2550 เป็นผู้ประกอบพิธีไหว้ครูดนตรีไทย เนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระเทพรัตน์เสด็จฯ เป็นองค์ประธาน ในพิธีไหว้ครูดนตรีไทย ณ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในงานฉลองอายุ 80 ปี นายส�าราญ เกิดผล

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

29


2552 เป็นผู้ค้นคว้า ควบคุมและฝึกซ้อมวงปี่พาทย์คณะพาทยรัตน์ บรรเลงเพลง พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต เพื่อบันทึกเสียงเนื่องในโอกาสครบรอบ หนึ่งร้อยสามสิบสองปีแห่งวันประสูติ ระหว่างเดือนมิถุนายน – เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 2554 ได้รับเชิญให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ [ครูผู้อาวุโส] วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2555 บรรเลงระนาดเอกวงปี่พาทย์ดึกด�าบรรพ์ เพลงตับนางลอย หน้าพระที่นั่งสมเด็จพระเทพรัตน์ งาน ‘ปัญจนาทพาทยรัตน์’ พิธีไหว้ครูและมุทิตาจิตแด่ศิลปินอาวุโสวงพาทยรัตน์ ณ พระราชานุสาวรีย์พระสุริโยทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2555 ควบคุมและฝึกซ้อมวงพาทยรัตน์ บรรเลงรับเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ ณ ทุ่งมะขามหย่อง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2556 ควบคุมและฝึกซ้อมวง ‘พาทยรัตน์’ บรรเลงเพลง พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต งานดนตรีไทยฤดูหนาว ณ พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน จังหวัดเพชรบุรี เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2557 ได้รับปริญญาศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาดนตรี เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2558 เขียนโน้ตสากลรวบรวมเพลงหน้าพาทย์เป็นเล่ม ชื่อ ‘เพลงหน้าพาทย์ไหว้ครู ต�ารับครูทองดี ชูสัตย์’ จัดพิมพ์โดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อเดือนมิถุนายน 2560 เข้าโรงพยาบาลราชธานีเมื่อเย็นวันที่ 2 มิถุนายน และย้ายเข้าพักรักษาตัวอยู่โรงพยาบาล ภูมิพลอดุลยเดชตั้งแต่เช้าวันที่ 3 มิถุนายน ห้อง 1124 อาคารคุ้มเกล้า กลับบ้านบางชะนีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม และส่งตัวเข้าโรงพยาบาลภูมิพลในค�่าวันเดียวกัน ใช้ช่วงเวลาดังกล่าวแต่งเพลงสุดท้าย คือ สาธุการ 3 ชั้น 2560 ถึงแก่กรรมวันอาทิตย์ที่ 1 ตุลาคม เวลา 15.10 น. ณ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรุงเทพฯ จากไปอย่างสงบด้วยโรคมะเร็งตับและทางเดินน�้าดี สิริรวมอายุ 90 ปี 2 เดือน 12 วัน

30

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ



Key Events in the Life

of

Samran Kerdpon (1927-2017)

Thai National Artist: Performing Arts (Thai Music) in 2005

1927

1936 1937 1938 1938 1939 1941 1943

1945 1947 1949

Samran Kerdpon was born on Friday, 22nd July [Rabbit Chinese zodiac]. He lived at 57 Moo 4, Ban Mai Subdistrict, Phra Nakhon Si Ayutthaya District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. He was the son of Hongse [-1933] and Sangwan [1894-1962] Kerdpon. His paternal grandparents were Won [18661982] and Chaun [1866-1946] and his maternal grandfather was Poon. He was the sixth child in the family of eight children including Siri Boonchamroen, Suang Kerdpon [1917-1982], Sawas Kerdpon, Somthawin Klinsukon, Sawaeng Tantadanai, Samran Kerdpon, La-or Kerdpon, and Chamlong Kerdpon [1931-2014]. Started practicing piiphaat music with master Chamrat Kerdpon, a ranaat eek player of Ban Mai Hang Kraben ensemble. Graduated primary school (Grade 4) from Wat Chanprathed School, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Learned piiphaat music with master Petch Jannat for three months, at Ban Wat Samwiharn, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province, during which he learned two musical pieces Lao Duang Duen (thao) and Toi Taling (thao). Moved to Bangkok to learn piiphaat music at Patayakosol Music School [two months following the death of master Changwang Tuo Patayakosol]. He learned music with master Thewaprasit Patayakosol and master Chat and Chore Sunthornwathin with the support of master Teap Konglaaithong. Selected as a ranaat eek (treble xylophone) player for Patayakosol music ensemble for broadcasted on Saladaeng short wave, radio Thailand (The National Broadcasting Services of Thailand). Master Chat and Chor Sunthornwathin were piiphaat music teachers at Ban Mai Hang Kraben for two years before teaching Thai music at the residence of Prince Kaew Nawarat, the 9th Ruler of Chiang Mai in 1943 (the same year that master Chat Sunthornwathin passed away). Learned piiphaat music with master Art Sunthorn at Wat Yaa Sai piiphaat Music School, Nonthaburi Province. In the later years, master Art left to teach piiphaat music at Ban Mai Hang Kraben ensemble. He established a music center, specifically to teach how to read and write music in western notation, namely “Duriyaagkasin”. Composed the first musical piece “Sam Maai Nai (thao)”. Ordained as a Buddhist monk at Wat Bamrungdhama, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province, with Provost Siri Punyathorn as the preceptor of the ordination ceremony. Performed piiphaat music at the musical event “Music for People” No.30 under the name “Duriyaagkasin” 32

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


1949 1949

1950 1951

1952 1953 1954 1955 1957 1957 1960 1962 1965 1965 1969

ensemble, directed by Art Sunthorn on 13th February 1949. [The pieces comprised of Hoomroong Kanlayanamitre, Pama Ha Ton (sam chan), Dokmai Prai (sam chan), Khamen Yai (sam chan), Surang Chamrieng (sam chan), Mangkorn Len Kruen (sam chan)]. Married Thong-arb Dontri [1926 - 2005], daughter of Chan and Somboon Dontri, the owner of piiphaat ensemble at Bang Chanee Subdistrict, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. The birth of his first son, Sunthorn [a retired public official under the rank of Sub-Lieutenant, First Infantry Battalion, First regiment the King’s Guard]. Sunthorn later married Kanjana [a teacher at Bosco Pitak School], and had a son, Thanongsak [a music teacher at Sat Sin School, Nakhon Pathom Province]. Granted the sacred texts for being a master of the wai khruu (teacher homage ceremony) in music, and also received the original handwritten Thai music notation from Art Sunthorn in the ceremony at Wat Bang-rak Yai, Nonthaburi Province. The birth of his second child, a daughter named Ubon [a former nurse at Phramongkutklao Hospital and King Naresuan Camp Hospital]. She later married Somnuk Raksanor [Chief of Plumbing at Nakhon Sawan Province], and had a son and a daughter, Choosak [PhD. Sanitation Technical Officer at the Office of Public Health and Environment, Phitsanulok Municipality] and Juthamon [a business development official 5 of the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives, Khirimas Branch, Sukhothai Province]. Learned piiphaat music with master Poom Bapuyawat. The birth of his third child, a daughter named Piengchan [a teacher at Assumption Convent School]. She later married Suwit Sriyotha. Master Chor Sunthornwathin returned from Chiang Mai to teach music at Ban Mai Hang Kraben piiphaat ensemble where he stayed until his death in 1957. Learned the highest level of ranaat eek solo pieces “Tayoe Diaw” with master Poom Bapuyawat. He also learned the skeleton melody of Tayoe Diaw piece with master Teap Konglaaithong. Granted the sacred texts for being a master of wai khruu (teaching homage ceremony) in music from master Chore Sunthornwathin. The birth of his fourth child, a daughter named Chanpen [a former teacher at Udomsin Wittaya School]. She later married Naret Intho [a teacher at Udomseel Witthaya School]. The birth of his fifth child, a daughter named Sutthirak [a teacher at Saint John Baptist School]. The birth of his sixth child, a daughter named Usa [a teacher at Amnuay Silpa School]. She later married Group Captain Saravuth Pengpreecha, and had a son, Sitthipat, [Bachelor of Petrochemical Engineering at Thammasat University and Master of Business Administration at Rangsit University]. The birth of his seventh child, a son named Khongdet [an official in Excise Department]. He married Sureerat [an officer at Thanachart Bank], and had a daughter, Thidarat, [a high school student (Grade 12) at Ang Thong Patthamarot Witthayakhom School]. Owned a 2-storey traditional Thai house near Chao Phraya River (This house was also the his residence until his final years). It is located at 23 Moo 5, Bang Chanee Subdistrict, Bang Ban District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Appointed as medical practitioner of subdistrict at Bang Chanee Subdistrict, Bang Ban District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province, on October 6th. อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

33


1970

1971 1973 1975

1980 1980

1980

1981 1981 1982 1982 1983

1985

Performed ranaat eek (treble xylophone) with piiphaat ensemble in wai khruu (teacher homage ceremony) at Wat Phra Phireen, Bangkok. This event was held for the first time by the Association for Assistance to Friends and Performers. Musical pieces performed in the event were Seephaa Nauk (thao), Surang Chamrieng (thao), Kamsuan Surang (thao). Won first prize for music composition competition on “Pitsawong (thao)” piece, held during the wai khruu (teacher homage ceremony) at Wat Phra Phireen, Bangkok, organized by the Association for Assistance to Friends and Performers. Selected as the village headman of Moo 5, Bang Chanee Subdistrict, Bang Ban District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Selected as the Subdistrict headman of Bang Chanee Subdistrict, Bang Ban District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province on May 6th, 1975 and remained active through 1987 [Appointment letter date June 9th, 1975]. Later, he was the counselor and advisor of the Mayor of municipality of Bang Ban Subdistrict, Bang Ban District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Directed the piiphaat ensemble of the Ban Mai Hang Kraben at Uthayan Samosorn event on the occasion of King Rama IX’s birthday at Bang Pa-in Palace, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Performed ranaat eek (treble xylophone) with the piiphaat ensemble to compete with Sermmit Banleng ensemble [master Prasong Pinphaat played the ranaat eek] in the program of “10th Dontree Thai Phannana” at theThai National Theater [musical pieces played in this event comprised of Hoomroong Aiyareet (the overture), Tayoe Khamen (thao) with O Wicha Koon, Bua Toom Bua Ban (thao), Phraya Sook (solo), and Yuan Wat Kanlaya]. H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn graciously invited Samran to conduct a research on Thai music for 90 days. The research focused on the royal music composition by Marshal-Admiral Paribatra Sukhumbandhu, Prince of Nakhon Sawan at Dusitdalai Hall, Chitralada Villa, Dusit Palace, Bangkok. Directed the piiphaat ensemble of Ban Mai Hang Kraben to perform and record music compositions written by Marshal-Admiral Paribatra Sukhumbandhu, Prince of Nakhon Sawan, on the occasion of 100th years anniversary on June 29th, 1981. Directed the piiphaat ensemble of Ban Mai Hang Kraben to perform on the occasion of one 100th years anniversary of the great master Changwaang Tuo Patayakosol at the National Theater, Bangkok, 26-27 September, 1981. Directed the piiphaat ensemble of Ban Mai Hang Kraben to perform on the occasion of welcoming H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn on Loy Krathong Festival at Bang Pa-in Palace, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Taught the fundamentals of Thai music performance to twenty underprivileged children at Wat Promniwaat Worawihan and Wat Khokhirun, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Directed the piiphaat ensemble of Ban Mai Hang Kraben to record on the radio program “Sangkeet Phirom” on June 25th, 1983 for the first time. The program was conducted by Professor Emeritus Dr. Poonpis Amatayakul at Musical Art Center (Soonsungkeet Sin), Bangkok Bank Public Company Limited, Pan-fah Branch (The last radio record was on November 5th, 2000). H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn granted the lyrics of the musical piece Iyara Choo Nguang

34

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


1985

1985 1986 1987

1987 1988 1988 1989

1990 1990

(thao) to the piiphaat ensemble of Ban Mai Hang Kraben in April. The Princess also granted several other Thai music lyrics, including Tub Chomsuan Kwan [composed in November 1985], Loy Prateep (thao), Chine Ded Dokmai (thao), Anong Suchada (thao) [granted on January 8th, 1987], Vihok Hern (thao) [granted on January 6th, 1987], and Ban Thom Prai (thao). Performed the new Thai music compositions “U-thong” and “Thong Kwua” (thao) at the event “The 4th Thai Music Composers Admiration”, established by the Music Composers Association of Thailand at Public Relations Department Hall, Bangkok on October 27th, 1985. [Banleng Sakrik played Lao Suay Ruay (thao), Sakon Kaewpenkas played Nang Yueng (thao), Samruay Kaewsawang played Chakri Ramruek (thao), Sergeant Somchai Duriyapraneet played Paya Kunchorn (thao)]. Invited to be a part-time teacher of Thai music, Department of Music Education of Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University. (He started on November 1st, 1985). Gave a detailed instruction on Thai music to H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn. The Princess had a plan to publish a book related to Thai musical instruments and music ensemble at Dusitdalai Hall, Chitralada Villa, Dusit Palace Bangkok on February 8th, 1986. Directed the piiphaat ensemble to perform for H.R.H. Princess Sirindhorn on the occasion of the royal visit to master Sangvien Kerdpon’s house [piiphaat ensemble of Ban Mai Hang Kraben], Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. The Princess also graciously granted a new name of his ensemble as “Phatayarat”. Granted the Honorary Degree of Education (Thai music and Performing Arts), approved by the Teachers Training Council on October 29th, 1987 (Officially granted the certificate on November 20th, 1987). Performed the ranaat eek solo piece “Khake Mon (sam chan)” in front of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn at “The Chai Mongkol Thai Solo Piece Music Event” on March 31th, 1988. He was the most senior and also the oldest artist to perform at this event. Recognised as an outstanding folk artist of Phra Nakhon Si Ayutthaya Province who dedicated his life to traditional Thai music. The recognition ceremony was late held at Phra Nakhon Si Ayutthaya Cultural Center, Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University on September 15th, 1988. Recognised as an outstanding artist of the Central Region in the field of fine arts and culture (Thai Music) by the National Culture Commission on April 9th, 1989. 1990Directed the Phatayarat piiphaat ensemble to perform on the royal commemorative birthday celebration of Marshal-Admiral Paribatra Sukhumbandhu, Prince of Nakhon Sawan at Ruean Thai, Chulalongkorn University, Bangkok. Directed the Phatayarat piiphaat ensemble to perform on the royal commemorative birthday celebration of Marshal-Admiral Paribatra Sukhumbandhu, Prince of Nakhon Sawan at Ruean Thai, Chulalongkorn University, Bangkok. Taught Thai music and provided a residence for youths from Department of Public Welfare under the Project “Thai Music Inheritance under the Royal Initiative of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn”. The project was held at Samran’s residence as the Thai Music Promotion and Distribution Center under the royal patronage of H.R H. Princess Maha Chakri Sirindhorn at Bang Chanee Subdistrict, Bang Ban District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province.

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

35


1992 1993 1994 1996 1996 1996 1997 1999

2000 2000 2000 2001

2001 2002 2003 2004

Officially praised as an outstanding supporter for Thai Heritage Conservation on Thai cultural Heritage Conservation Day on April 2nd, 1992. Granted the Most Noble Order of the Crown of Thailand, 5th Class, named Benjamaporn on December 5th, 1993. Directed the Phatayarat piiphaat ensemble 2 [Youths from Thai Music Promotion and Distribution Center under the patronage of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn] to perform at the event “1st Saengthip Piiphaat Competition” from December 2-4, 1994. Directed the Phatayarat piiphaat ensemble 2 [Youths from Thai Music Promotion and Distribution Center under the patronage of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn] to perform at the event “2nd Saengthip Piiphaat Competition.”. Received an award for the new music composition Hoomroong Kanjana Phisek from H.R.H. Princess Soam Sawali on the occasion of The Fiftieth Anniversary Celebrations of His Majesty the King Rama IX’s Accession to the Throne. Officially praised as a man of morals who promoted Thai culture and moral development from the National Council on Social Welfare of Thailand under the royal patronage of His Majesty the King on April 13th, 1996. Selected as a model father on the occasion of National Father’s Day on December 5th, 1997. Conducted the wai khruu (teacher homage ceremony) on the occasion of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn being the chairman in the ceremony at Chula Manee Temple, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. It was also the 72nd birthday celebration of Samran Kerdpon. Four Thai musicians were granted the sacred texts for being a master of wai khruu ceremony including Samreng Kerdpon, Chamlong Kerdpon, Kalong Puengthongkam, and Siwasit Ninsuwan on July 22nd, 1999. Invited as a piiphaat specialist teacher of Thai music at College of Music, Mahidol University. Officially praised as an outstanding artist of Phra Nakhon Si Ayutthaya Province (Performing Arts) from the National Culture Commission on March 29th, 2000. Officially praised as a person providing benefits to youths (Arts and Culture), from the National Youth Commission on September 20th, 2000. Performed with the Phataya Kosol piiphaat ensemble in front of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn at the 120th Year Anniversary for Honorary Admiration of Three Thai Music Masters [Marshal-Admiral Paribatra Sukhumbandhu, Prince of Nakhon Sawan, Luang Pradit Phairoh [Sorn Silaphabanleng], Changwang Tuo Patayakosol] at Thailand Cultural Centre, Bangkok. Directed the Phatayarat piiphaat ensemble to perform at the 120th Year Memorial Birthday Celebration of the great master Changwang Tuo Patayakosol at Musical Art Center, Bangkok Bank Public Company Limited. Invited to be a full-time teacher of Thai music and Oriental music at College of Music, Mahidol University, starting from June 3rd, 2002 - April 30th, 2011. Officially praised as an outstanding artist in the field of fine arts and culture (Thai Music) by Rajamangala University of Technology on September 15th, 2003. Directed the Phatayarat piiphaat ensemble to perform at the 117th Chulavatid Thai Musical Performance, Ruean Thai, Chulalongkorn University, Bangkok. 36

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


2004 2005 2005 2005 2006 2007 2009 2011 2012

2012 2013 2014 2015 2017

2017

Directed the Phatayarat piiphaat ensemble for performing at the 3rd Piiphaat Seephaa Wangna at King Pinklao Monument, Thai National Theater, Bangkok. Directed the Phatayarat piiphaat ensemble for performing at the 4th Piiphaat Seephaa Wangna at King Pinklao Monument, Thai National Theater, Bangkok. Recognised as the Thai Wisdom Scholar of the 4th generation by the Office of Education Council on February 8th, 2005. Recognised as the “National Artist of Thailand” in performing arts [Thai Music]. Granted the Most Noble Order of the Direkgunabhorn, 4th Class, named Chatutatha Direkgunabhorn on December 5th, 2006. Conducted the wai khruu (teacher homage ceremony) in which H.R.H. Princess Sirindhorn being the chairman of the wai khruu ceremony at College of Music, Mahidol University, for the 80th birthday celebration of Samran Kerdpon. Directed the Phatayarat piiphaat ensemble to perform and record the royal compositions of MarshalAdmiral Paribatra Sukhumbandhu, Prince of Nakhon Sawan on the occasion of the 132nd years anniversary of his birthday, during June - December 2013. Invited as a senior advisor in Thai music at College of Music, Mahidol University from May 1st, 2011. Performed ranaat eek (treble xylophone) with the piiphaat deukdamban ensemble on the musical repertoire Tub Nang Loi in front of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn at the event “Panjanat Phatayarat”, as part of the wai khruu (teacher homage ceremony) to the senior artists of Phatayarat ensemble. It was held at Somdet Phra Suriyothai Monument, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province on March 15th, 2012. Directed the Phatayarat ensemble to perform on the occasion of welcoming His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Her Majesty the Queen Sirikit, and the royal family at Thung Makham Yong, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Directed the Phatayarat piiphaat ensemble to perform music compositions written by MarshalAdmiral Paribatra Sukhumbandhu, Prince of Nakhon Sawan at the event “Winter Thai Music Festival” at Mrigadayavan Palace, Petchaburi Province, on December 7th, 2013. Received an Honorary Doctorate Degree of Fine and Applied Arts (Thai Music) on 21st, May 2014. Wrote and gathered the musical notes of naphaat repertoire to be published in the book ‘Phleeng Naphaat Wai khruu’, the version of khruu Thongdee Choosat, first publication by the Department of Cultural Promotion, Ministry of Culture in June 2015. Admitted at Rajthanee Hospital on June 2nd, 2017 and later relocated to Bhumibol Adulyadej Hospital in the morning on June 3rd, 2017, Room No.1124, Khumklao Building. He was discharged to Ban Bang Chanee on August 22nd, 2017 and later re-admitted to the hospital in the evening of the same day. During that period, he composed his last musical piece “Sathukarn Sam Chan”. Peacefully passed away on Sunday,1st October 2017, 15:10 hrs. at Bhumibol Adulyadej Hospital, Bangkok. He succumbed to liver and bile duct cancer at the age of 90 years 2 months and 12 days.

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

37


38

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

39


หลักกำรประพันธ์เพลงไทย ส�ำรำญ เกิดผล

ปี่พาทย์เป็นมรดกวัฒนธรรมดนตรี มีคุณค่าและมีความส�าคัญ เป็นภูมิปัญญาของคนไทย ทีไ่ ด้สบื เนือ่ งมาอย่างยาวนานจนถึงปัจจุบนั นี้ โดยมีลกั ษณะโดดเด่นครอบคลุมด้วยขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี และวิธีคิด ที่หล่อหลอมสะท้อนโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมของไทย มี การด�าเนินวิถวี ฒ ั นธรรมดนตรีทแ่ี สดงให้เห็นถึงภูมปิ ญ ั ญาของครูอาจารย์โบราณทีท่ า่ นได้คน้ คิด และสร้างสรรค์มาด้วยความล�าบาก ยากเย็น มานะ อดทน เสียสละทัง้ พลังความคิดและร่างกาย ด้านความคิดได้ประพันธ์บทเพลงสืบเนื่องในการบรรเลงประกอบพิธีกรรมทั้งพิธีราษฎร์และพิธี หลวงในงานเทศกาลประเพณีต่างๆ เช่น งานบรรพชาอุปสมบท งานอวมงคลงานศพ ความล�าบาก เหนือ่ ยยากทางร่างกายยกตัวอย่างให้เห็นคือเครือ่ งดนตรีแต่ละชนิด เช่น ระนาดเอก เฉพาะผืนระนาด หรือลูกระนาดก็ตอ้ งใช้เวลาเป็นเดือน วิธที า� คือต้องใช้ไม้ไผ่เจียกเป็นซีกหรือเรียกเป็นลูกระนาด ต้อง ผ่าไม้เจียกด้วยมีดโต้ เหลาไม้ด้วยมีดตอก เจาะรูไม้ด้วยเหล็กแหลมเผาไฟ ทั้งเหลาทั้งเจาะกว่าจะได้ แต่ละลูกท่านลองคิดดูวา่ ต้องใช้เวลาเท่าใด และถ้าไม่ดไี ม่ดงั ต้องเหลาต้องเจาะใหม่เพราะไม่มเี ครือ่ ง ทุ่นแรงอย่างปัจจุบันนี้ ยิ่งเป็นลูกฆ้องวงยิ่งล�าบากมากขึ้นไปอีก ต้องหลอมก้อนทองด้วยความร้อน ให้เป็นก้อนกลมๆ ก่อน แล้วน�ามาทุบตีให้ได้รปู ทรงตามความต้องการ เช่น รูปลูกฆ้อง มิใช่ฆอ้ งหล่อ อย่างปัจจุบันนี้ โดยเฉพาะปี่พาทย์นั้นเป็นวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องเนื่องด้วยความเชื่อของประชาชน ที่ได้ก่อให้ เกิดการปรุงแต่งกิจกรรมด้านการสร้างความสัมพันธ์ให้สอดคล้องกับศรัทธาการปฏิบัติต่อพิธีกรรม ของศาสนา โดยมีศาสนาพราหมณ์ที่เป็นวงล้อมในการขับเคลื่อนกิจกรรมอย่างมาก ซึ่งรากฐานของ ปีพ่ าทย์คอื ความเป็นดนตรีพธิ กี รรมทีเ่ นือ่ งด้วยความเชือ่ ถือนัน้ ๆ ดังทีก่ ล่าวมานี้ ท่านทัง้ หลายคงจะ เห็นคุณค่าความส�าคัญของดนตรีปพ่ี าทย์และภูมปิ ญ ั ญาทีไ่ ด้นา� เสนอมา เพือ่ จุดประกายให้หวนระลึก ถึงภูมิปัญญาของครูบาอาจารย์ท่ีท่านได้สืบทอดมรดกอันล�้าค่าให้พวกเราได้ศึกษาเล่าเรียนทั้งภาค ปฏิบัติและทฤษฎี ข้าพเจ้าขอกล่าวว่า “ดนตรีไทยเป็นสมบัติของคนไทย เป็นมรดกของชาติ ดนตรีไทยคู่กับ คนไทยมาตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งตาย หากพวกเราไม่ช่วยกันรักษาแล้วใครจะรักษาให้เรา”

40

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


กำรประพันธ์เพลงไทย หลักการแต่งเพลงโดยเฉพาะหลักการจริงๆ มีไม่มากนัก ข้าพเจ้าไม่รู้จะน�าค�าพูดอะไรมา บรรยายอย่างไรให้ยืดยาว แต่จะขอพูดเฉพาะหลักการจริงๆ เท่าที่เรียนรู้มาจากครูบาอาจารย์ ที่ท่านได้สั่งสอนมา ก็คงจะมีเท่าที่จะพูดต่อไปนี้ ส่วนจะแตกฉานรอบรู้มากกว่านี้ก็ขอเชิญตาม สบาย วิธกี ารแต่งเพลงอาจจะมีมากสักหน่อย เพราะต้องละเอียดรอบคอบรอบรู้ เพราะการแต่งเพลง นัน้ เกือบจะรวมน�าเอาองค์ความรูข้ องการเป็นดนตรีมารวมไว้ทกี่ ารแต่งเพลงทัง้ หมดทุกๆ อย่าง เช่น ต้องตรวจสอบเพลง 2 ชั้น ที่จะน�ามาเป็นโครงสร้างในการขยายอัตราจังหวะเป็น 3 ชั้น มีความสั้น ยาวมากน้อยเพียงไร มีกี่ท่อน ท่อนละกี่จังหวะ ส�าเนียงของเพลงเป็นส�าเนียงอะไร จะขึ้นลงอย่างไร ให้เหมาะสม ลูกตกของแต่ละจังหวะเป็นอย่างไร ประโยคของเพลงหรือสัมผัสของกลอนแต่ละประโยค เป็นอย่างไร ต้องตรวจต้องรอบคอบ มิใช่นึกจะแต่งก็แต่งขึ้นมาประมาทเห็นว่าง่าย แต่งได้แต่ไม่ดี ก่อนทีจ่ ะได้เรียนรูห้ ลักการและวิธกี ารแต่งเพลงหรือประพันธ์เพลงไทยเดิมนัน้ เช่น ปีพ่ าทย์ หรือ เครื่องดีดสีต่างๆ สิ่งใดที่ควรเรียนรู้ก่อน สิ่งใดที่มีความส�าคัญในการแต่งเพลงและส�าคัญมากที่สุด ได้แก่ 1. จังหวะหน้าทับ 2. โครงสร้าง คือ เพลง 2 ชั้น ที่จะน�ามาขยายอัตราจังหวะเป็น 3 ชั้น และ ตัดลงเป็นอัตราจังหวะชั้นเดียว 3. การตรวจสอบโครงสร้างว่าเป็นเพลงกี่ท่อน มีท่อนละกี่จังหวะ ส�าเนียงอะไร ใช้หน้าทับอะไร ปรบไก่หรือสองไม้ 4. แต่ละท่อนของเพลงที่จะน�ามาขยายในอัตรา จังหวะนัน้ ๆ ครึง่ จังหวะแรกตกเสียงอะไร และหมดจังหวะตกเสียงอะไร 5. ต้องขยายอัตราจังหวะให้ ลงตกตรงเสียงทุกครึ่งจังหวะและเต็มจังหวะของทุกๆ จังหวะหน้าทับ 6. วิเคราะห์และพิจารณาว่า จะขึ้นเพลงอย่างไรและจะลงจบอย่างไรจึงจะเหมาะสมและไพเราะน่าฟัง โดยเฉพาะจังหวะหน้าทับมีความส�าคัญมากทีส่ ดุ เพราะมีหน้าทีค่ วบคุมให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ ของความถูกต้อง มีหน้าที่บังคับความสั้นยาวของเพลงให้รู้ว่ามีกี่ท่อน ท่อนละกี่จังหวะ เพลงทุกๆ เพลงจะต้องอยูภ่ ายใต้กฎเกณฑ์ของจังหวะหน้าทับ จะยืนอยูบ่ นความถูกใจพอใจของผูแ้ ต่งไม่ได้ ต้อง ยืนอยู่บนความ “ถูกต้อง” ซึ่งก่อนที่จะแต่งเพลงนั้นควรที่จะทราบจังหวะหน้าทับก่อน เพราะจังหวะ หน้าทับมีกฎเกณฑ์ครอบคลุมท�านองเพลง การบรรเลงหน้าทับเป็นตัวบอกให้รู้ว่าเพลงนี้มีกี่จังหวะ หน้าทับ ซึ่งหน้าทับที่ใช้ประกอบในการแต่งเพลงไทยมี 2 ประเภท คือ 1. หน้าทับปรบไก่ 2 ชั้น ดังนี้ ----

- - - พรึง - - - ป๊ะ

- - - ตุ๊บ

- - - พรึง - - - พรึง - - - ตุ๊บ

- - - พรึง

2. หน้าทับสองไม้ 2 ชั้น ดังนี้ - - ตุบ๊ เพริง่ - ถะ - ตุ๊บ - - - พรึง

- - - พรึง

- - - ป๊ะ

- - ตุบ๊ เพริง่

- - ตุ๊บติง

- - - ป๊ะ

อย่างน้อยสิง่ ทีค่ วรรูก้ ค็ อื การขึน้ ต้นของเพลง การขึน้ เต็มจังหวะนัน้ ขึน้ อย่างไร ขึน้ ครึง่ จังหวะนัน้ ขึ้นอย่างไร ถ้าเรารู้เราเข้าใจดีแล้วเราจะตรวจนับจังหวะของเพลงได้ถูกต้อง ไม่ผิดพลาด ความผิด พลาดคือคร่อมจังหวะหน้าทับ ถ้านับผิดหรือขึ้นต้นการนับจังหวะผิดพลาด หน้าทับมันก็จะคร่อม อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

41


ทั้งเพลง ข้าพเจ้าเชื่อว่า ทุกๆ คนรู้และเข้าใจดีถึงการใช้จังหวะหน้าทับตรวจเพลงนับเพลง จังหวะที่ ใช้ก็คือจังหวะประกอบการบรรเลง เช่น กลองแขกหรือกลองมลายู การนับก็คงอย่างนี้ โจ๊ะจ๊ะ โจ๊ะ จ๊ะ โจ๊ะจ๊ะ ติงทัง่ ติงติง ทัง่ ติงติงทัง่ การนับอย่างนีก้ ใ็ ช้ได้ในการแต่งเพลงหรือตรวจสอบเพลง แต่อาจ เผลอง่ายหรือผิดพลาดได้ง่าย เพราะต้องนั่งนึก โจ๊ะจ๊ะ โจ๊ะจ๊ะ ไปด้วย ข้าพเจ้าอยากเสนอแนะให้ใช้ หน้าทับเฉพาะในการแต่งเพลงหรือตรวจสอบเพลง วิธีนับนั้นดังจะได้เห็นจากตัวอย่างต่อไปนี้

เท่ากับ 1 จังหวะ 3 ชั้น ปรบไก่

เท่ากับ 1 จังหวะ 2 ชั้น ปรบไก่

เท่ากับ 1 ชั้นเดียวปรบไก่ วิธีนับตรวจสอบและแต่งเพลงแบบโบราณนี้ ครูอาจารย์ท่านให้ข้าพเจ้ามาด้วยความรัก ขอบุญ กุศลนีไ้ ด้สง่ ผลให้ถงึ ครูอาจารย์ผใู้ ห้ดว้ ยเทอญ เมือ่ ทราบถึงวิธกี ารตรวจสอบและนับจังหวะเพลงแล้ว ก็ควรจะเรียนรู้ต่อไปถึงวิธีการขึ้นเพลงว่ามีวิธีการขึ้นเพลงอย่างไรที่เรียกว่าขึ้นเต็มจังหวะหรือขึ้น อย่างไรที่เรียกว่าขึ้นครึ่งจังหวะ ซึ่งการขึ้นเพลงมีอยู่ 2 วิธี คือ ขึ้นเต็มจังหวะและขึ้นครึ่งจังหวะ ดัง ตัวอย่างจะชี้ให้เห็นลักษณะขึ้นเต็มจังหวะ ดังนี้

อย่างนี้ขึ้นเต็มจังหวะ ตระโหมโรงเย็น 3 ชั้น

อย่างนี้ขึ้นครึ่งจังหวะ ตระโหมโรงเย็น 3 ชั้น 42

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ขอยกตัวอย่างให้เห็นอีกสักแบบหนึ่งซึ่งเกี่ยวกับการขึ้นเพลง แบบนี้จะเข้าใจได้ง่ายขึ้น เพราะ เป็น 2 ชั้น เช่น ตัวอย่างขึ้นเพลงมหาชัย 2 ชั้น

อย่างนี้ขึ้นเพลงจังหวะ 2 ชั้น

อย่างนี้ขึ้นครึ่งจังหวะ 2 ชั้น เมื่อรู้และเข้าใจการนับจังหวะของเพลงและการขึ้นเพลงเต็มจังหวะและครึ่งจังหวะแล้ว ต่อไปก็ จะต้องตรวจเสียงของเครื่องดนตรีเสียก่อน ในการแต่งเพลงมีสองเสียง คือ ในเกณฑ์ของปี่พาทย์ไม้ แข็ง คือ เสียงใน [เทียบเสียง ซอล ลา ที] และเสียงกรวด [เสียงสูงกว่าเสียงใน คือ โด เร มี] ถ้าเสียง ในจะเทียบตามหลักดนตรีสากลต้องยึดเสียง ซอล เป็นหลัก เสียงกรวดต้องยึดเสียง โด เป็นหลัก ส่วนหลักการและวิธีการแต่งเพลงมีอยู่ 2 ประเภท คือ 1. ประเภทที่มีโครงสร้าง 2. ประเภทที่ไม่ต้องมีโครงสร้าง ข้าพเจ้าขอกล่าวประเภทที่ไม่ต้องมีโครงสร้างก่อน ประเภทนี้เรียกว่าแต่งแบบอิสระ แต่งด้วย มันสมองของตัวเอง สุดแท้แต่การสัมผัสของกลอนจะพาไปในรูปประโยคใด ต้องกลมกลืน ไม่ขัดกัน ผู้แต่งต้องจินตนาการว่าจะมุ่งแต่งไปทางไหน ส�าเนียงอะไร ส�าเนียงต้องไม่ปนกัน และขอย�้าว่าต้อง ไม่ลมื ว่าเราต้องแต่งต้องคิดอยูภ่ ายใต้กฎเกณฑ์ของจังหวะหน้าทับ ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ เพือ่ ไม่ให้คร่อมจังหวะ หน้าทับ ซึ่งภาษาดนตรีก็คือไม่หมดวรรคเพลงพร้อมหน้าทับนั่นเอง ซึ่งต้องพิจารณาและใคร่ครวญ เสียก่อนว่า เราจะแต่งกีท่ อ่ น ท่อนละกีจ่ งั หวะ จะขึน้ อย่างไรหรือลงอย่างไรเพือ่ ความเหมาะสม ต้องเต รียมความพร้อมของตัวเองให้แน่นอนดีก่อนจึงจะค่อยเริ่มต้น วิธีการแต่งเพลงแบบอิสระนี้ไม่ต้องห่วงลูกตกของจังหวะหน้าทับ เพราะแต่งโดยไม่มีโครงสร้าง ไม่ต้องน�าท�านองมาจากเพลง 2 ชั้น แต่ผู้แต่งต้องระมัดระวังการเคลื่อนย้ายเสียงหรือท�านอง โดย ต้องให้สัมผัสกลมกลืนทุกจังหวะหน้าทับเหมือนช่างเย็บผ้า หยิบมาเย็บติดต่อกันโดยไม่ให้เห็นรอย ต่อของผ้า ให้เห็นเป็นผ้าผืนเดียวและสีเดียวกันทั้งหมด ซึง่ วิธแี ต่งเพลงแบบนีจ้ ะไม่เกีย่ วกับหน้าทับพิเศษ เช่น ลาว เขมร แขก จังหวะหน้าทับอย่างนีจ้ ะ ใช้กับเพลงเกร็ดต่างๆ เช่น เพลงออกภาษา โดยเฉพาะขอกล่าวสักหน่อยว่า ส�าหรับจังหวะหน้าทับ ประเภทสองไม้นั้นยืดหยุ่นได้ไม่มีกฎบังคับเหมือนเพลงปรบไก่ ซึ่งเพลงประเภทสองไม้นี้ผู้แต่งเพลง ทุกคนมักไม่ค่อยแต่ง เหตุด้วยเพราะประเภทเพลงทยอยนั้น ท่านครูบาอาจารย์โบราณท่านน�าไป แต่งกันครบเสียเกือบหมดแล้ว ถึงแม้มีเหลืออยู่บ้างก็ไม่อยากไปแตะไปต้องเพราะแต่งขึ้นมาแล้วก็สู้ ท่านเหล่านั้นไม่ได้ ถึงจะแต่งเพลงสองไม้ก็ต้องไปค้นเพลง 2 ชั้นที่มี 3 จังหวะครึ่ง หรือเพลงอะไร ก็ได้ที่มีเศษเหลือครึ่งๆ จังหวะ อย่างนี้ก็จะสามารถน�ามาแต่งเป็นเพลงสองไม้ได้ เพราะบรรเลงด้วย หน้าทับปรบไก่ไม่ลง นี่คือวิธีแต่งเพลงแบบอิสระ อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

43


นอกจากเพลงประเภทสองไม้ที่กล่าวไปแล้วนั้น เพลงกรอยังเป็นเพลงอีกประเภทหนึ่งที่มีลีลา เรียบร้อยอ่อนโยนผิดจากปี่พาทย์ไม้แข็งที่มีเสียงออกมาจากการบรรเลงฟังดูเกรี้ยวกราด ลักษณะ ของทางเพลงจึงแตกต่างกันออกไป แม้แต่การบรรเลงก็แตกต่างเช่นกัน โดยเฉพาะการบรรเลงเพลง ทางกรอนัน้ ทุกๆ เครือ่ งมือจะบรรเลงเหมือนกันเกือบหมด โดยทีไ่ ม่ตอ้ งใช้สมองมาก เพราะไม่ตอ้ ง แยกแยะว่าทางใครทางมันเหมือนปีพ่ าทย์ไม้แข็ง ผูบ้ รรเลงบรรเลงได้งา่ ยแต่อาจจะไม่แตกฉานลูท่ าง การสร้างท�านองหรือโครงสร้างของผู้แต่งเพลงนั้น ตามความรู้สึกของข้าพเจ้าดูเหมือนว่าจะง่ายกว่า การแต่งเพลงทางธรรมดา เพราะทางกรอไม่ต้องใช้สัมผัสของกลอนมาก โดยอาจจะกรอยืนอยู่กับที่ ตั้ง 1 จังหวะก็ได้ แต่ทางธรรมดาต้องหาวิธี หากลอน สัมผัสที่ไหน จะอยู่กับที่ไม่ได้ เพลงอีกประเภทหนึ่งที่ข้าพเจ้าอยากจะพูดสักหน่อย เพราะมีความส�าคัญในการแต่งเพลง คือ เพลงล้อเพลงขัด เป็นเพลงอีกแบบหนึ่งซึ่งมีลีลาแตกต่างออกไปจากเพลงทางธรรมดาและทางกรอ ท่านครูอาจารย์ได้หาวิธใี ห้ผฟู้ งั ได้ฟงั ชนิดทีไ่ ม่ซา�้ แบบเพือ่ มิให้เกิดการเบือ่ และจืดชืด เพราะเดิมเพลง ไทยของเราจะมีแต่เพลง 2 ชั้นท�านองพื้นๆ ธรรมดาเรียบร้อย การฟังลักษณะของเพลงจะเหมือน มโหรีหรือปีพ่ าทย์ไม้นวม แต่จะเริม่ มามีววิ ฒ ั นาการสมัยรัตนโกสินทร์ทเี่ ริม่ ขยายเพลงจาก 2 ชัน้ เป็น 3 ชั้นและชั้นเดียว แต่ก็ไม่ค่อยมีลูกล้อลูกขัดมากดังเช่นปัจจุบัน จากปลายสมัยรัชกาลที่ 5 ต้นรัชกาลที่ 6-7 เพลงไทยได้มีวัฒนาการมากขึน้ เพราะตามวังต่างๆ เจ้านายทรงเล่นดนตรีปี่พาทย์กันมาก แต่ละวังจะมีปี่พาทย์เป็นของพระองค์เอง และมีการประชัน วงหรือประลองกันบ่อยครั้ง แต่ละวังจึงจ�าเป็นต้องหาครูอาจารย์ที่ทรงภูมิปัญญาความรู้มาฝึกสอน ประจ�า เช่น วังบางขุนพรหม ท่านคุณครูจางวางทั่ว พาทยโกศล วังบูรพา ท่านคุณครูหลวงประดิษฐ ไพเราะ [ศร ศิลปบรรเลง] วังเจ้าพระยาธรรมมาฯ ท่านพระยาเสนาะดุริยางค์ [แช่ม สุนทรวาทิน] ดังนี้เป็นต้น ระยะนี้จึงเกิดเพลงเถากันมากขึ้น มีทั้งทางพื้นธรรมดา ทางกรอ ทางล้อทางขัด เพิ่มบทบาท รสชาติให้ผู้ฟังมากขึ้น ทางเพลงธรรมดานั้นถ้าจะเปรียบกับอาหารก็คงจะเหมือนกับต้มย�าปลาช่อน เพราะปกติเนื้อปลาช่อนก็อร่อยอยู่แล้ว แต่เมื่อเติมเปรี้ยวเติมเค็มลงไปมันก็อร่อยมากขึ้นไปอีก แต่ เมื่อเราเติมบ่อยๆ มันก็ชักจืดชืดไปเช่นกัน เพราะชินกับรสของปลา ท่านผู้ปรุงอาหารก็พยายาม คิดค้นวิธปี รุงใหม่เพือ่ จะเพิม่ รสชาติให้ดขี นึ้ อีก ก็เลยทุบพริกขีห้ นูสดใส่ลงไปหรือต�าพริกเผาใส่เพิม่ ลง ไปอีก พอเพิ่มรสเผ็ดลงไปมันก็มีพร้อมกันทั้งเปรี้ยว-เค็ม-เผ็ด หมายถึง เพลงลูกล้อลูกขัด มันก็จะมี พร้อมกันดังนี้ นอกจากการแต่งเพลงประเภททีไ่ ม่ตอ้ งมีโครงสร้างแล้ว อีกประเภทคือการแต่งเพลงจากโครงสร้าง วิธีนี้ต้องอาศัยโครงสร้างเป็นหลัก ต้องตั้งโครงสร้างขึ้นมาก่อน โครงสร้างหมายถึงเพลง 2 ชั้น ที่เรา จะน�ามาขยายอัตราจังหวะจาก 2 ชั้น ให้เป็น 3 ชั้น และตัดอัตราจังหวะลงมาเป็นชั้นเดียว เรียกว่า ท�าได้ทงั้ ยาวและสัน้ ขยายอัตราให้ยาวได้ให้สนั้ ได้ ต่อไปนีจ้ ะพูดถึงการขยายท�านองจากอัตราจังหวะ หน้าทับ 2 ชั้นไป 3 ชั้น จะขยายอย่างไร เติมอย่างไร และตัดลงเป็นชั้นเดียวตัดอย่างไร ดังนี้ 1. ยืด หมายถึง การขยายอัตราจังหวะหน้าทับจาก 2 ชั้น เป็น 3 ชั้น เช่น น�าโครงสร้างเพลง 2 ชั้น 1 ท่อน มี 4 จังหวะหน้าทับของอัตราจังหวะ 2 ชั้น ขยายเป็นอัตราจังหวะ 3 ชั้น หรือเป็น 8 จังหวะของอัตราจังหวะ 2 ชั้น ถ้าใช้วิธีนับหนึ่งบวกหนึ่งเป็นสองหรือสองบวกสองเป็นสี่ตามหลัก ทศนิยมก็ได้ แต่ฟังดูแล้วมันง่ายเกินไป เพราะแต่งเพลงประพันธ์เพลงต้องอาศัยโครงสร้างเดิมเป็น หลัก ต้องค�านึงถึงจังหวะหน้าทับ เช่น ตรวจจังหวะหน้าทับแรกของเพลงหรือวรรคตอนของเพลง ลูก ตกจังหวะแรกเสียงอะไร ครึ่งจังหวะแรกตกเสียงอะไร ถ้าครึ่งจังหวะแรกตกเสียงลาก็ต้องเคลื่อนย้าย เสียงจากต้นมาลงเสียงลาให้ได้ 44

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


2. ยุบ หมายถึง ตัดให้เหลือน้อย เช่น มีแต่เพลง 3 ชั้น ไม่มี 2 ชั้น ก็ต้องยุบ 3 ชั้นให้เป็น 2 ชั้น แต่ด้วยประการใดนั้นทั้งยุบและยืดก็ต้องห่วงด้วยลูกตก วรรคตอน และหน้าทับของเพลง ขอยก ตัวอย่างง่ายๆ เช่น เท่า 2 ชั้น ดังตัวอย่าง

เท่าอย่างนี้เป็นอัตราจังหวะหน้าทับปรบไก่ 2 ชั้น ถ้าเราจะขยายอัตราจังหวะหน้าทับให้เป็น ปรบไก่ 3 ชั้น เราจะเพิ่มและขยายอย่างไร การขยายจากโครงสร้างต้องเป็นห่วงลูกตกทุกครึ่งจังหวะ และเต็มจังหวะ ขยายเพิ่มตามความพอใจไม่ได้ ดังตัวอย่าง

ตัวอย่างการเพิ่มและขยายเป็นอัตราจังหวะปรบไก่ 3 ชั้น เช่นเดียวกับ 2 ชั้น ท่านลองตรวจลูก ตกทุกครึ่งและเต็มจังหวะแล้วจะไม่พลาดเลย โปรดเข้าใจตามนี้

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

45


ตัวอย่ำงฝึกหัดแต่งเพลง ต่อไปเป็นวิธีเตรียมพร้อมในการแต่งเพลง นอกจากนี้คงไม่มีอะไรจะพูด สิ่งที่จะต้องท�าต่อไป คือท�าแบบฝึกหัดแต่งเพลง โปรดดูตัวอย่าง

ตัวอย่างเพลงล่องลอย โครงสร้าง 2 ชั้น

ขยายเป็นอัตราจังหวะ 3 ชั้น

46

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ตัดอัตราจังหวะเป็นชั้นเดียว

ตัวอย่างโครงสร้าง 2 ชั้น

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

47


ขยายเป็นอัตราจังหวะ 3 ชั้น

ตัดอัตราจังหวะเป็นชั้นเดียว

48

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ตัวอย่างแบบอิสระ อัตราจังหวะ 3 ชั้น

ยุบอัตราจังหวะเป็น 2 ชั้น

ตัดอัตราจังหวะเป็นชั้นเดียว

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

49


แยกมือฆ้องวงใหญ่เพื่อศึกษา เพลงต้นตวงพระธาตุ 2 ชั้น มือฆ้องวงใหญ่ทางธรรมดา

มือฆ้องวงใหญ่แบบประเภทเพลงเรื่อง

50

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


มือฆ้องวงใหญ่แบบประเภทเพลงเสภา

มือฆ้องวงใหญ่แบบประเภทเพลงมโหรีหรือไม้นวม

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

51


ตัวอย่างการขยายอัตราจังหวะและส�าเนียงเพลง โครงสร้าง 2 ชั้น

ขยายเป็นอัตราจังหวะ 3 ชั้น

ส�าเนียงลาว

ส�าเนียงแขก

52

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ตัวอย่างอัตราจังหวะและกลอนเพลง 3 ชั้น

2 ชั้น

ชั้นเดียว

กลอนแบบที่ 1

กลอนแบบที่ 2

กลอนแบบที่ 3

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

53


ตัวอย่างส�าเนียงของเพลง [1] โครงสร้าง 2 ชั้น

ส�าเนียงลาว

54

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ส�าเนียงแขก

ส�าเนียงเขมร

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

55


ส�าเนียงฝรั่ง

ตัวอย่างส�าเนียงของเพลง [2] โครงสร้าง 2 ชั้น

ส�าเนียงเพลงที่ 1

56

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ส�าเนียงเพลงที่ 2

คุณค่าและความส�าคัญของวิธีการแต่งเพลงนั้น ถ้ามองแบบผิวเผินก็คงจะไม่ยากนัก แต่ถ้า หากเจาะลึกลงไปมากๆ แล้วก็จะรู้ว่ามีความละเอียดอ่อนได้ สมควรที่จะได้ศึกษาเล่าเรียนเพื่อ ที่จะรักษาไว้ซึ่งมรดกของชาติและภูมิปัญญาของไทยในอดีตต่อไป

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

57


หลักกำรเพลงหน้ำพำทย์ ส�ำรำญ เกิดผล

เพลงหน้าพาทย์ เป็นเพลงส�าคัญลักษณะหนึ่งของวงการดนตรีไทย เพลงหน้าพาทย์แต่ละ เพลงมีคุณค่าและความส�าคัญ โดยเฉพาะเพลงองค์พระพิราพเต็มองค์ ท่านครูช่อ สุนทรวาทิน ได้กรุณาเล่าให้ข้าพเจ้าฟังว่า ท่านต่อเพลงนี้จากท่านครูทองดี ชูสัตย์ ในโบสถ์วัดกัลยาณมิตร ท�าพิธีบชู าครูที่บ้าน มีเครือ่ งบูชา คือ หัวหมูดิบ บายศรีปากชาม เหล้าขาว ขันขาว ผ้าขาว 1 ผืน เงินค่าก�านัล 6 บาท ดอกไม้ ธูป เทียน ซึ่งระเบียบวิธีเช่นนี้ควรค่าต่อการยึดถือเป็นแบบแผน สืบไป ในส่วนของเพลงหน้าพาทย์ท้ังหน้าพาทย์ไหว้ครูน้ัน อนึ่ง ข้าพเจ้าขอชี้แจงการแต่งเพลงหน้า พาทย์บางเพลง คือ เพลงตระพระปัญจะสิงขร เพลงตระพระศิวะเปิดโลก และเพลงตระนางหรือ มณโฑหุงน�้าทิพย์ ว่า ข้าพเจ้าแต่งขึ้นเพื่อให้มีเพลงรองรับในการประกอบพิธีไหว้ครูให้บังเกิดความ สมบูรณ์ขึ้น และแต่งตามรับสั่งของพระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร ส�าหรับเพลงหน้าพาทย์ต่างๆ เป็น เพลงที่ใช้กันเฉพาะพวกดนตรีและพวกฟ้อนร�า เพื่อให้เข้าใจหลักการเพลงหน้าพาทย์ การใช้ไม้เดิน และไม้ลา ข้าพเจ้าได้เขียนอธิบายเพลงหน้าพาทย์ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ไม้เดิน ไม้เดินเป็นวิธีการตีกลองทัดที่ด�าเนินไปตามจังหวะอย่างสม�่าเสมอและมั่นคง รูปแบบการตี ตะโพนนอกจากแบ่งตามอัตราจังหวะแล้ว ยังมีสดั ส่วนทีก่ า� หนดเรียกกระสวนจังหวะว่า ท่า ครูดนตรี แต่ครัง้ โบราณได้ประดิษฐ์กระสวนจังหวะของตะโพน 1 ท่า มีสดั ส่วนเท่ากับ 4 จังหวะหน้าทับตะโพน หรือมีสัดส่วนเท่ากับ 4 ไม้กลอง การก�าหนดเช่นนี้เพื่อเป็นที่หมายรู้ของนักดนตรีที่ตีไม้กลองให้มี ความถูกต้องตรงตามท�านองและจังหวะที่ก�ากับท�านองเพลง การตีไม้เดินมี 3 อย่าง คือ เดินแบบ ตระ เดินแบบเสมอ และเดินแบบนางเดิน ไม้เดินทั้ง 3 อย่างมีค�าอธิบาย คือ 1. ไม้เดินแบบตระ การตีไม้เดินแบบตระให้ด�าเนินจังหวะอย่างช้าที่เรียกว่า เดินช้า ท�านอง เพลงของเพลงตระมีทั้งอัตรา 3 ชั้น และ 2 ชั้น เช่น ตระสันนิบาต ตระพระอิศวร เป็นต้น การตีไม้ กลองต้องด�าเนินไปตามจังหวะช้าอย่างสม�่าเสมอ โดยสัดส่วนของการตีไม้กลองของท�านองเพลง อัตรา 3 ชั้น ต้องยาวกว่าอัตรา 2 ชั้น เปรียบเทียบคือไม้เดินของตระ 3 ชั้น ตะโพนตี 1 จังหวะหน้า ทับ ไม้กลองตี 1 ไม้ ระยะเท่ากับจังหวะหน้าทับปรบไก่ 3 ชัน้ 1 จังหวะ ถ้าเป็นไม้เดินของตระ 2 ชัน้ ตะโพนตี 1 จังหวะหน้าทับ ไม้กลองตี 1 ไม้ สัดส่วนเท่ากับหน้าทับปรบไก่ 2 ชั้น 1 จังหวะ

58

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


2. ไม้เดินแบบเสมอ การตีไม้เดินแบบนีใ้ ห้ดา� เนินอย่างปานกลาง ทีเ่ รียกว่าเดินปานกลางเพราะ ใช้ส�าหรับเพลงหน้าพาทย์เสมอต่างๆ เช่น พราหมณ์เข้า บาทสกุณี เป็นต้น การตีไม้กลองให้ด�าเนิน ไปตามจังหวะปานกลางอย่างสม�่าเสมอ การเดินลักษณะนี้ตะโพนตี 2 จังหวะหน้าทับ ไม้กลองตี 2 ไม้สัดส่วนเท่ากับหน้าทับปรบไก่ 2 ชั้น 1 จังหวะ 3. ไม้เดินแบบนางเดิน การตีไม้เดินแบบนี้ให้ด�าเนินเร็วที่เรียกว่า เดินเร็ว ส�าหรับเพลงหน้า พาทย์ต่างๆ เช่น เพลงชุบ เพลงเชิดฉาน เป็นต้น การตีไม้กลองให้ด�าเนินไปตามจังหวะที่มีสัดส่วน เร็วอย่างสม�า่ เสมอ การเดินลักษณะนีต้ ะโพนตี 4 จังหวะหน้าทับ ไม้กลองตี 4 ไม้ สัดส่วนเท่ากับหน้า ทับปรบไก่ 2 ชั้น 1 จังหวะ

ไม้ลำ ไม้ลาเป็นวิธตี กี ลองทัดทีแ่ สดงให้ทราบว่าท�านองเพลงจะจบตอนหรือจบเพลง โดยมีการก�าหนด ให้ กลองทัดตัวผู้ด�าเนินไม้กลองด้วยวิธีสอดแทรกให้กระชั้นระหว่างไม้กลองกับตะโพน เป็นที่หมาย รูส้ า� หรับให้นกั ดนตรีและนักแสดงทีร่ า� เพลงหน้าพาทย์ทราบช่วงเปลีย่ นของเพลงและท่าร�า ไม้ลาแบ่ง ออกเป็น 3 อย่าง คือ 1. ไม้ลาแบบตระ เป็นการตีไม้กลองก�ากับ เมื่อพิจารณากรอบของจังหวะหน้าทับปรบไก่เพลง ตระอัตรา 3 ชั้น ตะโพนตี 4 จังหวะ หน้าทับปรบไก่ ไม้กลองต้องตี 12 ไม้ แต่มิใช่ตีเหมือนหน้าทับ ปรบไก่ ส�าหรับกรอบจังหวะหน้าทับปรบไก่ 2 ชัน้ เพลงตระอัตรา 2 ชัน้ ตะโพนตี 4 จังหวะ ไม้กลอง ตี 12 ไม้ เท่ากับหน้าทับปรบไก่ แต่มิใช่ตีเหมือนหน้าทับปรบไก่ ซึ่งเป็นแนวเดียวกับการตีแบบตระ 3 ชั้น 2. ไม้ลาแบบเสมอ เป็นการตีไม้กลองก�ากับ มีสัดส่วนเท่ากับหน้าทับปรบไก่ 2 ชั้น 2 จังหวะ 3. ไม้ลาแบบเหาะ เป็นการตีไม้กลองก�ากับ มีสัดส่วนเท่ากับหน้าทับปรบไก่ 2 ชั้น 4 จังหวะ ไม้กลองตะโพนแบบตระต้องตีให้สมั พันธ์กนั เช่นนีต้ ลอด แม้วา่ ในเนือ้ ท�านองของเพลงตระแต่ละเพลง มีความยาวแตกต่างกัน แต่เมื่อลงไม้ลาแล้วเพลงตระทุกเพลงต้องลงไม้ลาเท่ากันทั้งหมด เพราะ โครงสร้างของเพลงตระเป็นเพลงประเภทหน้าทับปรบไก่

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

59


60

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

61


62

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ค�ำไว้อำลัย ครูส�ำรำญ เกิดผล ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง [ดนตรีไทย] พุทธศักรำช 2548

ครูส�าราญ เกิดผล เกิดเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2470 ที่ต�าบลบ้านใหม่ อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ครูสา� ราญ เกิดผล เริม่ ฝึกปีพ่ าทย์ครัง้ แรกเมือ่ อายุ 9 ขวบ จากครูหลายท่านอาทิ ครูเพ็ชร จรรย์นาฏย์ ครูเทียบ คงลายทอง ครูอาจ สุนทร เป็นต้น ครูส�าราญ เกิดผล เป็นผู้ที่ศึกษาเรียนรู้ดนตรีไทยอย่างจริงจัง มีความรู้ ทัง้ ด้านทฤษฎีและการปฏิบตั ิ เขียนและอ่านโน้ตเพลงสากล มีความเชีย่ วชาญด้านการบรรเลงดนตรีไทย ประเภทเพลง สองชัน้ มีจา� นวน 231 เพลง ประเภทขับร้องทัว่ ไป เถา จ�านวน 132 เพลง ประเภทเพลงเรือ่ ง จ�านวน 20 เรือ่ ง ประเภท เพลงพิธีต่างๆ จ�านวน 13 เพลง เพลงหน้าพาทย์ประเภทตระ 2 ชั้น 24 ตัว ประเภทตระ 3 ชั้น 20 ตัว ประเภท เชิดชั้นเดียว 30 ตัว เพลงโหมโรง เพลงเสภา ฯลฯ ครูส�าราญ เกิดผล ได้สร้างสรรค์ผลงานด้านการประพันธ์เพลงจ�านวนมาก โดยแต่งขยายและตัดทอนจากเพลง 2 ชัน้ ให้ครบเป็นเพลงเถา และเปลีย่ นให้มลี กู ล้อลูกขัดและท่วงท�านองทีน่ า่ ฟังมากยิง่ ขึน้ เช่น เพลงอัปสรส�าอาง เพลง สุรางค์จ�าเรียง เพลงจีนเด็ดดอกไม้ เพลงตะลุ่มโปง เป็นต้น ส่วนเพลงที่แต่งใหม่โดยยึดเอาเพลง 2 ชั้นของเดิมในสมัย อยุธยานั้น ครูส�าราญ ได้แต่งใหม่ให้เป็นเพลงเถา เพื่อรักษาเพลง 2 ชั้นของเดิมมิให้สูญไป มีจ�านวนมากถึง 41 เพลง เช่น เพลงสามไม้ใน เถา เพลงบัวตูมบัวบาน เถา เพลงไอยราชูงวง เถา ฯลฯ ครูส�าราญเป็นครูท่ีมีจิตใจดี มีน�้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่ผู้ที่มีความสนใจด้านดนตรี เป็นที่รักของบรรดาลูกศิษย์ ใช้ชีวิตด้วยการเผยแพร่ดนตรีไทยให้แก่ นักเรียนนักศึกษาในสถาบันการศึกษาต่างๆ มีความสุขกับการต่อเพลงให้กับนักเรียนและนักศึกษาที่ต้องการมีความรู้ ด้านดนตรีไทยทีม่ าขอเรียนกับครูทบี่ า้ นอย่างต่อเนือ่ งไม่ขาดสาย อีกทัง้ เป็นกรรมการตัดสินในการจัดประกวดวงปีพ่ าทย์ ดนตรีไทย เป็นวิทยากร ฯลฯ ครูส�าราญ เกิดผล จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการ แสดง [ดนตรีไทย] พุทธศักราช 2548 และถึงแม้จะอยู่ในช่วงปัจฉิมวัย ครูส�าราญก็ยังอุทิศความรู้ให้วงการดนตรีไทย อยู่เสมอจวบจนวาระสุดท้ายของชีวิต นับได้ว่าครูส�าราญเป็นปูชนียบุคคลแห่งวงการดนตรีไทยอย่างแท้จริง บัดนี้ ครูส�าราญ เกิดผล ได้จากไปอย่างสงบ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 ตุลาคม 2560 ซึ่งเป็นที่อาลัยของครอบครัว ลูกศิษย์ ศิลปินแห่งชาติทุกสาขา นับว่าเป็นการสูญเสียทรัพยากรบุคคลผู้ทรงคุณค่าต่อประเทศอีกท่านหนึ่ง ในนาม ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ขออานุภาพแห่งคุณความดีที่ท่านได้ถือปฏิบัติมาตลอดชีวิต ได้โปรด ดลบันดาลให้ดวงวิญญาณของครูส�าราญ เกิดผล ประสบแต่ความสุขสงบในสัมปรายภพด้วยเทอญ

นางพิมพ์รวี วัฒนวรางกูร อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม


แด่

คุณพ่อส�ำรำญ เกิดผล [ศิลปินแห่งชำติ]

พลเอกสถำพร พันธ์กล้ำ

ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองบัญชำกำรกองทัพไทย

มีคา� พูดทีเ่ ราได้ยนิ กันบ่อยๆ คือค�าพูดทีว่ า่ “อยุธยาไม่สนิ้ คนดี” หมายถึงว่า ไม่วา่ จะยุคสมัยใด เมืองไทยของเราจะต้องมีคนที่มีความรู้ ความสามารถ เป็นศรีสง่าแก่ชาติบ้านเมือง ซึ่งหนึ่งในนั้นก็ คือ คุณพ่อส�าราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง [ดนตรีไทย] มีผลงานที่มีคุณค่ายิ่ง ต่อประเทศชาติ ตั้งแต่ผมได้รู้จักกับคุณพ่อ รู้สึกว่าท่านเป็นทั้งพ่อและครู มีจิตใจโอบอ้อมอารี สิ่งที่ท่านพูดกับ ผมเสมอคือ “การเป็นผู้ให้เป็นสิง่ ทีด่ ีทสี่ ดุ สบายใจกว่าการเป็นผูร้ ับ” นั่นคือลักษณะนิสยั ส่วนตัวของ คุณพ่อทีเ่ ป็นคนมีใจกว้าง ท�างานเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวมด้วยจิตใจทีบ่ ริสทุ ธิไ์ ม่หวังผลตอบแทน ความ ดีของคุณพ่อจึงเป็นอนุสรณ์สถานอันยิ่งใหญ่ ที่ยิ่งใหญ่กว่าเจดีย์ก็คือคุณงามความดีที่ท่านได้ท�าไว้ จะถูกจารึกบันทึกไว้ในจิตใจของประชาชนตลอดไป ด้วยอ�านาจแห่งคุณพระศรีรัตนตรัยและบุญกุศลที่คุณพ่อส�าราญ เกิดผล ได้ประพฤติบ�าเพ็ญ มาตลอดชีวิต และกุศลที่เกิดจากบุญกฐินที่คุณพ่อให้ผมเป็นเจ้าภาพทอดกฐินสามัคคี ณ วัดโคก หิรัญ ต.บางชะนี อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา ขอกุศลนั้นจงเป็นพลวปัจจัยให้ดวงวิญญาณอัน บริสุทธิ์ของคุณพ่อรับไปเสวยสุขเป็นทิพยวิมาน ในสัมปรายภพเบื้องหน้าด้วยเทอญฯ ด้วยความอาลัยจากใจ

64

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


คุณพ่อส�ำรำญผู้มีแต่ควำมเมตตำ น.อ.หญิง นรีกุล จิตตบุณย์

ผู้อ�ำนวยกำรกองกำรพยำบำล โรงพยำบำลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหำรอำกำศ

การทีค่ นเรามีโอกาสได้มาพบ รูจ้ กั และได้ดแู ลช่วยเหลืออย่างใกล้ชดิ ถ้าไม่ใช่เพราะสัมพันธภาพ ความผูกพันกันทางสายเลือดแล้ว คงเป็นเพราะผลบุญที่ได้ร่วมสร้างกันมาแต่ชาติปางก่อน ดังเช่น ดิฉันซึ่งได้รับโอกาสในการดูแลช่วยเหลือคุณพ่อส�าราญ เกิดผล มานานเกินกว่า 10 ปี ในทุกครั้งที่ ท่านได้เข้ามารับการตรวจรักษาใน รพ.ภูมิพลอดุลยเดช ตราบจนครั้งสุดท้าย เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ถึงวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 คุณพ่อ ส�าราญจ�าเป็นต้องเข้านอนในโรงพยาบาลเพื่อรับการรักษาพยาบาลด้วยอาการโรคที่ต้องให้แพทย์ พยาบาลดูแลอย่างใกล้ชิดในหอผู้ป่วยพิเศษชั้น 11/2 และหอผู้ป่วยวิกฤติอายุรกรรมชั้น 3 อาคาร คุ้มเกล้า ตลอดระยะเวลาที่คุณพ่อส�าราญนอนพักในโรงพยาบาล ท่านไม่เคยเรียกร้องสิทธิ์ของความ เป็นศิลปินแห่งชาติ ท่านไม่เคยร้องขอความต้องการเพื่อประโยชน์ของตนเองเลย ท่านมีแต่ความ เกรงใจ เห็นใจ บุคลากรทางการพยาบาลทุกคน และที่ส�าคัญท่านมีความเมตตากับทุกคนที่ด้อย โอกาส ท่านจะให้ในทุกสิง่ ทีท่ า่ นสามารถเอือ้ ประโยชน์ให้กบั บุคคลเหล่านัน้ ได้ โดยไม่ได้หวังผลตอบ แทนใดๆ ทั้งสิ้น จนเป็นที่ประจักษ์แก่พยาบาลและเจ้าหน้าที่ของชั้น 11/2 ทุกคน ซึ่งท�าให้ทุกคนให้ ความเคารพนับถือคุณพ่อส�าราญมากที่สดุ เหนือกว่าความผูกพันฉันผูป้ ่วยทัว่ ไป และคงประทับอยู่ ในความทรงจ�าของทุกคนตลอดไป สุดท้ายนีข้ ออ�านาจบารมี ผลบุญ คุณความดี ความเมตตา ทีค่ ณ ุ พ่อส�าราญได้สร้างสมมาตลอด ชีวิต โปรดประทานพรให้ดวงวิญญาณของคุณพ่อส�าราญได้สถิตอยู่ในสรวงสวรรค์ด้วยเทอญ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

65


แด่

คุณพ่อส�ำรำญ เกิดผล คนไข้ที่น่ำยกย่อง น.อ. [พิเศษ] นพ.วรงค์ ลำภำนันต์

รองผู้อ�ำนวยกำร สถำบันเวชศำสตร์กำรบินกองทัพอำกำศ

ส�าราญ เกิด ผล ศิลปิน

สราญแล้ว ดั่งบุญทั้งปวง งานยิ่งดังดวง ปิ่นจรัสแล้ว

ในสรวง ท่านสร้าง ประทีปนั่นแล ทั่วฟ้าคือครู

ในชีวิตแพทย์หากได้ท�าประโยชน์ด้วยวิชาชีพก็ถือว่าเป็นบุญพอควร ยิ่งหากได้ดูแลผู้ทรงศีล หรือสัตบุรุษผู้สร้างคุณค่าให้ส่วนรวม บุญบุญยิ่งทวีคูณ คุณพ่อส�าราญ เกิดผล เมื่อสิบกว่าปีก่อนในวันแรกที่ได้ดูแลท่าน ดูเป็นเพียงชายสูงวัย ใจดี ท่วงทีมารยาทงามคนหนึง่ ยิง่ นานวัน รูจ้ กั ท่านมากขึน้ ถึงกับทึง่ และอึง้ ในความรูค้ วามสามารถ เกิน จะบรรยาย เพราะผลงานเป็นที่สุดบรรยาย เพราะผลงานเป็นที่สุดของปรมาจารย์ครูดนตรีไทยคน หนึง่ ของเมืองไทยทีเดียว ได้ทราบถึงอัจฉริยภาพทางดนตรีไทยของท่าน ทัง้ ทีไ่ ม่ได้เรียนดนตรีสากล แต่สามารถประพันธ์เพลง เรียบเรียง เพลงไทยเดิมเป็นตัวโน้ตสากลได้อย่างลึกล�า้ น�าดนตรีไทยเทียบ ชั้นสากล แม้คราวที่ป่วยหนักต้องเข้าโรงพยาบาลท่านก็ยังคงท�างานเพลง ต่อเพลง ตามก�าลัง และเป็น ห่วงเป็นใยทีจ่ ะอนุรกั ษ์สมบัตขิ องชาติให้คงอยู่ ตลอดชีวติ ของคุณพ่อส�าราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ ท่านนี้ ได้ท�าหน้าที่ของพ่อ ของครู ของพุทธบริษัทอย่างสมบูรณ์และสง่างาม จากไปเพียงขันธ์ตาม ธรรมชาติ คุณค่าแท้แห่งศิลปินเอกดนตรีไทยทีท่ า่ นได้สงั่ สมสัง่ สอน จะส่องสว่างสังคมไทยไปอีกนาน เท่านั้น

ขอกราบคาราวะท่านด้วยอาลัยยิ่ง

66

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


กำรสูญเสียปูชนียบุคคล ของวงกำรวัฒนธรรมไทย หม่อมรำชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ประธำนมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์

เมื่อครั้งวาระครบรอบ 120 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินติ “ทูลกระหม่อมบริพตั ร” มูลนิธจิ มุ ภฏ-พันธุท์ พิ ย์ ได้มโี อกาสเชิญอาจารย์ ส�าราญ เกิดผล และวงปี่พาทย์คณะพาทยรัตน์ ร่วมการแสดงดนตรีต่อหน้าพระพักตร์สมเด็จเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานเปิดพิพิธภัณฑ์ดนตรีทูลกระหม่อมบริพัตร ซึ่งจัดขึ้นเมื่อ วันที่ 17 พฤษภาคม 2545 ณ วังสวนผักกาด อีกคราวหนึ่งคือเมื่อวาระครบรอบ 130 ปี วันประสูติ ทูลกระหม่อมบริพัตร มูลนิธิฯ ได้รับเกียรติจากอาจารย์ส�าราญ และคณะพาทยรัตน์ อีกครั้งหนึ่งใน การเข้าร่วมบรรเลงเพลงพระนิพนธ์ในทูลกระหม่อมบริพัตรเพื่อบันทึกเสียงเพลงต้นฉบับส�าหรับจัด ท�าเป็นชุดซีดีรวมเพลงพระนิพนธ์ในทูลกระหม่อมบริพัตร นอกจากนี้อาจารย์ส�าราญยังได้กรุณารับ เป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของโครงการนี้ รวมถึงได้ช่วยเหลือให้ค�าปรึกษาในเรื่องเนื้อร้องและท�านอง เพลงให้กบั คณะพาทยรัตน์และคณะพาทยโกศลมาตลอดช่วงเวลา 3 ปี ของการบันทึกเสียง [ปี พ.ศ. 2553-2556] อาจารย์ส�าราญ เกิดผล เป็นผู้มีความสามารถสูงและรักในงานดนตรีไทยเสมือนเป็นชีวิตจิตใจ ท่านให้ความส�าคัญและคอยดูแลงานบันทึกเสียงเพลงพระนิพนธ์ในทูลกระหม่อมบริพตั รเพือ่ ให้เป็น ไปอย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยังได้ทราบว่าท่านทุ่มเทกายใจกับการถ่ายทอดความรู้ดนตรีไทยไปสู่ เยาวชนรุ่นหลังอีกด้วย นับเป็นผู้มีคุณูปการต่อดนตรีไทยอย่างยิ่ง การจากไปของอาจารย์ส�าราญ เกิดผล จึงเป็นการสูญเสียปูชนียบุคคลของวงการวัฒนธรรมไทย ขอบุญกุศลและคุณความดีที่อาจารย์ส�าราญ เกิดผล ได้ท�ามาโดยตลอดนี้ จงเป็นพลวปัจจัยให้ ดวงวิญญาณของท่านไปสู่สุคติในสัมปรายภพยิ่งๆ ขึ้นไปด้วยเทอญ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

67


อำลัยจำกใจบ้ำนพำทยโกศล ส�ำนักดนตรีพำทยโกศล

ผู้สืบทอด ทางเพลง ฝั่งธนบุรี มารยาท นอบน้อม ความเป็นไทย ตลอดเวลา ท่านมี ชีวิตอยู่ เหนื่อยอย่างไร ไม่ย่อท้อ ต่อชะตา สิ้นแล้ว ครูดนตรี ศรีกรุงเก่า พาทยโกศล ขอแสดง ความอาลัย ด้วยอ�านาจ ความดี ที่ท่านสร้าง เสียงดนตรี บรรเลงร้อง ก้องกังวาน

เป็นครู ดนตรี มาหลายสมัย ศิษย์ชิดใกล้ รู้ซึ้ง ความเมตตา ท่านมุ่งสู้ เพื่อทางเพลง หมายรักษา แม้สังขาร จะโรยรา ทุ่มกายใจ เป็นต�านาน ขานเล่า งามสดใส ครูส�าราญ ส�าราญใน ทิพยวิมาน ย่อมสู่ทาง สุคติ ปีติศานต์ นามครู ส�าราญ ย่อมยืนยง ชัยพร ทับพวาธินท์ ประพันธ์

68

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ครูผู้ทุ่มเทท�ำงำนให้แก่วงกำรดนตรีไทย ศำสตรำจำรย์ ดร.บุษกร บิณฑสันต์

คณบดี คณะศิลปกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย

อาจารย์ส�าราญ เกิดผล เป็นหนึ่งในศิลปินผู้ได้อุทิศตนทุ่มเทท�างานให้แก่วงการดนตรีไทย ทั้งด้านการอนุรักษ์ การเผยแพร่ และการสร้างสรรค์ เป็นผู้ที่มีความสามารถหลากหลาย มีอปุ นิสยั เรียบร้อย สุภาพและมีเมตตา ท่านเห็นความส�าคัญในการสืบทอดดนตรีไทยและได้รเิ ริม่ โครงการที่เป็นประโยชน์มากมาย ท่านใช้ชีวิตอย่างสมถะ มีความอ่อนน้อมถ่อมตนและเป็นที่รัก แก่ผทู้ ไี่ ด้รจู้ กั แม้การจากไปของท่านจะท�าให้วงการดนตรีไทยสูญเสียเสาหลักของดนตรีไทยไปอีก ท่านหนึง่ แต่ผลงานของท่านจะปรากฏเป็นสมบัตสิ า� คัญแก่ประเทศชาติสบื ไป ขออ�านาจกุศลบุญ ที่ท่านได้สร้างไว้ดลบันดาลให้วิญญาณของท่านเดินทางไปสู่พุทธภูมิด้วยเทอญ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

69


ถ้ำเพลงโบรำณก็ต้องพี่ส�ำรำญ ศำสตรำจำรย์พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์

ภำควิชำนำฏยสังคีต คณะอักษรศำสตร์ มหำวิทยำลัยศิลปำกร

“ถ้าเพลงโบราณก็ต้องพี่ส�าราญ” ค�าพูดนี้ผมได้ยินบ่อยจากพ่อของผม คือศาสตราจารย์อุดม อรุณรัตน์ [พ.ศ. 2478-2549] เพราะท่านเคยร่วมงานกับครูสา� ราญ เกิดผล ภายหลังจากทีพ่ อ่ เกษียณ ราชการจากมหาวิทยาลัยศิลปากร พ่อก็มาท�างานเป็นผู้เชี่ยวชาญประจ�าวิทยาลัยดุริยางค์ศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นเวลา 10 ปี ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ท่านมีความสุขมากๆ เพราะได้สอนซอสาม สายให้กับลูกศิษย์หลายคน รวมทั้งได้ร่วมงานกับครูผู้ใหญ่หลายท่าน เช่น อาจารย์สงัด ภูเขาทอง ครูพินิจ ฉายสุวรรณ ครูกาหลง พึ่งทองค�า และครูส�าราญ เกิดผล ซึ่งพ่อเรียกว่า “พี่ส�าราญ” ส่วน ผมเรียกท่านว่า “ลุงส�าราญ” พ่อคุ้นเคยกับลุงส�าราญมานานแล้วเพราะเป็นคนจังหวัดอยุธยาด้วย กัน พ่อมักพูดเสมอว่าเวลาที่ลุงส�าราญมาสอนที่มหิดล แทบจะคุยกันจนไม่อยากกลับบ้าน มีเรื่อง ใหม่ๆ ให้คุยกันได้ตลอด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของดนตรีไทย ครูดนตรีไทย เพลงไทย โดยเฉพาะทาง เพลงของส�านักดนตรีพาทยโกศลทีม่ เี อกลักษณ์โดดเด่นหาส�านักใดมาเทียบได้ และทุกครัง้ ทีล่ งุ ส�าราญ ท่านมาสอนที่มหิดลท่านก็มักเขียนโน้ตสากลเพลงของส�านักดนตรีพาทยโกศลมาให้พ่อทุกครั้ง โดย เฉพาะเพลงจันทราหู เถา ซึ่งเป็นเพลงที่มีทางเครื่องไม่มีทางร้อง พ่อก็น�ามาดัดแปลงให้เป็นทาง เดี่ยวซอสามสาย และสอนให้กับลูกศิษย์มหิดล เมื่อลุงส�าราญได้ยินเพลงเดี่ยวจันทราหูนี้ก็ยิ้มแบบ ภูมิใจและพูดว่า “แหมถ้าครูเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศลยังอยู่และได้ฟังคงชอบ เพราะท่านมีเพลง สุรนิ ทราหูเป็นเพลงเดีย่ วซอสามสายประจ�าตัวของท่าน เมือ่ มามีจนั ทราหูอกี เพลงคงจะครบเรือ่ งนะ ครับ” พ่อก็ตอบกลับไปว่า “ผมท�าเพลงนี้เพื่อเป็นมุทิตาจิตให้กับครูเทวาประสิทธิ์ครับ เพราะตอน ผมเริ่มเรียนซอสามสายกับเจ้าคุณครู [พระยาภูมีเสวิน] ครูเทวาท่านก็ตบไหล่ให้กา� ลังใจผมว่าอย่า ทิ้งซอสามสายไปนะ เธอได้ครูดีแล้ว หัดให้มันแตกฉานไปเลย” ส�าหรับโน้ตสากลเพลงทีล่ งุ ส�าราญท่านเอามาให้พอ่ ผมไว้นนั้ มีหลายสิบเพลง เช่น เพลงพระยา ตานี สรรเสริญพระจันทร์ แม่หม้ายคร�่าครวญ นกขมิ้นตัวเมีย บางหลวงอ้ายเอียง และแขกมอญ สามเสนใน [ท่านบอกพ่อว่าครูจางวางทั่ว พาทยโกศลแต่งไว้เป็นอัตรา 2 ชั้น] พ่อมักน�าโน้ตลายมือ ลุงส�าราญมายืน่ ให้ผมแล้วบอกว่า “นีโ้ น้ตของพีส่ า� ราญเอาไปพิมพ์ดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ [สมัย นั้นนิยมใช้โปรแกรม Encore] แล้วพิมพ์ออกมา พ่อจะให้พี่ส�าราญตรวจทานว่ามีผิดหรือเปล่า” ผม ก็ท�าหน้าที่มาโดยตลอดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 – 2549 คือจัดพิมพ์โน้ตให้พ่อน�าไปให้ลุงส�าราญตรวจ ทาน ถ้ามีผิดพ่อก็น�ามาให้ผมแก้ไขและมักมีประโยคเด็ดของพ่อเวลาผมพิมพ์โน้ตผิดคือ “ไอ้ห่า!!! ท�างานให้รอบคอบหน่อยซิ เพลงพวกนี้เป็นเพลงโบราณหายากฟังยากแล้ว พิมพ์ผิดไปเกิดพลาด พลั้งขึ้นมาเอาไปเล่นจะกลายเป็นผิดท�านอง ลูกประหลาด ทางเพลงใช้ไม่ได้ เอ็งก็รู้เวลาใครเล่น 70

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เพลงผิดๆ ท�านองแปลกๆ พวกชาวดนตรีไทยสายจับผิดก็จะเย้ยว่าทางเพลงประหลาดเนีย้ นะเหรอ ทางเพลงของส�านักพาทยโกศลทีว่ า่ สุดยอดไม่เห็นได้เรือ่ ง!!! มันจะพาลเสือ่ มเสียพีส่ า� ราญและส�านัก พี่เขาไปด้วย” ประโยคนี้แหละที่มันช่วยกระตุ้นให้ผมท�างานพิมพ์โน้ตรอบคอบและไม่ผิดอีกเลย จนกระทัง่ ผมเริม่ มีความสนใจจะค้นคว้าเพลงมโหรีครัง้ กรุงเก่า หรือ เพลงมโหรีอยุธยาทีส่ มเด็จฯ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพทรงเคยช�าระความและพิมพ์เป็นหนังสือประชุมบทมโหรี ซึ่งเนื้อหาที่ ผมสนใจมากคือบทร้องเพลงเกร็ดมโหรี 72 เพลง ซึง่ ผมวิเคราะห์แล้วพบว่าเป็นบทร้องเพลงตับเรือ่ ง 61 เพลง และเพลงเกร็ดนอกเรื่อง 11 เพลง สามารถพบบทร้องเพลงตับที่ครบถ้วนจ�านวน 3 ตับ ได้แก่ ตับเรื่องท�าขวัญ ตับเรื่องพระนคร และตับเรื่องดอกไม้ ผมจึงบอกพ่อว่าอยากได้ท�านองเพลง เหล่านี้มาใช้ท�าเป็นเพลงมโหรีมากๆ พ่อบอกว่า “เพลงโบราณต้องพี่ส�าราญ งั้นไปหาพี่เขาด้วยกัน จะได้สอบถามว่ามีโน้ตเพลงอะไรบ้าง” เมือ่ พ่อพาผมไปหาลุงส�าราญ ผมก็นา� รายชือ่ เพลงไปให้ทา่ น ดู ท่านก็ยิ้มแล้วบอกว่า “ลุงมีไม่ครบหรอกครับ เพราะได้มาจากครูอาจ ครูช่อ จากบ้านเครื่องก็บาง ส่วน เห็นว่าบางเพลงหม่อมเจริญท่านมาต่อไว้กพ็ อมีนะ เดีย๋ วจะลองค้นๆ ดูให้แล้วกัน” ไม่นานท่าน ก็เขียนโน้ตเพลงมโหรีที่ท่านมีฝากพ่อมาให้ผมหลายเพลง เช่น อรชร นาคเกี่ยวพระสุเมรุ [คนละ เพลงกับเพลงนาคเกี้ยวอย่างที่ส่วนใหญ่เข้าใจว่าเป็นเพลงเดียวกัน] กะระนะ และนางกราย เป็นต้น ซึ่งพ่อบอกผมว่า “โชคดีนะที่พี่ส�าราญได้เพลงเหล่านี้ไว้บางส่วน ไม่งั้นเอ็งจะท�างานนี้ให้ส�าเร็จ คงจะยาก” หลังจากนั้นพ่อผมก็ป่วยเข้าโรงพยาบาล ผมยังจ�าวันที่ลุงส�าราญไปเยี่ยมพ่อผมได้ ท่านมา จับมือพ่อผมมีน�้าตาคลอและท่านกล่าวแบบเสียงสั่นๆ ว่า “หายเร็วๆ นะอาจารย์ เรามีเรื่องคุยกัน อีกเยอะ เพลงผมก็ยงั อยากเขียนไว้ให้อาจารย์กย็ งั มีอกี มาก” พอผ่านไป 3 วันพ่อก็จากไป ลุงส�าราญ ก็มางานศพและดูท่านจะเสียใจมากๆ ท่านมาตบไหล่ผมบอกว่า “เสียดายอาจารย์ไม่น่าจากไปเลย ลุงยังมีอะไรอยากคุยกันอีกตัง้ เยอะ ถ้าหมูมอี ะไรก็มาหาลุงได้นะ” ผมเรียนท่านไปว่า “คงจะท�าเรือ่ ง เพลงมโหรีนี้ให้ส�าเร็จครับ ขอขอบพระคุณลุงมากๆ ที่เมตตามอบโน้ตเพลงมโหรีมาให้หลายเพลง” หลังจากนัน้ ผมจึงได้อานิสงส์จากโน้ตเพลงทีเ่ ขียนมาให้ทา� การศึกษาต่อยอดจนสามารถเขียนหนังสือ มโหรีวิจักษณ์ได้เป็นผลส�าเร็จ พร้อมทั้งน�ามาท�าเป็นงานวิจัยสร้างสรรค์เรื่องเพลงมโหรีแห่งกรุง ศรีอยุธยาอีกด้วย เมื่อผมทราบว่าลุงส�าราญได้ถึงแก่กรรมผมก็ไปกราบศพท่านและกล่าวกับท่านว่า “พระคุณของลุงที่มอบเพลงโบราณเอาไว้จนหมูท�างานส�าเร็จ ถือเป็นพระคุณอย่างสูง ตอนนี้ลุงกับ พ่อและลุงพินิจ ลุงกาหลงและอาจารย์สงัดคงได้สนทนากันอย่างสนุกสนานอยู่บนสรวงสวรรค์ ก็ได้ แต่หวังว่าคงจะพอส่งบทสนทนาส�าคัญที่มีประโยชน์ต่อวงการดนตรีไทยมาให้ทราบกันบ้าง จะผ่าน ทางความฝันหรือผ่านการดลใจทางใดทางหนึ่งก็ได้ เพราะองค์ความรู้หลายอย่างที่เรามิอาจได้จาก ครูเหล่านี้ยังมีอีกมาก

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

71


ดุริยรสบทเพลง คุณครูส�ำรำญ เกิดผล รองศำสตรำจำรย์ ดร.ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์ วิทยำลัยดุริยำงคศิลป์ มหำวิทยำลัยมหิดล

คุณครูส�าราญ เกิดผล ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง [ดนตรีไทย] เมื่อปีพุทธศักราช 2548 ท่านเป็น “ปราชญ์ศิลปิน” ผู้มีเอตทัคคะที่มีความเป็นเยี่ยมในการสร้างสรรค์ผล งานดนตรีเป็นทีย่ งิ่ จนเป็นทีย่ อมรับของวงการดนตรีไทยอย่างกว้างขวาง ผลงานดนตรีศลิ ป์ของคุณครูเป็น ฐานรากของความรูข้ องความรูแ้ ท้ในภาคปฏิบตั แิ ละภาคทฤษฎี มรดกภูมปิ ญ ั ญาทางดุรยิ างคศิลป์ไทยของ คุณครูคือต้นแบบที่มีคุณค่าต่อวงการดนตรี ต่อความเป็นดนตรีของไทย และต่อศิลปวัฒนธรรมไทย แวดวงชีวิตของคุณครูส�าราญ เกิดผล โอบอิ่มด้วยบูรณมิติของศิลปะที่เนื่องด้วยดนตรีและศิลปะการ แสดง คือ คุณปู่วน เกิดผล เป็นเจ้าของคณะหนังใหญ่ หัวหน้าวงปี่พาทย์ วงแตรวง คุณย่าช้อน เกิดผล เป็นศิลปินลิเกและเพลงพื้นบ้าน ครูหงส์ เกิดผล ซึ่งเป็นคุณพ่อของคุณครูเป็นผู้หนึ่งที่สืบทอดศิลปะต่างๆ จากคุณปู่และคุณย่า ส่วนคุณแม่ของคุณครูคือแม่เพลงสังวาล เกิดผล เป็นแม่เพลงพื้นบ้านที่มีชื่อเสียง คุณครูสา� ราญ เกิดผล ได้สมรสกับคุณแม่ทองอาบ ดนตรี คุณแม่ทองอาบท่านเกิดในตระกูลซึง่ ใช้นามสกุล “ดนตรี” คุณแม่มคี วามรูค้ วามสามารถด้านการขับร้องเพลงไทย แวดวงชีวติ ของคุณครูจงึ อยูท่ า่ มกลางศิลปะ ดนตรี เป็นบุคคลส�าคัญของชาวอ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คุณครูส�าราญ เกิดผล เรียนปี่พาทย์ตั้งแต่อายุ 9 ขวบ จากคุณครูเพ็ชร จรรย์นาฏย์ คุณครูเทียบ คงลายทอง คุณครูฉัตร สุนทรวาทิน คุณครูช่อ สุนทรวาทิน คุณครูพุ่ม บาปุยะวาทย์ ครูเอื้อน กรเกษม และคุณครูอีกหลายท่าน คุณครูส�าราญ เกิดผล เรียนเป่าคลาริเน็ตและการเขียนโน้ตสากลจากคุณครูอาจ สุนทร ความรักและความเมตตาจึงท�าให้คุณครูอาจ สุนทรมอบให้ท่านเป็นครูผู้ประกอบพิธีไหว้ครู ทั้งยัง มอบโน้ตสากลที่ท่านได้บันทึกเพลงไทยสายส�านักบ้านพาทยโกศลไว้ให้แก่คุณครูส�าราญ เกิดผลทั้งหมด ด้วยความรูแ้ ละประสบการณ์ทางด้านดนตรีไทย ส่งผลให้คณ ุ ครูสา� ราญ เกิดผล รอบรูเ้ จนจบในการบรรเลง ดนตรี การขับร้องและการแต่งเพลงไทย โดยท่านแต่งเพลงสามไม้ในเถาเป็นเพลงแรก จากนั้นจึงมีผลงาน เพลงอื่นๆ อีกจ�านวนมาก เช่น เพลงประเภทอัตรา 3 ชั้น มีเพลงขวางคลอง 3 ชั้น สุรางค์จ�าเรียง 3 ชั้น แต่งเพลงประเภทเพลงเถา มีเพลงกระบอกเงินเถา กลางพนาเถา เขมรครวญเถา คู่โฉลกเถา จีนขายอ้อย เถา จีนเข้าโบสถ์เถา จีนถอนสมอเถา ช้อนแท่นเถา ดวงดอกไม้เถา ตะลุ่มโปงเถา ถอยหลังเข้าคลองเถา ทองกวาวเถา บัวตูมบัวบานเถา บางหลวงอ้ายเอี้ยงเถา บ้าบ่นเถา แผ่นดินพ่อเถา แผ่นดินแม่เถา ฝรั่ง กลายเถา ฝรัง่ จรกาเถา ฝรัง่ แดงเถา พิศวงเถา มหาราชรามค�าแหงเถา แม่มา่ ยคร�า่ ครวญเถา รัว้ แดงก�าแพง เหลืองเถา ล่องลอยเถา ลอยประทีปเถา วิหคเหินเถา สามเกลอเถา สุดใจเถา เสภากลางเถา เสภานอกเถา เสภาในเถา อนงค์สชุ าดาเถา อัปสรสวรรค์เถา ไอยราชูงวงเถา แต่งเพลงประเภทระบ�า มี เพลงระบ�านกแก้ว ระบ�าบุษราคัมมณี แต่งเพลงอัตรา 2 ชัน้ และชัน้ เดียว มีเพลงไอยเรศ 2 ชัน้ ไอยเรศชัน้ เดียว แต่งเพลงทาง ร้องเถา มี เพลงจีนเก็บบุปผาเถา อัปสรส�าอางเถา ไอยราชูงวงเถา สุรางค์จ�าเรียงเถา ครวญหาเถา 72

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ในวงการดนตรีไทยทราบกันดีว่าวงดนตรีบ้านใหม่หางกระเบนหรือในเวลาต่อมาสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานนามให้ใหม่ว่า “พาทยรัตน์” วงดนตรีนี้เมื่อถึงคราวบรรเลง เพลงหน้าพาทย์ประกอบในพิธไี หว้ครู มีเพลงหน้าพาทย์จา� นวนมากมายโดยเฉพาะผลงานเพลงตามต�ารับ คุณครูทองดี ชูสัตย์ และยังมีผลงานการแต่งของคุณครูส�าราญ เกิดผล เพิ่มเติมอีกมากกว่า 10 เพลง ซึ่ง บางเพลงตระใช้บรรเลงในพิธีไหว้ครู บางเพลงที่คุณครูแต่งขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติคุณ วงการดนตรีไทย ถือว่าเพลงหน้าพาทย์เป็นเพลงพิธกี รรมทีพ่ ร้อมไปด้วยคุณค่า จัดเป็นเพลงทีส่ อื่ แสดงสมมุตนิ ยิ ามอากัปกิรยิ า เพื่อกาลหนึ่งๆ และเป็นเพลงประจ�าองค์เทพเจ้า เพลงประจ�าของบุคคลสูงศักดิ์ คุณครูส�าราญ เกิดผล ได้ จินตนรังสรรค์ดว้ ยนิมติ ของความรัก เคารพ ศรัทธา เพลงหน้าพาทย์ทเี่ ป็นผลงานของท่านดังทีก่ ล่าวนี้ เช่น เพลงตระนาง [ตระนางมณโฑหุงน�้าทิพย์] ตระพระปัญจะสิงขร ตระพระศิวะเปิดโลก ตระบูชาพระ ตระ พระพิฆเนศวร์ประทานพร ตระกระยาสังเวย ตระนวมินทราชาธิราช ตระพระแม่แห่งแผ่นดิน ตระพระบรม ตระสมเด็จพระเทพรัตน์ ตระทูลกระหม่อมบริพัตร ดุริยรสบทเพลงของคุณครูส�าราญ เกิดผล มีความไพเราะ คงความเป็นเพลงไทยแบบแผน ฝากแฝง ด้วยความร่วมสมัยของเพลงปัจจุบนั ทีพ่ บได้ในบางเพลง เช่น เพลงบัวตูมบัวบาน เพลงรัว้ แดงก�าแพงเหลือง เพลงลอยประทีป ทัง้ ความเป็นเพลงไทยแบบแผนและความแฝงของร่วมสมัยนัน้ ได้สะท้อนดุรยิ รส “รส” ที่ ถ่ายทอดอายตนะวิสัยทางโสต บ่อเกิดของความเสนาะ ที่ผ่านลวดลายของลีลาท�านอง จังหวะ ปรุงแต่ง ด้วยกฎเกณฑ์ของทฤษฎีดนตรีไทย เมื่อศิลปินดนตรีน�ามาปฏิบัติในรูปของการบรรเลง - ขับร้อง บทเพลง ของคุณครูสื่อดุริยรสอย่างประจักษ์ชัดในอัจฉริยวิสัย บรรดาศิษย์และศิลปินดนตรีที่สืบทอดเรียนรู้ได้น�า เพลงของคุณครูมาบรรเลง ต่างกล่าวยอมรับในความงามเสนาะนั้นโดยดุษฎี ในด้านความเป็นครูดนตรี คุณครูส�าราญ เกิดผล นอกจากเปิดบ้าน “พาทยรัตน์” อย่างส�านักดนตรี ให้บรรดาศิษย์หลากหลายสถานศึกษามีโอกาสเข้าไปฝากตัวเป็นศิษย์ คุณครูยงั ด�าเนินโครงการศูนย์สง่ เสริม และเผยแพร่ดนตรีไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่านเริม่ โครงการ นีเ้ มือ่ พ.ศ. 2532 เพือ่ ให้เป็นแหล่งเรียนรูแ้ ละถ่ายทอดดนตรีไทยตามแบบแผนของส�านักดนตรีไทย โครงการ นีส้ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมอบหมายให้กรมประชาสงเคราะห์จดั หาเยาวชน เพื่อให้คุณครูคัดเลือกเข้าโครงการ พระองค์ได้พระราชทานวงปี่พาทย์ครบชุดเข้าไว้ในโครงการฯ ด้วย เยาวชนที่เข้ารับการศึกษาดนตรีต้องพ�านักอยู่ถาวร ฝึกเรียนดนตรีต้ังแต่เช้ามืดและยามค�่าคืน แบ่งเวลา หลัก 3 ส่วนคือ เวลาส�าหรับฝึกเรียนดนตรีตามทีก่ า� หนด เวลาส�าหรับการไปศึกษาทีโ่ รงเรียนของกระทรวง ศึกษาธิการตามการศึกษาภาคบังคับ และเวลาส่วนตัวของศิษย์แต่ละคนในการพักผ่อนหรือนันทนาการ คุณครูส�าราญ เกิดผล เป็นอาจารย์สอนดนตรีไทยให้แก่สถาบันการศึกษาต่างๆ เช่น วิทยาลัย ดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โรงเรียนมัธยมฐานบินก�าแพงแสน โรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ในเขตอ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เช่น โรงเรียนวัดโคก โรงเรียนวัดพรหมนิวาส โรงเรียนบุญวัฒนธรรม โรงเรียนประชากรรังสฤษฎ์ ส�าหรับการปฏิบตั งิ านทีว่ ทิ ยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ท่านด�ารงต�าแหน่งผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านดนตรีไทย สอนดนตรีไทยให้ แก่นกั เรียนระดับเตรียมศิลปิน ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก ท่านท�างานร่วม กับครูผใู้ หญ่หลายท่านของวิทยาลัย เช่น คุณครูพนิ จิ ฉายสุวรรณ [ศิลปินแห่งชาติ] คุณครูกาหลง พึง่ ทองค�า [ศิลปินแห่งชาติ] คุณครูบุญชู รอดประสิทธิ์ [ทองเชื้อ] คุณครูสุรินทร์ สงค์ทอง คุณครูสุเชาว์ หริมพาณิช การสอนดนตรีไทยของคุณครูท่ีวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ท่านมีนักเรียนนักศึกษา ดนตรีไทยจ�านวนมากทั้งที่ลงทะเบียนตามขั้นตอนของระบบการศึกษาและที่ร่วมขอเรียนนอกระบบการ ลงทะเบียน ทุกคนปรนนิบัติท่านอย่างศิษย์ที่มีต่อครู ทั้งการเคารพนบไหว้ด้วยกิริยาสุภาพ ช่วยคุณครูถือ ข้าวของเมือ่ ย่างเท้าลงจากรถเข้าสูบ่ ริเวณวิทยาลัย ค�าพูดทีเ่ ป็นสรรพนามของนักเรียนนักศึกษาต่อท่านดัง่ อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

73


ญาติผู้ใหญ่ ไม่เรียกว่าครูหรืออาจารย์แต่เรียนท่านว่า “ปู่” และเมื่อกล่าวถึงในหมู่ผู้เรียนว่า “ปู่ราญ” เช่น เดียวกับทีท่ า่ นเรียกชือ่ เล่นของผูเ้ รียนอย่างเมตตาและเอ็นดู นับเป็นความผูกพันทีม่ อี ยูใ่ นความพันผูกและ ความสัมพันธ์นี้ด้วยเกลียวของสายใยซึ่งหายากนักส�าหรับระบบการศึกษาของไทยในปัจจุบัน คุณครูส�าราญ เกิดผล เป็นครูผู้ประกอบพิธีไหว้ครูดนตรีของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดลต่อเนือ่ งมาหลายปี ในปีการศึกษา 2560 นีท้ า่ นมิได้ปฏิบตั หิ น้าทีบ่ นเวทีของหอประชุม “มหิดลสิทธาคาร” บรรดาอาจารย์ของวิทยาลัยหลายท่านสอบถามกันเพือ่ หาค�าตอบ จึงทราบว่าท่านป่วยหนักและไม่สามารถ ประกอบพิธีได้ จนเวลาล่วงมาถึงวาระสุดท้ายของชีวิตเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 ตุลาคม 2560 นับเป็นความ สูญเสียปูชนียาจารย์ผู้เป็นปราชญ์ศิลปินของชาติ สิ่งที่คงไว้ให้ศิษยานุศิษย์ได้น้อมร�าลึกถึงท่านคือผลงาน ดนตรีศิลป์ ดุริยรสบทเพลงของคุณครูส�าราญ เกิดผล นับเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมดนตรีของ ชาติซึ่งบันทึกไว้ในประวัติการดนตรีที่ถาวรนิรันดร์ เขียนเมื่อ 1 มกราคม 2561

74

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ครูส�ำรำญ เกิดผล

ครูต้นแบบ ที่มีควำมเป็นครูยิ่งกว่ำครู รองศำสตรำจำรย์ ดร.ยุทธนำ ฉัพพรรณรัตน์

ผู้ช่วยอธิกำรบดี และอำจำรย์ คณะครุศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย

วัตรปฏิบัติที่งดงามของครูส�าราญ เกิดผล [ศิลปินแห่งชาติ] อยู่ในความทรงจ�าของบรรดา นิสติ เก่านิสติ ปัจจุบนั สาขาวิชาดนตรีศกึ ษา คณาจารย์ และคณะผูบ้ ริหารคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยตลอดมา เพราะด้วยความเมตตาที่ครูมีให้ชาวครุฯ ดนตรีฯ จุฬาฯ มาเป็นระยะเวลาที่ ยาวนาน ไม่ว่าจะเป็นความกรุณาที่ช่วยมาเป็นพิธีกรอ่านโองการไหว้ครูติดต่อกันหลายปี ช่วยรับ ดูแล อบรมสั่งสอนนิสิตโครงการยุทธศาสตร์เพื่อความเป็นเลิศด้านศิลปะไทย [ดนตรีไทย : คณะ ครุศาสตร์] แบบวิทยาศรม ช่วยเปิดโลกทัศน์และมอบองค์ความรู้ด้านการวิจัย/ วิชาการมากมายให้ กับนิสิตระดับมหาบัณฑิตและคณาจารย์ รวมถึงสารพัดสรรพสิ่งที่ครูมักจะมอบผลงานใหม่ๆ ของ ท่าน โดยฝากนิสิตมาให้สาขาวิชาเพื่อใช้ในการเรียนการสอนและเผยแพร่เป็นสาธารณะประโยชน์ เสมอ ในความทรงจ�าทีล่ า�้ ค่าทีส่ ดุ ในชีวติ คือ ครั้งแรกทีม่ โี อกาสได้พบครูทบี่ า้ น จ.อยุธยา ส่วนหนึง่ ครู ได้เล่าให้ฟงั ว่า “ในพิธไี หว้ครูดนตรีไทยของท่านนัน้ ครูจะน�ารูปของครูหลวงประดิษฐไพราะ [ศร ศิลป บรรเลง] มาบูชาในพิธี เนือ่ งจากได้นา� ผลงานของท่านมาใช้ในการประกอบอาชีพดนตรีดว้ ย” ค�าพูด ของท่านวันนัน้ เปีย่ มไปด้วยการสะท้อนให้เห็นถึงการให้เกียรติในเชิงวิชาชีพและวิชาการ การมีความ กตัญญุตากตเวทิตา และการมีความเป็นครูทยี่ งิ่ กว่าครูโดยการแสดงออกให้เห็น ไม่ได้จา� กัดอยูเ่ พียง แค่กรอบขององค์ความรู้ที่เฉพาะอัตลักษณ์แต่อย่างใด และทุกๆ ครั้งที่นิสิตไปเรียนกับท่านที่บ้าน นอกจากความรูท้ คี่ รูอตุ ส่าห์เสียสละทุม่ เททัง้ แรงกายแรงใจให้แล้ว เรือ่ งอาหารการกิน ทีห่ ลับทีน่ อน ครูกย็ งั เมตตาช่วยให้ลกู หลานของท่านได้กรุณาจัดหาตระเตรียมเพือ่ อ�านวยประโยชน์แก่นสิ ติ ทุกครัง้ ที่ส�าคัญ ครูจะเอ่ยปากเสมอว่า ให้ทานข้าวด้วยกันก่อน ขึ้นไปพักผ่อนนอนหลับบนเรือนก่อน อยู่ คุยกันก่อน สิง่ เหล่านี้ คือความร่มเย็นทีต่ น้ ไทรใหญ่มใี ห้ทกุ คราว มีให้มากกว่าแค่บทบาทหน้าทีค่ วาม เป็นครูกับลูกศิษย์ ทว่า ประหนึ่งบุพการีอาทรบุตร ด้วยครุพรหมวิหารธรรม แลวัตรปฏิบัติที่เพียบพร้อมทั้งทางโลกและทางธรรม จักเป็นเพ็ญวิถี ที่หนุนน�าส่งครูส�าราญไปยังแดนสุขสงบ แลภพแห่งอุดรโลก บรรดาศิษย์จะยังคงสืบสานงานของครู ไปสูอ่ นุชนรุน่ หลัง จะยังประทับอยูใ่ นดวงใจไปตราบนานเท่านานและจะเล่าขานเป็นต�านานวรรณคดี ดนตรีของแผ่นดินไทย และจะได้ใช้เป็นต้นแบบของการสร้างคนสร้างครู ให้มีความเป็นครูยิ่งกว่าครู เหมือนท่านสืบไป

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

75


แด่

คุณครูส�ำรำญ ครูผู้ให้... ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.คมกริช กำรินทร์

คณบดี วิทยำลัยดุริยำงคศิลป์ มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม

...รู้ข่าวครูจากไปอาลัยร้าว ครูเคยสร้างทางให้เดินทางดนตรี

เหมือนดวงดาวมืดดับลับห่างลี้ มาบัดนี้ครูไปไม่กลับคืน…

ขอแสดงความอาลัย จากการจากไปของครูส�าราญ เกิดผล ศิลปินดนตรีที่ทรงคุณค่าของชาติ ซึ่งผมเคยเข้าไปฝากตัวเป็นศิษย์ของท่าน ในการศึกษาบทเพลงเพื่อประกอบการท�าวิทยานิพนธ์ใน ระดับปริญญาเอก ตลอดเวลาทีไ่ ด้ไปเรียนรูก้ บั คุณครู มันเป็นช่วงเวลาทีป่ ระทับใจไม่มวี นั ลืม ปกติผมก็จะเจอครูที่ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ซึ่งครูมาเป็นผู้เชี่ยวชาญท�าการสอนดนตรีไทย ที่สถาบันแห่งนี้ เป็นการที่พบครูและได้สัมผัสครูแบบผิวเผิน แต่เมื่อได้ไปสัมผัสกับคุณครูที่อยุธยา บ้านริมน�้า มันท�าให้ผมได้รับรู้ถึงความเป็นครู ความเป็นศิลปิน ความเป็นผู้รอบรู้ในวิชาการดนตรี ที่หาผู้เทียบเทียมได้ยากยิ่ง ครูสามารถบันทึกโน้ตสากลได้อย่างคล่องแคล่ว ซึ่งถ้าไม่ได้เห็นด้วยตาและสัมผัสด้วยตัวเอง ก็ ไม่เชื่อว่าครูจะสามารถบันทึกโน้ตจากการที่ฟังแล้วก็บันทึกเดี๋ยวนั้นเลย และเป็นโน้ตสากล ซึ่งเป็น ความสามารถที่น้อยนักส�าหรับคนดนตรีไทยที่มีอายุคราวท่าน ทุกครั้งที่ไปต่อเพลง ไปเก็บข้อมูล โอกาสที่ผมรอคอยคือการได้คุยสนทนากับครู ครูให้ความ เป็นกันเอง ถ่ายทอดความรู้โดยไม่ปิดบัง ผมซึ่งเป็นเด็กอีสานคนหนึ่ง ได้มีโอกาสรับการถ่ายทอด บทเพลงไทย จากท่านทีเ่ ป็นศิลปินของแผ่นดิน ซึง่ ผมไม่เคยคิดว่าจะได้รบั โอกาสนี้ ครูถา่ ยทอดเพลง ให้แบบตัวต่อตัว ในช่วงที่ต่อเพลงครูก็จะอธิบายความเป็นมา คุยเรื่องส�านวนกลอน เรื่องหน้าทับ บริบทต่างๆ เกีย่ วกับเพลงนัน้ ให้ผมฟังทุกครัง้ ไปและครูยงั เป็นผูท้ รี่ บั ฟังความคิดเห็นของลูกศิษย์เป็น อย่างดี เพราะบางครั้งผมเสนอความเห็นเกี่ยวกับการวิเคราะห์เพลง ส�านวนเพลง ท่านก็รับฟังและ พิจารณา ถ้าผิดครูก็ช่วยอธิบาย และถ้าถูกต้องครูก็ชื่นชม และยอมรับว่าบางเรื่องเป็นสิ่งที่เราต้อง เรียนรู้เพิ่มเติม แสดงให้เห็นว่าครูเป็นผู้ที่พร้อมในการเรียนรู้ตลอดเวลา นอกจากนี้ ยังรับรูไ้ ด้ถงึ ความโอบอ้อมอารีของครูทกุ ครัง้ ทีเ่ ข้าไปต่อเพลงและเก็บข้อมูล นัน่ คือ ครูจะให้ความใส่ใจเรือ่ งการบรรเลง เรือ่ งการใช้มอื การบันทึกโน้ต โดยครูจะคอยอธิบายแต่ละอย่าง โดยไม่รู้สึกเบื่อหน่ายและเหน็ดเหนื่อย บางทีก็มีเกร็ดความรู้ต่างๆ ที่หาไม่ได้จากต�ารามาบอกเรา ซึ่งเมื่อผมเปรียบเทียบกับตนเองก็พบว่า ถ้าเป็นเราเจอลูกศิษย์ที่เป็นแบบตัวเอง [คือบางทีต่อเพลง

76

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


แล้วไม่จ�า ต้องทวนใช้เวลาหลายรอบและนาน] จะเกิดความหงุดหงิด ว่าท�าไมบรรเลงไม่ได้สักที แต่ ครูกลับไม่มีปฏิกิริยานี้เลย บางครั้งครูก็จะบอกว่า เหนื่อยแล้ว พักก่อน เดี๋ยวค่อยเริ่มใหม่ เดี๋ยวไป ทานข้าวก่อนนะ ซึ่งทุกมื้อที่อยู่ที่บ้านครู ครูเป็นเจ้ามือตลอด ครูจะให้คนเตรียมข้าวปลาอาหารไว้ เสมอ ผมจะอิม่ ใจและอิม่ ท้องทุกครัง้ ทีไ่ ปบ้านครู มันเป็นความประทับใจทีท่ า� ให้เราจดจ�าและซึมซับ ว่า เราจะต้องน�าแบบอย่างจากครูมาปฏิบัติในชีวิตของเรา ช่วงเวลาในการลงเก็บข้อมูลในการท�า วิทยานิพนธ์เกือบปี แม้เป็นเวลาเพียงน้อยนิด เมื่อเทียบกับศิษย์คนอื่นๆ ที่ได้สัมผัสกับครู แต่ผมก็ สามารถรับรู้ได้ถึงความอ่อนโยน ความมีเมตตา ที่ซ่อนไปด้วยภูมิรู้ทางดนตรีอันล้นเหลือ การจากไปของครูคราวนี้ มันเหมือนกับธารเส้นทางแห่งความรู้ของดนตรีไทย ได้ขาดหาย ได้ ขาดการเชื่อมต่อ ซึ่งถ้าครูอยู่ก็ยังจะมีผลงานและองค์ความรู้อีกมากมายถ่ายทอดให้กับลูกศิษย์ แต่ มันเป็นธรรมดาของชีวิตที่มีเกิดต้องมีดับ ถึงแม้ครูจะไม่ได้อยู่กับพวกเราแล้ว แต่สิ่งที่ครูได้ทิ้งไว้ให้ พวกเรานัน้ คือความรูอ้ นั มหาศาลและทรงคุณค่า ทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอดจากครู อันจะเป็นทางเชือ่ มให้ เกิดการสานต่อ เป็นรอยต่อ ในการสร้างความรู้และเรียนรู้ดนตรีไทยสืบไป ผมในฐานะลูกศิษย์คนหนึ่งของคุณครู [แม้จะเพียงช่วงเวลาไม่นาน แต่ผมก็จะเป็นลูกศิษย์ครู ตลอดไป] จะขอน�าความรูท้ ไี่ ด้รบั จากคุณครูไปถ่ายทอดให้กบั คนรุน่ หลังทีส่ นใจเพือ่ เป็นการสืบทอด เจตนารมณ์ของครูต่อไป ขอวิญญาณคุณครูจงไปสู่สุคติ ไปสู่ภพภูมิท่ีดี ซึ่งผมเชื่อว่าตอนนี้ครูคงมี ความสุขอยูบ่ นทิพย์วมิ าน และอวยพรให้กบั พวกเราเหล่าลูกศิษย์และทายาทดนตรีไทยด้วยรอยยิ้ม ที่อบอุ่น ที่ผมได้รับทุกครั้งที่เข้าไปพบครู ขอกราบครูด้วยความระลึกถึงตลอดไป

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

77


เรียนให้เป็นครูเขำ อย่ำเน้นถูกใจ ต้องเน้นถูกต้อง ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.จตุพร สีม่วง คณะศิลปกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น

ถ้าจะเขียนถึงความเป็น ครูส�าราญ ให้ครบถ้วนคงเกินความสามารถ จึงขอเขียนถึงครูโดยย่อ ตามที่ ข้าพเจ้าได้เห็น ได้รู้ ได้รับ จากครูส�าราญ เกิดผล [ศิลปินแห่งชาติ] “ครู” “ปู”่ ค�าสองค�านีเ้ ป็นสรรพนามทีข่ า้ พเจ้าใช้แทน คุณครูสา� ราญ เกิดผล [ศิลปินแห่งชาติ] ข้าพเจ้า รู้จักคุณครูส�าราญ เกิดผล โดยนับแต่ได้พูดคุยสนทนากันก็เมื่อราวปี 2549 ที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เนื่องจากวิชาเรียนที่ต้องมีกิจกรรมการฝึกสัมภาษณ์บุคคลข้อมูล ความเมตตาเป็น ความรู้สึกแรกที่สัมผัสได้ทันที หลังจากครั้งนั้นก็มีเหตุให้ได้พบกับครูบ่อยครั้งขึ้น โดยการติดต่อผ่าน “ปิ๊ก” [บุตรี ครูไม่รู้จักปิ๊ก] และ “ก้อง” ครูจะให้ช่วยงานบางอย่างที่เห็นว่าข้าพเจ้าสามารถช่วยท่านได้ เช่น แต่ง บทร้องส�าหรับเพลงต่างๆ ที่ครูแต่งขึ้นในช่วงหลัง คือ 10 ปีที่ผ่านมานี้ หรือช่วยร้องเพลงบางเพลง ช่วย ขับเสภา เป็นต้น เมื่อข้าพเจ้าท�าวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก คุณครูได้ช่วยเหลือข้อมูลอย่างเต็มก�าลัง ให้ค�าแนะน�า ค้นโน้ตเพลงเก่าๆ ให้ใช้บรรเลงประกอบการสอบวิทยานิพนธ์ และตรวจสอบความถูกต้องจนครบถ้วน เครือ่ งยืนยันถึงความเป็นครูทมี่ อี ยูเ่ ต็มเปีย่ มในความเป็นครูสา� ราญ ทุกครัง้ ทีไ่ ด้พดู คุยกันครูจะสอน แนะน�า อธิบายทุกเรื่องราวให้ฟังโดยไม่เคยปิดบังอ�าพราง “เรียนให้เป็นครูเขา” “อย่าเน้นถูกใจ ต้องเน้นถูกต้อง” ฯลฯ ค�าพูดนี้เป็นบางส่วนของคติเตือนใจที่ครู มักจะมอบให้ศิษย์เสมอ ความเมตตาอีกประการหนึ่งที่ข้าพเจ้าและชาวดนตรีไทยมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับ คือครูเอ่ยปาก ว่าจะประกอบพิธีไหว้ครูให้ โดยไม่นึกถึงความล�าบากในการเดินทาง เพราะครูเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว [ครูไม่นั่งเครื่องบิน] ในปีนั้นเราจึงได้รับโอกาสที่เป็นสิริมงคลอีกครั้งหนึ่ง นับเป็นความโชคดีของชีวิตนักดนตรีไทยคนหนึ่งที่ได้สัมผัสครูผู้ใหญ่ที่ผ่านทุกข์ ผ่านสุข ในโลกของ ดนตรีมาเกือบศตวรรษ ถึงแม้ข้าพเจ้าจะได้พบครูส�าราญในช่วงบั้นปลายชีวิตของท่าน ก็ถือเป็นมงคลชีวิต แล้ว กราบครูด้วยความเคารพอย่างสูง

78

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


คุณครูส�ำรำญ เกิดผล นักวิชำกำรดนตรี ดร.สุรศักดิ์ จ�ำนงค์สำร

ศิษย์จำกสำขำวิชำดุริยำงคศำสตร์ไทยและเอเชีย คณะศิลปกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คุณครูส�าราญ เกิดผล เป็นครูที่มีความเมตตา แฝงไว้ด้วยความจริงจัง ยึดถือความถูกต้องทาง ดนตรีอย่างเคร่งครัด นับเป็นตัวอย่างทีด่ ที หี่ าได้ยาก เป็นทัง้ นักปฏิบตั แิ ละนักวิชาการทางดนตรีไทย เพราะแต่ละค�าถาม แต่ละค�าตอบของครูเป็นสิง่ ทีก่ ลัน่ กรองอย่างแม่นย�า ให้ขอ้ คิดและชีน้ า� ทางดนตรี ไทยได้เป็นอย่างดีเสมอมา ในยามทีผ่ มยังเป็นวัยรุน่ การได้พบกับคุณครูสา� ราญ เกิดผล นับเป็นเรือ่ งน่าตืน่ เต้นมาก ผมไม่ ค่อยกล้าพูดคุยอะไรกับครูหรือสังเกตอะไรเกี่ยวกับครูเลย ท�าได้อย่างมากก็แค่ตีเพลงตามที่ต่อไป อย่าให้ผิดก็ถือว่าเป็นบุญแก่ตัวแล้ว ต่อมาเมื่อเป็นผู้ใหญ่ขึ้นจึงมีความกล้าที่จะซักถามพูดคุย จึงได้ ทราบว่าแท้จริงครูเป็นคนใจดี ติดจะมีอารมณ์ขนั เสียด้วยซ�า้ และข้อทีพ่ บอีกข้อคือ ความเข้าใจอย่าง ถ่องแท้ในหลักวิชาการดนตรีไทย ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ รวมไปถึงการบันทึกโน้ตและการประพันธ์ เพลงไทยของคุณครูสา� ราญ ท�าให้ดเู หมือนว่า “พรมแดนทางดนตรี” ของคุณครูสา� ราญจะมีขอบเขต ที่กว้างไกลมาก ผมเองเชื่อมั่นว่าคุณครูส�าราญ เกิดผล สามารถเดินทางไปในโลกทางดนตรีที่มี พรมแดนไกลออกไปกว่าที่หลายคนจะคาดถึง มีสัญญาณหลายอย่างไม่ว่าจะกลเม็ดในการบรรเลง ในการตอบค�าถามของครูทแี่ สดงถึงการข้ามพ้นไปสูโ่ ลกทางดนตรีทตี่ า่ งไปจากโลกทัว่ ไป และทีส่ า� คัญ คือครูสามารถท�าให้ดูได้ด้วย คุณครูส�าราญ เกิดผล ได้ให้ความกรุณากับพวกเราชาวประสานมิตร แห่งมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ในด้านวิชาการดนตรีไทยมาโดยตลอด ทัง้ กรุณามาเป็นกรรมการประกวด วิทยากร อาจารย์พิเศษ ต่อเพลง ให้ความรู้ แนะน�าตักเตือน ทั้งที่มหาวิทยาลัย ที่บ้านของคุณครู หรือแม้แต่ ในงานบรรเลงทีว่ ดั คุณครูสา� ราญก็ไปช่วยเป็นพีเ่ ลีย้ งในยามทีพ่ วกเราต้องไปบรรเลงในโอกาสส�าคัญ ต่างๆ ถึงแม้วนั นีค้ ณ ุ ครูสา� ราญ เกิดผล จะจากเราไป แต่ความเป็นนักวิชาการทีถ่ งึ พร้อมทัง้ ปฏิบตั แิ ละ ทฤษฎีจะยังอยูแ่ ละน�าทางความรูแ้ ก่พวกเราต่อไปไม่จบสิน้ ขออ�านาจคุณพระรัตนตรัย และดุรยิ เทพ ทัง้ หลายจงเป็นเครื่องน�าทางแก่ครูสมู่ หาจุฬามณีเจดีย์บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ อันเป็นที่สถิตแห่งพระ ปัญจสีขร เทพบุตรแห่งวิชาการดนตรี เพื่อกราบนมัสการพระจุฬา พระโมลี และพระเขี้ยวแก้วแห่ง องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทีป่ ระดิษฐาน ณ มหาจุฬามณีเจดีย์ นัน้ ก่อนสูภ่ พภูมอิ นั สูงสุดอัน ที่เคารพตลอดไปแด่คุณครูส�าราญ เกิดผล ครูแห่งวิชาการดนตรี

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

79


สุดแสนอำลัยพ่อครูส�ำรำญ เกิดผล ดร.จงกล เฮงสุวรรณ

ผู้อ�ำนวยกำรสถำบันอยุธยำศึกษำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนครศรีอยุธยำ

ข้าพเจ้ารู้จักชื่อพ่อครูส�าราญ เกิดผล ตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมปลายที่กรุงเทพ เหตุเพราะพักอยู่หอพัก เดียวกับพี่เพียงจันทร์ เกิดผล บุตรสาวคนโตของท่าน แต่หลังจากเรียนจบออกจากหอพักนั้นก็ไม่ได้ทราบ ข่าวคราวของท่านอีกเลย จนกระทั่งปี 2536 ได้มาเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ชื่อของท่านก็กลับมาได้ยินอีกครั้งจากการที่สาขาวิชาดนตรีไทยเชิญท่านมาเป็นอาจารย์พิเศษบ้าง มา ประกอบพิธีไหว้ครูดนตรีไทยบ้าง แต่ก็ยังไม่มีโอกาสได้คุยกับท่านสักครั้ง จนมาเมื่อปี 2558 ที่ข้าพเจ้าได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อ�านวยการสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ท�าหน้าที่ด้านท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม จึงได้ถือโอกาสไป กราบท่านที่บ้านบางบาล บางช่วงของการสนทนากับท่านในวันนั้นท�าให้ทราบถึงความตั้งใจของท่านที่ ต้องการจะถ่ายทอดความรู้ดา้ นดนตรีไทยของท่านสู่คนรุ่นหลัง และมีค�าพูดบางค�าพูดทีข่ ้าพเจ้าได้ยินแล้ว ไม่สามารถปล่อยผ่านไปได้ก็คือ ปู่อายุมากแล้ว ไม่รู้ว่าจะอยู่ได้อีกนานแค่ไหน ไม่อยากให้วิชาความรู้มัน สูญหายไปกับตัว หลังจากนั้นสถาบันอยุธยาศึกษาก็ได้จัดกิจกรรมและเชิญท่านมาบรรยายให้ความรู้เป็น ระยะๆ ในปี 2560 สถาบันได้ก�าหนดจัดโครงการ “สืบสานดุริยางคศิลป์ถิ่นมรดกโลก : พระนครศรีอยุธยา” ระหว่างวันที่ 5-9 มิถุนายน 2560 เพื่อถ่ายทอดทักษะความรู้ด้านดนตรีไทยของ พ่อครูส�าราญ เกิดผล ให้ ครูอาจารย์ในสถานศึกษาเพื่อน�าไปถ่ายทอดต่อไป ท่านตั้งใจกับโครงการนี้มาก แต่เหตุการณ์ที่ทุกคนไม่ คาดคิดก็เกิดขึ้น ก่อนวันอบรมเพียง 2 วัน ท่านต้องเข้าโรงพยาบาลแบบฉุกเฉินด้วยอาการของโรคเดิม ก�าเริบ ท่านบอกทุกคนว่าไม่ให้แจ้งข้าพเจ้าเพราะท่านไม่อยากให้เสียงาน และต้องการที่จะมาถ่ายทอด ความรูด้ ว้ ยตัวท่านเองตามก�าหนดการเดิม วันต่อมาข้าพเจ้าทราบข่าวจึงได้ตดั สินใจโทรหาท่าน กราบเรียน ท่านว่าไม่ตอ้ งเป็นห่วงเรือ่ งการอบรม สามารถเลือ่ นวันได้และไม่มอี ะไรเสียหาย ขอให้ทา่ นรักษาตัวให้หาย ก่อน สุขภาพของท่านส�าคัญเหนือสิ่งอื่นใด ท่านจึงสบายใจคลายความกังวล จากวันที่ 4 มิถุนายน 2560 ถึงวันที่ 1 ตุลาคม 2560 ข้าพเจ้าไม่ได้พบท่านอีกเลย ได้แต่ตดิ ตามอาการของท่านและฝากความปรารถนา ขอให้ท่านหายป่วยโดยเร็ว แต่ด้วยความรุนแรงของโรคที่ท่านเป็นและอายุที่มากของท่าน วันที่ 1 ตุลาคม 2560 พ่อครูส�าราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง [ดนตรีไทย] ได้จากไปอย่างสงบ สร้างความเศร้าโศกเสียใจ แก่ครอบครัว ญาติมิตร ลูกศิษย์ นับเป็นการสูญเสียปูชนียบุคคลที่ทรงคุณค่าทางด้านดนตรีไทยของชาติ ไปอีกท่านหนึง่ ขอให้ดวงวิญญาณของพ่อครูสา� ราญ เกิดผล เดินทางสูส่ รวงสวรรค์สภู่ พภูมทิ สี่ มกับคุณงาม ความดีที่ท่านได้กระท�ามาตลอดชีวิต ด้วยความเคารพรักและอาลัย 80

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ข้อคิดจำกครูส�ำรำญ เกิดผล ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์บุญสืบ บุญเกิด

สำขำวิชำดนตรี คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนครศรีอยุธยำ

กระผมรู้จักครูส�าราญครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2531 ด้วยกระผมมาบรรจุรับราชการสอนดนตรีไทย ทีว่ ทิ ยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา [มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา] เดิมรูจ้ กั แต่ชอื่ เพราะการ กล่าวขานกันในวงการดนตรีไทยเท่านั้น ครูส�าราญท�าหน้าที่เป็นอาจารย์พิเศษสอนดนตรีไทยอยู่ที่ วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา หลังจากที่กระผมร่วมงานกับครูส�าราญ จึงทราบว่าครูส�าราญเป็นผู้ ทีเ่ ชีย่ วชาญในการดนตรีไทยทัง้ ภาคทฤษฏีและปฏิบตั ิ กระผมจึงขอฝากตัวเป็นศิษย์เพือ่ เรียนเพิม่ เติม ท่านก็ยินดี ซึ่งความเป็นจริงในอดีตที่ผ่านมาวงปี่พาทย์บ้านใหม่ที่น�าโดยครูส�าราญและวงบ้านของ กระผมเคยเป็นคู่ประชันกันมา ค�าแรกที่ครูส�าราญกล่าวกับผม คือ “ครูจะไม่สอนให้อาจารย์เก่ง [ครู ส�าราญจะเรียกผมว่าอาจารย์] แต่ต้องการสอนให้เป็น” ผมฟังแล้วรู้สึกผิดหวังเล็กน้อย ท่านชวนไป ค้างคืนเรียนทีบ่ า้ นท่าน ท่านตัง้ ใจสอนหลายๆ อย่าง อธิบายทุกแง่มมุ ต่อเพลงแล้ววิเคราะห์อธิบาย ควบคู่ไป ซึ่งเป็นตามที่กระผมต้องการ ในเวลาต่อมากระผมจึงเรียนถามครู ว่าเหตุใดครูไม่ต้องการ สอนให้ผมเก่ง ท่านจึงกล่าวว่า คนที่คิดว่าตัวเองเก่งมีมากแต่ความจริงเขายังไม่เป็นดนตรีไทย ถ้า อาจารย์เป็นเสียแล้วความเก่งจะหนีไปไหนได้ หลายคนเพียงบรรเลงได้เท่านัน้ แต่ไม่เป็น กระผมจึง เข้าใจในค�ากล่าวของครู ครูบอกว่าถ้าไม่รกั ใครจะไม่พดู เตือน ปล่อยเขาบรรเลงไป กลัวเขาโกรธเพราะ เขาคิดว่าเขาเก่ง ฉะนั้นครูจึงต้องการสอนให้ศิษย์เป็นดนตรีไทย เมือ่ เริม่ เรียนระนาดกับท่าน ท่านสอนให้ตเี พลงเรือ่ งก่อน ทัง้ ๆ ทีค่ วามเป็นจริงกระผมสามารถ บรรเลงเดีย่ วได้แล้ว [ครูบอกว่ายังใช้ไม่ได้ อาจารย์ยงั ไม่เป็นดนตรี] ครูตอ่ ทางฆ้องเพลงเรือ่ งพระยา พายเรือให้ อธิบายการท�าส�าเนียงฆ้องในมือต่างๆ ท่านบอกจ�ามาจากครูช่อ สุนทรวาทิน หลังจาก นั้นจึงต่อทางระนาดให้ใหม่ ท่านบอกว่าตีเพลงเรื่องมากๆ ทางจะได้แตกฉาน ซึ่งกลอนระนาดของ ท่านมักเป็นลูกที่ชิดๆ กัน และเป็นกลอนฝากจังหวะหลายแห่ง ในหลักการระนาดท่านให้บรรเลงไล่ มือด้วยเพลงทะแย เพราะฝึกการใช้ขอ้ มือ เสียงระนาดจะเรียบ มือไม่โขยก ท่านเน้นให้ใช้ขอ้ มือตีใน ระยะแรก ก่อนทีจ่ ะไปฝึกการตีแบบครึง่ ข้อครึง่ แขน โดยให้ไล่ระนาดด้วยข้อก่อน จนเมือ่ ยให้เอาแขน ท่อนล่างเข้ามาช่วย พอเมือ่ ยส่วนทีก่ ล่าวแล้วให้ตที งั้ แขน โดยเกร็งทัง้ แขน แต่ขอ้ มือต้องกระดิกเสมอ ส่วนการใช้กลอนระนาด ท่านสอนให้ใช้กลอนให้เหมาะสมกับวงที่บรรเลง เช่น บรรเลงวงปี่พาทย์ นางหงส์ต้องบรรเลงให้แนวจัดมาก ตีให้เต็มที่ ครูมักพูดว่า “ตีให้หัวชนฝา” เมื่อแนวไวมากกลอน ระนาดไม่ควรใช้ลกู ทีย่ ากและกินก�าลังเราเกินไป ควรใช้ลกู ระนาดใกล้ชดิ กันมาแต่งกลอน ลูกก้าวก่าย ใช้บ้างพอสมควร ตีเรียบไปก็ไม่ดี ต้องหลากหลายลีลา ส่วนเรื่องก�าลังของเรา ท่านพูดว่า ต้องรู้จัก ประเมินตนเองว่ามีก�าลังเพียงใด ถ้ามีก�าลังอยู่ 10 ให้น�ามาใช้เพียง 8 หรือ 9 ไม่ใช่มีก�าลัง 8 แต่ใช้

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

81


ถึง 10 อย่างนีก้ ไ็ ม่สามารถบรรเลงได้ดี ในการบรรเลงต้องรูค้ วามถนัดของตัวเอง ท่านเคยเปรียบอย่างสมิง พระรามรบกับกามมณี สมิงพระรามไม่มเี สือ้ เกราะ แต่กามมณีมเี กราะทัง้ ตัว สมิงพระรามต้องหาจุดอ่อนข องกามมณีให้ได้ จนพบว่าขณะกามมณียกแขน จะมีช่องว่างตรงรักแร้ ฉะนั้นสมิงพระรามจึงหลอกล่อให้ กามมณียกแขนฟันเพื่อเปิดช่องว่าง แล้วสมิงพระรามจึงแทงตรงรักแร้นั้นจนเป็นฝ่ายชนะศึก การตีระนาด ก็เช่นเดียวกัน เช่น เราไม่ถนัดตีสะบัด เราก็ต้องหลีกเลี่ยงลูกสะบัดไป โดยเน้นเสียงระนาดในคู่แปดและ กลอนระนาดที่น่าฟัง อีกประสบการณ์หนึง่ ทีค่ รูสา� ราญเล่าให้ฟงั ว่า ในอดีตวงปีพ่ าทย์บา้ นใหม่มชี อื่ เสียงได้จากการประชันวง คือวงจะต้องพร้อมอยู่เสมอทั้งเพลงหมู่และเพลงเดี่ยว เมื่อถึงเพลงเดี่ยวแล้วต้องเดี่ยวเพลงเดียวกันทั้งวง มิใช่เดี่ยวเพียงบางเครื่องมือเท่านั้น ซึ่งเพลงเดี่ยวนี้มีทั้งที่ครูเก่าๆ สอนมา และครูส�าราญท�าขึ้นใหม่ การประชันวงในอดีตมักประชันกันตลอดทั้งคืน ระนาดที่ดีต้องตีรักษาเสียงรักษาแนวตัวเองเอาไว้ ฉะนั้น ต้องไล่ระนาดให้มากๆ เพื่อจะได้เข้าใจการใช้ก�าลังแขนของตนเอง การประชันในช่วงแรกต้องพยายาม ปล่อยให้วงคูป่ ระชันดูเหมือนเหนือกว่าเล็กน้อย เพราะว่าคูป่ ระชันจะต้องใช้เพลงทีย่ ากขึน้ กินก�าลังระนาด เช่นเพลงทยอยใน จนคู่ประชันเสียก�าลัง หลังจากนั้นเราจึงบรรเลงโต้ตอบในขณะที่ก�าลังเรายังดีอยู่ การโต้ตอบถ้าเรามั่นใจว่าเรามีเพลงได้เท่าเทียมกันก็อาจบรรเลงตามเพลงเดียวกันเลย แต่ถ้าไม่มั่นใจก็ไม่ ตามเพลง แต่จะต้องหาเพลงในระดับเดียวกันบรรเลงโต้ตอบ หลังจากนั้นเราจึงย้อนกลับมาบรรเลงเพลง ที่วงคู่ประชันบรรเลงไปแล้ว เพื่อแสดงว่าวงเราก็ได้เหมือนกัน แต่สุดท้ายครูส�าราญมักกล่าวว่า นักเลง ระนาดไม่มใี ครดีกว่าใครเลยเสียทีเดียว แต่ละคนมีความสามารถต่างๆ กัน เช่นบางคนตีไหว แต่กลอนไม่ดี บางคนตีพื้นคู่แปดดี แต่ตีสะบัดไม่ร่อน บางคนเสียงระนากดี แต่แนวบรรเลงการรับส่งร้องไม่ดี สรุปว่ามีดี ต่างกัน ฉะนั้นอย่าสรุปว่าใครชนะใครเลย การจากไปของครูสา� ราญในครัง้ นี้ เป็นทีน่ า่ เสียดายยิง่ วงการดนตรีไทยขาดผูเ้ ชีย่ วชาญไปอีกหนึง่ ท่าน สุดท้ายนี้ขอให้ดวงวิญญาณของครูส�าราญ อันเป็นที่เคารพยิ่งของกระผมและศิษย์ จงไปสู่สุขคติภพเถิด

82

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เพชรเม็ดงำมแห่งวงกำรดนตรีไทย ภำควิชำดนตรี คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร

ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตระหนักถึงบทบาทและหน้าที่ในการ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม อันเป็นปรัชญาและพันธกิจหนึ่งของมหาวิทยาลัยนเรศวร สาขาวิชา ดุริยางคศาสตร์ไทย จึงมีโครงการท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรมซึ่งจัดต่อเนื่องเป็นประจ�าทุกปี อาทิ โครงการไหว้ครูและครอบครูดนตรีไทย โครงการสืบทอดดนตรีไทย โครงการอบรมดนตรีไทยแก่ครู และนักเรียนในเขตภาคเหนือ เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการอนุรกั ษ์และสืบทอดให้เป็นมรดกของชาติสบื ไป คุณครูส�าราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ กรุณาให้เกียรติเป็นวิทยากรทางด้านดนตรีไทยแก่ มหาวิทยาลัยนเรศวร นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา โดยได้ให้ความอนุเคราะห์เป็นผู้ประกอบ พิธีไหว้ครูและครอบครูดนตรีไทยของสาขาวิชาดุริยางคศาสตร์ไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจ�าปี พ.ศ. 2555 และปี 2557 เป็นผู้เชี่ยวชาญให้ค�าปรึกษาแก่นิสิตที่เรียนในรายวิชาวิทยานิพนธ์ทาง ดุริยางคศาสตร์ไทย เป็นผู้ให้ค�าปรึกษาเกี่ยวกับเพลงประกอบการแสดงเพื่อใช้ประกอบการแสดง ละครในเรื่องอิเหนา ตอน ไหว้พระปฏิมา ในโครงการนเรศวรสังคีต ครั้งที่ 22 ในปี พ.ศ. 2556 และในระหว่างวันที่ 18-22 เมษายน พ.ศ. 2559 สาขาวิชาดุรยิ างคศาสตร์ไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้จัดโครงการสืบทอดดนตรีไทยจากศิลปินแห่งชาติหรือผู้เชี่ยวชาญ ครั้งที่ 5 คุณครูส�าราญได้ให้ความอนุเคราะห์เป็นวิทยากรในโครงการ แม้ในขณะนั้นท่านจะมีอายุ 88 ปีแล้ว ก็ตาม นับเป็นความกรุณาและเป็นเกียรติแก่มหาวิทยาลัยนเรศวรอย่างสูงสุด การสูญเสียคุณครูส�าราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ นับเป็นการสูญเสียเพชรเม็ดงามแห่งวงการ ดนตรีไทย ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึง้ และขอบุญกุศลจากการอุทิศตนเพื่อดนตรีไทยมาตลอดชีวิตของครูส�าราญ เกิดผล จงเป็นเครื่อง น�าทางดวงวิญญาณไปสู่สุคติสัมปรายภพด้วยเทอญ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

83


ครูส�ำรำญ เกิดผล ครูดีศรีแห่งชำติ สมหมำย มะลิกอง

ครูวิทยฐำนะช�ำนำญกำรพิเศษ โรงเรียนอุดมศีลวิทยำ

ลิขิตสาร ลีลา ภาษาสุนทร์ ครูดนตรี มีประวัติ น่ายลยิน ยี่สิบสอง กรกฎา ถือก�าเนิด พ่อชื่อหงส์ แม่สังวาล สานสายใย จบ ป.4 โรงเรียนวัด จันทร์ประเทศ เรียนปี่พาทย์ กับครู หลากหลายคน ด้วยความรัก ศรัทธา เป็นที่สุด ศาสตร์ดนตรีไทย วิวัฒน์ พัฒนา ปี่พาทย์ ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ สอดประสาน กลมกลืน ท่วงท�านอง โน้ตดนตรีไทย สากล ล้วนเจนจัด บรมครู ชมชื่น อื้นอ�านวย นอกจากงาน ดนตรี ที่ชื่นชอบ แพทย์ต�าบล ผู้ใหญ่ก�านัน บางชะนี ผลงานดี โดดเด่น ประจักษ์แจ้ง พระเทพรัตน์ฯ ให้ค้นคว้า ไว้มากมาย เพลงบรรเลง เพลงร้อง งามวิจิตร เพลงพระราชนิพนธ์ ไพเราะ เหมาะใจจินต์ ยอดยิ่งแล้ว ดั่งรัตน์ มณีแก้ว สั่งสอนศิษย์ คิดรัก รอยไม้ไทย อันความดี ใหญ่ยิ่ง มหาศาล พระคุณนี้ คือหน่อ เนื้อนาบุญ หลากรางวัล ทางดนตรี เกียรติชูเชิด เก้าสิบปี เสริมส่ง ความเป็นไทย ธรรมดา สามัญ ไม่แท้เที่ยง ปีหกศูนย์ ถึงแก่กรรม ให้อาดูร แสนเสียดาย ครูดีศรี แห่งชาติ อินทรีย์สิ้น แต่ความดี อเนกอนันต์ ขออ�านาจ บารมี ศรีไตรรัตน์ อมรเทพ เทวา สุราลัย

84

นอบนบคุณ พ่อส�าราญ ช�านาญศิลป์ ทั่วไทยถิ่น เชิดชูศิล-[ละ] ปินไทย อยุธยา บ้านเกิด พิสุทธิ์ใส ยอดดวงใจ คือแม่อาบ บุตรเจ็ดคน ไม่เรียนต่อ ด้วยเหตุ ความขัดสน หมั่นฝึกฝน จนช�านาญ จากคุณอา มิอาจหยุด ละทิ้ง การศึกษา มีวิชา สุขสม อารมณ์ปอง เลิศไฉไล เกรียงไกร ไม่มัวหมอง เลบงลบอง ร้อยรัด ระรื่นระรวย ทฤษฎี แลปฏิบัติ ได้สดสวย บันดาลช่วย สร้างสรรค์ เพลงดนตรี ยังประกอบ งานสังคม ประเสริฐศรี ประชาชี อยู่เป็นสุข ทุกข์มลาย น้อมแสดง สนองคุณ อย่างเฉิดฉาย ไม่สูญหาย เพลงไทยเก่า เหง้าแผ่นดิน ประไพพิศ ประพันธ์ได้ ดังถวิล สมเป็นปิ่น เอกคีตา อ่าอ�าไพ งามเพริศแพร้ว แวววับ เพียงแขไข ทั้งใกล้ไกล ร่วมรักษ์ พิทักษ์คุณ ยากกล่าวขาน ได้หมด ลดเฉียวฉุน เอื้อเจือจุน ผลกรรม น�าโชคชัย ผองชนเทิด จอมปราชญ์ สมสมัย ด้วยหัวใจ เปรมปริ่ม อิ่มจ�ารูญ ยากหลีกเลี่ยง ความแตกดับ ลับสิ้นสูญ สุดเพิ่มพูน ครวญคร�่า ร�่าจาบัลย์ ผู้เปรื่องปราด ศาสตร์ดนตรี พลีสุขสันต์ ชั่วกัปกัลป์ ชื่อยังอยู่ คู่ฟ้าไทย ดลพิพัฒน์ สู่สวรรค์ แดนพิสมัย ผดุงให้ ครองสุข ตราบนี้...นิรันดร

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


พระอริยะของลูก สมเกียรติ พิมพันธุ์

ครูวิทยฐำนะช�ำนำญกำรพิเศษ โรงเรียนอุทัยวิทยำคม

คุณพ่อส�าราญ เกิดผล ปรารภอยู่เสมอว่า การเกิดเป็นมนุษย์มีแต่ความทุกข์ พ่อปรารถนาไม่ กลับมาเวียนว่ายตายเกิดอีก พ่อบอกว่า พ่อระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยอยู่เป็นนิจ โดยการสวดมนต์ สรรเสริญพุทธคุณ ธรรมคุณ และสังฆคุณอยูเ่ สมอ พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เรารูจ้ กั ละความชัว่ ทัง้ ปวง ให้ทา� แต่ความดี และท�าจิตใจให้ผอ่ งใส ไม่เกลียดและไม่โกรธใครๆ พ่อมีจริยารักษาศีลอย่างเคร่งครัด มีความตัง้ ใจรักษาศีลทุกวัน โดยพ่ออาราธนาศีลทุกวันเพือ่ ให้เกิดความตัง้ ใจในการรักษาศีล พ่อสอน พวกเรา ให้พยายามละกามราคะลงบ้าง พ่อบอกว่าเราเป็นปุถชุ น ของพรรค์นใี้ ครๆ ก็มคี วามต้องการ กันทัง้ นัน้ แต่กต็ อ้ งพยายามละ ค่อยๆ ละ เพือ่ กิเลสเบาบางลง พ่อสอนให้พวกเราพยายามละความ โกรธ เมื่อมีสิ่งมากระทบใจท�าให้เราโกรธ ต้องพยายามท�าความโกรธเบาบาง โดยใช้เมตตาและให้ อภัย พ่อสอนให้ใช้ชีวิตแบบไม่ติเตียนว่าใคร พ่อเป็นผูใ้ ห้ทานอยูเ่ สมอ พ่อสงเคราะห์ประชาชนทีข่ าดแคลน ไม่มอี าหาร ขาดปัจจัยสี่ พ่อบอกว่า สงเคราะห์เช่นนี้มาตั้งแต่ต้นจนถึงปัจจุบัน พ่อสงเคราะห์เมตตาลูกศิษย์ทั่วสารทิศ พ่อสร้างกุศลท�า สังฆทาน สร้างวิหารทาน ให้ธรรมทานเป็นประจ�าทุกปี

พ่อส�าราญ เกิดผล เป็นผู้ท�าลายรากเหง้ากิเลสจนสิ้นแล้ว พ่อละโทสะ โดยการไม่โกรธ ไม่พยาบาท ให้อภัยอยู่เสมอ พ่อละโมหะ โดยการระลึกมรณานุสติ กายคตานุสติอยู่เสมอ พ่อละโลภะ โดยการบริจาคให้ทานสร้างกุศลอยู่เสมอ สุดท้าย พ่อบอกว่าบั้นปลายของชีวิตพ่ออยากจะถือเพศบรรพชิต คือ พ่ออยากบวชเป็นพระ ภิกษุ ผมเห็นคุณพ่อท่านอ่านหนังสือนวโกวาทตอนอยู่โรงพยาบาล แต่คุณพ่อท่านก็ยับยั้งความ คิดลง เพราะจะท�าความล�าบากให้กับคนอื่น เป็นค�าสอนของพ่อส�าราญ เกิดผล ระหว่างว่างจากการเรียนดนตรีไทยที่บ้านพ่อ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

85


ระลึกถึงคุณครูส�ำรำญ เกิดผล รำชันย์ ศรชัย

นักศึกษำระดับปริญญำเอก สำขำวิชำดนตรีวิทยำ วิทยำลัยดุริยำงคศิลป์ มหำวิทยำลัยมหิดล และอำจำรย์ ภำควิชำดนตรี คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์

กระผมได้รู้และได้ยินชื่อเสียงของคุณครูส�าราญ เกิดผลมานานตั้งแต่ครั้งท่านได้รับเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ นอกเหนือจากนั้นยังได้ยินชื่อเสียงของท่านในเรื่องความจัดเจนและความแน่นหนาทางด้านวิชาการดนตรีไทย แต่ กระผมเองก็ยังไม่เคยได้เห็นหรือเจอตัวท่านอย่างใกล้ชิดสักที จนเมื่อปี พ.ศ. 2558 กระผมได้เข้ารับการศึกษาต่อใน ระดับปริญญาเอก ทีว่ ทิ ยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปีนนั้ ได้ทราบจากน้องๆ นักศึกษาในวิทยาลัยและ อาจารย์ว่า คุณครูส�าราญ เกิดผล ยังมาสอนวิชาดนตรีไทยภาคปฏิบัติให้กับนักศึกษาในวิทยาลัยดุริยางคศิลป์อยู่ จึง เห็นเป็นโอกาสดีที่จะไปกราบฝากตัวเป็นศิษย์เพื่อขอวิชาความรู้ทางดนตรีสายบ้านพาทยโกศล ซึ่งกระผมก็ได้รู้เพียง คร่าวๆ หรือเพียงเงาตามที่ผู้รู้ต่างๆ ได้เขียนไว้เท่านั้น วันแรกที่ผู้เขียนได้เจอคุณครูส�าราญ เกิดผล เกรงกลัวท่านมากด้วยความที่เป็นผู้อาวุโสสมค�าร�่าลือ และกระผม เองยังไม่มักคุ้นกับคุณครู ค�าถามแรกที่คุณครูได้ถามกระผม “อาจารย์จะมาเอาอะไร” กระผมรู้สึกตกใจในค�าถามของ คุณครูมากแต่ก็เรียนท่านไปตามจริงว่า “อยากจะขอคุณครูต่อเพลงทางพาทยโกศล เพราะกระผมไม่มีความรู้เลย อีก ทั้งเป็นคนเครื่องสาย ไม่มีความรู้ในหลักการ จึงอยากจะมาขอวิชาจากคุณครูครับ” ท่านนิ่งไปนานแล้วจึงกล่าวกะผู้ เขียนว่า “วิชาของฝัง่ ธนเนีย่ ต้องเรียนนะของดีของยาก” กระผมยิง่ รูส้ กึ กลัวอีกมากเพราะไม่ทราบเลยว่าไอ้คา� ว่า “ของ ยาก” เนี่ยคืออะไร จนถึงเวลาจริงๆ คุณครูท่านเริ่มต่อเพลงสาธุการทางพาทยโกศลให้ ท่านต่อทีละน้อยๆ ค่อยๆ ไป จนจบ ทั้งเคร่งครัดเรื่องกระบวนแนวทางแบบแผนการบรรเลงแบบพาทยโกศลมาก ท่านให้เหตุผลว่า “ครูท่านท�าไว้ ดีแล้ว เราอย่าไปเปลี่ยนของท่านเลย” คุณครูเน้นย�้าเสมอมาว่าวิชาดนตรีทางพาทยโกศลนี่มีเอกลักษณ์เฉพาะ จะตี จะเล่นต้องระวังให้ถูกต้อง คุณครูจะชี้ให้เห็นว่าการสัมผัสก็ดี จุดสังเกตก็ดี หัวข้อเพลงก็ดี เหมือนกันอย่างไรต่างกัน อย่างไร คุณครูก�าชับเสมอว่าเวลาไปสอนใครต่อไปจะได้บอกเขาถูกเกือบทุกครั้งในชั่วโมงเรียน คุณครูเคร่งเครียด เคร่งครัดกับการเรียนการสอนมาก ทัง้ ผูเ้ ขียนก็เป็นคนจ�าเพลงช้าไม่วอ่ งไวเหมือนนักศึกษาในระดับปริญญาตรี แต่เมือ่ คุณครูเห็นความเครียดความเอาจริงเอาจังมากคุณครูทา่ นจะพัก และชวนคุยถึงเรือ่ งราวเก่าๆ ผูเ้ ขียนก็คอ่ ยๆ ซักถาม ข้อสงสัยทั้งเรื่องการดนตรีและเรื่องสัพเพเหระจากท่าน เลยท�าให้สนิทสนมกับท่านมากขึ้น ที่ส�าคัญสิ่งที่กระผมคุย ถูกคอกับท่านมากอีกเรื่องหนึ่งคือเรื่องพระเครื่อง คุณครูชอบมากท่านว่าท่านชอบและสะสมมาแต่ครั้งรุ่นๆ กล่าวได้ ว่าเมื่อเครียดเมื่อเหนื่อยกับวิชาการดนตรีครั้งใด เรื่องตลกๆ สมัยเก่าและเรื่องพระเครื่องต่างๆ จะถูกน�ามาพูดคุยแก้ เครียดทุกครั้งไปในการเรียนการสอน มีอยู่ครั้งหนึ่งคุณครูพูดกับกระผมอย่างข�าๆ ว่า “วันนั้นหมอพูนพิศเขาอวดว่า เขามีสมเด็จองค์หนึ่งสวย เนื้อดีทีเดียว ไว้เราว่างๆ เรียนเสร็จละเราไปดูกันนะ” ผู้เขียนยิ่งสนับสนุนคุณครูอย่างเต็มที่ เพราะชอบเรือ่ งพระเครือ่ งโบราณมากๆ เหมือนกัน คุณครูเล่าว่าครูชอบพระเนือ้ ผงพุทธคุณมาก ดูละเป็นผูด้ ี กระผม ฟังครูพดู ละได้แต่นงั่ ยิม้ ๆ ชืน่ ชมในความเป็น “เซียนพระ” ของคุณครู คุณครูเป็นคนจริงมากถ้าจะเรียกกันในสมัยนีค้ อื คุณครูมีนิสัยนักเลงมาก พูดถึงพระองค์ไหนคุณครูจะแหวกอกเสื้อ ควักพระองค์นั้นให้กระผมดูทันที คราหนึ่งท่านพูด ถึงพระสมเด็จวัดระฆัง กระผมยกมือไหว้คุณครูละบอกว่าในชีวิตไม่เคยเห็นของจริงหรอกครับ เห็นแต่ในภาพทาง อินเตอร์เน็ตคุณครูได้แต่ยิ้มและแหวกอกเสื้อทันที ควักพระสมเด็จวัดระฆังองค์งามสวยสีนวลๆ ออกเหลืองๆ เลี่ยม 86

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ทององค์เขือ่ ง ให้ดพู ร้อมทัง้ สอนวิธกี ารดูพระสมเด็จวัดระฆังให้ทนั ที [น่าจะเป็นวิชารองทีไ่ ด้จากคุณครู นอกการเรียน ดนตรีเลยทีเดียว] ความเป็นนักเลงของคุณครูอีกเรื่องหนึ่งที่ครูชอบนักหนาคือการดื่มชาแบบผู้ดี คุณครูชอบเป็นที่สุด คุณครูชอบ ดื่มชาอู่หลงก้านอ่อนเบอร์ 14 [ขออภัยถ้าหากผู้เขียนจ�าผิด] คุณครูบอกว่ารสชาตินุ่มนวล หอมอ่อนๆ บางครั้งครูก็ ชงชาจุย๊ เซียนให้ลองดู กระผมถามครูวา่ ท�าไมครูตดิ ชาละครับ ครูบอกว่า สมัยทีท่ า่ นเรียนวิชาดนตรีไทยใหม่ๆ ครูของ ท่านเช่นครูเทียบ ครูช่อ ครูฉัตร ครูอาจ พวกนี้ท่านดื่มชาทั้งนั้น เรา [คุณครูส�าราญ] ชงให้ครูท่านดื่มบ่อยๆ ครูท่าน เลยบอก “แกเอามั่งสิ เราเลยเป็น คราวนี้ถ้วยสองถ้วยเลย” แล้วคุณครูส�าราญก็หัวเราะอย่างชอบอกชอบใจ บางครั้ง ครู [คุณครูส�าราญ] ต่อเพลงได้รวดเร็วมากจนครูๆ ของท่านจับไต๋ในวิธีการจดจ�าของคุณครุส�าราญได้ ท่านจึงเรียกครู ส�าราญมาพักผ่อนดื่มชาเป็นเพื่อน คุณครูส�าราญจึงดื่มตลอดชีวิตเสมอมา คุณครูมคี วามจงรักภักดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตริยท์ กุ พระองค์ในพระราชวงศ์จกั รี คุณครูได้ประพันธ์เพลงหลาย เพลงเพือ่ ถวายความจงรักภักดี เช่น เพลงตระนวมินทราธิราช ตระพระแม่แห่งแผ่นดิน ใต้รม่ พระบารมี เถา เพลงแผ่น ดินพ่อ เพลงแผ่นดินแม่ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นผลงานที่คุณครูส�าราญบรรจงประพันธ์ขึ้น เพื่อน้อมถวายต่อสถาบันพระ มหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพเทิดทูนไว้ เรื่องหนึ่งที่กระผมยกย่องคุณครูมาก คุณครูเป็นผู้มีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณมาก คุณครูเคยเล่าว่าเมื่อครั้ง คุณครูได้ไปกินนอนพร้อมเรียนวิชาการดนตรีที่บ้านคุณครูเทียบ ตอนสมัยตอนสงครามโลกครั้งที่สอง ครอบครัวของ คุณครูเทียบ คงลายทองได้อพยพหนีสงครามไปพักทางหนองแขม คุณครูเทียบอยู่เฝ้าบ้านคุณครูส�าราญไม่กลับบ้าน ที่อยุธยาแต่อยู่เป็นเพื่อนคุณครูเทียบที่บ้าน ผู้เขียนถามคุณครูส�าราญว่าครูไม่กลัวระเบิดเหรอครับ ท่านตอบว่า “ถ้า เรากลับ ใครจะอยู่เป็นเพื่อนครูเทียบ อาหารการกินก็ฝืดเคืองต้องไปเข้าแถวซื้อข้าวสารจากราชการใช้เวลาเป็นวันๆ กว่าจะได้ บางครั้งก็กินขนมปังแทนข้าวกัน สมัยนั้นมันไม่มีจะกินนะ” คุณครูบอกว่าถ้าได้ยินเสียงว๋อร์คุณครูและ ครูเทียบจะไปนอนหลบภัยที่ศาลาในวัดกัลยาณ์ ครูบอกว่านอนดูลูกระเบิดลง และขอบารมีหลวงพ่อโต [ซ�าปอกง] คุ้มภัยเสมอ ซึ่งก็ได้ผลตามที่คุณครูบอก คุณครูเล่าให้ฟังเมื่อครั้งจะต่อเพลงทยอยเดี่ยวทางระนาดเอก คุณครูพุ่ม บาปุยะวาทย์ท่านว่าท่านไม่ได้เนื้อ คุณครูเทียบ คงลายทองกลับเป็นธุระเดินไปเป็นเพื่อนกับคุณครูสา� ราญถึงบ้าน ครูพุ่มที่วัดดงมูลเหล็ก เพื่อไปบอกเนื้อเพลงทยอยเดี่ยวให้คุณครูพุ่ม คุณครูพุ่มจะได้ท�าเป็นทางเดี่ยวระนาดเอกให้ ครูส�าราญอีกทอดหนึ่ง คุณครูเล่าด้วยความภาคภูมิใจเสมอๆ คุณครูมีความเป็นผู้ดี หรือมีสมบัติผู้ดีมาก คุณครูไม่เคยกล่าววาจาล่วงเกินหรือทับถมวิชาการใคร ตรงกันข้าม คุณครูกลับให้เกียรติเพือ่ นนักดนตรีทกุ ท่าน คุณครูบอกเสมอของเขาดีทกุ ทางนัน่ ละเก็บไว้ให้ดใี ห้แม่นเมือ่ ถึงเวลาจ�าเป็น จะได้ใช้ คุณครูมีจิตวิญญาณความเป็นครูมาก คุณครูมีความสุขที่ได้สอนดนตรีไทย ชอบที่จะเห็นเด็กๆ นักศึกษา เรียน ดนตรีไทยอย่างถูกต้องงดงามตามแบบแผน แม้กระทั่งก่อนวาระสุดท้ายคุณครูกล่าวด้วยความเมตากับผู้เขียนว่า “ถ้า เราหาย ราชันย์มาต่อฉิง่ พระฉันเพลกะเราทีบ่ า้ นนะ เราจะบอกทางมือครูอาจให้” ซึง่ กระผมแม้จะไม่มบี ญ ุ ทีจ่ ะได้เพลง นี้ แต่กระผมยังระลึกถึงความเมตตาปรานีที่คุณครูมีให้ต่อกระผมอยู่เสมอมา กระผมเคยปรารภกับคุณครูว่าอยากจะ เขียนอัตชีวประวัตคิ ณ ุ ครูอาจ สุนทรให้คนข้างหลังได้รแู้ บบละเอียด ซึง่ คุณครูกส็ นับสนุนเต็มทีแ่ ต่กห็ มดวาระทีจ่ ะเขียน ไปพร้อมกับคุณครู ซึ่งเป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง ประหนึ่งร่มโพธิ์ร่มไทรหักลง ท้ายทีส่ ดุ นีด้ ว้ ยอ�านาจคุณพระรัตนตรัย คุณความดี ทีค่ ณ ุ ครูได้บา� เพ็ญมาตลอดชีวติ ของท่าน ขอจงเป็นปัจจัยน�า ครูสู่สมั ปรายภพเบื้องหน้า พร้อมหน้าด้วยครูอาจารย์ ผู้มพี ระคุณของคุณครู พี่น้อง เพื่อนพ้องนักดนตรี มีทิพยสังคีต สุขสืบไปในสัมปรายภพ ด้วยความอาลัยและระลึกถึงคุณครูเสมอ อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

87


ปู่รำญ... ครูที่เป็นมำกกว่ำครูของเรำสองคน พรชัย ผลนิโครธ บุตรี สุขปำน

สำขำวิชำดุริยำงคศำสตร์ไทย ภำควิชำดนตรี คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร

ความทรงจ�ายังแจ่มชัดเสมอเมือ่ นึกย้อนถึงคราทีไ่ ด้พบคุณครูสา� ราญครัง้ แรก ครูมาเป็นผูป้ ระกอบพิธไี หว้ครูดนตรี ไทยทีโ่ รงเรียนสิงห์บรุ เี มือ่ ปี พ.ศ. 2537 โดยทีไ่ ม่รจู้ กั และไม่ได้สนใจว่าท่านเป็นใคร รูเ้ พียงว่าเป็นครูของอาจารย์ศวิ ศิษฏ์ นิลสุวรรณ และทุกครัง้ ทีอ่ าจารย์พดู ถึงครูสา� ราญจะสัมผัสได้ถงึ ความน่าเกรงขามและอาจารย์จะให้ความเคารพนบนอบ ครูอย่างพิเศษกว่าใครๆ และเมือ่ เราได้พบตัวจริงจึงกระจ่างใจด้วยครูเป็นผูท้ มี่ คี วามพิเศษ ทัง้ การวางตัว กิรยิ ามารยาท การพูดจา ทรงผม และแววตาที่ดูดุดัน แต่กลับแฝงไปด้วยความเมตตาอย่างบอกไม่ถูก หลังจากวันนั้น โลกการเรียน ดนตรีไทยสายธนบุรีของเราสองคนก็เริ่มขึ้น กับครูส�าราญ เกิดผล ที่ลูกศิษย์รุ่นหลังทุกคนเรียกว่า “ปู่” ในการต่อเพลง ปู่จะมีโน้ตอยู่ข้างกายเพื่อใช้ตรวจสอบความถูกต้องของการบรรเลงและขับร้องด้วยทุกครั้ง หากเป็นการฝึกซ้อมก็จะต้องปรับวงให้มีความเรียบร้อยเหมาะสมกับประเภทของเพลง ประเภทของวงและตรวจตรา จังหวะหน้าทับโดยละเอียด อะไรที่ไม่เรียบร้อยก็มักจะโดนมองลอดแว่นหรือพูดให้เราแก้ไขและมีความระมัดระวัง มากขึ้น ปู่มักจะพูดเสมอว่า “ดนตรีไทยมีกฏเกณฑ์ จะท�าอะไรก็แล้วแต่ ต้องค�านึงถึงความถูกต้อง ไม่ใช่ถูกใจ” การได้เรียนดนตรีกับปู่นั้นนับเป็นความโชคดีที่สุดในชีวิต เพราะปู่ไม่เพียงแค่ต่อเพลงแต่ยังสอดแทรกเกร็ด ความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์โดยไม่ปิดบัง หลายครั้งที่มีโอกาสได้ไปชมการบรรเลงของวงอื่นๆ หากมีความแตกต่าง เรื่องทางเพลงหรือสิ่งที่ควรรู้ ปู่จะอธิบายให้ฟังด้วยใจที่เป็นกลาง ไม่เคยกล่าวว่าของใครถูก ของใครผิด หรือของใคร ดีกว่าใคร เพียงแต่พูดว่า “ของเรากับของเขาไม่เหมือนกันนะ” หรือ “ของเราเป็นอย่างนี้นะ” เพื่อให้เราแยกแยะและ สามารถน�าไปใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม หรือเรื่องความแตกต่างในวิธีการร้อง เป็นที่ทราบกันดีว่าทางร้องของบ้านนี้จะ ร้องตรงๆ ไม่คอ่ ยอ่อนหวานเหมือนทีน่ ยิ มร้องกันโดยทัว่ ไป มีครัง้ หนึง่ หลังจากทีต่ อ่ ทางร้องและจดโน้ตไปด้วยเนือ่ งจาก ท�านองนั้นจ�ายาก ปู่ก็พูดขึ้นว่า “ทางร้องบ้านนี้จะร้องตรงๆ อาจจะไม่ค่อยเพราะเหมือนทางทั่วไปนะ แต่ก็เป็น เอกลักษณ์ของบ้านเรา ถ้าเราไปเปลี่ยนแปลง มันก็ไม่ใช่ของเรา” ค�าสอนของปู่ท�าให้เราเข้าใจและตระหนักถึงภาระ หน้าที่การสืบทอดทางเพลงสายธนบุรีที่ทวนกระแสความนิยมและอยู่นอกระบบการศึกษา หากเราไม่ยึดระเบียบวิธี การเดิมที่ครูโบราณท่านวางไว้แต่อดีต อนาคตเอกลักษณ์ของทางบ้านนี้ก็จะเลือนหายไปในที่สุด นอกจากการเรียนดนตรีแล้ว สิง่ ทีช่ อบมากทีส่ ดุ ในการได้พบปูท่ กุ ครัง้ คือการได้สนทนากับปู่ ทัง้ เรือ่ งดนตรี วีรกรรม และเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่เป็นประโยชน์ ความสุขจากการได้เล่าประสบการณ์ของปู่นั้นฉายออกมาทางสีหน้าและแวว ตาอย่างชัดเจนทุกครั้ง นอกจากการสนทนาเรื่องดนตรีแล้วปู่ก็ยังเมตตาลูกศิษย์ทุกคนประดุจลูกหลาน คอยปลูกฝัง เรือ่ งเจตคติ การวางตัว ธรรมะและสัจธรรมด้วยเสมอ นอกจากนี้ การได้เห็นกิจวัตรอันงดงามของปูน่ นั้ นับเป็นต้นแบบ ความเป็นครู เป็นศิลปินทีด่ ใี ห้แก่ลกู ศิษย์ทกุ คน ภาพทีเ่ ราเห็นจนชินตาคือปูย่ งั คงนัง่ คัดลอกโน้ต ยังคงเรียนรู้ ยังค้นคว้า แม้กระทัง่ ยามเจ็บป่วยต้องรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาลก็ยงั คงเขียนโน้ตและแต่งเพลง ทุกภาพและความทรงจ�าล้วนมีคณ ุ ค่า เป็นแรงบันดาลใจให้เราก้าวเดินตาม และเป็นก�าลังใจให้กับเราในยามเหน็ดเหนื่อยและท้อถอยได้อย่างดีที่สุด แม้วนั นี้ ปูจ่ ะไม่ได้อยูก่ บั พวกเราแล้ว แต่สงิ่ ทีจ่ ะยังอยูก่ บั เราตลอดไปคือค�าสอนของปู่ เราจะร่วมสานต่อตามก�าลัง ความสามารถที่มี เพื่อให้สิ่งที่ปู่รักที่สุดยังคงอยู่ต่อไป

88

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เมฆปี่ใน อาลัย ในวันเก่า ครั้งที่ศิษย์ เคยเล่าเรียน ท่านเพียรสอน ในวันนี้ ครูจากไป สุดอาวรณ์ ต้องจากจร จากใจ อาลัยลา ฟ้าส่งท่าน มาเป็นครู แห่งศาสตร์ศิลป์ ศิลปิน แห่งชาติ ผู้ลึกล�้า เป็นคุณครู ใจดี มีคุณธรรม ร้อยพันค�า หมื่นแสน แทนดวงใจ รัฐธนินท์ รวีฉัตรพงศ์

ภำควิชำดนตรีและกำรแสดง คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏเพชรบูรณ์

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

89


ร�ำลึกควำมรู้และสัจธรรมในค�ำครู ด้วยรักและอำลัยจำกใจศิษย์ ทรงพล เลิศกอบกุล

ภำควิชำดนตรีและศิลปะกำรแสดง คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏเชียงใหม่

การจากลาเป็นสัจธรรมทีไ่ ม่มใี ครหลีกเลีย่ งได้ เมือ่ พบกันสักวันก็ตอ้ งลาจากเป็นเรือ่ งธรรมดาทีเ่ กิดขึน้ การจากลามีทั้งการจากกันเพียงชั่วคราวที่ในอนาคตอาจกลับมาพบกันใหม่และการจากกันอย่างถาวรคือ จะไม่ได้พบกันอีกต่อไป ความตายเป็นสถานะก�า้ กึง่ ทีไ่ ม่รวู้ า่ จะเป็นการจากกันเพียงชัว่ คราวหรือถาวร เพราะ ถ้าเชือ่ ว่าชาติหน้ามีจริงความตายอาจเป็นเพียงการลาชัว่ คราวแค่ชาติภพนี้ แต่หากเชือ่ ว่าความตายนัน้ คือ จุดสิ้นสุดแล้ว ความตายก็จะเป็นการจากลาถาวร คนเราไม่อาจทราบได้วา่ ความตายเป็นการจากลาแบบใด การให้คา่ ความตายในฐานะการจากลาถาวร อย่างน้อยที่สุดก็ส�าหรับชาติภพนี้เป็นสิ่งที่ท�ากันเสมอมา เพราะบุคคลที่จากลาด้วยเหตุแห่งความตายนั้น เราไม่อาจพบได้อีกแล้ว เว้นเสียแต่ในความทรงจ�าอันเป็นพื้นที่เดียวที่พอจะระลึกถึงกันได้ด้วยผลของ อุดมการณ์และคุณงามความดีที่บุคคลนั้นเคยกระท�า ส�าหรับคนเป็นครูนั้นคือผู้มีคุณูปการ พระคุณครูที่มีต่อศิษย์เปรียบเช่นพระคุณที่สามต่อจากพ่อแม่ คุณงามความดีของครูจึงย่อมตรึงอยู่ในใจศิษย์ให้ระลึกถึงอยู่เสมอแม้วันที่ครูจากไปแล้วก็ตาม ครูจะยังคง ประทับอยู่ในความทรงจ�าศิษย์ผ่านความรู้ ความคิด และอุดมการณ์ ที่ได้ฝากไว้ตลอดไป

ค�ำครู “เพลงมันต้องแม่น ถ้าเพลงไม่แม่น ปู่ไม่อยู่แล้วจะถามใคร” คือประโยคที่ครูส�าราญ เกิดผล ย�้าให้ผม ฟังบ่อยครั้ง ตั้งแต่เริ่มเรียนกับครูเมื่อปี พ.ศ. 2547 ที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล สมัยนั้น ผมไม่คอ่ ยเข้าใจมากนัก เพราะยังเด็กอยูม่ ากจึงคิดตามได้แค่วา่ ครูบอกให้ซอ้ มเยอะๆ เพลงจะได้แม่น จาก นั้นก็ตั้งหน้าตั้งตาท่องเพลง โดยไม่ทันได้คิดเลยว่าช่วงเวลาท้ายประโยคของครูที่ว่า “ปู่ไม่อยู่แล้วจะถาม ใคร” จะมาถึงเร็วเช่นนี้ การมาถึงของวันที่ “ปู่ไม่อยู่” นี้ ท�าให้นึกย้อนทบทวนสิ่งที่ครูสอนและฝากฝังไว้ พยายามท�าความ เข้าใจและมองมุมที่ลึกกว่าสมัยเด็ก ท�าให้ระลึกได้ว่าสิ่งที่ครูมอบให้จากการเรียนมาสิบกว่าปีนี้ไม่ใช่เพียง แค่การเรียนดนตรีเพียงเพื่อสามารถบรรเลงเครื่องดนตรีให้เป็นเพลงได้ แต่เป็นการเรียนรู้เข้าใจชีวิตผ่าน เสียงดนตรี ที่กลั่นกรองจากประการณ์ของครูและส่งมาถึงเราผ่านถ้อยค�าที่ครูย�้าให้ฟังตลอดมา การที่ครูมักย�้าว่า “เพลงมันต้องแม่น ถ้าเพลงไม่แม่น ปู่ไม่อยู่แล้วจะถามใคร” แท้จริงไม่ได้ต้องการ เพียงแค่ให้เราซ้อมเพียงอย่างเดียว นัยความหมายของประโยคนี้ยังบอกว่าครูตระหนักเสมอว่าสักวัน สัจธรรมของการลาจากนีค้ งมาถึงอย่างไม่อาจคาดการได้ ครูจงึ เตือนให้เราพึงระลึกและเตรียมพร้อมเผชิญ ความจริงอันหลีกเลี่ยงไม่ได้นี้ และเมื่อถึงวันนั้นศิษย์ต้องพร้อมที่จะก้าวเดินไปในฐานะของคนที่จะสืบต่อ 90

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เจตนารมณ์และอุดมการณ์ของครู เพลงจึงต้องแม่นต้องมั่นคงและยืนหยัดได้ด้วยตัวเอง เพราะครู ไม่อยูใ่ ห้ถามอีกต่อไป แต่นศี้ ษิ ย์จะต้องท�าหน้าทีต่ อ่ จากครูคอื เป็นทีพ่ งึ่ แก่คนรุน่ ต่อไป นีเ่ ป็นอุดมการณ์ เพื่อรักษาและสืบทอดความรู้ดนตรี การเรียนกับครูทงั้ ทีว่ ทิ ยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และทีบ่ า้ น สิง่ ทีค่ รูพดู ทุกถ้อยค�า เป็นประสบการณ์เรียนรูท้ หี่ าค่าไม่ได้ นัยความหมายทีแ่ ฝงไว้ในแต่ละประโยคทีค่ รูกล่าวสะท้อนความ เข้าใจชีวติ และดนตรีทลี่ มุ่ ลึก ดังทีค่ รูกล่าวชีเ้ รือ่ งการเล่นดนตรีวา่ ต้องมองให้เห็นถึงเป้าหมายแท้จริง ว่า “ดนตรีมันต้องเล่นให้เพราะ” ไม่ใช่เล่นให้เร็วเพียงอย่างเดียว “เดี๋ยวนี้คนเก่งมีเยอะ ตีกันเร็วๆ ฟังไม่ทัน” ครูกล่าวถึงสุนทรียภาพทางดนตรีที่ต้องมีองค์ประกอบมากกว่าความเร็ว ความเพราะ หรือ ไพเราะ ในดนตรีดังที่ครูกล่าวถึงนี้ไม่ได้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้เอง แต่การจะเล่น ดนตรีให้ไพเราะได้นั้นฝีมือเป็นองค์ประกอบส�าคัญที่ต้องหมั่นฝึกฝนอยู่เสมอ การไปเรียนที่บ้านครู จึงต้องตื่นมาไล่มือตั้งแต่ตี 5 ตามด้วยการต่อ ซ้อมเพลง และฟังครูอธิบาย - เล่าเรื่องราวและเกร็ด ความรู้สลับกันทั้งวัน ครูเล่าว่า “สมัยก่อนการไปเรียนบ้านครูเราต้องขยัน แสดงให้เห็นความตั้งใจ ก่อนครูจงึ จะต่อเพลงให้ ตอนปูเ่ รียนทุกเช้าก่อนไล่ระนาด ปูต่ นื่ ตัง้ แต่ตสี มี่ าก่อไฟ ต้มน�า้ ชงชาให้ครู เสร็จแล้วค่อยไปไล่ระนาด” และ “ความรู้เรื่องบทเพลงที่ปู่เล่าพวกนี้ครูสมัยก่อนเขาไม่เล่ากันหรอก ลูกศิษย์ต้องจดจ�าและใช้ไหวพริบสังเกตกันเอาเอง หัวใครดีก็ได้มาก” การเรียนดนตรีจึงไม่ใช่เรื่อง ง่ายๆ หรือเล่นไปผ่านๆ แต่ต้องมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และขยันจึงจะสามารถเป็นนักดนตรีที่ดีเล่น ดนตรีได้ไพเราะและมีความรู้พอสามารถสืบทอดได้ ดังข้อความที่ครูเขียนมอบให้ในสูจิบัตรไหว้ครู เมื่อครั้งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชด�าเนินเป็นองค์ประธานใน พิธีไหว้ครูดนตรีไทย เนื่องในโอกาส 80 ปี ของครู ความว่า “ขยันให้มากๆ เพื่ออนาคต” ไว้คอย เตือนสติว่าเรียนดนตรีต้องหมั่นขยันฝึกซ้อมและท�าความเข้าใจเพื่อวันข้างหน้า อุดมการณ์ทเี่ น้นให้เข้าใจดนตรีดว้ ยการตัง้ ใจและขยันฝึกซ้อม เพือ่ สร้างครู - นักดนตรีทดี่ ตี งั้ แต่ ขัน้ พืน้ ฐานด้วยแนวคิดว่าดนตรีตอ้ งเล่นให้ไพเราะนี้ เป็นแนวทางรักษาดนตรีไทยตามทีค่ รูมงุ่ หวังยัง สะท้อนผ่านค�าสอนของครูที่ศิษย์ทุกคนน่าจะคุ้นเคยเป็นอย่างดี เพราะครูย�้าอย่างหนักแน่นเสมอ ว่า “สมเด็จพระเทพฯ ทรงตรัสกับปูว่ า่ ครูไม่ตอ้ งสอนให้เขาเก่ง แต่ครูสอนให้เขาเป็น” ซึง่ ค�าว่า “เป็น” นีเ้ องทีค่ รูสอนศิษย์เสมอว่าคือความรูแ้ ละความเข้าใจว่า “ดนตรีตอ้ งเล่นให้เพราะ” จะไปสอนคนอืน่ ได้ก็ต้อง “รู้เพลง และต้องรู้อย่างถูกต้อง” ทั้งหมดนี้จึงน�าไปสู่รักษา สืบทอด และต่อยอดได้ ตลอดมาการได้เรียนกับครูจึงเป็นมากกว่าเพียงบรรเลงเครื่องดนตรีให้เป็นเพลง แต่เป็นการ เรียนที่ต้องท�าความเข้าใจถึงรากเง้าแห่งดนตรีและพร้อมส่งต่อความรู้ ดนตรีที่ครูสอนเป็นดนตรีที่มี บริบทแวดล้อมซึง่ ต้องเข้าใจ การเรียนดนตรีกเ็ ป็นเสมือนการเรียนรูท้ ว่ งท�านองแห่งสัจธรรมของโลก ที่เสียงย่อมมีวันเงียบลง การเรียนที่บ้านครูสอนการอยู่ร่วมกับคนอื่นๆ ทั้งในวงการดนตรีและโลก ภายนอกที่ต้องรู้จักวัฒนธรรม ขนบ ธรรมเนียม กฎกติกา มารยาท และบทบาทหน้าที่ ช่วงเวลาสิบ กว่าปีที่ผ่านมาครู จึงเป็นมากกว่าครูผู้ให้ความรู้ แต่ครูเป็น “ปู่” ญาติผู้ใหญ่ที่เปี่ยมล้นด้วยความ เมตตาเสมอมา ดังที่ครูเคยกล่าวว่า “เรียกครูมันดูห่าง ให้เรียกปู่จะได้รู้สึกใกล้ชิดกันดี” สุดท้ายเมื่อวันแห่งการลาจากอันเป็นสัจธรรมของโลกมาถึง จะมีสิ่งใดเล่าที่ศิษย์จะท�าเพื่อครู ได้นอกเสียจากการยังคงระลึกถึงพระคุณและปฏิบัติตามค�าสอนของครู พร้อมก้าวเดินส่งต่อความรู้ อันเป็นเจตนารมณ์และอุดมการณ์ของครูที่ต้องรักษาและสืบทอดดนตรีไทยต่อไป

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

91


ครูผู้มีแต่ให้ โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน กรทิพย์ แช่มเชียง

โรงเรียนสำรสำสน์วิเทศนครปฐม

สักวันหนึ่งเจ้าจะรู้ว่าครูรัก สักวันหนึ่งคงประจักษ์เป็นศักดิ์ศรี สักวันหนึ่งเจ้าจักรู้ว่าครูดี สักวันหนึ่งจะได้ดีเพราะมีครู [กลอนบทนี้ติดอยู่ในห้องครูส�าราญ ที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถานที่ที่ท�าให้ดิฉันได้รู้จักและได้เรียนกับครูส�าราญ ครูได้เป็นผู้ถ่ายทอดวิชาความรู้ทางดนตรีให้ และยังให้ความรักในฐานะลูกหลานคนหนึ่ง ครูเป็นครูและ เป็นปู่ที่ดิฉันรักมาก บรรยากาศในการไปเรียนที่วิทยาลัยต้องตื่นแต่เช้า หกโมงเปิดห้องรอปู่มา ไล่ระนาด จนครบ ในระหว่างนัน้ ปูก่ จ็ ะมานัง่ ฟังอยูห่ น้าห้องทุกครัง้ จนซ้อมจบ ปูถ่ งึ จะเปิดประตูเข้ามาในห้อง พร้อม ค�าสั่งสอน แนะน�าส่วนที่ต้องแก้ไข จากนั้นดิฉันจะไปชงกาแฟ สูตรคือ กาแฟ 1 คอฟฟี่เมท 2 น�้าตาล 2 น�้าร้อนครึ่งแก้วโดยประมาณ พร้อมน�้าชา ปู่ท�าหน้าที่สอนลูกศิษย์ทุกคนด้วยความรักและตั้งใจ ระหว่างวันก็จะมีลูกศิษย์สลับสับเปลี่ยนกันมา คอยดูแลปู่ ซื้อข้าว เติมน�้าชา มันคือความสุขของพวกเราที่ได้ดูแลและตอบแทนพระคุณ นี่คือสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ทีพ่ วกเราจะท�าให้ปไู่ ด้ ตกเย็นก็รอส่งปูข่ นึ้ รถกลับบ้าน ปูเ่ ดินทางมาจากอยุธยาไปกลับหลายชัว่ โมง เป็นเวลาหลายปี ไม่เคยได้ยินค�าบ่นใดๆ เลย ปู่มีความสุขกับการได้ถ่ายทอดความรู้ให้กับลูกศิษย์ทุกคน ปิดเทอมพวกเราก็พากันไปบ้านปู่ทุกสัปดาห์ นอกจากปู่จะถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ ให้ที่พัก ปู่ยังท�าอาหาร ให้ทาน ฝีมือปู่อร่อยมาก บางครั้งก็พาไปเที่ยวไหว้พระ เรื่องราวต่างๆ และค�าสั่งสอนของปู่จะอยู่ในความทรงจ�าและน�ามาปฏิบัติ ปู่พูดเสมอว่า “การเล่น ดนตรีนนั้ เล่นให้ได้กบั เล่นให้เป็นนัน้ ต่างกันมาก เราควรจะเล่นให้เป็นมากกว่าเล่นให้ได้” ขอบคุณปู่ผมู้ แี ต่ ให้โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน ขอให้ดวงวิญญาณของปู่มีความสุขอยู่ในภพภูมิที่ดีบนสรวงสวรรค์

92

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ครูส�ำรำญ เกิดผล ...ยิ่งกว่ำครู ณัฐวิท บุญมีมีไชย

โรงเรียนเทศบำลปลูกปัญญำ ในพระอุปถัมภ์ฯ

ข้าพเจ้าได้ยนิ ชือ่ เสียงของ ครูสา� ราญ เกิดผล มานานตัง้ แต่สมัยเรียนชัน้ มัธยมอยูท่ ภี่ เู ก็ต เมือ่ มีโอกาสได้เข้า มาศึกษาต่อที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ทราบข่าวว่าครูท่านสอนที่นี่ ข้าพเจ้าดีใจมากที่จะได้ เรียนเพลงระนาดเอกจากครู แม้จะเป็นระยะเวลาไม่นานแต่ขา้ พเจ้าก็ได้เคล็ดวิชา วิธกี าร ประสบการณ์ดา้ นดนตรี ไม่นอ้ ย ทีส่ า� คัญคือ เพลง “บรรทมไพร” ซึง่ เป็นเดีย่ วแรกทีค่ รูประดิษฐ์ทางเดีย่ วให้ใหม่ มีหนทางแยบยล คมคาย มาก รวมถึงเพลงอื่นๆ ด้วย นับเป็นความเมตตากรุณาจากครูไม่มีวันลืม บัดนี้ ครูได้จากศิษย์ไปแล้ว ข้าพเจ้ายังรฤกนึกถึงเสมอ สรรพศาสตร์วิชาที่ครูมอบให้ ศิษย์ขอเทิดทูนบูชา และน�าไปใช้เพื่อประโยชน์ในวงการดนตรีไทยต่อไป สาธุ ขอครูสู่สุขคติ รัก เคารพ ครู

ตู้หนังสือดนตรีไทยใบใหญ่ของลูกศิษย์ ณัฐวุฒิ สุธนไพบูลย์ ในความรูส้ กึ ของผม ปูเ่ ปรียบเสมือนตูห้ นังสือคลังความรูด้ า้ นดนตรีไทยขนาดมหึมาทีม่ ตี า� ราประเภทต่างๆ อัดแน่นอยู่เต็มตู้ แต่ผมเป็นลูกศิษย์ที่ปู่ลงความเห็นว่า “มือไม้ไม่ค่อยจะดี” ซึ่งผมก็ทราบและยอมรับถึงจุดบอด ของผมตรงนี้ดี ผมจึงเลือกเปิดอ่านต�าราในตู้ของปู่ด้านอื่น ที่นอกเหนือจากเรื่องเพลงการต่างๆ จากตู้ความรู้ใบ ใหญ่นี้แทน มีอยู่ครั้งหนึ่งผมไปบรรเลงงานสุกดิบไหว้ครู รุ่นพี่ที่รู้จักกันกลับมาเล่าให้ปู่ฟัง ปู่ถามว่าตีเพลงอะไร ไป ผมตอบว่าเชิดจีน โดนปู่เอ็ดเสียยกใหญ่ว่าไม่รู้จักกาลเทศะ เพราะปู่บอกว่าตามธรรมเนียมถ้าตีเชิดจีนเสร็จ นี่หมายถึงการประกาศท้ารบเลย ต่อจากนี้ต้องเดี่ยวกันแล้ว ซึ่งผมก็ไม่ทราบเรื่องนี้ ก็นับได้ว่าเป็นความรู้นอก ต�าราอีกอันหนึ่งที่ได้รับจากปู่ วัตรปฏิบัติอันงดงามที่ผมเห็นจนชินตาอีกอย่างหนึ่งของปู่ก็คือการ “ไหว้กราด” เวลาพบนักดนตรีไทยทั้งที่รู้จักและไม่รู้จักกัน โดยไม่ค�านึงว่าท่านเหล่านั้นจะอ่อนหรือแก่กว่าปู่ จนครั้งหนึ่งครู พินิจเคยปรารภกับผมในเชิงเย้าแหย่ปู่ให้ฟังว่า มือของครูส�าราญท่านยังกะ “ฝักถั่ว” ไหว้ไม่ทันท่านซักที อันทีจ่ ริงยังมีเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยอีกมากมายทีผ่ มมีโอกาสได้ซมึ ทราบมาจากปูแ่ ละอยากถ่ายทอดไว้ แต่ดว้ ย พื้นที่ที่ต้องเฉลี่ยให้มันไม่ยาวจนเกินงามจึงขอเล่าพอเป็นสังเขปไว้แต่เพียงเท่านี้ มรดกความรู้ดนตรีไทยที่ปู่ให้ไว้ ผมจะใช้มันให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์มากที่สุด ดังเช่นที่ปู่บอกผมไว้ครับ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

93


ไว้อำลัย อำจำรย์ส�ำรำญ เดวิด บลัตซ์

นักเรียนจำกเมือง Forchheim ประเทศเยอรมนี

เดวิด บลัตซ์ อายุ 15 ปี พักอาศัยอยู่ที่เมือง Forchheim ประเทศเยอรมนี ได้มีโอกาสไปกราบ ครูสา� ราญ เกิดผล กับคณะอาจารย์สมชาย เอีย่ มบางยูง เมือ่ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ด้วยความอาลัย รัก จากการจากไปของครูส�าราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ ของวงการดนตรีไทย การจากไปครั้งนี้ของครู ส�าราญเป็นการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ของเหล่าลูกศิษย์ทั้งหลาย แม้แต่ศิษย์น้อยอย่างเดวิด บลัตซ์ เด็กลูก ครึ่งไทยเยอรมัน เดวิดมีความประทับใจมากๆ ที่ได้ไปบ้านครูส�าราญเมื่อครั้งนั้นอย่างมาก เพราะได้เห็นบ้าน บ้านหลังหนึ่งซึ่งเต็มไปด้วยรอยยิ้มอย่างโอบอ้อมอารีของครู ความเมตตากรุณาที่มีให้กับเด็กลูกครึ่งตัว เล็กๆ ทีเ่ พิง่ จะเริม่ เล่นระนาดได้ไม่นาน บ้านนีม้ ที งั้ เครือ่ งดนตรีหลายชนิด ทีเ่ ก็บไว้อย่างทีเ่ ไม่ขาเคยเห็น มาก่อน อาหารกลางวันแสนอร่อย ความเมตตาของผูค้ นในบ้านทุกคน ครูสา� ราญบอกและสัง่ ว่า ถ้าอยากจะ เก่งต้องหมัน่ ฝึกซ้อม ตัวครูกต็ อ้ งซ้อมหนักมาตัง้ แต่เด็ก ครูยงั บอกด้วยความเมตตาว่า ถ้าได้กลับมาเทีย่ ว เมืองไทยอีก ก็ให้แวะมาเรียนกับครูได้เลย แต่วันนี้ครูจากไปโดยไม่มีวันกลับมา เดวิดรู้สึกเสียใจอย่าง สุดซึง้ และได้แต่ระลึกถึงความโอบอ้อมอารีที่ครูได้มีให้กบั เขา แล้วรู้สึกเสียใจอย่างสุดซึ้งที่ไม่มีโอกาสได้ ไปกราบครูอีกครั้งหนึ่ง

94

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ควำมทรงจ�ำของหลำนปู่ ทนงศักดิ์ เกิดผล

โรงเรียนศำสตร์ศิลป์ จังหวัดนครปฐม

ค�าว่า “ตีนเท่าฝาหอย” ค�าๆ นีเ้ ป็นค�าคุน้ เคยทีค่ นุ้ ชินมาตัง้ แต่สมัยเด็กตัวเล็กทีไ่ ด้ถกู ครูสา� ราญ เกิดผล ผู้ที่เป็นปู่แท้ๆ ได้อุปถัมภ์เลี้ยงดูผมมาตั้งแต่อายุผมได้ 2 เดือน พอโตขึ้นมาจ�าความได้ลางๆ ปู่จะพาผม ไปไหนเสมอและก็จะแนะน�ากับคนที่เข้ามาทักมาเจอ ว่าเจ้าเด็กน้อยคนนี้แหละ คือเจ้าต้น “หลานชาย เลีย้ งมันมาตัง้ แต่ตนี เท่าฝาหอย” ด้วยความผูกพันจากการเลีย้ งดู ผมรูส้ กึ รักปูไ่ ม่แตกต่างจากพ่อแท้ๆ เลย ทั้งปู่ทั้งย่าเปรียบได้กับพ่อแม่คนที่ 2 ของผม เกือบ 20 ปีที่ท่านทั้งสองได้ดูแลผมมา นอกจากความรักที่ ไม่สามารถบรรยายเรื่องราวทุกสิ่งอย่างได้หมด ยังคงจะมีเรื่องราวการปลูกฝังมรดกไทยซึ่งเป็นมรดกที่ปู่ ภาคภูมิใจนั่นคือ ดนตรีไทย ปูม่ กั จะประสิทธิประสาทวิชาดนตรีไทยและวิชาชีวติ ของความเป็นคนดีควบคูก่ นั ไปด้วยตลอด เครือ่ ง ดนตรีไทยชิ้นแรกที่ผมได้มีโอกาสเรียนกับปู่คือ ฆ้องวงเล็ก แต่ด้วยความเป็นเด็กก็มักจะห่วงเล่นมากกว่า ศึกษาวิชาดนตรี กล่าวง่ายๆ คือ ไม่ค่อยขยัน จนมีโอกาสได้อยู่ร่วมวงพาทยรัตน์จากเด็กในโครงการของ สมเด็จพระเทพฯ ท่านได้ทรงอุปถัมภ์ ผมได้มีโอกาสกลับเข้าสู่ช่วงฝึกหัดดนตรีไทยอย่างจริงๆ จังๆ ด้วย สถานภาพในวงตอนนั้นคือ เป็นนักร้องน�าของวง ด้วยความที่เป็นเด็ก เสียงยังไม่แตก ก็จะเหมือนผู้หญิง ปูพ่ าพวกเราออกหาประสบการณ์ไปทุกหัวระแหงทัง้ อยุธยาและจังหวัดใกล้เคียง ไม่วา่ จะเป็นงานบุญ งาน ขาวด�า หรืองานแสดงดนตรีต่างๆ ซึ่งพวกเรามองว่ามันคือโอกาสที่ปู่สร้างความเป็นนักดนตรีให้เราเลี้ยง ชีพตนเองได้ในอนาคต ส�าคัญที่สุดคือได้มีโอกาสเข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพฯ อยู่หลายครั้งทั้งพระราชวังสวน จิตรลดาและสถานที่ต่างๆ รวมทั้งที่บ้านของปู่เองที่สมเด็จท่านเสด็จมาเป็นการส่วนพระองค์ ตอนนั้นได้ ร้องเพลงต่อหน้าพระพักตร์ท่านและได้เข้าเฝ้าพระองค์ท่านพร้อมปู่ สมเด็จท่านถามปู่ว่าคนร้องนี้มาจาก ที่ไหน ปู่ทูลบอกกับพระองค์ท่านว่าเป็นหลานชายแท้ๆ ของกระผมเองพระพุทธเจ้าค่ะ สมเด็จท่านทรง ชื่นชมและรับสั่งให้สืบสานดนตรีไทยและรักษาเอาไว้ให้ดี ผมยังคงจดจ�าช่วงเวลาเหล่านั้นได้ดี ถือว่าเป็น บุญของผมอย่างยิ่งที่ได้มีโอกาสดีๆ เช่นนี้ หลังจากนั้นก็ยังคงท�าหน้าที่ขับร้องเพลงไทยเดิมเรื่อยมา ควบคู่กับการหัดตีระนาดซึ่งปู่ก็ได้ต่อเพลง ไล่มือให้ผมอยู่เสมอ อีกทั้งยังพาผมไปฝากตัวไปหาความรู้กับศิลปินครูผู้ใหญ่หลายท่านที่บ้านเครื่อง กรุงเทพฯ มีโอกาสได้เจอคุณหญิงไพฑูรย์ ครูสุจิตต์ มีโอกาสได้ศึกษาเพลงจากครูวิเชียร ครูมาลี เกิดผล ที่ บ้านใหม่ อยุธยา ซึง่ ปูจ่ ะพาผมไปฝากตัวเป็นศิษย์อยูเ่ สมอ จนกระทัง่ โตขึน้ เสียงแตกเนือ้ หนุม่ ก็ได้มโี อกาส เรียนดนตรีไทยอย่างจริงจังโดยใช้ระนาดทุ้มเป็นเครื่องมือหลักแต่นั้นมา ปู่ได้ต่อเพลงต่างๆ ทั้งผลงาน ประพันธ์ของปูเ่ องและเพลงสองชัน้ เพลงเถา เพลงตับ และเพลงเรือ่ ง ควบคูไ่ ปกับการร้อง และเรียนทฤษฎี โน้ตสากลไปด้วยในตัว ควบคู่กับการที่ปู่ก็ยังพาพวกเราออกงานอยู่อย่างสม�่าเสมอ จนกระทัง่ เข้าสูช่ ว่ งวัยมัธยมปลาย ก็มโี อกาสต่อเพลงเดีย่ วระนาดทุม้ ต่างๆ ทีป่ ตู่ งั้ ใจมอบให้ดว้ ยความ หวังทีจ่ ะให้มวี ชิ าติดตัวไปศึกษาต่อในระดับชัน้ ต่างๆ [สารถี, แขกมอญ, ลาวแพน, กราวใน, ดอกไม้ไพร ฯลฯ] อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

95


จนกระทั่งได้มีโอกาสเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งช่วง เวลานัน้ ปูก่ ย็ งั ท�าหน้าทีเ่ ป็นอาจารย์ทมี่ หาวิทยาลัยนัน้ ด้วย ซึง่ ผมเองก็ได้มโี อกาสเรียนกับครูอกี หลายท่าน เช่น ครูกาหลง ครูพินิจ ครูอุดม เป็นต้น ทั้งหมดทั้งสิ้นล้วนแต่เป็นความตั้งใจที่ปู่อยากจะให้เก็บเกี่ยววิชา ความรู้ดนตรีไทยให้ได้มากที่สุดในเครื่องมือระนาดทุ้ม จนกระทัง่ ปี 2547 ปูไ่ ด้ฝกึ ซ้อมเพลงเดีย่ วและส่งเข้าประกวดในรายการเยาวชนดนตรีแห่งประเทศไทย ของ Settrade ตอนนั้นได้รับรางวัลเหรียญเงิน จากการเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงสารถี โดยครูส�าราญเป็น ผูฝ้ กึ ซ้อม ซึง่ ตอนนัน้ เป็นรางวัลทีผ่ มภาคภูมใิ จมาก เพราะมันคือสิง่ ทีป่ ตู่ งั้ ใจและคาดหวัง จนกระทัง่ ปี 2548 ปูไ่ ด้รบั รางวัลศิลปินแห่งชาติ ถือว่าเป็นความภาคภูมใิ จของพวกเราในครอบครัวเป็นอย่างมาก เพราะปูไ่ ด้ ทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจให้กับดนตรีไทยมาสม�่าเสมอ ตั้งแต่เล็กจนโตผมยังไม่เคยเห็นปู่หยุดท�างานเลย ปู่ เป็นที่รักของลูกหลาน ลูกศิษย์ ปู่ใจดี มีแต่ให้ ไม่เคยบ่นว่าเหนื่อย จากวัยเด็กจนตอนนี้เข้าปีที่ 34 ของตัว ผมเอง ปู่ยังคงปลูกฝังบทเพลงให้ผมอยู่เสมอ ทุกช่วงเวลาที่ผมกลับบ้านและตั้งใจกลับไปต่อเพลงและไป หาท่าน ท่านเองก็จะสอนเสมอทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ความรู้และบทเพลงของปู่มีมากมายเหลือเกิน ปู่เป็น คลังเพลง เป็นทุกอย่างของพวกเราเหล่าลูกหลานและลูกศิษย์ ปู่แต่งเพลงจนช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต บทสนทนาสุดท้ายทีผ่ มมีโอกาสคุยกับปูย่ งั คงหนีไม่พน้ เรือ่ งความเป็นห่วงเป็นใยลูกหลานเสมอมา ทัง้ ถาม สารทุกข์สุกดิบ เรื่องงาน เรื่องอื่นๆ และบอกเสมอว่าให้เราเป็นคนดี รู้จักในค�าสอนของพระพุทธศาสนา และค�าพูดสุดท้ายในวันที่ผมเข้าไปลาปู่กลับบ้านที่โรงพยาบาลคือ ปู่ครับ ผมกลับก่อนนะเดี๋ยวผมมาใหม่ ปู่ตอบพร้อมกับเอามือจับหัวผม ขับรถดีๆ รถเยอะต้องระวังๆ ปู่ยังไม่หาย ปู่เหนื่อย ค�าว่า เหนื่อย ค�านี้ เป็นครั้งแรกๆ ในชีวิตผมที่ได้ยิน ปู่คงเหนื่อยมากจริงๆ เพราะช่วงเวลาของปู่เอง ปู่ไม่เคยพักเลย ไม่เคย บ่นเลย จวบจนวันนีป้ ไู่ ด้พกั ผ่อนแล้ว ปูไ่ ม่ตอ้ งเหนือ่ ยแล้ว ปูไ่ ด้จากไปตลอดกาลแล้ว เรือ่ งความเสียใจนัน้ ยาก ที่จะหาค�าพูดไหนมาเทียบเท่าได้ แต่ทุกๆ อย่างที่ปู่ได้สร้างไว้จะคงอยู่ในความทรงจ�า จะคงอยู่ในหัวใจ ของผมตลอดไป สุดท้ายนี้หากปู่รับรู้ได้ด้วยวิถีใดขอให้ปู่ทราบได้ว่าหลานชายคนนี้รักปู่ที่สุด และไม่มีช่วง เวลาไหนที่จะลืมปู่ได้เลย จะรักษาทุกๆ อย่างที่ปู่ให้ไว้ตลอดช่วงชีวิตของผม จะตั้งใจสืบสานดนตรีไทย เท่าที่ความสามารถของผมจะมีและท�าได้ และหากผมมีบุญ ผมขอเกิดเป็นลูกหลานปู่ทุกชาติไปครับ

96

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


รักพ่อ...สุดหัวใจ ต๋อย แต๋ว เพียงจันทร์ แหว๋ว โป๊ะ ษำ คงเดช บุตร-ธิดำ ครูส�ำรำญ เกิดผล

ความรู้สึกจากหัวใจเขียนให้พ่อ รันทดท้อพ่อจากไปไกลเกินฝัน เก้าสิบปีที่พ่อลูกผูกพันกัน ลูกไหวหวั่นก้าวต่อไปไม่มั่นคง ขาดที่พึ่งให้พักพิงอิงอกอุ่น ขาดพ่อหนุนให้ลูกหวังดังประสงค์ หนึ่งตุลาพ่อลาลับชีพดับลง ลูกบรรจงก้มกราบอาบน�้าตา พ่อหยุดเหนื่อยหยุดท�างานหยุดการสอน หยุดอาวรณ์เรื่องเจ็บไข้ให้รักษา เจ็บคราวนี้พ่อสุดท้อทรมา กรรมใดหนาพ่อมุ่งท�าแต่กรรมดี พ่อเขียนโน้ตเพลงทุกวันต้องการให้ ดนตรีไทยที่พ่อรักเป็นศักดิ์ศรี ต้องการให้ศิษย์สืบสานงานดนตรี คือสิ่งที่พ่อมุ่งหวัง...ก�าลังใจ พ่อคือครูผู้ให้ได้ทุกอย่าง แนะแนวทางถูกผิดวินิจฉัย ควรบรรเลงให้ไพเราะเสนาะใน รักษาไว้ซึ่งคุณค่าน่านิยม สูญสิ้นแล้วร่มโพธิ์ไทรให้กิ่งก้าน สูญสิ้นแล้วปิดต�านานส�าราญสม สูญสิ้นแล้วครูระนาดปราชญ์ชื่นชม สูญสิ้นร่มไม้ใหญ่พึ่งใบบุญ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

97


หมดสิ้นแล้วร่มโพธิ์ไทรในวันนี้ หมดสิ้นแล้วลูกไม่มีที่เกื้อหนุน หมดสิ้นแล้วลูกไม่มีที่ค�้าจุน หมดสิ้นแล้วอ้อมอกอุ่นกรุ่นเมตตา เหมือนบ้านขาดเสาหลักปักไม่แน่น โยกคลอนแคลนเอนโอนไหวไม่แน่นหนา บ้านเคยมีพ่อคอยอยู่ทุกเวลา พ่อหุงหาอาหารไว้ให้ทานกัน บ้านที่เคยอบอุ่นกรุ่นกลิ่นร�่า บ้านริมน�้าศูนย์รวมใจให้สุขสันต์ บ้านเกิดผลดลความสุขทุกทุกวัน บัดนี้พลันเงียบเหงา เศร้า ทุกข์ทน แม้เตรียมใจให้ยอมรับกับทุกสิ่ง ความเป็นจริงพ่อสอนไว้หลายหลายหน ต้องเกิด แก่ เจ็บ สุดท้าย ตายทุกคน บุญกุศลลูกควรสร้างทางไปดี พ่อสอนไว้เป็นผู้ให้ใจไม่ทุกข์ ให้แล้วสุขคนรักใคร่ไม่หน่ายหนี อย่ารังเกียจให้เมตตาเอื้ออารี ลูกคิดดีท�าความดีเท่านี้พอ ลูกจดจ�าค�าพ่อสอนอวยพรให้ สุขหรือทุกข์อยู่ที่ใจใช่ใครหนอ ถึงวันนี้ทุกเช้าค�่าน�้าตาคลอ ลูกไม่ท้อ พ่ออยู่ใกล้ ทั้งใจกาย ในวันนี้แม้ขาดพ่อต่อเติมสุข ลูกจะลุกก้าวเดินสู้สู่จุดหมาย ลูกของพ่อจะรักกันจวบวันตาย ขอพ่อฉันหลับสบาย สัมปรายภพ เทอญฯ

98

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

99


รัษศิษฏา เกลาพิมาย ถ่ายภาพ


บันทึกช่วงชีวิตเต็มเก้ำทศวรรษ ของ นำยส�ำรำญ เกิดผล ผู้รับรำงวัลศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง [ดนตรีไทย] พ.ศ. 2548 พิชชำณัฐ ตู้จินดำ/ เรียบเรียง

วิทยำลัยกำรดนตรี มหำวิทยำลัยรำชภัฏบ้ำนสมเด็จเจ้ำพระยำ

‘สาธุการ 3 ชัน้ ’ หัวโน้ตจุดด�าจากถ่านปลายดินสอบนกระดาษบรรทัดห้าเส้น ผลงานประพันธ์ ครูสา� ราญ เกิดผล ช่วง 4 เดือนเข้าพักรักษาตัวอยู่โรงพยาบาลภูมิพลฯ แม้โอกาสปรับแก้ส�านวนเพลงให้เรียบร้อยงามพร้อมสมบูรณ์ หรือฟังเสียงเรียบเรียงผลงานตนผ่านเครื่องตีปี่พาทย์เต็มวงไม่อาจมาถึง หากแต่นี่เป็นเครื่องยืนยันการท�างานอย่าง ยืนหยัดตลอดวันวัย 90 ปีจวบจนวาระสุดท้าย สื่อนัยผ่านงานเพลงบูชาพระไตรรัตน์ตามวิถีความเชื่อวัฒนธรรม ดนตรีไทย ที่ส�าคัญเพราะเป็นปรารถนาสูงสุดในชีวิตที่อุทิศด�ารงตนเป็น ‘ผู้ให้’ ด้วยก�าลังสติสัมปชัญญะของครูนั้น เต็มประสงค์ ที่ครูมักกล่าวย�้าอย่างเป็นปริศนาธรรมตามแต่ผู้ฟังจะตีความ ว่า ‘ผู้ให้ย่อมได้รับ’

ท�ำงำนเพื่อผู้อื่น นึกถึงผู้อื่นมำกกว่ำตน แน่นอนว่าวิชาแพทย์แผนไทยและแผนปัจจุบนั ทีร่ บั ถ่ายทอดจาก นายสวง เกิดผล1 [พี่ชาย] ย่อมเป็นจุดตั้ง ต้นการท�างานเพือ่ ผูอ้ นื่ และนึกถึงผูอ้ นื่ มากกว่าตน บนเส้น ทางสายวิชาชีพรับผิดชอบความเป็นตายเพือ่ นมนุษย์ของ ครูสา� ราญ โดยเฉพาะต�าแหน่ง ‘แพทย์ประจ�าต�าบล’ ต�าบล บางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทีร่ ฐั ขณะที่ครูส�าราญ เกิดผล เป็นแพทย์ประจ�าต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พี่ชายคือ นายสวง เกิดผล ก็เป็นแพทย์ประจ�า ต�าบลติดกัน คือต�าบลบ้านใหม่ อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา 1

ราชการแต่งตัง้ ให้เมือ่ พ.ศ. 2512 เป็นเหตุผลหลักส�าคัญ ที่ท�าให้ช้างเท้าหน้าอย่างครูส�าราญต้องเบนเข็มเหยียบ ย่างออกห่างแวดวงดนตรีปี่พาทย์ หลังใช้ชีวิตเคี่ยวกร�า ย�่าไปทุกแห่งหนบนโลกดนตรีมาอย่างยาวนานเกินกว่า ครึ่งอายุคน สุทธิรักษ์ กลึงศาสตร์ บุตรสาวครูส�าราญ ปัจจุบันเป็น ผูช้ ว่ ยผูอ้ า� นวยการฝ่ายวิชาการโรงเรียนเซนต์จอห์น บัปติสต์ อ�าเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เล่า “โดยนิสัยพ่อเป็นคนโอบอ้อมอารี เท่าที่เป็นพ่อลูกกัน มาพ่อไม่เคยว่าใครไม่ดี ทุกคนเป็นคนดีในสายตาเขา เพียง แต่วา่ ดีตรงไหนเท่านัน้ บางวันพ่อนัง่ หน้าบ้านแล้วคนขับเรือ จ้างขึน้ มายืมเงิน พ่อบอก ‘เขาอุตส่าห์ตั้งใจมายืมแล้วจะไม่ ให้ได้อย่างไร’ คิดว่าสูญเงินแน่ๆ แต่พ่อเข้าใจพูด ‘ยืมแล้ว

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

101


(ซ้าย) หนังสือส�าคัญแต่งตั้งเป็นแพทย์ประจ�าต�าบล ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แต่งตั้ง ณ วันที่ 6 ตุลาคม (ขวา) หนังสือส�าคัญแสดงหลักฐานการเป็นก�านัน ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้ไว้ ณ วันที่ 9 มิถุนายน

ถ้าเขาไม่คืนก็มาเอาเพิ่มอีกไม่ได้ ครั้งเดียว ถ้าอยากให้เรา ช่วยอีกเขาคงเอาเงินมาคืนให้แล้ว’ อีกอย่างคือเป็นคนเกรงใจ คน ช่วงหลังๆ ไปสอนที่มหาวิทยาลัยมหิดล ถ้านักเรียน นักศึกษาไม่ถามทานอะไร ข้าวน�้าก็ยอมอดทั้งวัน ขากลับ ถึงแวะเซเว่นนั่งกินมาในรถ นี่คือพ่อ “ขึน้ ชือ่ มากเรือ่ งยาหม้อแก้อมั พฤกษ์ อัมพาต ปากเบีย้ ว โรคลม ยากวาดลิน้ เป็นหมอต�าแยท�าคลอดแบบโบราณ คน อายุช่วงสี่สิบกว่าในต�าบลบางชะนีทุกวันนี้ คือเด็กที่พ่อ ท�าคลอดแรกเกิดให้ทงั้ นัน้ ต้มน�้าร้อนให้เบ่งแล้วเอามือล้วง หัวเด็กออกมา เสร็จแล้วเจียดยาขับเลือดขับน�า้ คาวปลาของ เสียในร่างกาย บ้านเราจึงมีคนไข้ไปมาตลอด ให้พ่อฉีดยา แก้ไอไข้หวัดแก้อักเสบสารพัด แต่ก่อนเดินทางเข้าตัวเมือง ไปโรงพยาบาลล�าบาก คนไข้มาไม่ได้กต็ อ้ งถีบจักรยานไปหา มืดๆ ค�่าๆ หน้าน�้าถ้ารถไปไม่ถึงก็ใช้เรือพายไปแทน ส่งลูก เรียนจบเจ็ดคนตัวคนเดียว ถ้าไม่อดทนอดกลัน้ จริงๆ คงท�า ไม่ได้” 102

พร้อมๆ กับการมาถึงของต�าแหน่งแห่งที่ทางสังคม ที่ ครูสา� ราญได้รบั เลือกให้ดแู ลสุขทุกข์ความเป็นอยูข่ องลูกบ้าน ในปกครองหมู่ 5 ต�าบลบางชะนี และขยายความรับผิดชอบ ดูแลคนทั้งต�าบลในต�าบลเดียวกันอีกในเวลาต่อมา คือเป็น ผูใ้ หญ่บา้ น2 และก�านัน3 นอกเหนือจากภาระทางครอบครัว ที่ต้องประคับประคองสถานการณ์หัวเลี้ยวหัวต่อเศรษฐกิจ ก�าลังทรัพย์การใช้จ่ายของทั้งแปดชีวิตในบ้าน คือของทั้ง ได้รับเลือกให้ด�ารงต�าแหน่งเป็น ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 ต�าบลบางชะนี อ�าเภอ บางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2516 2

ได้รับเลือกให้ด�ารงต�าแหน่งเป็น ก�านัน ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2518 [หนังสือ ส�าคัญแสดงหลักฐานการเป็นก�านัน ให้ไว้ ณ วันที่ 9 มิถุนายน] จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2530 ต่อมาได้ด�ารงต�าแหน่งเป็นเทศมนตรี และที่ปรึกษานายก เทศมนตรี 3

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เยาวชนในโครงการ ‘สืบทอดศิลปะดนตรีไทยในพระด�าริฯ’ ใช้วิธีการเรียนการสอนแบบโบราณและเจาะจงจัดตั้งบ้านพักส่วนตัวของครูส�าราญ เกิดผล ตั้งอยู่ริมแม่น�้าเจ้าพระยา ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นส�านักเรียน

ภรรยา4 และบุตรธิดาอีกเจ็ดคน5 ที่แม้สถานภาพความเป็น ‘ผูน้ า� ’ ในสังคมอาจเปิดช่องรับผลประโยชน์ ‘กอบโกย’ หาก แต่ครูส�าราญกลับเลือกตรงไปตรงมาที่จะ ‘เสียสละ’ และ ‘แบ่งปัน’ สุทธิรกั ษ์ กลึงศาสตร์ เล่า “อย่างถนนเส้นหลังบ้านเมือ่ ก่อนเป็นลูกรัง พ่อจะถูกยิงหัวก็เพราะถนนเส้นนี้ ขอให้เขา เทปูนท�าทางให้แต่มันบางไม่ได้มาตรฐาน พ่อก็ไม่ยอมเซ็น รับส่งงาน แอบยื่นเงินใต้โต๊ะให้พ่อพ่อก็ไม่รับ ไม่รับอย่าง เดียวแล้วก็ไม่เอาอะไรทั้งนั้น สุดท้ายต้องยอมแก้ไข ที่พวก เรากลัวมากเพราะเมื่อก่อนมืดๆ ค�่าๆ ก�านันต้องเดินออก ตรวจตามหมู่บ้าน จัดเวรยามไปกับผู้ใหญ่ ฉะนั้นทั้งห้าหมู่ ในต�าบลนี้พ่อย�่ามาหมดแล้ว ส่วนใหญ่เกรงใจเพราะเป็น คนไข้ของพ่อ เขาเรียก ‘หมอราญ’ สมัยนั้นพกปืนด้วยแต่ 4 ครูส�าราญ เกิดผล สมรสกับนางทองอาบ [ดนตรี] [2469-2548] ใน พ.ศ. 2492 บุตรสาวนายชั้นและนางสมบุญ ดนตรี เจ้าของวงปี่พาทย์ประจ�าต�าบล บางชะนี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เหตุผลเพราะนางสมบุญมีที่นาทางแถบฝั่ง หลังวัดจุฬามณีเป็นจ�านวนหลายแปลง ช่วงเวลาระยะหนึ่งครูส�าราญจึงต้อง หันไปท�านาควบคู่กับการท�าปี่พาทย์หากินเพื่อน�ารายได้เลี้ยงดูจุนเจือ ครอบครัว

1. สุนทร เกิด พ.ศ. 2492 ข้าราชการบ�านาญ ยศ ร.ต. สังกัด ร. พัน 1 ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ 2. อุบล เกิด พ.ศ. 2494 ข้าราชการบ�านาญ อดีตอาชีพพยาบาลโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าและโรงพยาบาลค่ายสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช 3. เพียงจันทร์ เกิด พ.ศ. 2496 อาชีพครูโรงเรียนอัส สัมชัญคอนแวนต์ 4. จันทร์เพ็ญ เกิด พ.ศ. 2500 ข้าราชการบ�านาญ อดีต อาชีพครูโรงเรียนอุดมศีลวิทยา 5. สุทธิรักษ์ เกิด พ.ศ. 2503 อาชีพครูโรงเรียน เซนต์จอห์น บัปติสต์ 6. อุษา เกิด พ.ศ. 2505 อดีตอาชีพครูโรงเรียน อ�านวยศิลป์ 7. คงเดช เกิด พ.ศ. 2508 อาชีพท�างานกรมสรรพสามิต

ไม่มีอิทธิพล พ่อใช้พระคุณดูแลลูกบ้านมากกว่าที่จะใช้ พระเดช” โดยเฉพาะชัดเจนมากเมือ่ ได้รบั ความไว้วางพระราช หฤทัยจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี โปรดฯ เลือกให้ครูส�าราญเป็นครูสอนดนตรีไทย แก่เด็กชายจากกรมประชาสงเคราะห์ในโครงการ ‘สืบทอด ศิลปะดนตรีไทยในพระด�าริฯ’ ใช้วธิ กี ารเรียนการสอนแบบ โบราณและเจาะจงจัดตัง้ บ้านพักส่วนตัวของครู ตัง้ อยูร่ มิ แม่น�้าเจ้าพระยา ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เป็นส�านักเรียน พร้อมทัง้ พระราชทาน ชือ่ ว่า ‘ศูนย์สง่ เสริมและเผยแพร่ดนตรีไทยในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี’ เริ่ม ด�าเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 25336 และต่อเนื่องยาวนานมา เป็นเวลาอีกนับ 10 ปี7 ครูสา� ราญ เกิดผล เคยให้สมั ภาษณ์วารสารเพลงดนตรี ในบทความ เรื่อง ‘ครูส�าราญ เกิดผล คนดีศรีอยุธยา คลัง วิชาปี่พาทย์ฝั่งธนฯ’ เขียนโดยกองบรรณาธิการ ว่า 6

5

หลังจากเกษียณอายุราชการจากต�าแหน่งก�านันใน พ.ศ. 2530

อ่านรายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติมในเรื่องเดียวกันได้จากบทความ เรื่อง ‘ครูส�าราญ เกิดผล คนดีศรีอยุธยา คลังวิชาปี่พาทย์ฝั่งธนฯ’ โดย กองบรรณาธิการ และเรื่อง ‘ครูส�าราญ เกิดผล กับงานศูนย์ส่งเสริมและ เผยแพร่ดนตรีไทยในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี’ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์ ใน วารสาร เพลงดนตรี ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2545 ส�านักพิมพ์วิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล 7

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

103


เยาวชนในโครงการ ‘สืบทอดศิลปะดนตรีไทยในพระด�าริฯ’ ทูลฯ ถวายการบรรเลงดนตรีไทย ณ อาคารชัยพัฒนา สวนจิตรลดา

“ผมกับเด็กจากกรมประชาสงเคราะห์เรากินอยูเ่ หมือน กัน แทนทีผ่ มจะนอนทีน่ อนในห้องก็นอนอยูก่ บั พวกเขา เพือ่ ให้เขาเห็นว่าเรากับเขานี่เป็นคนเหมือนกัน คือไม่ได้แบ่ง ชนชัน้ วรรณะ เขาจัดหน้าทีใ่ ห้กท็ งั้ ดีใจแล้วก็เป็นทุกข์ เพราะ นักดนตรีโบราณเขาจะไม่รบั เด็กลักษณะนีเ้ ข้ามาเรียน โบราณ เขาคัดคน แต่ท่ีดีๆ ก็มีนะครับ เป็นส่วนน้อย ส่วนมากจะ เจอดินทรายปั้นไม่ได้เลย กะเทาะแล้วมันหลุดหมด ถ้าเจอ ดินเหนียวก็พอจับปั้นกันได้ หรือดินปนทรายก็ยังดี บางคน นี่ดินทรายแท้ๆ เลยครับ คือร่วนจับไม่ติด “อีกอย่างคือผมไม่ได้สอนเฉพาะวิชาการ ผมสอนกระทัง่ มารยาทซึ่งเราได้เรียนรู้มาจากครูบาอาจารย์ดั้งเดิมเป็นมา อย่างไร ผมถึงกล้าพูดได้เลยครับว่า ผมเป็นผูใ้ ห้จริงๆ ให้ทงั้ วิชาการ มารยาท เงินก็ต้องให้เขา พอเรียนดนตรีเสร็จแล้ว ก็ต้องส่งให้เรียนหนังสือด้วย โรงเรียนประถมก็โรงเรียน วัดโบสถ์ โรงเรียนมัธยมก็โรงเรียนบางบาล จบปริญญาตรีที่ ราชภัฏพระนครศรีอยุธยาไปแล้ว 4-5 คน จากไม่เป็นอะไร เลย พอรับปริญญาแล้วนี่ก็เสร็จภาระเรา ถือว่าเราเป็นเรือ จ้างส่งเขาถึงที่”8 คัดจากบทความ เรื่อง ‘ครูส�าราญ เกิดผล คนดีศรีอยุธยา คลังวิชา ปี่พาทย์ฝั่งธนฯ’ โดยกองบรรณาธิการฯ ใน วารสารเพลงดนตรี ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2545 ส�านักพิมพ์วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล 8

104

กรมงคล รณรงค์9 อายุ 39 ปี คนจังหวัดนครราชสีมา ช่วง พ.ศ. 2553 พักอยู่จังหวัดนนทบุรี อาชีพครูสอนดนตรี ไทยโรงเรียนผาสุกมณีจักรมิตรที่ 116 ศิษย์ครูส�าราญ เกิด ผล อดีตเยาวชนที่ประสบความส�าเร็จจากโครงการฯ เล่า “วิธีเลี้ยงลูกศิษย์ของพ่อเขาจะไม่พูดมาก ส่วนใหญ่ ปฏิบัติให้ดูกับมีความสุขที่จะให้ พ่อชอบท�ากับข้าวแล้วท�า อร่อย ว่างไม่ได้ ปลาร้านี่ชอบมาก ทั้งหลน สับ ทอด โดย เฉพาะเมื่อเสร็จงานบรรเลงส�าคัญหรือประชันปี่พาทย์แล้ว อยากกินอะไรพ่อท�าเลี้ยง คือเขาปลอดโปร่งโล่งใจ ทุกเช้า ต้องตืน่ ก่อนลูกศิษย์ บางทีมลี องใจ ท�าอะไรก็แล้วแต่ไม่มคี า� ว่าหลัง ปลุกไม่ลุกตื่นเดี๋ยวโดนน�้าชาร้อนๆ สาด ที่ประทับ ใจมากคือพ่อจะนั่งนับเหรียญตั้งเป็นกองๆ ให้ไปโรงเรียน ทุกเช้า เสาร์อาทิตย์นอ้ ยมากทีจ่ ะเห็นเขาพัก ไม่นงั่ เขียนโน้ต อดีตเยาวชนจากกรมประชาสงเคราะห์ ชื่อสถานสงเคราะห์ ‘กรมประชาสงเคราะห์ บ้านมูลนิธิมหาราช’ นอกจากนี้ เยาวชนจาก กรมประชาสงเคราะห์ที่เข้าร่วมโครงการฯ ยังมีรายชื่อดังต่อไปนี้ [รุ่นแรก] ได้แก่ จ�ารัส-จ�าลอง เจริญสุข สุรเชษฐ์-สุรชัย สุขสบาย ธเนศ อุกกระโทก ยุทธพงศ์ หอมจันทร์ เมืองทอง เม้าราศี วีรยุทธ์ โพธิ์ศรี เดชา ฉัตรตรี ต้อม คงพอบ [รุ่นต่อมา] ได้แก่ พิรุณ บุญพบ รณรงค์ กรมงคล สุทัศน์ เมืองพรหม ประเสริฐ-มนัส สภาพญาติ ก�าพู อักษร เปรม [สืบค้น นามสกุลไม่ได้] และยังมีเยาวชนในละแวกใกล้เคียงที่ร่วมโครงการฯ อีกด้วย อาทิ ปิยะ เทนโพธิ์ ณัฐวุฒิ รักขิณี เป็นต้น รวมไปถึงนักเรียนจากโรงเรียน สิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี อีกจ�านวนหนึ่ง น�าโดยอาจารย์ศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ [เข้า ร่วมโครงการฯ ช่วง พ.ศ. 2542-พ.ศ. 2544] 9

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


พระราชทานชื่อวงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน ว่า ‘พาทยรัตน์’ เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2530 ที่บ้านนายสังเวียน เกิดผล บ้านเลขที่ 57 หมู่ 4 ต�าบลบ้านใหม่ อ�าเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยทรงให้เลือกชื่อระหว่าง ‘พาทยรัตน์’ กับ ‘พาทยสุนทร’ และมีกระแสพระราชด�ารัสตรัส ถามครูส�าราญว่า เหตุใดจึงไม่เลือก ‘พาทย สุนทร’ เพราะเป็นนามสกุลครู [ครูอาจ สุนทร] ครูส�าราญทูลฯ ตอบว่า ‘ค�าว่า รัตน์ นี้หมายถึง พระนามของพระองค์ ถือเป็นบุญสูงสุดของวง ปี่พาทย์บ้านใหม่’

คัดเพลงก็มีแขกคนไข้มาหา “พ่อเป็นคนไม่ชมลูกศิษย์ แต่พวกเราจะรู้จากปากคน อื่นที่พ่อไปเล่า ดุเป็นหลักเพื่อไม่ให้เหิมเกริม บางคนเกเร เอาไม่อยูก่ ต็ อ้ งตี แล้วตีดว้ ยหวายหนักๆ ผิดจริงจะเรียกเด็ก ทั้งบ้านมาอบรม บางทีหนีเที่ยวกลับดึกๆ เขารู้นะ แต่บาง ครัง้ ก็ปล่อย เช้าขึน้ จะแซวว่า ‘สนุกไหมล่ะเมือ่ คืน’ ถามอย่าง นี้แสดงว่าต้องรู้ คือมีทั้งเคร่งทั้งผ่อน เพราะต่อเพลงซ้อม เพลงหนัก มีอยูค่ รัง้ ผมร้องเพลงผิดนัง่ อยูห่ น้าวงปีพ่ าทย์ เขา เดินมาข้างหลังไม่ทนั รูต้ วั ฟาดเลย ไม้เรียวเลีย้ วมาโดนปาก นี่ ร้องเพลงด้วยร้องไห้ไปด้วย พ่อพูดสั้นๆ ว่า ‘โตขึ้นแล้ว จะรู้เองว่าท�าไมถึงต้องท�าอย่างนี้’”

มำตรฐำนชีวิตผู้น�ำ ควำมหวังคนรุ่นพัฒนำ ปฏิเสธไม่ได้ว่า ด้วยความเป็นผู้น�าระดับชุมชนและ ครอบครัว ทัง้ ได้รบั นับหน้าถือตาจากแวดวงสังคมในฐานะ เดิมที่มีชื่อเสียงจากการเป็นนักดนตรีปี่พาทย์ในท้องที่ เป็นแพทย์ และเจ้าหน้าทีห่ น่วยงานรัฐราชการ ความเข้ม งวดกวดขันเคร่งครัดกฎระเบียบวินัยและความละเอียด ถีถ่ ว้ นหลายเรือ่ งของครูสา� ราญจึงแสดงออกผ่านมาตรฐาน การใช้ชีวิตความเป็นอยู่หลายด้าน ไม่ว่าเป็น การวางตัว ทัง้ บุคลิกภาพ การแต่งกาย ภาษาทีใ่ ช้สนทนา การท�างาน ที่ต้องวางแผนล่วงหน้าทุกครั้ง ความรับผิดชอบและตรง ต่อเวลา

สุทธิรกั ษ์ กลึงศาสตร์ เล่า “พ่อไม่เคยแสดงกิรยิ าหยาบ คาย ให้ด่าหยาบคายแล้วตะโกนทะเลาะกับใครนั้นไม่มี แต่ จะมีค�าพูดเหน็บให้เจ็บใจ ถ้าโกรธจัดๆ จะนั่งนิ่ง ใช้ความ เงียบสยบ ทุกอย่างในบ้านเลยเงียบกันหมด เป็นคนดุมาก แล้วระเบียบจัด เมื่อก่อนนั่งทานข้าวกับพ่อเป็นเวลาที่ไม่มี ความสุข เพราะถ้าช้อนส้อมกระทบจานดัง พ่อจะเหลือบ ตามอง เกร็งนะ ใช้ช้อนกลาง หกไม่ได้ กินข้าวค�าน�้าค�าไม่ ได้ นั่งคุยหรือลุกก่อนผู้ใหญ่ไม่ได้ งานวัดอยู่แค่นี้ก็ไม่ให้ไป บางทีแต่งตัวแล้วคิดว่าเขาอนุญาต เขาถามว่าจะไปไหนแล้ว ใครอนุญาต พวกเราก็ต้องกลับขึ้นไปเปลี่ยนเสื้อผ้านอน “พ่อพูดเสมอว่า บ้านเรามีส้วมอยู่หน้าบ้านห้าใบ ไม่รู้ ว่าส้วมใบไหนจะแตกส่งกลิ่นก่อน เวลานั่งคุยกับผู้ชายห้าม นัง่ เข่าชิดติดกัน ห้ามพาแฟนผูช้ ายเข้าบ้านจนกว่าจะมาสูข่ อ ตามประเพณี เข้าได้กต็ อ่ เมือ่ มาสูข่ อแล้วก็มาขอแต่งงานเลย ฉะนั้นลูกทุกคนเมื่อเห็นสายตาพ่อแล้วจะรู้ว่าชอบหรือไม่ ชอบ เช่นไปวัดแล้วนุ่งกางเกงขายาว เพราะสมัยนี้ใครก็นุ่ง ไปกันทั้งนั้น เขาก็จะเหลือบตามอง มองแล้วก็ต้องกลับขึ้น ไปเปลี่ยนเป็นผ้าถุงหรือกระโปรงยาวเพื่อที่จะไปวัด ระยะ ห่างมันแคบเข้าตอนทีพ่ อ่ ไปสอนทีม่ หาวิทยาลัยมหิดล เจอ ลูกศิษย์เล็กๆ แล้วต้องปรับตัวเข้ากับเด็กรุ่นใหม่ ตั้งแต่นั้น มาคือปีที่พ่อเริ่มหย่อนเรื่องเหล่านี้ลงบ้าง” เพราะหากพิจารณาช่วงวันวัยเติบโตตั้งแต่เด็กถึงรุ่น หนุ่มของครูส�าราญแล้วท�าให้ทราบว่า ดูเหมือนครูจะเป็นผู้ แบกรับความฝันความหวังกิจการวงดนตรีปพ่ี าทย์ของตระกูล ‘เกิดผล’ ให้กา้ วหน้าต่อไปได้อกี ขัน้ ด้วยก�าลังขับเคลือ่ นของ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

105


คนรุ่นใหม่ต่อจากบรรพบุรุษ ฐานะผู้น�าในคนรุ่น ‘พัฒนา’ รองจากรุ่น ‘ก่อตั้ง’ คือชั้นปู่และย่า10 และรุ่น ‘บุกเบิก’ คือ ชั้นพ่อและอา11 มีความส�าคัญเพราะเป็นตัวกลางเชื่อมต่อ สรรพวิชาขุมคลังปัญญาจากครูอาจารย์หลายท่าน อาทิ ครู ปู่ชื่อ นายวน [2409-2481] เป็นชาวจีน เดิมแซ่ตัน บรรเลงเครื่องดนตรีจีน ได้ [ปี่] ย่าชื่อ นางช้อน [2409-2489] ทั้งสองเป็นต้นตระกูลครอบครัวเกิดผล [สายจังหวัดพระนครศรีอยุธยา] ที่สามารถสืบค้นขึ้นไปถึงได้ด้วยหลักฐาน รูปภาพเก่าของทั้งสองท่านและค�าบอกเล่าจากปากคนในตระกูล นายวนและ นางช้อนเป็นผู้ก่อตั้งวงปี่พาทย์ [เครื่องใหญ่] หนังใหญ่ [สามศึกจ�านวนนับร้อย ตัว] แตรวง อังกะลุง และลิเก ของตระกูลเกิดผล ชาวบ้านในอดีตจึงมักเรียก เป็นค�าคล้องจองว่า ‘ปี่พาทย์นายวนลิเกยายช้อน’ [อ่านรายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติมในเรื่องเดียวกันได้จากวิทยานิพนธ์ เรื่อง ‘การถ่ายทอดความรู้ของวงปี่ พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา’ ของพิชชาณัฐ ตู้จินดา สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ไทย ภาควิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2553] 10

บุตรธิดาของนายวนและนางช้อน จ�านวน 6 คน ได้แก่ 1. นางชื่น สมรสกับนายเปลื้อง กุหลาบแย้ม มีบุตร 1 คน คือ นายโปร่ง บรรเลงเครื่องดนตรีปี่พาทย์ได้ 2. นายหงส์ [-2476] บรรเลงเครื่องดนตรีปี่พาทย์ได้ เชิดหนังใหญ่และแสดง โขนได้ เป็นผู้ดูแลวงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบนก่อนนายสังเวียน เกิดผล สมรสกับนางสังวาล [2437-2505] คนจังหวัดอ่างทอง แม่เพลงพื้นบ้าน มีบุตร ธิดา 8 คน ได้แก่ 1. นางศิริ บรรเลงเครื่องดนตรีไทยได้ สมรสกับนายผวน บุญจ�าเริญ [2454-] คนอ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นักดนตรีวง แตรวง ศิษย์ครูเทียบ คงลายทอง นักดนตรีวงปี่พาทย์วังบางคอแหลม มีบุตร ธิดา 8 คน ที่มีความสามารถด้านดนตรี ได้แก่ นายสมนึก มีชื่อเสียงและฝีมือ บรรเลงเครื่องเป่าไทย [สมรสกับนางสุรินทร์ บุตรที่มีความสามารถด้านดนตรี ได้แก่ นายเทียมเทพ นายวรเทพ นายสุเทพ] นายประพาส และนายสุริยา 2. นายสวง เกิดผล [2460-2525] มีชื่อเสียงและฝีมือบรรเลงเครื่องหนังไทย ศิษย์ พระพาทย์บรรเลงรมย์ [พิมพ์ วาทิน] ได้รับฉายา ‘อัศวินแหวนเพชร’ นักดนตรี วงปี่พาทย์วังบางคอแหลม สมรสกับนางผล มีบุตรธิดา 9 คน ที่มีความ สามารถด้านดนตรี ได้แก่ นางบุปผา นายอุทัย นายนิเวศน์ 3. นางสาวสวัสดิ์ เกิดผล 4. นางสมถวิล บรรเลงเครื่องดนตรีไทยได้ สมรสกับนายวิรัส กลิ่น สุคนธ์ มีบุตรธิดา 6 คน 5. นางแสวง ขับร้องเพลงไทยได้ สมรสกับนาย ประสิทธิ์ ตันฑะตนัย มีบุตรธิดา 4 คน 6. ครูส�าราญ เกิดผล 7. นางลออ บรรเลงเครื่องดนตรีไทยได้ สมรสกับนายสวง มีวีรสม มีบุตรธิดา 7 คน 8. ครู จ�าลอง เกิดผล [2474-2557] มีชื่อเสียงและฝีมือบรรเลงฆ้องวงใหญ่ ศิษย์ครู ช่อ สุนทรวาทิน สมรสกับนางกิ้มลี้ มีบุตรธิดา 4 คน 3. นายจ�ารัส บรรเลงเครื่องดนตรีปี่พาทย์ได้ มีฝีมือบรรเลงระนาดเอก ศิษย์ ครูเพ็ชร จรรย์นาฏย์ สมรสกับนางเผื่อน 4. นายพวง บรรเลงเครื่องดนตรีปี่พาทย์ได้ มีฝีมือบรรเลงฆ้องวงเล็ก ศิษย์ครู เพ็ชร จรรย์นาฏย์ สมรสกับนางทองอาบ มีบุตรบุญธรรม 1 คน บรรเลง เครื่องดนตรีปี่พาทย์ได้ คือ นายวัฒนะ 5. นายสังเวียน [2450–2532] บรรเลงเครื่องดนตรีปี่พาทย์ได้ มีฝีมือบรรเลง ฆ้องวงใหญ่ ศิษย์ครูเพ็ชร จรรย์นาฏย์ สมรสกับนางทองย้อย มีบุตรธิดา 3 คน ทั้งหมดมีความสามารถด้านดนตรี ได้แก่ 1. นายส�าเริง 2. นางจุไร 3. นางสาวเบญจา และสมรสอีกครั้งกับนางชั้น มีบุตรธิดา 3 คน ทั้งหมดมีความ สามารถด้านดนตรี ได้แก่ 1. นางมาลี มีชื่อเสียงและฝีมือด้านการขับร้อง [สมรสกับนายบุญผูก สุขเสียงศรี บุตรที่มีความสามารถด้านดนตรี ได้แก่ นาย เรืองศักดิ์] 2. นายวิเชียร มีชื่อเสียงและฝีมือบรรเลงระนาดเอก ต่อมาได้ ควบคุมวงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบนต่อจากบิดา [สมรสกับนางสมพงษ์ มี ธิดา 1 คน ขับร้องเพลงไทยได้ดี คือ นางวิภาพร] 3. นางสาวศรีทอง 6. นางชด สมรสกับนางเผือด พวงประดับ มีธิดา 1 คน 11

106

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ครูส�าราญ เกิดผล เป็นผู้แบกรับความฝันความหวังกิจการวงดนตรีปี่พาทย์ของตระกูล ‘เกิดผล’ ให้ก้าวหน้าต่อไปได้อีกขั้น ฐานะผู้น�าในคนรุ่น ‘พัฒนา’ รองจากรุ่น ‘ก่อตั้ง’ คือชั้นปู่และย่า และรุ่น ‘บุกเบิก’ คือชั้นพ่อและอา [ถ่ายที่วัดนนทรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ยืนจากซ้าย วัฒนะ เกิดผล วิเชียร เกิดผล กระแสร์ แก้วก�าเนิด [คนที่ 5] นั่งจากซ้าย ส�าเริง เกิดผล ส�าราญ เกิดผล สังเวียน เกิดผล]

ฉัตรและครูช่อ สุนทรวาทิน ครูอาจ สุนทร ครูพุ่ม บาปุยะ วาทย์ ผ่องถ่ายความรูส้ เู่ ครือญาติในตระกูล ผ่านสายตาอัน ชาญฉลาดวิสยั ทัศน์ยาวไกลและเบือ้ งหลังสนับสนุนของผูน้ า� วงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบนสมัยนั้น คือ นายสังเวียน เกิดผล12 ที่ครูส�าราญไม่เพียงพิสูจน์ตนเองด้วยขยันหมั่นเพียร ฝึกปฏิบตั พิ ฒ ั นาฝีมอื ดนตรี หากแต่ตอ่ มายังน�าพาวงปีพ่ าทย์ ภูธรราษฎร์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อย่างวงปี่พาทย์บ้าน ใหม่หางกระเบน ให้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงกว้างด้วย ฝากฝีมือท�างานดนตรีหลายครั้งส�าคัญระดับประเทศ โดย เฉพาะสืบทอดวิธีบรรเลงและบทบาทผู้นา� อนุรักษ์บทเพลง เก่าหายากของส�านักดนตรีพาทยโกศล ตามแนวทางจางวาง ทัว่ พาทยโกศล ตัง้ อยูแ่ ขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ กระทัง่ ได้รบั มงคลนามพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้ชื่อวงปี่พาทย์บ้านใหม่ ครูส�าราญ เกิดผล ได้เป็นศิษย์ครูเพ็ชร จรรย์นาฏย์ [แม้ช่วงเวลาหนึ่ง] เป็น ศิษย์ดนตรีส�านักพาทยโกศล ได้ต่อเพลงจากครูฉัตรและครูช่อ สุนทรวาทิน ครูอาจ สุนทร ครูเอื้อน กรเกษม และครูพุ่ม บาปุยะวาทย์ ก็เพราะนาย สังเวียน เกิดผล [อา] เป็นผู้ประสานให้อย่างส�าคัญ แม้แต่ส่งไปเรียนเพลง มอญจากบ้านนายเจิ้น นายเสงี่ยม นายสงวน ดนตรีเสนาะ จังหวัดปทุมธานี ทั้งนี้ ครูส�าราญเคยเขียนค�าไว้อาลัยถึงนายสังเวียน ว่า ‘ท่านได้สร้างข้าพเจ้า ขึ้นมาด้วยเจตนาอันบริสุทธิ์’ [อ่านรายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติมในเรื่องเดียวกัน ได้จากข้อเขียน เรื่อง ‘ปูชนียบุคคลตระกูลเกิดผล’ โดยนายส�าราญ เกิดผล ใน หนังสือที่ระลึกงานเสด็จฯ พระราชทานเพลิงนายสังเวียน เกิดผล พ.ศ. 2532 ณ วัดบ�ารุงธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา] 12

หางกระเบน ว่า ‘พาทยรัตน์’13 ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ นายแพทย์พนู พิศ อมาตยกุล มีความเคารพรักสนิทสนมมากกับครูสา� ราญอย่างส�าคัญและ สัมพันธ์อนั ยาวนาน ด้วยร่วมท�างานและช่วยเหลือประสาน งานต่างๆ เสมอมา ทั้งยังเป็นกระบอกเสียงประชาสัมพันธ์ ข่าวสารให้วงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน ทั้งจากรายการ วิทยุ ‘สังคีตภิรมย์’14 และคอลัมน์ ‘สยามสังคีต’15 บน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ เล่า พระราชทานเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2530 ที่บ้านนายสังเวียน เกิดผล บ้านเลขที่ 57 หมู่ 4 ต�าบลบ้านใหม่ อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยทรงให้เลือกชื่อระหว่าง ‘พาทยรัตน์’ กับ ‘พาทยสุนทร’ และมีกระแสพระราชด�ารัสตรัสถามครูส�าราญว่า เหตุใดจึงไม่เลือก ‘พาทย สุนทร’ เพราะเป็นนามสกุลครู [ครูอาจ สุนทร] ครูส�าราญทูลฯ ตอบว่า ‘ค�าว่า รัตน์ นี้หมายถึงพระนามของพระองค์ ถือเป็นบุญสูงสุดของวงปี่พาทย์บ้าน ใหม่’ 13

รายชื่อเพลงไทยจ�านวน 95 รายการ ผลงานการบรรเลงของวงดนตรีไทย คณะ ‘พาทยรัตน์’ ควบคุมการบรรเลงและฝึกซ้อมโดยครูส�าราญ เกิดผล บันทึกเสียงไว้ ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด สาขาผ่านฟ้า เพื่อ จัดท�ารายการวิทยุ ‘สังคีตภิรมย์’ เผยแพร่ทางวิทยุกระจายเสียงในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค งานของศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาต ยกุล บันทึกเสียงโดยนายศิขิน พงษ์พิพัฒน์ ตั้งแต่วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2526 ถึงวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 [รายละเอียดชื่อเพลง วัน/เดือน/ปี ที่ บันทึก พร้อมทั้งรายชื่อผู้บรรเลงตามเอกสารแนบท้ายบทความ] 14

จ�านวน 6 ฉบับ ได้แก่ฉบับประจ�าวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2526, วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526, วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529, วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2529 วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 และวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2538 [รายละเอียดเนื้อความตามเอกสารแนบท้ายบทความ] 15

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

107


“ชีวิตผมเวลากราบครูดนตรีไทยหลายๆ ท่าน เมื่อ เงยหน้าขึ้นมาก็ยังเห็นเป็นครูที่งามพร้อมสมบูรณ์ทุก ประการ ไม่เหมือนคนทั่วๆ ไป ที่บางครั้งเงยขึ้นมาแล้ว อาจกลายเป็นกองอิฐหัก ปี 2523 เมือ่ เริม่ งาน 100 ปี ทูล กระหม่อมบริพัตร แน่นอนว่า ไม่ว่าเป็นสมเด็จพระเทพ รัตน์ พระองค์หญิงศิรริ ตั นบุษบง พระธิดาในทูลกระหม่อมฯ หรือคุณหญิงไพฑูรย์ กิตติวรรณ ต่างยอมรับในตัวก�านัน ส�าราญว่ามีองค์ความรูท้ ไี่ ว้ใจได้ เพือ่ ทีจ่ ะร่วมบันทึกเสียง พร้อมกับวงพาทยโกศล ทหารบก ทหารเรือ เพราะคุณ หญิงไพฑูรย์ขอพระราชทานแนะน�าให้รจู้ กั วงปีพ่ าทย์บา้ น ใหม่หางกระเบนเมื่อเข้าเฝ้าที่วังจิตรลดารโหฐาน ตั้งแต่ แรกประชุมที่จะเริ่มต้นงานแล้ว “ระหว่างฝึกซ้อมเพือ่ อัดเสียงทีว่ งั จิตรลดาฯ นัน้ รูส้ กึ ว่าอะไรต่างๆ ก็ค่อยๆ โผล่ออกมาทีละนิด เช่น อนงค์ สุชาดา เถา อัปสรส�าอาง เถา เพลงชุดที่ 1 ของทูล กระหม่อมบริพัตรที่คณะพาทยรัตน์รับไปบรรเลง16 ทุก คนต่างลงความเห็นต้องกันว่า นีค่ อื ของเก่าทีก่ า� ลังจะหาย ไป แล้วดึงกลับเข้ามาใหม่ได้ ที่ตื่นเต้นกันมากคือจีนลั่น ถัน 3 ชั้น ซึ่งท�าให้หลายบ้านงง งงเพราะปกติมี 2 ท่อน แต่บา้ นนีม้ ี 3 ท่อน ฝ่ายก�านันส�าราญบอกว่ายังไม่อาจหาญ ตัดลงเป็นสองชัน้ ชัน้ เดียวให้ครบเถา ถ้าท�าได้จะเป็นแนว ที่คมคายที่สุดเพลงหนึ่งของบ้านนี้ ท่านพูดค�าเดียวสั้นๆ ว่า ‘ของเก่าเขาดีอยู่แล้วครับ’ นี่คือความเคารพนบนอบ ที่ผมเห็นว่าใช้ได้ “ส�าคัญที่สุดคือเมื่อก�านันส�าราญเปิดออกมาแล้ว พวกเรานิ่งต้องยอมรับ เพราะ ‘เพลงนี้โน้ตเป็นอย่างนี้ ครับ’ ถามว่ามาจากไหน ‘มาจากท่านครูอาจ สุนทร’ จบ เพลงที่มอบหมายให้วงดนตรีไทยแห่งราชนาวีและวงปี่พาทย์ของตระกูล เกิดผลแบ่งกันบรรเลง เนื่องในโอกาสครบรอบหนึ่งร้อยปีแห่งวันประสูติฯ เมื่อ วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2524 ได้แก่ 1. ครวญหา เถา 2. ก�าสรวลสุรางค์ เถา 3. อัปสรส�าอาง เถา 4. สุรางค์จ�าเรียง เถา 5. จีนลั่นถัน 6. สมิงทองมอญ เถา 7. แขกสาหร่าย เถา 8. อาเฮีย เถา 9. จีนเข้าห้อง เถา 10. ขยะแขยงสามชั้น 11. จีนเก็บบุปผา เถา 12. ดอกไม้ร่วง เถา 13. วิลันดาโอด เถา 14. พวงร้อย เถา 15. ถอนสมอ เถา 16. พระจันทร์ครึ่งซีก เถา [รายนามนักดนตรีและนัก ร้อง ได้แก่ หัวหน้าวง: สังเวียน เกิดผล ปี่ใน: ผจญ บุญจ�าเริญ เทียมเทพ บุญ จ�าเริญ ระนาดเอก: วิเชียร เกิดผล ระนาดทุ้ม: ส�าราญ เกิดผล ฆ้องวงใหญ่: วัฒนะ เกิดผล ฆ้องวงเล็ก: จ�าลอง เกิดผล นพรัตน์ สุขเสียงศรี สังวาล กร ป้องกัน ระนาดทอง: ธวัชชัย สุขเสียงศรี ทุ้มเหล็ก: วรเทพ บุญจ�าเริญ เครื่อง ประกอบจังหวะ: ส�าเริง เกิดผล เรืองศักดิ์ สุขเสียงศรี ฟื้น เฉลยอาจ กระแสร์ แก้วก�าเนิด ขับร้อง: มาลี เกิดผล] [นอกจากนี้ ยังควบคุมการบรรเลงและฝึก ซ้อมในโครงการจัดท�าซีดีเพลงพระนิพนธ์ในทูลกระหม่อมบริพัตร วาระแห่ง การครบรอบ 132 ปี วันประสูติฯ รายละเอียดชื่อเพลง วัน/เดือน/ปี ที่บันทึก พร้อมทั้งรายชื่อผู้บรรเลงตามเอกสารแนบท้ายบทความ] 16

108

ครูฉัตร สุนทรวาทิน

ครูช่อ สุนทรวาทิน

ฉะนัน้ บ้านนีม้ ขี องเก่าเยอะ นอกจากเก่าแล้วยังแม่นของ เก่าอีกด้วย เป็นของเก่าที่ไม่มีใครมี หวงเอาไว้โดยไม่ ปล่อยให้ใคร งานนั้นท�าให้ประชาชนรู้จักบ้านนี้มากขึ้น ก�าไรคือห้องสมุดดนตรีทลู กระหม่อมบริพตั รเสร็จเรียบร้อย รายการวิทยุมเี พลงทีไ่ ม่เคยบรรเลงให้ใครฟังบ่อยนักออก เยอะ มันกระจายออกมาอย่างชนิดที่เรียกว่า ‘กรุแตก’ นัน่ หมายความว่าอย่างไร ทัง้ ความดีงาม องค์ความรู้ ความ ละเอียดถี่ถ้วนและความเป็นเลิศ สมเด็จพระเทพรัตน์จึง ทรงพระราชทานความไว้วางพระราชหฤทัยแล้วก็ทรง สนับสนุนมาโดยตลอด” ทัง้ นี้ หากย้อนกลับไปมองเหตุการณ์สา� คัญทีเ่ กิดขึน้ ในพิธีไหว้ครูดนตรีไทย ณ ส�านักวัดบางรักใหญ่ จังหวัด นนทบุรี ช่วง พ.ศ. 2493 ที่ครูส�าราญได้รับมอบโองการ ไหว้ครูดนตรีไทยพร้อมกับโน้ตเพลงไทยบันทึกลายมือ ด้วยระบบสากลทัง้ หมดจากครูอาจ สุนทร ทีค่ รูอาจกล่าว กับครูส�าราญว่า ‘เพลงการของครูที่มีอยู่ขอมอบไว้ให้แก ทั้งหมด’17 นั้นย่อมประจักษ์ชัดยืนยันถึงความไว้เนื้อเชื่อ ใจและเล็งเห็นความเป็นผู้น�าในตัวครูส�าราญของครูอาจ ที่แน่นอนว่าต้องรักษามรดกความรู้และสามารถต่อยอด งอกเงยออกดอกผลได้ในอนาคตโดยไม่เป็นหมันสูญเปล่า นายวิเชียร คงศรีวิลัย อายุ 83 ปี เกิด พ.ศ. 2478 บิดาชื่อ นายแถม มารดาชื่อ นางหลาบ อดีตนักดนตรีปี่พาทย์ประจ�าวัดหญ้าไทร ปัจจุบันเป็น ช่างรับจ้างตัดผม เป็นพยานบุคคลอีกท่านที่ทุกวันนี้สามารถบอกเล่าและ ยืนยันได้จากการรู้เห็นด้วยตาตนเองว่า ครูอาจ สุนทร ขนโน้ตเพลงไทยลงเรือ เดินทางมากับตัวเมื่อคราวมาเป็นครูใหญ่อยู่วัดหญ้าไทรให้ส�านักดนตรีครูปุ่น และครูแถม คงศรีวิลัย จังหวัดนนทบุรี ที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ‘โน้ตเพลงไทย ของครูอาจมีจ�านวนมากถึง 3 ชั้น วางตั้งเต็มตู้ไทยโบราณใบใหญ่’ 17

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


19 ปี หมำยเหตุเพลงดนตรี เกิดอะไรขึ้นบ้ำงก่อนปี 2500 ปัญหาคือช่วงชีวติ ทีค่ รูสา� ราญเรียนรูเ้ พลงดนตรีจาก ครูดนตรีไทยทัง้ สามท่าน คือจากทัง้ ครูฉตั ร18 ครูชอ่ 19 สุนทร วาทิน และครูอาจ สุนทร20 ตัง้ ต้นแรกเริม่ ตัง้ แต่ครูสา� ราญ ฝากตัวเป็นศิษย์ส�านักพาทยโกศล เมื่อช่วง พ.ศ. 2481 กระทั่งด�าเนินมาถึงช่วงท้ายที่ครูช่อมรณกรรมใน พ.ศ. 2500 ล�าดับเหตุการณ์เกิดก่อนหลังและตกอยู่ช่วง พ.ศ. ใดอย่างไร ทั้งครูฉัตรครูช่อไปสอนดนตรีไทยที่คุ้มหลวง พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ ผูค้ รองนครเชียงใหม่จา� นวนกีค่ รัง้ แน่ และครูอาจไปสอนทฤษฎีโน้ตสากลทีว่ งปีพ ่ าทย์บา้ นใหม่ หางกระเบนเมือ่ ใด เพือ่ ให้นกั ดนตรีทนี่ นั่ ได้รบั ประกาศนียบัตร เป็นศิลปินมีสิทธิเทียบเท่าอบรมจากกรมศิลปากรทุก ประการ ครูฉัตร สุนทรวาทิน เกิด พ.ศ. 2436 บุตรนายชื่น [น้องชายพระยาเสนาะ ดุริยางค์ [แช่ม สุนทรวาทิน]] นางหนู [พี่สาวจางวางทั่ว พาทยโกศล] เป็นศิษย์ ครูทองดี ชูสัตย์ หลวงกัลยาณมิตตาวาส [ทับ พาทยโกศล] จางวางทั่ว พาทย โกศล เกณฑ์ทหารเข้ารับราชการในกองดุริยางค์กองทัพเรือใน พ.ศ. 2456 กระทั่งยศจ่าโท อ่านเขียนโน้ตสากลได้แตกฉาน มีความรู้เพลงโขนละครและ หุ่นกระบอกเป็นอย่างดี ได้เพลงทั้งทางเครื่องและทางร้องมากด้วยใกล้ชิดนาง เจริญ พาทยโกศล แต่งงานกับหญิงไทยอิสลาม ชื่อเชื้อ บ้านอยู่กุฎีขาว มีบุตร ธิดา 3 คน คือ เชิญ ชดช้อย ช้องมาศ [คัดและปรับปรุงจาก ประวัติชีวิตและ ผลงานด้านดนตรี ครูฉัตร สุนทรวาทิน ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อารดา กีระ นันทน์ ในหนังสือที่ระลึกงานเสด็จฯ พระราชทานเพลิงนายสังเวียน เกิดผล] 18

ครูช่อ สุนทรวาทิน เกิด พ.ศ. 2439 บุตรนายชื่น [น้องชายพระยาเสนาะ ดุริยางค์ [แช่ม สุนทรวาทิน]] นางหนู [พี่สาวจางวางทั่ว พาทยโกศล] เป็นศิษย์ ครูทองดี ชูสัตย์ หลวงกัลยาณมิตตาวาส [ทับ พาทยโกศล] จางวางทั่ว พาทย โกศล เคยชนะเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ในการประชันพิณพาทย์ที่วังบางขุนพรหม เมื่อ พ.ศ. 2466 เป็นคนสมองดี จ�าเพลงแม่น และได้เพลงมาก มีฝีมือฆ้องวงใหญ่ ซออู้ และขิม เป็นคนฆ้องประจ�าส�านักพาทยโกศล เคยสอนดนตรีอยู่โรงเรียน ราชินี มีศิษย์ฝีมือดีมากด้านตีฆ้องวงใหญ่ที่วงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน คือครูจ�าลอง เกิดผล ครูช่อแต่งงาน 3 ครั้ง ภรรยาชื่อเล็ก ชื่อวาด [ไม่มีบุตร ธิดาสืบสกุล] คนที่ 3 ชื่อหอม มีบุตรีชื่อ หอมหวน [คัดและปรับปรุงจาก ประวัติชีวิตและผลงานด้านดนตรี ครูช่อ สุนทรวาทิน ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อารดา กีระนันทน์ ในหนังสือที่ระลึกงานเสด็จฯ พระราชทานเพลิงนาย สังเวียน เกิดผล] 19

ครูอาจ สุนทร บุตรนายรอกกับนางผิว บ้านเกิดอยู่ตลาดเก่าปากคลอง หลอด ใกล้ท่าช้างวังหน้าตรงที่เป็นถนนพระอาทิตย์ปัจจุบัน เป็นศิษย์จางวาง ทั่ว พาทยโกศล มาตั้งแต่วัยรุ่น ได้ช่วยครูเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล คุมวง ดนตรีไทยออกอากาศวิทยุเมื่อสมัยที่ประเทศไทยมีวิทยุใหม่ๆ ช่วงรัชกาลที่ 7 และรัชกาลที่ 8 เป็นนักเลงเก่าและมีความรู้ดีทางคงกระพันชาตรี นอกจากจะ ช�านาญปี่พาทย์แล้วยังมีความรู้ทางแตรวง มีผลงานร้องเพลงตับนาคบาศไว้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2471 [คัดและปรับปรุงจาก ประวัติชีวิตและผลงานด้านดนตรี ครูอาจ สุนทร ของ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล ใน หนังสือที่ระลึกงานเสด็จฯ พระราชทานเพลิงนายสังเวียน เกิดผล] 20

บันทึกเป็นหมายเหตุว่า ครูส�าราญฝากตัวเป็นศิษย์ ส�านักพาทยโกศลช่วงปลายปี พ.ศ. 2481 ที่บอกปลายปี เพราะครูเคยให้สัมภาษณ์ว่า ตนฝากตัวเป็นศิษย์ส�านักดัง กล่าวผ่านการน�าฝากและแนะน�าของครูเทียบ คงลายทอง21 หลังจางวางทัว่ พาทยโกศล เจ้าส�านักมรณกรรมไปแล้ว 2-3 เดือน22 ทั้งยังเป็นปีเดียวกันกับที่ครูส�าราญให้สัมภาษณ์อีก ว่า ตนเรียนกับครูฉัตรครูช่อที่ส�านักพาทยโกศลหลังจากที่ ทั้งสองท่านกลับจากเชียงใหม่มาแล้วเป็นเวลา 4-5 เดือน ซึง่ นัน่ หมายความว่า ครูฉตั รครูชอ่ ต้องกลับมาร่วมอาลัยและ งานฌาปนกิจศพจางวางทั่วที่วัดกัลยาณมิตร กรุงเทพฯ ใน ฐานะหลานและศิษย์ในบ้านคนส�าคัญ ครูบญ ุ รอด ทองวิวฒ ั น์23 อายุ 88 ปี คนจังหวัดปราจีนบุรี ลูกศิษย์ก้นกุฏิและคนเครื่องหนังส�านักพาทยโกศล ทุกวันนี้ เป็นผู้เดียวที่ทันรู้เห็นร่วมเหตุการณ์เมื่อครั้งที่ครูส�าราญ พ�านักและเรียนเพลงดนตรีอยู่ส�านักพาทยโกศล เล่า “นอนด้วยกันกับผมมาเลยในซอกตะโพนมอญ บางที ไปนอนกับลุงเทียบ ปี๊บ คงลายทอง นี่ส�าราญเขาช่วยเลี้ยง มา ขยันตืน่ เช้าไล่ระนาด อย่างผมยอมรับว่าขีเ้ กียจ ตีหา้ เขา ตื่นไล่ทะแยแล้ว ตอนนั้นไม่มีใคร มีผม ส�าราญ นายเหลิม นายลับ นายบุญช่วย ชิดท้วม ครูฉตั รอยูเ่ รือนเครือ่ งกับเมีย คนสองชื่อค�าหลู่ ครูช่ออยู่กุฏิพระมหาสวัสดิ์ กัลยาณมิตร อยู่วัดกัลยาฯ สมบัติติดตัวมีซอ ฆ้องเล็ก ป่านชงชาใบ มัน ครูส�าราญให้สัมภาษณ์ว่า ครูเทียบ คงลายทอง ครูพริ้ง ดนตรีรส และนาย สังเวียน เกิดผล มีความสนิทสนมผูกพันธ์กันมากและเป็นเพื่อนรักกันมาตั้งแต่ อดีตเก่าก่อน [แต่ไม่ปรากฏว่าตั้งแต่สมัยใดหรือเพราะด้วยเหตุผลใด] เอกสาร ต้นฉบับโน้ตสากลลายมือเขียนครูเทียบ คงลายทอง ฉบับหนึ่งในครอบครอง ของครูส�าราญ ปรากฏข้อความลงท้ายว่า ‘นายผวน ฉันคิดถึงมากและไม่มี อะไรฝาก เนื่องจากพ่อสังเวียนมีเวลาน้อย จึงเขียนเพลงฝากมา เพื่อเป็นที่ ระลึกในยามคิดถึง สวัสดี เทียบ คงลายทอง’ 21

22 จางวางทั่ว พาทยโกศล มรณกรรมเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2481 [เวลา 14.40 น.] จากบันทึกของ พระยาอรรถศาสตร์โสภณ ในหนังสือที่ระลึกแจกใน งานฌาปนกิจศพ จางวางทั่ว พาทยโกศล ณ วัดกัลยาณมิตร วันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2482

ครูบุญรอด ทองวิวัฒน์ เกิดวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2472 บิดาชื่อ นายภู มารดาชื่อ นางใจ ปลีหจินดาสวัสดิ์ อาชีพชาวสวนและค้าขาย [นางใจเป็นน้อง สาวนางแพ มารดานางยุพา พาทยโกศล ภรรยาครูเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล] อยู่บ้านพาทยโกศลตั้งแต่อายุ 4 ขวบ จบการศึกษาภาคบังคับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 ที่โรงเรียนเทศบาลวัดกัลยาณมิตร เป็นศิษย์ครูเทวาประสิทธิ์ พาทย โกศล ครูละม้าย พาทยโกศล ครูพังพอน แตงสืบพันธุ์ รับราชการกองดุริยางค์ ทหารบกตั้งแต่ พ.ศ. 2549 สมรสกับนางประนอม เกษียณอายุราชการเมื่อ พ.ศ. 2532 ยศร้อยตรี มีผลงานบันทึกเสียงร่วมกับวงพาทยโกศล แผ่นเสียง ‘Drums of Thailand’ ที่วังสวนผักกาด เมื่อ พ.ศ. 2517 ผลิตโดย Folkways Records ต้นฉบับเสียงเก็บรักษาไว้ที่ Smithsonian Center for Folk life and Cultural Heritage 23

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

109


ครูอาจ สุนทร [ประธานอ่านโองการพิธีไหว้ครูดนตรีไทย วงปี่พาทย์บ้านใหม่ หางกระเบน ณ วัดบ�ารุงธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดขึ้นพร้อมกับงาน บวชนายส�าเริง เกิดผล ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2492]

เป็นเรื่องทิฐิศักดิ์ศรีส่วนบุคคล ลุงสังเวียนเลยรับไปอยู่ด้วย ที่อยุธยา ครูอาจนี่ครูเทวาฯ ไว้ใจมาก เพราะช่วงครูเทวาฯ ไปเฝ้าทูลกระหม่อมบริพัตรที่อินโดนีเซีย ท่านให้ครูอาจมา คุมบ้านแทนราวๆ 6 เดือน” เพิม่ เติมว่า ครูฉตั รครูชอ่ ไปสอนดนตรีทคี่ มุ้ หลวงพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐครัง้ แรกช่วง พ.ศ. 247524 โดยเดินทางไปสมทบ กับพี่สาวและพี่เขย คือครูชั้นและครูรอด อักษรทับ ที่ขึ้น เชียงใหม่ไปก่อนหน้านัน้ แล้วตัง้ แต่ พ.ศ. 245825 โดยเฉพาะ การกลับมากรุงเทพฯ ครั้งแรกนี้ นอกจากสอนเพลงดนตรี ให้ลูกศิษย์ในส�านักพาทยโกศล ที่ครูส�าราญให้สัมภาษณ์ว่า ตนต่อเพลงกับครูฉตั รทีน่ นั่ เป็นเวลาถึง 3 ปี ช่วง พ.ศ. 248426 อารดา กีระนันทน์ เขียนบอกไว้ในประวัติครูฉัตร สุนทรวาทิน ในหนังสือที่ ระลึกงานเสด็จฯ พระราชทานเพลิงนายสังเวียน เกิดผล ณ วัดบ�ารุงธรรม พ.ศ. 2532 24

สมกรานต์ สมจันทร์ เขียนบอกไว้ในบทความ เรื่อง ‘ครูรอด อักษรทับ กับ เรื่องราวที่หายไปในดนตรีล้านนา’ โดยอ้างข้อมูลจาก ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล ในหนังสือ เอื้องเงิน ที่ระลึกในงานบรรจุอัฐิเจ้า สุนทร ณ เชียงใหม่ [อ่านรายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติมในเรื่องเดียวกันได้จาก บทความ เรื่อง ‘ครูรอด อักษรทับ กับเรื่องราวที่หายไปในดนตรีล้านนา’ โดยสงกรานต์ สมจันทร์ ใน วารสารเพลงดนตรี ปีที่ 20 ฉบับที่ 10 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2558 ส�านักพิมพ์วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และบทความ เรื่อง ‘๘๘ ปี: การเดินทางของเพลงม่านมุ้ยเซียงตา’ โดย สงกรานต์ สมจันทร์ ใน วารสารเพลงดนตรี ปีที่ 19 ฉบับที่ 7 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2557 ส�านักพิมพ์วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล] 25

ผู้ช่วยศาสตราจารย์อารดา กีระนันทน์ เขียนบอกไว้ในประวัติครูฉัตร สุนทร วาทิน ในหนังสือที่ระลึกงานเสด็จฯ พระราชทานเพลิงนายสังเวียน เกิดผล ณ วัดบ�ารุงธรรม พ.ศ. 2532 26

110

ครูฉัตรครูช่อยังไปพ�านักและเป็นครูใหญ่ให้วงปี่พาทย์บ้าน ใหม่หางกระเบนตามค�าวิงวอนของนายสังเวียน เกิดผล และ ขึ้นไปเชียงใหม่ครั้งที่ 2 เป็นครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 248627 ที่ ครูสา� ราญเล่าว่า ‘ช่วงนัน้ ตนก�าลังอ่านออกเขียนได้ทางดนตรี’ เป็นปีเดียวกันกับทีค่ รูเทียบ คงลายทอง พาครูสา� ราญ ไปฝากตัวเรียนกับครูอาจทีส่ า� นักวัดหญ้าไทร จังหวัดนนทบุรี ก่อนที่ครูอาจจะตัดสินใจไปเป็นครูใหญ่ให้วงปี่พาทย์บ้าน ใหม่หางกระเบนตามค�าขอของนายสังเวียน เกิดผล ใน พ.ศ. 2487 โดยเฉพาะเปิดเป็นสถาบัน ‘ดุรยิ างคศิลป์’ อบรมทฤษฎี อ่านเขียนโน้ตสากลให้นักดนตรีไทยและสากลให้ได้รับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพศิลปิน ตาม ก�าหนดระเบียบการขอ อนุญาต การควบคุมการบันเลงดนตรีโดยเอกเทส การขับ ร้อง และการพากย์ ใน พระราชกริสดีกาก�าหนดวัธนธัมทาง สิลปกัมเกีย่ วกับการบันเลงดนตรี การขับร้อง และการพากย์ พุทธสักราช 248628 ครูส�าราญให้สัมภาษณ์ว่า ครูฉัตรครูช่อไปสอนที่วงปี่พาทย์บ้านใหม่หาง กระเบนเป็นเวลา 2 ปี ซึ่งตรงกับที่ผู้ช่วยศาสตราจารย์อารดา กีระนันทน์ เขียน บอกไว้ในประวัติครูฉัตร สุนทรวาทิน ในหนังสือที่ระลึกงานเสด็จฯ พระราชทานเพลิงนายสังเวียน เกิดผล ณ วัดบ�ารุงธรรม พ.ศ. 2532 ว่า พ.ศ. 2486 ครูฉัตรเดินทางกลับขึ้นไปเชียงใหม่อีกครั้งและเสียชีวิตด้วยไข้จับสั่นที่ จังหวัดล�าปางในปีเดียวกันนั้นเอง 27

โดยมีสาระส�าคัญ 7 ข้อ แต่ที่เกี่ยวข้อง คือ ข้อ 4 ผู้บรรเลงดนตรี ผู้ขับร้อง และผู้พากย์ ต้องแต่งกายให้ถูกต้องตามรัฐนิยม ห้ามนั่งบรรเลง ขับร้อง และ พากย์บนพื้นราบ ต้องจัดที่วางเครื่องดนตรีให้สามารถนั่งบรรเลงได้โดยเหมาะ สม [จึงเป็นช่วงเดียวกันกับที่วงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบนสร้างโต๊ะวาง เครื่องดนตรีและเก้าอี้นั่งส�าหรับนักดนตรีครบชุดทั้งวงเป็นวงแรกๆ ในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา] ข้อ 6 หลังจากวันที่ 8 มิถุนายน 2486 ผู้บรรเลงดนตรี ทุกประเภท ทั้งสากลและไทย [ที่ไม่ได้สังกัดหน่วยงานรัฐ] ต้องมี ประกาศนียบัตรวิชาชีพศิลปิน ซึ่งออกโดยกรมศิลปากร หลังจากที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ลงจากต�าแหน่งนายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2487 นโยบายต่างๆ ที่วางไว้ก็ได้รับการยกเลิกทั้งหมด ซึ่งนั่นเท่ากับว่า พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับนี้ มีอายุเพียงปีเศษๆ เท่านั้น [คัดจาก ‘จอมพล ป. กีดกันดนตรีไทยจริงหรือ’ ของอติภพ ภัทรเดชไพศาล ใน หนังสือพิมพ์มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1811 ประจ�าวันที่ 1-7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558] [อ่านรายละเอียดอื่นๆ เพิ่ม เติมในเรื่องเดียวกันโดยค้นชื่อเรื่องบทความดังกล่าวลงกูเกิลดอทคอม] 28

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


การเดินทางโดยเรือเพื่อไปท�าปี่พาทย์ของวงปี่พาทย์ บ้านใหม่หางกระเบนในอดีต [ผู้หญิงยืนท้ายเรือ คือ นางแสวง ตัณฑตะนัย]

หลักฐานเอกสารเก่าลายมือเขียนครูอาจอีกฉบับใน ครอบครองของครูส�าราญที่ตกทอดยืนยันถึงทุกวันนี้ คือ ต�าราทฤษฎีโน้ตสากล ทีค่ ดั ลอกด้วยลายดินสอ จาก ‘แบบ เรียนดุริยางค์ศาสตร์สากล’ ของพระเจนดุริยางค์ [ปิติ วาทยะกร] พร้อมทัง้ โน้ตเพลงไทยทางแตร เข้าเล่มหุม้ ปก แข็งด้วยกระดูกงูสันเหล็กโดยเขียนข้อความปก ว่า ‘ปี มะโรง พ.ศ. 2483 เดือนที่ 2 8 ค�่ำ วันอังคำร บ่ำย 5 โมง 6 นำที’ โดยเฉพาะหน้าที่ 15 ปรากฏข้อความลายมือแสดง ความสัมพันธ์กิจกรรมเพลงดนตรีระหว่างครูอาจกับวงปี่ พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน ว่า “พ่อพวง พ่อสังเวียน เอาเพลงที่ฉันส่งมานี้ให้พ่อผวน รีบเขียนโน้ตแจกผูท้ จี่ ะต้องไปเป่าในงานขึน้ แปดค�า่ นีเ้ พือ่ ให้ คล่อง แล้วนัดซ้อมสองหรือสามวัน เอาขึน้ ห้าค�่าหรือหกค�่า แล้วเพลงฉันจะส่งทยอยขึน้ มาให้อกี ส่วนตัวฉันจะขึน้ มาถึง วันสีค่ า�่ เพราะฉะนัน้ นัดคนให้ได้ซอ้ มขึน้ ห้าค�า่ หรือหกค�า่ ให้ ได้ พ่อสังเวียน งานขึ้นแปดค�่านี้ฉันคิดว่าจะเอาพวกขึ้นไป สักคนหรือสองคน เพื่อช่วยร้องเพลงหมู่ ส่วนค่าแรงนั้นไม่ จ�าเป้น ขอแต่คา่ พาหะนะไปมาไม่ให้เขาขาดทุนก็แล้วกัน ถ้า พ่อสังเวียนจะเอาตามที่ฉันบอกมานี้ ไปทิ้งจดหมายลงไป ให้หน่อย ทิ้งไปที่บ้านวัดกัลยา ส่วนค่าพาหะนะที่จะให้เขา ขึ้นไปนั้น ฉันจะจ่ายแทนให้ก่อน”29 พ.ศ. 249730 เป็นปีทคี่ รูชอ่ ได้หวนกลับลงมาจากเชียงใหม่ เพื่อสอนลูกศิษย์ทั้งวงที่วงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบนอีก ครัง้ หลังมรณกรรมของครูอาจใน พ.ศ. 2495 ขณะบวชเป็น คัดจากข้อความในเอกสาร ‘แบบเรียนดุริยางค์ศาสตร์สากล ของพระ เจนดุริยางค์’ เอกสารบันทึกลายมือของนายอาจ สุนทร หน้าปกลงราย ละเอียด ปีมะโรง พ.ศ. 2483 เดือนที่ 2 8 ค�่า วันอังคาร บ่าย 5 โมง 6 นาที

ภิกษุ ไม่เพียงเท่านัน้ ครูสา� ราญยังฝากตัวเป็นศิษย์เรียนเพลง ดนตรีกบั ครูอาจารย์สายส�านักพาทยโกศลอีกหลายท่าน ไม่ ว่าเป็น ครูพุ่ม บาปุยะวาทย์ ครูนพ ศรีเพชรดี ครูเอื้อน กรเกษม โดยเฉพาะใช้เวลากว่าครึ่งอายุแกะรอยศึกษาโน้ต เพลงไทยของครูอาจ31 อย่างลงลึกถึงทีม่ าทีไ่ ปเพิม่ พูนความ รู้ความเข้าใจจนก่อเกิด ‘ความเป็นดนตรี’ ในเวลาต่อมา ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ นายแพทย์พนู พิศ อมาตยกุล เล่า “มีคนพูดกับผมว่า บ้านนี้เวลาไปท�าปี่พาทย์ที่อยุธยา ใกล้เคียงหรืออ่างทอง ถ้าไม่ถามเขาว่าเพลงนั้นเพลงนี้ชื่อ อะไร เขาก็ไม่ยอมประกาศ เหมือนตั้งใจจะปิด ถ้าไม่รักกัน จริง ไม่เจาะไม่จงหรือถ่อมตนเข้าไปหา ก็ไม่ต้องรู้ความจริง ว่าอะไรเป็นอะไร ความเก่าแก่ของโน้ตเพลงบ้านนี้เป็นสิ่งที่ ผมมีค�าถามอยู่มาก ซึ่งแน่นอนว่าคุณค่าตัวโน้ตที่อยู่บน บรรทัด 5 เส้น อันนี้ต้องยกให้ครูคนที่จด คือครูอาจ สุนทร ครูทา่ นอืน่ ๆ ก็อา่ นเขียนโน้ตสากลได้ แต่ผมไม่เคยได้ยนิ ว่า ใครจะเขียนคล่องเท่าครูอาจ รวดเร็วชนิดที่ได้ยินแล้วเขียน ขึ้นได้ทันที “ปี 2500 เศษๆ ผมเป็นลูกศิษย์ครูเทวาฯ เวลาไปหา ครูเพือ่ ขอดูลายพระหัตถ์ทลู กระหม่อมบริพตั รหรือโน้ตเพลง ลายมือเก่า ครูเทวาฯ จะเดินเข้าไปในห้องนอนเพือ่ ไขกุญแจ ตู้แล้วเอาออกมาให้ดู อันนั้นคือโน้ตเพลงต้นฉบับที่อยู่ที่ บ้านพาทยโกศล สมัยก่อนมีหลายคนที่อยากรู้อยากเห็น อยากจะดูว่าโน้ตที่ก�านันส�าราญได้มานั้นเป็นอย่างไร เป็น ของแท้หรือของที่บ้านก�านันส�าราญคิดขึ้นเอง แต่ท้ายที่สุด เขาเหล่านั้นก็ต้องยอมรับ ว่าก�านันส�าราญมีของดี ของเก่า ของแท้แน่นอน ซึ่งนั่นก็คือโน้ตเพลงที่ครูอาจมอบไว้ให้ ถือ เป็นมหาต�าราองค์ความรู้ที่ยิ่งใหญ่มากๆ ของบ้านนี้”

ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญสืบ บุญเกิด บอกไว้ใน ชีวประวัติและวิเคราะห์ ผลงานของส�าราญ เกิดผล วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ปีการศึกษา 2538

[อ่านรายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติมในเรื่องเดียวกันได้จากวิทยานิพนธ์ เรื่อง ‘โน้ตเพลงไทยส�านักพาทยรัตน์’ ของวราห์ เทพณรงค์ สาขาวิชา ดุริยางคศิลป์ไทย บัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ปีการศึกษา 2559]

29

30

31

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

111


ต�าราทฤษฎีโน้ตสากล ที่ครูอาจ สุนทร คัดลอกด้วยลายดินสอ จาก ‘แบบเรียนดุริยางค์ศาสตร์สากล’ ของพระเจนดุริยางค์ [ปิติ วาทยะกร] เข้าเล่มหุ้มปกแข็งด้วยกระดูกงูสันเหล็กโดยเขียนข้อความปก ว่า ‘ปีมะโรง พ.ศ. 2483 เดือนที่ 2 8 ค�่า วันอังคาร บ่าย 5 โมง 6 นาที’

112

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ภูมิธรรมควำมรู้ อำศรมส�ำรำญ แม้ไม่ได้สังกัดกรมกองหน่วยงานรัฐราชการที่ เกี่ยวข้องด้านดนตรีไทยในต�าแหน่งศูนย์กลางความ เจริญเมืองหลวง หากแต่ภูมิธรรมความรู้ที่ครูส�าราญ สืบทอดสัง่ สมมาสามารถส�าแดงออกผ่านตัวโน้ตเพลง ไทยสองเล่มชิน้ เอกทีบ่ นั ทึกด้วยระบบสากล คือหนังสือ ชื่อตระโหมโรง 23 ตัว และเพลงหน้าพาทย์ไหว้ครู ต�ารับครูทองดี ชูสตั ย์32 ทีศ่ าสตราจารย์เกียรติคณ ุ นาย แพทย์พูนพิศ อมาตยกุล กล่าวว่า “เป็นเรื่องพิสดาร มาก ทีไ่ ม่ควรให้เฉพาะต�าแหน่งศิลปินแห่งชาติเท่านัน้ แต่ท่านควรได้รับ ‘เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา’ เพราะท�าในสิ่งที่คนอื่นไม่สามารถท�าได้” ผลงานประพันธ์เพลงไทยต่างประเภทจ�านวน 126 รายการ33 ทั้งเพลงหน้าพาทย์ เพลงโหมโรง เพลงเรื่อง เพลงช้า เพลงตับ เพลงเถา เพลงระบ�า เดีย่ วเครือ่ งดนตรี ไทย และทางขับร้อง ที่นับว่าวิชาประพันธ์เพลงถือเป็น ปลียอดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ขั้นสูงของนักดนตรีไทย ครู ส�าราญยังสร้างสรรค์ผลงานเพลงบนวิถีแนวทางอย่าง เคารพและย้อนกลับไปหาภูมปิ ญ ั ญาดัง้ เดิมของสายส�านัก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ‘มือฆ้อง’ ฐานองค์ความรูส้ า� คัญทีเ่ ป็น เอกลักษณ์เฉพาะบ่งบอกความเป็น ‘พาทยโกศล’ ทั้งยัง เก็บง�าเกร็ดความรูห้ ลายเรือ่ งทีม่ คี า� อธิบายต่างจากความ เชื่อชุดอื่นๆ ครูส�าราญ เกิดผล เล่า “หลายเรื่องเก็บไว้แต่พูดไม่ ได้ อย่างนั่งกินมีสามอย่าง นั่งกิน มโหรี เซ่นเหล้า ครูช่อ ท่านบอก ‘นั่งกิน’ ที่เล่นทั่วไปในปัจจุบัน เดิมเรียกชื่อ ‘มโหรี’ เล่นตอนอินทรชิตดูดนมมณโฑเพือ่ ให้ศรหลุด คน พากย์จะเรียกมโหรี เรารู้แต่พูดไม่ได้ เพราะบุคคลอ้างอิง ‘เพลงหน้าพาทย์ไหว้ครูต�ารับครูทองดี ชูสัตย์’ งานของครูส�าราญ เกิดผล จัดพิมพ์ครั้งแรกโดยวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อ ทูลฯ ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องใน วโรกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ ครบ 50 พรรษา วันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2548 และครั้งที่ 2 จัดพิมพ์โดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวง วัฒนธรรม [พิมพ์ครั้งที่ 1] เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 จ�านวน 1,000 เล่ม 32

[รายละเอียดประเภทเพลงและรายชื่อเพลงตามเอกสารแนบท้าย บทความ] 33

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

113


ครูส�าราญ เกิดผล ใช้ชีวิตบั้นปลายเดินทางไปกลับระหว่างบ้านบางชะนี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กับต�าบลศาลายา จังหวัดนครปฐม ทุกวันจันทร์และวันพุธช่วงเปิด ภาคเรียน เพื่อบรรจงผ่องถ่ายความรู้ความเป็นดนตรีแก่นักเรียนนักศึกษาดนตรีไทยที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล รวมระยะเวลาแล้วทั้งสิ้นถึง 17 ปี

ท่านตายไปแล้ว เราพูดใครจะเชือ่ เมือ่ ก่อนโขนบ้านนอกยัง เรียก เขาบอกเอาพัดชาแทนได้ เพราะตอนนั้นครูยังไม่ได้ ต่อมโหรี หนังใหญ่ปู่วนที่บ้านก็มีตอนนี้ หรือโหมโรงกลาง วันโขนเป็นอย่างไร โหมโรงกลางวันละครเป็นอย่างไร โหมโรง หนังใหญ่เขาหยุดตรงไหนเพือ่ ให้หนังเจ้า 3 ตัว ออกมาทาบ ทับกันบนหน้าจอ อันนี้เป็นตัวอย่าง” ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ นายแพทย์พนู พิศ อมาตยกุล เล่าเสริม “คราวนัน้ ทีอ่ ดั เสียงเพลงทูลกระหม่อมบริพตั รด้วย วงโยธวาทิต ไม่ว่าเป็นวงทหารหรือต�ารวจ ถ้าไม่เจ็บป่วย หรือติดธุระด่วนๆ ก�านันส�าราญต้องมานั่งดูด้วยเสมอ นั่ง แล้วก็อธิบายให้ฟังเป็นช่องเป็นฉาก ว่าลูกอย่างนี้มาจาก ฆ้องวงใหญ่ แต่ทูลกระหม่อมฯ ท่านใช้แนวเครื่องดนตรี แต่ละชิน้ ของฝรัง่ อันนีย้ โู ฟเนียมต้องไปอย่างไร เครือ่ งทอง เหลืองกับเครือ่ งลมไม้จะล้อจะขัดกันอย่างไร ผมจึงมองเห็น องค์ความรู้ที่อยู่ในตัวก�านันส�าราญเลยว่า เขารู้เรื่อง โยธวาทิตดีมากทีเดียว แล้วก็รู้ด้วยว่าทูลกระหม่อมฯ ท่าน มีลูกไม้อย่างไรที่จะท�าให้เกิดลูกล้อลูกขัดได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผม ชอบใจมากทีเดียว “ผมจะบอกคุณให้รวู้ า่ มันมีเพลงทูลกระหม่อมฯ ทีห่ าย 114

ไปอย่างน้อยคือวิลันดาโอด เถา โน้ตทางฆ้องไม่มี แต่มันมี อยู่ในวงโยธวาทิต เท่าที่ผมทราบคือยูโฟเนียมนั่นแหละคือ ลูกฆ้อง ผมก็คยุ กับก�านันส�าราญว่า อยากท�าเพลงทูลกระหม่อมฯ ให้ครบเหลือเกิน ‘ได้ครับ ไม่เป็นไร’ แล้วเขาก็ทา� ของเขาเอง ได้ทงั้ หมด อันนีเ้ ป็นการแสดงฝีไม้ลายมือของก�านันส�าราญ เลยว่า เขามีองค์ความรู้ตามแบบฉบับบ้านพาทยโกศล สามารถท�าเพลงทีม่ นั หายไปให้กลับมามีชวี ติ ใหม่ได้ โดยยึด หลักยูโฟเนียมมาแปลเป็นลูกฆ้อง แล้วลูกฆ้องมาแปลเป็น วงปีพ่ าทย์ไม้แข็ง สิง่ นีถ้ า้ ผมไม่พดู ก็ไม่มใี ครรู้ มันท�าได้ แล้ว ก�านันส�าราญก็ท�าได้ดีด้วย” เป็นที่ทราบโดยทั่วไปว่า นอกจากนักดนตรีวงพาทย รัตน์ทั้งวง34 จะต่อทางเพลงและเป็นศิษย์ครูส�าราญ รวมถึง นักดนตรีวงพาทยรัตน์ที่ท�างานสังกัดอยู่หน่วยงานรัฐราชการที่เกี่ยวข้อง ด้านการศึกษาและปฏิบัติดนตรี ได้แก่ 1. นายวรเทพ บุญจ�าเริญ ครูดนตรีไทย ต�าแหน่งวิทยฐานะช�านาญการพิเศษ สาขาดนตรีคีตศิลป์ไทยศึกษา คณะ ศิลปศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวง วัฒนธรรม จังหวัดอ่างทอง 2. นายเกียรติศักดิ์ ดีชัง นักดนตรีฝ่ายดนตรีไทย กรมประชาสัมพันธ์ กรุงเทพฯ 3. นายชฤทธิ์ ตรีหิรัญ นักดนตรีฝ่ายดนตรีไทย กรมประชาสัมพันธ์ กรุงเทพฯ 4. นายนาคเกษม คนรู้ ทหารเกณฑ์หน่วย บัญชาการอากาศโยธิน [ปัจจุบันช่วยงานราชการกองดุริยางค์ทหารอากาศ] กรุงเทพฯ 34

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เยาวชนในโครงการ ‘สืบทอดศิลปะดนตรีไทยในพระด�าริฯ’ และนักดนตรีวงสิงห์บุรี35 ที่ได้รับขัดเกลาบ่มเพาะและปลูก ฝังความรู้เพลงดนตรีเป็นอย่างดีแล้ว ตั้งแต่ พ.ศ. 254336 ก่อนทีจ่ ะได้รบั รางวัลยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะ การแสดง [ดนตรีไทย] ใน พ.ศ. 2548 ครูส�าราญยังใช้ชีวิต บั้นปลายเดินทางไปกลับระหว่างบ้านบางชะนี จังหวัด พระนครศรีอยุธยา กับต�าบลศาลายา จังหวัดนครปฐม ทุก วันจันทร์และวันพุธช่วงเปิดภาคเรียน เพื่อบรรจงผ่องถ่าย ความรู้ความเป็นดนตรีแก่นักเรียนนักศึกษาดนตรีไทยที่ วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล37 รวมระยะเวลา แล้วทั้งสิ้นถึง 17 ปี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สนอง คลังพระศรี อดีตประธาน แขนงวิชาดนตรีไทยและดนตรีตะวันออก หนึง่ ในคณาจารย์ นักวิชาการที่เติบโตมาพร้อมการท�างานร่วมกับครูส�าราญ หลังมรณกรรมของอาจารย์ศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ วงสิงห์บุรีได้รับการสืบสาน งานและดูแลรับช่วงต่อโดยกลุ่มลูกศิษย์ในบ้าน น�าโดยนายอุเทน เปียหลอ ครูดนตรีไทย ต�าแหน่งวิทยฐานะช�านาญการพิเศษ โรงเรียนสิงห์บุรี จังหวัด สิงห์บุรี 35

บันทึกหมายเหตุ ปี พ.ศ. และจุดตั้งต้นเข้าท�างานของครูอาวุโสดนตรีไทยที่ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ อาจารย์สงัด ภูเขาทอง [พ.ศ. 2535] ศาสตราจารย์อุดม อรุณรัตน์ [พ.ศ. 2538] ครูพินิจ ฉายสุวรรณ [พ.ศ. 2539] ครูมณเฑียร สมานมิตร [พ.ศ. 2541] ครูชยุดี วสวานนท์ [พ.ศ. 2541] ครูบุญชู รอดประสิทธิ์ [พ.ศ. 2542] ครูกาหลง พึ่งทองค�า [พ.ศ. 2542] ครู ส�าราญ เกิดผล [พ.ศ. 2543 ได้รับเชิญให้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทย วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2545 บรรจุเป็นอาจารย์ ประจ�าแขนงวิชาดนตรีไทยและดนตรีตะวันออก วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่วันที่ 3 มิถุนายน ถึงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2554 และได้รับเชิญให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ [ครูผู้อาวุโส] วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 กระทั่งเสียชีวิต] 36

นักศึกษาดนตรีไทยระดับปริญญาตรีและปริญญาโทที่ส�าเร็จการศึกษาจาก วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ต่อเพลงเป็นศิษย์ครูส�าราญ เกิด ผล และท�างานในสังกัดหน่วยงานรัฐราชการที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษาดนตรี ได้แก่ 1. นายสมเกียรติ พิมพ์พันธุ์ โรงเรียนอุทัยวิทยาคม จังหวัดอุทัยธานี 2. นายพรชัย ผลนิโครธ และนางบุตรี สุขปาน ภาควิชาดนตรี สาขาวิชา ดุริยางคศาสตร์ไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 3. นางสาวปานหทัย สุคนธรส สาขาวิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา 4. นายพิชชาณัฐ ตู้จินดา ภาควิชาดนตรีไทย วิทยาลัยการ ดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพฯ 5. นายทรงพล เลิศกอบกุล ภาควิชาดนตรีและศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 6. นายวราห์ เทพณรงค์ สาขาการสอนดนตรีและนาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา 7. นางสาวเสาวภาคย์ อุดมวิชัยวัฒน์ [ลูกศิษย์จาก สาขาวิชาดนตรีศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ศึกษา คณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย] ครูพิเศษโรงเรียนมัธยมปัญญารัตน์ เเละ ครูชมรมดนตรีไทย โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดสุทัศนเทพวรารามราช วรมหาวิหาร 37

และครูดนตรีไทยอาวุโสท่านอื่นๆ ที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เล่า “ครูกาหลงมาสอนทีม่ หิดล ครูกต็ อ่ เพลงฝัง่ ธนเลย เป็น คนปล่อยของก่อน ซึ่งครูก็ได้เพลงฝั่งพระนครอยู่แล้ว แต่ เป็นไปได้ทที่ า่ นหลีกทางให้ครูพนิ จิ ช่วงหลังครูกาหลงถึงเอ่ย ปากกับผมว่า ถ้าจะให้เป็นหลักเป็นฐานด้านฝั่งธนให้เชิญพี่ ส�าราญมาสอน เพราะครูพนิ จิ ก็อยูเ่ ป็นหลักให้เราตัง้ แต่แรก อยู่แล้ว มันเป็นความคิดที่ว่า สถาบันการศึกษาโดยเฉพาะ มหาวิทยาลัย ควรเปิดกว้างโลกทัศน์การศึกษาทางวิชาการ ที่ไม่ใช่ยึดความรู้ทางใดทางหนึ่ง แต่ควรเป็นตลาดวิชาหรือ สรรพวิชา เพราะคนควรจะค้นพบตัวเองได้จากความรู้อัน หลากหลายกว้างขวาง วิถีมันเป็นแบบนั้น “การที่สองค่ายสองทางมาปรากฏอยู่ในดุริยางคศิลป์ ถือเป็นจุดแข็งโดดเด่นและตัวตนของมหิดลอย่างหนึ่ง ถ้า มองว่าแต่ก่อนไม่มีการเรียนการสอนสายฝั่งธนในสถาบัน การศึกษา เพราะอย่างน้อยที่สุด งานฉลองอายุ 80 ปี ครู ส�าราญ สมเด็จพระเทพรัตน์เสด็จฯ มาเป็นองค์ประธาน มัน เห็นภาพชัดเจนว่ามหิดลมีครูส�าราญ มีการเรียนการสอน สายฝัง่ ธน ทีนคี้ รูกใ็ ห้อย่างทีค่ รูอยากให้ ครูพนิ จิ ท่านก็ให้ใน แบบที่ครูพินิจให้ ผลก็คือ เรียบร้อย เด็กย้ายมาเรียนกับครู พินิจเทอมนี้ เพลงครูพินิจก็เรียบร้อย ย้ายสลับมาเรียนกับ ครูส�าราญอีกเทอม มันก็เรียบร้อยทั้งสองฝั่ง เป็นระบบ ระเบียบแล้วก็เอาไปใช้งานได้จริง “เด็กมหิดลคือเด็กที่ไม่มีพื้นฐานจากบ้านส�านักดนตรี แต่มาเริม่ ก่อร่างสร้างตัวในรัว้ มหาวิทยาลัย ตรงนีผ้ มว่าชัดเจน มาก โดยมีครูส�าราญ ครูพินิจ ครูอุดม และอีกหลายท่าน เป็นแม่แบบ โดยเฉพาะเด็กๆ ได้เรียนรู้การปรนนิบัติครู ผู้ใหญ่โดยผ่านครูส�าราญกับครูพินิจ การอยู่กับปู่ การดูแล ปู่ รับใช้ใกล้ชิดอย่างในวัฒนธรรมดนตรีไทย สัมมาคารวะ ความกตัญญู กลายเป็นความงามอย่างที่เราเห็น ครูผู้ใหญ่ ท่านก็ไม่ได้มปี ญ ั หาอะไร ท่านเป็นสุภาพบุรษุ ทีเ่ คารพซึง่ กัน และกัน หายากมากที่จะได้เห็นความงามบนความแตกต่าง แบบนี้”

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

115


ควำมสุขผู้ให้ หัวใจผู้รับ ปริศนาธรรม ‘ผูใ้ ห้ยอ่ มได้รบั ’ ประเด็นหลักไม่อยูท่ ผี่ ใู้ ห้ได้รบั สิง่ ใดตอบแทน หากแต่กลับกันส�าคัญที่ผู้รับจะให้ตอบให้ต่อหรือไม่อย่างไร โดยเฉพาะหลังช่วง ชีวิตเต็มเก้าทศวรรษนับแต่นี้ของครูส�าราญ เกิดผล เป็นปัญหาขบคิดที่ต้องรวม ปัญญาคนรุ่น ‘สืบสาน’ บริหารจัดการมรดกความรู้และโน้ตเพลงไทยอย่างไรให้ เต็มประสิทธิภาพกว้างขวางเป็นสากล สมประสงค์ผใู้ ห้ทคี่ วรได้รบั ตอบแทน เพือ่ สิ่งทุ่มเททั้งชีวิตไม่ขาดช่วงรอยต่อสูญเปล่า ที่ครูมักกล่าวย�้าอย่างเป็นปริศนา ธรรมตามแต่ผู้ฟังจะตีความอีกเช่นกัน ว่า ‘ผู้รับย่อมมีภำระผูกพัน’ ‘ได้เห็นควำมส�ำเร็จของลูกศิษย์ เวลำเขำไปบรรเลงถูกใจ น�้ำตำเรำไหล เรำภูมิใจที่เรำสร้ำงเขำมำถึงจุดที่ต้องกำรให้เขำเป็น แล้วดนตรีก็เข้ำถึงใจเขำ’38 ส�ำรำญ เกิดผล

คัดจากบทความ เรื่อง ‘ครูส�าราญ เกิดผล คนดีศรีอยุธยา คลังวิชาปี่พาทย์ฝั่งธนฯ’ โดยกองบรรณาธิการฯ ใน วารสารเพลงดนตรี ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2545 ส�านักพิมพ์วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล 38

116

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


บรรณำนุกรม กองบรรณาธิการ. (2545). “ครูส�าราญ เกิดผล คนดีศรีอยุธยา คลังวิชาปี่พาทย์ฝั่งธนฯ,” วารสารเพลงดนตรี. ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎาคม 2545: 11-21. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล. ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2552). องค์ความรู้ศิลปินแห่งชาติ: นาย ส�าราญ เกิดผล. รายงานการวิจัย ส�านักงานคณะ กรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม. ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2545). “ครูส�าราญ เกิดผล กับงานศูนย์ส่ง เสริมและเผยแพร่ดนตรีไทยในพระอุปถัมภ์ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี,” วารสาร เพลงดนตรี. ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎาคม 2545: 22-24. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล. บุญสืบ บุญเกิด. (2538). ชีวประวัติและวิเคราะห์ผลงานของ ส�าราญ เกิดผล. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. พิชชาณัฐ ตู้จินดา. (2553). การถ่ายทอดความรู้ของวงปี่พาทย์ บ้านใหม่หางกระเบน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางค์ไทย ภาควิชา ดุริยางคศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พูนพิศ อมาตยกุล และศิขิน พงษ์พิพัฒน์. (2557). “สังคีตภิรมย์ รายชื่อเพลงไทยเดิมประมาณ 2700 รายการ บรรดา บันทึกเสียงไว้ที่ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด สาขาผ่านฟ้า เพื่อจัดท�ารายการวิทยุสังคีต ภิรมย์ เผยแพร่ทางวิทยุกระจายเสียงในส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค.” กรุงเทพฯ. เอกสารอัดส�าเนา. พระเจนดุริยางค์. (2527). แบบเรียนดุริยางค์ศาสตร์สากล ฉบับ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรม แผนที่ทหาร. พระยาอรรถศาสตร์โสภณ (สว่าง จุลวิธูร). (2482). พฤติการณ์ของ จางวางทั่ว พาทยโกศล อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ จางวางทั่ว พาทยโกศล มกราคม 2482. ม.ป.ท. ยุพา พาทยโกศล. (2548). อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นางยุพา พาทยโกศล ธันวาคม 2548. ม.ป.ท. ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยครู พระนครศรีอยุธยา. (2531). ชีวิตและงาน ของครู ส�าราญ เกิดผล. พระนครศรีอยุธยา: ฝ่ายเอกสารต�ารา ส�านักส่งเสริมวิชาการ.

สงกรานต์ สมจันทร์. (2558). “ครูรอด อักษรทับ กับเรื่องราวที่ หายไปในดนตรีล้านนา,” วารสารเพลงดนตรี. ปีที่ 20 ฉบับที่ 10 เดือนมิถุนายน 2558: 10-17. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล สังเวียน เกิดผล. (2532). อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ สังเวียน เกิดผล. ม.ป.ท. อติภพ ภัทรเดชไพศาล. (2558). “จอมพล ป.กีดกันดนตรีไทยจริง หรือ,” มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1811 ประจ�าวัน ที่ 1-7 พฤษภาคม 2558. อาจ สุนทร. (2483). แบบเรียนดุริยางค์ศาสตร์สากล ของพระ เจนดุริยางค์. เอกสารบันทึกลายมือ. อานันท์ นาคคง และอัษฎาวุธ สาคริก. (2550). “ครูส�าราญ เกิดผล คนเพลง ครูเพลง คลังเพลง,” วารสารเพลงดนตรี. ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม 2550: 61-69. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล สัมภาษณ์ กรมงคล รณรงค์. สัมภาษณ์. 27 พฤศจิกายน 2553. ชาตรี อบนวล. สัมภาษณ์. 19 ธันวาคม 2560. บุญรอด ทองวิวัฒน์. สัมภาษณ์. 21 ธันวาคม 2560. ปี๊บ คงลายทอง. สัมภาษณ์. 20 ธันวาคม 2560. พูนพิศ อมาตยกุล. สัมภาษณ์. 3 มิถุนายน 2558. [โดยให้สัมภาษณ์นายณัฐวุฒิ สุธนไพบูลย์ นักศึกษา ปริญญาโท วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ [ท่าพระจันทร์] เรื่อง “องค์ความรู้วงปี่พาทย์คณะพาทย รัตน์” พิทักษ์ จรรย์นาฏย์. สัมภาษณ์. 26 ธันวาคม 2560. วิเชียร คงศรีวิลัย. สัมภาษณ์. 21 ธันวาคม 2560. วิทูรย์ อรรถกฤษณ์. สัมภาษณ์. 26 ธันวาคม 2560. สนอง คลังพระศรี. สัมภาษณ์. 14 ธันวาคม 2560. สุทธิรักษ์ กลึงศาสตร์. สัมภาษณ์. 24 ธันวาคม 2560. ส�าราญ เกิดผล. สัมภาษณ์. 27 มกราคม 2548, 2 มกราคม 2555, 18 ธันวาคม 2559, 21 มิถุนายน 2553, 4 กุมภาพันธ์ 2553, 8 กุมภาพันธ์ 2556.

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

117


118

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ข้อเขียนข่ำวเพลงดนตรี

วงปี่พำทย์บ้ำนใหม่หำงกระเบน

ในคอลัมน์ สยำมสังคีต หนังสือพิมพ์ สยำมรัฐ โดย ศำสตรำจำรย์เกียรติคุณ นำยแพทย์พูนพิศ อมำตยกุล

นั้นเก็บเป็นโน้ตสากลอย่างถาวร ไม่ใช่ใช้วิธีท่องจ�า เพราะ ฉะนั้นเวลาจะบรรเลงจึงต้องแกะจากตัวโน้ตออกมาเป็นเสียง จะว่าถึงวงนายสังเวียน เกิดผล แล้ววงนี้มักมีอะไรดีๆ ดนตรีเสมอ ทางของเก่าจึงถูกต้องมั่นคงอยู่เสมอ เรียกได้ว่า ออกมาฉายให้เห็นอยู่เสมอ มีของเก่าๆ อยู่ในกรุประจ�าบ้าน อนุรักษ์ของเก่าอย่างถึงใจพระเดชพระคุณทีเดียว จบปี่พาทย์ไม้แข็งนายสังเวียนแล้ว แตรวง 150 คน ซึ่ง มากทีเดียว เพราะเก็บไว้หลายสิบปีทงั้ หวงทัง้ แหน ผูเ้ ขียนพบ กับวงนายสังเวียนทีไรต้องได้อะไรใหม่ๆ มาเขียนในสยามสังคีต คุณชะลอรัตน์ อ่วมหร่าม ขับร้อง แล้วก็ถงึ วงปีพ่ าทย์ดกึ ด�าบรรพ์ ทุกทีไป ครัง้ แรกหลายปีมาแล้วพบกันทีง่ านอุทยานสโมสรวัน ของคณะพาทยโกศล ซึ่งก็เล่นเพลงจากตับเรื่องรามเกียรติ์ เฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2523 ทีพ่ ระราชวังบางปะอิน ตอนเบญจกายทูลลานางตรีชฎา ผู้เป็นแม่ไปแอบดูนางสีดา คราวนั้นก็ได้ฟังตับเพลงดอกไม้ต่างๆ มีดอกไม้ไพร ดอกไม้ แล้วกลับมาร�าฉุยฉายแปลงตัวเป็นสีดา คนร้องเพลงชุดนี้มี ไทร ดอกไม้ร่วง กับเพลงเถาอีกเพลงหนึ่ง คือ เสภานอก อุษา โปร่งน�า้ ใจ กัญญา โรหิตาจล และอนงค์ ศรีไทยพันธุ์ ออกแสดงลีลาแบบของเก่าดึกด�าบรรพ์บ้านปลายเนินกันที เถา เมื่อคราวงานทูลกระหม่อมบริพัตร 100 ปี พ.ศ. 2524 เดียว ที่เรียกว่าดึกด�าบรรพ์ บ้านปลายเนิน ก็คือ ดึกด�าบรรพ์ นายสังเวียนก็เปิดกรุงัดเอาเพลงพระนิพนธ์ทูลกระหม่อม บริพัตรออกมาแสดงหลายเพลง มี อัปสรส�าอางค์ สุรางค์ ของแท้ อันเป็นพระนิพนธ์ในสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา จ�าเรียง แหวนประดับก้อย จีนลั่นถัน 3 ชั้น ทางแปลก นริศรานุวตั ติวงศ์ สิง่ ทีเ่ ห็นแปลกก็คอื เมือ่ ปี 2524 ครัง้ นัน้ ใช้ ประหลาดมีตั้ง 3 ท่อน (ของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลป ซอสามสายสีเพลงฉุยฉายแทนปี่ มาปีนี้อาจารย์อารดา บรรเลง) มี 2 ท่อน) มาคราวนีน้ ายสังเวียนก็ทา� “เซอร์ไพรส์” กีระนันทน์ ที่เคยสีซอไม่มา คุณเสรี หวังในธรรม ท่านก็เลย ถวายหน้าพระทีน่ งั่ พอเปิดโรงก็บรรเลงเพลงชือ่ “เสมอเข้าเฝ้า” โดดเข้าไปเป่าขลุย่ แทนปีใ่ นเพลงฉุยฉายตัง้ แต่ตน้ จนจบ รสมือ เกรียวกราวทีเดียว และเป็นการบรรเลงเพลงนี้เป็นครั้งแรก และลมดีเก๋ไก๋ไม่น้อยเลย จนทุกคนออกปากชม ขอขยายความเรื่องคุณเสรี หวังในธรรม อีกสักนิด ใน หลังจากที่เก็บหวงไว้หลายสิบปี ต่อจากนั้นก็โหมโรงเพลง กัลยาณมิตร 3 ชั้น แล้วต่อด้วยเพลงแขกโอด 3 ชั้น ขับร้อง ชีวติ ของผมนีก้ ไ็ ด้เห็นผูอ้ า� นวยการกองการสังคีต กรมศิลปากร โดย คุณมาลี เกิดผล ซึ่งได้แสดงความสามารถใช้พลังเสียง คือ คุณเสรี หวังในธรรม ผู้นี้แหละที่เป็นผู้อ�านวยการระดับ ให้คนดูได้ประจักษ์วา่ นักร้องภูธรนัน้ ดูหมิน่ ไม่ได้ คือ เสียงดัง “พิเศษกว่าเกรดเอ” เพราะมีความสามารถรอบตัวเหลือหลาย ที่ผู้อ�านวยการคนอื่นๆ ไม่เคยท�าได้เท่า ฟังชัด ใช้เสียงแท้ๆ 100% ไม่ได้ใช้เสียงผีเลย เรื่องการบริหารลูกน้องทั้งรักทั้งเกรงใจ ควบคุมผู้คนได้ ขอขยายความเรือ่ งเพลงของนายสังเวียน เกิดผล สักนิด หนึง่ ว่า เพลงของวงนีเ้ ป็นเพลงแนวบ้านพาทยโกศลและเพลง อยู่มือหมดทั้งๆ ที่บางคนเป็นครูบาอาจารย์ด้วยซ�้าไป เรื่อง วังบางขุนพรหมโดยแท้ทเี ดียว และยืนหยัดเล่นเฉพาะบทเพลง ความเป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนท่านก็ยอด เขียนกลอนดีนกั แต่ง ของบ้านนี้เท่านั้น เพลงบ้านอื่นเล่นน้อยมากหรือไม่เล่นเลย บทละครต่างๆ จนแม้แต่บทโขนบทพากย์ เรือ่ งเสียงร้องเสียง การบรรเลงยืดแนวเก่าทีค่ รูชอ่ สุนทรวาทิน ครูฉตั ร สุนทร ก็ดี เคยอัดเสียงลงแผ่นของกรมศิลปากรมาแล้ว เช่น เพลง วาทิน (ลูกศิษย์เอกของท่านครูจางวางทัว่ ) ได้มาวางรากฐาน แอ่วเคล้าซอ เพลงนเรศวรชนช้าง เป็นต้น เวลาเล่นลิเกทั้ง ไว้ให้ตงั้ แต่กอ่ น พ.ศ. 2500 การเก็บเพลงของบ้านนายสังเวียน ร้องทั้งร�าออกกลอนสดคล่องอย่างไม่มีใครเทียบ บทตลกนั้น

ดนตรีไทยพรรณนำครั้งพิเศษ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

119


เป็นหัวใจของประชาชนเลยทีเดียว ว่าถ้านัดไหนพ่อเสรีไม่ออก มารายการนั้นเป็นจืดสนิทยิ่งกว่าแป้งซักผ้า อีกอย่างคือเรื่อง เพลงการมีการตีบททั้งหน้าพาทย์และเพลงละคร เขียนบท เสร็จบรรจุเพลงได้เองเสร็จ เว้นแต่ว่าจะท�าหรือไม่ท�าเท่านั้น เคยเห็นเป่าปี่เล่นๆ มาสองหน มาคราวนี้เดาะเป่าขลุ่ยออก ทางฉุยฉาย เรียกว่า คนขลุ่ยแท้ๆ ก็คงอายเหมือนกัน ในด้านการต่างประเทศก็ได้เคยเห็นติดต่อส่งภาษาฝรั่ง มาแล้วก็ไม่ใช่ย่อย เรื่องหัวคิดประยุกต์ เรื่องราวต่างๆ ให้ เป็นการแสดงบนเวทีนั้น ไม่ต้องเป็นห่วง หัวคิดว่องไวและ ท�ำได้สวยเสมอๆ ปฏิภำณนั้นดูจะไม่มีใครเทียม หัวคิด แล่นไวยิ่งกว่ำจรวด บทที่ท่านแสดงไม่ว่าจะเป็นบทตลกที่ ท่านถนัด บทลิเก หรือละครนอกเล่นเป็นตัวนางมณฑาแล้ว รับรองว่าถึงใจพระเดชพระคุณทีเดียว ลูกเล่นท่านแยะ ผูเ้ ขียน เองคิดว่าถ้าจะเขียนถึงความสามารถของท่านผูอ้ า� นวยการกองการ สังคีต กรมศิลปากร ท่านนี้แล้ว เขียนได้เล่มหนาทีเดียว เรื่อง น�า้ ใจนัน้ ไม่ตอ้ งพูดถึง ใจนักเลงคนหนึง่ ทีเดียว ผมว่าท่านอธิบดี กรมศิลปากรท่านได้เพชรน�้างามไว้ในมือแล้ว นับว่าเป็นบุญ ของกรมศิลปากรจริงๆ จบรายการของคณะพาทยโกศลแล้วก็กลับมาวง นาย สังเวียน เกิดผล เป็นรอบที่ 2 คราวนีอ้ อกภาษา 6 ภาษา แล้ว ออกตัวด้วย มีภาษาแขก ภาษาพม่า ภาษาญวน ภาษาลาว ภาษาเขมร และภาษาฝรั่ง คุณสมชายขับร้องหมู่ ส่วนตัวตลก ที่ออกมาก็ล้วนแต่เด็ดๆ ทั้งนั้น มีอาทิ 1. สมพงษ์ พงษ์มิตร 2. ถนอม นวลอนันต์ 3. ระเบียบ สีเทา ฯลฯ

เรื่องดนตรีเกี่ยวกับวันลอยกระทง เรื่องดนตรีเกี่ยวกับวันลอยกระทงได้มีนักดนตรีมีฝีมือดี เด่นท่านหนึง่ แห่งจังหวัดพระนครศรีอยุธยาน�าเพลง “วันลอย กระทง” ของคณะสุนทราภรณ์มาประดิษฐ์ขึ้นเป็นเพลงเถา เป็นการแก้กับที่วงสากลชอบเอาเพลงไทยแท้ของเดิมไปท�า เป็นเพลงไทยสากลหรือลูกทุ่ง ท่านผู้นี้คือ ก�านันส�าราญ เกิด ผล แห่งต�าบลบางชะนี อ�าเภอเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยร่วมมือกับพี่น้องสกุลเกิดผล อันที่จริงเพลงนี้แต่งเสร็จมาร่วมสองปีแล้ว เคยน�าออก บรรเลงถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี แล้วครั้งหนึ่งที่พระราชวังบางปะอิน คราวนั้นสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จลอยประทีป ทีบ่ างปะอิน แต่เนือ่ งจากบทร้องทีแ่ ต่งไว้ยงั ไม่เรียบร้อย ท่าน เจ้าของวงดนตรี คือ นายสังเวียน เกิดผล อาของก�านันส�าราญ เกิดผล ได้สง่ บทร้องขึน้ ไปถวายสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขอพระราชทานให้ทรงแก้ไข ปรากกฎว่า ทรงพระกรุณาตรวจแก้แล้วพระราชทานคืนไป เหนือไปกว่า นั้นคือทรงพระกรุณาพระราชทานชื่อว่า “เพลงลอยประทีป เถา” จึงเป็นข่าวที่น่ายินดี [สยามรัฐ ฉบับประจ�าวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 หน้า 9 บันเทิง สยามสังคีต (๓) หน้า 641]

จีเ้ ส้นคนดูไปพร้อมๆ กับ นายหมึก และนายเผือก ตลก ประจ�ากรมศิลปากรได้เห็นสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำม บรมรำชกุมำรี ทรงพระสรวลอยู่เกือบตลอดเวลำ ท�ำให้ พวกเรำดีใจทีท่ รงพระส�ำรำญบ้ำง เพรำะเห็นท่ำนทรงงำน หนักเหลือหลำย จากนายสังเวียนออกภาษาก็กลับมาวงโยธวาทิต 150 คน รอบที่ 2 วงโยธวาทิตนีม้ ผี บู้ รรเลงมาจาก ทหารบก ทหาร เรือ ทหารอากาศ ต�ารวจ กรมศิลปากร กรมประชาสัมพันธ์ และฝ่ายสันทนาการ กรุงเทพมหานคร นับว่าเป็นวงโยธวาทิต ระดับมโหฬารมากๆ คุณเสรีพูดติดตลกว่าใครจะเชิญไปช่วย งานบวชนาคก็ได้ขอให้เลี้ยงอาหาร 3 มื้อ พอ !!! [สยามรัฐ ฉบับประจ�าวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2526 หน้า 9 บันเทิง สยามสังคีต (๓) หน้า 508] 120

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เพลงพระรำชนิพนธ์ใหม่ ของสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ในปี พ.ศ. 2528 ที่ผ่านมานี้ สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชนิพนธ์ บทร้องเพลงไทย ขึ้นใหม่หลายเพลงดังที่เคยเล่ามาแล้ว คือ “เพลงพระอาทิตย์ ชิงดวง” ซึ่งพระราชทานให้ขับร้องในงานประชันปี่พาทย์หน้า พระที่นั่ง ณ ศาลายา จังหวัดนครปฐม เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2527 อันเป็นวันปิยมหาราช ส่วนเพลงอืน่ ก็มเี พลงไอยรา ชูงวง เถา ซึ่งพระราชนิพนธ์เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2528 พระราชทานไปยังก�านันส�าราญ เกิดผล ให้บรรจุทา� นองก็แล้ว เสร็จในเวลาประมาณ 2 สัปดาห์ ซึง่ ก็ได้บนั ทึกเสียงขึน้ ทูลเกล้า ทูลกระหม่อมถวายและเชิญไปออกอากาศทางวิทยุกระจาย เสียงกองพลที่ 1 รักษาพระองค์เป็นครั้งแรก ในเวลาต่อมา ก็ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทร้องขึ้นใหม่ อีกบทหนึง่ ส่งไปพระราชทานแก่นายสังเวียน เกิดผล และ ก�านันส�าราญ เกิดผล บ้านพิณพาทย์ ต�าบลบ้านใหม่ อ�าเภอ เมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เนือ้ เรือ่ งเกีย่ วกับการชมสวน และดอกไม้นานาชนิด จนขณะนีย้ งั มิได้บนั ทึกเสียงแล้วเลยยัง มิได้ออกอากาศเพราะยังท�าไม่ส�าเร็จ นับว่าในปี พ.ศ. 2528 ปีเดียวนั้น ได้ทรงมีพระกรุณา พระราชทานบทเพลงใหม่ให้ แก่วงการดนตรีไทยทัง้ สิน้ ถึง 4 บท ด้วยกัน ในขณะทีบ่ างปีได้ ทรงเว้นว่างไปบ้าง แต่ก็ได้พระราชทานอยู่เสมอมิได้ขาดไป นานเลย [สยามรัฐ ฉบับประจ�าวันที่ 28 มกราคม 2529 หน้า 8 สยามสังคีต (๔) หน้า 040238]

เพลงพระรำชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2529 เป็นวันพระราชสมภพสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เวียนมาครบรอบ อีกวาระหนึง่ จึงขอน�าเรือ่ งราวอันเป็นพระราชจริยาวัตรเกีย่ ว กับดนตรีไทยมาเผยแพร่เพื่อจะได้ทราบให้เป็นที่ชื่นใจโดยทั่ว กัน ขอย้อนกล่าวความหลังในปี พ.ศ. 2528 ว่า ในปีนั้นได้ ทรงพระกรุณาแก่วงการดนตรีไทยพระราชทานบทเพลงใหม่ รวม 4 บท แต่ส�าเร็จเป็นเพลงออกมาโดยเรียบร้อย 2 เพลง อีก 2 บทนั้นมาส�าเร็จเป็นเพลงในปี พ.ศ. 2529 ทั้งนี้ ไม่ได้ นับเพลงพิเศษที่ได้ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นส�าหรับทางขับร้อง และบรรเลงร่วมกับวงดนตรีไทยของโรงเรียนนายร้อย พระจุลจอมเกล้าเมื่อวันปิยมหาราชานุสรณ์อีกบทหนึ่ง เพลงแรกในปี พ.ศ. 2528 คือ เพลงไอยราชูงวง เถา ซึง่ ทรงพระราชนิพนธ์เมือ่ ฤดูรอ้ น ณ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงโปรด ช้างเป็นทุนอยูแ่ ล้ว และในพระราชประวัตนิ นั้ ดูเหมือนว่า ช้าง ก็ชอบที่จะเฝ้าใกล้ชิดท่านด้วย เราจะได้เห็นอยู่หลายครั้งที่ ทรงวาดรูปช้างได้อย่างรวดเร็ว ทั้งรูปช้างที่ทรงวาดนั้นก็เป็น ช้างทีร่ า่ เริงสมบูรณ์พนู สุข เวลาทางราชการจะสมโภชช้างส�าคัญ ก็ทรงพระราชนิพนธ์ค�าฉันท์ส�าหรับพระราชพิธีนั้นๆ อีกด้วย ดังนัน้ เมือ่ นักดนตรีภธู ร คือ นายสังเวียน และก�านันส�าราญ เกิดผล จากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กราบบังคมทูล พระกรุณาว่าขอพระราชทานบทร้องเพลงไอยราชูงวง เถา ใน เวลาเพียงไม่นานนัก พอทรงว่างพระราชภารกิจ เพลงที่มี บทร้องเรือ่ งช้างชูงวงก็สา� เร็จออกมา ฝ่ายดนตรีเสียอีกทีช่ า้ ได้ บทเพลงไปแล้วก็ยังหาโอกาสอัดเสียงถวายไม่ได้ ต้องรออยู่ อีกพักใหญ่จงึ ให้คณ ุ วิภาพร เกิดผล ร้องอัดเทปส่งเข้าไปถวาย เพลงที่ 2 ในปี พ.ศ. 2528 คือเพลงพระอาทิตย์ชิงดวง อันเป็นเพลงอ�าลา ใช้ในงานประชันปีพ่ าทย์ หน้าพระทีน่ งั่ ณ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2529 เพลงนีพ้ ระราชทานให้คณ ุ บุหงา จรัสเพชร เป็นผูข้ บั ร้อง ถวายหน้าพระที่นั่ง เป็นบทร้องว่าด้วยขนมไทยล้วนๆ ซึ่ง นักร้องนักดนตรีไทยมักจะมาหาสูก่ นั เพือ่ รับประทานเวลาร่วม เล่นดนตรีด้วยกัน ดังที่ได้เคยน�าบทร้องมาตีพิมพ์ในคอลัมน์ นี้แล้ว ในวันที่ขับร้องถวายนั้น ขณะที่นักร้องก�าลังร้องก็ พระราชทานขนมใส่ถาดใหญ่ลงมายังวงดนตรีดว้ ย เป็นสิรมิ งคล

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

121


ให้นักดนตรีวันนั้นทั้งสองวงได้รับประทานเป็นที่ชื่นชมโดย ทั่วกัน เพลงที่ 3 คือ เพลง “ชื่นชุมนุมกลุ่มดนตรี” เพลงนี้ทรง ขึน้ เพือ่ เป็นเพลงพระราชทานให้ขบั ร้องในทุกโอกาสทีจ่ ะมีการ ร่วมบรรเลงเพลงไทยด้วยกัน ไม่จา� กัดว่าจะเป็นหมูค่ ณะใด ซึง่ ได้แรงอาจารย์มนตรี ตราโมท ประพันธ์ท�านอง ฝึกซ้อม และ อ�านวยเพลงในงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ณ จังหวัดเชียงใหม่ เมือ่ ปลายเดือนมกราคม พ.ศ. 2529 นี้ ปัจจุบนั เพลงนีร้ อ้ งกัน ไปทั่วทิศในเวลาเพียงไม่กี่เดือน และเมื่องานวันเปิดภาคของ โรงเรียนจิตรลดาทีผ่ า่ นมา ก็ได้มกี ารบรรเลงถวายอีกครัง้ หนึง่ โดยวงดุริยางค์ของนักเรียนโรงเรียนจิตรลดา นับเป็นเพลง ไพเราะมีความหมายดีเพลงหนึง่ ทีจ่ ะยืนยงต่อไปอีกในอนาคต อย่างไม่ต้องสงสัย เพลงที่ 4 เพลงนี้ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อประทับที่พระ ต�าหนักภูพานราชนิเวศน์ พ.ศ. 2528 นี้ คือ เพลง “ตับชนสวน ขวัญ” ที่จะน�ามาเล่าให้ครั้งนี้ เหตุเดิมมีอยู่ว่า เมื่อวันเฉลิม พระชนมพรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2522 วงปี่พาทย์บ้านใหม่ ของตระกูลเกิดผลได้ยกวงไปบรรเลงในงานอุทยานสโมสรที่ พระราชวังบางปะอิน ได้สร้างเพลงตับขึน้ เพลงหนึง่ มาขับร้อง ถวายพระพร ตับเพลงดังกล่าวนีป้ ระกอบด้วยเพลงดอกไม้ไทร ดอกไม้ไพร ดอกไม้ร่วง ไทรหวน ต้นเพลงยาว และมหาชัย ปรากฏว่าเลือ่ งลือกันไปทัว่ ว่า เพลงดอกไม้รว่ ง เป็นเพลงแปลก คูก่ บั เพลงไทรหวนทีว่ งดนตรีทวั่ ไปไม่ได้เพลงนี้ เท่ากับเป็นการ พบของเก่าที่นึกว่าหายไปแล้วนั้น ขนาดนักดนตรีหลายวงมา ขอบันทึกเสียงไปจากเทปตลับทีผ่ เู้ ขียนบันทึกไว้ เพือ่ น�าไปต่อ ให้หลายวงได้สืบทอดต่อไว้ด้วย เมือ่ เวลาผ่านมา วงดนตรีบา้ นใหม่แห่งนีไ้ ด้นา� ตับเพลงนี้ ไปบรรเลงอีกหลายครั้ง ก็มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าน่าจะได้จัดเพลง ทัง้ ชุดนีข้ นึ้ เป็นเพลงตับเพลงใหม่สกั บทหนึง่ ให้บทร้องว่าด้วย ดอกไม้นานาชนิด ซึง่ ผูเ้ ขียนเมือ่ ได้ทราบก็เห็นพ้องด้วย ได้ขอ พระราชทานบทร้องต่อสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี และเพื่อให้สมบูรณ์เป็นชุดดอกไม้ล้วน ก�านัน ส�าราญ เกิดผล จึงได้เพิ่มเพลงชื่อดอกไม้เข้าไปอีกเพลงหนึ่ง คือ เพลงชื่อ “มาลีหวน” แล้วเปลี่ยนเพลงต้นกับเพลงท้าย เสียใหม่ เป็นเพลงเทวาประสิทธิแ์ ละเพลงคลืน่ กระทบฝัง่ ตาม ล�าดับ ท่านผูอ้ า่ นจะเห็นได้วา่ บทพระราชนิพนธ์บทนีเ้ ป็นเรือ่ ง ชมสวนที่รื่นรมย์ยิ่ง คงจะน่าฟังและชวนให้เพลิดเพลิน เรื่อง นี้ไม่จบลงง่ายๆ เพราะเกิดเหตุที่จะเล่าต่อไป ดังนี้ เมื่อได้บทร้องเพลงไปก็เริ่มต่อทางขับร้องให้แก่ คุณ วิภาพร เกิดผล นักร้องวัยรุ่นเสียงดี ต่อไปไม่ได้มากคนร้อง 122

ก็ตดิ สอบ เลือ่ นการต่อเพลงร้องนีไ้ ปอีก เมือ่ ทรงทวงถามก็วา่ ขอพระราชทานให้สอบเสร็จเสียก่อน พอดีระยะนั้นก�านัน ส�าราญ เกิดผล ก็มีงานยุ่งในต�าแหน่งหน้าที่ ไม่มีเวลาซ้อมวง ดนตรี เรือ่ งก็เลยช้าอืดอาดออกไปอีก จนเพลงชืน่ ชุมนุมกลุม่ ดนตรีซึ่งทรงพระราชนิพนธ์ทีหลังเสร็จล่วงหน้าไปแล้ว จนวันหนึ่งในเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2529 ก�านัน ส�าราญ เกิดผล เข้ามาธุระในกรุงเทพฯ ได้แจ้งให้ผเู้ ขียนทราบ ว่า เพลงตับเพลงนี้ดูจะมีอาถรรพ์ ซ้อมจนดีแล้วแต่พอ จะบันทึกเสียงก็เริม่ ต้นไปด้วยดีทกุ ครัง้ พอนักร้องร้องถึงเพลง ชื่อ “มาลีหวน” ก็ให้มีอันเป็นไปทุกคราว เทปเสียบ้าง อัดไม่ ติดบ้าง เพลงบรรเลงไม่ดี เปิดเทปก็ยดื เสียบ้าง จนแล้วจนรอด ก็ไม่สามารถท�าได้ส�าเร็จ จนถึงต้องไหว้ครู ผู้เขียนเองไม่เชื่อ เรือ่ งนี้ ได้บอกให้เปลีย่ นเครือ่ งเทปเสียใหม่แถมยังให้เทปม้วน ใหม่เอี่ยมไปอีก เพื่อจะได้รับประกันว่าใช้เครื่องดี ของดี แต่ก็ ยังอัดไม่ได้จนไหว้ครูแล้วจึงส�าเร็จ [สยามรัฐ ฉบับประจ�าวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2529 หน้า 8 สยามสังคีต (๔) หน้า 040258]

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี พระรำชทำนบทเพลงใหม่แก่ วงดนตรีชำวบ้ำน อยุธยำ พระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อวงการดนตรีไทยนั้น มิได้มีเฉพาะแต่ งานส่งเสริมดนตรี งานเสด็จพระราชด�าเนินในการทรงดนตรี งานพระราชทานพระราชานุเคราะห์แก่นกั ดนตรีเมือ่ เจ็บไข้ได้ป่วย งานรวบรวมโน้ตเพลง งานพระราชนิพนธ์บทเพลงต่างๆ งานประกวดดนตรี เท่านั้น

25 พุทธศตวรรษ มาเมือ่ ปี พ.ศ. 2500 นับว่าเป็นวงดนตรีเก่า แก่ที่มีอายุมากกว่า 40 ปี ครูที่วงดนตรียกย่องนับถือและได้ ลงรากฐานไว้ให้มีอยู่ 4 คนคือ 1. ครูอาจ สุนทร 2. ครูช่อ สุนทรวาทิน 3. ครูฉัตร สุนทรวาทิน 4. ครูเพ็ชร จรรย์นาฏย์

ทัง้ 3 ท่านนีเ้ ป็นศิษย์ทา่ นครูจางวางทัว่ พาทยโกศล และ อีกท่านหนึง่ ซึง่ ก็มอี าวุโสและฝีมอื ระดับครู คือ ครูเพชร จรรย์ พระมหากรุณาธิคุณยังได้แผ่ไปกว้างไกลถึงนักดนตรีใน นาฏย์ ทางดนตรีและขับร้องของบ้านนี้ใช้ทางบ้านท่านครู ส่วนภูมิภาค ได้พระราชทานโอกาสแก่เขาเหล่านั้นให้ได้ใกล้ จางวางทัว่ หรือทางฝัง่ ธน เป็นทางเก่าแก่ทสี่ บื ทอดมาจากต้น ชิด ทรงมีพระราชปฏิสันถารด้วยนักดนตรีต่างจังหวัดบางคน กรุงรัตนโกสินทร์ คือจากท่านเจ้ากรมทับ หรือหลวงกัลยาณ อย่างสนิทสนม น�าความชื่นชมยินดีให้บังเกิดขึ้นเสมอมา มิตตาวาส (ทับ พาทยโกศล) วงดนตรีไทยบ้านใหม่ อ�าเภอเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นายสังเวียน เกิดผล เคยเล่าอย่างชืน่ ชมยินดีวา่ วันหนึง่ เป็นวงดนตรีชาวบ้านที่มีอาชีพท�านา และเล่นดนตรีเวลาว่าง ยกวงไปบรรเลงถวายที่ศูนย์ศิลปาชีพพิเศษบางไทร สมเด็จ แต่เนื่องจากให้ความสนใจในวิชาดนตรีมาก ได้ใฝ่หาความรู้ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�าเนิน มาสอน สนใจฝึกซ้อม จึงมีชื่อเสียงมากขึ้นในที่สุด ก็รับงาน เข้ามาที่วงดนตรีแล้วทรงแย้มพระสรวลมาแต่ไกล พอถึงหน้า ต่างๆ จนเป็นที่รู้จักในเขตใกล้เคียงว่าเป็นวงดนตรีที่ฝีมือจัด วงก็รับสั่งทักนายสังเวียนอย่างเป็นกันเองว่า “เป็นไงลุง ยากที่จะหาวงใดในจังหวัดเสมอเหมือนได้ วงดนตรีบ้านใหม่ สบายดีหรือเปล่า วันนี้จะมาเล่นเพลงอะไรให้ฟังบ้างล่ะ” นี้มี นายสังเวียน เกิดผล เป็นผู้อาวุโสสูงสุด นายสังเวียน กรุเพลงโบราณกรุใหญ่อยู่ที่บ้านตระกูลเกิดผลนี้ เพราะ มีหลานชายคือ ก�านันส�าราญ เกิดผล ก�านันต�าบลบางชะนี สะสมเอาไว้มาก ไม่ได้สะสมไว้ในหัวสมองอย่างวิธโี บราณ ทว่า ซึ่งมีความรู้ทางดนตรีไทยดีมาก ฝีมือก็จัด เป็นครูที่ให้วิชา สะสมเป็นโน้ตสากล เขียนไว้อย่างถูกต้องทุกประการบนแผ่น ดนตรีไทยได้สงู สุดถึงเพลงหน้าพาทย์ชนั้ สูง ได้สอนทีว่ ทิ ยาลัย กระดาษโน้ต 5 เส้น ครูจังหวัดพระนครศรีอยุธยามานาน จนได้รับปริญญาตรี บ้านนี้เป็นบ้านที่คมกริบอยู่ในฝัก มีหลักฐานเพลงเก่า กิตติมศักดิ์ สาขาดนตรีไทย นอกจากสองท่านที่เป็นหัวแรง มากมายที่ครูอาจ สุนทรได้ถ่ายทอดมาจากบ้านพาทยโกศล ส�าคัญแล้ว ยังมีครูปี่เป็นผู้ใหญ่มาก คือ ครูผวน บุญจ�าเริญ โดยวิธีลอกโน้ตเพลง และยังมากินอยู่หลับนอนต่อเพลงให้ มีคนระนาดเอกฝีมือจัดมากคือ คุณวิเชียร เกิดผล มีนักร้อง เป็นเวลาหลายปี ครูช่อและครูฉัตรก็มาคุมวง ปรับวง ครูช่อ เสียงดีสองคน คือ คุณมาลี และคุณวิภาพร เกิดผล มีคน นั้นมาตายที่บ้านนี้ให้วิชาไว้มากมาย ฆ้องใหญ่ทรี่ า�่ เรียนมาดี ชือ่ คุณจ�าลอง เกิดผล ฯลฯ มากมาย ก�านันส�าราญและพี่น้องรักใคร่ชอบพอกับนักแหล่เทศน์ หลายคนจนเป็นวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ได้อย่างดียิ่ง พร ภิรมย์ มาตั้งแต่ยังหนุ่ม จนแม้บัดนี้ไปบวชเป็นพระภิกษุ เวลามีงานทีต่ อ้ งใช้ดนตรีไทย ทางจังหวัดก็จะใช้ดนตรีวง พร ภิรมย์ แล้วก็ยังไปมาหาสู่กัน ช่วยประพันธ์บทเพลงตับ นี้ ซึง่ ได้รบั งานของทางราชการเรือ่ ยมาตัง้ แต่สมัยรัฐบาลจอมพล เพลงเถา เพลงถวายพระพรให้ในโอกาสต่างๆ แถมยังส่งน้อง แปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ออกงานฉลอง ชายชื่อ นายขวัญยืน มีสมวงศ์ มาหัดขับร้องเพลงสามชั้น อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

123


เพลงเถา จนได้มาร่วมงานและช่วยงานกันบ่อยๆ เมือ่ มีการรวบรวมเพลงพระนิพนธ์ในทูลกระหม่อมบริพตั ร ปี พ.ศ. 2523 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้วงดนตรีนี้เข้า มาบันทึกเสียงทีศ่ าลาดุสดิ าลัยในพระราชวังดุสติ พระต�าหนัก จิตรลดารโหฐาน เป็นวงดนตรีที่ซ้อมจัดมาก่อนจึงมีฝีมือยอด เยี่ยม ได้เพลงที่คิดว่าหายไปแล้วกลับมา และเป็นเพลงพระ ราชนิพนธ์ในทูลกระหม่อมหลายเพลง เช่น เพลงอัปสรส�าอาง เถา สุรางค์จา� เรียง เถา จีนลัน่ ถัน 3 ชัน้ (3 ท่อน ของฝัง่ พระนคร มี 2 ท่อน) เพลงตับ และเพลงเรื่องอีกมากจนเป็นที่ไว้วาง พระทัย และเกิดการแลกเปลี่ยนงานศิลปะกันขึ้นในท�านอง ถ้อยทีถ้อยอาศัย ซึ่งทางวงดนตรีเห็นเป็นราชการที่ต้องท�า ถวายและรับพระราชทานพระกรุณาพระเมตตาสืบกันมาแต่ ครั้งนั้น ครัง้ หนึง่ ก�านันส�าราญ เกิดผล นึกสนุกน�าเพลงร�าวงลอย กระทงมายืดขึ้นเป็นอัตรา 3 ชั้น ท�าขึ้นเป็นเพลงเถาให้ชื่อว่า เพลงลอยกระทง เถา ส่งเนื้อร้องที่พระภิกษุองค์หนึ่งรจนาไว้ มาขอพระราชทานพระราชวินิจฉัยว่างดงามเพียงพอหรือยัง ทอดพระเนตรแล้วรับสัง่ ชมว่า เนือ้ ร้องนัน้ มีเนือ้ หาแสดงความ คิดที่ดีเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง แต่ข้อความบางตอนควร แก้ไข ก็ทรงพระกรุณาพระราชทานกลับคืนไปพร้อมกับการ แก้ไขและให้ชอื่ ใหม่วา่ เพลงลอยประทีป เถา ได้นา� ออกบรรเลง เป็นที่รู้จักคุ้นเคยกันมาจนบัดนี้ หลังจากนั้นไม่นานก็ทรง พระราชนิพนธ์บทร้องชมสวน พระราชทานชื่อ ว่า “ตับชม สวนขวัญ” ทางก�านันส�าราญก็บรรจุเพลงถวาย มีเพลงดอกไม้ ไทร ดอกไม้รว่ ง ไทรหวน มาลีหวน เป็นอาทิ ซึง่ เหมาะกับบท พระราชนิพนธ์เป็นที่สุด แล้วบันทึกเสียงน�าออกเผยแพร่ ทั้ง เรือ่ งเพลงลอยประทีป เถา และตับชมสวนขวัญก็ได้เคยตีพมิ พ์ ในสยามสังคีตนี้มาแล้ว เมื่อต้นปี พ.ศ. 2530 ได้พระราชทานบทร้องเพลงมายัง วงดนตรีนอี้ กี 3 บท ส�าหรับเพลงชือ่ บรรทมไพร เถา วิหคเหิน เถา และอนงค์สชุ าดา เถา เพลงบรรทมไพรและอนงค์สชุ าดา นั้นชื่อคุ้นหูนักดนตรีไทยแต่มักบรรเลงกันไม่ได้ เพราะได้ไม่ ครบกันทั้งเถา เพลงอนงค์สุชาดานั้นที่น�ามาบรรเลงประกอบ การแสดงโขนละครก็เป็นเพลงอนงค์สุชาดา 2 ชั้น และเพลง อนงค์สชุ าดาตัด (เข้าใจว่านักแสดงลิเกเป็นผูต้ ดั จากของเดิมที่ ร้องยาวให้สนั้ ลง) เพือ่ สะดวกในการใช้งานและการท�าให้จา� ได้ ขึ้นใจ แต่ที่จะมีทั้งทางร้องทางดนตรีเป็นเถาหายากมาก บ้าง ว่าท่านครูหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้ทา� ไว้ทาง หนึง่ แต่ทางของเดิมนัน้ เป็นทางเก่ากว่าอยูท่ บี่ า้ นตระกูลพาท ยโกศล ซึ่งได้หวงเก็บไว้ไม่แสดงมาช้านาน เช่นเดียวกับเพลง ชื่อ วิหคเหิน และเพลงบรรทมไพร 124

ในครั้งนี้ได้น�าเพลงอนงค์สุชาดา เถา และเพลงวิหคเหิน เถา มาบันทึกเสียงก่อนสองเพลง โดยใช้วงปีพ่ าทย์ไม้แข็งเครือ่ ง ใหญ่ บันทึกเสียงที่ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ (เมื่อวัน ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2531) ทางขับร้องนั้นก�านันส�าราญท�า ขึ้น แล้วต่อให้ขวัญยืน มีสมวงศ์ น้องชายพร ภิรมย์ โดยร้อง ตามบทพระราชนิพนธ์ทที่ รงไว้ตงั้ แต่วนั ที่ 6 และวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2530 ตามล�าดับ เนื่องจาก 2 เพลงนี้ เป็นเพลงทางพื้น เรียบๆ ดังนัน้ ก�านันส�าราญจึงปรุงแต่งทางขัดไว้สา� หรับบรรเลง ในเที่ยวกลับ ท�าให้เพลงนี้มีรสชาติมากขึ้น ท�าเสร็จนานแล้ว แต่ยงั ไม่สบโอกาสจะบันทึกเสียง จนทรงทวงถามลงไปว่าเมือ่ ไร จะได้ทรงฟังบ้าง ก็พอดีมโี อกาสในวันดังกล่าวจึงได้บนั ทึกเสียง ถวาย บทร้องเพลงพระราชนิพนธ์ทงั้ สองปรากฏตามลายพระหัตถ์ (ตามภาพ)

ทั้งได้น�ารูปก�านันส�าราญ เกิดผล และนักร้องขวัญยืน มี สมวงศ์ มาลงไว้ให้เห็นแล้วว่าสองท่านนีโ้ ชคดี ได้มผี ลงานร่วม กับเพลงพระราชนิพนธ์สองเพลงดังกล่าว ที่จริงยังมีรูปนัก ดนตรีอีกหลายคน แต่ไม่มีที่จะลงได้ทั้งหมด เพลงอนงค์สชุ าดา เถา เป็นประวัตนิ างสุชาดาตอนถวาย ภัตตาหารแด่พระพุทธเจ้า ซึ่งตรงกับชื่อของเพลงและจะได้

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เรียนพุทธประวัตจิ ากบทร้องพระราชนิพนธ์นด้ี ว้ ย ส่วนบทเพลง วิหคเหินเป็นเรื่องของนกกับปรัชญาชีวิตโดยแท้ ไม่ใช่บทร้อง จากวรรณคดีเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ อย่างที่นิยมกันมาแต่ก่อน ส�าหรับเพลงบรรทมไพร เถา นั้น ยังไม่เรียบร้อย รับสั่ง ว่ายังจะต้องแก้ไขบทร้องอีกเล็กน้อย ใครที่ต้องการฟังเพลง อนงค์สชุ าดา เถา จะคอยฟังหรือบันทึกเสียงไว้ได้จากรายการ เพลงไทยจากมหาวิทยาลัยมหิดล เวลา 20.30 น. วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย หลังข่าวสองทุ่ม หรือจะฟังจากรายการสังคีตสยาม ธนาคาร กรุงเทพ ณ สถานีวทิ ยุกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ คลืน่ เอเอ็ม ความถี่ 1008 กิโลเฮิรตซ์ คืนวันอาทิตย์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 เวลา 22.00 ถึง 23.00 น. แต่จะเป็นระบบโมโนโฟนิกส์ ถ้าจะฟังให้เป็นสเตอริโอโฟนิกส์ ต้องฟังจากวิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย เคยมีผกู้ ล่าวมาแล้วหลายครัง้ ว่า เพลงไทยแท้ของเราทุก วันนีอ้ ยูก่ บั ทีเ่ ฉยๆ ใช้กนั บ้างหรือไม่ ส่วนหนึง่ ไม่มขี องใหม่เกิด ขึ้น และของเก่าก็ก�าลังทยอยกันตายไปทีละเพลง จากเรื่องที่ บรรยายมานี้จะเห็นได้ว่าไม่จริง เพลงใหม่และเพลงเก่าที่ค้น มาได้นั้นมีออกมาเสมอ แต่ว่าหาทางออกสู่ประชาชนได้ยาก เท่านัน้ เรือ่ งนีต้ อ้ งโทษสือ่ ทีไ่ ม่เปิดช่องให้เพลงไทยได้ออกเท่า ที่ควรอย่างหนึ่ง และต้องโทษผู้บริหารอีกส่วนหนึ่ง ที่ลืมสอนคนไทย ให้ฟงั เพลงไทยเป็นเสียตัง้ แต่ยงั เล็ก ละเลยให้ฟงั แต่เพลง ตะวันตกเสียจนไม่มโี อกาสทีจ่ ะได้เรียนรูใ้ นการฟังเพลงไทย [สยามรัฐ ฉบับประจ�าวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 หน้า 13 สยามสังคีต (๕) หน้า 050274]

บ้ำนดนตรีพำทยรัตน์ พระมหำกรุณำธิคุณที่ทรงชุบชีวิต ชำวบ้ำนให้เป็นสุขด้วยดนตรี การเล่าเรียนดนตรีไทยอย่างโบราณโดยรับเด็กไปกินอยู่ หลับนอนในบ้านของคุณครูครัง้ ละมากๆ เป็นเรือ่ งในอดีต แต่ อาจจะท�าได้ยากมากในปัจจุบนั เพราะสถานการณ์และเศรษฐกิจ ไม่อ�านวยให้ท�าได้ แต่ในปี พ.ศ. 2538 ที่เขียนบทความนี้ ที่ บ้านดนตรีพาทยรัตน์ของนายส�าราญ ที่บางชะนี อ�าเภอ บางบาล กลับท�าการได้ผลดี เพราะพระมหากรุณาธิคณ ุ ของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เด็ก ตัวด�าๆ ของกรมประชาสงเคราะห์กลุม่ นีท้ รงพระกรุณาให้ รับตัวมาอยู่รวมกันที่บ้านของครู เขาเหล่านั้นบางคนไม่ เคยมีบา้ น แต่บดั นีเ้ ขามีพอ่ มีแม่ มีพมี่ นี อ้ ง ชีวติ ในวงดนตรี ไทยของเขาทุกวันนี้ได้สมาคมกับบุคคลทั่วไปท่ามกลาง ความเอื้ออารีย์ ความรัก ความเมตตาจากผู้หลักผู้ใหญ่ เริม่ เป็นคนทีม่ คี วามรับผิดชอบ มีความสามัคคีเป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน กินอิม่ นอนหลับ อบอุน่ และปลอดภัย ทีส่ า� คัญ ชีวติ นัน้ มีจดุ หมายชัดเจน เพราะมีดนตรีจากพระบารมีใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นที่ พึ่งพิง เรือ่ งเดิมมีอยูว่ า่ ครูสา� ราญ เกิดผล อดีตก�านันต�าบลบาง ชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่านเป็นครู ดนตรี และเป็นนักดนตรีไทยทีม่ พี ร้อมทัง้ ความรู้ ฝีมอื ชือ่ เสียง และประสบการณ์ ได้เคยท�ำดนตรีไทยถวำยสมเด็จพระเทพ รัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี มำเป็นเวลำนำนกว่ำ สิบปี จนทรงไว้วำงพระรำชหฤทัยและทรงพระเมตตำต่อ ครูส�ำรำญ ท่านได้นา� ความขึน้ กราบบังคมทูลว่า ในบั้นปลาย ของชีวิตของท่านนี้ อยากจะท�างานฝึกสอนดนตรีไทยให้เด็ก มาฝึกเรียนอยู่กินหลับนอนในแบบอาศรมดนตรีไทยโบราณ โดยรับมาไว้ในบ้านตัวเอง เลี้ยงดูทุกคนเสมือนหนึ่งลูกหลาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง ทราบความประสงค์และทรงเห็นว่าน่าจะได้อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม การเรียนดนตรีตามแบบเก่านีไ้ ว้ให้เป็นแบบอย่าง จึงพระราชทาน พระเมตตาให้กรมประชาสงเคราะห์จดั หาเด็กทีส่ นใจและสมัคร ใจจะเรียนดนตรีให้มาอยูก่ นิ ทีบ่ า้ นก�านันส�าราญ บ้านนีอ้ ยูร่ มิ ฝัง่ แม่นา�้ เจ้าพระยาตรงข้ามวัดจุฬามณี แล้วจัดข้าวปลาอาหาร เครือ่ งนุง่ ห่ม จัดหาทีเ่ ล่าเรียนให้ในละแวกใกล้บา้ นทีอ่ ยู่ กิจวัตร ประจ�าตื่นนอนเช้าก็ต้องซ้อมดนตรีก่อน เมื่อกินข้าวเช้าที่ ภรรยาของครูหงุ หาให้อมิ่ แล้วจึงไปโรงเรียน บ่ายกลับมาก็ซอ้ ม

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

125


ดนตรีปี่พาทย์จนค�่าก็อาบน�้าในแม่น�้า กินข้าว ท�าการบ้าน ซ้อมดนตรีแล้วจึงสวดมนต์ไหว้พระเข้านอนเป็นประจ�าทุกวันไป ชีวติ ของเด็กเหล่านี้ จากการทีอ่ ยูก่ บั กรมประชาสงเคราะห์ อย่างว้าเหว่ได้กลับกลายมาเป็นเด็กที่มีพ่อเป็นครูดนตรี เป็น ผูใ้ ห้ทงั้ ความรัก ความอบอุน่ ให้วชิ าความรู้ ให้อาหารทีอ่ ยูก่ บั ความปลอดภัยในชีวติ เด็กเหล่านีจ้ งึ เจริญเติบโตอบอุน่ ทัง้ กาย ใจ และมีฝมี อื ดนตรีไทยไปพร้อมกัน มาบัดนีม้ ฝี มี อื สามารถที่ จะท�ามาหากินเลี้ยงชีพด้วยดนตรีบ้างแล้ว แม้จะยังไม่ถึงกับ ปีกกล้าขาแข็ง แต่กท็ า� ได้ดดี ว้ ยความมัน่ ใจเพราะมีครูคอยก�ากับ ชี้ทางให้ตลอดมา ต่อมามีญาติก�านันส�าราญอยู่ข้างบ้าน เดิมเป็นคนปี่วง เดียวกับก�านันส�าราญมาก่อนถึงแก่กรรมลง มีที่ดินว่างติดกับ บ้านก�านันส�าราญทีส่ อนดนตรีนนั้ ลูกชายซึง่ รับมรดกทีด่ นิ มา ก็ถวายทีด่ นิ แปลงนีแ้ ด่สมเด็จพระเทพรัตน์ฯ จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างเป็น บ้านครึง่ ตึกครึง่ ไม้สองชัน้ ขึน้ โดยมีนายสุวตั ต์ สุวรรณปรีชา สถาปนิกจากส�านักงานเขตดุสิต เขียนแบบและควบคุมการ ก่อสร้างถวาย ทางสุขาภิบาลอ�าเภอบางบาล นายอ�าเภอ ท่าน ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และกรมการต่างๆ ใน ท้องทีก่ จ็ ดั สรรงบประมาณสมทบเงินพระราชทานบางส่วนท�า ทางเดินเท้าจากหลังบ้านมาลงแม่น�้า สร้างบันไดคอนกรีตลง ไปยังแม่น�้า ร่วมถวายพระราชกุศลกับสมเด็จพระเทพรัตน์ฯ ต่อมาทรงสร้างเขื่อนต่อกับบันไดท่าน�้า ท�าให้ชาวบ้าน สัญจรขึ้นลงได้สะดวกมากขึ้น บ้านหลังที่ทรงสร้างด้วยเงิน ส่วนพระองค์นี้โปรดพระราชทานชื่อว่า “บ้านดนตรีพาทย รัตน์” ชั้นบนให้เป็นที่หลับนอนของเด็กประมาณ 12 คน ชั้น ล่างเป็นที่ซ้อมดนตรีปี่พาทย์ ส่วนบ้านเก่าของก�านันส�าราญ ซึง่ คับแคบนัน้ ก็ยงั เป็นทีอ่ ยู่ ทีก่ นิ เป็นครัว เป็นทีฝ่ กึ อบรม อยู่ กันอย่างพ่อๆ ลูกๆ ต่อไป วันพฤหัสบดีที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2533 สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชด�าเนิน ไปทรงเป็นองค์ประธานในพิธีไหว้ครูดนตรีไทยของ บ้านพาทยรัตน์นี้ ที่ศาลาวัดจุฬามณี หลังจากเสวยพระ กระยาหารกลางวันแล้ว ทรงดนตรีร่วมกับเด็กๆ ทรงขับร้อง เพลงพระอาทิตย์ชงิ ดวงทางมอญ โปรดเกล้าฯ ให้เด็กๆ บรรเลง รับร้อง แล้วเสด็จลงเรือยนต์ของกรมเจ้าท่าข้ามฟากมาทรง เปิดบ้านหลังนี้ เป็นศูนย์ส่งเสริมและเผยแพร่ดนตรีไทย ตามพระราชประสงค์ เด็กๆ เหล่านี้ก็ได้บรรเลงดนตรีเพลง มหาฤกษ์ถวาย เป็นการเสด็จเหยียบบ้านนักดนตรีและบ้าน พระราชทานให้เกิดเป็นสิริมงคลอย่างยอดเยี่ยมเกินจะหาค�า มากล่าวได้ 126

ความอบอุ่นความมีจิตใจสบายภายใต้ความรักและเอื้อ อาทรของก�านันส�าราญและครอบครัว ท�าให้เด็กเหล่านีม้ คี วาม รักก�านันส�าราญอย่างพ่อบังเกิดเกล้าทุกคน ใครท�าผิดก็ถูก ลงโทษ ใครท�าดีกไ็ ด้รบั รางวัล ใครประพฤติผดิ ร้ายแรงแก้ไขไม่ ดีขึ้นก็ถูกส่งกลับไปอยู่กรมประชาสงเคราะห์แล้วไม่ต้องกลับ มาอีก ที่เป็นอย่างนี้ก็มีอยู่หลายคน ปัจจุบันมีเด็กในหมู่บ้านใกล้เคียงสมัครเข้ามาเล่าเรียน ดนตรีในบ้านนีเ้ พิม่ เติมขึน้ เรือ่ ยๆ จนจัดเป็นวงปีพ่ าทย์เครือ่ ง ใหญ่ได้ถึงสองวง ต่อมาได้พระราชทานวงปี่พาทย์มอญเพิ่ม ให้อีกเพื่อเป็นเครื่องมือในการออกท�ามาหากิน เพราะชาว บ้านนิยมใช้ปี่พาทย์มอญในงานศพ มาบัดนี้สามารถรับงาน ดนตรีทั้งใกล้ไกล ไปจนถึงต่างจังหวัดได้แล้ว ทรงพระกรุณาสอบถามถึงการเรียนวิชาสามัญของเด็ก ทรงขอดูคะแนนสอบ เด็กหนุ่มๆ เหล่านี้ต้องการก�าลังใจมาก ในการเล่าเรียนวิชาสามัญ เพราะที่สังเกตคะแนนวิชาสามัญ ไม่สู้ดี จึงต้องตั้งรางวัลเป็นเครื่องจูงใจให้ขยันเล่าเรียนวิชา สามัญด้วย โดยก�าหนดเป็นเงินรางวัลไว้วา่ ถ้าสอบได้คะแนน ถึงสามหรือมากกว่านั้น จะได้รับรางวัลเป็นเงินสดถึงพันบาท เป็นต้น ปรากฏว่าปีนี้มีคนสอบได้คะแนนเกินสามถึง 2 คน ท่านที่สนใจอยากเห็นชีวิตเด็กเหล่านี้นั้นจะเดินทางไป ทางรถยนต์เส้นทางสายเก่าระหว่างอยุธยากับอ่างทอง ผ่าน วัดภูเขาทองไปเรื่อยๆ จนถึงวัดจุฬามณี เข้าไปในวัดนั้นแล้ว ถึงศาลาวัดริมแม่นา�้ เจ้าพระยา ฝัง่ ตรงข้ามจะมีบา้ นไทยสามหลัง สองในสามหลังนั้นเป็นบ้านดนตรีพาทยรัตน์ตามที่เล่ามานี้ ซึ่งจะต้องลงเรือคนละหนึ่งบาทข้ามไปนั่งคุยกับเด็กๆ เหล่านี้ ได้ดว้ ยบรรยากาศทีเ่ ป็นกันเอง อากาศดีเพราะอยูใ่ กล้นา�้ เวลา บ่ายๆ วันหยุดเมือ่ ยืนคอยเรือมารับข้ามฟากเราจะได้ยนิ เสียง ปี่พาทย์ บางคราวมีเด็กนั่งเป่าปี่อยู่ที่ท่าน�้า ในขณะที่บางคน ก�าลังง่วนกับการตกปลาในแม่นา�้ บางคนด�าผุดด�าว่ายอยูก่ ลาง แม่น�้า เป็นชีวิตที่น่าสนุกสนานไม่น้อยเลย ทัง้ หมดนีเ้ กิดขึน้ ได้เพราะพระบารมีเป็นทีพ่ งึ่ ทางราชการก็ หันมาช่วยเต็มก�าลัง ท�าให้เยาวชนดีมีความสุข รวมทั้ง ครูดนตรีที่เข้าสู่วัยชราและชาวบ้านใกล้เคียงก็พลอย มีความสุขไปด้วย [สยามรัฐ ฉบับประจ�าวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2538]

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


รำยชื่อเพลงไทย จ�ำนวน 95 รำยกำร

ผลงำนกำรบรรเลงของวงดนตรีไทย คณะ พำทยรัตน์ ควบคุมกำรบรรเลงและฝึกซ้อมโดย นำยส�ำรำญ เกิดผล บันทึกเสียงไว้ ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนำคำรกรุงเทพ จ�ำกัด สำขำผ่ำนฟ้ำ เพื่อจัดท�ำรำยกำรวิทยุ สังคีตภิรมย์ เผยแพร่ทำงวิทยุกระจำยเสียงในส่วนกลำงและส่วนภูมิภำค งำนของศำสตรำจำรย์เกียรติคุณ นำยแพทย์พูนพิศ อมำตยกุล บันทึกเสียงโดยนำยศิขิน พงษ์พิพัฒน์1

วงปี่พำทย์ไม้แข็งเครื่องใหญ่ คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2526] 1. โหมโรงกัลยาณมิตร 3 ชั้น

[4:26]

2. พม่าห้าท่อน 3. ออกท้ายเพลงพม่าชั้นเดียว 4. จระเข้หางยาว 3 ชั้น 5. เขมรเอวบาง เถา

[14:08] [4:50] [8:52] [19:22]

6. โหมโรงอู่ทอง

[6:03]

7. สี่บท เถา 8. บุหลัน เถา

[18:14] [25:04]

9. เขมรโพธิสัตว์ เถา

[21:02]

ปี่: ผวน บุญจ�าเริญ ระนาดเอก: วิเชียร เกิดผล ระนาดทุ้ม: สังวาล กรป้องกัน ฆ้องวงใหญ่: วัฒนา เกิดผล ฆ้องเล็ก: สุนทร ชุมแสง เอกเหล็ก: จ�า สายวงศ์ ทุ้มเหล็ก: ธวัชชัย สุขเสียงศรี ฉิ่ง: เรืองศักดิ์ สุขเสียงศรี เครื่องหนัง: กระแสร์ แก้วก�าเนิด นพรัตน์ สุขเสียงศรี ฉาบ: มนตรี เกิดผล กรับ โหม่ง: สถิตย์ ข�าประสาท ขับร้อง: มาลี เกิดผล ขับร้อง: มาลี เกิดผล [บทร้องโบราณ/ แนวโบราณ] ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [บทร้องจกาเรื่องรามเกียรติ์ ตอนหนุมานเข้าห้องวานรินทร์ ทางเก่ามากจากบ้านจางวางทั่ว พาทยโกศล] ระนาดเอก: ธวัชชัย สุขเสียงศรี [ครูส�าราญ เกิดผล แต่ง พ.ศ. 2518 จากท�านองสากล เพลงกรุงศรีอยุธยา [หลวงวิจิตรวาทการ]] ขับร้อง: มาลี เกิดผล [บทร้องจากเรื่องอิเหนา] ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [บทร้องจากเรื่องอาบูหะซัน ทางจากบ้านพาทยโกศล] ขับร้อง: มาลี เกิดผล [บทร้องจากเรื่องพระอภัยมณี ทางที่บรรเลงนี้ได้จากพระยาเสนาะดุริยางค์ [แช่ม สุนทรวาทิน]

คัดจากเอกสารอัดส�าเนาบันทึกรายชื่อเพลงไทยเดิมประมาณ 2,700 รายการ บันทึกเสียงไว้ที่ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด สาขาผ่านฟ้า เพื่อ จัดท�ารายการวิทยุสังคีตภิรมย์ เผยแพร่ทางวิทยุกระจายเสียงในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2522 ถึง วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 โดยมีรายละเอียดชื่อเพลง ศิลปิน เวลาของแต่ละเพลง และวันที่บันทึกเสียง งานของ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล [หัวหน้า] นายศิขิน พงษ์พิพัฒน์ [ผู้บันทึกเสียงและจดบันทึกด้วยลายมือ] เย็บเล่มเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557 ลิขสิทธิ์ร่วม ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด [มหาชน] และ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล ได้ถ่ายทอดไว้เผยแพร่ ณ ห้องสมุดดนตรีสมเด็จพระเทพรัตน์ สถานที่เก็บ ส�านัก หอสมุด มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ศาลายา อนุญาตให้ท�าส�าเนาส�าหรับการเรียนการสอนได้ 1

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

127


10. ออกท้ายเพลงเขมรใหม่ 11. แขกมอญบางช้าง เถา

[3:04] [10:48]

ขับร้อง: มาลี เกิดผล [บทร้องจากเสภาเรื่องขุนช้าง ขุนแผน ทางร้องแบบคุณหญิงไพฑูรย์ กิตติวรรณ ทางจากบ้านจางวางทั่ว พาทยโกศล] ขับร้อง: มาลี เกิดผล [บทร้องจากเรื่องรามเกียรติ์]

12. ดอกไม้ไพร เถา [9:39] 13. พวงร้อย 2 ชั้น ออกชั้นเดียว [5:03] 14. พวงร้อย เถา [27:22] ขับร้อง: มาลี เกิดผล [บทร้องจากเสภาเรื่องขุนช้าง ขุนแผน] 15. ตับสังข์ทอง ตอน มณฑาลงกระท่อม ตอนที่ 1 [26:51] ขับร้อง: มาลี เกิดผล 16. ตับสังข์ทอง ตอน มณฑาลงกระท่อม ตอนที่ 2 ออกท้ายเพลงบัวตูมบัวบาน [20:17] ขับร้อง: มาลี เกิดผล วงปี่พำทย์ไม้แข็ง คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2528] 17. ไอยราชูงวง เถา

[12:42]

ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [บทร้องจากพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตน์ฯ [เม.ย.2528] ท�านองจากบ้านจางวางทั่ว พาทยโกศล] 18. สามไม้ใน เถา [9:57] ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [บทร้องจากเสภาเรื่องขุนช้าง ขุนแผน ท�านองของครูส�าราญ เกิดผล] 19. โอ้ลาว เถา [22:37] วิภาพร เกิดผล: ขับร้อง [ทางของเก่าได้จากครูอาจ สุนทร] 20. ลอยประทีป เถา [15:53] ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [บทร้องเดิมเข้าใจว่า ครูพร ภิรมย์ ร่างไว้ แล้วส่งมาถวายสมเด็จพระเทพรัตน์ ขอพระราชทานชื่อเพลง ทั้งขอให้ช่วยปรับส�านวนให้เข้ากับเรื่องวันลอยกระทง วันนั้นมีหลายคนมาเฝ้าที่อาคารชัยพัฒนา พระต�าหนักจิตรลดา รโหฐาน ได้ร่วมกันปรับแก้หน้าพระที่นั่ง และปรับตาม พระราชวิจารณ์ เพลงนี้จึงไม่โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า เป็นบทพระราชนิพนธ์] 21. จีนเข้าโบสถ์ เถา [10:58] ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [บทร้องจากครูพร ภิรมย์ ท�านองจากบ้านจางวางทั่ว พาทยโกศล] 22. พิศวง เถา [18:34] ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [บทร้องของนายกระแสร์ แก้วก�าเนิด แต่งจากเค้าความเรื่องโครตเพชร ในเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่ ท�านองของครูส�าราญ เกิดผล] 23. ชมสวนสวรรค์ 3 ชั้น [6:53] [บรรเลงล้วน] 24. เรื่องสี่เกลอออกเพลงฉิ่งเรื่องตวงพระธาตุ [23:42] [บรรเลงล้วน] 25. ตับพันธุรัตน์ ออกป่า ตอน 1 [25:20] ขับร้อง: มาลี และวิภาพร เกิดผล [จากเรื่องสังข์ทอง ของเก่า ครูอาจ สุนทร ได้มาจากบ้านพาทยโกศล] [วา ยานี เพลงยาวท่อน 1 ระส�่าระสาย คุกพากย์ กราวใน เชิด แขกไทร ชั้นเดียว เพลงฉิ่ง ลิงโลด ตะลุ่มโปง กล่อมนารี ตระบรรทมไพร ขอมเล็ก หอมเขียว มังกรเล่นคลื่น ต้นเสมอ อัปสรส�าอางค์ โอ้วิชากูล โอด เขมรกลาง เชิด] 128

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


26. ตับพันธุรัตน์ พระสังข์หนี ตอน 2 [28:21] 27. ตับฤาษีเสี่ยงลูก ตอน 1 [24:38]

28. ตับฤาษีเสี่ยงลูก ตอน 2 29. อาทิตย์ชิงดวง

[24:03] [7:30]

ขับร้อง: มาลี และวิภาพร เกิดผล [ของเก่า รามเกียรติ์ ก�าเนิดพาลี สุครีพ ครูอาจ สุนทร น�ามาจากบ้านพาทยโกศล เข้าใจว่าเดิมเป็นบทเบิกโรงหนังใหญ่ของเก่าแต่ไม่มีร้อง มาปรับเป็นบทเบิกโรงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6 แต่ที่น�ามาร้องนี้ ไม่เหมือนกันทีเดียว] ขับร้อง: ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล

วงปี่พำทย์ไม้แข็ง คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2531] 30. อนงค์สุชาดา เถา

[11:55]

31. วิหกเหิน เถา

[18:04]

32. จับลิงหัวค�่า

[22:07]

33. เพลงเรื่องมอญแปลง

[20:23]

34. เพลงฉิ่งเรื่องฟองน�้า 35. ดอกไม้ไพร เถา

[5:04] [9:26]

36. มาลีหวล เถา

[14:37]

37. ก�าสรวลสุรางค์ เถา

[16:09]

38. มังกรเล่นคลื่น เถา

[11:58]

ขับร้อง: ขวัญยืน มีสมวงศ์ [บทร้องจากพระราชนิพนธ์ ในสมเด็จพระเทพรัตน์ ท�านองของจางวางทั่ว พาทยโกศล ครูส�าราญ เกิดผล ท�าเที่ยวกลับ] ขับร้อง: ขวัญยืน มีสมวงศ์ [บทร้องจากพระราชนิพนธ์ ในสมเด็จพระเทพรัตน์ ท�านองของจางวางทั่ว พาทยโกศล ครูส�าราญ เกิดผล ท�าเที่ยวกลับ] ขับร้อง: มาลี เกิดผล [ของเก่า ครูอาจ สุนทร น�ามาจาก บ้านพาทยโกศล เป็นเพลงโหมโรงหนังใหญ่ของเก่า ครั้งนี้ขับร้องเป็นเพลงตับ ครูกาหลง พึ่งทองค�า [ศิลปินแห่งชาติ] เดี่ยวปี่ใน [ไม่เต็มเพลงหมดเวลาเทป] ปี่: กาหลง พึ่งทองค�า ระนาดเอก: วิเชียร เกิดผล ระนาดทุ้ม: ส�าราญ เกิดผล ฆ้องวงใหญ่: จ�าลอง เกิดผล ตะโพน: กระแส แก้วก�าเนิด [นักดนตรีชุดเดียวกัน] ขับร้อง: มาลี เกิดผล [บทร้องจากเรื่องรามเกียรติ์ ท�านองจากบ้านพาทยโกศล] ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [บทร้องจากเสภาเรื่องขุนช้าง ขุนแผน ท�านองของพระยาประสานดุริยศัพท์ [แปลก ประสานศัพท์]] ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [บทร้องของครูพร ภิรมย์ ทางของจางวางทั่ว พาทยโกศล] ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [บทร้องของนางเจริญ พาทยโกศล ท�านองของจางวางทั่ว พาทยโกศล]

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

129


วงปี่พำทย์ไม้นวม คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2531] 39. ตับชมสวนขวัญ ตอน 1

[24:22]

40. ตับชมสวนขวัญ ตอน 2 41. ลาวเล็ก

[17:33] [7:42]

ขับร้อง: มาลี และวิภาพร เกิดผล [บทร้องจากพระราชนิพนธ์ ในสมเด็จพระเทพรัตน์ ครูส�าราญ เกิดผล บรรจุท�านองเพลง] [เทวาประสิทธิ์ ดอกไม้ไทร ดอกไม้ไพร ดอกไม้ร่วง ไทรหวน มาลีหวน คลื่นกระทบฝั่ง] [ล�าลาสักวาของเก่ามาก บทร้องของจ่าเผ่นผยองยิ่ง [โคม]]

วงปี่พำทย์ไม้แข็ง คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2531] 42. เรื่องพระฉันเช้า 43. เรื่องพระฉันเพล 44. ช้าเรื่องสีนวล 45. จระเข้หางยาว 46. ทยอยใน เถา 47. ทยอยเขมร 48. ต้นวรเชษฐ์ 3 ชั้น 49. แขกโอด 3 ชั้น 50. โหมโรงไอยเรศ 51. เดี่ยวเชิดนอก 52. ไอยเรศ 2 ชั้น 53. เขมรโพธิสัตว์

[24:59] [29:07] [23:55] [8:20] [21:08] [23:26] [4:25] [14:10] [7:29] [31:45] [16:00] [5:03]

ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล ขับร้อง: มาลี เกิดผล ขับร้อง: วิภาพร เกิดผล [วงปี่พาทย์ไม้นวม] ขับร้อง: มาลี เกิดผล [ปี่-ระนาด-ฆ้องวงใหญ่] ขับร้อง: มาลี เกิดผล [วงปี่พาทย์ไม้นวม]

วงปี่พำทย์ไม้แข็ง คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2539] 54. เพลงช้าเรื่องพระยาราชปักษี

[21:53]

55. เพลงเรื่องกะระหนะ 56. เพลงเรื่องสารถี 57. เพลงเรื่องต่อยรูป

[20:39] [26:34] [22:38] 130

ปี่: เมืองทอง เม้าราศรี ระนาดเอก: อี๊ด รณรงค์ และวิเชียร เกิดผล ระนาดทุ้ม: ณัฐวุฒิ รักขินี ฆ้องวงใหญ่: ปิยะ เทนโพธิ์ ฆ้องวงเล็ก: ธเนศ อุกกระโทก ตะโพน: เดชา ฉัตรตรี ฉิ่ง: พิรุณ บุญพบ กรับ: สุรศักดิ์ ไวยอรรถ เครื่องหนัง: เทียมเทพ บุญจ�าเริญ [เก่าที่สุด/ มีชื่อเพลงปรากฏ] อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


58. เสภานอก เถา 59. บัลลังก์กาญจนา เถา

[19:32] [22:03]

60. ตับจับลิงหัวค�่า [25:00] 61. ตับจับลิงหัวค�่า [ต่อ] ออกท้ายเพลง [24:05] 62. ตับอุณรุท ตอน นางอุษาอุ้มสม [23:20] 63. โหมโรงกาญจนาภิเษก [7:17] 64. เพลงเร็วมัดตีหมู [18:55]

ขับร้อง: มาลี เกิดผล [ทางจางวางทั่ว พาทยโกศล] ขับร้อง: ทนงศักดิ์ เกิดผล [บทร้องของสุจิตต์ วงษ์เทศ ท�านองเพลงครูส�าราญ เกิดผล แต่ง] ขับร้อง: มาลี เกิดผล [เดี่ยวปี่: เมืองทอง เม้าราศี] [วิเชียร เกิดผล เดี่ยวระนาดไม้แข็ง เชิดนอก]

วงปี่พำทย์ไม้แข็ง คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2542] 65. โหมโรงเช้า

[19:20]

66. โหมโรงเย็น 1

[20:17]

67. โหมโรงเย็น 2 68. โหมโรงเย็น 3 69. ฉิ่งพระฉันเช้า 1 70. ฉิ่งพระฉันเช้า 2 71. กระบอกพระฉันเพล 1

[21:35] [22:11] [20:29] [22:43] [22:33]

72. กระบอกพระฉันเพล 2 73. พระยาพายเรือ 1

[22:39] [24:31]

74. พระยาพายเรือ 2

[25:42]

ปี่: กาหลง พึ่งทองค�า และเมืองทอง เม้าราศี ระนาดเอก: วิเชียร เกิดผล ระนาดทุ้ม: สิทธิชัย ฆ้องวงใหญ่: ชูศักดิ์ จางเจริญกุล ฆ้องวงเล็ก: ก�าพู อักษร เครื่องหนัง: เดชา ฉัตรตรี และส�าเริง เกิดผล ฉิ่ง: เกียรติศักดิ์ ดีชัง กรับ: คมศร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา [สาธุการ เหาะ รัวลาเดียว กลม ช�านาญ] [สาธุการ ตระโหมโรง [หญ้าปากคอก 4 ไม้ลามารละม่อม 12 ไม้ลา ปลายพระลักษณ์ 4 ไม้ลา ติ๊งโหน่ง 17 ไม้ลา คู่ติ๊งโหน่ง 8 ไม้ลา] รัวสามลา ต้นเข้าม่าน ตัวเข้าม่าน ปฐม ปฐมสมโภชน์ ลา เสมอรัวลาเดียว เชิดสองชั้น ชั้นเดียว กลม ช�านาญกราวใน ชุบ ลา] [ฉิ่งสามชั้น ฉิ่งสองชั้น กะเรียนทอง กะเรียนร่อน รัวฉิ่งเฉพาะ] [กระบอก กระบอกเงิน แมลงวันทอง กระบอกทอง ตวงพระธาตุ สรรเสริญบารมี ตะท่าร่า หรือตักธารา ฝั่งน�้า ท่าน�้า ฟองน�้า คลื่น กระทบฝั่ง คลื่นใต้น�้า ทะเลบ้า กล่องพระยา ออกรัวเร็ว ถอนออก รัวเร็ว] [พระยาพายเรือ จิ้งจกทอง พระเจ้าลอยถาด ฉิ่งชั้นเดียว แขกมัดตีน หมู กระบอก ฉิ่งช้าง มุล่ง เชิดสองชั้น ชั้นเดียว]

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

131


วงปี่พำทย์ไม้นวม คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2543] 75. ตับมณฑาลงกระท่อม ตอน ถอดเงาะ ตอน 1 ขับร้อง: ศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ และอุเทน เปียหลอ [23:22] ขลุย่ : สุริยาวุธ จันทร์โพธิ์พันธ์ ระนาดเอก: ส�าราญ เกิดผล ระนาดทุ้ม: พรชัย ผลนิโครธ ฆ้องวงใหญ่: นิคม ผูกฉิม ฆ้องวงเล็ก: วิเชียร เกิดผล ทุ้มเหล็ก: พิรุณ บุญพบ ซออู้: อดิศร เวชกร เครื่องหนัง: สารสิทธิ์ พูลสุข เดชา ฉัตรตรี ฉิ่ง: อี๊ด รณรงค์ กรับพวง: วัฒนา อ่อนส�าลี [เหาะ รัว ยานี กราวนอก เชิด เพลงเร็วแขกมัดตีหมู แขกลพบุรี โอด สาลิกาเขมร สิงโต ตะลุ่มโปง กบเต้น โอด โลมใน ต่อยรูป 2 ชั้น สร้อย โอดเอม โลมนอก สารถี กระบอกทอง นกขี้โครง เชิด เขมรราชบุรี] 76. ตับมณฑาลงกระท่อม ตอน ถอดเงาะ ตอน 2 [22:27] 77. ตับมณฑาลงกระท่อม ตอน ถอดเงาะ ตอน 3 [23:18] วงปี่พำทย์ไม้แข็ง คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2543] 78. เพลงช้าเรื่องเต่าเห่ ตอน 1 [18:55] 79. ต้นวรเชษฐ์ [3:02] 80. เพลงเรื่องเต่าเห่ ตอน 2 [22:37] 81. เพลงช้าเรื่องจีนแส [24:25] 82. บรรทมไพร เถา [23:00] 83. ทะแย 3 ชั้น เดี่ยวปี่/ระนาด รับวง [19:45]

84. สองไม้วรเชษฐ์ 85. ทะแย 3 ชั้น

[บรรเลง] [22:10]

132

ระนาดเอก: พรชัย ผลนิโครธ ขับร้อง: ศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ ปี่: เมืองทอง เม้าราศี ระนาดเอก: พรชัย ผลนิโครธ ระนาดทุ้ม: ณัฐวุฒิ รักขินี ฆ้องวงใหญ่: นิคม ผูกฉิม ฆ้องวงเล็ก: ธเนศ อุกกระโทก กลองสองหน้า: เดชา ฉัตรตรี ฉิ่ง: อี๊ด รณรงค์ เดี่ยวฆ้องวงใหญ่: นิคม ผูกฉิม เดี่ยวฆ้องวงเล็ก: ธเนศ อุกกระโทก เดี่ยวระนาดทุ้ม: ณัฐวุฒิ รักขินี

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


วงปี่พำทย์ไม้แข็ง คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2543] 86. โหมโรงกลางวัน [โขน] ตอน 1 [21:17]

87. โหมโรงกลางวัน [โขน] ตอน 2 [22:20] 88. โหมโรงกลางวัน [ละคร] ตอน 1 [23:16] 89. โหมโรงกลางวัน [ละคร] ตอน 2 [23:08]

ปี่: กาหลง พึ่งทองค�า ระนาดเอก: วิเชียร เกิดผล ระนาดทุ้ม: พรชัย ผลนิโครธ ฆ้องวงใหญ่: พิรุณ บุญพบ ฆ้องวงเล็ก: ธเนศ อุกกระโทก ฉิ่ง: อี๊ด รณรงค์ เครื่องหนัง: สารสิทธิ์ พูลสุข เดชา ฉัตรตรี

วงเครื่องสำยผสมวงปี่พำทย์ไม้นวม คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2543] 90. ตับพระลอเสี่ยงน�้า ตอน 1

[24:32]

91. ตับพระลอเสี่ยงน�้า ตอน 2 92. ลาวแพน ตอน 3 93. ลาวแพน ตอน 4 94. ลาวแพน ตอน 5 95. ตับพระลอเสี่ยงน�้า ตอน 6

[20:40] [24:07] [24:33] [21:05] [22:26]

ขับร้อง: มาลี เกิดผล ขลุ่ย: สุริยาวุธ จันทร์โพธิ์พันธุ์ ซอด้วง: ศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ ซออู้: อดิศร เวชกร จะเข้: ธิติภัทร์ สังข์สอน ปี่: เมืองทอง เม้าราศี ระนาดเอก: พรชัย ผลนิโครธ ระนาดทุ้ม: ณัฐวุฒิ รักขินี ฆ้องใหญ่: อุเทน เปียหลอ ฆ้องวงเล็ก: ธเนศ อุกโทก

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

133


รำยชื่อเพลงไทย จ�ำนวน 17 รำยกำร

ผลงำนกำรบรรเลงของวงดนตรีไทย คณะ พำทยรัตน์ ควบคุมกำรบรรเลงและฝึกซ้อมโดย นำยส�ำรำญ เกิดผล โครงกำรจัดท�ำซีดีเพลงพระนิพนธ์ในทูลกระหม่อมบริพัตร วำระแห่งกำรครบรอบ 132 ปี วันประสูติ ในจอมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอ เจ้ำฟ้ำบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ด�ำเนินกำรโดยมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ พร้อมทั้งเพลงหน้ำพำทย์ต�ำรับครูทองดี ชูสัตย์ และนำยส�ำรำญ เกิดผล จ�ำนวน 53 รำยกำร

วงปี่พำทย์ คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2553] 1. อัปสรส�าอาง เถา

[19:05]

2. จีนเข้าห้อง เถา

[16:06]

3. แหวนประดับก้อย เถา 4. จีนลั่นถัน 5. เพลงช้าเรื่องนกขมิ้น

[18:35] [15:57] [21:31]

ขับร้อง: วิภาพร พุ่มพิพัฒน์ [บทร้องจากพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 เรื่องรามเกียรติ์ ตอนพระนารายณ์อวตารมาปราบนนทุก] ขับร้อง: วิภาพร พุ่มพิพัฒน์ [บทร้องจากพระราชนิพนธ์ เรื่องอิเหนา ตอนปันหยีเข้าห้องระเด่น กันจะหนาและเกนหลงหนึ่งหรัด ขับร้อง: วิภาพร พุ่มพิพัฒน์ [บรรเลงล้วน] [บรรเลงล้วน]

วงปี่พำทย์ คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2553] 6. สมิงทองเทศ เถา 7. สุรางค์จ�าเรียง เถา

[13:46] [14:48]

8. ครวญหา เถา

[14:27]

9. ก�าสรวลสุรางค์ เถา

[16:23]

134

ขับร้อง: บุตรี สุขปาน ขับร้อง: บุตรี สุขปาน [บทร้องนางเจริญ พาทยโกศล ได้มาจากหลวงระบ�าภาษา [เกลื่อน] แล้วได้ต่อให้แก่ ครูอาจ สุนทร ซึ่งได้น�ามาต่อให้แก่นางมาลี เกิดผล ครูส�าราญ เกิดผล คิดว่าบทร้องมาจากเรื่องอุณรุทธ์] ขับร้อง: บุตรี สุขปาน [บทร้องจากพระราชนิพนธ์ใน รัชกาลที่ 2 เรื่องอิเหนา ตอนอิเหนาครวญถึงนางบุษบา] ขับร้อง: อุเทน เปียหลอ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


วงปี่พำทย์ คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2553] 10. ต่อยรูป เถา

[17:18]

11. แขกเห่ เถา

[31:06]

12. โหมโรงกัลยาณมิตร

[6:27]

ขับร้อง: เลี่ยมลักษณ์ อยู่ดี [บทร้องจากเรื่องสังข์ทอง ตอนเจ้าเงาะถอดรูป [ต่อยรูป]] ขับร้อง: เลี่ยมลักษณ์ อยู่ดี [บทร้องจากพระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ 2 เรื่องอิเหนา] [บรรเลงล้วน]

วงปี่พำทย์ คณะพำทยรัตน์ [บันทึกเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2556] 13. จีนเก็บบุปผา เถา

[24:17]

14. จีนเด็ดดอกไม้

[19:48]

15. วิลันดาโอด เถา

[14:43]

16. พระจันทร์ครึ่งซีก เถา 17. ดอกไม้ร่วง

[9:06] [18:59]

ขับร้อง: ศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ [บทร้องของศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล] ขับร้อง: ศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ [บทร้องจากบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตน์] ขับร้อง: บุตรี สุขปาน [บทร้อง ครูส�าราญ เกิดผล และศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล ช่วยค้นหาบทให้มีถ้อยความเข้ากับชื่อเพลง ได้มาจาก เรื่องพระอภัยมณี ของสุนทรภู่ ตอนพระฤๅษีแห่งเกาะแก้วพิสดาร เหิรฟ้ามาห้ามศึก 9 ทัพ ให้พระอภัยมณี สุวรรณมาลี และนาง ละเวง เลิกรบกัน] ขับร้อง: บุตรี สุขปาน ขับร้อง: บุตรี สุขปาน ผู้ควบคุมวงพาทยรัตน์: ส�าราญ เกิดผล ผู้ควบคุมการบรรเลง: วิเชียร เกิดผล ผู้บรรเลง ปี่ใน: สมประสงค์ ภาคสังข์ ระนาดเอก: พรชัย ผลนิโครธ ชฤทธิ์ ตรีหิรัญ ระนาดทุ้ม: วรเทพ บุญจ�าเริญ เกียรติศักดิ์ ดีชัง ฆ้องวงใหญ่: นาคเกษม คนรู้ เมทะนี พ่วงภักดี ฆ้องวงเล็ก: ธนากร อุกโทก ปานหทัย สุคันธรส ระนาดเหล็กเอก: ชฤทธิ์ ตรีหิรัญ เมทะนี พ่วงภักดี ระนาดเหล็กทุ้ม: ดิเรก อรรถกฤษณ์ ซออู้: ศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ กฤติณ ศิริพุฒิ ขลุ่ยเพียงออ: วิทยา โหจันทร์ ฆ้องหุ่ย 7 ลูก: อุเทน เปียหลอ กลองคู่: ร.ต.ต.วิฑูรย์ อรรถกฤษณ์ ประกายเพ็ชร เหลียงฮะ ฉิ่ง: ปานหทัย สุคนธรส กรับ: จิราภรณ์ กันหาชัย นักร้อง: ศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ บุตรี ผลนิโครธ วิภาพร พุ่มพิพัฒน์

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

135


วงปี่พำทย์ไม้แข็ง คณะพำทยรัตน์ บันทึกเสียงเพลงหน้าพาทย์ต�ารับครูทองดี ชูสัตย์ และนายส�าราญ เกิดผล 1. โหมโรงเช้าออกเทพด�าเนิน 2. สาธุการสองชั้น 3. สาธุการชั้นเดียว 4. สาธุการกลอง 5. ตระสันนิบาต 6. ตระมงคลจักรวาล 7. ตระกริ่ง 8. ตระประสิทธิ 9. ตระเทวาประสิทธิ์ 10. ตระพระอิศวร 11. ตระพระอิศวรเปิดโลก 12. ตระพระนารายณ์เต็มองค์ 13. ตระลงสรงพระพรหม 14. ตระพระวิษณุกรรม 15. ตระพระปัญจสิงขรณ์ 16. ตระบูชาพระ 17. ตระนวมินทราธิราช 18. ตระพระแม่แห่งแผ่นดิน 19. ตระทูลกระหม่อมบริพัตร 20. ตระพระบรม 21. ตระสมเด็จพระเทพรัตน์ 22. ตระพระพิฆเนศวรประทานพร 23. ตระมณโฑหุงน�้าทิพย์ 24. ตระตรัยตรึง 25. ตระพระอุมา 26. ตระมัฆวาน 27. ตระพระพิฆเนศวร 28. ตระพระศิวะประทานพร 29. พราหมณ์เข้า 30. นางเดิน 31. กระบองกัณฑ์ ประสิทธิ์ โปรยข้าวตอก ย้อนเสี้ยนย้อนหนาม 32. ตระเชิญใหญ่ 33. ตระพระพิราพประทานพร 34. ตระพระประคนธรรพ์ 35. ตระพระฤาษีกไลยโกฎิ 36. บาทสกุณี 37. เสมอพระพิราพ 136

[21:27] [5:38] [3:37] [1:40] [2:37] [2:38] [2:35] [2:35] [2:39] [2:38] [3:39] [2:38] [3:19] [2:35] [2:26] [2:50] [3:38] [3:55] [3:51] [3:46] [3:46] [3:41] [2:46] [3:57] [2:51] [2:47] [6:27] [2:43] [2:25] [3:36] [10:14] [2:37] [2:37] [2:31] [3:43] [3:31] [2:59]

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


38. พระพิราพเต็มองค์ 39. ด�าเนินพราหมณ์ 40. เสมอพราหมณ์ 41. เสมอเข้าเฝ้า 42. เสมอสามลา 43. เสมอเทพ 44. เสมอเข้าที่ 5 ไม้ 45. เสมอเข้าที่ 3 ไม้ 46. เสมอเถร 47. เสมอฤาษีมาร 48. เสมอมาร 49. เสมอผี 50. ต้นเสมอ 51. นั่งกินเซ่นเหล้า 52. ประชุมลูกศิษย์ 53. พราหมณ์ออก

[12:04] [1:49] [1:52] [1:43] [1:43] [1:26] [1:15] [1:28] [1:28] [1:16] [1:20] [1:15] [1:16] [4:10] [5:44] [1:29]

ปี่: สมประสงค์ ภาคสังข์ ระนาดเอก: วิเชียร เกิดผล พรชัย ผลนิโครธ ชฤทธิ์ ตรีหิรัญ ระนาดทุ้ม: เกียรติศักดิ์ ดีชัง ฆ้องวงใหญ่: เรืองศักดิ์ สุขเสียงศรี จินดา อรรถกฤษณ์ ดิเรก อรรถกฤษณ์ ฆ้องวงเล็ก/ ฉิ่ง: ธเนศ อุกโทก ทรงสิทธิ์ ภู่ภักดี ตะโพน: ร.ต.ท.วิฑูรย์ อรรถกฤษณ์ กลอง: วรเทพ บุญจ�าเริญ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

137


รำยชื่อเพลงไทยต่ำงประเภท จ�ำนวน 126 รำยกำร

ส่วนหนึ่งของผลงำนประพันธ์และเรียบเรียงโดย

นำยส�ำรำญ เกิดผล1

ประเภทเพลงหน้ำพำทย์ 1. ตระนาง หรือตระนางมณโฑหุงน�้าทิพย์ 3. ตระพระอิศวรเปิดโลก 5. ตระบูชาพระ 7. ตระพระแม่แห่งแผ่นดิน 9. ตระพระบรม 11. สาธุการ 3 ชั้น

2. ตระพระปัญจะสิงขร 4. ตระพระพิฆเนศประทานพร 6. ตระนวมินทราธิราช 8. ตระทูลกระหม่อมบริพัตร 10. ตระสมเด็จพระเทพรัตน์

ประเภทเพลงโหมโรง 1. โหมโรงกาญจนาภิเษก 3. โหมโรงทยอยเดี่ยว 5. โหมโรงเทิดพระเกียรติ 7. โหมโรงไม้นวม 9. โหมโรงศิวะประสิทธิ์ 11. โหมโรงอู่ทอง 13. โหมโรง [ยังไม่ได้ตั้งชื่อ]

2. โหมโรงเจริญศรีอยุธยา 4. โหมโรงเทพรัตน์ 6. โหมโรงมหาชัย 8. โหมโรงมหาจักรี 10. โหมโรงสี่ภาค 12. โหมโรงอัปสรา

ประเภทเพลงเรื่องเพลงช้ำ 1. เพลงเรื่องแขกไหว้พระ 3. เพลงเรื่องลาวกรมหลวงประจักษ์ 5. เพลงเรื่องเหมราชเหมรา

2. เพลงเรื่องครอบจักรวาล 4. เพลงเรื่องสี่ภาษา

ประเภทเพลงตับ 1. ตับชมสวนขวัญ 3. ตับฤๅษีเสี่ยงลูก

2. ตับพระสังข์ทองหนีนางพันธุรัต 4. ตับล่องลม

ประเภทเพลงเถำ 1. กระบอกเงิน เถา 3. ขวางคลอง เถา 5. เขมรครวญ เถา

2. กลางพนา เถา 4. แขกภูเขาทอง เถา 6. ขอมกลาง เถา

คัดและเพิ่มเติมข้อมูลจาก รายงานการวิจัยเรื่อง องค์ความรู้ศิลปินแห่งชาติ: นายส�าราญ เกิดผล ของณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์ ส�านักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม 1

138

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


7. เขมรน้อย เถา 9. งามแสงเดือน เถา 11. จีนขายอ้อย เถา 13. จีนเข้าโบสถ์ เถา 15. ช้อนแท่น เถา 17. ดอกไม้เหนือ เถา 19. ตามรอยพ่อ เถา 21. ถอยหลังเข้าคลอง เถา 23. ทองกวาว เถา 25. บางหลวงอ้ายเอี้ยง เถา 27. บริพัตร เถา 29. บัวตูมบัวบาน เถา 31. บัลลังก์กาญจนา เถา 33. ปีนตลิ่งใน เถา 35. แผ่นดินพ่อ เถา 37. ฝรั่งกลาย เถา 39. ฝรั่งแดง เถา 41. พระจันทร์เต็มดวง เถา 43. ฟ้าคะนอง เถา 45. มาร์ชต�ารวจ เถา 47. มหาราชรามค�าแหง เถา 49. มะลิเลื่อย เถา 51. รักแผ่นดินไทย เถา 53. ลอยประทีป เถา 55. วิเวกเวหา เถา 57. โศกวารี เถา 59. สามไม้ใน เถา 61. เสภานอก เถา 63. สุดใจ เถา 65. สุรางค์ เถา 67. สุดอาลัย เถา 69. อัปสรสวรรค์ เถา 71. อาเภทธารา เถา

8. คู่โฉลก เถา 10. จีนกางใบ เถา 12. จีนถอนสมอ เถา 14. ชะนี เถา 16. ดวงดอกไม้ เถา 18. ตะลุ่มโปง เถา 20. ใต้ร่มพระบารมี เถา 22. ไทยรวมก�าลัง เถา 24. บ้าบ่น เถา 26. บารมีร่มเกล้า เถา 28. บรรทมไพร เถา 30. บัวขาว เถา 32. ปีนตลิ่งใน เถา 34. ผีมด เถา 36. แผ่นดินแม่ เถา 38. ฝรั่งจรกา เถา 40. พิศวง เถา 42. พญาครวญ เถา 44. ภูมิสยาม เถา 46. มหาฤกษ์ เถา 48. แม่หม้ายคร�่าครวญ เถา 50. รั้วแดงก�าแพงเหลือง เถา 52. ล่องลอย เถา 54. วิหคเหิน เถา 56. วันสงกรานต์ เถา 58. สามเกลอ เถา 60. เสภากลาง เถา 62. เสภาใน เถา 64. สาริกาแก้ว เถา 66. สุดถนอม เถา 68. หอมเขียว เถา 70. ไอยราชูงวง เถา 72. อนงค์สุชาดา เถา

ประเภทเพลงระบ�ำ เพลงอัตรำ 2 ชั้น และชั้นเดียว 1. ระบ�านกแก้ว 2. ระบ�าบุษราคัมมณี 3. ไอยเรศ 2 ชั้น 4. ไอยเรศชั้นเดียว

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

139


ประเภทท�ำนองทำงร้อง 1. จีนเก็บบุปผา เถา 3. สุรางค์จ�าเรียง เถา 5. ไอยราชูงวง เถา

2. ครวญหา เถา 4. อัปสรส�าอาง เถา

ประเภททำงเดี่ยวเครื่องดนตรี เช่น 1. ทางเดี่ยวดอกไม้ไพร 3 ชั้น [ปี่ใน ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก] 2. ทางเดี่ยวระนาดเอก นกขมิ้นตัวเมีย 3 ชั้น 3. ทางเดี่ยวระนาดเอก ชมสวนสวรรค์ 3 ชั้น 4. ทางเดี่ยวระนาดเอก ทะแย 3 ชั้น 5. ทางเดี่ยวระนาดเอก อาเฮีย 2 ชั้น ชั้นเดียว 6. ทางเดี่ยวระนาดเอก นกขมิ้น เถา 7. ทางเดี่ยวระนาดเอก บรรทมไพร เถา 8. ทางเดี่ยวระนาดเอก ต่อยรูป เถา 9. ทางเดี่ยวระนาดเอก สารถี เถา 10. ทางเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ นกขมิ้น 3 ชั้น 11. ทางเดี่ยวระนาดทุ้ม ลาวแพน 12. ทางเดี่ยวฆ้องวงเล็ก ลาวแพน

140

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

141


ต้นฉบับโน้ตสำกลเพลงไทย

ลำยมือเขียนนำยส�ำรำญ เกิดผล และครูอำจำรย์ส�ำนักพำทยโกศลในอดีต

142

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


สังข์เล็กหรือสังข์น้อย เรื่องเวียนเทียน ลายมือเขียนนายส�าราญ เกิดผล

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

143


144

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

145


146

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

147


148

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

149


ตับอิเหนำบวงสรวง ลายมือเขียนครูอาจารย์ส�านักพาทยโกศลในอดีต

150

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

151


152

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

153


154

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

155


156

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

157


158

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

159


160

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

161


เพลงเรื่องเต่ำทอง ลายมือเขียนครูอาจ สุนทร

162

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

163


164

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

165


ต้นเพลงยำว กำรเวกใหญ่สำมชั้น ลายมือเขียนครูอาจ สุนทร

166

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

167


สีนวล

ลายมือเขียนครูอาจารย์ส�านักพาทยโกศลในอดีต

168

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

169



เพลงชุดโหมโรงกลำงวัน ต�ำรับครูทองดี ชูสัตย์1 ปำนหทัย สุคนธรส

อำจำรย์ประจ�ำสำขำวิชำดนตรี คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนครศรีอยุธยำ

เพลงชุดโหมโรงกลางวัน ถือเป็นเพลงที่มีความ ส�าคัญกับผู้ศึกษาดนตรีไทยประเภทปี่พาทย์ โดยตาม ขนบและธรรมเนียมของผู้ศึกษาดนตรีไทยประเภทปี่ พาทย์แบบโบราณนั้น ผู้ที่เริ่มศึกษาต้องเริ่มเรียนเพลง ชุดโหมโรงเย็นก่อน แล้วจึงเรียนเพลงโหมโรงเช้าและ โหมโรงกลางวันตามล�าดับ ทั้งนี้เนื่องด้วยล�าดับความ ส�าคัญ ความยากง่ายของเพลง โดยเฉพาะเพลงชุดโหมโรง กลางวันซึ่งประกอบด้วยเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง อีกทั้ง บทเพลงยังมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ถือว่าผู้ที่ จะต่อเพลงชุดโหมโรงกลางวันได้นั้น ต้องเป็นผู้ที่ผ่าน การเรียนเพลงตามขั้นตอนต่างๆ อย่างครบถ้วนและมี ความสามารถในการบรรเลงเป็นอย่างดี เพลงชุดโหมโรงกลางวัน จัดเป็นโหมโรงประเภทประกอบ การแสดง โดยสามารถแยกออกเป็นสองประเภท คือ โหมโรง กลางวันประกอบการแสดงโขน และโหมโรงกลางวันประกอบ การแสดงละคร ซึ่งทั้งสองประเภทนี้มีการบรรจุเพลงและ ล�าดับเพลงที่แตกต่างกันไป [ครูส�าราญ เกิดผล, สัมภาษณ์, ตุลาคม 2548] เพลงชุดโหมโรงกลางวัน เกิดขึน้ จากโอกาสในการแสดง โขนละครในอดีต ประวัติความเป็นมายังไม่มีการบันทึกไว้ แน่ชดั จากการสัมภาษณ์ผทู้ รงคุณวุฒดิ า้ นดนตรีไทย สามารถ สรุปบทบาทของเพลงชุดโหมโรงกลางวันเป็นประเด็นต่างๆ ดังนี้ - บทบาทด้านการบรรเลง เพลงชุดโหมโรงกลางวัน มีบทบาทในการใช้บรรเลงเวลากลางวันหลังจากทีโ่ ขนละคร

พักเที่ยง เพื่อสื่อสารให้ผู้แสดงและชาวบ้านทราบว่าโขน ละครที่หยุดพักการแสดง ก�าลังจะเริ่มแสดงในภาคบ่าย - บทบาทด้านการสือ่ สาร การบรรเลงเพลงชุดโหมโรง กลางวัน เป็นการบรรเลงเพือ่ เชือ้ เชิญให้คนละแวกใกล้เคียง ทราบว่า การแสดงที่ได้หยุดพักตอนเที่ยงนั้น ก�าลังจะเปิด การแสดงขึ้นแล้ว และเป็นการบอกให้ตัวแสดงเตรียมความ พร้อมด้วย ทั้งนี้ ความแตกต่างของเพลงที่บรรจุอยู่ในเพลง ชุดโหมโรงกลางวันยังเป็นเครื่องช่วยประชาสัมพันธ์เป็น อย่างดีว่า มหรสพที่จัดแสดงนั้นเป็นมหรสพประเภทใด - บทบาทด้านการแสดง เพลงชุดโหมโรงกลางวันเป็น เพลงโหมโรงเพือ่ ประกอบการแสดง เพลงทีถ่ กู เรียบเรียงขึน้ อยู่ในเพลงชุดโหมโรงกลางวันนั้น เป็นเพลงที่มาจากการ ประกอบการแสดงทั้งสิ้น โดยแต่ละเพลงมีความหมายและ บทบาทในการแสดงแตกต่างกันไป - บทบาทด้านการประกอบพิธกี รรม เพลงชุดโหมโรง กลางวันนั้น ถ้าเป็นงานที่มีแต่พิธีกรรมอย่างเดียวจะไม่ บรรเลง เว้นแต่ในพิธไี หว้ครูจะบรรเลงเพลงชุดโหมโรงกลาง วันในช่วงของการครอบครู เพื่อเปิดโอกาสให้ลูกศิษย์ได้ บรรเลงถวายมือในช่วงบ่ายต่อไป - บทบาท ด้านการเรียนรู้ เพลงชุดโหมโรงกลางวัน ถือเป็นขัน้ ตอนหนึง่ ของการเรียนดนตรีไทยประเภทปีพ่ าทย์ ก่อนทีจ่ ะเรียนเพลงหน้าพาทย์และเพลงขัน้ สูงต่อไป ในการ เรียนเพลงชุดโหมโรงกลางวันนัน้ ผูเ้ รียนต้องมีทกั ษะทางการ บรรเลงเครื่องดนตรีปี่พาทย์ท่ีดี มีคุณวุฒิ และมีความ ประพฤติดี ครูผู้สอนจึงจะถ่ายทอดให้

คัดจากวิทยานิพนธ์ เรื่อง เพลงชุดโหมโรงกลางวันต�ารับครูทองดี ชูสัตย์ ของ ปานหทัย สุคนธรส ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต [ดนตรี] บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552 1

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

171


การเรียบเรียงเพลงชุดโหมโรงกลางวันนี้ พบว่า แต่ละ ส�านักดนตรีมีล�าดับและจ�านวนเพลงที่แตกต่างกัน เพราะ โหมโรงกลางวันเป็นเพลงชุดที่ถูกเรียบเรียงขึ้นใหม่ ล�าดับ เพลงไม่แน่นอน ไม่ตายตัวเหมือนเพลงชุดโหมโรงเช้า โหมโรงเย็น หากกล่าวถึงบุคคลส�าคัญที่มีบทบาทในการถ่ายทอด เพลงชุดโหมโรงกลางวัน และเป็นผูเ้ รียบเรียงเพลงชุดโหมโรง กลางวัน ทีม่ คี วามเป็นเอกลักษณ์ในเรือ่ งของรูปแบบมือฆ้อง และการบรรจุเพลงที่แตกต่างไปจากส�านักอื่นๆ ซึ่งมีการ สืบทอดโดยยึดถือรูปแบบการบรรเลงและมือฆ้องเดิมไว้ อย่างเคร่งครัด ก็คือ ครูทองดี ชูสัตย์ ครูดนตรีไทยประจ�า บ้านจางวางทั่ว พาทยโกศล ซึ่งเป็นผู้มีความรู้เชี่ยวชาญใน ด้านเพลงพิธีกรรมและเพลงหน้าพาทย์เป็นอย่างมาก ครั้น เมือ่ พ.ศ. 2468 กรมมหรสพได้ทา� พิธไี หว้ครูครัง้ ใหญ่ พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ครูทองดี ชูสตั ย์ มาเป็นผูบ้ อกเพลงหน้าพาทย์รวมถึงเพลง องค์พระพิราพซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์สูงสุด ในครั้งนั้นได้มี ผู้ต่อเพลงรวม 6 คน คือ พระเสนาะดุริยางค์ [แช่ม สุนทร วาทิน] พระเพลงไพเราะ [โสม สุวาทิต] หลวงบ�ารุงจิตรเจริญ [ธูป สาตรวิลัย] หลวงสร้อยส�าเนียงสนธ์ [เพิ่ม วัฒนวาทิน] หมื่นคนธรรพประสิทธิสาร [แตะ กาญจนผลิน] และนาย มนตรี ตราโมท ทางด้านการสืบทอดเพลงชุดโหมโรงกลางวัน ครูทอง ดี ชูสตั ย์ได้ถา่ ยทอดเพลงชุดโหมโรงกลางวันให้แก่ ครูเอือ้ น กรเกษม ครูอาจ สุนทร ครูช่อ สุนทรวาทิน ครูฉัตร สุนทร วาทิน ซึง่ ครูทงั้ 4 ท่าน ได้ถา่ ยทอดความรูท้ างดนตรีไทยแก่ ครูสา� ราญ เกิดผล โดยเพลงชุดโหมโรงกลางวันทีข่ า้ พเจ้าได้ ศึกษาเป็นทางที่ครูช่อ สุนทรวาทิน และครูอาจ สุนทรได้ สืบทอดจากครูทองดี ชูสัตย์โดยตรง และน�ามาถ่ายทอดแก่ ครูส�าราญ เกิดผล ที่วงบ้านใหม่หางกระเบน ซึ่งก่อนหน้านี้ ครูสา� ราญ เกิดผลได้บรรเลงแต่เพลงชุดโหมโรงกลางวันทีใ่ ช้ ประกอบละครเท่านัน้ และเพลงชุดโหมโรงกลางวันดังกล่าว ก็มลี า� ดับและเพลงไม่เหมือนต�ารับของครูทองดี ชูสตั ย์ ส่วน เพลงชุดโหมโรงกลางวันต�ารับครูทองดี ชูสัตย์นี้ ครูส�าราญ เกิดผลได้ถ่ายทอดให้แก่ลูกศิษย์วงพาทยรัตน์ เมื่อครั้งที่ บรรเลงในงานเนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งกรมศิลปากรเป็นผู้จัดขึ้น เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2548 และในปีเดียวกันนั้น ครู ส�าราญ เกิดผลได้ถ่ายทอดเพลงชุดนี้ให้กับลูกศิษย์ที่ 172

มหาวิทยาลัยมหิดล โครงสร้างเพลงชุดโหมโรงกลางวันต�ารับครูทองดี ชูสตั ย์ ประกอบด้วยเพลงทั้งหมด 19 เพลง บรรเลงต่อกันเป็นชุด 13 ชุดเพลง โดยเพลงทัง้ หมดใช้ตะโพนและกลองทัดตีจงั หวะ หน้าทับประกอบ ในการบรรเลงมีทั้งการบรรเลงทีละเพลง แล้วทอดลง และบรรเลงติดกันเป็นชุด ดังนี้ 1. เพลงกราวใน 3 เที่ยว 2. เพลงเสมอข้ามสมุทร - รัวเฉพาะ 3. เพลงเชิด 2 ชั้น ชั้นเดียว 4. เพลงชุบ - เพลงลา - รัวลาเดียว 5. เพลงกระบองกัน - ประสิทธิ - โปรยข้าวตอก - ย้อนเสี้ยนย้อนหนาม 6. เพลงตะคุกรุกร้น - รัวลาเดียว 7. เพลงคุกพาทย์ 8. เพลงเสี้ยน - ปฐม - ลา - รัวลาเดียว 9. เพลงตระสันนิบาต - รัวลาเดียว 10. เพลงพระพิราพรอน 11. เพลงบาทสกุณี - รัวเฉพาะ 12. เพลงกราวร�า 13. เพลงวาเรื่อง ในด้านโครงสร้างของเพลงชุดโหมโรงกลางวัน พบว่า มีโครงสร้างเหมือนกับเพลงโหมโรงเช้า และโหมโรงเย็น คือ ประกอบด้วยเพลงหน้าพาทย์ต่างๆ มาเรียงร้อยต่อกัน แต่ ความหมายของการบรรเลงแตกต่างกัน กล่าวคือในเพลงชุด โหมโรงเย็นนัน้ เพลงทีถ่ กู บรรจุอยูเ่ ป็นเพลงเพือ่ แสดงความ เคารพทัง้ สิน้ ส่วนเพลงชุดโหมโรงเช้าถูกจัดเรียงขึน้ โดยความ หมายของเพลงที่กล่าวถึงการกราบไหว้และการเสด็จมา ประสาทพรของเทพเจ้า ในขณะที่เพลงชุดโหมโรงกลางวัน นั้น เป็นการเรียบเรียงขึ้นโดยมิได้สื่อความหมายใดๆ หาก แต่นา� เอาเพลงทีใ่ ช้ประกอบโขนละครนัน่ เองมาเรียงร้อยต่อ กัน โดยเพลงที่อยู่ติดกันก็จะมีจังหวะการเดินของกลองทัด ทีเ่ หมือนกัน เช่น ในเพลงชุดกระบองกัน ที่ประกอบไปด้วย เพลงกระบองกัน ประสิทธิ โปรยข้าวตอก ย้อนเสี้ยนย้อน หนาม หรือจัดเรียงเพลงโดยน�าเพลงทีม่ จี งั หวะการเดินของ กลองทัดคล้ายคลึงกัน เช่น การเชื่อมต่อระหว่างเพลงเชิด สองชัน้ ชัน้ เดียวไปยังเพลงชุบ ซึง่ เมือ่ พิจารณาจะพบว่าเป็น เพลงทีม่ ลี กั ษณะการด�าเนินของกลองทัดแบบกระชัน้ เหมือน กัน ส่วนความแตกต่างของเพลงชุดโหมโรงกลางวันในแต่ละ ส�านักดนตรีนั้น น่าจะมาจากการที่เพลงชุดโหมโรงกลางวัน

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


นี้เกิดขึ้นภายหลัง และมิได้มีหลักบังคับตายตัวเหมือนกับ เพลงชุดโหมโรงเช้าและโหมโรงเย็น ด้วยเหตุนี้เองจึงท�าให้ ครูดนตรีแต่ละส�านักต่างก็เรียงร้อยเพลงชุดโหมโรงกลางวัน ออกมา บ้างก็เรียงล�าดับคล้ายกัน บ้างก็ไม่เหมือนกันเลย ทั้งนี้ก็ล้วนน�าเพลงจากการแสดงมาบรรจุทั้งสิ้น เพลงชุด โหมโรงกลางวันที่ผู้ศึกษานั้นมีรายชื่อและล�าดับเพลงแตก ต่างจากโหมโรงกลางวันของส�านักอืน่ ๆ ประกอบด้วยเพลง ต่างๆ ได้แก่ เพลงกราวใน 3 เที่ยว เพลงเสมอข้ามสมุทร เพลงเชิด 2 ชั้น-ชั้นเดียว เพลงชุบ-เพลงลา เพลงกระบอง กัน-ประสิทธิ-โปรยข้าวตอก-ย้อนเสีย้ นย้อนหนาม เพลงตะ คุกรุกร้น–รัวลาเดียว เพลงคุกพาทย์ เพลงเสีย้ น-ปฐม-ลา-รัว ลาเดียว เพลงตระสันนิบาต-รัวลาเดียว เพลงพระพิราพรอน เพลงบาทสกุณี เพลงกราวร�า และเพลงวาเรื่อง เพลงชุดโหมโรงกลางวัน สามารถแบ่งประเภทตาม หน้าทับที่ตีประกอบได้ 3 แบบ คือ หน้าทับเฉพาะแบบวน หน้าทับเฉพาะแบบไม่วน และหน้าทับแบบรัว โดยในการ แบ่งโครงสร้างของเพลงต่างๆ ในเพลงชุดโหมโรงกลางวัน แบ่งเป็น 3 แบบ คือ - แบ่งตามโครงสร้างเดิม - แบ่งตามโครงสร้างจากจังหวะหน้าทับ - แบ่งตามโครงสร้างจากท�านองเพลง ในด้านการเชื่อมต่อระหว่างเพลงต่างๆ ในเพลงชุด โหมโรงกลางวันมี 2 รูปแบบ คือ เชื่อมต่อระหว่างเพลงโดย ใช้เพลงรัวเชือ่ ม และเชือ่ มต่อระหว่างเพลงโดยไม่ใช้เพลงรัว เชือ่ ม ในการเชือ่ มเสียงระหว่างเพลงต่างๆ ในเพลงชุดโหมโรง กลางวัน มีการเชื่อมเสียงแบบใช้เสียงซ�้า และมีการเชื่อม เสียงแบบใช้ความห่างของเสียงเป็น คู่ 2, 4, 5 และ 6 โดย พบการเชื่อมเสียงที่มีความห่างของเสียงเป็นคู่ 2 มากที่สุด และไม่พบเสียงทีม่ คี วามห่างของเสียงเป็นคู่ 3 เมือ่ พิจารณา จะพบว่า การเชื่อมเพลงโดยใช้ความห่างของช่วงเสียงเป็น คู่ 2 เป็นการเชื่อมเพลงเช่นเดียวกับการเชื่อมเสียงที่พบใน เพลงชุดโหมโรงเช้า โหมโรงเย็น เช่น ในโหมโรงเช้า จากเพลง เหาะไปเพลงรัว และจากเพลงกลมไปยังเพลงช�านาญ เช่น เดียวกับในเพลงชุดโหมโรงเย็นที่พบการเชื่อมต่อเพลงโดย ใช้ระยะห่างของเสียงเป็นคู่ 2 จากเพลงตระไปเพลงรัวสาม ลา จากเพลงลาไปเพลงรัว จากเพลงรัวไปเพลงเชิด จาก เพลงกลมไปเพลงช�านาญ และจากเพลงชุบไปเพลงลา เป็นต้น ซึ่งการเชื่อมเพลงด้วยคู่ 2 ดังกล่าว เป็นการเชื่อมเพลงที่ใช้ มากในเพลงหน้าพาทย์ เนือ่ งจากการบรรเลงเพลงหน้าพาทย์

ต่างๆ เมือ่ บรรเลงจบจะต้องต่อท้ายด้วยเพลงรัวเสมอ เพราะ ถือว่าเพลงรัวนี้เป็นการส่งเทพหรือเทวดาประจ�าเพลงหน้า พาทย์นนั้ กลับ ทัง้ นีท้ เี่ พลงชุดโหมโรงกลางวันส่วนใหญ่มกี าร เชื่อมต่อระหว่างเพลงโดยใช้คู่ 2 นี้ เป็นเพราะเพลงที่บรรจุ อยู่ในเพลงชุดโหมโรงกลางวันทั้งหมดเป็นเพลงหน้าพาทย์ นั่นเอง ซึ่งการเชื่อมเพลงโดยใช้ระยะห่างของเสียงที่เป็นคู่ 2 นี้ แตกต่างจากการจัดชุดเพลงประเภทอื่นๆ เช่น เพลง เรื่อง เพลงตับ ที่ส่วนใหญ่จะใช้การเชื่อมเพลงที่มีระยะห่าง เป็นคู่ 3 และคู่ 5 แทน ซึ่งระยะห่างของเสียงดังกล่าวเมื่อ ร้อยเรียงเป็นเรือ่ งหรือเป็นตับแล้ว ท�าให้เพลงฟังดูกลมกลืน มากกว่าการใช้เสียงคู่ 2 ในการเชือ่ มต่อระหว่างท่อนโดยใช้ทา� นองโยนในเพลง ชุดโหมโรงกลางวัน เช่น เพลงกราวในสามเทีย่ วและเพลงวา เรือ่ ง ซึง่ ในแต่ละบทเพลงมีความหมายของท�านองโยนทีต่ า่ ง กัน กล่าวคือ ในเพลงกราวในสามเทีย่ วนัน้ เมือ่ พิจารณาพบ ว่าท่อนจบของแต่ละเที่ยวจะเป็นการจบด้วยท�านองโยนที่ เสียง เร ทัง้ สิน้ ซึง่ การจบดังกล่าว มีความหมายเพือ่ เป็นการ บอกให้รู้ว่าเพลงได้บรรเลงจบเที่ยวแล้ว ในขณะที่การเชื่อม ท�านองเพลงวาโดยใช้ท�านองโยนเชื่อมนั้น มีความหมาย เกี่ยวข้องกับเรื่องของจังหวะหน้าทับที่ใช้ตีประกอบ จะเห็น ได้วา่ เมือ่ หมดท�านองแต่ละท่อน ถ้าไม่มที า� นองโยนมาเชือ่ ม เสียงที่เชื่อมต่อก็กลมกลืนกัน แต่ที่ต้องมีท�านองโยนนั้น ก็เพือ่ เพิม่ เติมเพลงให้พอดีกบั จังหวะหน้าทับ หากไม่มที า� นอง โยนขั้น เพลงก็จะไม่สัมพันธ์กับจังหวะหน้าทับ หรือที่นัก ดนตรีไทยเรียกว่า คร่อม ซึ่งการเชื่อมต่อระหว่างบทเพลง โดยใช้ท�านองโยนนี้ ยังพบในการผูกเพลงต่างๆ เป็นเรื่อง เช่น ในเพลงเรือ่ งเขมรใหญ่ และในเพลงเรือ่ งสีนวล เป็นต้น ในการเรียนเพลงชุดโหมโรงกลางวัน เป็นเพลงหน้า พาทย์ชนั้ สูงโดยส่วนใหญ่ ดังนัน้ การทีจ่ ะศึกษาจึงต้องปฏิบตั ิ ตามขนบธรรมเนียมของการเรียนเพลงหน้าพาทย์ ซึง่ มีลา� ดับ ขั้นตอนการเรียนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การต่อเพลงกราวในถึงเพลงตะคุกรุกร้น ในขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนของการครอบหรือจับมือ เพลงกระบองกันเพื่อต่อเพลงหน้าพาทย์ตา่ งๆ ได้แก่ กราว ใน เสมอข้ามสมุทร เชิด ชุบ ลา เพลงกระบองกัน-ประสิทธิโปรยข้าวตอก-ย้อนเสีย้ นย้อนหนาม เพลงตะคุกรุกร้น และ สิ้นสุดที่เพลงคุกพาทย์ ก่อนการศึกษาจะต้องมีการไหว้ครูก่อน ซึ่งอุปกรณ์ที่ ใช้ไหว้ครูประกอบด้วย ขันก�านล ผ้าขาว ดอกไม้ ธูปเทียน

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

173


และเงินก�านล 12 บาท ในขั้นตอนนี้ ครูส�าราญ เกิดผล [สัมภาษณ์, ตุลาคม 2548] อธิบายว่า การครอบนัน้ ถ้าไม่ใช้ วิธกี ารจับมือให้ตฆี อ้ งในวรรคต้นเพลง 3 ครัง้ ก็ใช้วธิ ตี นี า� 3 ครั้ง และให้ลูกศิษย์ตีตามก็ได้ ขั้นตอนที่ 2 เป็นขั้นตอนของการต่อเพลงเสี้ยน และ เพลงรอนพิราพ เนื่องจากทั้งสองเพลงถือเป็นส่วนหนึ่งของเพลงองค์ พระพิราพเต็มองค์ ซึ่งถือเป็นเพลงหน้าพาทย์สูงสุด ท�าให้ ขั้นตอนการเรียนมีความยุ่งยากมากกว่าขั้นตอนแรก เครื่องสังเวยที่ใช้ในการขอต่อเพลงเสี้ยน และเพลง รอนพิราพ มีดังนี้ - บายศรีปากชาม 1 คู่ - หัวหมูดิบ 1 หัว - หมูนอนตอง 1 ที่ - ไก่ดิบ 1 ตัว - เป็ดดิบ 1 ตัว - ผลไม้ [กล้วย มะพร้าวอ่อน] - เหล้า 1 ขวด และหมากพลู - ดอกไม้ - ธูปเทียน

การขอต่อเพลงเสีย้ นและเพลงรอนพิราพนี้ ครูสา� ราญ เกิดผลได้บริกรรมคาถาก่อนต่อ ซึ่งพิธีทั้งหมดนี้ต้องท�าใน วันพฤหัสบดีหรือวันอาทิตย์ ในเวลาก่อนเที่ยงเท่านั้น เพลงชุดโหมโรงกลางวันนี้ ในอดีตใช้บรรเลงประกอบ การแสดงโขนละคร ในระหว่างที่ตัวละครหยุดพักเที่ยง แต่ ปัจจุบันการแสดงโขนละครไม่ได้แสดงทั้งวันเหมือนแต่ก่อน การแสดงต่างๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปเล่นในโรงละคร แสดง โขนหน้าไฟ ซึ่งเป็นการแสดงที่ตัดเป็นตอนๆ ไม่ได้แสดงทั้ง วันทัง้ คืนเหมือนในอดีต รวมถึงเพลงชุดโหมโรงกลางวันไม่มี บทบาทในปัจจุบนั หรือภาษาชาวบ้านเรียกว่า ไม่ได้ใช้หากิน เช่น ถ้ามีงานมงคลก็จะมีการสวดมนต์เย็นฉันเช้า เพลงที่ปี่ พาทย์จา� เป็นต้องบรรเลงก็คอื เพลงโหมโรงเย็น โหมโรงเช้า และเพลงที่ใช้ประกอบพิธีกรรมเท่านั้น ท�าให้โอกาสในการ บรรเลงเพลงชุดโหมโรงกลางวันจึงน้อยลงด้วย ประกอบกับ เพลงชุดโหมโรงกลางวันนี้ประกอบไปด้วยเพลงหน้าพาทย์ ชั้นสูง ผู้ที่จะศึกษาเพลงหน้าพาทย์ ต้องเป็นผู้ที่มีฝีมือ มี ความสามารถ มีประสบการณ์เพียงพอ ครูจงึ จะถ่ายทอด เพลงหน้าพาทย์ให้ ซึ่งผู้ที่จะถ่ายทอดนั้น ต้องมีความรู้ และมีอาวุโสเป็นอย่างมาก ซึง่ เหลือน้อยเต็มทีในปัจจุบนั ดังนั้นการสืบทอดเพลงชุดเพลงโหมโรงกลางวันต�ารับ ครูทองดี ชูสัตย์ จึงเป็นส่วนส�าคัญในการอนุรักษ์ ขนบประเพณีในการบรรเลงดนตรีไทยให้คงอยู่สืบไป บรรณำนุกรม พูนพิศ อมาตยกุล. (2541). อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงไพฑูรย์ กิตติวรรณ [ศิลปินแห่งชาติ]. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ากัด. ส�าราญ เกิดผล. สัมภาษณ์. ตุลาคม 2548.

174

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


กำรศึกษำเพลงโหมโรงทยอยเดี่ยว1 วัฒนำ อ่อนส�ำลี

ต�ำแหน่งครูวิทยฐำนะช�ำนำญกำร โรงเรียนวัดโสธรวรำรำมวรวิหำร

ครูสา� ราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง [ดนตรีไทย] ประจ�าปีพทุ ธศักราช 2548 เป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถเป็นเลิศในด้านดนตรีไทย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการประพันธ์ เพลงไทย ซึง่ มีผลงานเป็นทีป่ ระจักษ์อย่างแพร่หลาย ในด้านการศึกษาหลักการประพันธ์เพลง ไทยนัน้ ครูสา� ราญ เกิดผลได้เริม่ ศึกษาจากครูอาจ สุนทร จนมีความรูใ้ นภาคทฤษฎี จากนัน้ จึง เริ่มฝึกภาคปฏิบัติ โดยครูอาจ สุนทร ได้ให้ครูส�าราญทดลองฝึกประพันธ์เพลงใหม่จากเพลง อัตราสองชั้น ใช้รูปแบบวิธียืดขยายท�านองเป็นอัตราสามชั้น และตัดทอนท�านองลงเป็นอัตรา ชัน้ เดียว และในเวลาต่อมา ครูสา� ราญได้ศกึ ษาวิชาการประพันธ์เพลงจากครูพมุ่ บาปุยะวาทย์ นักดนตรีผู้มีชื่อเสียงมากท่านหนึ่งของวงการดนตรีไทย โหมโรงทยอยเดี่ยวเป็นเพลงประเภทโหมโรงเสภาที่ครูส�าราญได้ประพันธ์ขึ้น โดยน�าท�านอง จากเพลงทยอยเดี่ยวซึ่งประพันธ์โดยพระประดิษฐ์ไพเราะ [มี ดุริยางกูร] มาแต่งเป็นเพลงโหมโรงขึ้น ใหม่ โดยมีลีลาท�านองที่ไพเราะโดดเด่น ซึ่งแตกต่างจากบทเพลงโหมโรงอื่นๆ ด้วยเพลงทยอยเดี่ยว ของเดิมนัน้ ครูมนตรี ตราโมท [2523] ได้กล่าวว่า เดิมทีพระประดิษฐ์ไพเราะ [มี ดุรยิ างกูร] “เจ้าแห่ง เพลงทยอย” ได้ประดิษฐ์เพลงทยอยเดี่ยวขึ้นจากเพลงทยอยใน เพื่อใช้เดี่ยวปี่อวดฝีมือโดยเฉพาะ ด้วยเพลงทยอยเดี่ยวเป็นเพลงที่มีลักษณะพิเศษและแสดงอารมณ์เศร้า คร�่าครวญ จึงเหมาะสมแก่ การใช้เครือ่ งดนตรีทมี่ คี ณ ุ สมบัตทิ สี่ ามารถถ่ายทอดอารมณ์เพลงให้ได้ไพเราะลึกซึง้ ตามอารมณ์เพลง ให้ได้มากทีส่ ดุ ประกอบกับฝีมอื ของผูบ้ รรเลงเพือ่ สือ่ ความคมคายของอารมณ์ตามจุดประสงค์ของผู้ ประดิษฐ์เพลงนัน่ เอง ซึง่ ต่อมาภายหลัง พระยาประสานดุรยิ ศัพท์ [แปลก ประสานศัพท์] ได้คดิ แปลง เป็นทางเดีย่ วซอด้วง จากนัน้ ครูบาอาจารย์ทางดนตรีอกี หลายท่านได้นา� เพลงทยอยเดีย่ วนีม้ าประดิษฐ์ เป็นทางเดี่ยวของเครื่องดนตรีอื่นๆ เช่น ซออู้ ซอสามสาย ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ส่วนทางขับร้อง เพิ่งจะมีขึ้นในชั้นหลัง นักดนตรีไทยได้ให้ความส�าคัญโดยถือว่าเป็นเพลงเดี่ยวชั้นสูงสุดและมีทา� นอง ที่ไพเราะวิจิตรพิสดาร สามารถแสดงศักยภาพของนักดนตรีทั้งทางด้านฝีมือ ไหวพริบ ปฏิภาณ เมื่อ ครูส�าราญได้น�ามาประพันธ์เป็นโหมโรง จึงท�าให้สามารถแสดงศักยภาพได้อย่างครบเครื่อง ทั้งการ บรรเลงในลักษณะรวมวงและการบรรเลงเดี่ยว ด้านแนวคิดในการประพันธ์เพลงโหมโรงทยอยเดีย่ วนัน้ ครูสา� ราญ เกิดผล ได้นา� โครงสร้างเพลง ทยอยเดี่ยวมาประพันธ์เป็นเพลงโหมโรงทยอยเดี่ยวเพื่อเตรียมไว้แก้เพลงโหมโรงกราวใน เนื่องจาก ทราบว่ามีผปู้ ระพันธ์เพลงโหมโรงกราวใน ซึง่ มีตน้ ก�าเนิดมาจากเพลงเดีย่ วชัน้ สูง จึงคิดหาเพลงเตรียม ไว้ให้กบั ลูกศิษย์เพือ่ น�าไปแก้เพลงโหมโรงกราวในหากมีโอกาสได้ประชันกัน แรงบันดาลใจทีท่ �าให้ครู คัดจากวิทยานิพนธ์ เรื่อง การศึกษาเพลงโหมโรงทยอยเดี่ยว ของ วัฒนา อ่อนส�าลี ปริญญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต [สาขามานุษยดุริยางควิทยา] บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2559 1

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

175


ส�าราญเลือกน�าโครงสร้างเพลงทยอยเดี่ยวมาประพันธ์เป็นเพลงโหมโรงทยอยเดี่ยวคือเพื่อเตรียมไว้ แก้เพลงโหมโรงกราวในนั้น ครูส�าราญ เกิดผล [สัมภาษณ์,18 เมษายน 2558] ได้กล่าวว่า

“เดิมที่ท�ำโหมโรงทยอยเดี่ยวขึ้นมำ กลัวท่ำนครูพินิจ [พินิจ ฉำยสุวรรณ] ท่ำนท�ำโหมโรง กรำวใน ถ้ำลูกศิษย์เรำไปเจอโหมโรงกรำวใน ไม่รู้ว่ำจะเอำอะไรไปแก้กัน เพรำะตอนนั้นยังไม่ได้ ท�ำรวมกัน อยู่กันคนละที่ ก็เลยท�ำโหมโรงทยอยเดี่ยวเตรียมไปแก้ โหมโรงกรำวใน” จึงเลือกเพลงทยอยเดี่ยวซึ่งมีศักดิ์สูงกว่าเพลงกราวใน ในด้านท�านองนั้นไม่สามารถบอกได้ว่า เพลงใดมีความยากง่ายกว่ากัน ขึน้ อยูก่ บั ทางทีป่ ระพันธ์ ในบางครัง้ เดีย่ วกราวในอาจจะมีเทคนิคหรือ ท�านองที่ยากกว่าเพลงทยอยเดี่ยวก็ได้ แต่สิ่งที่ทา� ให้เพลงทยอยเดี่ยวอยู่สูงกว่าหรือเทียบเท่าเพลง เดีย่ วกราวในคือ การให้คณ ุ ค่ากับบทเพลงหรือใช้บทเพลงเป็นสัญลักษณ์ของเหล่านักดนตรีไทย และ ด้วยอารมณ์เพลงทีม่ คี วามโดดเด่น มีความโศกเศร้า โหยหวนและมีความดุดนั ท�าให้เพลงทยอยเดีย่ ว เป็นเพลงเดี่ยวในระดับสูงสุด ด้วยเหตุนี้ครูส�าราญจึงเลือกน�าเอาเพลงทยอยเดี่ยวมาประพันธ์เป็น เพลงโหมโรง เพื่อเป็นการข่มขวัญคู่ต่อสู้หรือเป็นการท้าทายคู่ต่อสู้ ซึ่งวิธีการประพันธ์นั้นครูส�าราญ เกิดผล ได้ใช้วธิ กี ารประพันธ์โดยน�าเอาโครงสร้างของเพลงทยอยเดีย่ ว ทัง้ ในด้านท�านอง จังหวะหน้า ทับ มาเป็นแนวทางในการประพันธ์โดยใช้จนิ ตนาการในการประพันธ์ในช่วงแรก เนือ่ งจากเพลงทยอย เดีย่ วในช่วงแรกเป็นเพลงลอยจังหวะไม่สามารถจับจังหวะลูกตกได้ ในส่วนเดีย่ วและส่วนท�านองอืน่ ๆ ได้มีการยกท�านองมาจากเพลงทยอยเดี่ยวมาแล้วปรับเปลี่ยนเป็นท�านองลูกล้อลูกขัดและเหลื่อม รวมถึงมีการประพันธ์ขนึ้ ใหม่ในบางช่วงตามความเหมาะสม ส่วนท�านองเดีย่ วในแต่ละเครือ่ งครูสา� ราญ ได้ประพันธ์ขึ้นใหม่ตามโครงสร้างที่ได้รับถ่ายทอดจากครูเทียบ คงลายทองและครูพุ่ม บาปุยะวาทย์ ซึง่ เป็นทางทีค่ รูเทียบได้รบั การถ่ายทอดจากพระยาเสนาะดุรยิ างค์ จากนัน้ ครูสา� ราญจึงน�าเพลงทยอย เดี่ยวมาประพันธ์เป็นเพลงโหมโรงทยอยเดี่ยว และได้ถ่ายทอดให้กับกลุ่มลูกศิษย์ที่ศูนย์ส่งเสริมและ เผยแพร่ดนตรีไทยในพระบรมราชินูปถัมป์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ ใช้แสดงครั้งแรกในพิธีไหว้ครูดนตรีไทย ณ วัดจุฬามณี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จากนั้นได้มีการถ่ายทอดให้กลุ่มลูกศิษย์ที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และยังมีการ ถ่ายทอดต่อไปยังนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านองค์ประกอบดนตรีของเพลงโหมโรงทยอยเดีย่ ว แสดงให้เห็นถึงแนวคิดกระบวนการในการ ประพันธ์เพลง ตลอดจนภูมปิ ญ ั ญาทีค่ รูได้สงั่ สมมาจนท�าให้เกิดบทเพลงขึน้ นัน้ สามารถแบ่งออกเป็น แบบแผนการบรรเลง และแบบแผนท่วงท�านอง ดังนี้ 1. แบบแผนกำรบรรเลง 1.1 รูปแบบกำรบรรเลง

เพลงโหมโรงทยอยเดีย่ ว เป็นเพลงทีป่ ระพันธ์จากเค้าโครงของเพลงทยอยเดีย่ ว จึงมีโครงสร้าง ตามรูปแบบการบรรเลงของเพลงทยอยเดี่ยว มีเที่ยวโอดอัตราจังหวะสามชั้นและเที่ยวพันอัตรา จังหวะสองชั้นหน้าทับสองไม้ จากนั้นจึงเปลี่ยนเป็นสองชั้นในท่อนเดี่ยวครั้งที่ 1 ไปจนจบเพลง การ บรรเลงไม่มกี ารกลับต้น มีลักษณะท�านองที่หลากหลาย ทัง้ ท�านองทางพื้น ท�านองขยี้ ท�านองลูกล้อ ลูกขัด เหลื่อม รวมไปถึงท�านองเดี่ยว

176

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เพลงโหมโรงทยอยเดีย่ ว ครูสา� ราญ เกิดผล ได้กา� หนดให้ใช้อตั ราจังหวะสามชัน้ ในตอนขึน้ เพลง และเปลี่ยนเป็นอัตราจังหวะสองชั้นในท�านองเดี่ยวครั้งที่ 1 ไปจนจบเพลง และใช้กลองสองหน้าใน การตีก�ากับจังหวะด้วยหน้าทับสองไม้ สามชั้นและสองชั้น 1.2 กำรปรับวง

ครูส�าราญ เกิดผล ได้ใช้วิธีการปรับวงตามแบบของวงบ้านพาทยโกศล คือ มีความเรียบร้อย หนักแน่น ใช้การด�าเนินกลอนระนาดที่สละสลวย เน้นความพร้อมเพรียง ใช้แนวจังหวะที่มีความ เรียบร้อยไล่จากช้าไปเร็วจนสุดก�าลัง ในท�านองลูกล้อลูกขัดหรือเหลือ่ มจะเน้นย�า้ เรือ่ งการประคบมือ หรือตีกดห้ามเสียงเพื่อให้วงมีความแน่นหนา 2. แบบแผนท่วงท�ำนอง 2.1 บันไดเสียง ลูกตกและกำรใช้เสียงรอง

มีบันไดเสียงปรากฏในบทเพลงจ�านวน 4 บันไดเสียง ได้แก่ บันไดเสียงโด บันไดเสียงเร บันได เสียงฟา และบันไดเสียงซอล โดยมีวรรคเพลงอยู่ในบันไดเสียงโด 161 วรรค บันไดเสียงเร 7 วรรค บันไดเสียงฟา 27 วรรค และบันไดเสียงซอล 230 วรรค ซึ่งถือว่าบันไดเสียงซอลเป็นบันไดเสียงหลัก ของเพลง เพราะมีจา� นวนวรรคเพลงมากทีส่ ดุ และมีปรากฏอยูใ่ นทุกท่อนเพลง และยังเป็นบันไดเสียง ที่ใช้ในท�านองขึ้นเพลงและจบเพลง มีลูกตกอยู่ในขั้นที่ 1, 2, 3, 5 และ 6 และมีการใช้เสียงรองท�า หน้าทีเ่ ป็นโน้ตจรของท�านองหลักและท�านองแปร มีการใช้เสียงรองท�าหน้าทีใ่ นการเปลีย่ นบันไดเสียง และมีการใช้เสียงรองท�าหน้าที่เป็นคู่ประสานเสียง 2.2 กระสวนจังหวะ

กระสวนจังหวะที่ใช้มากที่สุดในเพลงโหมโรงทยอยเดี่ยวคือ กระสวน โดยใช้ มากถึง 154 วรรค เนื่องจากเป็นกระสวนที่ใช้มากในท�านองลูกล้อลูกขัดซึ่งเป็นท�านองส่วนใหญ่ของ เพลงนี้ และยังมีการใช้กระสวนจังหวะแบบต่างๆ อย่างหลากหลายมากถึง 26 แบบ ท�าให้เพลง โหมโรงทยอยเดี่ยวเป็นเพลงที่มีกระสวนจังหวะครบถ้วนทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นกระสวนจังหวะ ส�าหรับท�านองทางพืน้ การขยี้ ท�านองลูกล้อ ลูกขัด ลูกเหลือ่ ม โดยในท�านองส่วนที่ 7 มีการใช้กระสวน จังหวะมากสุดถึง 17 แบบ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

177


ภาพที่ 1 ตัวอย่างโน้ตสากลเพลงโหมโรงทยอยเดี่ยว ที่มา : วัฒนา อ่อนส�าลี, 2559

2.3 เปรียบเทียบท�ำนองหลักกับท�ำนองแปร

การแปรท�านองเพลงโหมโรงทยอยเดี่ยวเป็นทางระนาดเอก ผู้ประพันธ์ได้แปรท�านองตาม ลูกตกส�าคัญในห้องที่ 4 และ 8 ทุกบรรทัด และในบางวรรคมีการแปรท�านองลงลูกตกเดียวกันกับ ท�านองหลักทุกห้อง และในบางวรรคมีการแปรท�านองลงลูกตกเฉพาะลูกตกสุดท้ายของวรรค โดย ท�านองที่แปรนั้นมีทั้งแบบเรียบง่ายไปในทิศทางเดียวกับท�านองหลักสลับกับการแปรท�านองที่ผูก กลอนอย่างลึกซึ้งแปลกหูแต่มีความลงตัวและเป็นเอกลักษณ์ 2.4 เทคนิคกำรบรรเลง

การบรรเลงเพลงโหมโรงทยอยเดี่ยวใช้เทคนิคในการบรรเลงที่หลากหลาย โดยเทคนิคที่ใช้ใน การบรรเลงปีใ่ นคือ การเป่าโหยหวนหรือเป่าเอือ้ นท�านองในตอนขึน้ เพลง การเป่าท�านองเก็บโดยใช้ การตอดลิ้นเพื่อให้เสียงคมชัด การควงเสียง การพรม การสะบัด และการกระทบเสียง เทคนิคที่ใช้ ในการบรรเลงระนาดเอกได้แก่ การสะบัด สะเดาะ ขยี้ รัว กวาด เก็บและไขว้มือ ส่วนเทคนิคที่ใช้กับ ฆ้องวงใหญ่และฆ้องวงเล็กคือ การสะบัด การไขว้มือ และการประคมมือ เทคนิคที่ใช้ในการบรรเลง ระนาดทุ้มคือ การตีกดมือ การลักจังหวะและการย้ายจังหวะ ในเรื่องของความโดดเด่นในเพลงโหมโรงทยอยเดี่ยวนี้ ครูส�าราญ เกิดผล [สัมภาษณ์, 18 178

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เมษายน 2558] ได้กล่าวไว้วา่ “...เป็นเพราะความโดดเด่นของเพลงและความเหมาะสมทางเพลงด้วย ท่านครูช่อ สุนทรวาทินเคยบอกไว้ว่า เพลงไทยท�าให้เป็นอะไรก็ได้ จีน ฝรั่ง ท�าให้แข็ง ให้เพราะ สามารถท�าให้อ่อนได้แข็งได้ อยู่ที่ผู้ท�า...” นอกจากองค์ประกอบทางดนตรีของเพลงทยอยเดี่ยวแล้ว การที่เพลงทยอยเดี่ยวหรือเพลง โหมโรงทยอยเดี่ยวจะเกิดคุณค่าขึ้นได้นั้น ต้องอาศัยองค์ประกอบหลายส่วน ไม่ว่าจะเป็นฝีมือของผู้ บรรเลง ทางที่ใช้บรรเลง เวลาสถานที่ที่เหมาะสม รวมไปถึงวัยของผู้บรรเลง เพราะเพลงเหล่านี้มี ความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม ความเชื่อ ซึ่งเป็นอีกปัจจัยที่ท�าให้บทเพลงมีคุณค่า ในสมัยนี้คุณค่า เหล่านี้ก�าลังหายไป เพราะผู้คนให้ความส�าคัญเฉพาะชื่อเพลง กล่าวคือเห็นว่าเพลงทยอยเดี่ยวเป็น เพลงเดี่ยวล�าดับสูงสุด จึงมีความต้องการที่จะได้มาเพื่อน�าไปข่มเหงผู้อื่น น�าไปบรรเลงเพื่ออวดอ้าง ฝีมือ ความรู้ แต่ลืมนึกถึงองค์ประกอบที่จะท�าให้บทเพลงนั้นมีคุณค่ามากที่สุด เหนือสิง่ อืน่ ใดคุณค่าทีแ่ ท้จริงของบทเพลงอยูท่ คี่ วามไพเราะ ไม่ได้อยูท่ ชี่ อื่ เพลงหรือล�าดับความ ยากง่าย ไม่ว่าจะเป็นเพลงอะไรส�าคัญที่เมื่อบรรเลงออกมาแล้วไพเราะน่าฟังหรือไม่ มีความเหมาะ สมทั้งท�านองจังหวะ ฝีมือ เวลาสถานที่หรือไม่ เพราะถึงจะบรรเลงเพลงระดับสูงแต่ฝีมือไม่ถึง การ บรรเลงนั้นก็จะกลายเป็นเสียงที่ไม่น่าฟังทันที อีกทั้งยังเป็นการท�าลายคุณค่าของบทเพลงอีกด้วย การอนุรักษ์ดนตรีไทยไม่ใช่แค่การส่งเสริมให้คนเล่นดนตรีไทยอย่างเดียว แต่ยังต้อง ส่งเสริมให้รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีปฏิบัติด้วย จึงจะเป็นการอนุรักษ์ถึงแก่นแท้ของ ดนตรีไทย ไม่ใช่การรักษาแค่เปลือกนอก นอกจากการอนุรกั ษ์แล้วการสร้างสรรค์กถ็ อื เป็นการ ช่วยส่งเสริมให้ดนตรีไทยมีความเจริญงอกงามขึ้นได้ เหมือนเช่นครูส�าราญ เกิดผล ที่เป็นทั้ง นักอนุรกั ษ์และนักสร้างสรรค์ ดูตวั อย่างได้จากเพลงโหมโรงทยอยเดีย่ ว นอกจากครูจะอนุรกั ษ์ เพลงทยอยเดีย่ วทีไ่ ด้สบื ทอดมาจากครูบาอาจารย์แล้ว ครูยงั น�าเอาองค์ความรูท้ ไี่ ด้มาสร้างสรรค์เป็น เพลงใหม่แต่ยังคงเอกลักษณ์เดิมได้อย่างลงตัว บรรณำนุกรม มนตรี ตราโมท และวิเชียร กุลตัณฑ์. (2523). ฟังและเข้าใจเพลงไทย. กรุงเทพฯ: ไทยเขษม. ส�าราญ เกิดผล. สัมภาษณ์. 18 เมษายน 2558.

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

179


โน้ตเพลงไทยส�ำนักพำทยรัตน์ 1 วรำห์ เทพณรงค์

อำจำรย์ประจ�ำสำขำวิชำกำรสอนดนตรีและนำฏศิลป์ คณะครุศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏยะลำ

โน้ตเพลงไทย ถือได้วา่ มีความส�าคัญต่อการสืบทอด มรดกและวัฒนธรรมของดนตรีไทย เป็นคลังความรูข้ อง ส�านักดนตรีไทยหลายส�านักที่สืบทอดทางเพลงไว้เป็น มรดกของส�านักดนตรีนนั้ ๆ ซึง่ ปัจจุบนั มีสา� นักดนตรีทสี่ า� คัญ ส�านักหนึง่ ทีม่ ชี อื่ เสียงและรูจ้ กั กันอย่างดีในสังคมดนตรี ไทย ได้มีการเก็บรวบรวบโน้ตเพลงที่สืบทอดมาตั้งแต่ อดีต คือ ส�านักพาทยรัตน์ หรือวงปี่พาทย์บ้านใหม่หาง กระเบน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา “ส�านักพาทยรัตน์” คือนามพระราชทานจากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือที่นักดนตรีไทยรู้จักใน ชือ่ วงปีพ่ าทย์บา้ นใหม่หางกระเบน ตัง้ อยูร่ มิ แม่นา�้ เจ้าพระยา บ้านเลขที่ 57 หมู่ 4 ต�าบลบ้านใหม่ อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของญาติ พีน่ อ้ งตระกูลเกิดผล ประกอบด้วย 1. นางชืน่ เกิดผล [กุหลาบ แย้ม] 2. นายหงส์ เกิดผล 3. นายจ�ารัส เกิดผล 4. นายพวง เกิดผล 5. นายสังเวียน เกิดผล และ 6. นางชด เกิดผล [พวงประดับ] ท่านเหล่านี้มีความรู้ความสามารถเรื่องการ ดนตรีและนาฏศิลป์ไทยเป็นอย่างดี เนือ่ งจากได้รบั การปลูก ฝังจากบรรพบุรษุ สายตระกูลเกิดผล และได้รบั การถ่ายทอด ความรู้จากส�านักดนตรีครูเพ็ชร จรรย์นาฏย์ ในเวลาต่อมา นายสังเวียน เกิดผล ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ ร่วมก่อตั้งวงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน ได้เชิญครูดนตรี ไทยผู้มีชื่อเสียงจากส�านักพาทยโกศล คือ ครูฉัตร สุนทร วาทิน และครูชอ่ สุนทรวาทิน มาถ่ายทอดความรูด้ า้ นดนตรี ไทยให้กบั สมาชิกในวง จึงท�าให้องค์ความรูจ้ ากส�านักพาทย โกศลอันเป็นแนวทางและวิธีการปฏิบัติของครูจางวางทั่ว

พาทยโกศล ทั้งระเบียบวิธีการบรรเลง กลวิธีการบรรเลง บทบาทและทางขับร้องประเภทต่างๆ ถูกถ่ายโอนสู่วงปี่ พาทย์บ้านใหม่หางกระเบนเป็นจ�านวนมาก ซึ่งสมาชิกและ นักดนตรีสา� คัญของคณะวงปีพ่ าทย์บา้ นใหม่หางกระเบนใน ยุคนั้น ได้แก่ 1. ครูส�าราญ เกิดผล [ศิลปินแห่งชาติ ประจ�า ปี พ.ศ. 2548] 2. นายจ�าลอง เกิดผล 3. นายส�าเริง เกิดผล 4. นายวิเชียร เกิดผล และ 5. นางมาลี เกิดผล [สุขเสียงศรี] เป็นต้น [พิชชาณัฐ ตู้จินดา, 2553] นอกจากวงปีพ่ าทย์บา้ นใหม่หางกระเบน จะได้รบั ความ รู้ด้านดนตรีไทยจากครูช่อ สุนทรวาทิน และครูฉัตร สุนทร วาทิน ยังได้รับความรู้เพิ่มเติมจากนักดนตรีไทยคนส�าคัญ ของส�านักพาทยโกศลอีกท่านหนึง่ คือ ครูอาจ สุนทร ซึง่ เป็น ศิษย์คนส�าคัญในส�านักพาทยโกศล ผู้ท�าหน้าที่บันทึกโน้ต เพลงไทยให้ครูจางวางทัว่ พาทยโกศล ครูอาจได้นา� โน้ตเพลง ทั้งหมดมอบให้แก่ครูส�าราญ เกิดผลในปี พ.ศ. 2493 ความ รู้ในโน้ตเพลงนั้นมีเพลงทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นเพลงเถา เพลงตับ เพลงหน้าพาทย์ เพลงเรื่อง เป็นต้น ซึ่งเขียนด้วย ลายมือที่เรียบร้อยงดงาม สะท้อนถึงความตั้งใจของผู้บอก เพลงและผูจ้ ดบันทึกคัดลอก โน้ตเพลงไทยทีค่ รูสา� ราญ เกิดผล ได้รบั การถ่ายทอดนัน้ ปัจจุบนั มีความส�าคัญแก่วงการดนตรี ไทยเป็นอย่างมาก โดยได้ถูกถ่ายทอดให้กับลูกศิษย์ภายใน ส�านักพาทยรัตน์ ส�านักดนตรีอนื่ ๆ และสถาบันการศึกษาที่ สนใจ ในด้านพัฒนาการของโน้ตเพลงไทยส�านักพาทยรัตน์ สามารถแบ่งเป็น 3 ช่วงเหตุการณ์ ดังนี้

คัดจากวิทยานิพนธ์ เรื่อง เพลงชุดโหมโรงกลางวันต�ารับครูทองดี ชูสัตย์ ของ ปานหทัย สุคนธรส ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต [ดนตรี] บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552 1

180

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


1. กำรบันทึกโน้ตเพลงไทยในส�ำนักพำทยโกศล

ส�านักพาทยโกศลมีหลักฐานการบันทึกโน้ตเพลงเกิด ขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2446 ขณะนัน้ ทูลกระหม่อม บริพัตรเสด็จกลับจากประเทศเยอรมนี พระองค์ทรงด�ารง ต�าแหน่งผู้บัญชาการกองทัพเรือ ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2448 - 2450 ทูลกระหม่อมบริพตั รทรงรับอุปถัมภ์วงปีพ่ าทย์ ของจางวางทั่ว พาทยโกศลเข้ามาประจ�าที่วังบางขุนพรหม และทรงอุปถัมภ์ค�้าชูสมาชิกในส�านักพาทยโกศลตลอดมา ขณะทีจ่ างวางทัว่ ได้ทา� หน้าทีเ่ ป็นครูแตรวงประจ�ากองทัพเรือ ทูลกระหม่อมบริพตั รทรงประทานความรูเ้ รือ่ งโน้ตสากลและ วิธีประสานเสียงแก่จางวางทั่ว เพื่อต้องการจะน�าท�านอง เพลงไทยมาเรียบเรียงส�าหรับวงโยธวาทิตกองทัพเรือในขณะ นั้น แต่ไม่สามารถสืบค้นข้อมูลได้ว่าจางวางทั่วเรียนโน้ต สากลในปีใด และเรียนลึกซึง้ ขนาดไหน จากการทีค่ รูจางวางทัว่ พาทยโกศล ได้รับความรู้เรื่องโน้ตสากลแล้ว ภายหลังลูก ศิษย์ในส�านักพาทยโกศลท่านอืน่ ๆ ก็ได้เข้าไปเรียนโน้ตสากล ในขณะทีร่ บั ราชการอยูใ่ นกองดุรยิ างค์กองทัพบกและกองทัพ เรือเช่นกัน ด้วยสาเหตุดงั กล่าวส�านักพาทยโกศลจึงเกิดการ บันทึกทางเพลงของครูจางวางทั่ว พาทยโกศล เก็บรักษา เป็นสมบัติของส�านักพาทยโกศลเรื่อยมา โดยพบว่าผู้ที่ท�า หน้าที่บันทึกเพลงให้ครูจางวางทั่ว พาทยโกศล คือ ครูอาจ สุนทร และท่านอื่นๆ แต่ไม่สามารถระบุได้อย่างแน่ชัดว่า มีใครเป็นผู้บันทึกบ้าง 2. กำรถ่ำยทอดโน้ตเพลงจำกส�ำนักพำทยโกศลสู่ส�ำนัก พำทยรัตน์

โน้ตเพลงของส�านักพาทยโกศลถูกถ่ายทอดแก่ส�านัก พาทยรัตน์ โดยเริ่มตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2481 ขณะนั้นครูส�าราญ เกิดผล อายุ 11 ปี ได้ฝากตัวเป็นศิษย์สา� นักพาทยโกศล และ ได้เรียนดนตรีกับครูผู้ใหญ่ในส�านักพาทยโกศล คือ ครูช่อ สุนทรวาทิน ครูฉัตร สุนทรวาทิน และครูเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล ในขณะทีค่ รูส�าราญ เกิดผล ได้เรียนดนตรีอยูท่ ี่ ส�านักพาทยโกศล ได้ขอความกรุณาจากครูช่อและครูฉัตร ให้ไปสอนดนตรีท่ีวงปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ท่านครูทงั้ สองก็ได้เมตตาเดินทางไปสอน ให้ตามความประสงค์ พ.ศ. 2486 พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ณ เชียงใหม่ ได้เรียกตัวครูช่อและครูฉัตรกลับไปสอนที่จังหวัดเชียงใหม่ เป็นเหตุให้วงปีพ่ าทย์บา้ นใหม่หางกระเบนไม่มคี รูผสู้ อน ต่อ มาครูสังเวียน เกิดผล [อา] จึงได้พาครูส�าราญไปฝากเรียน

ดนตรีกับครูอาจ สุนทร ที่บ้านครูแถม คงศรีวิไล วัดหญ้า ไทร จังหวัดนนทบุรี ครูส�าราญได้เรียนกับครูอาจ สุนทร ประมาณ 1 ปี และในปี พ.ศ. 2487 ครูสังเวียน เกิดผล จึง ได้เชิญครูอาจ สุนทร มาสอนทีบ่ า้ นใหม่หางกระเบน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เป็นต้นมา พ.ศ. 2487 สมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบลู สงคราม กรม ศิลปากรได้ออกกฎว่านักดนตรีจะต้องได้รบั วุฒบิ ตั รจากกรม ศิลปากรจึงจะประกอบอาชีพนักดนตรีได้ จึงเป็นเหตุให้ครู ส�าราญ ได้เรียนการบันทึกโน้ตสากลกับครูอาจ สุนทร จนอ่านและเขียนโน้ตได้อย่างคล่องแคล่ว ทาให้ครูอาจ สุนทร มอบโน้ตเพลงที่เป็นสมบัติส่วนตัวทั้งหมดให้แก่ครูส�าราญ เกิดผล เมื่อ พ.ศ. 2493 3. ครูส�ำรำญ เกิดผล กับกำรสืบทอดโน้ตเพลงไทย ส�ำนักพำทยรัตน์

หลังจากที่ครูส�าราญ เกิดผล ได้รับมอบโน้ตเพลงไทย เมื่อปี พ.ศ. 2493 ต่อมาได้พบว่าโน้ตเพลงที่เก็บรักษาได้ สูญหายช�ารุดไปทรุดโทรมไปจ�านวนมาก จึงเกิดการกลับมา ฟื้นฟูโน้ตเพลงไทยตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมา แต่ในช่วงเวลานั้นยังไม่ท�าการฟื้นฟูโน้ตเพลงทั้งหมดอย่าง เต็มที่ เนื่องด้วยเลิกอาชีพนักดนตรีไปเป็นแพทย์ประจ�า ต�าบลและเป็นก�านันต�าบลบางชะนี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สาเหตุที่เลิกอาชีพนักดนตรีเพราะครูส�าราญ เกิดผล ต้อง ท�างานหาเลี้ยงครอบครัว ต่อมาในปี พ.ศ. 2523 ครูส�าราญ เกิดผล ได้ท�าการ ฟื้นฟูค้นคว้าโน้ตเพลงอย่างจริงจัง เนื่องจากได้รับพระ มหากรุณาธิคุณ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี รับสัง่ ให้ขอตัวครูสา� ราญ เกิดผล ก�านันต�าบล บางชะนี เป็นเวลา 90 วัน เพือ่ ค้นคว้าและอัดเสียงเพลงพระ นิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุม พันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินติ ณ ศาลาดุสดิ าลัย ประมาณ 20 เพลง จึงเป็นต้นเหตุให้ครูสา� ราญ เกิดผล เห็นความส�าคัญ ของการฟืน้ ฟูโน้ตเพลงขึน้ มาใหม่ โดยได้ทา� การคัดลอก ตรวจ สอบ ปรับปรุง รวมถึงพัฒนาเพลงขึ้นจากโน้ตเพลงเก่าที่ รักษาไว้ ถ่ายทอดแก่ลกู ศิษย์ในส�านักพาทยรัตน์และทีอ่ นื่ ๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากการถ่ายทอดโน้ตเพลงไทยแก่ลูกศิษย์จาก ส�านักพาทยรัตน์และสถาบันการศึกษาต่างๆ แล้ว ครูสา� ราญ เกิดผล ยังได้เห็นความส�าคัญเพลงหน้าพาทย์ จึงจัดท�า เผยแพร่โน้ตเพลงประเภทเพลงหน้าพาทย์ไหว้ครูต�ารับ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

181


ครูทองดี ชูสัตย์ รวบรวมน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนือ่ งในวาระเฉลิมฉลอง พระชันษาครบ 5 รอบ อีกด้วย ในปัจจุบนั โน้ตเพลงไทยส�านักพาทยรัตน์ เก็บรักษาไว้ ทีบ่ า้ นพักอาศัยของครูสา� ราญ เกิดผล ณ บ้านเลขที่ 23 หมู่ 5 ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ครูสา� ราญ เกิดผล ใช้โน้ตเพลงเป็นสือ่ การสอนดนตรี สืบทอด ทางเพลง ขนบธรรมเนียม วิธีปฏิบัติของส�านักพาทยโกศล อย่างเคร่งครัดให้แก่ลูกศิษย์ในวงการดนตรีไทยตลอดมา โน้ตเพลงไทยส�านักพาทยรัตน์ สามารถแบ่งโน้ตเพลง ออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. โน้ตเพลงเก่า คือ โน้ตเพลงที่ครู ส�าราญ เกิดผล ท�าการคัดลอกจากต้นฉบับลายมือของครู อาจ สุนทร และโน้ตเพลงที่ครูส�าราญ เกิดผล เขียนขึ้นใหม่ 2. โน้ตเพลงที่ครูส�าราญ เกิดผล ประพันธ์และเรียบเรียงขึ้น ใหม่ 1. โน้ตเพลงเก่า สามารถแบ่งประเภทเพลงได้ดังนี้ 1.1 เพลงหน้าพาทย์ เพลงหน้าพาทย์ไหว้ครู 54 เพลง เพลงหน้าพาทย์ประเภทเพลงตระสามชั้น 22 เพลง เพลงหน้าพาทย์ประเภทเพลงชุดโหมโรง 3 เพลง เพลงหน้าพาทย์ทั่วไป 4 เพลง 1.2 ประเภทเพลงโหมโรงเสภา 10 เพลง 1.3 ประเภทเพลงเรื่อง 31 เพลง 1.4 ประเภทเพลงสองชั้น 226 เพลง 1.5 ประเภทเพลงเถา 117 เพลง 1.6 ประเภทเพลงเสภา 16 เพลง 1.7 ประเภทเพลงส�าเนียงต่างๆ ส�าเนียงจีน 26 เพลง ส�าเนียงแขก 59 เพลง 2. โน้ตเพลงที่ครูส�าราญ เกิดผล ประพันธ์และเรียบเรียง ขึ้นใหม่ สามารถแบ่งประเภทเพลงได้ดังนี้ 2.1 ประเภทเพลงหน้าพาทย์ 11 เพลง 2.2 ประเภทเพลงโหมโรง 8 เพลง 2.3 ประเภทเพลงเถา 56 เพลง 2.4 ประเภทเพลงตับ 2 เพลง 2.5 ประเภทเพลงเรื่อง 2 เพลง 182

การบันทึกโน้ตเพลงไทยมีคุณค่าในการบันทึก บทเพลงเก่าจากอดีตให้เป็นลายลักษณ์อักษรคงอยู่จนถึง ปัจจุบันโดยไม่คลาดเคลื่อน โน้ตเพลงไทยส�านักพาทยรัตน์ จึงเป็นคลังเพลงและองค์ความรู้ที่ส�าคัญของวงการดนตรี ไทย ที่ท�าหน้าที่สืบทอดทางเพลงของส�านักพาทยโกศล ซึ่ง มีคุณค่าและมีความส�าคัญต่อประวัติศาสตร์ดนตรีไทย ใน ด้านศิลปวัฒนธรรมไทย ด้านบทเพลงไทย และด้านศิลปิน ผู้ถ่ายทอดบทเพลง ท�าให้เห็นแนวคิดของผู้ประพันธ์เพลง ในส�านักพาทยโกศลเมื่อครั้งอดีต ดังค�ากล่าวของครูสา� ราญ เกิดผล ทีว่ า่ “...ตัวโน้ตเพลง นัน้ มีคา่ มากเหลือเกิน ถ้าไม่ได้รบั โน้ตเพลง จากครูอาจไว้ ก็ คงจะสอนใครไม่ได้ เพลงที่อยู่ในโน้ตก็ถือว่าเป็นมรดกของ แผ่นดินต่อไป อย่างเช่นเพลงปูท่ องดีอายุประมาณสองร้อย ปีก็ยังอยู่ได้เพราะโน้ตเพลง ถ้าไม่มีโน้ตก็คงจะสอนได้แต่ ของง่ายๆ ส่วนของลึกลับซับซ้อนไปก็ลมื หมด แล้วในสมัย อดีตครูบาอาจารย์ก็ไม่ค่อยจะต่อเพลงที่สูงมาก อย่างเช่น เพลงของทูลกระหม่อมบริพัตร ท่านก็ต่อไว้สี่ห้าเพลง อีก ประการหนึง่ คือ ปัจจุบนั เข้าใจว่ามีทเี่ ราทีเ่ ดียวทีน่ า� เพลงของ บ้านพาทยโกศลมาสืบค้นและบรรเลง เพราะตัวโน้ตเพลงที่ บันทึกก็อยูท่ เี่ รา ส่วนโน้ตเพลงทีบ่ า้ นพาทยโกศลก็มแี ต่เพียง โน้ตเพลงที่เก็บไว้ แต่ก็ไม่ได้น�ามาใช้ประโยชน์” [ส�าราญ เกิดผล, สัมภาษณ์, 10 กรกฎาคม 2558] ครูสา� ราญ เกิดผลได้สบื ทอดโน้ตเพลงไทยโดยการ คัดลอกจากต้นฉบับ ตรวจสอบความถูกต้อง รวมทั้งน�า โน้ตเพลงมาพัฒนาต่อยอดจนเกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ ของส�านักพาทยรัตน์ ซึ่งเป็นการสืบทอดมรดกทาง วัฒนธรรมที่ส�าคัญของแผ่นดิน และอนุรักษ์ทางเพลงที่ ทรงคุณค่าให้คงอยู่คู่แผ่นดินไทยต่อไป บรรณำนุกรม พิชชาณัฐ ตู้จินดา. (2553). การถ่ายทอดองค์ความรู้ของวง ปี่พาทย์บ้านใหม่หางกระเบน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต [สาขาวิชาดุริยางค์ไทย]. กรุงเทพฯ: คณะศิลปกรรม ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ส�าราญ เกิดผล. สัมภาษณ์. 10 กรกฎาคม 2558.

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ต้นไม้ใหญ่ของศิษย์1 เสำวภำคย์ อุดมวิชัยวัฒน์ ครูพิเศษโรงเรียนมัธยมปัญญำรัตน์ ครูชมรมดนตรีไทยโรงเรียนพุทธศำสนำวันอำทิตย์ วัดสุทัศนเทพวรำรำมรำชวรมหำวิหำร

ต้นไม้ใหญ่ ปู่นั้นเปรียบเสมือนร่มโพธิ์ร่มไทรของลูกๆ หลานๆ และลูกศิษย์ทกุ ๆ คน ข้าพเจ้ามีความภูมใิ จมากทีไ่ ด้มโี อกาส เกิดมาเป็นลูกศิษย์ของปู่ ได้มาอยู่ใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ต้นนี้ ได้เห็นและเข้าใจถึงความหมายของค�าว่า ครู ที่แท้จริง

ร่มเงำแห่งควำมดี

ครั้งหนึ่งเคยสงสัยและถามปู่ว่า “เวลาปู่สวดมนต์ไหว้ พระ...ปู่ขออะไร” ค�าตอบที่ได้นั้น คือ “ปัจจุบันนี้เวลำ สวดมนต์ไหว้พระ ปูจ่ ะอธิษฐำนขออย่ำให้ประสำทหลงลืม เลอะเลือน ขอให้มีสติสัมปชัญญะจ�ำได้หมำยรู้จนถึง วำระสุดท้ำย เพื่อที่จะสำมำรถเป็นผู้ให้ตรำบจนวำระ สุดท้ำยของชีวิต” พอได้ฟังค�าตอบของปู่ก็รู้สึกประทับใจ ขึ้นมา ซึ่งเป็นค�าขอที่ไม่เหมือนกับบุคคลทั่วๆ ไป ที่มักจะ ขอเพื่อให้ได้มา แต่ปู่กลับขอเพื่อที่จะเป็น ผู้ให้ คนอื่นจน วาระสุดท้ายของชีวิตท่าน ซึ่งท่านก็เป็นเช่นนั้นจริงๆ จน ท่านได้จากไป เพราะปูบ่ อกว่า “กำรเป็นผูใ้ ห้นนั้ ไม่มพ ี นั ธะ แต่กำรเป็นผู้รับนั้นจะต้องมีพันธะติดตำมมำ” การเป็นผู้

ให้ของปู่นั้น ไม่เพียงแต่ให้วิชาความรู้ทางดนตรีเท่านั้น แต่ ปูจ่ ะพูดอยูเ่ สมอว่า “ครูโบรำณท่ำนไม่ได้สอนเรำแต่เรือ่ ง กำรบรรเลง สอนเรำกระทั่งมำรยำทของนักดนตรีที่ดี เพรำะว่ำครูบำอำจำรย์โบรำณท่ำนได้ใกล้ชดิ กับเจ้ำนำย ในวัง และทุกๆ คนยึดถือในระเบียบแบบแผนมำก ครู ทุกท่ำนเป็นตัวอย่ำงที่ดีของเรำ ไม่มีกำรดื่มเหล้ำเมำยำ เรียบร้อย สั่งสอนมำรยำทกับลูกศิษย์ ไม่ใช่ฝีมืออย่ำง เดียว แต่ต้องท�ำตัวให้เป็นนักดนตรีที่ดีด้วย ครูทุกท่ำน ก็ปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่ำงที่ดีให้แก่เรำ เพรำะฉะนั้นทุก ท่ำนก็สอนเรำด้วยบทบำททีด่ ี เป็นตัวอย่ำงทีด่ ี ปูเ่ คำรพ นับถือครูทกุ ท่ำน ท่ำนมอบควำมดีให้เรำ” ซึง่ สิง่ ทีป่ ไู่ ด้ให้ ศิษย์นั้นไม่เพียงแค่ ความเก่ง แต่ปู่ได้ปฏิบัติตนเป็นแบบ อย่างและมอบ ความดี ให้แก่ศิษย์อีกด้วย พูดถึงการปฏิบตั ติ นของปูแ่ ล้วท�าให้นกึ ถึงเรือ่ งหนึง่ ขึน้ มาได้ ด้วยความทีเ่ คยได้ยนิ มาว่า เวลาครูผปู้ ระกอบพิธไี หว้ ครูก่อนที่จะไปท�าพิธีนั้น บางท่านก็จะสวดมนต์ถือศีลก่อน ที่จะประกอบพิธีเป็นเวลาหนึ่งอาทิตย์บ้าง หนึ่งเดือนบ้าง แล้วแต่วธิ กี ารของครูแต่ละท่าน จึงท�าให้เกิดความสงสัยแล้ว ถามปู่ไปว่า “ปู่มีวิธีเตรียมตัวอย่างไรก่อนที่จะไปท�าพิธีไหว้ ครู” ค�าตอบที่ไม่คาดคิดว่าจะได้รับ คือ “ปู่ก็ไม่ได้ท�ำอะไร ไม่ได้ท�ำอะไรเป็นพิเศษ ปู่ไม่จ�ำเป็นที่จะต้องปฏิบัติตัว เฉพำะตอนที่จะท�ำพิธี ปู่ปฏิบัติตัวตลอดทั้งปีอยู่แล้ว และปู่ก็ตั้งใจที่จะรักษำศีล 5 ตลอดชีวิต” เมื่อได้ฟังค�า ตอบของปูน่ นั้ ก็ทา� ให้ครูดนตรีไทยรุน่ ใหม่อย่างข้าพเจ้ารูส้ กึ เกิดความเคารพรักศรัทธาในตัวปู่ ซึง่ ไม่ใช่เพียงแค่ฝมี อื ความ สามารถทางดนตรีไทยของท่านเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่

คัดจากวิทยานิพนธ์ เรื่อง การวิเคราะห์อัตลักษณ์ความเป็นครูดนตรีไทยของครูส�าราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ ของ เสาวภาคย์ อุดมวิชัยวัฒน์ หลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559 1

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

183


หากเป็นจริยวัตรอันงดงามทีท่ า่ นได้ปฏิบตั ติ นเป็นแบบอย่าง อย่างเสมอต้นเสมอปลาย ตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้เป็นลูกศิษย์ ของท่าน คุณธรรมข้อส�าคัญทีป่ ยู่ ดึ ถือและอบรมสัง่ สอนศิษย์ทกุ คนอยู่เสมอ คือ เรื่องของ ความกตัญญู จริยวัตรทุกอย่าง ที่ท่านได้กระท�าในแต่ละวันนั้นล้วนเป็นการแสดงถึงความ กตัญญูตอ่ บุคคลผูม้ พี ระคุณกับท่านทัง้ สิน้ ตัง้ แต่การตืน่ เช้า ทุกๆวันเพือ่ มาใส่บาตร กรวดน�า้ ไปถึงพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ และบุคคลผู้มีพระคุณ การสอนผู้ที่สนใจมาเรียนดนตรีไทย โดยไม่คดิ ค่าตอบแทนใดๆ การท�าทานบริจาคสิง่ ของเครือ่ ง ใช้ในวันส�าคัญต่างๆ รวมไปถึงการสวดมนต์ไหว้พระ แม้แต่ การไปเป็นผูป้ ระกอบพิธไี หว้ครู ปูจ่ ะบอกอยูเ่ สมอว่า “ปูไ่ ม่ เคยเรียกค่ำตอบแทนใดๆ เขำให้เท่ำไหร่เรำก็ทำ� เพรำะ ครูได้สงั่ ไว้วำ่ ไม่ใช่เรือ่ งทีจ่ ะท�ำเป็นธุรกิจ แต่มอบให้เพือ่ เป็นครูเขำ เงินก�ำนลทั้งหมดปู่ไม่เคยเอำไปใช้ เพรำะ ถือว่ำเป็นเงินของครูไม่ใช่ของเรำ เงินที่ใส่ขันก�ำนลมำ เช้ำก็ใส่บำตร ถ้ำน้อยเรำก็เติมให้เป็นร้อย สองร้อยแล้ว ก็ใส่บำตรหมด” ซึง่ ปูก่ ไ็ ด้สอนข้าพเจ้าไว้วา่ “ควำมกตัญญู กตเวทีกับบุคคลที่ควรบูชำ อันนี้ส�ำคัญมำกที่สุด ถือว่ำ เป็นมงคลกับชีวติ อย่ำงสูงสุด ทีป่ ทู่ ำ� อยูท่ กุ วันนี้ คือ สอน โดยไม่คดิ ค่ำตอบแทน เลีย้ งดูเสร็จ ก็เพรำะต้องกำรกรวด น�้ำถึงครูบำอำจำรย์ ซึ่งแสดงถึงควำมกตัญญูกตเวที เพรำะเรียนกับครูทกุ ๆ คน ครูไม่เคยคิดสตำงค์เลย เพรำะ ท่ำนก็รู้ว่ำเรำยำกจน และเรำก็เห็นว่ำครูบำอำจำรย์ที่ สอนเรำทุกๆ คนก็ยำกจนนะ ไม่ใช่รำ�่ รวยหรอก กว่ำเรำ พอจะลืมตำอ้ำปำกได้ ครูบำอำจำรย์ทำ่ นก็เสียชีวติ หมด แล้ว ปู่ก็ต้องหำวิธีกำรตอบแทนทำงอ้อม ให้วิชำเป็น ทำน ให้อำหำรเป็นทำน และก็ใส่บำตร กรวดน�้ำไปถึง ท่ำน” สิง่ ทีน่ า่ สนใจในเรือ่ งของความกตัญญูกตเวทีของปูน่ นั้ ข้าพเจ้าเห็นว่าท่านไม่เพียงกตัญญูเฉพาะกับบุคคลเพียง อย่างเดียว แต่ปู่นั้นเป็นผู้กตัญญูเคารพรักต่อสถาบันพระ มหากษัตริย์เป็นอย่างมาก โดยท่านมีวิธีแสดงความกตัญญู ในแบบของตัวท่านเอง ซึ่งปู่ได้กล่าวไว้ว่า “สืบเนื่องมำ ยำวนำนนะ ทูลกระหม่อมบริพัตรฯ ท่ำนก็อุปถัมภ์ บ้ำนพำทยโกศลมำ ซึง่ เป็นสถำนทีท่ เี่ คยให้ควำมรูแ้ ก่เรำ มำ แล้วก็ 30 กว่ำปีทสี่ มเด็จพระเทพฯ ทรงอุปถัมภ์ปมู่ ำ ที่ส�ำคัญแผ่นดินอำศัยก็แผ่นดินของท่ำน ถ้ำเรำศึกษำ ประวัตศิ ำสตร์มำก็จะเห็นว่ำทีร่ ม่ เย็นเป็นสุขอย่ำงทุกวัน นีก้ เ็ พรำะพระมหำกษัตริย์ ก็ทำ� ให้เรำเกิดควำมส�ำนึกใน 184

พระมหำกรุณำธิคณ ุ เป็นล้นพ้น เรำจึงต้องหำวิธใี ดทีพ ่ อ จะตอบแทนท่ำนได้ แต่ว่ำพ้นจำกวิชำดนตรีแล้วเรำก็ ไม่มอี ะไรทีจ่ ะตอบแทนได้ จึงค้นคว้ำเพลงทีเ่ รำพอจะท�ำ ถวำยท่ำนได้ แต่งเพลงเพื่อเป็นกำรเฉลิมพระเกียรติ ท่ำน” นอกจากความกตัญญูตอ่ สถาบันพระมหากษัตริยแ์ ล้ว ปู่เป็นผู้ที่มีความส�านึกในบุญคุณต่อองค์กรที่ท่านได้เคย อาศัย หรือได้เคยท�างานร่วมกันอยู่ ซึ่งมีที่เห็นได้ชัดเจนอยู่ สามองค์กรที่ปู่ได้กระท�าให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ ได้แก่ 1) ที่ บ้านพาทยโกศล 2) วงพาทยรัตน์ และ 3) วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในส่วนของบ้านพาทยโกศลนั้น เป็น สถานทีท่ มี่ คี วามส�าคัญต่อชีวติ ของท่านอย่างมาก เป็นสถาน ที่ที่ให้ความรู้ทางดนตรีไทยแก่ท่าน จนท�าให้ท่านประสบ ความส�าเร็จอย่างในทุกวันนี้ ซึ่งท่านก็ไม่เคยลืมบุญคุณใน ข้อนี้ จากค�ากล่าวของนายสุทิน ผิวนวลหงษ์ “คุณครูชวน ไปงำนไหว้ครูทบี่ ำ้ นพำทยโกศล วัดกัลยำฯ คุณครูเป็นผู้ ประกอบพิธีไหว้ครูให้ที่นี่ทุกปีไม่เคยรับสิ่งตอบแทนมำ เลย เพรำะคุณครูรู้ดีว่ำ เมื่อสมัยเด็กๆ สมัยหนุ่มๆ เคย ไปเล่ำเรียนที่นั่น เด็กรุ่นใหม่ที่เชิญคุณครูไปท�ำพิธีก็ พยำยำมที่จะมอบสิ่งตอบแทนให้ แต่ผมกล้ำยืนยันเลย ว่ำ แม้กระทัง่ ชิน้ เดียว คุณครูสง่ กลับคืนไปหมด ส่งกลับ คืนให้กบั ผูน้ นั้ นัน่ แหละ คุณครูบอกได้มำทีบ่ ำ้ นนี้ ณ เวลำ นีก้ ด็ ใี จแล้ว และก็ดใี จยิง่ ขึน้ ทีท่ กุ ๆ คนเรียกคุณครูให้ไป ท�ำประโยชน์ให้กบั บ้ำน ซึ่งคล้ำยๆ กับเป็นบ้ำนเกิดของ ท่ำน ผมกล้ำยืนยันเลย หลำยปีที่ไปด้วยกัน ขนำดเดิน มำจะขึ้นรถก็มีคนเอำซองมำให้ครู ขอร้องให้รับ แต่ครู ไม่รับเด็ดขำด” ในส่วนของวงพาทยรัตน์ เดิมคือวงดนตรีไทยบ้านใหม่ หางกระเบน เสมือนเป็นสถานทีท่ เี่ ป็นจุดเริม่ ต้นในการเรียน ดนตรีไทยของครูส�าราญ เกิดผล ด้วยความที่ท่านได้รบั การ อุปถัมภ์ส่งเสริมจากอาของท่าน ท่านก็ส�านึกในบุญคุณข้อ นี้ และในต่อมาภายหลังก็ได้พัฒนาสร้างชื่อเสียงให้แก่วงปี่ พาทย์บา้ นใหม่จนในปัจจุบนั เป็นทีร่ จู้ กั ในนาม วงพาทยรัตน์ ซึ่งเป็นชื่อที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ทรงพระราชทานให้ ในปี พ.ศ. 2543 ปูไ่ ด้เริม่ ไปสอนทีว่ ทิ ยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล จนกระทั่งท่านเสียชีวิต ซึ่งรวมระยะ เวลาได้ถึง 17 ปี ซึ่งปู่ได้กล่าวไว้ว่า “เป็นเรื่องส�ำคัญเหลือ เกิน กำรรักชือ่ เสียงของสถำบันทีเ่ รำท�ำงำน ต้องกำรให้ นักเรียนนักศึกษำนั้นมีควำมรู้เท่ำที่ปู่จะให้ได้ เพรำะว่ำ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


เรำเป็นห่วงสถำบัน นักศึกษำทีส่ ำ� เร็จจำกสถำบันควรจะ มีควำมรู้ที่ดี ไม่ใช่ได้แต่ประกำศนียบัตรเฉยๆ อย่ำงลูก ศิษย์ปเู่ กือบทุกคนจบไปก็ไปเป็นครูอำจำรย์เกือบทัง้ นัน้ มันเป็นจิตส�ำนึกของเรำ ถือว่ำเค้ำจ้ำงงำนเรำ คือเรำ ต้องกำรให้นักศึกษำได้รับควำมรู้อย่ำงจริงจัง และได้ ตอบแทนมหำวิทยำลัยมหิดลที่ได้ให้เกียรติเรำไปสอน ต้องกำรให้มีผลงำนออกไปให้มันดี ให้สมกับที่เค้ำให้ เกียรติเรำ ก็มีสถำบันอื่นเชิญปู่ไปสอนแบบประจ�ำ ปู่ก็ ไม่ได้ไปนะคือเรำก็ไม่อยำกเป็น ข้ำสองเจ้ำ บ่ำวสองนำย โบรำณเขำพูดอย่ำงนั้น ไปสอนที่ไหนก็สอนที่นั่น” จาก ค�ากล่าวของปู่ท�าให้ข้าพเจ้าเห็นได้ถึงความรัก และความ จริงใจที่ท่านมีให้แก่มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งท่านก็ตั้งใจที่จะ ตอบแทนด้วยการพยายามที่จะให้ความรู้แก่นักศึกษาอย่าง เต็มความสามารถ ทั้งที่ปู่อายุมากแล้วแต่ก็ยังเสียสละเวลา ในการเดินทางจากอยุธยามาสอนถึงนครปฐมทุกอาทิตย์ เมือ่ สอนทีไ่ หนแล้วก็ตงั้ ใจท�าประโยชน์ให้แก่สถาบันนัน้ อย่าง เต็มที่ และมั่นคงหนักแน่นต่อจุดยืนของตนเอง

สร้ำงเมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์

ปัจจุบันหน้าที่หลักของปู่คือ ครูดนตรีไทย ซึ่งปู่ได้ กล่าวถึงหน้าที่ของครูไว้ว่า “กำรเป็นครู หน้ำที่ของครูคือ กำรถ่ำยทอดควำมรู้ โดยจะต้องพิจำรณำว่ำเด็กคนนีเ้ รำ ควรจะสอนเขำยังไง ควรจะให้อะไร เพื่อให้เขำได้รับ ควำมรู้ที่จริงจัง ให้เขำได้รับควำมรู้ที่เขำจะสำมำรถน�ำ ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อไป” ซึ่งปู่ก็ได้กล่าวต่อไปอีกว่า “กำรรักษำจริยธรรม คุณธรรม เป็นธรรมประจ�ำจิตใจ ของเรำทีเ่ รำจะต้องรักษำยึดมัน่ ในควำมเป็นครู ในควำม เป็นผูใ้ ห้ ครูบำอำจำรย์ทกุ คนต้องมีกำรยึดมัน่ ในวิชำชีพ ของตัว ในจริยธรรมและศีลธรรมของตัวเองที่จะสอน ลูกศิษย์ ถ้ำเรำไม่มีศีลธรรม ไม่มีจริยธรรมประจ�ำตัว ครูบำอำจำรย์ มันก็ใช้ไม่ได้ ต้องมีสัจจะ มีควำมจริงใจ กับลูกศิษย์ และสอนให้เป็นไปตำมกฎเกณฑ์ทเี่ รำตัง้ ใจ” การเรียนการสอนดนตรีไทยของปูน่ นั้ ปูจ่ ะท�าทุกอย่าง

ให้ถูกต้องตามแบบโบราณเสมอ ไม่ว่าจะเป็นการต่อเพลง หน้าพาทย์ การต่อเพลงโหมโรงเช้า โหมโรงเย็น โหมโรงกลาง วัน หรือแม้กระทั่งการต่อเพลงเดี่ยวต่างๆ ปู่จะให้ศิษย์ทุก คนท�าให้ถูกต้องตามประเพณี ในการเรียนทักษะกับปู่นั้น ท่านจะเป็นคนทีม่ คี วามเอาใจใส่และค่อนข้างมีความละเอียด ในการสอนเป็นอย่างมาก กล่าวคือถ้าผูเ้ รียนไม่เข้าใจตรงจุด ไหนปู่จะตีแยกมือให้ดูอย่างช้าๆ ชัดเจน จนกว่าผู้เรียนจะ สามารถจดจ�าและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ท่านจะไม่ปล่อย ผ่านไปแม้ในรายละเอียดยิบย่อย ปู่บอกอยู่เสมอว่าให้ตีให้ ถูกต้อง ตีชา้ ๆ ก่อน เมือ่ มีความแม่นย�าคล่องแล้ว ความเร็ว ความไหวจะมาเอง ซึ่งการบรรเลงดนตรีของนักดนตรีไทย ในทุกวันนี้ ในความเห็นของครูส�าราญ เกิดผล เห็นว่านัก ดนตรีส่วนใหญ่ยังจัดว่าเรียนไม่ถึง ระนาดไม่มีบทกลอน เดี่ยวไม่ถึงจุด ตีกลอน ตีเสียงไม่สะอาด เมื่อตีเป็นวงก็ตี รวดเร็วจนมากเกินไป การตีเพลงเร็วเปรียบเสมือนคนพูด เร็วทีพ่ ดู แล้วฟังไม่รเู้ รือ่ ง อย่างไรก็ตามในแนวคิดเช่นนี้ ท่าน ได้ให้ความเห็นว่า “เขำก็หมุนไปตำมยุคสมัย ไม่ไปต�ำหนิ อะไรหรอก มันตีกันเร็วจนหูเรำฟังไม่ทัน” สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ กับวงการดนตรีไทยเช่นนี้ แม้แต่สมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยังทรงตรัสให้คณ ุ ครู ส�าราญ เกิดผลฟังว่า “ระนำดเดี๋ยวนี้ฉันฟังไม่ทันเลย” ด้วยเหตุนี้ ในการเรียนการสอนของครูสา� ราญ เกิดผล ท่าน จึงเน้นการสอนให้ศิษย์นั้นมีความเป็นดนตรี ควบคู่ไปกับ การเล่นดนตรีให้เก่ง ปู่มักจะกล่าวกับบรรดาศิษย์อยู่บ่อยๆ ว่า “กำรสอนดนตรีให้ศิษย์นั้นไม่ยำก แต่หำกต้องสอน ให้เป็นดนตรีนนั้ ยำก” ปูไ่ ด้เล่าถึงรับสัง่ ของสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทที่ รงมีพระราชประสงค์ ให้ครูด�าเนินการฝึกหัดนักเรียนตามโครงการส่งเสริมดนตรี ไทยในพระอุปถัมภ์ฯ ของพระองค์ท่าน เพื่อน�าเด็กๆ ที่อยู่ ในการดูแลของกรมประชาสงเคราะห์มาฝึกหัดดนตรีไทย ตามแบบแผนอย่างส�านักดนตรีในอดีต ทรงรับสัง่ ว่า “ครูไม่ ต้องสอนให้มันเก่งนะ สอนให้มันเป็นดนตรี คนเก่งมัน เยอะ แต่ไม่เป็น” นอกจากนีย้ งั รับสัง่ ต่ออีกว่า “ไอ้เป็นกับ เก่งนี่ไม่ค่อยมำพร้อมกัน” ส�าหรับโครงการนี้คือ ศูนย์ส่ง เสริมและเผยแพร่ดนตรีไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชานุเคราะห์ ให้สร้างเรือนหลังกลางส�าหรับใช้เป็นที่ฝึกเรียนดนตรีของ เด็กๆ นอกจากนี้ยังพระราชทานเครื่องดนตรีไทยให้ 1 วง ด้วย การสอนดนตรีไทยของปู่ ท่านจะดูเด็กแต่ละคนว่า สามารถรับได้แค่ไหน มือสามารถปฏิบัติได้เท่าใด ท่านก็จะ

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

185


ต่อเท่าที่เด็กสามารถท�าได้เท่านั้น ดังนั้นการสอนของปู่จึง เป็นการสอนแบบให้ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง โดยปูเ่ ป็นผูพ้ จิ ารณา แล้วสอนตามความสามารถของเด็กแต่ละคน และคอยแก้ไข จุดทีเ่ ด็กยังบกพร่องควบคูก่ นั ไป หากจุดไหนทีเ่ ด็กท�าได้แล้ว ก็อาจจะแก้บางลูกให้ยากขึน้ ไปทีละนิด ท�าให้เด็กได้ฝกึ จาก ง่ายไปหายาก นอกจากสอนเรื่องของดนตรีแล้วปู่ยังสอนเรื่องการ ปฏิบัติตัว สอนเรื่องมารยาทแก่ศิษย์ไปด้วย ปู่เคยพูดไว้ว่า “กำรเรียนดนตรีตอ้ งมีมำรยำทเสมอ ไม่อวดทะนงตัวว่ำ ตัวเองเก่ง เพรำะจะท�ำให้ผู้อื่นหมั่นไส้ได้ ต่อให้เก่งแค่ ไหน แต่ถ้ำไม่มีมำรยำท ไม่รู้กำลเทศะก็แย่เหมือนกัน” ซึง่ เป็นสิง่ ทีป่ จู่ ะคอยสอนลูกศิษย์อยูเ่ สมอ ในเรือ่ งของมารยาท การบรรเลงดนตรีปู่ก็ได้สอนไว้อีกว่า “กำรที่จะไปบรรเลง โชว์ฝีมือเรำต้องดูควำมเหมำะสมของกำลเวลำ ต้องดู หลำยๆ อย่ำง เช่น วงทีเ่ รำน�ำไปบรรเลงเป็นวงอะไร เรำ ก็สมควรที่จะบรรเลงเพลงให้มันถูกต้องกับวงที่น�ำไป บรรเลง ควรที่จะท�ำอะไรให้มันอยู่บนควำมถูกต้องของ ขนบประเพณี ไม่ใช่ท�ำอะไรบนควำมถูกใจ พอใจของ เรำ ถ้ำบริบทต่ำงๆ มันไม่เหมำะสม กำรทีเ่ รำจะไปตีโชว์ ฝีมอื มันก็ไม่คอ่ ยเหมำะสมนัก กำรทีจ่ ะบรรเลงแต่ละครัง้ ก็ต้องดูผู้ฟัง ว่ำเขำพร้อมที่จะฟังมั้ย ถ้ำผู้ฟังก็พร้อม ผู้บรรเลงก็พร้อม ก็เหมำะสมที่จะท�ำกำรบรรเลง”

รำกและล�ำต้นที่มั่นคง

ในบทบาทหน้าที่การเป็นผู้น�าของปู่นั้น ท่านมีชีวิตที่ ต้องเป็นผู้น�าคนมาโดยตลอด แม้แต่กระทั่งการเล่นดนตรี ไทย เครื่องมือเอกของปู่ยังเป็นระนาดเอก ซึ่งถือว่าเป็น เครือ่ งดนตรีทเี่ ป็นผูน้ า� หลักของวงดนตรีไทย มีเหตุการณ์อยู่ 186

ครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2484 ปู่อายุได้ 17 ปี ครูอาจ สุนทร น�า วงปีพ่ าทย์บา้ นใหม่หางกระเบนไปบรรเลงในงานไหว้ครูของ บ้านพาทยโกศล ในงานนี้ปู่เป็นเด็กที่บรรเลงระนาดเอกได้ ดีมาก จนกระทั่งนักบรรเลงระนาดคนอื่นๆ รุ่นเดียวกันไม่ กล้าทีจ่ ะบรรเลงต่อจากท่าน ซึง่ ในงานนีป้ กู่ ไ็ ด้มโี อกาสเดีย่ ว ระนาดเอกเพลงกราวใน สามชั้น ถวายสมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ [เจริญ] วัดเทพศิรนิ ทราวาส จนสมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์พอพระทัยมาก จึงใช้ให้เด็กวัดน�าไฟฉายไปมอบ ให้แก่ครูส�าราญ โดยผ่านท่านครูเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล ซึ่งที่จริงแล้วด้วยความที่ยังเด็กปู่ต้องการได้รางวัลเป็นเงิน มากกว่าไฟฉาย เนื่องจากฐานะทางบ้านไม่ค่อยดี แต่จ�าใจ ต้องรับไฟฉายนั้น ครูเทวาประสิทธิ์รู้ถึงปริศนาธรรมในครั้ง นี้ ท่านจึงได้กล่าวกับครูส�าราญว่า “ส�ำรำญ อย่ำคิดว่ำ ไฟฉำยนี้เป็นของต�่ำนะ ไฟฉำยใช้ส�ำหรับส่องน�ำทำง ฉะนั้นสมเด็จพระพุทธโฆษำจำรย์ ท่ำนหมำยถึงต่อไป ในภำยหน้ำส�ำรำญจะต้องได้เป็นผู้น�ำในทำงดนตรีไทย ต่อไป” ซึ่งก็เป็นดั่งค�าท�านาย ภาระความเป็นผู้น�าของครู ส�าราญ เกิดผล เริม่ ต้นตัง้ แต่การทีป่ เู่ ปรียบเสมือนเป็นความ คาดหวังของตระกูลที่จะต้องเป็นผู้น�าวงดนตรีไทยบ้านใหม่ หางกระเบนสืบต่อจากอาของท่าน ซึ่งปู่ก็รู้ตัวรู้หน้าที่ของ ตนและมีความมานะอดทนในการพยายามศึกษาหาความรู้ ทางดนตรีไทยเพือ่ ทีจ่ ะกลับมาเป็นเสาหลักให้แก่วงบ้านใหม่ อย่างเต็มที่ ต่อมาใน พ.ศ. 2493 ปู่ได้รับมอบให้เป็นผู้ ประกอบพิธไี หว้ครูดนตรีไทยจากครูอาจ สุนทร ซึง่ การทีจ่ ะ ได้รับมอบเป็นผู้ประกอบพิธีน้ัน บุคคลผู้นั้นจะต้องได้ผ่าน การบวชเรียนแล้ว และมีคณ ุ สมบัตทิ เี่ พียบพร้อมทัง้ ด้านฝีมอื ความรอบรูท้ างดนตรีไทย และสิง่ ทีข่ าดไม่ได้คอื ความประพฤติ การปฏิบัติตัวให้อยู่ในครรลองคลองธรรมของบุคคลผู้นั้น เนื่องจากการที่ได้เป็นผู้ประกอบพิธีไหว้ครูดนตรีไทยนั้น ถือว่าเป็นเกียรติอันสูงสุดของผู้ที่ได้เรียน ได้ศึกษาทางด้าน ดนตรีไทย ซึ่งจะต้องรับบทบาทภาระหน้าที่ในการทีจ่ ะต้อง เป็นผู้น�าต่อสังคมคนดนตรีไทย เพื่อน�าพาวงการดนตรีไทย ให้เดินไปในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม จึงท�าให้ครูโบราณ นั้นกว่าที่จะมอบภาระหน้าที่ในความเป็นผู้น�านี้ให้ใครนั้น ท่านจะต้องพิจารณามาเป็นอย่างดีแล้ว ซึง่ ท่านครูอาจ สุนทร ก็ได้พิจารณาแล้วว่า ครูส�าราญ เกิดผล มีคุณสมบัติครบใน ทุกข้อ และได้มอบให้ท่านเป็นผู้ประกอบพิธีไหว้ครูดนตรี ไทย และในปี พ.ศ. 2500 ปู่ก็ได้รับมอบให้เป็นผู้ประกอบ พิธไี หว้ครูอกี ครัง้ ซึง่ ในครัง้ นีผ้ ทู้ มี่ อบให้ คือ ท่านครูชอ่ สุนทร

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


วาทิน ก่อนที่ท่านจะเสียชีวิต นอกจากปู่จะเป็นผู้น�าในด้านดนตรีไทยแล้ว ปู่ยังมี บทบาทในการเป็นผู้น�าชุมชน โดยเริ่มจากการเป็นแพทย์ ประจ�าต�าบล ด้วยการปฏิบตั ติ วั อยูใ่ นกรอบจรรยาบรรณของ ความเป็นแพทย์ ก็เป็นการสะสมบารมีมาเรือ่ ยๆ จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. 2516 ปูก่ ไ็ ด้รบั เลือกจากคนในชุมชนให้เป็นผูใ้ หญ่ บ้าน ต่อมาในปี พ.ศ. 2518 ปู่ก็ได้รับเลือกให้เป็นก�านัน ติดต่อกันถึง 13 ปี จนเกษียณอายุราชการ ในปี พ.ศ. 2530 หลังจากเกษียณอายุ ปู่ก็ได้รับเลือกให้เป็นเทศมนตรีต่ออีก 3 ปี จนถึง พ.ศ. 2533 ซึง่ ปูไ่ ด้เล่าถึงประสบการณ์ทา� งานใน ช่วงทีเ่ ป็นก�านันไว้วา่ “ตอนเป็นก�ำนันก็ดวู ำ่ ชุมชนขำดใน เรือ่ งใด อะไรทีจ่ ะเป็นประโยชน์ เช่น ขุดลอกคูคลอง เอำ น�้ำเข้ำไปท�ำนำ สืบเนื่องจำกแม่น�้ำเจ้ำพระยำ ขอไฟฟ้ำ เข้ำไปในหมู่บ้ำน ทั้งไฟทำง ไฟอะไร เป็นต�ำบลแรกเลย ที่มีไฟฟ้ำ ขอทำงเดินจำกวัดโคกไปวัดถนน อย่ำงน้อยก็ 2 กิโล หนทำงเดินแคบไปก็ขอไปได้สัก 6 ศอกเพื่อคน จะเดินได้ ท�ำเป็นถนนปูน วัวควำยเดินได้สบำย ไม่ใช่ น้อยๆ ท�ำงำนประเภทแบบนี้เพื่อส่วนรวม เขำก็เห็น ควำมดีเรำ แล้วก็ขยับจำกควำมดีจนมีคนเชื่อถือ จะท�ำ อะไรก็สำ� เร็จแล้ว เพรำะคนก็เชือ่ มือเรำแล้ว เมือ่ ก่อนยัง ล�ำบำกเพรำะเขำไม่คอ่ ยเชือ่ เรำไม่ใช่คนเกิดทีน่ ี่ เรำเป็น คนจำกที่อื่นมำ จะมำเป็นก�ำนันมำปกครองคนต�ำบลนี้ ก็ต้องค่อยๆ สร้ำงบำรมี ในตอนเป็นก�ำนันเขำก็มีเงิน เดือนให้ เงินเดือนสมัยนั้นถูก ก็ขำดทุนแทบทุกเดือน ไม่ใช่อย่ำงเดี๋ยวนี้” ครูส�าราญ เกิดผล เปรียบเสมือนต้นไม้ใหญ่ที่มีราก และล�าต้นทีม่ นั่ คง ความเป็นผูน้ า� ของปูเ่ ป็นดัง่ รากฐานความ มัน่ คง เป็นเสาหลักให้แก่บคุ คลรอบข้างได้พกั พิง อีกทัง้ ต้นไม้ ใหญ่นี้ยังปกคลุมไปด้วยใบไม้เขียวชอุ่ม ที่สามารถป้องกัน แสงอาทิตย์ มิให้สาดส่องมาจนเกิดความร้อนที่มากเกินไป เป็นต้นไม้ทใี่ ห้ความร่มเย็นแก่ผทู้ อี่ ยูใ่ นบริเวณรอบข้าง ขณะ เดียวกันร่มเงาจากต้นไม้ใหญ่นี้ ได้สร้างความสุขให้แก่ทกุ คน ที่เข้ามาพักพิงอาศัย ด้วยกิ่งก้านสาขาที่กว้างใหญ่ไพศาลที่ คอยเป็นร่มเงาปกคลุม และแผ่ขยายไปเป็นบริเวณกว้าง ฉันใด อันคุณงามความดีของปูท่ สี่ งั่ สมมาก็เปรียบเสมือนร่ม เงาของต้นไม้ใหญ่ทแี่ ผ่กระจายไปยังผูอ้ นื่ ได้ฉนั นัน้ และเมือ่ ต้นไม้ใหญ่นี้เติบโตออกดอกออกผลจนเกิดเป็นเมล็ดพันธุ์ ต้นไม้ใหญ่นไี้ ด้สร้างเมล็ดพันธุท์ สี่ มบูรณ์ ไม่วา่ จะหว่านไปที่ ใด ถึงแม้พนื้ ดินจะแห้งแล้งเพียงใด แต่เมล็ดพันธุเ์ หล่านีย้ อ่ ม

เติบโตได้ และกลายเป็นต้นไม้ใหญ่ที่สวยงาม ให้ร่มเงาที่ พึ่งพิงแก่ผู้อื่นต่อไป เปรียบได้กับการที่ปู่ได้อบรมสั่งสอน ศิษย์ ให้มีความสมบูรณ์พร้อมทั้ง กาย วาจา ใจ เพื่อที่ศิษย์ จะได้เติบโตเป็นที่พึ่งพิง สร้างความเจริญให้แก่ สังคม และ การดนตรีไทยสืบไป

1 วันกับปู่ ในทุกๆ เช้าวันศุกร์ประมาณเก้าโมงเช้า ภาพแรกเมื่อ เดินเข้าไปในบ้านปูก่ ม็ กั จะเห็นปูจ่ ะใส่เสือ้ คอกลม ท�ามาจาก ผ้าป่านสีขาวบางๆ กับกางเกงผ้าแพรสีแดง เตรียมตัวสอน ข้าพเจ้าทีจ่ ะมาเรียนทุกวันศุกร์ ปูจ่ ะเป็นคนทีแ่ ต่งตัวเรียบร้อย เวลาสอนทุกครั้งเพราะปู่บอกว่า “จะสอนเค้ำก็ต้องแต่ง ตัวให้เรียบร้อย ไม่เคยนุง่ ผ้ำขำวม้ำสอนใคร เพรำะถือว่ำ เรำเป็นครู กำรนุง่ ผ้ำขำวม้ำไปตีนำ่ เกลียดนะ จะสอนเขำ ก็ควรจะเรียบร้อย พร้อมทีจ่ ะเป็นผูส้ อน พร้อมทีจ่ ะเป็น ผูใ้ ห้ ถ้ำไม่ปฏิบตั ติ วั ให้พร้อม ให้เหมำะสม ก็ไม่นำ่ จะไป สอนเขำ เป็นครูก็ต้องให้เกียรติผู้เรียนด้วย” ปูจ่ ะนัง่ อยูก่ บั พืน้ ข้างๆเป็นระนาดทุม้ กับโต๊ะตัวเล็กๆ ทีบ่ นโต๊ะเต็มไปด้วยกระดาษโน้ต ก�าลังเขียนเพลงตรวจเพลง อยู่ ปูจ่ ะจดเพลงแทบทุกเพลงด้วยลายมือของท่านเป็นโน้ต สากล เนือ่ งจากปูบ่ อกว่า “ตัวโน้ตเพลงนัน้ มีคำ่ มำกเหลือ เกิน ถ้ำไม่ได้รบั โน้ตเพลงจำกท่ำนครูอำจไว้กค็ งสอนใคร ไม่ได้ เพลงที่ถูกบันทึกไว้ก็ถือว่ำเป็นมรดกของแผ่นดิน ต่อไป อย่ำงเช่นเพลงของครูทองดีอำยุประมำณ 200 ปี ก็ยงั อยูไ่ ด้เพรำะโน้ตเพลง ถ้ำไม่มโี น้ตก็คงสอนได้แต่ของ ง่ำยๆ ส่วนของลึกลับซับซ้อนก็คงลืมไปหมด” ซึ่งก็มี โอกาสได้ฟงั เรือ่ งความฝันของปูเ่ กีย่ วกับโน้ตเพลงนี้ ปูไ่ ด้เล่า ว่า “ช่วงนัน้ ปูเ่ กือบจะเปลีย่ นอำชีพไปแล้ว คือแทบไม่ได้ จับดนตรีเลย ก็มอี ยูค่ นื ก็ฝนั ว่ำปลวกกินหน้ำปูพ ่ รุนหมด เรำก็สงสัย ไม่เคยฝันแบบนี้ ก็คิดขึ้นมำเลยว่ำปลวกมัน กิน มันไม่ควรเป็นหน้ำคน ควรจะเป็นกระดำษ ก็เป็น ห่วงโน้ตขึ้นมำทันที ก็ไปค้นเจอปลวกกินโน้ตเพลงอยู่ จริงๆ พังไปเยอะ กระดำษป่นหมดอ่ะนะ บำงส่วนก็ไม่ สำมำรถกู้คืนได้ ท�ำให้มีควำมรู้สึกว่ำเรำก็ได้เรียนวิชำ ดนตรีมำมำก แต่เรำคลำยควำมสนใจออกไป ก็ดว้ ยควำม ทีป่ มู่ ลี กู หลำยคน ควำมไม่พอกินมันเข้ำมำอยู่ มันก็ตอ้ ง เปลี่ยนอำชีพเอำตัวรอดมำก่อน ก็ไม่ทันได้คิดว่ำปลวก มันจะมำยุง่ กับโน้ตได้ดว้ ย ควำมส�ำนึกได้ตอนนัน้ มีควำม

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

187


รูส้ กึ เสียใจนะ กำรทีค่ รูบำอำจำรย์ทำ่ นมอบควำมไว้วำงใจ ให้กับเรำ คือเรำท�ำตัวไม่ดี ไม่สำมำรถจะเก็บเพลงของ ท่ำนไว้ได้หมด หลังจำกนัน้ ปูก่ เ็ ก็บรือ้ ฟืน้ ใหม่ อะไรทีเ่ สีย หำยแล้วเรำพอจะเพิม่ เติมได้ก็เพิม่ เติม อันไหนที่พอจะ แก้ไขได้เรำก็แก้ไข ก็เป็นจุดที่ท�ำให้ค่อยๆ หวนกลับมำ ทำงดนตรีมำกขึ้น” เมื่อเดินเข้าไปในบ้านปู่แล้วสิ่งแรกที่ข้าพเจ้าจะท�า ทุกๆ ครั้งที่มาเรียน คือ นั่งลงให้เรียบร้อยแล้วกราบปู่ก่อน จากนั้นข้าพเจ้าก็จะเดินเข้าไปที่ระนาดเอกแล้วตีเพลงที่ อาทิตย์ทแี่ ล้วปูต่ อ่ ไว้ให้ปฟู่ งั เมือ่ ตีจบแล้ว ปูก่ จ็ ะเริม่ ต่อเพลง ใหม่ หรือเพลงเดิมทีต่ อ่ ค้างไว้ตอ่ ไป ปูเ่ ป็นคนทีล่ ะเอียดมาก ทุกครัง้ ทีต่ อ่ เพลงปูจ่ ะต้องตรวจเพลงทีต่ อ่ ให้กบั โน้ตของท่าน ตลอด ตรวจแล้วตรวจอีกจนแน่ใจว่าไม่ขาดตกบกพร่อง จึง จะหยุด แล้วก็จะเดินกลับไปนั่งกินน�้าชา นั่งฟังศิษย์ซ้อม เพลงให้แม่นก่อนแล้วจึงจะต่อของใหม่เพิ่มเติม เมื่อตีผิด พลาดปู่จะบอกทันที ไม่เคยปล่อยในสิ่งที่ผิดไม่ถูกต้องให้ ผ่านไป การเรียนดนตรีกับปู่นั้น เราจะไม่ค่อยได้ยินค�าชม จากปากท่านสักเท่าไหร่ เนื่องจากปู่ได้เล่าว่า “ปู่เรียนกับ ครูมำสำมสิบสี่สิบปี จนครูเสียแล้วก็ยังไม่เคยได้ยินค�ำ ชมจำกครูเลย มีแต่บอกว่ำเมื่อไหร่แกจะดีสักทีวะ สอน ใครก็ไม่โง่เหมือนแก เพรำะครูต้องกำรไม่ให้เรำเหลิง ต้องกำรให้เรำยอมรับควำมจริงนะว่ำเรำยังไม่ดี ครูยัง บ่นยังว่ำอยู่เรื่อย ถ้ำเหลิงเรำก็จะได้แค่นั้นแหละ มันจะ ไม่ดีขึ้นไปอีก ท่ำนสอนให้เรำมีมำนะ มีควำมขยันหมั่น เพียรอยูเ่ รือ่ ย ต้องกำรให้เรำเรียนอยูเ่ รือ่ ย มันจะได้ดขี นึ้ ไป ปูม่ วี นั นีไ้ ด้กเ็ พรำะครู เพรำะค�ำว่ำค�ำเตือนสติของครู ดังนั้นกำรรับควำมจริงจึงเป็นเรื่องส�ำคัญมำกของนัก ดนตรี” ข้าพเจ้าก็จะนัง่ ซ้อมอย่างนัน้ เรือ่ ยๆ จนกระทัง่ เวลา ใกล้ๆ เที่ยง บางครั้งปู่ก็จะเป็นคนลงมือเตรียมอาหารเอง หากวันไหนลูกของท่านอยู่ หรือ ย่าอยู่ก็จะเป็นผู้เตรียม อาหารให้ข้าพเจ้าทาน ซึ่งจะจัดเตรียมอาหารกลางวันไว้ที่ โต๊ะนอกบ้าน ความละเอียดของปู่ไม่ใช่แค่กับเรื่องการต่อ เพลงเท่านั้น แม้แต่เรื่องอาหารการกิน เวลาไปบ้านท่าน ท่านจะสังเกตศิษย์วา่ คนไหนชอบทานอะไรไม่ชอบทานอะไร แล้วปู่ก็จะเตรียมของที่ศิษย์ชอบทานให้ไว้อยู่เสมอ ในช่วงพักทานอาหารข้าพเจ้าก็ได้ไปนั่งคุยกับย่า ย่า เล่าว่า “เมื่อวานมีเด็กเอาปลามาขาย 2 ตัว เด็กเอามา ให้ พอปูเ่ ปิดถุงดูเห็นมันเป็นๆ อยู่ ปูก่ เ็ อาไปปล่อยหน้า บ้านเลย” หลังจากทานอาหารกลางวันเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้า 188

ก็มักจะไปนั่งคุยกับปู่ จึงได้ถามปู่ถึงเรื่องนี้แล้วปู่ตอบกลับ มาว่า “ปู่สมาทานสิกขาบทศีล 5 ตลอดชีวิต เราก็ต้อง ปฏิบัติตัวให้เป็นไปตามสัจจะ ไม่ทานของเป็นๆ นะ เพราะมันก็ไปผิดศีลฆ่าสัตว์ ปูก่ ต็ อ้ งยึดมัน่ ในสัจจะวาจา เพราะถ้าปู่ไม่ยึดมั่นในสัจจะใครเขาจะเคารพนับถือเรา ใครจะเชื่อถือในตัวปู่” ปูม่ กั จะเล่าเรือ่ งราวเกีย่ วกับตัวท่านในสมัยก่อนให้ฟงั อยูบ่ อ่ ยๆ ก็มอี ยูเ่ รือ่ งหนึง่ ปูเ่ ล่าถึงอุปสรรคความยากล�าบาก ทีต่ อ้ งจากบ้านไปเรียนดนตรีทกี่ รุงเทพฯ ท่านเล่าว่า “อุปสรรค ที่ผ่ำนมำนี่มำกเหลือเกิน ควำมจนนี่เป็นอุปสรรคอย่ำง แรง คือจะไปเรียนจำกบ้ำนใหม่ไปกรุงเทพฯ ที อำให้ไป 20 บำท เรำจะเหลืออะไรเดือนนี้ ปู่ต้องไปตีระฆังวัด กัลยำ พอเค้ำทิง้ กระจำด ก็จะได้ 3 สตำงค์บำ้ ง 5 สตำงค์ บ้ำง เวลำไม่มสี ตำงค์กเ็ ดินน�ำ้ ตำไหล หิว อุปสรรค เรือ่ ง ควำมจนเป็นอุปสรรคอย่ำงแรงกับเรำ แต่เรำก็ผ่ำนมำ ได้ดว้ ยควำมมำนะอดทน ทัง้ อดทน ทัง้ เข้มแข็ง ไม่งนั้ เรำ ก็ไม่ได้เรียน หิวก็หิว แต่ก็ต้องอดทน อีกประกำรเพรำะ ว่ำสงครำม ในช่วงสงครำมอินโดจีน ปูก่ ข็ นึ้ ไปอยูก่ บั ท่ำน ครูเทียบ ข้ำวแพงมำก 50 บำท ในสมัยนัน้ แพงเหลือเกิน ก็ต้องซื้อขนมปังมำกินแทนพอให้อยู่ท้อง อุปสรรค มำกมำยเหลือเกินกว่ำจะถึงวันนี้ ถ้ำเรำไม่มำนะอดทน ก็คงไม่มีวันนี้” ค�าว่า มานะอดทน เป็นค�าที่ปู่จะพูดให้ฟังอยู่เสมอ โดยท่านได้เล่าถึงประสบการณ์ในช่วงการเรียนดนตรีไทยที่ ผ่านมาของท่านโดยมีเนื้อความดังนี้ “พ่อของปู่เสียตั้งแต่ ปู่อำยุ 6 ขวบ แม่ก็ไม่ค่อยมีปัญญำส่งเสริม อำสังเวียน จึงเป็นคนที่ส่งเสริมให้มำเรียน สนับสนุนให้เรียนทำง ด้ำนดนตรีไทย เริม่ แรกเดิมทีได้เรียนดนตรีไทยกับอำจ�ำรัส เกิดผล เป็นน้องของพ่อ เป็นคนระนำด เป็นลูกศิษย์ทำ่ น ครูเพ็ชร จรรย์นำฏย์ วังบูรพำ หลังจำกอำจ�ำรัสเสีย อำ สังเวียนก็เป็นผู้อุปถัมภ์ ก็ส่งไปเรียนกับครูเพ็ชร จรรย์ นำฏย์ วัดสำมวิหำร ระยะนั้นก็เรียนไปประมำณเกือบ 2 เดือน ครูท่ำนมีภำระมำก ท่ำนก็ไม่ค่อยได้ต่อเรำ อำก็ เลยน�ำไปฝำกท่ำนครูเทียบ คงลำยทอง อำกับท่ำนครู เทียบ เป็นผู้รักใคร่นับถือกันมำก เพรำะเดิมทีก่อนที่อำ จะพำไปฝำกเรียน อำไปฟังปีพ่ ำทย์ประชันทีว่ งั บำงขุนพรหม ปี 2466 ซึ่งเขำประชันกัน 3 วง อำก็ไปพอใจทำงเพลง ของบ้ำนครูจำงวำงทัว่ ก็คดิ ว่ำจะท�ำอย่ำงไรจึงจะได้ทำง เพลงบ้ำนนี้ ซึ่งมีควำมแน่นหนำมั่นคง พอดีตอนนั้นก็

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


ออกจำกโรงเรียนแล้ว อำยุ 11 ขวบ อำก็เลยน�ำไปฝำก ท่ำนครูเทียบ แต่กย็ งั ไม่ได้เจำะจงว่ำจะต้องให้เรียนบ้ำน ครูจำงวำงทัว่ สุดแล้วแต่ทำ่ นครูเทียบจะไปฝำกใคร ท่ำน ครูเทียบก็บอกว่ำ แกไม่ต้องไปเรียนที่ไหนหรอก เรียน ที่บ้ำนท่ำนครูจำงวำงทั่วนี่แหละ ทำงเพลงเขำแน่นหนำ เข้มงวด มั่นคงในกำรศึกษำเล่ำเรียน ไม่ต้องไปเรียนที่ อืน่ หรอก ท่ำนครูเทียบจึงน�ำไปฝำกทีบ่ ำ้ นท่ำนครูจำงวำง ทั่ว ก็ไปฝำกให้เรียนกับท่ำนครูฉัตร ท่ำนครูช่อ และ อำเทวำประสิทธิ์ ซึ่งเป็นเจ้ำของบ้ำน ครูทั้งสำมท่ำนก็ รับไว้ ปู่ก็ได้เรียนอยู่ที่นั่นประมำณ 3 ปี หลังจำก 3 ปี ที่ ปู่ได้ขึ้นไปเรียนดนตรีไทยที่บ้ำนท่ำนครูจำงวำงทั่ว ต่อมำอำสังเวียนก็ได้เชิญท่ำนครูฉัตร ท่ำนครูช่อ ขึ้นมำ สอนทีบ่ ำ้ นใหม่ มำเรียนอีก 2 ปีเศษๆ แล้วเจ้ำแก้วนวรัฐก็ เรียกตัวท่ำนครูฉัตรท่ำนครูช่อกลับเชียงใหม่ ตอนนั้นก็ เลยต้องไปเรียนกับท่ำนครูอำจ สุนทร ท่ำนครูเทียบก็ เอำไปฝำกอีก ท่ำนอยูท่ วี่ ดั หญ้ำไทร จ.นนทบุรี เรียนกับ ท่ำนครูอำจนีเ่ รียนอยูน่ ำนนะ เรียนจนกระทัง่ ท่ำนครูอำจ สังขำรไม่สมประกอบท่ำนก็ไปบวช ปู่ก็เลยไปเรียนกับ ท่ำนครูพมุ่ ต่อ ท่ำนครูเทียบก็เป็นคนไปฝำก ในขณะนัน้ เรียนทั้งท่ำนครูพุ่มกับท่ำนครูเพ็ชร เดินเรียนแล้ว ไม่ได้ เรียนเป็นที่ เรียนทีบ่ ำ้ นท่ำนครูเพ็ชรบ้ำง บ้ำนท่ำนครูพมุ่ บ้ำง ต้องกำรอะไร ถ้ำที่นั่นมีก็ไปเรียนที่นั่น พอปี พ.ศ.

2497 ท่ำนครูช่อก็กลับมำจำกเชียงใหม่ ก็เรียนกับท่ำน ครูชอ่ ต่อ ตอนนีไ้ ด้เรียนเพลงหน้ำพำทย์กบั ท่ำนครูเอือ้ น กรเกษม ซึ่งเป็นลูกศิษย์ท่ำนครูช่อ ครูช่อเป็นลูกศิษย์ปู่ ทองดี ก็ได้เรียนเพลงหน้ำพำทย์จำก 2 ท่ำนนี้ จนอำยุ 24 ปี พอบวชเรียนแล้วก็ได้รับมอบให้เป็นผู้ประกอบ พิธกี ำรไหว้ครู หลังจำกนัน้ ก็ได้เริม่ เปลีย่ นบทบำทมำเป็น ผูถ้ ำ่ ยทอด แต่กย็ งั ไม่ได้หยุดทีจ่ ะพัฒนำตนเอง จนปัจจุบนั ปูก่ ย็ งั เรียนอยูเ่ ลย” ปูม่ กั จะพูดให้ฟงั อยูเ่ สมอว่า “กำรเรียน ดนตรีไทยนัน้ ไม่มวี นั จบ ถ้ำจะจบก็คอื เลิกเล่น หรือตำย เท่ำนั้น” หลังจากข้าพเจ้าได้พูดคุยกับปู่สักพัก ก็จะกลับไปนั่ง ซ้อมเพลงต่อ แล้วปู่กน็ ั่งท�าอะไรไปเรื่อยแต่ทสี่ �าคัญคืออย่า ตีผดิ เชียว ปูจ่ ะหันหน้ามาทันที เพราะไม่วา่ ปูจ่ ะท�าอะไรอยู่ แต่หูจะฟังที่เราตีอยู่ตลอด ก็จะซ้อมไปเรื่อยๆจนปู่บอกให้ พอ ก็จะมานั่งคุยกับปู่อีกสักพัก และได้ถามปู่ว่า ท�าไมปู่ถึง ต้องเรียกแทนตนเองว่าปู่ ท�าไมถึงไม่ใช้ค�าว่าอาจารย์ หรือ ครู ซึ่งปู่ได้ตอบกับข้าพเจ้าว่า “ค�ำว่ำ ปู่ เป็นค�ำที่ใช้เรียก คนในครอบครัว แสดงถึงควำมรักควำมอบอุ่น ดูแล อบรมสั่งสอน เสมือนคนในครอบครัว” ซึ่งค�าพูดทั้งหมด ทีป่ ไู่ ด้พดู มานีเ้ ป็นสิง่ ทีป่ ไู่ ด้ปฏิบตั ิ และมอบให้ขา้ พเจ้าจริงๆ ตลอดระยะเวลาที่ได้เป็นลูกศิษย์ท่านเสมอมา เมื่อถึงเวลา ประมาณบ่ายสามโมง ข้าพเจ้าก็ได้กราบลาปู่

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

189


โน้ตเพลงไทย

ผลงำนประพันธ์ 4 เพลงสุดท้ำย ของนำยส�ำรำญ เกิดผล

190

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

191


192

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

193


194

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

195


196

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

197


198

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

199


200

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

201


202

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

203


204

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

205


206

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

207


208

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

209


210

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

211


212

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

213


214

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

215


216

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

217


218

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

219


220

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

221


222

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

223


224

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

225


226

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

227


228

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

229


230

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

231


232

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

233


234

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ



ภำพงำนสวดพระอภิธรรม

งำนศพ นำยส�ำรำญ เกิดผล

ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง [ดนตรีไทย] ปี พ.ศ. 2548 ณ วัดโคกหิรัญ ต�ำบลบำงชะนี อ�ำเภอบำงบำล จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ วันที่ 3-9 ตุลำคม พ.ศ. 2560

236

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

237


เจ้ำภำพสวดพระอภิธรรมและปี่พำทย์ประโคมศพ

งำนศพ นำยส�ำรำญ เกิดผล

ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง [ดนตรีไทย] ปี พ.ศ. 2548 ณ วัดโคกหิรัญ ต�ำบลบำงชะนี อ�ำเภอบำงบำล จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ วันที่ 3-9 ตุลำคม พ.ศ. 2560

วันอังคารที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2560

- ครอบครัว ‘เกิดผล’ - ครอบครัว ‘รวีฉัตรพงศ์’

[ปี่พาทย์ประโคมศพ: วงปี่พาทย์นางหงส์ฝ่ายดนตรีไทย กรมประชาสัมพันธ์ วงปี่พาทย์ดึกด�าบรรพ์โรงเรียนสิงห์บุรี บ้านอรรถกฤษณ์ วงปี่พาทย์มอญคณะนายนเรศ สุวรรณรูป วงปี่พาทย์มอญคณะสุภาพ พรพูน ครูสมศักดิ์ ไตรย์วาสน์ [บ้านพาทยโกศล] ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระ พันธุ์เสือ [มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร]

วันพุธที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2560

- วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล - โรงเรียนอุดมศรีวิทยา

[ปี่พาทย์ประโคมศพ: วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล วงปี่พาทย์นางหงส์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา วงปี่พาทย์มอญลูกครูไพฑูรย์ จรรย์นาฏย์ วงปี่พาทย์มอญคณะนายนเรศ สุวรรณรูป วงปี่พาทย์มอญคณะสุภาพ พรพูน]

วันพฤหัสที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2560

- หัวหน้าส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 - ชมรมครูดนตรีนาฏศิลป์ ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 2 - เทศบาลต�าบลบางบาล อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา - นายกเทศมนตรีสมหมาย อารมณ์ - โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์

[ปี่พาทย์ประโคมศพ: วงปี่พาทย์มอญและวงปี่พาทย์นางหงส์วิทยาลัยนาฎศิลปอ่างทอง วงปี่พาทย์มอญวัดส้มเกลี้ยง วงปี่พาทย์ นางหงส์คณะประคองศิลป์ จังหวัดสุพรรณบุรี วงปี่พาทย์นางหงส์กุญชรดุริยะ วงปี่บัวลอยครูชนะ ช�านิราชกิจ ร�าทศกัณฑ์ลงสวน โดยครอบครัว ‘ยังประดิษฐ์’]

วันศุกร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2560

- คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา - โรงเรียนอุทัยวิทยาคม - เพื่อนอยุธยาวิทยาลัยรุ่น 19/21 - เพื่อนอยุธยาวิทยาลัย ห้อง มศ.5/5 - ครอบครัว ‘ยังประดิษฐ์’

[ปี่พาทย์ประโคมศพ: วงปี่พาทย์มอญกองดุริยางค์ทหารอากาศ [แผนกดนตรีไทย] วงปี่พาทย์มอญกองดุริยางค์ทหารเรือ [แผนก ดนตรีไทย] วงปี่พาทย์นางหงส์เทศบาลกรุงเทพมหานคร ร�ามโนราห์บูชายัญและฉุยฉายพราหมณ์โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา]

238

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


วันเสาร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2560

- อาจารย์ธานี ลาวัณย์ศิริ และคณะศิษย์เก่าวิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา รุ่น 1 - วิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดอ่างทอง ห้อง 3 รุ่น 4 - หลานๆ พ่อส�าราญ เกิดผล

[ปี่พาทย์ประโคมศพ: วงปี่พาทย์นางหงส์กุญชรดุริยะ วงปี่พาทย์ดึกด�าบรรพ์โรงเรียนสิงห์บุรี วงปี่พาทย์มอญคณะ ส.พัฒนศิลป์ วงอังกะลุงจากอาจารย์เฉลิม ทองละมุล วงปี่พาทย์มอญคณะนายนเรศ สุวรรณรูป วงปี่พาทย์มอญคณะสุภาพ พรพูน ร้อยตรีทรง ศักดิ์ เสนีย์พงษ์ [ร่วมบรรเลงวงปี่พาทย์มอญ] นักดนตรีจากบ้านพาทยโกศลและบ้านดุริยประณีต]

วันอาทิตย์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2560

- ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน ต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา - ครอบครัวเสี่ยเม่งจั้ว โชคชัยเจริญสิน - ครอบครัวคุณอ�าไพ ตรีเดช

[ปี่พาทย์ประโคมศพ: วงปี่พาทย์มอญมหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒประสานมิตร บ้านอรรถกฤษณ์ วงปี่พาทย์มอญคณะนายนเรศ สุวรรณรูป วงปี่พาทย์มอญคณะสุภาพ พรพูน]

วันจันทร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2560

- กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม - สาขาวิชาดนตรีร่วมกับสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

[ปี่พาทย์ประโคมศพ: วงปี่พาทย์มอญมหาวิทยาลัยบูรพา วงปี่พาทย์นางหงส์มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร วงปี่พาทย์มอญ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา แตรวงบ้านเนตรายน วงปี่พาทย์มอญคณะนายนเรศ สุวรรณรูปและวงปี่พาทย์มอญคณะ สุภาพ พรพูน [น�าเครื่องดนตรีมาช่วยตลอดทั้ง 7 คืน]]

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

239


รำยนำมผู้มอบพวงหรีดคำรวะแด่

นำยส�ำรำญ เกิดผล

ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง [ดนตรีไทย] ปี พ.ศ. 2548

1. กศน.อ�าเภอบางบาล 2. กลอย ปลอดโปร่ง และครอบครัว 3. กลุ่มงานดุริยางค์ไทย กรุงเทพมหานคร 4. กลุ่มดุริยางค์ไทย ส�านักการสังคีต กรมศิลปากร 5. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ 6. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ 7. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ 8. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ 9. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ 10. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนสัมชัญศึกษา 11. ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยสารวัตร แพทย์ 12. ก�านันพิชิต-สจ.รัตนา หวังเทพอนุเคราะห์ 13. เกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม 14. ก้อง-บุตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร 15. ข้าราชการต�ารวจ สถานีต�ารวจภูธรบางบาล 16. ครอบครัวค�ามาทอง 17. ครอบครัวครูกาหลง พึ่งทองค�า 18. ครอบครัวครูล้วน ดนตรี 19. ครอบครัวฉายสุวรรณ 20. ครอบครัวตรีเดช 21. ครอบครัว “น�้าเพชร” 22. ครอบครัวน้อยเนย [ลูกศิษย์ครูต้น] 23. ครอบครัวบุญจ�าเริญ 24. ครอบครัวมหาคามินทร์ 25. ครอบครัวมีวีระสม 26. ครอบครัวแม่มาลี สุขเสียงศรี 27. ครอบครัวยังประดิษฐ์ 28. คอฟฟี่อินทาวน์ขอนแก่น 29. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 30. คณะครูและนักเรียนโรงเรียนวัดโคก [ภู่พิพัฒน์บ�าเพ็ญ] 31. คณะเซอร์ คณะครูและนักเรียน โรงเรียนอัญชัญคอนแวนต์ 32. คณะผู้บริหาร ผู้ช่วยผู้อ�านวยการฝ่ายวิชาการ เขต 6 33. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 34. คุณหญิงปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล ประธานกรรมการกองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม 35. ครูบุญช่วย-แม่คลี่ ชมชื่น และครอบครัว 240

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


36. ครูราตรี แม่ส�าอาง หาสาสน์ศรี 37. ครูและบุคลากร โรงเรียนอุทัยวิทยาคม 38. ครูปราณี จันทร์ประสาท 39. ครูวันชัย-ครูสุรัชนี หากิจจา 40. ครูสมเกียรติ-ครูวรรณ พิมพันธ์ 41. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลบางชะนี 42. แฉล้ม คมคาย 43. ชมรมดนตรีนาฏศิลป์ สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 2 44. ชมรมดนตรีไทยโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ 45. ชมรมผู้สูงอายุต�าบลบางชะนี 46. ชมรมศิษย์เก่าวิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง 47. ชูเกียรติ บุญมี นายกเทศมนตรีต�าบลบางบาล 48. ด.ต.ภราดร ธรรมเจตนา 49. ดร.สุจินต์-พญ.สุวรรณา ไชยชุมศักดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 50. ดนตรีไทยกรมประชาสัมพันธ์ 51. ดนตรีไทยวัดส้มเกลี้ยง 52. เทศบาลต�าบลบางบาล 53. ธ.ก.ส.สาขาบางบาล 54. นางสาวคนึงนิจ ไตรพิศ และครอบครัว 55. นางประภัสสร ตรีศิลา 56. นางสาวปทุม ดนตรีเสนาะ และหลานๆ 57. นายพจน์ พูลสวัสดิ์ 58. บุญช่วย ป้อมปักษา และครอบครัว 59. บุตร-ธิดา คุณพ่อสวง-แม่ผล เกิดผล 60. บ้านอรรถกฤษณ์ 61. ปี่พาทย์คณะลูกครูไพฑูรย์ จรรย์นาฏย์ อยุธยา 62. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกริช การินทร์ คณบดีวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 63. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิรชญา ชัยเกษม 64. ผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน โรงเรียนเซนต์จอห์นบัปตีสต์ 65. ผู้อ�านวยการประดับ-อาจารย์สุวพีร์ ชัยพฤกษ์ 66. พ.ญ.ประภัสสร อัศวเนตรมณี 67. พล.อ.ต.ประกิต-นิภา พิจิตรพากาศ 68. พล.อ.สถาพร-พญ.วลัยพร พันธ์กล้า 69. พลโทวุฒิ เขมวิภัค แสงจัก 70. พล.ต.ศักดิ์สิทธิ์ อยู่หุ่น 71. พล.ร.ต.เถลิงศักดิ์ อรัญญา ศิริ 72. พิสนุห์ แสงเดือน ก�านันต�าบลไทรน้อย 73. พิมพ์รวี วัฒนวรางกูร อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม 74. เพื่อนชีววิทยา วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา 75. เพื่อน นศอ. รุ่น 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจ 76. เพื่อนโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย ห้อง 5/5 77. เพื่อน วพ.อ่างทอง ห้อง 3 รุ่น 4 78. ไพฑูรย์ จ�าแนกสาร CLUB 2500 BIDLCGY ATC 79. ไพรัตน์-บุญชู [ขายหมูบางปะหัน] อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

241


80. พ่อส�าเนาว์-แม่ส�าราญ อินโท 81. พ่อส�าเริง เกิดผล 82. พ่อสังเวียน-แม่ศรี กรป้องกัน 83. ภาควิชาดุริยางคศิลป์ วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง 84. มนต์รัก-ดวงแก้ว ศรราม-น�้าเพชร 85. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 86. มูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ 87. มูลนิธิศิลปินแห่งชาติ 88. มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ [ศร ศิลปบรรเลง] 89. ยุ้ยและครอบครัวอุทิศ 90. รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์ ผู้ช่วยอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 91. รองศาสตราจารย์อมรา-ฉลอง กล�่าเจริญ 92. โรงพยาบาลสัตว์อรรถพงศ์ 93. โรงเรียนบางปะอิน สพม.3 94. โรงเรียนบางบาล 95. โรงเรียนประชากรรังสฤษฏ์ 96. โรงเรียนราษฎร์บ�ารุงศิลป์ 97. โรงเรียนวัดจุฬามณี [ชุณหะจันทรประชาสรรค์] 98. โรงเรียนวัดตลาด [อุดมวิทยา] 99. โรงเรียนวัดโบสถ์ อ�าเภอบางบาล 100. โรงเรียนวัดพะเนียงแตก นครปฐม 101. โรงเรียนเสนา “เสนาประสิทธิ์” 102. โรงเรียนสาธิตเกษตร ก�าแพงแสน 103. โรงเรียนอนุบาลอนงค์นาฏ 104. โรงเรียนอุดมศีลวิทยา 105. ลูกๆ หลานๆ 106. ลูกศิษย์พ่อส�าราญ เกิดผล โครงการพระราชด�าริฯ 107. ลูกหลานเตี่ยเม่งจั๊ว โชคชัยเจริญสิน 108. ลูกหลานตระกูลกรป้องกัน 109. วัชรีย์ ยิ้มยวล นักวิชาการศึกษาช�านาญการ ศธจ.อย. 110. วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา 111. วิทยาลัยเทคโนโลยีอยุธยา 112. วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง 113. วิภักษร วงษ์แย้ม 114. วีระ โรจน์พจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม 115. ศิษย์ครูสกล แก้วเพ็ญกาศ [บางใหญ่] 116. ศิษย์พาทยรัตน์ 117. ศูนย์ฯ ศิลปะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 118. ศิษย์ อ.ศ.ว. รุ่น 1 119. ศิษย์ อ.ศ.ว. รุ่น 3 120. ศิษย์อาจารย์กฤษฎา ด่านประดิษฐ์ 121. สมบัติ ประสพผล และครอบครัว 122. สาขาวิชาดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 123. สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 242

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


124. สาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 125. สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 126. สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์ไทยและเอเชีย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร 127. สภาวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 128. สภาวัฒนธรรมอ�าเภอบางบาล 129. สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 130. สมาคมนักเรียนเก่าบางบาล 131. สมาคมผู้ปกครองและครู โรงเรียนอัสชัญคอนแวนต์ 132. สมาคมศิษย์อัสสัมชัญคอนแวนต์ 133. ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 2 134. ส�านักงานวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 135. ส�านักบริหารวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 136. หจก.พิษณุโลกศรีไทยเจริญมอเตอร์ 137. หลานเชอร์รี่และครอบครัว 138. องอาจ วชิรพงศ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 139. องค์การสุรา กรมสรรพสามิตร 140. อาจารย์ธาณี ลาวัลย์ศิริ และคณะศิษย์เก่าวิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา รุ่น 1 141. อาม่า พี่ไก่ พี่เกด น้องกัส น้องแก้ม 142. อุบาสก-อุบาสิกา วัดโคกหิรัญ 143. เอก-ก้อง Unilever Network

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

243


รำยชื่อเพลงและผู้บรรเลงในแผ่นซีดีเพลงอนุสรณ์

ในงำนพระรำชทำนเพลิงศพ นำยส�ำรำญ เกิดผล [ศิลปินแห่งชำติ]

เพลงหน้ำพำทย์ไหว้ครู

12. ตับอุณรุท ตอน นำงอุษำอุ้มสม

[ประพันธ์โดยนายส�าราญ เกิดผล] วงปี่พาทย์ไม้แข็ง วงพาทยรัตน์ [ปัจจุบัน]

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

[ควบคุมการบรรเลงโดยนายส�าราญ เกิดผล] วงพาทยรัตน์ [อดีต] เพลงไทยจากศูนย์สังคีตศิลป์ ขับร้อง มาลี เกิดผล

ตระบูชำพระ ตระพระอิศวรเปิดโลก ตระพระพิฆเนศประทำนพร ตระนำง [ตระมณโฑหุงน�้ำทิพย์] ตระนวมินทรำธิรำช ตระพระแม่แห่งแผ่นดิน ตระทูลกระหม่อมบริพัตร ตระพระบรม ตระสมเด็จพระเทพรัตน์ ปี่ใน ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง

13. เพลงเรื่องแขกไหว้พระ

[เรียบเรียงโดยนายส�าราญ เกิดผล] ปี่ใน สมประสงค์ ภาคสังข์ ระนาดเอก เสาวภาคย์ อุดมวิชัยวัฒน์ ระนาดทุ้ม ศุภณัฐ โอภาสวงศ์ ฆ้องวงใหญ่ พรปวีณ์ จันทร์ผ่อง ฆ้องวงเล็ก กฤษณพงศ์ ใจตรง ตะโพน ณัฐพล ฝักคูณ กลองทัด อภิเดช รู้อยู่ ฉิ่ง วีรปรัชญ์ พุ่มศุขโข กรับ วรัชยา จ้อยจอก ฉาบ พรเทวา จรัสพันธ์

สมประสงค์ ภาคสังข์ วิเชียร เกิดผล พรชัย ผลนิโครธ ชฤทธิ์ ตรีหิรัญ เกียรติศักดิ์ ดีชัง เรืองศักดิ์ สุขเสียงศรี จินดา อรรถกฤษณ์ ดิเรก อรรถกฤษณ์ ธเนศ อุกโทก ร.ต.ท.วิฑูรย์ อรรถกฤษณ์ วรเทพ บุญจ�าเริญ ทรงสิทธิ์ ภู่ภักดี

14. โหมโรงทยอยเดี่ยว

10. ตับจับลิงหัวค�่ำ

[ควบคุมการบรรเลงโดยนายส�าราญ เกิดผล] วงพาทยรัตน์ [อดีต] เพลงไทยจากศูนย์สังคีตศิลป์ ขับร้อง มาลี เกิดผล เดี่ยวปี่ใน กาหลง พึ่งทองค�า

11. ตับสังข์ทอง ตอน มณฑำลงกระท่อม

[ควบคุมการบรรเลงโดยนายส�าราญ เกิดผล] วงพาทยรัตน์ [อดีต] เพลงไทยจากศูนย์สังคีตศิลป์ ขับร้อง มาลี เกิดผล

244

[ประพันธ์โดยนายส�าราญ เกิดผล] วงปี่พาทย์ไม้แข็ง วงพาทยรัตน์ [ปัจจุบัน] ปี่ใน สมประสงค์ ภาคสังข์ ระนาดเอก พรชัย ผลนิโครธ ระนาดทุ้ม ชฤทธิ์ ตรีหิรัญ ฆ้องวงใหญ่ นาคเกษม คนรู้ ฆ้องวงเล็ก ทรงสิทธิ์ ภู่ภักดี กลองสองหน้า ณัฐพล ฝักคูณ ฉิ่ง ธนาทร อุกกระโทก กรับ ชิษณุพงศ์ พรมทา ขลุ่ยอู้ สุกิจพิพัฒน์ สุขธนะไพศาล ซออู้ อินทิรา บ�ารุงศรี หุ่ย นพรัตน์ ทองสุข กลองแขก ศุภมงคล มาพริก กฤติน ศิริพุฒ ฉิ่ง จันจิรา เพ็ชรแพ กรับพวง แสนภูมิ มาลา

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ


15. กระท่อมทองกวำว เถำ

[ประพันธ์โดยนายส�าราญ เกิดผล] วงปี่พาทย์ดึกด�าบรรพ์ วงสิงห์บุรี ขับร้อง อุเทน เปียหลอ ระนาดเอก เมทะนี พ่วงภักดี ระนาดทุ้ม วรพรหม ขวัญเมือง ฆ้องวงใหญ่ จิราภรณ์ กันหาชัย อินทุอร ใบจ�าปี พรทิพย์ ใยบัว ระนาดทุ้มเหล็ก พัชชาภา รุ่งเช้า ขลุ่ยเพียงออ วิทยา โหจันทร์ ขลุ่ยอู้ สุกิจพิพัฒน์ สุขธนะไพศาล ซออู้ อินทิรา บ�ารุงศรี หุ่ย นพรัตน์ ทองสุข กลองแขก ศุภมงคล มาพริก กฤติน ศิริพุฒ ฉิ่ง จันจิรา เพ็ชรแพ กรับพวง แสนภูมิ มาลา

ระนาดทุ้มเหล็ก ขลุ่ยเพียงออ ซออู้ กลองแขก ฉิ่ง

18. ตับล่องลม

[บรรจุเพลงโดยนายส�าราญ เกิดผล] วงมโหรี โดยวงดูริยมิตรา ขับร้อง ผศ.ดร.จตุพร สีม่วง บุตรี สุขปาน ซอสามสาย ผศ.ธรณัส หินอ่อน ซอด้วง สุวรรณี ชูเสน ซออู้ อรอุมา เวชกร จะเข้ ประชากร ศรีสาคร ขลุ่ยเพียงออ ผศ.จรัญ กาญจนประดิษฐ์ ระนาดเอก พรชัย ผลนิโครธ ระนาดทุ้ม กันตพัฒน์ ธรรมปิยานันท์ ฆ้องวง ผศ.วัศการก แก้วลอย โทน-ร�ามะนา ชัยฑัต โสพระขรรค์ ฉิ่ง ศิริกัลยา ทิพราช Sound Engineer กฤษฏิพัฒน์ พลเยี่ยม

16. สุดอำลัย เถำ

[ประพันธ์โดยนายส�าราญ เกิดผล] วงปี่พาทย์ไม้นวม วงพาทยรัตน์ [ปัจจุบัน] ขับร้อง บุตรี สุขปาน ระนาดเอก พรชัย ผลนิโครธ ระนาดทุ้ม ชฤทธิ์ ตรีหิรัญ ฆ้องวงใหญ่ นาคเกษม คนรู้ ฆ้องวงเล็ก ธนาทร อุกกระโทก ระนาดเอกเหล็ก วราห์ เทพณรงค์ ระนาดทุ้มเหล็ก ทรงสิทธิ์ ภู่ภักดี ขลุ่ยเพียงออ สมประสงค์ ภาคสังข์ ซออู้ กฤติน ศิริพุฒ กลองแขก ณัฐพล ฝักคูณ วรเทพ บุญจ�าเริญ ฉิ่ง ปานหทัย สุคนธรส

นาคเกษม คนรู้ สมประสงค์ ภาคสังข์ กฤติน ศิริพุฒ ณัฐพล ฝักคูณ วรเทพ บุญจ�าเริญ ปานหทัย สุคนธรส

19. ตับสังข์ทอง ตอนเลือกคู่

17. ใต้ร่มพระบำรมี เถำ

[ประพันธ์โดยนายส�าราญ เกิดผล] วงปี่พาทย์ไม้นวม วงพาทยรัตน์ [ปัจจุบัน] ขับร้อง บุตรี สุขปาน ระนาดเอก วราห์ เทพณรงค์ ระนาดทุ้ม ชฤทธิ์ ตรีหิรัญ ฆ้องวงใหญ่ ทรงสิทธิ์ ภู่ภักดี ฆ้องวงเล็ก ธนาทร อุกกระโทก ระนาดเอกเหล็ก พรชัย ผลนิโครธ อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสำาราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ

[ถ่ายทอดและควบคุมการบรรเลงโดยนายส�าราญ เกิดผล] วงปี่พาทย์ [พิเศษ] สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์ไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร ขับร้อง ผศ.ดร.จตุพร สีม่วง บุตรี สุขปาน ณฐาภพ เกตุตรง ระนาดเอก ศักดิ์ดา ภู่ยิ้ม ระนาดทุ้ม จักรพันธ์ จันทะขาว สิทธิโชค ม่วงเมือง ชาญเดช ข�าพุก นพมาศ เดชก�าจร จักรกฤษณ์ เรืองฤทธิ์ ฆ้องวงใหญ่ พรชัย ไผ่ปาน ปิยะศักดิ์ แตงทรัพย์ ฆ้องวงเล็ก รัฐเขต รอดเมือง ระนาดเอกเหล็ก พรชัย ผลนิโครธ ระนาดทุ้มเหล็ก ณัฐพร เลิกนุช 245


ขลุ่ยเพียงออ ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง กรับ ฉาบ

สมประสงค์ ภาคสังข์ วิเชียร เกิดผล ธีรวัต เจนพรมราช นาคเกษม คนรู้ กุลนันท์ จันทร์ปาน เกียรติศักดิ์ คงโต

20. เดี่ยวระนำดเอก พญำโศก 3 ชั้น ระนาดเอก กลองสองหน้า ฉิ่ง

พรชัย ผลนิโครธ เกียรติศักดิ์ ดีชัง บุตรี สุขปาน

21. เดี่ยวระนำดเอก บรรทมไพร 3 ชั้น ระนาดเอก กลองสองหน้า ฉิ่ง

วราห์ เทพณรงค์ สนธยา เจริญผล ปานหทัย สุคนธรส

22. เดี่ยวระนำดเอก อำเฮีย เถำ ระนาดเอก กลองสองหน้า ฉิ่ง

เสาวภาคย์ อุดมวิชัยวัฒน์ วีรปรัชญ์ พุ่มศุขโข ธนภัทร เพชรสัมฤทธิ์

23. เดี่ยวฆ้องวงใหญ่ พญำโศก 3 ชั้น ฆ้องวงใหญ่ กลองสองหน้า ฉิ่ง

นาคเกษม คนรู้ เกียรติศักดิ์ ดีชัง บุตรี สุขปาน

24. เดี่ยวฆ้องวงใหญ่ ดอกไม้ไพร เถำ ฆ้องวงใหญ่ กลองสองหน้า ฉิ่ง

พรปวีณ์ จันผ่อง วีรปรัชญ์ พุ่มศุขโข ธนภัทร เพชรสัมฤทธิ์



พิมพ์ครั้งแรก จ�านวนพิมพ์

กุมภาพันธ์ 2561 1,000 เล่ม

ที่ปรึกษา บรรณาธิการ คณะท�างาน

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล พิชชาณัฐ ตู้จินดา บุตรี สุขปาน ภัทริกา นันทวิชิต จิรกานต์ สิริกวินกอบกุล เชาวน์วุฒิ อรุโณทอง กันต์ อัศวเสนา เสาวภาคย์ อุดมวิชัยวัฒน์ [บันทึกโน้ตเพลงเรื่อง] ดร.กฤษฏิ์ เลกะกุล ภูมิพงศ์ คุ้มวงษ์ วันจักรี นวลนิรันดร์ [กล้อง Rolleiflex 2.8F Ensign Ross-London] จรูญ กะการดี สิทธิโชติ บุญรอด หจก. หยินหยางการพิมพ์ 104/2 หมู่ที่ 5 ซ.วัดพระเงิน ถ.กาญจนาภิเษก ต.ปลายบาง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130 โทรศัพท์ 02 903 8636, 02 443 6707

ประวัติภาคภาษาอังกฤษ ภาพปก ถ่ายภาพล�าดับเรื่อง ศิลปกรรม แต่งเสียง พิมพ์ที่


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.