จดหมายข่าวคณะฉบับที่ 3

Page 1

ปี ที่ 1 ฉบับที่ 3

Faculty of Humanities and Social Sciences. www.hms.snru.ac.th

ใต้ ร่มสัตบรรณ จดหมายข่ าวคณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์

บ้ า น เ ร า เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ที่ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า ม นุ ษ ย์ ร่ ว ม พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ สั ง ค ม

ธันวาคม 2555-มีนาคม 2556

คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ ร่วมลงนามความร่ วมมือกับวิทยาลัยสงฆ์ จําปาสั ก สปป.ลาว เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2556 คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร โดย นายรัฐพล ฤทธิธรรม คณบดี ร่ วมลงนาม ความร่ วมมือทางวิชาการกับวิทยาลัยสงฆ์ จําปาสัก แขวงจําปาสัก สปป. ลาว โดย พระอาจารย์ มหาสุ วนั จันทะราช ประธาน องค์การพุทธศาสนา สัมพันธ์ ลาว

“พลังพัฒนา” เปิ ดปี ศักราชใหม่ 2556

ช่วงระหว่างปลายปี 2555 ถึงต้นปี 2556 สาขาวิชาสังคมศาสตร์ หลักสู ตรการพัฒนาชุมชนได้ดาํ เนินกิจกรรมอันเป็ น แนวทางในการพัฒนานักศึกษาประจําหลักสู ตร ประกอบด้วย 3 กิจกรรม 

กิจกรรมเข้าร่ วมโครงการถอดบทเรี ยน 25 ปี อินแปง เครื อข่ายอินแปง โมเดลการพัฒนาแบบพระอินทร์สร้าง ระหว่างวันที่ 17-20 มกราคม 2556 ณ บ้านบัว ตําบลกุดบาก อําเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร โดยมี คณาจารย์และ นักศึกษาหลักสู ตร การพัฒนาชุมชน ชั้นปี ที่ 1-2 เข้าร่ วมจํานวน 44 คน



กิจกรรมการติดตามและรายงานผลความก้าวหน้าการฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพ การพัฒนาชุมชน เมื่อวันศุกร์ที่ 4 มกราคม 2556 ณ ห้อง 327 อาคาร 3 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร โดยกําหนด ให้นกั ศึกษาชั้นปี ที่ 4 นําเสนอรายงานความก้าวหน้าเกี่ยวกับการศึกษาชุมชนในพื้นที่ตาํ บลไร่ อําเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร พร้อมทั้งเปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาชั้นปี ที่ 1-3 เข้าร่ วมรับฟังการนําเสนอ และเป็ นเวทีรับฟั งข้อเสนอแนะ เพื่อนําไปปรับปรุ งและพัฒนาทักษะการฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพการพัฒนาชุมชนจาก คณาจารย์ประจําหลักสู ตรฯ



กิจกรรมทําบุญปี ใหม่ สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน ปี 2556 จัดขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ 13 มกราคม 2556 ณ ลานหน้า สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ซึ่ งเป็ นกิจกรรม ประเพณี สื บเนื่องของสาขาวิชา ทั้งยังเป็ นการเสริ มสร้างความสามัคคีในหมู่คณาจารย์และ นักศึกษาสาขาวิชา การพัฒนาชุมชน ทุกชั้นปี


โครงการศึกษานอกสถานทีแ่ ละฝึ กปฏิบัตริ ายวิชาการท่ องเทีย่ วอย่ างยัง่ ยืน นักศึกษาสาขาวิชาการท่ องเทีย่ วและการโรงแรม สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม จัดโครงการนํานักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรมปี การศึกษา 2554 จํานวน 46 คน ออกศึกษา นอกสถานที่ ตามเส้นทางสกลนคร – พิษณุ โลก - สุ โขทัย – ลําปาง – สกลนคร ระหว่างวันที่ 17 – 22 ธันวาคม 2555 และ เส้นทางสกลนคร - เพชรบุ รี – ประจวบคีรีขนั ธ์ – ชุมพร – สมุทรสงคราม – สกลนคร ระหว่างวันที่ 29 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2556 ทั้ง นี้ เพื่ อ ให้เ ป็ นไปตามข้อ กํา หนดของ ททท. ซึ่ ง จะเป็ นประโยชน์ ต่ อ นัก ศึ ก ษาในการได้รั บ สิ ท ธิ์ ขอรั บ ใบประกาศนี ย บัต รมัค คุ เ ทศก์ท ั่ว ไป (ต่างประเทศ) ต่อไป โดยในทริ ปแรกทางสาขาวิชาฯ ได้มีโอกาสเยีย่ มชมวัดพระศรี รัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร วัดราชบูรณะ จังหวัดพิษณุโลก ปั่ นจักรยานเที่ยว ชมอุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัย นัง่ รถรางชมอุทยานประวัติศาสตร์ ศรี สัชนาลัย พักโฮมสเตย์บา้ นนาต้นจัน่ ทํากิจกรรมและศึกษาวิถีชีวิตของคนในชุมชน เช่น การทอผ้า การทําผ้าหมักโคลน อาหารพื้นเมือง หลังจากนั้นเราเดินทางไปยัง จ. เชียงใหม่ รับประทานอาหารแบบขันโตก ณ คุม้ ขันโตก พร้อมชมการแสดงของ ภาคเหนื อ เดินทางไปนมัสการองค์พระธาตุดอยสุ เทพราชวรวิหาร เที่ยวชมพระตําหนักภูพิงค์ราชนิ เวศ เยีย่ มชมบ่อนํ้าพุร้อนสันกําแพงและการทําร่ มบ่อสร้าง เดินทางไปดอยอินทนนท์เพื่อชมทะเลหมอกในยามเช้า ณ บริ เวณลานจอดรถกิ่วแม่ป่าน ในวันนั้นอุณภูมิต่าํ สุ ดอยูท่ ี่ 2 C˚ ทําให้เราได้เห็นแม่คะนิ้งเป็ นจํานวน มาก เราได้เดินศึกษาตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติอ่างกาหลวง และเส้นทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ป่าน ซึ่ งมีความงามของธรรมชาติในลักษณะที่แตกต่างกัน และ ได้แวะนมัสการองค์พระมหาธาตุนภเมทนีดลและพระมหาธาตุนภพลภูมิสิริ ขณะที่ทริ ปที่สองสาขาวิชาฯ ได้มีโอกาสเยีย่ มชมวัดพระปฐมเจดียร์ าชวรวิหาร อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี (เขาวัง) นัง่ เรื อไปชมความงามของ ถํ้าพระยานคร ซึ่ งถูกคัดเลือกให้เป็ นสถานที่ท่องเที่ยว 1 ใน 9 ความมหัศจรรย์ของแหล่งท่องเที่ยวยามกลางวันตามคู่มือท่องเที่ยว 12 เดือน 7 ดาว 9 ตะวันของการ ท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย ได้เข้าพักโฮมสเตย์เพื่อศึกษาและเรี ยนรู ้วิถีชีวิตของชาวบ้านท้องตมใหญ่ ร่ วมกันทํากิ จกรรมปลูกป่ าชายเลน เดินทางไปดํานํ้าชม ปะการังที่เกาะเต่า-เกาะนางยวน ไปแวะพักที่อมั พวา เที่ยวชมตลาดนํ้าอัมพวา นัง่ เรื อชมหิ่ งห้อย ตื่นเช้ามาทําบุญตักบาตร ซึ่ งทั้งสองทริ ปได้ทาํ ให้นกั ศึกษาได้รับ ความรู ้และประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่สามารถนํามาปรับใช้ในการเรี ยนและการทํางานในอนาคต

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 3

หน้า 6


โครงการศึกษาดูงานของนักศึกษาชั้นปี ที่ 2-3 สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ “สารสนเทศศาสตร์ สัญจร” ณ จังหวัดเชียงใหม่

วันที่ 20 - 23 กุมภาพันธ์ 2556 สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร นําโดย ผศ.ภาวิณี แสนชนม์ และ ผศ.ทิศากร ศิริพนั ธุ์เมือง ได้จดั กิจกรรมการศึกษาดูงานให้กบั นักศึกษาชั้นปี ที่ 2-3 ณ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมุ่งเน้นการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การเรี ยนการสอนและการบริ หารงานด้านสารสนเทศกับผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ในการนี้ทางคณะศึกษาดูงานได้รับความอนุเคราะห์จาก สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยพายัพ ที่ได้เรี ยนเชิญอาจารย์มยุรี ยาวิลาศ ผูอ้ าํ นวยการสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยพายัพ มาเป็ นวิทยากรแลกเปลี่ยนวิสยั ทัศน์ พันธกิจ การจัดการ สารสนเทศ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ระบบบริ การสารสนเทศในปัจจุบนั ตลอดจนบทบาทของสํานักหอสมุดในการสอนรายวิชา Information Literacy ซึ่งการ บรรยายดังกล่าวสามารถนํามาปรับใช้และพัฒนาหลักสู ตรการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น ขณะเดียวกันทางคณะศึกษาดูงานยังถือโอกาสดังกล่าวเปิ ดโลกทัศน์ของนักศึกษา โดยนําเข้าเยีย่ มชมสถานที่สาํ คัญๆของจังหวัดเชียงใหม่และเมืองสําคัญที่ เดินทางผ่าน อาทิ การแวะสักการะพระธาตุลาํ ปางหลวง ชมรถม้าเอกลักษณ์ของจังหวัดลําปาง การเดินทางชมธรรมชาติที่ยอดดอยอินทนนท์ สักการะพระธาตุ นภเมทนีดลและพระธาตุนภพลภูมิสิริ เข้าชมหมู่บา้ นถวายแหล่งจําหน่ายเฟอร์นิเจอร์ไม้ งานหัตถกรรมไม้แกะสลักที่สวยงาม และสัมผัสความมหัศจรรย์ของ ธรรมชาติที่น้ าํ พุร้อนสันกําแพง ซึ่งการเดินทางครั้งนี้ถือเป็ นการเรี ยนรู ้นอกห้องเรี ยนที่หาได้ยาก และเป็ นประสบการณ์ล้ าํ ค่าในชีวติ การเป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัย

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 3

หน้า 3


Beauty of Laos through Foreign Languages โดย อาจารย์ จุฑาทิพย์ วิจิตรศิลป์ และ คณาจารย์สาขาภาษาต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร หลังจากที่คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นําโดย นายรัฐพล ฤทธิธรรม คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้นาํ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และบุคลากรของคณะฯ เดินทางไปทัศนศึกษาที่แขวงจําปาสัก เมืองปากเซ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนลาว ระหว่างวันที่ 9 - 11 มกราคม 2556 เพื่อให้เกิด ความร่ วมมือทางวิชาการ เกิดมุมมอง และผนึกความรู ้จากการที่ได้ไปเชื่อมสัมพันธไมตรี ดิฉนั ในนามตัวแทนคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้ประสานและถ่ายทอดความคิดเห็นและความรู ้ผา่ นมุมมองของอาจารย์ชาวต่างประเทศที่ มีส่วนในการพัฒนาคณะมนุษย์ในยุคที่กาํ ลังจะมีการขับเคลื่อนประเทศเข้าสู่ประชาคมอาเซี ยน การไปทัศนศึกษาในครั้งนี้ นอกจากพวกเราจะได้ไปชื่นชมกับ ความงามของธรรมชาติของประเทศเพือ่ นบ้านเราแล้ว ยังได้แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมทางภาษาผ่านมัคคุเทศก์ของลาว โดยการบรรยายสถานที่นาํ เที่ยวแต่ล่ะแห่ง โดยไม่มีการเว้นวรรคช่วงของการสอบถามได้เลย เป็ นที่น่าสังเกตว่าภาษาลาวเป็ นภาษาที่ฟังแล้วเพลิดเพลิน มัคคุเทศก์สาวชาวลาวบอกว่า “ ฟั งไกด์บรรยาย ม่วนหลาย ” (ไพเราะมาก ) พากันหลับเคลิบเคลิ้มไปตามๆกัน การไปทัศนศึกษาครั้งนี้เป็ นที่ประจักษ์ชดั แล้วว่า วัฒนธรรมกับภาษา แยกจากกันไม่ได้เลยฉัน ใดคนไทยกับคนลาวก็คงจะต้องมีความสัมพันธ์เหนียวแน่นเป็ นเกลียวคลื่นผ่านการแวะชมความงามของนํ้าตกคอนพะเพ็ง ซึ่ งได้ชื่อว่าเป็ นนํ้าตกไนแองการ่ าของ เอเชีย ระหว่างเส้นทางการไปเที่ยวในแต่ละสถานที่ พวกเราได้เห็นวิถีชีวติ ของชาวเมืองปากเซ ซึ่ งเป็ นเมืองที่ค่อนข้างยังเป็ นป่ าทึบล้อมรอบ ด้วยธรรมชาติที่น่า ตื่นตาตื่นใจ พอเราข้ามสะพานเพื่อจะไปถึงเมืองปากเซ เราก็จะพบสถาปั ตยกรรมผสมผสานระหว่างประเทศฝรั่งเศส ซึ่ งเป็ นประเทศที่ลาวเคยเป็ นเมืองขึ้น นอกจากนั้นยังมีสถาปั ตยกรรมแบบประเทศรัสเซี ยแฝงอยูอ่ ีกด้วย ความงามที่ได้กล่าวมาแล้วเป็ นเพียงส่ วนหนึ่ง แต่บทความที่จะเป็ นเครื่ องพิสูจน์ความงามที่แท้จริ งต่อไปนี้จะเป็ นทั้งความคิด ที่ถ่ายทอดผ่านเจ้าของ ภาษาที่ร่วมเส้นทางกับเราในวันนั้นเพื่อให้ทุกท่านสัมผัสความรู ้ทางภาษาก็จะนําเอาบทความของแต่ละท่านมาเผยแพร่ ผา่ นวาสารของคณะมนุษย์๚ ( ใต้ร่ม สัตบรรณ) ซึ่ งบทความทั้งหมดนี้ได้รับความร่ วมมือเป็ นอย่างดียงิ่ กับอาจารย์ชาวต่างประเทศที่สละเวลาและหาความรู ้ผา่ นความคิดมุมมองต่างๆ ขอให้ผอู ้ ่านได้ วิเคราะห์และเพลิดเพลินกับบทความของท่านเหล่านี้

“เมือง ปากเซ แขวงจําปาสั ก ณ ประเทศลาว” โดย: Kenichi Sato การเข้าร่ วมศึกษาดูงานในครั้งนี้ผมรู ้สึกประทับใจ และสนุกมาก มีโอกาสได้พบปะพูดคุยกับอาจารย์หลายๆท่าน นอกจากนี้แล้วยังได้ไปชิมและร่ วม รับประทานอาหารที่ไม่เคยรับประทานมาก่อน แต่กร็ ู ้สึกว่าอาหารอร่ อยมากครับ ผมมีโอกาสได้ไปเที่ยวชมนํ้าตกที่สวยงามของลาวใต้หลายแห่ง ผมได้รับความรู ้ เกี่ยวกับเรื่ องในอดีตประเทศฝรั่งเศสไม่สามารถขนส่ งของทางเรื อได้ ก็เนื่องจากประเทศลาวมีภูมิประเทศเป็ นเกาะ แก่ง ทําให้ลาํ บากในการขนส่ ง โดยเฉพาะ ประเทศที่คิดว่าจะเข้ามาบุกรุ กประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ทั้งยังได้เที่ยวชมนํ้าตกและเห็นซากปรักหักพังของท่าเรื อทําให้เข้าใจสถานการณ์ในเวลานั้น และ ที่ประทับใจมาก คือ การได้เห็นความสวยงามของปราสาทวัดพู ซึ่งเป็ นปราสาทเก่าแก่ ล้อมรอบด้วยต้นจําปา ซึ่ งเป็ นต้นไม้ประจําประเทศลาวสวยงามมาก ขณะที่เข้าชม มีการบูรณะปฏิสงั ขรณ์ ผมคิดว่าอยากให้คนญี่ปุ่นได้มีส่วนร่ วมในการบูรณะครั้งนี้ดว้ ย ผมรู ้สึกแปลกใจมากในขณะที่รับฟั งมัคคุเทศก์ลาวบรรยาย และได้ยนิ อาจารย์ในรถทัวร์พดู คุยกัน ผมรู้สึกว่าทําไมคนไทยและคนลาวพูดคุยกันและเข้าใจกันดี รู ้สึกว่าภาษาลาวกับภาษาถิ่นอีสานคล้ายคลึงกัน เคยอ่านหนังสื อว่าคนอีสานย้ายมาจากประเทศลาวสมัยศตวรรษที่ 18 แต่ก็คิดว่าอยากมีความรู ้เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับคนอีสานหลังจากได้ไปเที่ยวลาวใต้กลับมา ขณะนี้ผมได้อ่านหนังสื อเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์คนอีสานเพิ่มเติมอีกมาก และผมต้องค้นคว้าอ่านหนังสื อเกี่ยวกับวัฒนธรรมและศาสนาของชน เผ่าลาวอีสาน (ผูเ้ ขียนพักอยูใ่ นหมู่บา้ นของเผ่าลาวอีสาน ในจังหวัดขอนแก่น เป็ นเวลานานเพือ่ ทําวิจยั ) แล้ว ทราบว่าคนเผ่าลาวอีสานส่ วนมากย้ายมาในศตวรรษที่ผา่ นมาเพื่อจะมาซื้ อที่ทาํ มาหากินใหม่เพิ่มเติม เรื่ องนี้ ผมรู ้สึกประทับใจมาก ผมมีโอกาสได้ไปช่วยกิจกรรมเข้าค่ายภาษาอังกฤษที่จงั หวัดมุกดาหาร ได้พดู คุยกับพ่อเฒ่าที่อยูใ่ นหมู่บา้ นนั้น เขาเล่าว่าเขาเป็ นชาวภูไท และบรรพ บุรุษของเขาได้ยา้ ยมาจากประเทศลาวประมาณเมื่อ 200 ปี ที่แล้ว ผมก็เลยเข้าใจว่าเผ่าภูไทก็ยา้ ยมาจากประเทศลาวเช่นกัน การไปศึกษาดูงานครั้งนี้ทาํ ให้ผมอยาก เรี ยนรู ้เรื่ องประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและศาสนาของชนเผ่าต่างๆ ของลาวมากยิง่ ขึ้น คิดว่าถ้าอ่านหนังสื อแล้วคงไม่พอ น่าจะต้องไปศึกษาและเที่ยวชม พิพิธภัณฑ์อีกด้วย

หน้า 4

ใต้ ร่ มสั ต บรรณ จดหมายข่ า วคณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์


หากผมมีโอกาสได้ไปเที่ยวประเทศลาวในครั้งต่อไป ผมอยากชมบรรยากาศของหมู่บา้ น และการทําเกษตร งานพิธีกรรมต่างๆ เกิดความสงสัยว่า ประเทศลาวมีศาลเจ้าปู่ ศาลเจ้าตา มีหมอสูตร มีหมอธรรม ตามความเชื่อของคนอีสานหรื อไม่ ขณะนี้ผมสอนภาษาญี่ปุ่นให้กบั นักศึกษาไทยในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 1 ผมสอนคํา เป็ นภาษาไทย ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ และภาษาลาว เคย ถามนักศึกษาว่า “สวัสดีตอนเช้า” ภาษาลาวพูดอย่างไร ไม่มีนกั ศึกษาคนใดตอบได้ แล้วอาจารย์กเ็ ฉลย (ตอบให้นกั ศึกษาทราบ) นักศึกษาเมื่อได้รับทราบคําตอบ รู ้สึกสนใจภาษาลาวนั้นทันที ผมเคยตั้งคําถามนักศึกษาอยู่ 2 ข้อ ข้อ 1 ประเทศลาวเป็ นสมาชิกของกลุ่มประเทศอาเซี ยนหรื อไม่ ข้อ 2 ภาษาลาวมีความสําคัญหรื อไม่ ในยุคประเทศลาวได้เข้ามาสู่ ประชาคมอาเซี ยน ท้ายที่สุดนี้ การที่กระผมได้ไปเที่ยวประเทศลาว ผมในฐานะอาจารย์ชาวต่างประเทศ ผมได้รับประโยชน์และขอขอบคุณคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ โดยเฉพาะคณาจารย์สาขาวิชาการท่องเที่ยวที่ดูแลผมและคณะฯ เป็ นพิเศษ ในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเพื่อการท่องเที่ยวผมได้ให้งานนักศึกษาให้นาํ เสนอการกําหนดการเดินทาง ให้นาํ เสนอเป็ นภาษาญี่ปุ่น และให้เพื่อนนักศึกษา ได้ฟังและมีความคิดว่าอยากจะจัดทัวร์ให้นกั ศึกษาได้ไปเที่ยวลาวใต้ เหมือนกับอาจารย์ที่ได้ไปมาแล้ว คิดว่านักศึกษาก็คงจะได้ความรู ้ ความสนใจเรื่ องราว เกี่ยวกับประเทศลาว และการท่องเที่ยวในประเทศลาวมากยิง่ ขึ้น และตอนนี้กระผมมีความเชื่อมัน่ ว่าเมื่อผมเอ่ยถึงประเทศลาว ผมสามารถเล่าและบรรยาย เรื่ องราวต่างๆ ของประเทศลาวโดยเฉพาะแขวงจําปาสัก เมืองปากเซ นํ้าตก เกาะแก่ง ที่ยงั คงสภาพความสวยงามในลาวใต้ได้ดว้ ยตัวผมเอง ซึ่งผมคิดว่าผมจะไม่ ลืมลาวใต้เลย ผมขอจบบทความนี้ดว้ ยภาษาลาวว่า “ ผมไปจําปาสักครั้งนี้ม่วนหลายเด้อครับ ”

“LAOS IS FOR ALL LOVERS AND PROTECTORS OF NATURE” by: Cesar Thomas Veloso What did I get from the “Jampasak” trip? How did I feel?: My memory of our faculty’s trip to “Jampasak” is filled with cultural and economic awareness of the living conditions of the people of Laos. As a foreigner, I couldn’t help but notice the huge difference Laos has with its neighbor Thailand in terms of infra-structure and roads development. I am very confident however, that areas like “Jampasak’’ has a lot of room to move steadily forward towards development and carefully protect its people from the effects of globalization. What do I think about “Jampasak’’ in Laos?: My opinion of “Jampasak’’ could only be valid by having a little analysis of the community and its people. I noticed how residents along the countryside as well as those in populated areas have preserved most of their ancestral homes and village structures. I saw high school and primary students on bicycles pedaling home. Despite these simplicities, the area had internet access, so strictly speaking, they are aware of global events. Their modernization may not be as rapid as compared to Sakhon Nakhon or Kalasin here in Northeast Thailand; I can only assume they are still growing economically and socially as a business location As a staff-member of the Foreign Language Department, what knowledge did I get from there?: Personally, I am a fierce warrior in the defense of Mother Nature. I was extremely amazed at the beauty of Donkhone-Sompharnit Waterfalls. I was thrilled by the violent sounds of the rapids of Khonephapeng Waterfalls. And before I forget, the Vat Phou-World Heritage Site was a mysterious and spiritual experience to me as it was to everybody. The manner in which the Laos people were able to preserve these natural wonders is something to admire them for. Not so many countries have such many gifts from history and nature. How can I apply my knowledge for teaching and learning in the classroom?: Firstly, there are questions in my mind which I’m having a problem answering. Will Laos develop the roads leading to these natural splendors, with huge risk of losing the natural landscape to the influx of commercial vehicles, vendors and volume of local and international tourists exploring the area? Should the Laos government put a limit to the development of the countryside leading to the waterfalls for fear of destroying the natural environment conserved for so many years, even if it means opportunities lost from more visitors? Perhaps these are just some of the questions we can use in the classrooms and encourage our nature-loving students to find efficient and meaningful answers.

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 3

หน้า 5


Laos Tour Experienced by My SNRU Family By: Harry Bruder I am not person who takes group tours. I have not been on a group tour for many years. Then I went to work at SNRU, and everything changed. The trip to Laos was my second SNRU tour. It was a blast. Not only the bus ride was enjoyable, but I made a lot of new friends. The beautiful landscapes in Southern Laos are a sight to be seen. I was in Bus # 1 which had the best tour guide I have ever met. She told us the history of all sites we visited. I am a history buff, and when she explained how places got their names, I was overjoyed. I originally thought there was too much on our agenda. But we got to see everything without rushing. The waterfalls there are the best I have seen in my life. I will never hesitate to go on another SNRU tour. When you tour with SNRU, it is like a family tour. Thank you SNRU.

HUSO VISIT to SOUTHERN LAOS by: Richard Grinchis Among the highlights of our HUSO faculty trip to Southern Laos gave us new experiences of our ASEAN neighbor. Laos showed us vast amounts of wild and untamed landscape, its ancient spiritual heritage and the natural beauty of its rivers and streams which gave us experiences of rain forest habitats, mountain vistas and spectacular waterfalls. Laotian food was delicious, although, as I later discovered, proved problematic for the un-initiated westerner. And as always, when traveling to new places, the human landscape also offers new experiences and some surprises as well. One particular human surprise came in the city of Pakse. Situated on the banks of the Mekong River, Pakse is an emerging city of commerce, temples and university, which gives it and interesting feel of old and new. We were in Pakse to sign documents and strengthen relations with a prominent monastery of the city. While wandering the grounds of the temple Ajarn Kanjana, Ajarn Juthathip and myself found ourselves on a high bank of the Mekong overlooking the river with a beautiwooden boat birthed at the back of the monastery grounds.

ful

The vessel belonged to Mekong Island Tours and is one of 3 that regularly cruises the river to explore its 4,000 islands. Later that day, as we browsed in a local craft shop, its manager introduced himself and as we chatted, found that he was once captain of one of these very river boats. We also discovered that he had studied and traveled extensively in Russia. So, our visit to southern Laos gave us new experiences of natural, cultural and human landscape and a greater appreciation for our neighbor and soon-to-be ASEAN partner.

Page 6

N E W S L E T T ER T I T L E


ขอแสดงความยินดีกบั นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ทีผ่ ่ านเข้ ารอบสั มภาษณ์ โครงการ Singha Biz Coure 5 เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ผา่ นมา หน่วยงานวิเทศสัมพันธ์มหาวิทยาลัยราชภัฎ สกลนคร ร่ วมกับสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ โดยอาจารย์นภาไล ตาสาโรจน์ และ อาจารย์วนิดา ถาปั นแก้ว อาจารย์สาขาวิชา ภาษาต่างประเทศ ได้นาํ นักศึกษาไทย คือ นาย รัฐวัฒน์ ประสี ระเตสัง นักศึกษาชั้นปี ที่ 3 สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์และนักศึกษาต่างชาติ (เวียดนาม) คือ Mr. Khanh Nguyen Ngoc นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 คณะวิทยาการจัดการ เข้าร่ วม สัมภาษณ์โครงการ Singha Biz Course 5 ณ บริ ษทั บุญรอดบริ วเวอรี่ จํากัด กรุ งเทพมหานคร

ค่ ายสานฝันแบ่ งปันความรู้ สู่ น้อง

เมื่อวันที่ 1-3 กุมภาพันธ์ 2556 สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ ได้จดั โครงการ"ค่ายสานฝันแบ่งปั นความรู ้สู่ นอ้ ง" ณ โรงเรี ยนกกตูมประชาสรรค์ รัชมัง คลาภิเษก อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร โดยมีคณาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ เข้าร่ วมกิจกรรม จํานวน 80 คน ซึ่ งเป็ นกิจกรรมการให้ ความรู ้ดา้ นภาษาอังกฤษผ่านการเล่านิ ทาน การร้องเพลง เล่นเกม ทั้งนี้ได้รับการต้อนรับจากผูอ้ าํ นวยการ คณะครู ชุมชน และชาวบ้านกกตูมอย่างอบอุ่น Page 7

N E W S L E T T ER T I T L E


การฟ้ องคดีผ้ ูบริโภค : ชาวบ้ านได้ ประโยชน์ เหตุใดจึงไม่ ใช้ สิทธิ? ปาจรีย์ สุ ริยาชัยวัฒน์ อาจารย์ประจําสาขาวิชานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

“ร้องทุกข์ 1 ครั้ง ดีกกว่าบ่น 1,000 ครั้ง” ประโยคนี้เรามักจะได้ยนิ กันอยูเ่ สมอในการรณรงค์ให้ประชาชนผูบ้ ริ โภคที่ถูกเอารัดเอาเปรี ยบจากผูป้ ระกอบ ธุรกิจหรื อนายทุนหันมาเรี ยกร้องหาความยุติธรรมให้มากยิง่ ขึ้น เพราะที่ผา่ นมา “ ผูบ้ ริ โภค ” ซึ่งส่ วนใหญ่จะเป็ นชาวบ้านตาดําๆ มักไม่อยากร้องทุกข์ เนื่องจาก เห็นว่าเมื่อร้องทุกข์ไปแล้วไม่เห็นจะมีอะไรเกิดขึ้น กระบวนการมีความยุง่ ยากซับซ้อน เสี ยเวลา และไม่คุม้ ค่าที่จะไปเรี ยกร้องเอาจากผูท้ ี่อยูใ่ นสถานะที่เหนือกว่า ผูบ้ ริ โภคจึงเลือกที่จะหลบหนีปัญหา

ทั้งๆที่กฎหมายหลายฉบับต่างบัญญัติให้ความคุม้ ครองกับผูบ้ ริ โภค

โดยเฉพาะอย่างยิง่ หลักเกณฑ์ตามพระราชบัญญัติ

คุม้ ครองผูบ้ ริ โภค พ.ศ. 2522 ถือเป็ นมาตรการที่สาํ คัญของรัฐในการให้ความคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค โดยบัญญัติรับรองสิ ทธิของผูบ้ ริ โภคไว้ 5 ประการ คือ 1. สิ ทธิที่จะได้รับข่าวสาร รวมทั้งคําพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสิ นค้าหรื อบริ การ 2. สิ ทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสิ นค้าหรื อบริ การ 3. สิ ทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรื อบริ การ 4. สิ ทธิที่จะได้รับความเป็ นธรรมในการทําสัญญา 5. สิ ทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสี ยหาย สิ ทธิของผูบ้ ริ โภคทั้ง 5 ประการดังกล่าวนี้จะเป็ นเพียงตัวหนังสื อที่บญั ญัติไว้ในกฎหมายหรื อจะเป็ นสิ ทธิที่บงั คับได้จริ งในทางปฏิบตั ิ ส่ วนหนึ่งก็ ขึ้นอยูก่ บั ประชาชนซึ่งเป็ นผูบ้ ริ โภคว่าจะรักษาสิ ทธิของตนเองมากน้อยแค่ไหน นอกจากนี้ การใช้สิทธิทางศาลโดยอาศัยช่องทางตามพระราชบัญญัติวธิ ีพิจารณาคดีผบู ้ ริ โภค พ.ศ. 2551 ถือเป็ นอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถตอบโจทย์ ในเรื่ องนี้ได้เป็ นอย่างดี เพราะเป็ นมาตรการในการเยียวยาความเสี ยหายที่ค่อนข้างจะมีประสิ ทธิภาพมากที่สุดในปั จจุบนั เพราะก่อนหน้าที่พระราชบัญญัติฉบับนี้ จะมีผลใช้บงั คับ มาตรการเชิงเยียวยาที่ใช้กนั อยูต่ อ้ งบังคับให้เป็ นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งที่ออกแบบมาสําหรับการดําเนินคดีที่คู่ความทั้ง สองฝ่ ายมีสถานะเท่าเทียมกัน โดยมิได้คาํ นึงถึงความแตกต่างของคู่ความทั้งในเรื่ องฐานะทางเศรษฐกิจ ระดับการศึกษา และอํานาจต่อรอง แต่ในคดีผบู ้ ริ โภคซึ่ ง เป็ นข้อพิพาทที่สืบเนื่องมาจากการบริ โภคสิ นค้าหรื อบริ การ ผูป้ ระกอบธุรกิจหรื อนายทุนมักเป็ นฝ่ ายที่มีความรู้และสถานะทางเศรษฐกิจดีกว่าผูบ้ ริ โภค จึงทําให้มี อํานาจต่อรองที่เหนือกว่าส่ งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างผูบ้ ริ โภคกับผูป้ ระกอบธุรกิจอยูบ่ นพื้นฐานของความไม่เท่าเทียมกัน กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งจึงไม่อาจทําให้เจตนารมณ์ในการเยียวยาความเสี ยหายให้แก่ผบู ้ ริ โภคบรรลุวตั ถุประสงค์ได้

หลักการที่บญั ญัติไว้ในประมวล และหากกระบวนการเยียวยาความ

เสี ยหายไม่ได้รับการแก้ไขปรับปรุ งให้เหมาะสมกับคดีผบู้ ริ โภค เท่ากับเป็ นการยอมให้ผปู้ ระกอบธุรกิจที่ขาดจริ ยธรรมยังคงดําเนินธุรกิจต่อไปโดยไม่ตอ้ งนําพา

หน้า 8

ใต้ ร่ มสั ต บรรณ จดหมายข่ า วคณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์


ต่อความเดือดร้อนที่เกิดขึ้นแก่ผบู้ ริ โภค

ผลที่ตามมาก็คือผูบ้ ริ โภคจะถูกเอารัดเอาเปรี ยบในระดับที่รุนแรงขึ้น

และประสบการณ์จากกระบวนการเยียวยาความ

เสี ยหายที่ไม่มีประสิ ทธิภาพ ส่ งผลให้ผบู้ ริ โภคเลือกใช้วธิ ีการเรี ยกร้องความยุติธรรมที่ใช้ความรุ นแรง มีการประจานความบกพร่ องของสิ นค้าโดยการทุบทําลาย สิ นค้าต่อหน้าสาธารณชน ซึ่ งเป็ นการใช้วธิ ีการระงับข้อพิพาทที่ไม่ถูกต้องและกลายเป็ นแบบอย่างที่นิยมทํากันมากขึ้นเรื่ อยๆ จนส่ งผลกระทบต่อระบบธุรกิจการค้า การลงทุนที่แปรผันโดยตรงกับคุณภาพและมาตรฐานของสิ นค้าหรื อบริ การ และในท้ายที่สุด วิกฤตการณ์ดงั กล่าวย่อมส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวติ ของคนในสังคม และระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ “ โดยที่ปัจจุบนั ระบบเศรษฐกิจมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว และมีการนําความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสิ นค้าและบริ การ มากขึ้นในขณะที่ผบู ้ ริ โภคส่ วนใหญ่ยงั ขาดความรู้ในเรื่ องของคุณภาพสิ นค้าหรื อบริ การตลอดจนเทคนิคการตลาดของผูป้ ระกอบธุรกิจ ทั้งยังขาดอํานาจต่อรองใน การเข้าทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ นค้าหรื อบริ การ

ทําให้ผบู ้ ริ โภคถูกเอารัดเอาเปรี ยบอยูเ่ สมอ

นอกจากนี้

เมื่อเกิดข้อพิพาทขึ้นกระบวนการในการเรี ยกร้อง

ค่าเสี ยหายต้องใช้เวลานานและสร้างความยุง่ ยากให้แก่ผบู้ ริ โภคที่จะต้องพิสูจน์ถึงข้อเท็จจริ งต่างๆ ซึ่ งไม่อยูใ่ นความรู ้เห็นของตนเอง อีกทั้งต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการ ดําเนินคดีสูง ผูบ้ ริ โภคจึงตกอยูใ่ นฐานะที่เสี ยเปรี ยบจนบางครั้งนําไปสู่ การใช้วธิ ีการที่รุนแรงและก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างผูป้ ระกอบธุรกิจกับกลุ่มผูบ้ ริ โภค ที่ไม่ได้รับความเป็ นธรรมอันส่ งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ

สมควรให้มีระบบวิธีพิจารณาคดีที่เอื้อต่อการใช้สิทธิเรี ยกร้องของผูบ้ ริ โภค

เพื่อให้ผบู้ ริ โภคที่ได้รับความเสี ยหายได้รับการแก้ไขเยียวยาด้วยความรวดเร็ ว ประหยัดและมีประสิ ทธิภาพ อันเป็ นการคุม้ ครองสิ ทธิของผูบ้ ริ โภค ขณะเดียวกัน เป็ นการส่ งเสริ มให้ผปู ้ ระกอบธุรกิจหันมาให้ความสําคัญต่อการพัฒนาคุณภาพของสิ นค้าและบริ การให้ดียงิ่ ขึ้น จึงจําเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติน้ ี ” ข้อความ ดังกล่าวเป็ นหมายเหตุที่ปรากฏอยูท่ า้ ยพระราชบัญญัติวธิ ี พิจารณาคดีผบู ้ ริ โภค พ.ศ. 2551ซึ่งเป็ นการสะท้อนให้เห็นถึงเหตุผลความจําเป็ นที่รัฐต้องกําหนดมาตรการ ที่มีประสิ ทธิภาพในการเยียวยาความเสี ยหายให้แก่ผบู้ ริ โภค โดยบัญญัติให้การดําเนินกระบวนพิจารณาคดีผบู ้ ริ โภคมีลกั ษณะพิเศษแตกต่างจากกระบวนพิจารณาที่ มีบญั ญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งบางประการ เพื่อให้ผบู ้ ริ โภคสามารถเข้าถึงความยุติธรรมจากศาลได้โดยง่าย สะดวก รวดเร็ ว ประหยัด และ เป็ นธรรมโดยพยายามปรับเปลี่ยนระบบวิธีพิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งซึ่ งมีลกั ษณะค่อนไปในระบบกล่าวหามาเป็ นระบบที่ค่อนไปใน ระบบไต่สวนอันเป็ นการเพิ่มบทบาทของศาลในเชิงรุ กเกี่ยวกับการดําเนินกระบวนพิจารณามากขึ้นไม่วา่ จะเป็ นการให้ศาลเป็ นผูซ้ กั ถามพยานคู่ความหรื อทนาย ความจะซักถามพยานได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากศาล และให้ศาลมีอาํ นาจซักถามพยานเกี่ยวกับข้อเท็จจริ งใดๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับคดีแม้ไม่มีคู่ความฝ่ ายใดยกขึ้นอ้างก็ ตาม และเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมในอันที่จะให้ได้ความชัดแจ้งในข้อเท็จจริ งแห่งคดี ให้ศาลมีอาํ นาจเรี ยกพยานหลักฐานมาสื บได้เองตามที่เห็นสมควร รวมทั้งมีอาํ นาจสัง่ ให้เจ้าพนักงานคดีตรวจสอบและรวบรวมพยานหลักฐานที่จาํ เป็ นแล้วรายงานให้ศาลทราบ อันถือเป็ นเครื่ องมือสําคัญในการที่ศาลจะมีบทบาท เชิงรุ กในการแสวงหาข้อเท็จจริ งได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้นและเพื่อให้ขอ้ พิพาทในคดีผบู ้ ริ โภคเสร็ จเด็ดขาดไปด้วยความรวดเร็ ว พระราชบัญญัติฉบับนี้ได้ เปลี่ยนแปลงระบบวิธีพิจารณาอุทธรณ์ฎีกาจากระบบ 3 ชั้นศาล มาเป็ นระบบ 2 ชั้นครึ่ ง โดยบัญญัติให้คาํ พิพากษาหรื อคําสัง่ ของศาลอุทธรณ์แผนกคดีผบู ้ ริ โภคหรื อ ศาลอุทธรณ์ภาคแผนกคดีผบู ้ ริ โภคเป็ นที่สุดแต่ยงั คงให้สิทธิแก่คู่ความในการยืน่ คําร้องต่อศาลฎีกาเพื่อขออนุญาตฎีกาในปั ญหาข้อเท็จจริ งในคดีที่มีทุนทรัพย์ที่ พิพาทในชั้นฎีกาเกิน 200,000 บาท หรื อในปั ญหาข้อกฎหมายได้ โดยบัญญัติให้ศาลฎีกามีอาํ นาจพิจารณาอนุญาตให้ฎีกาได้เมื่อเห็นว่าปั ญหาตามฎีกานั้นเป็ นปั ญหา ซึ่ งเกี่ยวพันกับประโยชน์สาธารณะ หรื อเป็ นปั ญหาสําคัญอื่นที่ศาลฎีกาควรวินิจฉัย อย่างไรก็ตามผลสัมฤทธิ์ในการบังคับใช้กฎหมายจะเกิดขึ้นหรื อไม่ปัจจัยสําคัญก็ข้ ึนอยูก่ บั มุมมองของผูบ้ ริ โภคต่อการใช้สิทธิของตนเองจะเปลี่ยนแปลง ไปในทิศทางใด เพราะหากผูบ้ ริ โภคเล็งเห็นว่า ผูบ้ ริ โภคมี “สิ ทธิ” ผูบ้ ริ โภคก็มี “หน้าที่” ที่จะต้องรักษาสิ ทธิน้ นั ด้วย และการใช้สิทธิทางศาลโดยอาศัย พระราชบัญญัติวธิ ี พิจารณาคดีผบู ้ ริ โภค พ.ศ. 2551 ไม่ใช่เรื่ องที่อยูไ่ กลตัว การเข้าถึงความยุติธรรมในการบริ โภคสิ นค้าหรื อบริ การก็คงไม่ไกลเกินฝัน เอกสารอ้ างอิง 

ชาญณรงค์ ปราณี จิตต์. (2551). คําอธิบายพระราชบัญญัติวธิ ีพิจารณาคดีผบู ้ ริ โภค พ.ศ. 2551. กรุ งเทพมหานคร: สํานักงานศาลยุติธรรม.



ธานิศ เกศวพิทกั ษ์. (2551). กฎหมายวิธีพิจารณาคดีผบู้ ริ โภคตามพระราชบัญญัติวธิ ีพิจารณาคดีผบู ้ ริ โภค พ.ศ. 2551. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั ยูเนียน อุลตร้าไวโอเร็ ด จํากัด.



ไพโรจน์ วายุภาพ. (2552). คําอธิบายกฎหมายวิธีพิจารณาคดีผบู ้ ริ โภค. กรุ งเทพมหานคร: ร้านสวัสดิการหนังสื อกฎหมายปณรัชช.



พระราชบัญญัติคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค พ.ศ. 2522.



พระราชบัญญัติวธิ ี พิจารณาคดีผบู ้ ริ โภค พ.ศ. 2551.

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 3

หน้า 9


พืน้ พระธาตุพนม : จากวรรณกรรมมุขปาฐะสู่ จารจารึก ภูริภูมิ ชมภูนุช อาจารย์ประจํากลุ่มสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

ตํานานอุรังคธาตุ หรื อ พื้นพระธาตุพนม เป็ นวรรณกรรมที่ สําคัญของกลุ่มเมืองในแอ่งสกลนครและลุ่มแม่น้ าํ โขงบริ เวณใกล้เคียง เป็ นตํานานหรื อ “พื้น” เกี่ยวกับความเป็ นมาของสถานที่และบ้านเมืองบริ เวณนี้ แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเมืองโดยมีศูนย์กลางอยูท่ ี่ภูกาํ พร้าซึ่ งประดิษฐานองค์พระธาตุพนม พระบรม ธาตุที่บรรจุกระดุกส่ วนอกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระธาตุพนมนอกจากเป็ นศูนย์รวมของกลุ่มเมืองแล้วยังเป็ นศูนย์รวมคติความเชื่ อของผูค้ นกลุ่มชนต่างๆ เข้าไว้ ด้วยกันอีกด้วย รวมความเชื่อดั้งเดิมของกลุ่มพื้นเมืองเข้าไว้ภายใต้คติของพุทธศาสนา โดยมีพ้นื พระธาตุพนมเป็ นสิ่ งเชื่อมโยง หนังสื อหรื อเอกสารที่เกี่ยวข้องกับตํานานพระธาตุพนมนั้น เดิมทีเดียวเป็ นต้นฉบับใบลานซึ่ งได้รับการเก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่ งชาติ กรุ งเทพฯ มีดว้ ยกัน 2 ฉบับคือ ฉบับแรกแต่งเป็ นภาษาทางเหนื อหรื ออีสานจารลงใบลาน เป็ นเรื่ องประวัติพระธาตุพนมอย่างย่อ และทราบว่าได้ตน้ ฉบับใบลานนี้ มาจากแถบจังหวัดเพชรบูรณ์ อีกฉบับหนึ่ งเป็ นใบลานที่จารด้วยอักษรไทยโบราณหรื ออักษรธรรมที่ใช้กนั ทางแถบภาคเหนื อและอีสาน มีเนื้ อเรื่ องเป็ นประวัติพระธาตุพนมความพิสดาร ทราบว่าพระ เจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมได้ประทานให้ไว้แก่หอพระสมุดแห่ งชาติ เมื่อ พ.ศ. 2464 ต้นฉบับใบลานความพิสดารนี้ จารด้วยตัวอักษรธรรมลงบนใบลาน ล่องชาด จารึ กชื่อไว้ว่า “อุรังคธาตุ” ต้นฉบับของเดิมแบ่งออกเป็ น 7 ผูก รวมใบลานที่มีอกั ษรจารึ กทั้งสิ้ น 152 ใบ ในจํานวนนี้ มีใบลาน 5 ใบที่จารึ กเพียงหน้าเดียว ส่ วนที่ เหลือทั้งหมดเป็ นการจารึ กทั้งสองหน้า ปั จจุบนั จัดเก็บไว้ในแผนกบริ การหนังสื อโบราณ หอสมุดแห่ งชาติ กรุ งเทพฯ ชั้น 4 ในเลขที่ 36 ข. รหัสจัดเก็บที่ 129 6/5 ต้นฉบับใบลานทั้งสอง ทั้งฉบับความโดยย่อและฉบับความพิสดารข้างต้น ได้รับการปริ วรรตและถอดความออกเป็ นภาษาไทยปั จจุบนั เรี ยบร้อยแล้ว โดยใบ ลานฉบับความโดยย่อนั้น กรมศิลปากรได้ชาํ ระถอดความออกเป็ นอักษรไทยปั จจุบนั แบบตัวต่อตัว และได้พิมพ์เผยแพร่ มาแล้ว 4 ครั้ง ในชื่ อ “ ตํานานพระธาตุพนม” สําหรับฉบับความพิสดาร กรมศิลปากรได้ชาํ ระถอดความออกแบบทีละประโยคแล้วนํามาเรี ยงประโยคใหม่ โดยให้เหตุผลว่าเพื่อให้อ่านเข้าใจได้ง่ายขึ้น และได้ตีพิมพ์ มาแล้วครั้งหนึ่ งเมื่อ พ.ศ.2483 เป็ นที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ อ.ต.หลวงประชุมบรรณาสาร (พิณ เดชะคุปต์) ในชื่ อว่า “ อุรังคธาตุ (ตํานานพระธาตุพนม)” นอกจากนี้ยงั พบว่ามีฉบับที่ตีพิมพ์ลงในใบลานอีก พิมพ์เป็ นอักษรไทยปั จจุบนั โดยสํานักพิมพ์ ส.ธรรมภักดี เมื่อ พ.ศ.2504 ซึ่ งทําการชําระถอดความตัวอักษรออกแบบตัว ต่อตัวโดยมหาสี ลา วีระวงศ์ และยังมีหนังสื อที่แต่งและเรี ยบเรี ยงขึ้นโดยพระเทพรัตนโมลี (แก้ว อุทุมมาลา) อดีตเจ้าอาวาสวัดพระธาตุพนม อีก 2 เล่ม ซึ่ งพบว่าท่านได้ใช้ ต้นฉบับที่ ได้รับการปริ วรรตและถอดความมาแล้วดังกล่าวข้างต้นเป็ นคู่มือประกอบในการแต่ง ได้แก่ หนังสื ออุรังคนิ ทาน : ตํานานพระธาตุพนมความพิสดาร และ หนังสื อประวัติยอ่ พระธาตุพนม ในตอนท้ายของเรื่ องตํานานอุรังคธาตุ กล่าวว่า ... “ข้าพระบาทพระยาไชยชมพู ถวายอุรังคธาตุนิทาน และพระบาทลักษณนิ ทาน ศาสนานครนิ ทานอันนี้ เพื่อให้เป็ นมงคลวุฒิศรี สวัสดี...” ดังนี้ ทําให้ทราบว่าผูเ้ รี ยบเรี ยงเรื่ องอุรังธาตุน้ ี คือ พระยาไชยชมพู และทราบว่าเนื้ อหาของตํานานประกอบไปด้วย ตํานานพระอุรังคธาตุ ตํานานพระพุทธบาท และตํานานของเมืองต่างๆ ซึ่ งผูเ้ รี ยบเรี ยงได้อา้ งว่าเป็ นเรื่ องราวเก่าที่ได้มาจากเมืองอินทปั ตฐนคร การกล่าวถึงพระพุทธเจ้าได้เสด็จผ่านมายังสถานที่ ต่างๆ บริ เวณแอ่งสกลนครและลุ่มแม่น้ าํ โขง เป็ นลักษณะของตํานานพระเจ้าเลียบโลก เมื่อบรรยายว่าพระพุทธองค์เสด็จผ่านสถานที่ใดๆ ก็จะแทรกนิ ทานปรัมปราของ สถานที่น้ นั ๆ เข้าไว้ดว้ ย เช่น แคว้นศรี โคตรบูร มีดอยกัปปนคีรีหรื อภูกาํ พร้า เมืองหนองหารหลวง เมืองหนองหานน้อย ภูกเู วียน (ภูพานในเขตจังหวัดอุดรธานี ) จนถึง ดอยนันทกังฮีหรื อเขตหลวงพระบาง มีนิทานกระฮอกด่อนหรื อนิ ทานผาแดง-นางไอ่ และนิ ทานอุษา - บารถ เป็ นต้น นิ ทานเหล่านี้ เดิมน่าจะเป็ นเรื่ องเล่าแบบมุขปาฐะมา ก่อน และได้นาํ มาแทรกไว้ในโครงเรื่ องของตํานานอุรังคธาตุตาํ นานหลัก เพื่ออธิบายเพิ่มเติมสถานที่ต่างๆ ที่ตาํ นานได้กล่าวถึง แล้วจึงมีการจดบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ในสมัยหลัง ตํานานอุรังคธาตุหรื อพื้นพระธาตุพนม สันนิ ษฐานว่าน่ าจะแต่งขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.2176 – 2181 (จ.ศ.1000) ความสําคัญของพื้นหรื อตํานานนี้ สามารถใช้ ศึกษาและตรวจสอบเรื่ องราวในประวัติศาสตร์ ของล้านช้างและเมืองในแอ่งสกลนครได้ โดยเฉพาะช่วงระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21-22 เพราะมีเรื่ องราวหลายตอนที่เป็ น การจําลองเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์มาสู่ รูปของตํานาน และยังเป็ นแหล่งรวบรวมคติความเชื่อของผูค้ นที่แพร่ หลายอยูบ่ ริ เวณสองฝั่งแม่น้ าํ โขง และสํานึ กอดีตของผูค้ น ต่อดิ นแดนที่ พวกตนได้อพยพเคลื่อนย้ายเข้ามาตั้งหลักแหล่งเป็ นบ้านเมือง กล่าวคือ ทรงคุณค่าทั้งทางด้านประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เป็ นเรื่ องราวที่ อธิ บายถึงมูล เหตุการณ์เกิดของเมืองต่างๆ ตามภูมิศาสตร์ ในตํานาน กล่าวถึงความสัมพันธ์เชื่ อมโยงกันระหว่างกลุ่มเมืองโดยเฉพาะในแอ่งสกลนคร แสดงให้เห็นถึงความสําคัญของ พื้นที่น้ ีวา่ ได้รับเลือกให้เป็ นสถานที่ประดิษฐานองค์พระบรมธาตุบรรจุพระอุรังคธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และแสดงให้เห็นบทบาทและความสําคัญของเมืองในแอ่ง สกลนครต่อราชสํานักล้านช้างในสมัยนั้นด้วย

หน้า 10

ใต้ ร่ มสั ต บรรณ จดหมายข่ า วคณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์


ลักษณะและความสําคัญของตํานานอุรังคธาตุหรื อพื้นพระธาตุพนมประการหนึ่งคือ การประสานความหลากหลายของกลุ่มคนและผสมผสานความ เชื่อดั้งเดิมเหล่านั้นให้อยูภ่ ายใต้คติแบบพุทธศาสนา โครงเรื่ องส่ วนใหญ่จะเป็ นแบบตํานานพระเจ้าเลียบโลก คือ พระพุทธองค์ได้เสด็จผ่านมายังดินแดนต่างๆ แถบนี้ และได้พบกับเจ้าถิ่นดั้งเดิมที่ตาํ นานกล่าวว่าเป็ นนาค ผี หรื อยักษ์ และได้ทรงทรมานให้ยอมรับนับถือพุทธศาสนา มีการขอรอยพระพุทธบาทไว้เพื่อ สักการบูชา มีการสร้างพระธาตุเจดียค์ รอบ เช่นที่พระธาตุเชิงชุม เมืองสกลนคร มีพทุ ธทํานายถึงการตั้งบ้านเมืองตามสถานที่ต่างๆ และพุทธดํารัสสัง่ ให้นาํ เอา พระอัฐิธาตุมาบรรจุไว้ในพระธาตุเจดียเ์ มื่อทรงเสด็จดับขันธ์ปริ นิพพานแล้ว บ้านเมืองจะได้เจริ ญรุ่ งเรื องต่อไปภายหน้า ตํานานยังกล่าวถึงการที่เหล่านาคและฤๅษีต่างพร้อมใจกันอุปถัมภ์เฝ้ าดูแลปกป้ องพระพุทธศาสนาด้วย คอยเฝ้ าบําเพ็ญเพียรบารมีจนกว่าจะได้บรรลุ พระนิพพานในที่สุด แสดงถึงความเชื่อท้องถิ่นดั้งเดิมต่างๆ อยูภ่ ายใต้จุดมุ่งหมายสูงสุ ดคือพระพุทธศาสนา การลดสถานะของความเชื่อดั้งเดิมดังกล่าวนี้จะเห็นได้ อีกกรณี ของเรื่ อง “แถน” ซึ่ งเป็ นคติของกลุ่มคนไท-ลาวมาแต่โบราณ เมื่อเมืองต่างๆ ได้รับเอาแนวคิดพุทธศาสนาเข้ามาผสมผสานทําให้แถนต้องลดสถานะเป็ น เพียงเทพองค์หนึ่งในคติพทุ ธ เฝ้ าปกปั กรักษาคุม้ ครองชาวพุทธ โดยเปรี ยบเทียบกับเทวดาในพุทธศาสนาคือ พระอินทร์ มีหลายอย่างที่บทบาทหน้าที่ของแถนกับ พระอินทร์สบั สนกัน หรื อกล่าวได้วา่ เป็ นคติที่ตรงหรื อคล้ายคลึงกัน โดยเฉพาะเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับชีวติ ประจําวันของโลกมนุษย์ ความอุดมสมบูรณ์ เรื่ องของฟ้ า และฝน ตํานานอุรังคธาตุถือได้วา่ มีความสําคัญต่อโครงสร้างความสัมพันธ์ของกลุ่มเมืองในแอ่งสกลนครอย่างยิง่ เพราะตํานานได้กล่าวถึง ภูมิหลังการเกิดขึ้น ของเมืองและสถานที่ต่างๆ ตามภูมิศาสตร์ในตํานาน และความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างเมืองต่างๆ เหล่านั้น ตั้งแต่สมัยตํานานจนถึงสมัยประวัติศาสตร์ลา้ นช้าง อย่างไรก็ตาม บทบาทและความสําคัญดังกล่าวได้สืบทอดต่อมายังเมืองในแอ่งสกลนครในสมัยหลังดัวย ถึงแม้วา่ เมืองต่างๆ ในสมัยต่อมาส่ วนใหญ่แล้วจะเป็ น ชุมชนเกิดใหม่ ภายหลังที่ศูนย์กลางที่เวียงจันทน์ล่มสลายไปแล้ว แต่ปูชนี ยสถานสําคัญที่พระธาตุพนม พระธาตุเชิงชุม และที่อื่นๆ ยังคงอยู่ ผูค้ นกลุ่มใหม่ที่ หลากหลายทางวัฒนธรรมเมื่อเข้ามาตั้งบ้านเมืองในแอ่งสกลนครแล้วได้อยูภ่ ายใต้ความสัมพันธ์ของกลุ่มเมืองที่ปรากฏตามตํานานนี้ คงจะไม่ผดิ นักหากจะกล่าวว่า ความผูกพันตามตํานานอุรังคธาตุหรื อพื้นพระธาตุพนมทําให้เมืองต่างๆ มีสาํ นึกว่ามีอดีตที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั โดยมี พระธาตุเจดียต์ ่างๆ เป็ นสิ่ งเชื่อมโยง โดยเฉพาะพระธาตุพนมที่ภูกาํ พร้า ความสัมพันธ์น้ ีมีขอบเขตไปถึงดินแดนทางฝั่งซ้ายแม่น้ าํ โขงด้วย ซึ่ งเป็ นบ้านเมืองดั้งเดิม ของกลุ่มคนหลากหลายที่เคลื่อนย้ายเข้ามาในแอ่งสกลนครนัน่ เอง ทําให้ผคู ้ นมีความรู ้สึกว่าเป็ นการเคลื่อนย้ายภายในท้องถิ่นเดียวกันหรื อระหว่างดินแดนของ ท้าวพญาซึ่ งเคยมีความเกี่ยวข้องกันในตํานาน กล่าวคือ พระยาคําแดงเมืองหนองหานน้อย พระยาสุ วรรณภิงคารเมืองหนองหานหลวง พระยานันทเสน เมืองศรี โคตรบูร และพระยาจุลนีพรหมทัต เมืองจุลนี เขตเวียดนาม เป็ นต้น

ภาพการรวมกลุ่มของเมืองตามตํานานอุรังคธาตุที่มา : “อุรังคธาตุ (ตํานานพระธาตุพนม),” ใน งาน สัมมนาทางวิชาการเรื่ องวรรณกรรมสองฝั่งโขง, พิมพ์ครั้งที่ ๓ (กรุ งเทพฯ : เรื อนแก้วการพิมพ์, ๒๕๓๗) พื้นพระธาตุพนม วรรณกรรมบอกเล่าที่ได้รับการจารจารึ ก ยังเป็ นหลักฐานชั้นดีที่แสดงให้เห็นว่า “ประชาคมอาเซี ยน” ที่กาํ ลังใฝ่ ฝันรอคอย เคยเป็ น เคยมีมาแล้วในอดีต และการย้อนอดีตก็ควรมองให้ยาวกว่าวันวานที่เพิ่งผ่านไปเพียงร้อยกว่าปี และบางที “สํานึกอดีตร่ วมกัน” ก็โสภากว่าข้อเท็จจริ งอัน เจ็บปวด !!!

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 3

หน้า 11


ข่ าวประชาสั มพันธ์ สาขาวิชาภาษาไทย สุ ขสั นต์ สุ ขขี ส่ งท้ ายปี 2555 เมื่อปลายปี 2555 ที่ผา่ นมา สาขาวิชาภาษาไทยได้จดั งานสังสรรค์ระหว่างคณาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชา ภาษาไทยขึ้น ภายในงานมีการแสดงของนักศึกษา การเล่นเกม การจับฉลากของขวัญและของรางวัลมากมาย รวมถึงการร่ วมรับประทานอาหาร - เครื่ องดื่ม บรรยากาศในงานเต็มไปด้วยรอยยิม้ เสี ยงหัวเราะ ความสนุกสนานส่ งท้ายปี เก่า ก่อนจะก้าวเข้าสู่ ปี 2556

สาขาวิชาภาษาไทยจัดโครงการ “ศึกษาดูงานสื่ อมวลชน วัดและวัง สาขาวิชาภาษาไทยจัดโครงการศึกษาดูงานสื่ อมวลชน วัดและวัง ขึ้นเป็ นประจําทุกปี เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์และเป็ นการ เรี ยนรู ้นอกห้องเรี ยนให้กบั นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทยชั้นปี ที่ 2 ในปี นี้จดั ขึ้นเมื่อวันที่ 21-25 มกราคมที่ผา่ นมาอาจารย์ดนัย ชาทิพฮด ประธานสาขาวิชาฯและคณาจารย์ทุกท่านในสาขาวิชาได้นาํ นักศึกษาไปเยีย่ มชมการทํางานของสื่ อมวลชนที่สถานีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 7 ช่วงรายการ “คันปาก” ต่อด้วยสํานักพิมพ์ไทยรัฐและสถานีวทิ ยุกระจายเสี ยงแห่งประเทศไทย รวมทั้งการเยีย่ มชม พระบรมมหาราชวัง วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดอรุ ณราชวรารามและพระราชวังเดิมเพื่อศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีอนั เปี่ ยมด้วยคุณค่าของไทย ปิ ดท้ายโครงการด้วยการเดินทางไปจังหวัดสมุทรสาครและเพชรบุรีเพื่อชมการทํานํ้าตาลมะพร้าว ชม ทิวทัศน์ธรรมชาติและปลูกต้นโกงกางนักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการต่างกล่าวเป็ นเสี ยงเดียวกันว่าโครงการนี้ นอกจากจะให้ท้ งั ความรู้และ ความสนุกแล้ว พวกเขายังได้ภาคภูมิใจที่ได้เป็ นส่ วนหนึ่งของการดูแลสิ่ งแวดล้อมไทยด้วย

บรรยากาศห้ องส่ งรายการ “คันปาก” สถานีโทรทัศน์ สีกองทัพบกช่ อง 7

รับฟังการบรรยายความรู้ เรื่องการตัดต่ อภาพเสี ยง ภายในห้ องส่ งและห้ องควบคุมรายการ หน้า 12

ใต้ ร่ มสั ต บรรณ จดหมายข่ า วคณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์


บริเวณด้ านหน้ าสํ านักพิมพ์ไทยรัฐ

ถ่ ายรู ปเป็ นทีร่ ะลึกบริเวณหน้ าสถานีวทิ ยุกระจายเสี ยงฯ

สํ านักพิมพ์ มอบหนังสื อพิมพ์เป็ นทีร่ ะลึก

นักศึกษาถามคําถามหลังฟังบรรยาย

เทีย่ วชมและฟังบรรยายที่พระบรมมหาราชวัง

ความสนุกของการปลูกป่ าโกงกาง

หน้า 13

ใต้ ร่ มสั ต บรรณ จดหมายข่ า วคณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์


สิ่ งเล็กๆที่ยงิ่ ใหญ่ ผูเ้ ขียนเป็ นคนหนึ่งที่เชื่อว่าความสุขเกิดจากการมองเห็นความสวยงามของสิ่ งเล็กๆ และสิ่ งเล็กๆ ที่วา่ นั้นมักจะ “อยูใ่ กล้ตวั เราเสมอ” แต่ในความเป็ น จริ งจะมีสกั กี่คนนักที่มองเห็นมัน หลายครั้งที่ภาระหน้าที่ของเราบดบังสายตา ความเครี ยดทําให้เราปิ ดหัวใจ จดจ่ออยูก่ บั กองงานตรงหน้า จนกระทัง่ ทอดทิ้งกอ ดอกไม้เล็กๆ หลากสี สนั ที่แซมอยูก่ บั หญ้าสี เขียวริ มทางเดิน (เข้าคณะฯ) ไปเสี ยสนิท เมื่อผูเ้ ขียนได้รับมอบหมายให้สอนรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการเขียน ซึ่งถือว่าเป็ นความท้าทายอย่างยิง่ ในชีวติ (เพราะคงเป็ นที่ทราบกันดีวา่ การนัง่ อ่าน ลายมือที่ยงุ่ เหมือนกับไก่ร้อยตัวมาเขี่ยดินพร้อมๆกันนั้นสาหัสแค่ไหน)เบื้องต้นผูเ้ ขียนได้นาํ หลักการเขียนต่างๆ มาบรรยายให้แก่นกั ศึกษา และได้พบว่าหลักการ ต่างๆ นั้นไม่สาํ คัญเท่ากับ “การลงมือปฏิบตั ิจริ ง” จึงคิดว่าควรให้นกั ศึกษาฝึ กเขียนให้มากที่สุด แต่นกั ศึกษาสมัยนี้ก็มีนอ้ ยเหลือเกินที่จะไม่ร้องโอดโอย (อย่างกับ เราจะให้ไปออกรบ) หลังจากผูเ้ ขียนสัง่ งานที่มีความยาวขนาด “หนึ่งกระดาษเอ 4” ผูเ้ ขียนจึงต้องปรับวิธีการ นัน่ คือ ให้ฝึกเขียนทีละน้อยๆ ไปหามากขึ้น เริ่ มจาก ตั้งชื่อภาพ เขียนข้อความบรรยายภาพ จนกระทัง่ เขียนสารคดีไม่ต่าํ กว่า 3 หน้ากระดาษ แต่จะให้นกั ศึกษาของเราเขียนหัวข้ออะไรดีหนอ? อะไรที่จะให้พวก เขาได้ฝึกคิด? อะไรที่ไม่ยากแต่ไม่ง่าย? อะไรที่วา่ นี้มนั คืออะไรกันนะ? วันหนึ่งเทวดาฟ้ าลิขิตให้ผเู ้ ขียนได้ชมคลิปสั้นๆ ชื่อรายการ “แพรวาคืนถิ่น” หลังจากชมเสร็ จ คติที่เคยบอกตนเองก็แว้บขึ้นมาในหัว นัน่ ไงล่ะ! “การ มองเห็นความสวยงามของสิ่ งเล็กๆใกล้ตวั ” เรามัวแต่คิดไปไกลแท้ๆ ดังนั้นผูเ้ ขียนจึงได้มอบหมายให้นกั ศึกษาเขียนสารคดีท่องเที่ยวหมู่บา้ นของตนเองสั้นๆ ขนาด 3 หน้ากระดาษ มาส่ งหลายคนโอดครวญว่าหมู่บา้ นหนูไม่เห็นมีที่เที่ยวตรงไหนเลย ผูเ้ ขียนจึงบอกออกไปว่า “ไปหาดูก่อน อาจจะเป็ นวัดวาอาราม โรงเรี ยน หรื อร้านส้มตําแซ่บๆก็ได้” นักศึกษาก็พยักหน้าหงึกหงักและมีสีหน้าหนักใจ บางคนมาขอต่อรองเวลาส่งงานก็มี เมื่ออ่านผลงานของทุกคนจนครบ ผูเ้ ขียนพบว่า หลายคนสามารถถ่ายทอด “สิ่ งที่ตาเห็นและใช้ใจสัมผัส” ออกมาได้อย่างลึกซึ้ง บางคนบอกว่าไม่เคย รู ้จกั ประวัติหมู่บา้ นตัวเอง ไม่เคยมองเห็นความสวยงามของต้นข้าวข้างทาง ไม่เคยรับรู ้วา่ อากาศที่บา้ นนั้นบริ สุทธิ์แค่ไหนจนได้หยุดมองและเขียนถ่ายทอด ออกมา ผูเ้ ขียนจึงขออนุญาตนําพื้นที่เล็กๆ ของวารสารนี้มาบรรจุ “เรื่ องเล่า” จากมุมมองเล็กๆ แต่ทว่าลึกซึ้งของนักศึกษาที่คน้ พบ “ความสวยงามของดอกไม้ เล็กๆ ข้างทางเดินเข้าหมู่บา้ นของตนเอง” ผลงานชิ้นแรกเป็ นของนางสาวกนิษฐา สุ วรรณไชยรบ ชั้นปี ที่ 1 สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่ อสาร ผูบ้ อกเล่าเรื่ องราวหมู่บา้ นตนเองด้วยชื่อเรื่ องที่ ตรงกับชื่อหมู่บา้ น เนื้อเรื่ องและภาษาเรี ยบง่ายแต่สื่อให้เห็นความอุดมสมบูรณ์และความสุ ขที่อบอวลอยูใ่ นหมู่บา้ นที่เธอรัก เชิญอ่านได้ ณ บัดนี้ ...

หมู่บ้านนาซอ วันศุกร์ วนั นี้ ก็ยงั เหมือนกับทุกวันทุกคนยังใช้ชีวิตปกติตามภาระหน้าที่ของตนเอง แต่หวั ใจของฉันกลับลิงโลดรู ้สึกว่าโลกทั้งใบมันช่างสดใส พิเศษกว่าทุกๆวัน เพราะว่าวันนี้ ฉนั จะได้กลับบ้านถึงแม้จะได้กลับบ้านเกือบทุกอาทิตย์แต่ไม่เคยมีสักครั้งที่ฉนั จะรู ้สึกเบื่อ ตรงกันข้ามฉันจะมีความสุ ขที่ได้ กลับบ้านไปหาพ่อแม่ ญาติพี่นอ้ งทุกคน กลับไปยังที่ที่ฉนั เคยจากมา ปกติฉนั จะกลับบ้านเย็นวันพฤหัสบดีเพราะวันศุกร์ ไม่มีเรี ยน แต่ครั้งนี้ ฉันเลือกที่จะกลับเช้าวันศุกร์ ฉันตื่นแต่เช้าทําธุระส่ วนตัว เก็บเสื้ อผ้ายัดใส่ กระเป๋ าเป้ เมื่อทุกอย่างเรี ยบร้อยปิ ดไฟปิ ดหน้าต่าง ล็อคประตูหอ้ ง และไม่ลืมที่จะลาคุณตากับคุณยายเจ้าของหอพักที่ฉันพักอยูแ่ ละพี่ๆข้างห้องอย่างเช่นทุก ครั้ง ขณะที่เดินออกมาหน้าปากซอยผูค้ นเดินกันขวักไขว่ ร้านค้า ร้านขายกับข้าวที่อยูส่ องข้างทางต่างทยอยเปิ ดกันหนาตา ดวงตะวันสี ส้มอมแดงสู งโด่งขึ้น เรื่ อยๆมันบอกเวลาว่าเริ่ มสายแล้วไม่นานนักก็เดินมาถึงที่หมาย ฉันนัง่ ลงม้าหิ นอ่อนหน้าเซเว่น-อีเลฟเว่น สาขามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เพื่อรอรถประจําทางสายสกล-บ้านม่วง สักพักฉันก็เห็นรถคันหนึ่ ง วิ่งมาเทียบป้ ายรถประจําทาง เสี ยงบีบแตร แปร๋ นๆ เหมือนกับจะบอกว่ารถมาแล้วรี บๆหน่ อย ฉันนัง่ ลุน้ ว่าเป็ นรถสายที่จะขึ้นหรื อเปล่า และแล้วก็ใช่จริ งๆ ด้วย เมื่ อสายตาฉันปะทะกับตัวหนังสื อ สกล-บ้านม่ วง ตัวเบ้อเริ่ มที่หน้ารถพอรถจอดฉันก็รีบวิ่งขึ้ นรถเลือกนั่งช่ วงกลางๆค่อนมาข้างหน้าหน่ อยวันนี้ ผูโ้ ดยสารไม่มากเบาะค่อนข้างว่างจึงเลือกที่นงั่ ได้ ยังไม่ทนั จะนัง่ ลงเบาะเสี ยงโทรศัพท์กด็ งั ขึ้น ฉันล้วงโทรศัพท์ที่อยูใ่ นกระเป๋ ากางเกงออกมาดูวา่ ใครโทรฯมานะ มิน เพื่อนรัก ปรากฏที่หน้าจอนัน่ ทําให้ฉนั ดีใจมาก หัวใจเต้นแรงเหมือนจะทะลักออกมาข้างนอก พอฉันกดรับสายก็ได้รู้วา่ ป๊ อบ ก็อยูใ่ นสายด้วยเราประชุมกันสามสายคุยกันมาระหว่างทางมี เรื่ องสนุกมากมายมาเล่าสู่ กนั ฟั ง แต่วนั นี้ผ้ งึ กับนิดไม่ได้โทรฯหาคงจะยุง่ อยู่ มินเป็ นเพื่อนที่ ฉันรักและห่วงมาก เธอเคยบอกว่ากลัวที่จะออกไปเผชิญชีวติ นอก รั้วโรงเรี ยน ฉันบอกว่าไม่มีอะไรน่ากลัว แต่เอาเข้าจริ งๆแล้วเธอเข้มแข็งและสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุ ข ฉันต่างหากล่ะที่กลัวไปซะทุกสิ่ งเมื่อมาใช้ ชีวติ ลําพังที่นี่ มันเคว้งและอ่อนแอลงทุกวัน พวกเรามีกนั อยูห่ า้ คนเรารักและหวังดีต่อกันตลอดมา คอยให้กาํ ลังใจกันในวันที่คนใดคนหนึ่ งล้มลงและคอยยืน่ มือฉุ ดให้ลุกขึ้น แม้วนั นี้ เราต่างมีทางเดินทั้งเลือกเองและถูกบังคับให้เลือก อาจจะไม่ได้เจอกัน คุยกัน นัง่ กินข้าวด้วยกันบ่อยๆอย่างเมื่อก่อนแต่เรามักหา โอกาสเหมาะๆนัดเจอกันเสมอและเราสัญญากันไว้แล้วว่า “เราจะไม่ลืมกัน”

หน้า 14

ใต้ ร่ มสั ต บรรณ จดหมายข่ า วคณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์


ฉันคุยโทรศัพท์ไปพร้อมกับมองดูขา้ งทางเห็นทิวเขาอยูไ่ กลลิบๆทุ่งนาเขียวขจีทาํ ให้ฉนั คิดถึงบ้านมากขึ้น เห็นฝูงเป็ ดหลายฝูงมีคนต้อนมันอยูห่ ่ างๆ ดูแล้ว นึกไปถึงคนเลี้ยงวัวแต่นี่คนเลี้ยงเป็ ด ฮ่าๆฉันหัวเราะขึ้นอย่างอารมณ์ดี กลิ่นหอมๆโชยมาเตะจมูกทําให้ฉันรู้ว่าถึ งสี่ แยกพังโคนแล้ว กลิ่ นหอมๆนั้นคื อกลิ่ นปิ้ งไก่นั่นเอง ปิ้ งไก่ พงั โคนเป็ นอาหารอย่างหนึ่ งที่ข้ ึ นชื่ อของ จังหวัดสกลนคร ไก่ตวั โตๆ สี เหลืองนํ้าตาล เนื้อนุ่ม หอมชวนนํ้าลายไหล รสชาติกลมกล่อม ใครมาอําเภอพังโคนแล้วไม่แวะชิมหรื อซื้ อติดไม้ติดมือกลับบ้านถือ ว่ายังมาไม่ถึงพังโคน ในขณะที่รถแล่นฉันก็คุยโทรศัพท์ไปตลอดทาง “วานรครับ วานร” เสี ยงกระเป๋ ารถร้องบอกผูโ้ ดยสาร ด้วยอาการที่ตกใจกับการนอน ฉัน ก็วิ่งลงจากรถฉันไม่รู้ว่าถึงอําเภอวานรนิ วาสตั้งแต่เมื่อไหร่ รู ้แต่ว่าหูของฉันร้อนแทบจะไหม้ โทรศัพท์ก็ร้อนแทบจะระเบิดเพราะฉันคุยโทรศัพท์ประมาณสอง ชัว่ โมงกว่าๆ พอลงจากรถฉันก็เห็นพ่อมายืนรอรับอยูแ่ ล้ว แล้วฉันก็นงั่ ซ้อนท้ายมอเตอร์ ไซค์ของพ่อกลับบ้าน จนบัดนี้แหละฉันถึงได้วางสายจากเพื่อนๆเพราะ คุยไม่ค่อยรู ้เรื่ องลมมันพัดแรง พอถึงบ้านฉันก็ข้ ึนบันไดวางกระเป๋ าแล้วก็วิ่งเข้าไปกอดแม่หยอกแม่ แม่หาข้าวมาให้ฉนั ทานทําเอาฉันนํ้าตาซึ ม แม่มกั เป็ นอย่างนี้ เสมอพอรู ้ว่าลูกจะกลับบ้านก็ทาํ อาหารอร่ อยๆไว้รอ ฉันใช้เวลานั้นอยูก่ บั พ่อแม่นอนดูทีวีพอพลบคํ่าฉันก็อาบนํ้านัง่ ล้อมวงทานข้าวกับครอบครัวตามประสา ชาวบ้านเรา คํ่าคืนนี้มืดมิดมีเพียงแสงหิ่ งห้อยกับแสงไฟจากหลอดนีออนเท่านั้นที่ยงั สว่างไสว รุ่ งเช้าฉันอาบนํ้าแต่งตัวไปบ้านอา ประจวบเหมาะกับอากําลังจะไปวัดฉันจึงขอไปด้วย วัดตั้งอยูท่ า้ ยหมู่บา้ นทางด้านทิศตะวันตก เป็ นวัดป่ าชื่ อว่า “วัดป่ าจําปาศิลาวาส” ก่อตั้งโดยพ่อขุนชํานาญ ซึ่ งเป็ นคนแรกที่เข้ามาก่อตั้งบ้านนาซอและหลวงปู่ สรวง สิ ริปุญโญ ท่านเคร่ งในศาสนาและปฏิบตั ิตนอยู่ใน ศีลธรรมมาโดยตลอดปัจจุบนั ท่านเป็ นเกจิอาจารย์ดงั ส่ วน “วัดป่ ากุดยางชุม” เพิ่งตั้งขึ้นมาใหม่เมื่อไม่นานมานี่ เอง ฉันไม่ค่อยจะมีโอกาสได้ไปสักเท่าไหร่ เพราะ ค่อนข้างจะอยูไ่ กลบ้าน ไม่นานนักก็มาถึงวัด เราเข้าไปนัง่ ในศาลา กราบสามครั้งแล้วไปใส่ บาตร ของที่เราใส่ บาตรก็เป็ นข้าวเหนี ยว ขนม ส่ วนอาหารก็ใส่ ปิ่นโต มาอยูแ่ ล้ว พระให้ศีลให้พรเสร็ จเราก็พากันกลับบ้าน ระหว่างกลับบ้านก็ผ่านโรงเรี ยนบ้านนาซอ เมื่อก่อนฉันก็เคยเรี ยนอยูท่ ี่ นี่ต้ งั แต่อนุ บาล 1 จนถึ งมัธยมศึกษาปี ที่ 3 จึ งได้ไปต่อที่ อื่น โรงเรี ยนบ้านนาซอเป็ น โรงเรี ยนขยายโอกาสมีบุคลากรเก่งๆหลายคน ฉันมองเข้าไปทุกอย่างมันเปลี่ยนไปมากมีอาคารเรี ยนเพิ่มขึ้น มีการต่อเติมและสร้างสิ่ งต่างๆทิวทัศน์สวยงาม ร่ ม รื่ น ฉันละตาจากโรงเรี ยนแล้วรี บกลับบ้านเพราะเริ่ มสายแดดก็เริ่ มแรงขึ้น พอถึงบ้านอาฉันก็หาข้าวหาปลามาให้ทาน ฉันนึ กในใจว่าทําไมอาฉันชอบทําเหมือน แม่ คอยเอาใจหาของอร่ อยๆมาให้ทาน ทั้งที่อาก็ไม่ใช่นอ้ งของแม่แต่เป็ นน้องของพ่อ แต่ฉนั ก็รู้แล้วล่ะว่าทําไมก็เพราะพวกเขารักฉันนัน่ เอง ขณะที่ฉนั นัง่ ทานข้าวอยูห่ น้าบ้าน ลุงเพชรก็มานัง่ เล่นกับเพื่อนอีกหลายคนอยูห่ น้าบ้านใกล้กบั ตรงที่ฉันนัง่ ทานข้าว ฉันเอ่ยชวนลุงเพชรทานข้าว ลุง แกบอกว่า “เซิ ญแซ่ บ ลุงอิ่มแล้ว” (เชิญอร่ อย ลุงอิ่มแล้ว) ฉันจึงถือโอกาสให้ลุงเพชรเล่าประวัติหมู่บา้ นนาซอให้ฟัง เพราะลุงเพชรเป็ นกรรมการหมู่บา้ นและ เป็ นคนเก่าคนแก่ ลุงแกน่ าจะรู ้ดีลุงเพชรเล่าว่า หมู่บา้ นนาซอเป็ นหมู่บา้ นที่คนเผ่าไทโย้ย ย้อ โซ่ ง และเผ่าจากจังหวัดอุบลราชธานี อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่หมู่บา้ นนาซอ สาเหตุที่เรี ยกว่า นาซอ อาจจะเป็ นเพราะเมื่อก่อนมีทุ่งนาอยูล่ อ้ มรอบหมู่บา้ น คนสมัยก่อนเรี ยกว่านาซ้องบ้าน ต่อมาจึงเพี้ยนเป็ นนาซอ มีผใู ้ หญ่บา้ นคนแรกชื่ อ นายเก่ง ปัญจันทร์สิงห์ เมื่อก่อนยังเป็ นตําบลขัวก่าย เมื่อ พ.ศ.2522 จึงได้แยกออกมาเป็ นตําบลนาซอ มี 9 หมู่บา้ น ปั จจุบนั ตําบลนาซอได้เปลี่ยนเป็ นเทศบาลตําบลนาซอ โดยมีนางสาวจุลยั รัตน์ ไตรวงค์ยอ้ ย ดํารงตําแหน่งนายกเทศมนตรี บ้านนาซอมีสองหมู่บา้ นคือ บ้านนาซอหมู่ 1 มีนายลําไชย แสดคง ดํารงตําแหน่งผูใ้ หญ่บา้ น และบ้านนาซอหมู่ 10 มีนายกาวัน ศรี เทพ ดํารงตําแหน่งผูใ้ หญ่บา้ น ฉันจึงได้รู้ความเป็ นมาของ หมู่บา้ นเพิ่มขึ้น แล้วลุงแกไปคุยอะไรไม่รู้กบั เพื่อนบ้าน พอใกล้เที่ยงพ่อกับแม่ของฉันก็มาจากป่ าซึ่ งท่านได้ไปหาเห็ดในป่ าละเมาะใกล้ๆหมู่บา้ น ได้เห็ดเผาะ เห็ดละโงก เห็ดก้ามปู และเห็ดดินต่างๆเยอะแยะเลย จากนั้นอากับแม่ก็นาํ เห็ดไปล้างนํ้าหลายๆนํ้าให้สะอาดแล้วนําหม้อใส่ น้ าํ ขึ้นตั้งเตา ใส่ เห็ดลงไป นํ้าเดือดก็ปรุ งรส เห็ดสุ กจึงยกลงจากเตาตักใส่ ถว้ ยพร้อมเสิ ร์ฟ ลุงเพชรเล่าว่า หมู่บา้ นนาซอเป็ นหมู่บา้ นที่คนเผ่าไทโย้ย ย้อ โซ่ง และเผ่าจากจังหวัดอุบลราชธานี อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยูท่ ี่หมู่บา้ นนาซอ สาเหตุที่เรี ยกว่า นาซอ อาจจะเป็ นเพราะเมื่อก่อนมีทุ่งนาอยูล่ อ้ มรอบหมู่บา้ น คนสมัยก่อนเรี ยกว่านาซ้องบ้าน ต่อมาจึงเพี้ยนเป็ นนาซอ มีผใู ้ หญ่บา้ นคนแรกชื่อ นายเก่ง ปั ญจันทร์ สิงห์ เมื่อก่อนยังเป็ นตําบลขัวก่าย เมื่อพ.ศ.2522 จึงได้แยกออกมาเป็ นตําบลนาซอ มี 9 หมู่บา้ น พอทานข้าวเที่ยงเสร็ จฉันจึงชวน นัน ญาติที่อยูข่ า้ งบ้านขับมอเตอร์ไซค์ไปเล่นท้ายหมู่บา้ นด้านทิศใต้ของหมู่บา้ นมีกลุ่มจักสาน ฉันกับนัน จึงแวะ เข้าไปดู ที่นี่ส่วนมากแล้วก็มีแต่ผสู้ ู งอายุที่วา่ งจากการทํางานมารวมกลุ่มทําอาชี พเสริ มหารายได้ ที่สาํ คัญไปกว่านั้นฉันคิดว่าคงจะมาหาเพื่อนคุยมากกว่า สิ่ งที่ นิยมสานกันก็คือ หวดนึ่งข้าวเหนี ยว กระติ๊บข้าว สุ่ มไก่ แหทอดปลา สวิง ไกลออกไปจะมีหนองนํ้าขนาดใหญ่ ชาวบ้านเรี ยกว่า “หนองสิ ม” เป็ นหนองนํ้าของ หมู่บา้ นไว้ให้ชาวบ้านจับปูจบั ปลากินกัน สักพักฉันจึงชวนนันกลับบ้านเพราะมันบ่ายแก่ๆแล้ว ไม่น่าเชื่อว่าบ่ายแก่ขนาดนี้ แล้วที่นี่ยงั เย็นสบาย ทุ่งนาเขียวขจี มองดูแล้วเย็นสบายตา เพราะอย่างนี้ฉนั จึงรักและหวงแหนที่นี่มากไม่อยากให้ใครมาทําลายสิ่ งต่างๆที่มีอยูห่ รื อเปลี่ยนแปลงไป การกลับบ้านทุกครั้งถือว่าครบรสมีท้ งั อาหารอร่ อยที่หาได้ตามฤดูกาล บรรยากาศสวยๆ ทุ่งนาเขียวขจีหรื อท้องทุ่งสี ทองช่ วงเดื อนตุลาคม-พฤศจิกายนและ อบอวลไปด้วยความสุ ข อีกทั้งความน่ ารักของผูค้ น มีความเอื้ออาทรต่อกัน เหมาะกับผูท้ ี่ชอบเที่ยวบรรยากาศสวยๆเย็นสบาย อากาศบริ สุทธิ์ อาหารพื้นบ้าน อร่ อยๆ ใครที่รักสายลม แสงแดด และท้องนา รับรองว่าหมู่บา้ นนาซอของเราไม่ทาํ ให้คุณผิดหวังอย่างแน่นอน หน้า 15

ใต้ ร่ มสั ต บรรณ จดหมายข่ า วคณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์


โครงการ Story Telling Award : ยอดนักเล่ านิทาน

คณะมนุ ษ ยศาสตร์ และสั ง คมศาสตร์

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้จดั กิจกรรมการประกวดเล่านิทานภาษาไทยและภาษา

มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สกลนคร

จดหมายข่ า ว คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละ สั ง คมศาสตร์

อังกฤษ ตามโครงการ Story Telling Award : ยอดนักเล่านิทาน ครั้งที่ 1 ประจําปี การศึกษา 2555 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 เพื่อชิงรางวัลและเกียรติบตั ร

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 680 ม. 11 ถ.นิตโย ต.ธาตเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร รหัสไปรษณี ย ์ 47000 โทรศัพท์ 042-744014 โทรสาร 042-74 4014

ทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ อ.รัฐพล ฤทธิธรรม อ.ดร.ไพสิ ฐ บริ บูรณ์ อ.ปริ ฉตั ร ภูจิตร อ.วิชาญ ฤทธิธรรม

ผลการประกวดเล่ านิทานภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น

ผอ.สมเสน่ห์ อุปพงษ์



กองบรรณาธิการ

รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เด็กชายบุญหลาย หนูจนั ทร์ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนบ้าน หนองหอย อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร

อ.สิ ริลกั ษณ์ จิระวัฒนาสมกุล

ผลการประกวดเล่ านิทานภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

อ.ญาตาวี มาลาทอง



อ.นภาไล ตาสาโรจน์

รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ นางสาวณัฐทริ กา บุษบา นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนอุเทน พัฒนา อําเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม

อ.ชมพูนุช สมแสน

ผลการประกวดเล่ านิทานภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น

อ.กันยารัตน์ มะแสงสม



อ.ภูริภูมิ ชมพูนุช

รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เด็กหญิงดุจฤทัย หงษ์ศรี เมือง นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยน เรณูนครวิทยานุกลู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม

อ.เสริ มวิช บุตรโยธี

ผลการประกวดเล่ านิทานภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

อ.อุทุมพร หลอดโค



รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ นายณัฐกร ยงยันต์ โรงเรี ยนเรณูนครวิทยานุกลู อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม

“ซาตาน” ประกาศศึกกับพระผูเ้ ป็ นเจ้าเพื่อสถาปนาความจริ งที่ถูกกดเก็บ สิ่ งที่ปรากฏคือความพ่ายแพ้และคําประนาม แต่การต่อสู ้หาได้จบไม่เพราะความจริ งและสัจธรรมอันเป็ นนิรันดร์ไม่เคยมีจริ ง สิ่ งที่ปรากฏคือคําสาปที่ผชู ้ นะใช้เพื่อครอบงําความจริ ง ไม่เหตุผลที่อยูเ่ ป็ นนิรันดร์ไม่มีสจั ธรรมที่คงอยูช่ วั่ กาลสมัย การต่อสู้ครั้งนี้ไม่ใช่ครั้งสุ ดท้าย เพราะเมื่อมีคนต้องทนทุกข์ ความเก็บกดจะสร้างพลังและผลักดันให้เขาลุกขึ้นสู้ เมื่อนั้นสงครามจะเกิดขึ้น และแสงสว่างจะเกิดขึ้นอีกครั้ง พสุ ธา โกมลมาลย์


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.