บทที่ 3

Page 1

บทที่ 3 วิธีดาเนินการโครงการ ขั้นตอนการดาเนินงานของระบบบัตรคิวออนไลน์โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของโครงการ มีขั้นตอนดังนี้

3.1 ศึกษาข้อมูลและออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 3.2 กาหนดแบบแผนการทดลอง 3.3 กาหนดประชากรและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง 3.4 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 3.5 ดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 3.6 วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้

3.1 ศึกษาข้อมูลและออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 3.1.1 โปรแกรม Adobe Dreamweaver 3.1.2 Google Chrome

3.2 กาหนดแบบแผนการทดลอง ตาราง3-1 ระยะเวลาดาเนินการ


ระยะในการดาเนินงาน พ.ศ. 2560 ขั้นตอนในการดาเนินงาน

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

1.เสนอหัวข้อต่ออาจารย์ที่ปรึกษา 2.ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล 3.วิเคราะห์ข้อมูล 4.ออกแบบและพัฒนาระบบ 5.ทดสอบการใช้งานระบบ 6.นาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการ 7. จัดทาเอกสาร

3.2.1 การวางแผนการทางาน 3.2.1.1 เสนอหัวข้อโครงการที่จะทากับอาจารย์ 3.2.1.2 ได้รับการอนุญาตให้ทาโครงการตามหัวข้อที่นาเสนอ 3.2.1.3 ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างระบบเว็บไซต์ระบบบัตรคิวออนไลน์ 3.2.1.4 วิเคราะห์ที่จะนามาพัฒนาเว็บไซต์ระบบบัตรคิวออนไลน์ 3.2.1.5 ออกแบบและพัฒนาระบบเว็บไซต์ระบบบัตรคิวออนไลน์ 3.2.1.6 ทดสอบการใช้ระบบเว็บไซต์บัตรคิวออนไลน์ 3.1.2.7 จัดทาเอกสารโครงการวิจัย 5 บท 3.1.2.8 นาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการ

3.3 กาหนดประชากรและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ประชาชนในการวิจัยครั้งนี้ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม 1.ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้ป่วยในที่มาใช้บริการที่โรงพยาบาล

ก.พ.


2.ประชาชนที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้ป่วยนอกจากต่าง อาเภอ ที่ได้เค้ามารักษาตัวที่โรงพยาบาล 3.4 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 1.โปรแกรม Adobe Dreamweaver เป็นโปรแกรมที่สามารถสร้างสื่อในรูปแบบต่างๆได้อย่างมากมายไอคอน มาวางเรียงตาม Flowline กาหนดเงื่อนไขการทางานของแต่ละไอคอน โดยใช้หลักการทางานตั้งแต่จุดเริ่มต้น ของไฟล์ไปจนถึงจุดสิ้นสุดของไฟล์ โปรแกรมบัตรคิวเป็นโปรแกรมสาเร็จรูปโปรแกรมหนึ่ง ซึ่งถูกสร้างโดยใช้ โปรแกรม Adobe Dreamweaver ซึ่งมีรายละเอียดการทางานของโปรแกรมในช่วงแรกดังภาพประกอบ

เข้าสู่หน้าเว็บไซต์จองบัตรคิวผู้ป่วยนอก


ดูหมายเลขขณะนี้ กับหมายเลขของท่าน

คิวปัจจุบัน

3.5 ดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 3.5.1 รูปแบบการนาเสนอข้อมูล การนาเสนอข้อมูลเป็นแบบตารางค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและแผนภูมิแสดงค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานในแต่ละด้านของแบบสอบถาม 3.5.2.1 ค่าแจกแจงความถี่ 3.5.2.2 ค่าร้อยละได้จากสูตร โดย p=1ส่วนn x100 P=ค่าร้อยละ F= ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ


N= จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม

3.6 วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์โดยการหาค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ยจากผลลัพธ์ที่ได้จากการตอบแบบสอบถาม

1.วัดระดับความพึงพอใจ ระดับคะแนน 5

หมายถึง

พึงพอใจมากที่สุด

ระดับคะแนน 4

หมายถึง

พึงพอใจ

ระดับคะแนน 3

หมายถึง

พอใจปานกลาง

ระดับคะแนน 2

หมายถึง

พึงพอใจน้อย

ระดับคะแนน 1

หมายถึง

พึงพอใจน้อยที่สุด

การแปลความหมายค่าเฉลี่ยน้าหนักคะแนนแบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือ ค่าเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถึง พึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ย 2.51- 3.50 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง พึงพอใจน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง พึงพอใจน้อยที่สุด


2.ระดับความต้องการใช้ประโยชน์ ระดับคะแนน 5 หมายถึง ความต้องการมากที่สุด ระดับคะแนน 4 หมายถึง ความต้องการมาก ระดับคะแนน 3 หมายถึง ความต้องการปานกลาง ระดับคะแนน 2 หมายถึง ความต้องการน้อย ระดับคะแนน 1 หมายถึง ความต้องการน้อยที่สุด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.