บทวิเคราะห์ทางธุรกิจของประเทศเพื่อนบ้าน

Page 1

ศูนย์ขมุ ทองเพื่อการลงทุน รายงานข้อมูล สิงหาคม 2555

ผูร้ บั ผิดชอบ อ.ประเสริฐ วิจติ รนพรัตน์

บทวิ เคราะห์ทางธุรกิ จของประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ โอกาสธุรกิ จค้าปลีกและสิ นค้าสาหรับ ธุรกิ จโรงแรมและภัตตาคาร ลู่ทางธุรกิ จก่อสร้างในประเทศลาว ประเทศลาวกับธุรกิ จ ท่องเที่ยวเชิ งอนุรกั ษ์ เป็ นต้น

โครงการความร่วมมือ หอการค้าจังหวัดขอนแก่น และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น เทศบาลนครขอนแก่น


ข้ อมูลลึก ประเทศลาวกับการทาธุรกิจท่ องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (ECO-Tourism)

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน มิถุนายน 2555

ประเทศลาวกับการทาธุรกิจท่ องเทีย่ วเชิ งอนุรักษ์ (ECO-Tourism) เป็ นที่ทราบกันดี ว่าประเทศลาว เป็ นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ รวมทั้งยังมีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ที่ได้รับการอนุรักษ์ จึงทาให้นกั ท่องเที่ยวจากหลายประเทศ นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศลาว เพื่อชมธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรมที่งดงาม ในแง่ของการลงทุน รัฐบาลลาว และธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ได้ทาการศึกษา และวางกรอบการพัฒนาการท่องเที่ยวในประเทศลาวร่ วมกัน โดยวางแผนให้ประเทศลาว เป็ นสวรรค์แห่งการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ หรื อการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน สถิตจิ านวนนักท่ องเทีย่ วต่ างชาติทเี่ ข้ ามายังประเทศลาว (คน) 1,400,000

ตั้งแต่ปี 2550 ประเทศลาวมีนกั ท่องเที่ยว ต่างชาติ เข้าไปท่องเที่ยวมากกว่า 1ล้านคน

1,200,000

ต่อปี และมีแนวโน้มเพิม่ มากขึ้นเรื่ อย ๆ ทั้งนี้

1,000,000

เนื่องจากกระแสของการท่องเที่ยวในเชิง

800,000

อนุรักษ์ ทั้งที่เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวทาง

600,000 400,000

ธรรมชาติ และสถานที่ทางศิลปวัฒนธรรม

200,000

กาลังได้รับความนิยม เมืองที่เป็ นแหล่ง

0 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552

ท่องเที่ยวสาคัญๆ ได้แก่ เวียงจันทน์, หลวง พระบาง, วังเวียง, หลวงน้ าทา, เป็ นต้น

ที่มา : World Bank โดยในปี 2553 ประเทศลาวมีรายได้จากภาคการท่องเที่ยวกว่า 380 ล้านเหรี ยญสหรัฐ หรื อประมาณ 12,000 ล้านบาท และในระยะ 5 ปี ตั้งแต่ปี 2549-2553 มีการลงทุนในด้านการโรงแรมและการท่องเที่ยวจากต่างประเทศ เข้ามาลงทุนใน ลาว เป็ นเม็ดเงินรวมมูลค่ากว่า 5,200 ล้านบาท และสร้างโรงแรมต่าง ๆ เฉลี่ยปี ละ มากกว่า 10 แห่ง ในหลาย ๆ พื้นที่ และก็ยงั มีผปู ้ ระกอบการจากประเทศไทยหลายรายที่สนใจเข้าไปลงทุนทาธุ รกิจประเภทนี้ เช่น คุณวิมล กิจบารุ ง ที่เข้า ไปพัฒนาโครงการ “อุทยานบาเจียง” (น้ าตกผาส่ วม) ในแขวงจาปาสัก ตั้งแต่ปี 2542 โดยพัฒนาเป็ นสถานที่ท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ ท่ามกลางธรรมชาติและหมู่บา้ นของ 11 ชนเผ่า จนกลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่มีชื่อเสี ยง และ ได้รับการสนับสนุนต่าง ๆ จากรัฐบาลของประเทศลาว

1


ข้ อมูลลึก ประเทศลาวกับการทาธุรกิจท่ องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (ECO-Tourism)

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน มิถุนายน 2555

ภาพบรรยากาศของอุทยานบาเจียง

ที่มา: เฟซบุค๊ อุทยานบาเจียง (Uttayan Bajiang Ecological Resort)

รายรับจากภาคการท่ องเทีย่ วของประเทศลาว

บาท 14,000,000,000 12,000,000,000 10,000,000,000 8,000,000,000 6,000,000,000 4,000,000,000 2,000,000,000 -

2548

2549

2550

2551

2552

2553

พ.ศ.

ที่มา : World Bank ประเทศลาว มีรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งประเทศ ถึง 12,000 ล้านบาทในปี 2553 ซึ่ งเติบโตขึ้นเกือบ 3 เท่า จากปี 2548 โดยเป็ นนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียถึงร้อยละ 90 ของนักท่องเที่ยวที่มายังประเทศลาวทั้งหมด (World Bank; 2553) ทั้งนี้ ผูป้ ระกอบการที่สนใจเข้าไปทาธุ รกิจการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในประเทศลาว จะได้รับ สิ ทธิ ประโยชน์ทางด้านภาษี ตามแต่เขตพื้นที่ที่เข้าไปพัฒนา ดังนี้ เขต

ระยะเวลาการลงทุน

สิ ทธิประโยชน์ ทางภาษี

2


ข้ อมูลลึก ประเทศลาวกับการทาธุรกิจท่ องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (ECO-Tourism)

0-7 ปี เขตที่ 1 ตั้งแต่ปีที่ 8 พื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร โครงสร้างพื้นฐานไม่สะดวก 0-5 ปี เขตที่ 2 ปี ที่ 6-8 พื้นที่ที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐาน ตั้งแต่ปีที่ 8 ทางเศรษฐกิจบางส่ วน 0-2 ปี เขตที่ 3 ปี ที่ 3-4 เขตเมืองใหญ่ ตั้งแต่ปีที่ 4 มีสาธารณูปโภคพื้นฐานพร้อม ที่มา : สานักงานส่ งเสริ มการค้าในต่างประเทศ สถานทูตไทย ณ นครหลวงเวียงจันทน์

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน มิถุนายน 2555

0% (ยกเว้นอากรกาไร) 10% 0% (ยกเว้นอากรกาไร) 7.5% 15% 0% (ยกเว้นอากรกาไร) 10% 20%

จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นว่า รัฐบาลลาว พยายามสนับสนุนให้มีการเข้าไปพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ห่างไกล ทั้งนี้ เพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการสร้างงานและกระจายรายได้แต่คนท้องถิ่น หรื อชนเผ่า พื้นเมืองต่าง ๆ ทาให้ประชากรมีความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน ภายใต้การพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดยรัฐบาลลาว ได้ทาการศึกษาและ กาหนดกรอบแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว ให้เป็ นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ร่ วมกับธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย ดังนั้น อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในประเทศลาว มีแนวโน้มที่ดี เนื่องจากประเทศลาวยังมีทรัพยากร ธรรมชาติที่สวยงามอีกมาก รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมที่ยงั คงรักษาขนบธรรมเนียมดั้งเดิมไว้อย่างเหนียวแน่น ประกอบกับ กระแสความนิยมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ หรื อ Eco-Tourism ที่กาลังได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวรุ่ นใหม่ ก็ถือ เป็ นโอกาสทาให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศลาวมีความน่าสนใจและดึงดูดนักลงทุนมากขึ้น คณะนักวิจยั ศูนย์วจิ ยั เศรษฐกิจและธุ รกิจอีสาน ขอขอบคุณ สานักงานส่ งเสริ มการค้าในต่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ นครหลวงเวียงจันทร์ , ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายกฎหมายและภาษี บริ ษทั ไพรซ์ วอเตอร์เฮ้าส์ คูเปอร์ส (ลาว) จากัด สานักงานเวียงจันทร์ และ Assoc. Prof. Phouphet Kyophilavong, Ph.D. รองผูอ้ านวยการฝ่ ายวิจยั คณะเศรษฐศาสตร์ และการจัดการ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว ที่กรุ ณาให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์แก่การศึกษาครั้งนี้ดว้ ย ที่มา : ศูนย์วจิ ยั ธุ รกิจและเศรษฐกิจอีสาน

3


ข้ อมูลลึก ลู่ทางของธุรกิจค้ าวัสดุก่อสร้ างในประเทศลาว

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน สิงหาคม

ลู่ทางของธุรกิจค้ าวัสดุก่อสร้ าง ในประเทศลาว ประเทศลาว กาลังมีการพัฒนาในหลาย ๆ ด้าน ทั้งที่เป็ นโครงการของรัฐ อย่างเช่น การสร้างเขื่อนผลิตไฟฟ้ า หลายแห่งทัว่ ประเทศ เพื่อเป็ น “แบตเตอรี่ แห่งเอเชีย ” และการสร้างนิคมอุตสาหกรรมและเขตส่ งเสริ มการลงทุนต่าง ๆ จึงทาให้มีโครงการก่อสร้าง รวมทั้งการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ เป็ นจานวนมากตามมา สิ่ งที่ได้พบอีกสิ่ งหนึ่ง เมื่อได้ไปสารวจ นครหลวงเวียงจันทน์ คือ ไม่ค่อยมีร้านค้าที่จาหน่ายวัสดุก่อสร้างให้เห็น ทั้งนี้อาจมีสาเหตุมาจาก ผูร้ ับเหมานาสิ นค้าและวัสดุก่อสร้างจากเมืองไทยเข้าไปใช้ก่อสร้างโครงการในประเทศลาว ซึ่ งแน่นอน ราคาวัสดุ ก่อสร้างรวมกับค่าขนส่ งและภาษีต่าง ๆ ย่อมทาให้วสั ดุก่อสร้างมีราคาสู งขึ้นไปอีก จีดีพี ภาคการก่อสร้ างและอสั งหาริมทรัพย์ ประเทศลาว 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 2549

2550

GDP ภาคการก่อสร้าง (ล้านบาท)

2551

2552

2553

GDP ภาคอสังหาริ มทรัพย์ (ล้านบาท)

ที่มา : World Bank (ฐานข้อมูล CEIC, ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2555) เมื่อพิจารณาจาก GDP ภาคการก่อสร้างของประเทศลาว พบว่ามีมูลค่าสู งถึง 1.1 หมื่นล้านบาท ในปี 2553 ซึ่งมี แนว โน้มที่เติบโตขึ้นเรื่ อย ๆ สอดคล้องกับภาคอสังหาริ มทรัพย์ ที่มีการเติบโตเช่นเดียวกัน โดยมีมูลค่าถึง 6,296 ล้าน บาท ในปี 2553 แม้ตวั เลขอาจดูไม่สูงนักเมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศไทย เนื่องจากความเจริ ญในประเทศลาวยังอยูใ่ น เฉพาะเมืองหลวง และประเทศลาวยังมีภูมิภาคที่ตอ้ งการการพัฒนาอีกมาก แต่อย่างไรก็ตาม นโยบายต่าง ๆ ที่กาลัง เกิดขึ้น ทั้งเส้นทาง East-West Economic Corridor, GMS และ AEC ล้วนแล้วแต่นาเอาความเจริ ญและการลงทุนต่าง ๆ เข้ามายังประเทศลาว เหล่านี้ลว้ นแล้วแต่เป็ นเหตุผลที่ทาให้ ภาคการก่อสร้างในประเทศลาว มีโอกาสที่จะเติบโตได้อีก มาก

1


ข้ อมูลลึก ลู่ทางของธุรกิจค้ าวัสดุก่อสร้ างในประเทศลาว

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน สิงหาคม

สาหรับตลาดอสังหาริ มทรัพย์ โดยเฉพาะที่อยูอ่ าศัยในประเทศลาว ในอดีตประเทศลาว ยังไม่มีโครงการบ้าน จัดสรรหรื อคอนโดมิเนียมของเอกชน เนื่องจากยังไม่มีกฎหมายรองรับ มีเพียงโครงการบ้านจัดสรรของรัฐบาลไม่กี่ โครงการ แต่ปัจจุบนั เริ่ มมีโครงการบ้านจัดสรร ที่พฒั นาโครงการโดยเอกชนลาว และให้ประชาชนลาวถือครอง กรรมสิ ทธิ์ ได้ เนื่องจากประเทศลาวยังไม่มีกรมที่ดิน ดังนั้นการทาธุ รกรรมเกี่ยวกับที่ดินจึงต้องผ่านกระบวนการศาล ทั้งหมด

ซ้าย: ป้ ายโฆษณาสี ยหี่ อ้ หนึ่ง ในนครเวียงจันทร์

ขวา: ร้านหนองคายวิศิษฏ์ ร้านจาหน่ายวัสดุก่อสร้าง ที่มีบริ การ จัดส่งสิ นค้าไปยังประเทศลาว (ปั จจุบนั มีสาขาในเวียงจันทร์และ สะหวันเขต) – ที่มา: nvs4u.com

เมื่อธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์และการก่อสร้างมีการเติบโต แน่นอนสิ่ งที่ตามมาคือโอกาสสาหรับธุ รกิจวัสดุ ก่อสร้างต่าง ๆ ซึ่ งปั จจุบนั การทาธุ รกิจประเภทนี้ เป็ นเพียงร้านขนาดเล็กขายสิ นค้าไม่หลากหลายมากนัก กระจายอยูใ่ น หลาย ๆ แห่งส่ วนร้านขนาดใหญ่ที่สุดคือร้านสุ วนั นีก่อสร้าง โดยมีส่วนแบ่งการตลาดประมาณร้อยละ 60 ที่เหลือเป็ น ร้านขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่ งร้านสุ วนั นีมีโครงการจะขยายร้านให้มีขนาดใหญ่คล้ายกับโฮมโปรในประทศไทย โดยสิ นค้าที่จาหน่ายในร้านส่ วนใหญ่นาเข้ามาจากประเทศไทยและจีน นอกจากนี้ยงั มีผปู ้ ระกอบการในจังหวัด หนองคาย ที่ให้บริ การขายวัสดุก่อสร้างและจัดส่ งไปยังประเทศลาวด้วย สาหรับผูผ้ ลิต ซี เมนต์ทอ้ งถิ่นของประเทศลาว มีท้ งั หมด 5 โรงงาน ได้แก่ ปูนซี เมนต์ วังเวียง, ปูนกระทิง, ปูนสิ งห์, ปูนมังกร และ ปูนช้างคา ข้อมูลจากสานักงาน ส่ งเสริ มการค้าระหว่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ เวียงจันทน์ ระบุวา่ ปี 2554 ประเทศลาว สามารถผลิต ปูนซีเมนต์ได้ ๑.๘ ล้านตันต่อปี

2


ข้ อมูลลึก ลู่ทางของธุรกิจค้ าวัสดุก่อสร้ างในประเทศลาว

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน สิงหาคม

จะเห็นได้วา่ การเจริ ญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ รวมทั้งภาคการก่อสร้างและอสังหาริ มทรัพย์ในประเทศลาว เป็ นโอกาสที่ดี สาหรับนักธุ รกิจในการที่จะเข้าไปดาเนินธุ รกิจร้านค้าวัสดุก่อสร้างในประเทศลาว ทั้งนี้ ข้อมูลจากผล การศึกษาทัศนคติของผูบ้ ริ โภคชาวลาวต่อแหล่งที่มาของสิ นค้าอุปโภคบริ โภค โดยว่าที่ร้อยโทศรัณย์ อมาตยกุล ระบุวา่ ชาวลาวมีทศั นคติต่อสิ นค้าไทย ว่าเป็ นสิ นค้าที่มีคุณภาพดี (ดีกว่าสิ นค้าที่ผลิตในประเทศ และที่นาเข้าจากจีน) และ สามารถรับสื่ อโฆษณาของประเทศไทยได้ จึงทาให้สินค้าไทยมีอิทธิ พลในประเทศลาวมาก อย่างไรก็ดี การเข้าไป ดาเนินธุ รกิจในลักษณะนี้ สิ่ งที่น่าจะเป็ นกลยุทธ์ในการแข่งขัน น่าจะเป็ นกลยุทธ์ดา้ นราคา เนื่องจากคู่แข่งขายสิ นค้าใน ราคาค่อนข้างสู ง เพราะไม่มีคู่แข่งรายอื่นมากนัก นอกจากนี้ควรวางแผนเรื่ องของสิ นค้าคงคลังและโควตาการนาเข้าให้ รัดกุม เนื่องจากอาจประสบปั ญหาไม่สามารถนาเข้าสิ นค้าได้ในปริ มาณที่เพียงพอกับความต้องการในบางช่วง หาก ผูป้ ระกอบการคานึงถึงปั จจัยต่าง ๆ เหล่านี้ ย่อมช่วยให้ผปู ้ ระกอบการได้เปรี ยบทางการแข่งขันได้ คณะนักวิจยั ศูนย์วจิ ยั เศรษฐกิจและธุ รกิจอีสาน ขอขอบคุณ สานักงานส่ งเสริ มการค้าในต่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ นครหลวงเวียงจันทร์ , ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายกฎหมายและภาษี บริ ษทั ไพรซ์ วอเตอร์เฮ้าส์ คูเปอร์ส (ลาว) จากัด สานักงานเวียงจันทร์ และ Assoc. Prof. Phouphet Kyophilavong, Ph.D. รองผูอ้ านวยการฝ่ ายวิจยั คณะ เศรษฐศาสตร์ และการจัดการ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว ที่กรุ ณาให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์แก่การศึกษาครั้งนี้ดว้ ย ที่มา : ศูนย์วจิ ยั ธุ รกิจและเศรษฐกิจอีสาน

3


ข้ อมูลลึก โอกาสของธุรกิจค้ าปลีก-ค้ าส่ งและสินค้ าสาหรั บโรงแรมและร้ านอาหาร(HORECA)ในประเทศลาว

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน สิงหาคม

โอกาสของธุรกิจค้ าปลีก-ค้ าส่ ง และ สิ นค้ าสาหรับโรงแรมและร้ านอาหาร (HORECA) ในประเทศลาว สิ่ งหนึ่งที่ได้พบจากการศึกษาวิถีชีวติ ของประชาชนลาวในนครหลวงเวียงจันทร์ คือ ค่าครองชีพในนครหลวง เวียงจันทร์ ค่อนข้างสู งเมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศไทย โดยตัวชี้วดั ค่าครองชีพอย่างหนึ่งคือ เฝอ โดยเฝอ 1 ชาม มีราคา เริ่ มต้นอยูท่ ี่ 60 บาท ไปจนถึง 100 บาทเลยทีเดียวในขณะที่รายได้ของคนลาวนั้นค่อนข้างต่า เช่น พนักงานของรัฐระดับ ปฏิบตั ิการ ได้รับเงินเดือนเพียง 1,500 บาทเท่านั้น เหตุที่ราคาเฝอสู งเช่นนี้ส่วนหนึ่งเป็ นเพราะวัตถุดิบในการประกอบ อาหารบางอย่างต้องนาเข้ามาจากประเทศไทย เป็ นสาเหตุให้ประชากรวัยทางานชาวลาว นิยมนาอาหารกลางวันจาก บ้านมารับประทานเอง มากกว่าไปรับประทานตามร้านหรื อศูนย์อาหารต่าง ๆ ในนครหลวงเวียงจันทร์ ยังไม่มีหา้ งค้าปลีกสิ นค้าอุปโภคบริ โภคขนาดใหญ่ หรื อไฮเปอร์ มาร์ เก็ต มีแต่ตลาด สดและร้านค้ารายย่อยเท่านั้น นอกจากนี้ จากการสัมภาษณ์ผปู ้ ระกอบการชาวไทย ที่ไปประกอบกิจการร้านอาหารใน นครหลวงเวียงจันทร์ พบว่า นอกเหนือจากอาหารสดแล้ว ผูป้ ระกอบการวัตถุดิบในการประกอบอาหารหลายอย่างไม่ สามารถหาซื้ อได้จากร้านค้าท้องถิ่น แต่จะมีผปู ้ ระกอบการค้าปลีก-ค้าส่ ง ในจังหวัดหนองคาย รับสั่งซื้ อและนาไปส่ งใน ฝั่งเวียงจันทร์ ซึ่ งมีราคาค่อนข้างสู ง เพราะรวมค่าขนส่ ง ส่ งผลให้อาหารมีราคาสู งตามไปด้วย 60,000,000,000

จีดีพี ภาคค้าปลีกค้าส่ง (บาท)

รายรับจากภาคการท่องเที่ยว (บาท)

40,000,000,000 20,000,000,000 -

2549

2550

2551

2552

2553

ในปี 2553 มูลค่าตลาดค้าปลีกค้าส่ งในประเทศลาว มีมูลค่าอยูท่ ี่ 44,000 ล้านบาท และมีแนวโน้มเติบโตขึ้น เรื่ อย ๆ ทั้งนี้สาเหตุหนึ่งอาจมาจากภาคการท่องเที่ยวและบริ การที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูลจากสานักงาน ส่ งเสริ มการค้าในต่างประเทศ (Thai Trade Center) ณ นครหลวงเวียงจันทร์ ระบุวา่ ธุ รกิจบริ การที่มีศกั ยภาพ และน่า ลงทุน ได้แก่ โรงแรมและการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว, สปา, ร้านอาหาร และ แฟรนไชส์ โดยเฉพาะธุ รกิจโรงแรมและ การท่องเที่ยว จะได้รับการสนับสนุนเป็ นพิเศษจากรัฐบาล

1


ข้ อมูลลึก โอกาสของธุรกิจค้ าปลีก-ค้ าส่ งและสินค้ าสาหรั บโรงแรมและร้ านอาหาร(HORECA)ในประเทศลาว

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน สิงหาคม

สปป.ลาว มีรายได้จากภาคการท่องเที่ยว ประมาณ 9 พันล้านบาทในปี 2553 โดยเพิม่ ขึ้นเกือบเท่าตัว ภายใน เวลา 5 ปี ซึ่ งถือว่ามีการเติบโตสู ง ทั้งนี้เนื่องจากรัฐบาลลาว ให้การสนับสนุนภาคการท่องเที่ยวเป็ นอย่างมาก และใน หลายภูมิภาคของลาวก็ยงั มีแหล่งท่องเทียวเชิงธรรมชาติ และวัฒนธรรมที่เป็ นที่นิยมในหมู่นกั ท่องเที่ยวหลายแห่ง แน่นอนเมื่อธุ รกิจการท่องเที่ยวและร้านอาหารมีการขยายตัว สิ่ งที่ตามมาก็คือ ความต้องการสิ นค้าโดยเฉพาะอาหาร เพื่อซัพพลายแก่ธุรกิจเหล่านี้ จึงเป็ นโอกาสสาหรับทั้งธุ รกิจค้าปลีก-ค้าส่ ง และ ธุ รกิจจาหน่ายสิ นค้าให้แก่ โรงแรม รี สอร์ต และภัตตาคาร (Hotel Restaurant Café Supply, HORECA) 250

450 400 350 300 250 200 150 100 50 0

หลวงพระบาง นครเวียงจันทน์

200 150 100 50 0 2548

2549

2550

2551

2552

หลวงพระบาง นครเวียงจันทน์

2548

2549

2551

2552

จำนวนรี สอร์ ท, เกสต์เฮ้ ำส์

จำนวนโรงแรม

ที่มา :

2550

Lao National Tourism Administration

จานวนโรงแรมในเมืองท่องเที่ยวหลักเช่น นครหลวงเวียงจันทร์ และหลวงพระบาง มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยในระยะ 5 ปี ตั้งแต่ปี 2548-2552 มีการเติบโตเฉลี่ยปี ละประมาณ 50% รวมทั้งยังมีรีสอร์ ตและเกสท์เฮ้าส์สาหรับนัก ท่องเที่ยวอีกกว่า 400 แห่ง และ ภัตตาคาร ร้านอาหารต่าง ๆ อีกกว่า 200 แห่ง ทาให้ตอ้ งนาเข้าสิ นค้าต่าง ๆ จากประเทศ ไทย โดยเฉพาะอาหารสาเร็ จรู ป อาหารแปรรู ปต่าง ๆ เพื่อให้บริ การแก่นกั ท่องเที่ยว อย่างไรก็ดี ปั จจัยสาคัญที่ผปู ้ ระกอบการที่สนใจจะประกอบธุ รกิจค้าปลีก-ค้าส่ งในประเทศลาวจาเป็ นต้อง พิจารณา คือ ต้นทุนและราคาขาย เพราะหากมีขอ้ ได้เปรี ยบทางด้านราคา เมื่อเปรี ยบเทียบกับผูป้ ระกอบการท้องถิ่น รวมทั้งผูป้ ระกอบการจากจังหวัดใกล้เคียง เช่น หนองคาย และอุดรธานี เนื่องจากลูกค้าโดยเฉพาะลูกค้าที่เป็ น ผูป้ ระกอบการต่าง ๆ ก็จะเลือกใช้ช่องทางซื้ อสิ นค้าจากผูป้ ระกอบการรายใหญ่ เพื่อลดต้นทุนทั้งด้านราคาและค่าขนส่ ง ส่ วนลูกค้าภาคครัวเรื อน ก็จะได้ซ้ื อสิ นค้าในราคาที่ถูกลง เพื่อลดค่าครองชีพอีกด้วย

2


ข้ อมูลลึก โอกาสของธุรกิจค้ าปลีก-ค้ าส่ งและสินค้ าสาหรั บโรงแรมและร้ านอาหาร(HORECA)ในประเทศลาว

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน สิงหาคม

คณะนักวิจยั ศูนย์วจิ ยั เศรษฐกิจและธุ รกิจอีสาน ขอขอบคุณ สานักงานส่ งเสริ มการค้าในต่างประเทศ

(Thai

Trade Center) ณ นครหลวงเวียงจันทร์ , ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายกฎหมายและภาษี บริ ษทั ไพรซ์ วอเตอร์เฮ้าส์ คูเปอร์ส (ลาว) จากัด สานักงานเวียงจันทร์ และ Assoc. Prof. Phouphet Kyophilavong, Ph.D. รองผูอ้ านวยการฝ่ ายวิจยั คณะ เศรษฐศาสตร์ และการจัดการ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว ที่กรุ ณาให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์แก่การศึกษาครั้งนี้ดว้ ย ที่มา : ศูนย์วจิ ยั ธุ รกิจและเศรษฐกิจอีสาน

3


ข้ อมูลลึก การใช้ จ่ายภาคครั วเรื อนของประชากรในประเทศลาว

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน มิถุนายน 2555

การใช้ จ่ายภาคครัวเรือน ของประชากรในประเทศลาว เมื่อได้ไปสารวจการใช้ชีวติ ของประชาชนชาวลาว ในนครหลวงเวียงจันทร์ พบว่า วิถีชีวติ ของประชาชนมี ความเป็ นคนเมืองอยูม่ าก มีการรับประทานอาหารนอกบ้าน จับจ่ายซื้ อเสื้ อผ้าแฟชัน่ ทั้งนี้ส่วนหนึ่งอาจมาจากอิทธิ พล ของสื่ อไทย ทั้งโทรทัศน์ วิทยุและสิ่ งพิมพ์ ที่ชาวลาวสามารถเข้าถึงได้ง่าย การใช้จ่ายเงินเพื่อบริ โภคด้านต่าง ๆ ของ ประชากรลาว จึงมีความน่าสนใจ และอาจทาให้เห็นโอกาสในการเข้าไปดาเนินธุ รกิจในประเทศลาวได้ แผนภูมิแสดงมูลค่ าจีดีพภี าคค้ าปลีก-ค้ าส่ ง และการเติบโต

50,000

23%

40,000

16%

25% 20%

16%

30,000

15%

20,000

10% 7%

10,000

5%

0

0% 2549

2550

2551

จีดีพี ภาคค้าปลีกและค้าส่ ง (ล้านบาท)

2552

2553

พ.ศ.

การเติบโต

มูลค่าตลาดค้าปลีกค้าส่ งในประเทศลาว มีการเติบโตพอสมควร โดยในปี 2553 มีมูลค่าอยูท่ ี่ 44,000 ล้านบาท ในนครหลวงเวียงจันทร์ ยงั ไม่มีศูนย์การค้าขนาดใหญ่ แต่กาลังมีโครงการก่อสร้าง เช่น โครงการ "รี กลั เมกะมอลล์" บริ เวณตอนเหนือของเวียงจันทร์ โดยกลุ่ม รี กลั โกลบอลอินเวสท์เม้นท์ (Regal Global Investment Development) ซึ่ง เป็ นทุนจากประเทศจีนและสิ งคโปร์ คากว่าจะแล้วเสร็ จประมาณปี 2556 นอกจากนี้ บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ก็ได้รับใบอนุญาตการลงทุนจากกระทรวงแผนการและการลงทุนลาว กลางปี 2554 สาหรับโครงการมูลค่า ราว 5 ล้านดอลลาร์ บริ เวณศูนย์การค้าตลาดเช้า ด้วยสัญญาเช่า 30 ปี

1 1


ข้ อมูลลึก การใช้ จ่ายภาคครั วเรื อนของประชากรในประเทศลาว

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน มิถุนายน 2555

เมื่อพิจารณาจากข้อมูลด้านประชากรลาว (Demographic Information) โดย World Bank พบว่า ร้อยละ 40 ของ ประชากรอาศัยอยูต่ ามเมืองใหญ่ และในปี 2551 คนกลุ่มนี้ มีวถิ ีชีวติ ในการอุปโภคบริ โภค สิ นค้า 6 กลุ่มหลัก ได้แก่ อาหาร, การขนส่ งและการสื่ อสาร, เสื้ อผ้าเครื่ องแต่งกาย,การแพทย์, การสันทนาการ และ ที่อยูอ่ าศัย ดังนี้ อาหาร การขนส่ งและการสื่ อสาร ทีอ่ ยู่อาศัย สั นทนาการ เสื้อผ้าเครื่องแต่ งกาย การแพทย์ ที่มา : World Bank

สั ดส่ วน ร้ อยละ 30 20 17 7 2 2

กีบ/เดือน/ครอบครัว 887,000 582,300 507,000 193,600 59,000 54,000

บาท/เดือน/ครอบครัว 3,420 2,245 1,956 746 227 208

เป็ นที่น่าแปลกใจ ที่การใช้จ่ายครัวเรื อน ต่อการขนส่ งและสื่ อสาร สู งกว่าค่าใช้จ่ายสาหรับที่อยูอ่ าศัย ซึ่ ง สอดคล้องกับอัตราการใช้โทรศัพท์มือถือในประเทศลาว ที่เพิ่มขึ้นในอัตราก้าวกระโดด โดยในปี 2548 มีอตั ราการใช้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ต่อประชากร 100 คน เพิ่มขึ้นจากปี 2547 มากกว่า 3 เท่า โดยในปี 2553 ใน 100 คนมี ประชากรที่ใช้โทรศัพท์มือถือถึง 64.5 คน (65%) ส่ วนอัตราการใช้อินเตอร์ เน็ท แม้วา่ จะมีอตั ราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ เมื่อคิดเป็ นจานวนประชากรแล้ว ถือว่ามีขนาดตลาดที่เล็กมาก กล่าวคือ ในปี 2553 ประชากร 100 คน เข้าถึง อินเตอร์เน็ทเพียง 7 คนเท่านั้น ทั้งนี้อาจมาจากค่าบริ การอินเตอร์ เน็ทในลาว มีราคาสู งมาก โดยบรอดแบนด์ อินเตอร์เน็ท (7 MB) มีราคาค่าบริ การถึง 268 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อเดือน หรื อประมาณ 8,000 บาทเลยทีเดียว ทั้งนี้ อาจ เนื่องจากเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ทในประเทศลาว ก้าวกระโดดจากแบบผ่านสายเคเบิล เป็ นแบบไร้สาย ผ่าน โทรศัพท์มือถือ

2 2


ข้ อมูลลึก การใช้ จ่ายภาคครั วเรื อนของประชากรในประเทศลาว

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน มิถุนายน 2555

อัตราส่ วนของผู้ใช้ บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นทีแ่ ละอินเตอร์ เน็ต ต่ อ 100 คน

คน. 80 60 40 20 0 2549

2550

2551

อัตราผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ : 100 คน

2552

2553

พ.ศ.

อัตราผูใ้ ช้อินเตอร์เน็ต : 100 คน

จากข้อมูลข้างต้น ชี้ให้เห็นว่าว่า ตลาดโทรศัพท์มือถือในประเทศลาว ยังคงเติบโตได้ดี ดังเห็นได้จาก ในปี 2549 บริ ษทั ลาวเทเลคอมมิวนิเคชัน่ จากัด (กลุ่มชินคอร์ ป ถือหุ น้ 49%) ได้เปิ ดให้บริ การโทรศัพท์ ระบบ 3G ใน ประเทศลาว หลังจากนั้นไม่กี่ปี ในปี 2554 บริ ษทั พลาเน็ตคอมพิวเตอร์ (Planet Computer) ได้เปิ ดให้บริ การ อินเตอร์เน็ทระบบ 4G โดยใช้เทคโนโลยี WiMAX เมื่อเป็ นเช่นนี้ ร้านขายโทรศัพท์มือถือ ร้านซ่อมโทรศัพท์ และ ร้าน จาหน่ายอุปกรณ์โทรศัพท์ ย่อมได้รับอานิสงส์กบั การขยายตัวของตลาดแน่นอน นอกจากตลาดโทรคมนาคมแล้ว สิ นค้าประเภทอาหาร หรื อร้านอาหาร ก็น่าสนใจไม่แพ้กนั ดังเห็นได้จาก ตัวเลขการใช้จ่ายภาคครัวเรื อน เป็ นการใช้จ่ายสาหรับซื้ ออาหารถึงร้อยละ 30 คิดเป็ นเงินบาทประมาณ 3,400 บาทต่อ เดือนต่อครอบครัว ซึ่ งหากเป็ นร้านอาหารรับประทานนอกบ้าน ก็สอดคล้องกับพฤติกรรมที่ผบู ้ ริ โภคลาวมีการใช้จ่าย เพื่อการสันทนาการมากขึ้น หรื ออาจเป็ นอาหารประเภทพร้อมปรุ ง ซึ่ งตอบสนองวิถีชีวติ ที่เป็ นคนเมืองมากขึ้น พฤติกรรมการทาอาหารรับประทานเองที่บา้ นลดลง เป็ นต้น จะเห็นได้ชดั ว่า โลกของการสื่ อสารและอินเตอร์เน็ทที่รวดเร็ ว ทาให้วถิ ีชีวติ ของประชาชนในประเทศลาว โดยเฉพาะตามตัวเมืองนั้น จะมีความเป็ นคนเมืองสมัยใหม่มากขึ้น ธุ รกิจต่าง ๆ ที่จะมารองรับรู ปแบบการดาเนินชีวติ ที่ เปลี่ยนไปดังกล่าว ทั้งศูนย์การค้า ร้านอาหาร ธุ รกิจแฟรนไชส์ต่าง ๆ รวมทั้งการพัฒนาคอนเทนท์ หรื อ Application ต่าง ๆ บนโทรศัพท์มือถือที่เกี่ยวกับไลฟ์ สไตล์ชาวลาว ก็ยงั มีความน่าสนใจ และยังไม่มีผทู ้ ี่เข้าไปดาเนินธุ รกิจลักษณะนี้ มากนัก กระแสของต่างชาติที่ชาวลาวได้รับรู ้และปรับตัวได้รวดเร็ วนั้น หากนักลงทุนสามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลง เหล่านี้ ก็ถือเป็ นโอกาสที่จะพบช่องทางในการทาธุ รกิจในประเทศลาวไม่ยาก

3 3


ข้ อมูลลึก การใช้ จ่ายภาคครั วเรื อนของประชากรในประเทศลาว

ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน มิถุนายน 2555

คณะนักวิจยั ศูนย์วจิ ยั เศรษฐกิจและธุ รกิจอีสาน ขอขอบคุณ สานักงานส่ งเสริ มการค้าในต่างประเทศ

(Thai

Trade Center) ณ นครหลวงเวียงจันทร์ , ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายกฎหมายและภาษี บริ ษทั ไพรซ์ วอเตอร์เฮ้าส์ คูเปอร์ส (ลาว) จากัด สานักงานเวียงจันทร์ และ Assoc. Prof. Phouphet Kyophilavong, Ph.D. รองผูอ้ านวยการฝ่ ายวิจยั คณะ เศรษฐศาสตร์ และการจัดการ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว ที่กรุ ณาให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์แก่การศึกษาครั้งนี้ดว้ ย ที่มา : ศูนย์วจิ ยั ธุ รกิจและเศรษฐกิจอีสาน

4 4


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.