focus group อาจารย์นิตยา

Page 72

61 เกษตรยั้งยืนและระบบเกษตรธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเน้นความสาคัญในการจัดการทรัพยากรระดับไร่ นาในลักษณะที่จะมุ่งใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ ซึ่งจะมีความสอดคล้องกับวิธีการที่สาคัญ ของพระองค์อีกประการหนึ่งคือ การประหยัด ทรงเน้นความจาเป็ นที่จะลดค่าใช้จ่ายในการ ทามาหากินของเกษตรกรลงให้เหลือน้อยที่สุด โดยอาศัยพึ่งพิงธรรมชาติเป็ นปั จจัยสาคัญ วิธีการของพระองค์มีต้ งั แต่การสนับสนุ นให้เกษตรกรใช้โคกระบือในการทานามากกว่า การใช้เครื่ องจักร ให้มีการปลูกพืชหมุนเวียน โดยเฉพาะพืชตระกูลถัว่ เพื่อลดค่าใช้จ่ายเรื่ อง ปุ๋ ย หรื อกรณี ที่จาเป็ นต้องใช้ปุ๋ยก็ทรงสนับสนุ นให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยธรรมชาติแทนปุ๋ ยเคมีซ่ึง มีราคาแพง รวมทั้งให้หลีกเลี่ย งการใช้สารเคมีต่ างๆ ที่ มีผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม และ คุณ ภาพของดิน ในระยะยาว ทาให้ราษฎรอยู่ในชุมชนและสภาพสิ่ งแวดล้อมที่ ดี และมี ฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีข้ ึน ซึ่งเป็ นหลักการสาคัญของ "การเกษตรยัง่ ยืน" ระบบเกษตรยัง่ ยืนควรมีลกั ษณะการจัด การทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรที่ เลียนแบบระบบนิเวศของป่ าธรรมชาติ คือมีความหลากหลายทางชีวภาพ มีกลไกควบคุม ตัว เอง มีก ารพึ่ง พาปั จ จัยการผลิต จากภายนอกน้อยที่ สุด ตามความจ าเป็ น สาหรั บการ ป้ องกันและกาจัดศัตรู พืชพยายามลดการใช้สารเคมี โดยการใช้วิธีการจัดการศัตรู พืชแบบ ผสมผสาน กล่าวคือควรให้ค วามสาคัญกับระบบการปลูกพืชที่เกื้อกูลกันเพื่อสร้างความ สมดุลตามธรรมชาติในระบบการเกษตร ในปั จจุ บัน มีการทดลองวีธีก ารเกษตรยัง่ ยืนในพื้น ที่ ศูน ย์สมเด็จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี จังหวัดเพชรบุรี ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา พิกุลทองฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ เป็ นต้น มีกิจกรรมต่างๆ ที่เป็ นไปตามแนว พระราชดาริ และสอดคล้องกับหลักการของเกษตรยัง่ ยืน ที่สาคัญได้แก่ ระบบการปลูกพืช หมุนเวียน ระบบการเกษตรแบบผสมผสาน ระบบวนเกษตร และระบบเกษตรธรรมชาติ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.