คู่มือฝึกงานสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ ปีการศึกษา 2565

Page 1

คูมือฝกปฏิบัติงานสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการดานยา

การผลิตยา การประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพยา การวิจัยและพัฒนายา การขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ

คณะอนุกรรมการ ศ.ศ.ภ.ท สาขา Pharmaceutical Sciences และ คณะอนุกรรมการจัดการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ นักศึกษาชั้นปที่ 6 สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการและขึ้นทะเบียนตํารับยา คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ประจําปการศึกษา 256๕


คํานํา การเปลี่ ยนแปลงหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณ ฑิตจาก ๕ ป ไปเปน ๖ ป ตามกรอบแนวทางที่กําหนดโดยสภาเภสัชกรรม สงผลใหเกิดการพัฒนาหลักสูตรที่เนนการฝกปฏิบัติใหนิสิต/นักศึกษามีความรู ความสามารถ เพื่อใหตอบสนองตอความตองการ บุคลากรทางเภสัชศาสตรที่ตอ งการความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ในสวนหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาบริบาลเภสัชกรรมนั้นได มีการดําเนิ นการในสวนตางๆที่เกี่ยวของไปลวงหนา ในขณะที่สาขาวิทยาศาสตรเภสั ชกรรม (Pharmaceutical Sciences) ซึ่ ง ปจจุบันไดเปลี่ยนชื่อเปนสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ (Industrial Pharmacy) นั้นอยูในชวงเริ่มตนของการพั ฒนา ดังนั้นเพื่อให การดํ า เนิน การในส วนตา งๆโดยเฉพาะในสวนของการฝกปฏิ บั ติงานวิ ชาชี พ เฉพาะทางเปน ไปดวยความเรีย บรอ ย ทางศูน ย ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตรแหงประเทศไทย (ศ.ศ.ภ.ท.) จึ งไดแตงตั้งและมอบหมายใหคณะอนุ กรรมการการฝ กปฏิ บัติ วิ ช าชี พ สาขา Pharm aceutical Sciences เปน ผู บ ริ ห ารจั ด การเกี่ ย วกั บ การฝก ปฏิ บั ติ ง านในสายดั ง กลา ว โดยมี ภาระหนาที่หลักที่ไดรับมอบหมาย เชน จัดระบบการฝก การพัฒนาคูมือ การนิเทศและการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานใหเป น มาตรฐานเดียวกัน สําหรับ สวนการพัฒนาคูมือการฝกปฏิบัติงานนั้น เพื่อใหมีมาตรฐานปฏิบัติท่ีเหมือนกันในแต ละสถาบัน รวมไปถึงการให ขอ มู ลการฝกงานที่ จําเปนตอ แหลงฝกที่ มี ความสอดคลอ งกั น จึงได มี การกํา หนดการจั ดทํ าคู มื อกลางให ใช ไดใ นทุ กสถาบั น ที่ มี ก ารฝก ปฏิ บั ติ ง านเภสั ช กรรมอุ ต สาหการ โดยความร ว มมื อ จากตั ว แทนจากมหาวิ ท ยาลั ย ต า งๆ จํ า นวน ๑๙ แหง ไดแ ก มหาวิ ทยาลั ย ศิ ล ปากร มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี จุ ฬ าลงกรณม หาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล มหาวิท ยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยอิสเทิรนเอเซีย มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รวมไปถึงตัวแทนจากสมาคม เภ สั ช ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม (ป ร ะ เท ศ ไ ท ย ) แ ล ะ ส ม า ค ม ไ ท ย อุ ต ส า ห ก ร ร ม ผ ลิ ต ย า แ ผ น ป จ จุ บั น ที่ ใ หค วามรว มมื อ ในการจั ด ทํ า คู มื อ เปน อยา งดี ในส ว นเนื้ อ หาและรู ป แบบนั้ น ได มี ก ารดั ด แปลงมาจากคู มื อ การฝ ก ปฏิ บั ติงานดา นบริบ าลเภสัชกรรมที่ มีการใชกอ นหนา แต จะมีเนื้ อ หาที่ เน นเฉพาะในส วนของการฝ กปฏิ บั ติงานดา นการผลิต ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ค ว บ คุ ม คุ ณ ภ า พ ก า ร วิ จั ย แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ร ว ม ไ ป ถึ ง ก า ร ขึ้ น ท ะ เบี ย น ยาและผลิ ต ภั ณ ฑ สุ ข ภ าพ ดั ง จะกลา วในรายละเอี ย ดตอ ไป สํ า หรั บ การฝ ก ป ฏิ บั ติ ง านในส ว นที่ นอกเหนื อจากนี้ ใหศึกษาจากคูมือการฝกปฏิบัติงานเฉพาะทางแตละประเภทหรือใหเปนไปตามบริบทของแหลงฝกตอไป คณะอนุกรรมการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขา Pharmaceutical Sciences ขอขอบพระคุณอาจารย เจาหนาที่ทุ กทา น โรงงานผลิ ต ยาแผนปจ จุบั น สมาคมเภสัช กรการอุ ต สาหกรรม (ประเทศไทย) สมาคมไทยอุ ตสาหกรรมผลิ ต ยาแผนปจ จุ บั น ตลอดจนหนวยงานภาครัฐและเอกชนตางๆ ที่เกี่ยวของกับ ยา ที่ใหความรวมมือในการสนั บ สนุ นการฝกงานของนิสิต/นักศึกษา เภสัชศาสตร รวมถึงการจัดทําคูมือฉบับนี้มา ณ ที่นี้ คณะอนุกรรมการอํานวยการศูนยพัฒนาการฝกปฏิบัตงิ านวิชาชีพสาขา Pharmaceutical Sciences พฤศจิกายน ๒๕๕๘


สารบัญ การฝกปฏิบัติงานสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการดานยา หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค แนวทางการฝกปฏิบัติงาน ระยะเวลาการฝกปฏิบัตงิ าน การนิเทศงาน การประเมินผล ขอควรปฏิบัติและความรับผิดชอบของนิสิต/นักศึกษาระหวางการฝกปฏิบัติงาน การฝกปฏิบัติงานดานการผลิตยา จุดมุงหมาย วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม แนวทางการฝกปฏิบัติงาน กรอบแนวทางการจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัตงิ าน การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน การฝกปฏิบัติงานดานการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพยา จุดมุงหมาย วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม แนวทางการฝกปฏิบัติงาน กรอบแนวทางการจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัตงิ านภาพรวม การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน การฝกปฏิบัติงานดานการวิจัยและพัฒนายา จุดมุงหมาย วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม แนวทางการฝกปฏิบัติงาน กรอบแนวทางการจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัตงิ าน การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน การฝกปฏิบัติงานดานการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ จุดมุงหมาย วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม แนวทางการฝกปฏิบัติงาน การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน แบบประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน แนวทางการประเมินความประพฤติและทัศนคติของนักศึกษาสําหรับอาจารยประจําแหลงฝก แนวทางการประเมินความความรูความเขาใจ และทักษะการฝกปฏิบัติงานดานการผลิตยา แนวทางการประเมินความความรูความเขาใจและทักษะการฝกปฏิบัติงานดานการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพยา แนวทางการประเมินความความรูความเขาใจและทักษะการฝกปฏิบัติงานดานการวิจัยและพัฒนายา แนวทางการประเมินความความรูความเขาใจและทักษะการฝกปฏิบัติงานดานการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ แนวทางการประเมินการนําเสนอกรณีศึกษาสําหรับอาจารยประจําแหลงฝก แบบบันทึกการฝกปฏิบัติงานของนักศึกษา แบบขออนุญาตลาการฝกปฏิบัติงาน

1 ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๖ ๖ ๗ ๘ ๑๐ ๑๒ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๗ ๑๙ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๑ ๒๓ ๒๓ ๒๓ ๒๔ ๒๖ ๒๘ ๓๑ ๓๕ ๓๗ ๔๐ ๔๒ ๔๓


การฝกปฏิบัติงานสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการดานยา ๑. หลักการและเหตุผล เนื่ องจากหลั กสู ตรเภสัชศาสตรบั ณ ฑิ ตของทุ กสถาบั นไดมี การปรับ เปลี่ยนจากหลั กสู ตร ๕ ป ไปเปน หลั ก สู ตร ๖ ป เพื่อใหส อดคลองกับประกาศสภาเภสัชกรรม ที่ ๑๒/๒๕๕๑ เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการในการรับ รอง สถาบั นผลิตบัณฑิตโดย มีการเห็นชอบหลักสูตรเภสัชศาสตรดังกลาว ตั้งแตปก ารศึ กษา ๒๕๕๒ รวมไปถึงประกาศ สภาเภสัชกรรมที่ ๒๖/๒๕๕๔ เรื่อง เกณฑมาตรฐานแหลงฝกปฏิ บั ติ งานวิชาชี พ ที่กํา หนดกรอบแนวทางการฝกปฏิบั ติงานของนิ สิต/นั กศึ กษาในสถานที่ ที่ มี การ ประกอบวิชาชี พ แขนงตางๆ หรือ สถานที่ อื่นๆ ที่มีกิจกรรมปฏิ บั ติที่ เกี่ยวขอ งและสนั บ สนุ น การประกอบวิชาชี พ โดยตรง โดย เปนการฝกปฏิบัติงานทั่วไปภาคพื้นฐาน จํานวนชั่วโมงปฏิบัติการไมนอ ยกวา ๔๐๐ ชั่วโมง และการฝกปฏิบัติการงานวิชาชีพภาค สาขาหลัก จํานวนชั่วโมงปฏิบัติการไมนอ ยกวา ๑,๖๐๐ ชั่วโมง ซึ่งในสวนวิทยาศาสตรเภสัชกรรม หรือวิทยาการทางเภสัชศาสตร (ซึ่งภายหลังไดมีการปรับชื่อเปน“เภสัชกรรมอุตสาหการ” ตามประกาศสภาเภสัชกรรมที่ ๑๓/๒๕๕๖) เป นหนึ่งในวิชาชีพ ภาค สาขาหลักที่ตองมีการดําเนินการในสวนตางๆ เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางดังกลาว ซึ่งมีการกําหนดกรอบเบื้องตนใหฝก งานในสวน ภาคสาขาหลักในแหลงฝกที่มุงเนนใหเกิดสมรรถนะทางเภสัชกรรมอุตสาหการ เชน การผลิต การประกันและควบคุมคุณภาพ การ วิจัยและพัฒนา และการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ โดยกําหนดใหมีการ ฝกปฏิบัติงานวิชาชีพที่เปนสมรรถนะหลัก ไดแก การผลิตและ การประกันและควบคุมคุณภาพอยางละ ๑ ผลัด โดยมีแนวทางการจัดกิจกรรมการฝก ปฏิบัติงานในภาพรวมดังแสดงในรูปที่ ๑

รูปที่ ๑ โครงสรางการฝกปฏิบัตงิ านทั่วไปและการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต จากกรอบแนวทางดังกลาวประกอบกับจํานวนนิสิต/นักศึกษาที่ตอ งฝกปฏิ บัติงานในสาขาวิ ทยาศาสตรเภสัชกรรมจาก สถาบันตางๆ ที่มีจํานวนมาก ดังนั้นเพื่ อใหการฝกปฏิบั ติงานสาขาวิทยาศาสตรเภสัชกรรมตามหลั กสูตรใหม เป นไปด วยความ เรียบรอย ศูนยประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตรแหงประเทศไทย (ศ.ศ.ภ.ท.) ซึ่งเปนที่ประชุมคณบดีคณะเภสัชศาสตรทุกสถาบัน ทั่ ว ประเทศ จึ ง ไดแ ตง ตั้ ง และมอบหมายใหค ณะอนุ ก รรมการอํ า นวยการศู น ยพั ฒ นาการฝก ปฏิ บั ติ ง านวิ ช าชี พ สาขา Pharmaceutical Sciences เปนผูบริหารจัดการเกี่ยวกับการฝกปฏิบัติงานในสายดังกลาวตั้งแตวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๓ มีวาระ ดํา รงตําแหนง ๒ ป โดยนับ ถึงปจจุบันไดดําเนินการมาถึ งชุดที่ ๒ มีตัวแทนจากมหาวิท ยาลัยตางๆ จํ านวน ๑๗ แห ง อั นไดแก มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยมหิดล -๑-


มหาวิท ยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยอิสเทิรนเอเซีย และมหาวิทยาลัยพะเยา โดยมีภาระหนาที่หลักที่ไดรับมอบหมายดังนี้ - จัดระบบการฝก การพัฒนาคูมือ การนิเทศและการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานใหเปนมาตรฐานเดียวกัน - ประสานงานการฝกปฏิบัตงิ านวิชาชีพ รวมถึงการรับขอมูลจากแหลงฝก เพื่อใชประโยชนในการพัฒนาแหลงฝก - สรางและพัฒนาระบบสารสนเทศของการฝกปฏิบัตงิ านวิชาชีพ สําหรับ สวนการพัฒนาคูมือการฝกปฏิบัติงานนั้น เพื่อใหมีมาตรฐานปฏิบัติที่เหมือนกันในแตละสถาบัน รวมไปถึงการให ขอ มู ลการฝกงานที่ จําเปนตอ แหลงฝกที่มีความสอดคลอ งกัน จึ งได มี การกํ า หนดการจั ดทํ า คูมื อ กลางให ใช ได ในทุ กสถาบั น ที่ มีการฝกปฏิ บัติงานเภสัชกรรมอุตสาหการ โดยในคูมือฉบับ นี้มีการเนนเฉพะในสว นการฝกปฏิบั ติงานดานการผลิต การประกั น คุณภาพและควบคุมคุณภาพ การวิจัยและการพัฒนา รวมไปถึงการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพดังจะกลาวรายละเอียด ต อไป สําหรับ การฝกปฏิบั ติงานในสวนที่ นอกเหนือจากนี้ ใหศึกษาจากคูม ือการฝกปฏิ บั ติงานเฉพาะทางแตละประเภทหรื อให เปนไปตามบริบทของแหลงฝกตอไป ๒. วัตถุประสงค ๒.๑ เพื่อใหนิสิต/นักศึกษามีความรู ความเขาใจบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของการฝกปฏิบัติงานดานเภสัชกรรม อุตสาหการ ๒.๒ เสริมสรางประสบการณ ทักษะ และความชํานาญสําหรับนิสิต/นักศึกษา เพื่อใหมีความมั่นใจตอการประกอบอาชีพ สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการในอนาคต ๓. ขอบเขตการฝกปฏิบัติงาน คณะเภสั ช ศาสตร มหาวิท ยาลั ย มหิ ด ล กํ าหนดขอบเขตการฝ ก ปฏิ บั ติง านวิ ช าชีพ สาขาเภสั ช กรรมอุ ต สาหการ ประกอบดวยผลัดบังคับ ๒ ผลัด และ ผลัดเลือก ๕ ผลัด ตามรายวิชาดังนี้ ๓.๑ ผลัดบังคับ ๒ รายวิชา ภกผอ ๖๗๑ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการผลิตยาไมปราศจากเชื้อ ๑ ภกผค ๖๗๑ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการควบคุมและประกันคุณภาพเภสัชภัณฑ ๑ ๓.๒ ผลัดเลือก เลือก ๕ รายวิชา ภกวอ ๖๗๓ การฝกปฏิบัตงิ านวิชาชีพดานการผลิตยาไมปราศจากเชื้อ ๒ ภกวอ ๖๗๔ การฝกปฏิบัตงิ านวิชาชีพดานการผลิตยาไมปราศจากเชื้อ ๓ ภกวอ ๖๗๕ การฝกปฏิบัตงิ านวิชาชีพดานการผลิตยาไมปราศจากเชื้อ ๔ ภกวค ๖๗๒ การฝกปฏิบัตงิ านวิชาชีพดานการควบคุมและประกันคุณภาพเภสัชภัณฑ ๒ ภกวค ๖๗๓ การฝกปฏิบัตงิ านวิชาชีพดานการควบคุมและประกันคุณภาพเภสัชภัณฑ ๓ ภกวค ๖๗๔ การฝกปฏิบัตงิ านวิชาชีพดานการควบคุมและประกันคุณภาพเภสัชภัณฑ ๔ ภกวห ๖๗๑ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการผลิตผลิตภัณฑอาหาร ภกวห ๖๗๒ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการผลิตผลิตภัณฑเสริมอาหารใชเปนยา ภกวภ ๖๗๑ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการผลิตผลิตภัณฑเครื่องสําอาง ภกวร ๖๔๔ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการควบคุมยา ๑ ภกวร ๖๔๕ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการควบคุมยา ๒ ภกวร ๖๔๖ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการขึ้นทะเบียนตํารับยา ๑ ภกวร ๖๔๗ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการขึ้นทะเบียนตํารับยา ๒ ภกวร ๖๗๑ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการวิจัยและพัฒนายา ๑ ภกวร ๖๗๒ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการวิจัยและพัฒนายา ๒ ภกวร ๖๗๔ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการผลิตยาสมุนไพร ภกวร ๖๗๕ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ ๑ ภกวร ๖๗๖ การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ ๒ -๒-


๔. แนวทางการฝกปฏิบัติงาน การฝก ปฏิ บั ติ ง านเภสั ช กรรมอุ ต สาหการเปน การศึ ก ษาในลั ก ษณะการเรี ย นรู ด ว ยตนเอง จากการมอบหมายของ อาจารยป ระจําแหลงฝก การฝกปฏิบัติ การสังเกตการณ การอภิปราย กิจกรรมกลุม รวมไปถึงการเรียนรูจากปญหาที่เกิดขึ้นจาก การปฏิบัตงิ านในแหลงฝก โดยมีแนวทางในการฝกปฏิบัติ ซึ่งสามารถปรับไดตามความเหมาะสมตามบริบทของแหลงฝกดังนี้ ๔.๑ นิสิต/นักศึกษารายงานตัวตออาจารยประจําแหลงฝก (โดยมีการประสานงานจากสถาบันที่รับผิดชอบแหลงฝกแตละ แหงลวงหนา เพื่อแจงชื่อ และขอมูลรายละเอียดที่เกี่ยวของกับ การฝกปฏิบัติงาน) เพื่ อรั บฟ งการปฐมนิ เทศ ชี้ แจง กฏ ระเบียบ ขอบังคับ รวมไปถึงขอควรปฏิบัตติ า งๆ ของแหลงฝกที่นิสิต/นักศึกษาพึงปฏิบัติระหวางการฝกปฏิบัตงิ าน ๔.๒ อาจารยป ระจํ าแหลงฝกเปนเสมือ นพี่ เลี้ยงในการอบรม มอบหมายงาน ติดตาม ควบคุ ม ดู แล ให คํ าแนะนํ า และ อภิปรายรวมกับนิสิต/นักศึกษา ซึ่งควรมีเนื้อหาที่สอดคลองกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมในแตละ ประเภทของการฝกปฏิบัติงาน ทั้งนี้เนื่องจากมีวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมหลายอันในแตละจุดมุงหมายของการฝก ทางอาจารยประจําแหลงฝกสามารถเลือกงาน หรือกิจกรรมที่สอดคลองกับ บริบทของโรงงานไดตามสะดวก นอกจากนี้แลว อาจารยประจําแหลงฝกยังชวยทําหนาที่สนั บสนุ น และกระตุนเตือนนิสิต/นักศึกษา ใหประพฤติ ปฏิบัติตนใหสอดคลองกับจรรยาบรรณวิชาชีพรวมดวย ๔.๓ อาจารยป ระจําแหลงฝก ควรอภิป รายความคืบหนา และประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน รวมกับนิสิต/นักศึกษา เป น ระยะ เพื่ อ กระตุ น ใหนิ สิต/นัก ศึ กษา นํ า ผลการประเมิน ดั งกลา วไปปรับ ปรุง แกไขขอ ที่ บ กพรอ ง หรือ พั ฒ นาสว นที่ ดี อ ยู แล ว ใหสมบูรณมากขึ้น ๕. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน การฝกปฏิ บัติงานเภสัชกรรมอุตสาหการที่ฝก รวมกันในทุ กสถาบัน แบงออกเปน ๖ ผลัดๆ ละ ๖ สั ป ดาห (โดยต องฝก ปฏิบัติงานไมนอยกวารอยละ ๙๕ ของเวลาทั้งหมดที่คณะฯ กําหนด) โดยนิสิต/นักศึกษามีการกลับไปนําเสนอผลงานและสัมมนา ที่คณะวิชาหลังฝกงานผลัดที่ ๒ ผลัดที่ ๔ และ ผลัดที่ ๖ ทั้งนี้แหลงฝกสามารถกําหนดใหนิสิต/นักศึกษาฝกงานผลัดตอเนื่ องได มากกวา ๑ ผลัด โดยแจงความจํานงลวงหนาในแบบสอบถามกอน การฝกปฏิบัติงาน ๖. การนิเทศงาน ๖.๑ วัตถุประสงคของการนิเทศงานสําหรับอาจารยประจําสถาบันการศึกษา ๖.๑.๑ ประสานงานกับ อาจารยป ระจําแหลงฝกเพื่อใหการฝกปฏิ บัติงานดําเนิ นการไปได อย างเรียบรอยและและ เปนไปตามปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ๖.๑.๒ ติดตามความกาวหนาของนิสิต/นักศึกษาในการฝกปฏิบัตงิ าน ๖.๑.๓ รั บ ทราบปญ หาและอุป สรรคของการฝก ปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ช ว ยกั น แก ไขร วมกั น ระหว า งอาจารย ป ระจํ า สถาบันการศึกษา อาจารยประจําแหลงฝกและนิสิต/นักศึกษา ๖.๑.๔ รับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการฝกปฏิบัติงานจากนิสิต/นักศึกษา อาจารยประจําแหลงฝก และผูที่เกี่ยวของ เพื่อใชในการพัฒนาระบบการฝกปฏิบัติงานใหดีขึ้น ๖.๒ รูปแบบการนิเทศงาน ๖.๒.๑ การนิเทศทางโทรศัพทโดยอาจารยประจําสถาบันแหลงฝกที่รับผิดชอบในแตละแหลงฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ ๖.๒.๒ การเดิ น ทางไปนิ เทศงาน ณ แหล ง ฝ ก โดยอาจารยป ระจํ า สถาบั น แหลง ฝก ที่ รับ ผิ ด ชอบหรื อ ตั ว แทน อาจารยประจําสถาบันแหลงฝกที่รับผิดชอบ ๗.การประเมินผล การประเมิ น ผลโดยภาพรวมจะแบง เป น การประเมิ น ผลที่ ไ ดจ ากอาจารยป ระจํ า แหลง ฝก ๘๐ เปอรเ ซ็ น ต และอาจารยประจําสถาบันการศึกษาที่รับผิดชอบสวนการฝกงาน ๒๐เปอรเซ็นต ทั้งนี้จะมีรายละเอียดการประเมินที่แตกตางกัน ซึ่งสามารถอางอิงจากแบบประเมินผลในแตละประเภทของการฝกงานในคูมือประกอบ -๓-


๘. ขอควรปฏิบัติและความรับผิดชอบของนิสิต/นักศึกษาระหวางการฝกปฏิบัติงาน ขอปฏิบัติทั่วไประหวางการฝกปฏิบัติงานในคูมือนี้ใชครอบคลุมการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพทุกผลัดของนักศึกษาเภสัช ศาสตรชั้นปที่ ๖ สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ๘.๑ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ ระเบียบของคณะเภสัชศาสตร มหาวิท ยาลัยมหิ ดล และ ประกาศคณะเภสัช ศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล วาดวยการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ นักศึ กษาหลักสูตรเภสัชศาสตรบั ณฑิต พ.ศ. ๒๕๕๘ อี กทั้งต องไม ประพฤติตนในทางเสื่อมเสียตอชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยมหิดล ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวาดวยวินัยนักศึกษา และขอบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวของ หมายเหตุ ประกาศเหลานี้อ ยูในคูมือนักศึกษา ซึ่งนักศึกษาทุกคนไดรับแจกแลวตั้งแตชั้นป ที่ 2 ขอใหนักศึ กษาถือ ปฏิบัติโดยเครงครัด ๘.2 นักศึกษาจะตองมีความประพฤติดี อาทิเชน - ตรงตอเวลา และใชเวลาใหเปนประโยชน - มีสัมมาคารวะ มารยาทออนนอม พูดจาสุภาพเรียบรอย รูจักกาลเทศะ และเอื้อเฟอตอผูอื่น - รับผิดชอบตอหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย - มีกิริยามารยาท วินัย และมนุษยสัมพันธที่ดี - ใหความเคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบของแหลงฝก - ในกรณีที่นักศึกษาทะเลาะวิวาทกับอาจารยประจําแหลงฝก เจาหนาที่ของแหลงฝก เพื่อนนักศึกษา ถึงขั้นทําราย รางกาย ใหอาจารยประจําแหลงฝกปรับลดคะแนนนักศึกษาลงไดหรือปรับตกหรือสงนักศึกษากลับ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ ดุลยพินิจของอาจารยประจําแหลงฝก ๘.๓ ในกรณีที่นักศึกษาไดเปดเผยความลับหรือกระทําการทุจริตหรือสอเจตนาในทํานองทุจริตในทรัพยสินสวนบุคคลหรือ สวนราชการหรือสวนเอกชน ณ แหลงฝก (เชน เงิน ยา พัสดุ ขอมูลและเอกสารตางๆ เปนตน) นักศึกษาจะถูกปรับตก (ไดรับการ ประเมินเปน F) ในรายวิชานั้นทันที หากการกระทําของนักศึกษาสงผลใหมีคดีความถูกฟองรองโดยแหลงฝก ทางคณะฯ จะไมรับผิดชอบใด ๆ ๘.๔ นักศึกษาพึงระลึกวาผลจากการกระทําของนักศึกษา อาจสงผลตออาจารยประจําแหลงฝก แหลงฝก และนักศึกษารุน ถัดไป แมจะสิ้นสุดการฝกปฏิบัติงานแลว ๘.๕ ในกรณีที่นักศึกษาเลนการพนันหรือดื่มสุราในระหวางการฝกปฏิบัติงาน หรือในสถานที่ปฏิบัติงานวิชาชีพ หากฝาฝน นักศึกษาจะถูกปรับตก (ไดรับการประเมินเปน F) ในรายวิชานั้นทันที ๘.๖ นักศึกษาตองมีความตั้งใจและความรับ ผิดชอบที่ จ ะฝ กปฏิบั ติงานที่ได รับ มอบหมายจากอาจารย ประจํ าแหลงฝก เพื่อใหเกิดทักษะในระดับวิชาชีพชั้นสูง (professional skill) โดยศึกษาในกิจกรรมตางๆ แบบ active learning (เชน การอภิปราย ซักถาม การสังเกตการณ การสืบคนขอมูลดวยเอกสาร และ/หรือ ดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ) มากกวา การฝกปฏิบั ติงานแบบ passive learning หากนักศึกษาถูกสงตัวกลับเนื่องจากการประพฤติตนที่ไมเหมาะสมของนักศึกษา ทางคณะฯ จะไมหาแหลงฝก ทดแทนให และไมอนุญาติใหนักศึกษาหาแหลงฝกดวยตนเอง จะตองรอไปฝกงานในปการศึกษาตอไป ๘.๗ นักศึกษาตองฝกปฏิบัติงานใหครบตามกําหนดเวลา ไมนอยกวารอยละ 95 ของระยะเวลาฝกปฏิบัติงานทั้งหมด และในกรณีที่ลาจะตองขออนุญาตอาจารยประจําแหลงฝกเปนลายลักษณอักษร (การลากิจใหลาลวงหนา การลาปวยใหเขียนใบลา ทั น ที ที่ ก ลั บ มาฝ กปฏิ บั ติ งาน และให สํา เนาใบลาและนํ า กลั บ มาส งที่ ห น ว ยจั ด การฝ ก ปฏิ บั ติงานวิ ช าชี พ คณะเภสั ช ศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล) ในกรณีที่ไมปฏิบัติตามโดยไมมีเหตุอันควรตามดุลยพินิจของอาจารยประจําแหลงฝกและอาจารยที่ปรึกษา นักศึกษาจะถูกปรับตก (ไดรับการประเมินเปน F) ในรายวิชานั้นๆ ๘.๘ นักศึกษาพึงระลึกเสมอวาสภาวะแวดลอมของการฝกปฏิบัติงานอาจไมเปนไปตามการคาดการณของนักศึกษา และ นักศึกษาควรปฏิบัติตนใหเหมาะสมตามคุณวุฒิและวัยวุฒิ ๘.๙ หากนักศึกษามีขอสงสัยเกี่ยวกับการฝกปฏิบัติงาน ใหติดตอโดยตรงที่หนวยจัดการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ คณะเภสัช ศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท ๐๒-๓๕๔๓๗๔๘ -๔-


การฝกปฏิบัติงานดานการผลิตยา (Clerkship in Production)

-๕-


การฝกปฏิบัติงานดานการผลิตยา (Clerkship in Production) การฝกปฏิบัติงานสามารถดําเนินการไดในแหลงฝกที่เกี่ยวของกับการผลิตยา และผลิตภัณฑสุขภาพที่ไดรับรองมาตรฐาน ซึ่งมุ งเนนในแงของการแลกเปลี่ยนเรียนรู การฝกฝนเพื่อเพิ่มทักษะพื้นฐานดานการผลิ ตและการควบคุ มกระบวนการผลิต อาจ มีการฝกทักษะเพิ่มเติมตามจุดมุงหมายยอยและวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมอื่น โดยมีแนวทางการจัดการที่อาจแตกตางกันไปขึ้นอยู กับความพรอมของแหลงฝกโดยสามารถปรับเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม จุดมุงหมาย เพื่อใหนิสิต/นักศึกษามีความรูความเขาใจและ/หรือทักษะที่จําเปนในงานดานการผลิต และควบคุมกระบวนการผลิตใน เรื่องตางๆ ไดแก ๑. เทคโนโลยีการผลิตยาหมวดตางๆ ในระดับอุตสาหกรรม และทักษะในการควบคุมกระบวนการผลิต ๒. การบริหารปจจัยการผลิตและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ รวมทั้งอาคารสถานที่ และสิ่งแวดลอม ๓. หลักการบริหารการผลิต การบริหารคุณภาพ การวางแผนการผลิต และควบคุมสินคาคงคลัง ๔. กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยา วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อใหนิสิต/นักศึกษาที่ผานการฝกปฏิบัตงิ านดานการผลิตมีความสามารถ ดังนี้ ๑. เทคโนโลยีการผลิตยาหมวดตางๆ ในระดับอุตสาหกรรม และทักษะในการควบคุมกระบวนการผลิต ๑.๑ มีทักษะในการผลิตและควบคุมกระบวนการผลิตยาในรูปแบบตางๆ อยางนอยหนึ่งรูปแบบ สามารถกําหนดลําดับ ขั้นตอน เลือกเครื่องมือที่ใช และหาสภาวะที่เหมาะสมของแตละกระบวนการผลิตได ๑.๒ ประยุกตความรูเ กี่ยวกับสถิติและคณิตศาสตรที่เกี่ยวกับการผลิต เชน การกําหนดแผนการสุมตัวอย าง การทํ า แผนภูมิควบคุมคุณภาพ (quality control chart), Cpk, RSD เปนตน เพื่อนําไปควบคุมการผลิต ๒. การบริหารปจจัยการผลิตและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ รวมทั้งอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม ๒.๑ เขาใจหลักการทํางานของเครื่องจักรอุปกรณตางๆ ในแตละหนวยการผลิต ตลอดจนสิ่งอํานวยความสะดวกในการ ผลิต วิธีการทําความสะอาด ซอมแซมและบํารุงรักษา รวมถึงการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการ (process validation) ๒.๒ ทราบวิธีการตรวจรับรอง (qualification) เครื่องจักรการผลิต และการสอบเที ยบ (calibration) เครื่องมือวัดที่ ใชในการผลิต ๒.๓ ทราบกระบวนการฝกอบรมพนักงานฝายผลิต รวมทั้งหลักปฏบัติเกี่ยวกับสุขอนามั ยและความปลอดภั ยในการ ปฏิบัติงาน ๒.๔ เขาใจหลั กการและแนวทางการตรวจติ ดตามและควบคุ มสภาวะแวดลอ ม (environmental monitoring & control) ในบริเวณผลิตยา ๒.๕ เขาใจหลักการปองกันการปนเปอนขาม (cross-contamination) และการปองกันยาและวัตถุอันตรายไมใหออก สูสภาวะแวดลอมภายนอกโรงงาน ๒.๖ ทราบขอกําหนดเกี่ยวกับ หองสะอาด (cleanroom) ระดั บ ตางๆ รวมถึ งวิธี การตรวจติดตามและประเมินห อง สะอาดในดานตางๆ ๒.๗ เขาใจหลักการและแนวทางควบคุมมลพิษทางอุตสาหกรรมในดานตางๆ ทั้งมลพิษทางน้ํา ทางอากาศ ทางเสียง ๓. หลักการบริหารการผลิต การบริหารคุณภาพ การวางแผนการผลิต และควบคุมสินคาคงคลัง ๓.๑ เขา ใจลักษณะผังโครงสรางองคกร ทราบบทบาทหนา ที่ และความรับ ผิ ดชอบของบุคลากรฝายผลิ ต เภสั ชกรผู ควบคุมการผลิต และเขาใจความเชื่อมโยงระหวางฝายผลิตกับฝายอื่นที่เกี่ยวของ ๓.๒ เขาใจระบบเอกสาร (documentation) ที่เกี่ยวของกับ การผลิต เชน SOP, BMR หรือ Protocol เปนตน ทั้ ง ในสวนการจัดทํา การควบคุม การจัดเก็บ และการใชประโยชน ๓.๓ เขาใจหลักการและวิธีการวางแผนการผลิต เชน การวางแผนกําลังการผลิต (capacity planning) การจัดตาราง การผลิต การบริหารวัสดุและสินคาคงคลัง การตรวจสอบและจัดการคอขวดของการผลิต เปนตน โดยอาจเขาไปดําเนินการจริง หรือการทําโจทยจากการจําลองสถานะการณ -๖-


๓.๔ เขาใจหลักเกณฑที่เกี่ยวของกับระบบประกันคุณภาพ เชน GMP, ISO, HACCP ๓.๕ เขาใจหลักการบริหารความเสี่ยง (risk management) โดยเฉพาะการบริหารความเสี่ยงดานคุณภาพ (Quality risk management) เพื่อการประยุกตใชในการประกันคุณภาพการผลิต ๓.๖ เขาใจแนวทางปฏิบัติตามหลักปฏิบัติที่ดใี นการจัดสง (GDP) ๔. กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยา ๔.๑ ทราบขอกําหนดและกฎระเบียบเกี่ยวกับการขออนุญาตผลิต เชน การขออนุญาตสถานที่ผลิต การสงรายงานการ ผลิต ๔.๒ ทราบขอกําหนดและกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม เชน กฎหมายแรงงาน กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน แนวทางการฝกปฏิบัติงาน ๑. สถานประกอบการที่เปนแหลงฝกจัดตารางการฝกปฏิบัติงานของนิสิต/นักศึกษา เพื่อใหเรียนรูแ ละมีทักษะในการปฏิบัติ ครบตามหัวขอตางๆ ที่กําหนด โดยมีอาจารยแหลงฝกคอยสอนเพิ่มเติมหรือใหคําแนะนําระหวางการฝกปฏิบัติ ๒. นิสิต/นักศึกษาตองฝกปฏิบัตงิ านแตละวันตามที่แหลงฝกกําหนด โดยฟงการบรรยายและ/หรือศึกษาดวยตนเอง ๓. นิสิต/นักศึกษาตองฝกปฏิบัติหรือทํากิจกรรมในสวนที่ไดรับมอบหมายจากอาจารยประจําแหลงฝก บางกรณีอาจารย แหลงฝกอาจมอบหมายหัวขอพิเศษใหนิสิต/นักศึกษาไดศึกษาคนควาเพิ่มเติม นิสิต/นักศึกษาตองปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย อยางเครงครัด ๔. เขารวมประชุม สัมมนาตาง ๆ ที่จัดขึ้นในแหลงฝก รวมถึงการประชุมวิชาการอื่น ๕. หลังเสร็จสิ้นการฝกปฏิบัติงาน ควรใหนิสิต/นักศึกษานําเสนอผลที่ไดจากการฝกปฏิบัติงาน รวมถึงผลการศึกษาหัวขอ พิเศษหากไดรับมอบหมาย ๖. แหลงฝกอาจพิจารณาปรับเปลี่ยนหัวขอและเวลาการฝกปฏิบัติในแตละหัวขอตามความพรอมและความเหมาะสมของ แตละแหลงฝก

-๗-


กรอบแนวทางการจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัติงาน (ตอ ๑ ผลัด)

-๘-


-๙-


การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน ถาไมมีการระบุเปนพิเศษจากมหาวิทยาลัยตนสังกัดของนิสิต/นักศึกษา ใหใชแนวทางเกณฑการประเมินผลตามนี้ ๑. การประเมินโดยอาจารยประจํามหาวิทยาลัย รอยละ ๒๐ ๑.๑ รายงานผลการฝกปฏิบัตงิ าน รอยละ ๑๐ ๑.๒ การนําเสนอผลการปฏิบัติงาน รอยละ ๑๐ ๒. การประเมินโดยอาจารยประจําแหลงฝก รอยละ ๘๐ ๒.๑ การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงพฤติกรรม (แบบ-ป-๑) รอยละ ๒๐ ๒.๒ การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงความรูและทักษะการฝกปฏิบัตงิ านดานการผลิตยา (แบบ-ป-๒-๑) รอยละ ๕๐ ๒.๓ การประเมินผลการนําเสนอ (แบบ ป-๓) รอยละ ๑๐ - การนําเสนองานที่ไดรับมอบหมายในรูปแบบตางๆ เชน SOP, qualification, validation, calibration เปนตน - ประเมินจากความสมบูรณของชิ้นงาน การนําเสนองาน เปนตน หมายเหตุ นักศึกษาจะไมไดรับการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานทั้งหมด เมื่อมีคะแนนจากการประเมินความประพฤติและทัศนคติ (แบบ-ป-๑) นอยกวา ๖๐ เปอรเซ็นต

-๑๐-


การฝกปฏิบัติงานดานการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพยา (Clerkship in Quality Assurance and Quality Control)

-๑๑-


การฝกปฏิบัติงานดานการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพยา (Clerkship in Quality Assurance and Quality Control) การฝกปฏิ บั ติงานสามารถดําเนินการไดในแหลงฝกที่เกี่ย วของกับ อุตสาหกรรมยา และผลิ ตภั ณ ฑสุ ข ภาพที่ ได รับ รอง มาตรฐาน ซึ่งมุงเนนในแงของการฝกฝนเพื่อเพิ่มทักษะพื้นฐานดานการประกันและควบคุมคุณภาพ อาจมีการฝกทักษะเพิ่มเติมตาม จุดมุงหมายยอยและวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมอื่น โดยมีแนวทางการจัดการที่อาจแตกตางกันไปขึ้นอยูกับความพรอมของแหลงฝก โดยสามารถปรับเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม จุดมุงหมาย เพื่อใหนิสิต/นักศึกษามีความรู ความเขาใจและ/หรือทักษะที่ จําเปนในงานดา นการประกันและควบคุ มคุณ ภาพในเรื่อง ตางๆ ไดแก ๑. ระบบคุณภาพรวมถึงหลักเกณฑและวิธีการที่ดตี างๆ และมาตรฐานสากลที่เกี่ยวของกับการประกัน และควบคุมคุณภาพ ในการผลิตยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๒. การตรวจรับรอง (Qualification) การตรวจสอบความถูกตอง (Validation) และการสอบเทียบ (Calibration) ๓. การควบคุมคุณภาพตลอดกระบวนการผลิต วิธีวิเคราะหการตรวจสอบคุณภาพตามเภสัชตํารับ และเครื่องมือที่ใชในการ ตรวจสอบคุณภาพ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อใหนิสิต/นักศึกษาที่ผานการฝกปฏิบัตงิ านดานการประกันและควบคมคุณภาพมีความสามารถ ดังนี้ ๑. ระบบคุณ ภาพรวมถึงหลักเกณฑแ ละวิ ธีการที่ ดีตา งๆ และมาตรฐานสากลที่ เกี่ ยวขอ งกั บการประกั น และควบคุ ม คุณภาพในการผลิตยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๑.๑ อธิ บ ายหลั กการการบริห ารคุณ ภาพ (Quality Management) ตา ง ๆ เพื่ อ ใชในการประกั น และควบคุ ม คุ ณ ภาพของการผลิ ต ยา และผลิ ต ภั ณ ฑสุ ข ภาพ เชน การบริ ห ารคุ ณ ภาพโดยรวม (Total Quality Management: TQM) ระบบปฏิ บั ติการแกไข/ปฏิ บัติการปอ งกั น (Corrective Action/Preventive Action System: CAPA) ระบบการบริห ารการ เปลี่ยนแปลง (Change Management System) การบริหารความเสี่ยงดานคุณภาพ (Quality Risk Management) ๑.๒ อธิบายหลักการระบบคุณภาพรูปแบบตางๆ ที่เกี่ยวของซึ่งมีการนํามาใชเพื่อบรรลุเปาประสงคในการประกัน และ ควบคุมคุณภาพการผลิตยา และผลิตภัณฑสุขภาพ เชน หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต (Good Manufacturing Practice: GMP) หลักปฏิบัติที่ดีทางหองปฏิบัติการ (Good Laboratory Practice: GLP) หลักปฏิบัติที่ดีในการจัดสง (Good Distribution Practice: GDP) หลักปฏิบัตทิ ี่ดีในการจัดเก็บ (Good Storage Practice: GSP) มาตรฐานไอเอสโอ (ISO) ๑.๓ อธิบายหลักการ และระบุปจจัยในขั้นตอนการผลิตที่มีตอคุณภาพผลิตภัณฑ ไดแก จัดซื้อ การจัดหาวัตถุดิบและ วัสดุการบรรจุ เทคนิคของกระบวนการที่สําคัญและพารามิเตอรสําคัญที่ตองควบคุมในการผลิต ปจจัยที่มีผลตอความสม่ําเสมอของ ตัวยาสําคัญ ความคงสภาพทางเคมีกายภาพ และชีวภาพ การควบคุมและตรวจติดตามสภาวะแวดลอมในการผลิต หลักการของ เทคโนโลยีวิเคราะหในกระบวนการผลิต (Process Analytical Technology: PAT) และ กระบวนการปลอยผานรุน ผลิต (Batch Release Process) เปนตน ๑.๔ อธิ บ ายการติดตามหลั งการผลิ ต เพื่ อ การพั ฒ นาผลิ ตภั ณ ฑ ไดแ ก การทบทวนคุ ณ ภาพผลิ ตภั ณ ฑ (Product Quality Review) และการตรวจสอบตนเอง (Self-Inspection) ๒. การตรวจรับรอง (Qualification) การตรวจสอบความถูกตอง (Validation) และการสอบเทียบ (Calibration) ๒.๑ อธิบ ายถึงความหมายของการตรวจรับรอง และ V-Model ของการตรวจรับรอง และความหมายของขั้นตอน ต า งๆ ของการตรวจรับ รอง คื อ การตรวจรั บ รองการออกแบบ (Design Qualification: DQ) การตรวจรั บ รองการติ ดตั้ ง (Installation Qualification: IQ) การตรวจรับรองการทํ างาน (Operational Qualification: OQ) การตรวจรับ รองสมรรถนะ (Performance Qualification: PQ) -๑๒-


๒.๒ อธิบายถึงความหมายของการตรวจสอบความถูกตมถึงอธิ บาย และบอกแนวทางหั วขอที่ สําคั ญในการจั ดทํา Validation Master Plan ๒.๓ อธิ บ ายวิ ธี ต า งๆในการการตรวจสอบความถู ก ตอ ง คื อ การตรวจสอบความถู ก ตอ งกอ นการผลิ ต จํ า หนา ย (Prospective Validation) การตรวจสอบความถูกตองพรอมการผลิตจําหนาย (Concurrent Validation) การตรวจสอบความ ถูกตองยอนหลัง (Retrospective Validation) ๒.๔ อธิบายการตรวจสอบความถูกตองซ้ํา (Revalidation) และการควบคุมการเปลี่ยนแปลง (Change Control) ๒.๕ อธิ บ ายถึ งกิ จ กรรมสํ า คั ญ ความหมาย และแนวทางในการตรวจสอบความถู ก ตอ ง ไดแ ก การตรวจสอบ ความถูกตองของกระบวนการผลิต (Process Validation) การตรวจสอบความถูกตองของวิธีวิเคราะห (Analytical Method Validation) การตรวจสอบความถูกตองของการทําความสะอาด (Cleaning Validation) และการสอบเทียบ (Calibration) ๓. การควบคุมคุณภาพตลอดกระบวนการผลิต วิธีวิเคราะห การตรวจสอบคุณภาพตามเภสัชตํารับ และเครื่องมือที่ใชใน การตรวจสอบคุณภาพ ๓.๑ ระบุ และสืบคนขอมูลที่ตอ งการจากตํารายาตางๆ ที่ทางการรับ รอง ไดแก Unites States Pharmacopoeia (USP), British Pharmacopoeia (BP), Thai Pharmacopoeia (TP) และ International Pharm acopoeia (Ph. Int.) รวมถึ ง การสื บ คน ขอ มู ลจากตํ า รายาอื่ นๆ ที่ เกี่ ยวขอ งทางเภสัช กรรม เชน Merck, Martindale, Clarke's Isolation and Identification Drugs และ Remington's Pharmaceutical Sciences ๓.๒ อธิบายความหมาย ความสําคัญ และวัตถุประสงคของขอกําหนดวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ และผลิตภัณฑสําเร็จรูป รวมถึงสามารถระบุขอมูลที่จําเปนในขอกําหนดวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุและผลิตภัณฑสําเร็จรูป พรอมทั้งวัตถุประสงคของขอมูลแต ละอยาง ๓.๓ อธิบาย และจัดทําเอกสารขอกําหนดวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ และผลิตภัณฑสําเร็จรูป ๓.๔ อธิบาย และเลือกหลักการทางสถิติที่ใชในการควบคุมคุณภาพ ๓.๕ อธิบายหลักการ และเลือกเครื่องมือในการวิเคราะหและทดสอบตางๆ ที่สําคัญ ๓.๖ วิเคราะหเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณที่สําคัญในตํารายาทางเคมีกายภาพและชีวภาพ ๓.๗ อธิบ ายหลั กการพัฒ นาวิธี วิเคราะห รวมถึงตรวจสอบความถู กตอ งของวิ ธีวิ เคราะห และความสอดคล อ งกั บ ขอกําหนดในตํารายา แนวทางการฝกปฏิบัติงาน ในการฝกปฏิบัติงานนิสิต/นักศึกษามีความรับผิดชอบดังตอไปนี้ ๑. เขารวมในกิจกรรมประจําวันของแหลงฝกในสวนที่ไดรับมอบหมายจากอาจารยประจําแหลงฝก ๒. ปฏิบัติงานในหนวยประกันคุณภาพ และควบคุมคุณภาพของแหลงฝก โดยครอบคลุมวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ๓. ฝกการจัดทําเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของกับระบบคุณภาพ ๔. ฝกสืบคนขอมูลจากตํารายา และทําการวิเคราะหเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณที่สําคัญในตํารายา ทั้งทางเคมี กายภาพ และชีวภาพ ๕. เขารวมการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการตรวจรับรอง การตรวจสอบความถูกตอง และการสอบเทียบ ๖. เขารวมการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาวิธีการวิเคราะห ๗. เขารวมประชุม สัมมนาตางๆ ที่จัดขึ้นในแหลงฝก รวมถึงการประชุมวิชาการอื่น ๘. กิจกรรมตางๆ ขางตนใหแหลงฝกพิจารณาตามความพรอมและความเหมาะสมของแตละแหลงฝก

-๑๓-


กรอบแนวทางการจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัติงานภาพรวม (ผลัดบังคับ) ๖ สัปดาห

-๑๔-


-๑๕-


-๑๖-


การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน ถาไมมีการระบุเปนพิเศษจากมหาวิทยาลัยตนสังกัดของนิสิต/นักศึกษา ใหใชแนวทางเกณฑการประเมินผลตามนี้ ๑. การประเมินโดยอาจารยประจํามหาวิทยาลัย รอยละ ๒๐ ๑.๑ รายงานผลการฝกปฏิบัติงาน รอยละ ๑๐ ๑.๒ การนําเสนอผลการปฏิบัติงาน รอยละ ๑๐ ๒. การประเมินโดยอาจารยประจําแหลงฝก รอยละ ๘๐ ๒.๑ การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงพฤติกรรม (แบบ-ป-๑) รอยละ ๒๐ ๒.๒ การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพ และควบคุมคุณภาพยา (แบบ-ป-๒-๒) รอยละ ๕๐ ๒.๓ การประเมินผลการนําเสนอ (แบบ ป-๓) รอยละ ๑๐ - การนําเสนองานที่ไดรับมอบหมายในรูปแบบตางๆ เชน COA, SOP, qualification, validation, calibration, การพัฒนาวิธีวิเคราะห เปนตน - ประเมินจากความสมบูรณของชิ้นงาน การนําเสนองาน เปนตน หมายเหตุ นักศึกษาจะไมไดรับการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานทั้งหมด เมื่อมีคะแนนจากการประเมินความประพฤติและทัศนคติ (แบบ-ป-๑) นอยกวา ๖๐ เปอรเซ็นต

-๑๗-


การฝกปฏิบัติงานดานการวิจัยและพัฒนายา (Clerkship in Research and Development)

-๑๘-


การฝกปฏิบัติงานดานการวิจัยและพัฒนายา (Clerkship in Research and Development) การฝกปฏิบัติงานสามารถดําเนินการไดในแหลงฝกที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนาหลายประเภท เชน แผนกวิจัยและ พัฒนาของโรงงาน สถาบันวิจัย รวมไปถึงสถาบันการศึกษา ซึ่งมุงเนนในแงของการฝกฝนเพื่อเพิ่ มทักษะพื้ นฐานในการวิจัย และ อาจมีการฝกทักษะเพิ่มเติมตามจุดมุง หมายยอยและวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมอื่น โดยมีแนวทางการจัดการที่อาจแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับความพรอมของแหลงฝกโดยสามารถปรับเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม จุดมุงหมาย เพื่อใหนิสิต/นักศึกษามีทักษะในการวิจัย กระบวนการวิจัย การคนหาขอมูล การเผยแพรขอมูลที่เกี่ยวของ รวมไปถึงความ เขาใจและการปฏิบัติตามหลักจริยธรรมจรรยาบรรณของนักวิจัยที่ดี นอกจากนี้ควรมีทักษะที่จําเปนในงานดานการวิจัยและพัฒนา ยา ผลิตภัณฑสุขภาพ และผลิตภัณฑที่เกี่ยวของ เชน ๑. การประยุกตหลักวิทยาศาสตรในการพัฒนายา ผลิตภัณฑสุขภาพ และระบบนําสงยา ๒. การถายทอดเทคโนโลยี (Technology Transfer) จากหองปฏิบัติการสูการผลิตในระดับอุตสาหกรรม ๓. ระบบคุณภาพและหลักปฏิบัติที่ดีที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนา วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อใหนิสิต/นักศึกษาที่ผานการฝกปฏิบัตงิ านดานการวิจัยและพัฒนามีความสามารถในกิจกรรมที่เกี่ยวของ เชน ๑. ทักษะในการวิจัย กระบวนการวิจัย การคนหาขอมูล การเผยแพรขอมูลที่เกี่ยวของ รวมไปถึงความเขาใจและปฏิบัติตาม หลักจริยธรรมจรรยาบรรณของนักวิจัยที่ดี ๑.๑ อธิบายทฤษฏีและหลักการพื้นฐานที่เกี่ยวของกับระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) เชน การตั้งคําถาม ในการวิจัย การทบทวนและประเมินวรรณกรรม รูปแบบการทําวิจัย การออกแบบการวิจัยอยางเปนระบบ ขั้นตอนในการทําวิจัย การประมวลและวิเคราะหผล รวมถึงการประยุกตใชสถิติตา งๆ ที่เกี่ยวของกับการวิจัย ๑.๒ ยกตัวอยางแหลงขอมูล (Sources) ที่จําเปนตอการวิจัยและพั ฒนา ทั้งขอมูลแบบปฐมภูมิ (Primary Sources) ทุติยภูมิ (Secondary Sources) และตติยภูมิ (Tertiary Sources) ๑.๓ สืบคนขอมูลที่จําเปนตอการทําวิจัย เชน จากฐานขอมูลวารสาร ฐานขอมูลสิทธิบัตรไทยและสิทธิบัตรตางประเทศ รวมไปถึงแหลงความรูอื่นที่เกี่ยวของ ๑.๔ ประเมินความนาเชื่อถือของแหลงขอมูลตางๆ เพื่อประโยชนในการทําวิจัยและพัฒนาตํารับยา รวมไปถึงสามารถ วิเคราะหประมวลผลขอมูลที่ไดและนําเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม ๑.๕. ปฏิบั ติตนไดตามจรรยาบรรณของนั กวิ จัย ตามแนวทางที่ กําหนดโดยสภาวิจั ยแหงชาติ รวมไปถึ งจริยธรรม จรรยาบรรณอื่นที่เกี่ยวของ เชน จรรยาบรรณการใชสัตวทดลอง จริยธรรมการวิจัยยาในมนุษย เปนตน ๒. ประยุกตใชหลักวิทยาศาสตรในการพัฒนาตํารับยา ๒.๑ อธิ บ ายความรูพ ื้นฐานที่เกี่ ยวขอ งกับ การพั ฒ นาตํ ารับ ยาในรูป แบบตางกั นในเรื่ องตา งๆ เชน คํ าจํ ากัดความ องคประกอบ หลักการและกระบวนการเตรียม การคํานวณที่เกี่ยวของกับการตั้งตํารับ รวมไปถึงการประเมินผลที่เกี่ยวของ ๒.๒ สืบ คนและทดลองเพื่อหาขอมูลการศึกษากอนการตั้งตํารับ (Pre-formulation Study) ของตัวยาและสารชวย ทั้งคุณสมบัติทางเคมีฟสิกส คุณสมบัติของผง และคุณสมบัติอื่นที่เกี่ยวของ ๒.๓ วิเคราะหปญ  หาและหาแนวทางในการตั้งตํารับยาใหอยูในรูปแบบที่ตองการ โดยอาศัยขอมูลจากทฤษฏีพื้นฐาน และการศึกษากอนการตั้งตํารับ เพื่อใหไดตํารับยาที่นาใช มีประสิทธิผล มีความปลอดภัย และมีความคงสภาพ ๒.๔ อธิบายความหมาย ความสําคัญ หนาที่ของสารชวย (Excipients) และสามารถเลือกชนิดและกําหนดปริมาณสาร ชวยที่เหมาะสม ๒.๕ อธิ บายขั้นตอนและเครื่องมือที่ใชในกระบวนการผลิตของยาในแตละรูปแบบได มีความเขาใจในทฤษฏีพื้นฐาน และเครื่ องมือ ในหนว ยการผลิ ต รวมไปถึ งการตรวจรับ รองและการตรวจสอบความถู กตอ งของเครื่ อ งมื อ (Qualification & Validation) เปนตน -๑๙-


๒.๖ อธิ บายระบบภาชนะบรรจุและการปด (Container and Closure System) และสามารถเลือกใหเหมาะสมกับ ยาแตละรูปแบบยาและแตละชนิด ๒.๗ อธิบายหลักเกณฑและขั้นตอนในการศึกษาความคงสภาพของยาและมีความรูในการกําหนดวันสิ้นอายุของยาได ๒.๘ อธิ บ ายหลักการและกระบวนการตรวจสอบเพื่อพิ สูจน Therapeutic Equivalence เชน ชีวสมมู ลและทราบ ประเภทของยาที่จําเปนตองผานการประเมินชีวสมมูล ๓. ทักษะในการถายทอดเทคโนโลยีจากหองปฏิบัติการสูการผลิตในระดับนํารองหรือระดับอุตสาหกรรม ๓.๑ เลือกเทคโนโลยี กระบวนการ เครื่องมื อที่เหมาะสมในการขยายสวน จากการเตรี ยมในปริม าณนอยในระดั บ หองปฏิบัติการ (Laboratory Scale) สูระดับนํารอง (Pilot Scale) หรือระดับการผลิต (Production Scale) ๓.๒ อธิ บ ายแนวทางในการแกไขปญ หาหรื อ ทดสอบเพิ่ ม เติ ม เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงสู ต รตํ า รั บ สถานที่ ผ ลิ ต กระบวนการผลิต เครื่องมือที่ใชในการผลิต ๔. ทักษะเกี่ยวกับระบบคุณภาพและหลักปฏิบัติที่ดีที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนา ๔.๑ อธิบายขอกําหนด แนวทางในการปฏิบัติ และการทําเอกสารที่เกี่ยวของเพื่อใหไดการรับรองตามหลักปฏิบัติที่ดี ทางหองปฏิบัติการ ๔.๒ รวบรวมขอมูลและเตรียมเอกสารที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Development) เชน สวนขอมู ลของแนวทางการศึกษาและพัฒ นา องคป ระกอบของสูตรตํ ารับ การพั ฒ นากระบวนการผลิ ต การเลื อกระบบ ภาชนะบรรจุและการปด คุณสมบัติทางจุลชีววิทยา เปนตน ตามแนวทางมาตรฐาน เชน ASEAN Harmonization หรือ ICH Q๘ เพื่อประกอบการขึ้นทะเบียน แนวทางการฝกปฏิบัติงาน ในการฝกปฏิบัติงานนิสิต/นักศึกษามีความรับผิดชอบดังตอไปนี้ ๑. เขารวมในกิจกรรมประจําวันของแหลงฝกในสวนที่ไดรับมอบหมายจากอาจารยประจําแหลงฝก ๒. ปฏิบัติงานในหนวยวิจัยและพัฒนาของแหลงฝก โดยครอบคลุมวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ๓. ฝกการออกแบบการวิจัย การสืบคน และวิเคราะหขอมูลเพื่อแกปญหาในการตั้งตํารับยา ๔. ฝกการตั้งตํารับ ยาอยางนอย ๑ รูป แบบ โดยอาศัยผลจากการวิเคราะหขอมูลที่ สืบ ค นได ทํ าการทดลองเพิ่ มเติมเพื่ อ หาขอมูลการศึกษากอนการตั้งตํารับ การเลือกกระบวนการผลิตและเครื่องมือที่เกี่ยวของ การกําหนดชนิดและปริมาณของสารชวย จนไดสูตรตํารับเบื้องตน ๕. เขารวมการปฏิบั ติงานที่เกี่ยวของกับการขยายขนาดการผลิต และการแกปญ  หาเพิ่มเติม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง สูตร ตํารับ สถานที่ผลิต กระบวนการผลิต เครื่องมือที่ใชในการผลิต ๖. เขารวมการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาวิธีการวิเคราะห การตรวจสอบความถูกตอง การศึกษาความคงตัวของ ยา รวมไปถึงการเตรียมเอกสารตางๆที่เกี่ยวของกับการขึ้นทะเบี ๗. เขารวมประชุม สัมมนาตาง ๆ ที่จัดขึ้นในแหลงฝก รวมถึงการประชุมวิชาการอื่น ๘. กิจกรรมตางๆ ขางตนใหแหลงฝกพิจารณาตามความพรอมและความเหมาะสมของแตละแหลงฝก หมายเหตุ ๑. เนื่องจากมีความแตกตางของแหลงฝก ดังนั้ นกรอบแนวทางการจัดกิจกรรมใหจัดไดตามความพรอมของแหลงฝกซึ่ ง อาจไมจําเปนตองฝกไดครบทุกหัวขอตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม สามารถปรับ เพิ่มลดหัวขอกิจกรรมและระยะเวลาในแตละ กิจกรรมตามความเหมาะสม โดยมีระยะเวลารวมของการฝกของทุกกิจกรรมไมนอยกวา ๖ สัปดาห ๒. การฝกปฏิบัติงานอาจดําเนินการในรูปงานวิจัยจากงานประจํา (Routine to Research) โดยความรวมมือระหวาง แหลงฝกและสถาบันการศึกษา

-๒๐-


กรอบแนวทางการจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัติงาน

การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน ถาไมมีการระบุเปนพิเศษจากมหาวิทยาลัยตนสังกัดของนิสิต/นักศึกษา ใหใชแนวทางเกณฑการประเมินผลตามนี้ ๑. การประเมินโดยอาจารยประจํามหาวิทยาลัย รอยละ ๒๐ ๑.๑ รายงานผลการฝกปฏิบัติงาน รอยละ ๑๐ ๑.๒ การนําเสนอผลการปฏิบัติงาน รอยละ ๑๐ ๒. การประเมินโดยอาจารยประจําแหลงฝก รอยละ ๘๐ ๒.๑ การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงพฤติกรรม (แบบ-ป-๑) รอยละ ๒๐ ๒.๒ การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงความรูและทักษะดานการวิจัยและพัฒนายา (แบบ-ป-๒-๓) รอยละ ๕๐ ๒.๓ การประเมินผลการนําเสนอ (แบบ ป-๓) รอยละ ๑๐ ประเมินจากความสมบูรณของชิ้นงาน การนําเสนองาน เปนตน หมายเหตุ นักศึกษาจะไมไดรับการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานทั้งหมด เมื่อมีคะแนนจากการประเมินความประพฤติและทัศนคติ (แบบ-ป-๑) นอยกวา ๖๐ เปอรเซ็นต

-๒๑-


การฝกปฏิบัติงานดานการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Clerkship in Regulatory Affairs)

-๒๒-


การฝกปฏิบัติงานดานการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Clerkship in Regulatory Affairs) การฝกปฏิ บั ติงานสามารถดําเนิ นการไดในแหลงฝกที่เกี่ยวขอ งกับ อุ ตสาหกรรมยาและผลิ ตภั ณ ฑสุข ภาพที่ ได รับ รอง มาตรฐาน ซึ่งมุง เนนในแงของการฝกฝนเพื่อเพิ่มทักษะพื้นฐานดานการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภั ณฑสุขภาพอาจมีการฝกทั กษะ เพิ่ ม เติ ม ตามจุ ด มุ ง หมายยอ ยและวั ต ถุ ป ระสงคเ ชิ ง พฤติ ก รรมอื่ น โดยมี แ นวทางการจั ด การที่ อ าจแตกตา งกั น ไปขึ้ น ของแหลงฝกโดยสามารถปรับเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม จุดมุงหมาย เพื่อใหนิสิต/นั กศึ กษามีความรูความเขาใจและ/หรือทั กษะที่จําเปนในงานดานการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภั ณฑสุขภาพ ในเรื่องตางๆ ไดแก ๑. กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับเกี่ยวกับการกํากับดูแลยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๒. กระบวนการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๓. การประมวลและจัดทําเอกสารสําหรับการขึ้นทะเบียนตามมาตรฐานและที่กฎหมายกําหนด ๔. การประเมินคุณภาพและความถูกตองของขอมูลในเอกสารดานความปลอดภัย ประสิทธิผล และคุณภาพของผลิตภัณฑ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อใหนิสิต/นักศึกษาที่ผานการฝกปฏิบัตงิ านดานการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพมีความสามารถดังนี้ ๑. อธิบาย กฎ ระเบียบหรือขอบังคับที่เกี่ยวกับยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๑.๑ อธิ บายสาระสํ าคัญ ของกฎระเบี ยบหรือ ขอ บัง คับ ที่ เกี่ย วกั บ ยาและผลิ ต ภั ณ ฑสุ ข ภาพ เชน พระราชบั ญ ญั ติ กฎกระทรวง ประกาศ คําสั่ง ระเบียบ ที่เกี่ยวของกับยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๑.๒ อธิบายหลักเกณฑในการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพระหวางประเทศ เชน ASEAN Harmonization, WHO, ICH และอธิบ ายมาตรฐานวิชาชีพ เภสัชกรรม ทะเบียนและกฏหมายเภสัชภัณ ฑ และจรรยาบรรณของเภสั ชกรวิช าชีพ ทะเบียนและกฏหมายผลิตภัณฑ ๒. อธิบายกระบวนการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๒.๑ อธิบายบทบาท อํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบของเภสัชกรและพนักงานเจาหนาที่ในงานขึ้นทะเบียนยาและ ผลิตภัณฑสุขภาพ ๒.๑.๑ โครงสรางขององคกร โครงสรางของงานขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ และความสัมพันธของงาน ขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพกับหนวยงานอื่นๆ ในองคกร ๒.๑.๒ ขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบของเภสัชกร หรือ พนักงานเจาหนาที่ที่ปฏิบัติหนาที่การขึ้นทะเบียนยา และผลิตภัณฑสุขภาพ ๒.๑.๓ อธิบายขั้นตอนการขึ้นทะเบียนและการแกไขเปลี่ยนแปลงทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๓. ประมวลและจัดทําเอกสารสําหรับการขึ้นทะเบียนตามมาตรฐานและที่กฎหมายกําหนด ๓.๑ เขาใจการจัดหมวดหมูเอกสารตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมทั้งแบบฟอรมคําขอ และการยื่นคําขอตางๆ ๓.๒ คนควาขอมูลจากแหลงขอมูลตาง ๆ เพื่อประมวลขอมูลดานความปลอดภัย ประสิทธิผล และคุณภาพของยาและ ผลิตภัณฑสุขภาพสําหรับการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๓.๓ จัดเตรียมเอกสารเพื่อขอขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา ๔. ประเมินคุณภาพและความถูกตองของขอมูลในเอกสารดานความปลอดภัย ประสิทธิผล และคุณภาพของผลิตภัณฑ แนวทางการฝกปฏิบัติงาน ในการฝกปฏิบัติงานนิสิต/นักศึกษามีความรับผิดชอบดังตอไปนี้ ๑. เขารวมในกิจกรรมประจําวันของแหลงฝกในสวนที่ไดรับมอบหมายจากอาจารยประจําแหลงฝก -๒๓-


๒. ปฏิบัติงานในหนวยงานขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพของแหลงฝก โดยครอบคลุมวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ๓. ศึกษาเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของกับการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๔. ฝกการจัดทําเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของกับการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพตามขอกําหนด ๕. ฝกสืบคน ประเมิน และประมวลขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ เชน เภสัชตํารับ วารสารทางการแพทย ๖. เขารวมการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ๗. เขารวมประชุม สัมมนาตางๆ ที่จัดขึ้นในแหลงฝก รวมถึงการประชุมวิชาการอื่น กิจกรรมตางๆขางตนใหแหลงฝกพิจารณาตามความพรอมและความเหมาะสมของแตละแหลงฝก รูปแบบกระบวนการเรียนรูของนักศึกษา แหลงฝกสามารถจัดกิจกรรมใหกับนักศึกษาไดดังนี้ - ฟงบรรยาย และอภิปราย - ศึกษาดวยตนเอง ภายใตการดูแลของอาจารยประจําแหลงฝก - งานมอบหมาย - การนําเสนอ ทั้งนี้นิสิต/นักศึกษาควรจะไดศึกษาอยางนอย ๑ ทะเบียนตํารับยา เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมทุกขอ การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน ถาไมมีการระบุเปนพิเศษจากมหาวิทยาลัยตนสังกัดของนิสิต/นักศึกษา ใหใชแนวทางเกณฑการประเมินผลตามนี้ ๑. การประเมินโดยอาจารยประจํามหาวิทยาลัย รอยละ ๒๐-๓๐ ๑.๑ รายงานผลการฝกปฏิบัตงิ าน รอยละ ๑๐-๑๕ ๑.๒ การนําเสนอผลการปฏิบัติงาน รอยละ ๑๐-๑๕ ๒. การประเมินโดยอาจารยประจําแหลงฝก รอยละ ๗๐-๘๐ ๒.๑ การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงพฤติกรรม (แบบ-ป-๑) รอยละ ๒๐ ๒.๒ การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงความรูและทักษะดานการขึ้นทะเบียนยาและ ผลิตภัณฑสุขภาพ (แบบ-ป-๒-๔) รอยละ ๔๐-๕๐ ๒.๓ การประเมินผลการนําเสนอ (แบบ ป-๓) รอยละ ๑๐ - การนําเสนองานที่ไดรับมอบหมายในรูปแบบตางๆ - ประเมินจากความสมบูรณของชิ้นงาน การนําเสนองาน เปนตน หมายเหตุ นักศึกษาจะไมไดรับ การประเมินผลการฝกปฏิ บัติงานทั้งหมด เมื่อ มีคะแนนจากการประเมิ น ความประพฤติ และ ทัศนคติ (แบบ-ป-๑) นอยกวา ๖๐ เปอรเซ็นต

-๒๔-


แบบประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน

-๒๕-


แบบ-ป ๑ แนวทางการประเมินความประพฤติและทัศนคติของนักศึกษา สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก การประเมินนักศึกษาโดยอาจารยประจําแหลงฝกสามารถทําไดจากการสังเกตพฤติกรรม การสอบถาม การอภิปราย รวม ไปถึงผลของการปฏิบัตกิ ารงาน โดยมีแนวทางของการใหคะแนนดังนี้ คะแนน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

ระดับ ดีมาก

นิยาม นักศึกษามีพฤติกรรมที่เหมาะสม มีความพรอม ความเสียสละ กระตือรือรน รวมถึงทัศนคติที่ดีตอการ ฝกงาน พรอมทั้งสามารถอภิปรายและใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนไดอยางเหมาะสม ดี นักศึกษามีพฤติกรรมที่เหมาะสม มีความพรอม ความเสียสละ กระตือรือรน รวมถึงทัศนคติที่ดีตอการ ฝกงาน สามารถฝกปฏิบัติงานไดดวยตนเอง แตตองไดรับคําแนะนําเพียงเล็กนอย ปานกลาง นักศึกษามีพฤติกรรมอยูในเกณฑพอใช สามารถฝกปฏิบัติงานไดดวยตนเอง แตตองไดรับ คําแนะนํ า เปนสวนใหญ ปรับปรุง นักศึกษามีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมบางประการ เกิดความผิดพลาดบอยครั้ง สามารถปฏิบัติงานได แต ตองไดรับการดูแลอยางใกลชิด ไมผาน นักศึกษามีพ ฤติกรรมที่ไมเหมาะสมบางประการ เกิดความผิดพลาดบ อยครั้ ง และไม ปรับปรุงตาม คําแนะนําของอาจารยประจําแหลงฝก

-๒๖-


ติดรูป นักศึกษา ขนาด 1 นิ้ว

แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนักศึกษา สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก

ชื่อนักศึกษา…………………………………....…………....................……………รหัส……………………………………………………………………… ชื่อแหลงฝก……………………………………………………แผนก……………….…………………………....................ผลัดที่.............................. หัวขอการประเมิน

คะแนน ๓

๑. ความซื่อสัตยสุจริต การมีวินัย การปฏิบัติตนตามกฏกติกาของแหลง ฝกและจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ ๒. การตรงตอเวลา และการฝกปฏิบัตงิ านใหครบตามกําหนดเวลา โปรดระบุ จํานวนวันที่ขาดฝกปฏิบัติงาน ………… วัน ๓. การแตงกายและมารยาทที่เหมาะสม แสดงถึงความเปนวิชาชีพเภสัช กรรม ๔. การมีมนุษ ย สัม พั นธ และทักษะในการสื่ อ สารที่ ดี การมี น้ํา ใจ และ สามารถปรับตัวเขากับแหลงฝก ๕. ความตั้ ง ใจ ความคิ ด ริ เริ่ ม สร า งสรรค การแสดงความคิ ด เห็ น กระตือรือรนและความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย คะแนนรวมเต็ม ๑๐๐ (คะแนนสวนที่ ๑x๖) + (คะแนนสวนที่ ๒x๔) + (คะแนนสวนที่ ๓x๒) + (คะแนนสวนที่ ๔x๒) + (คะแนนสวนที่ ๕x ๖) **นักศึกษาจะไมไดรับการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานทั้งหมดเมื่อมีคะแนนจากการประเมินความประพฤติและทัศนคตินอย กวา ๖๐เปอรเซ็นต ขอเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

-๒๗-


แบบ-ป ๒-๑ แนวทางการประเมินความความรู ความเขาใจ และทักษะการฝกปฏิบัติงาน ดานการผลิตยา สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก การประเมินผลของการฝกปฏิบัติงาน ประกอบดวยจุดมุงหมายหลัก ๔ ขอ นักศึกษาควรไดรับการฝกปฏิบัติงานจนครบทั้ง ๔ จุดมุงหมายหลัก โดยในแตละจุดมุงหมายหลักนั้นมีวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมในหลายสวน ซึ่งอาจไมจําเปนตองฝกจนครบทุก วัตถุประสงคโดยใหขึ้นอยูกับความพรอมและบริบทของแตละแหลงฝก สําหรับการประเมินผลนั้น อาจารยประจําแหลงฝกสามารถทําไดจากการสังเกต การสอบถาม การอภิปราย รวมไปถึงผล ของการฝกปฏิบัติงาน โดยมีแนวทางของการใหคะแนนดังนี้ คะแนน ระดับ นิยาม ๕ ดีมาก นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู ความเขาใจ และทักษะครบถวนตามวัตถุป ระสงคเชิงพฤติกรรมของ การฝกงาน เกิดความบกพรองนอย สามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง โดยอาจไดรับคําแนะนําเปนครั้ง คราว ๔ ดี นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู ความเขาใจ และทักษะครบถวนตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของ การฝกงาน มีความบกพรองในระดับยอมรับได สามารถปฏิ บัติงานได แตตองไดรับ คําแนะนําเปนครั้ง คราว ๓ ปานกลาง นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู ความเขาใจ และทักษะครบถวนตามวัตถุป ระสงคเชิงพฤติกรรมของ การฝกงาน มีความบกพรองในระดับยอมรับได สามารถปฏิบัติงานได แตตองไดรับคําแนะนําเปนสวน ใหญ ๒ ปรับปรุง นั กศึก ษาแสดงใหเห็ นว าขาดความรู ความเข า ใจ และทั ก ษะ เกิ ดความผิ ดพลาดอยู เสมอ ต อ งฝ ก ปฏิบัติงานภายใตการดูแลของอาจารยประจําแหลงฝกอยางใกลชิด ๑ ไมผาน นักศึกษาแสดงใหเห็นวาขาดความรู ความเขาใจ และทักษะ ไมสามารถปฏิบัติงานไดตามวัตถุประสงค เชิงพฤติกรรมที่ กําหนด เกิดความผิดพลาดช้ํ าและไมทํ าการแกไขตามคํา แนะนํ าของอาจารย ประจํา แหลงฝก

-๒๘-


แบบประเมินความรู ความเขาใจ และทักษะการฝกปฏิบัติงานดานการผลิตยา ๑) ชื่อนักศึกษา ๒) สถานที่ฝกปฏิบัติงาน ๓) ชวงเวลาที่ฝกปฏิบัติงาน ๔) สัดสวนงานที่ใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติจริง ดานการผลิต ดานอื่นๆ (โปรดระบุ) รวม

ติดรูป นักศึกษา ขนาด ๑ นิ้ว

รหัส

__________ % __________ % ๑๐๐ %

การประเมินผล จุดมุงหมาย

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม

๑. ความรู ด า นเทคโนโลยี ก ารผลิ ต ยา  มีทักษะในการผลิตและควบคุมกระบวนการผลิตยา รูป แบบตางๆ ในระดั บ อุตสาหกรรม และรูป แบบต างๆ อยางน อ ยหนึ่งรู ป แบบ สามารถกํ า หนด ทักษะในการควบคุมกระบวนการผลิต ลํ า ดั บ ขั้ น ตอน เลื อ กเครื่ อ งมื อ ที่ ใช และหาสภาวะที่ เหมาะสมของแตละกระบวนการผลิตได  ประยุกตความรูเกี่ยวกับสถิติและคณิตศาสตรพื้นฐาน ที่เกี่ยวกับการผลิต เชน การกําหนดแผนการสุมตัวอยาง การทํ า แผนภู มิ ค วบ คุ ม คุ ณ ภาพ (quality control chart) เพื่อนําไปควบคุมการผลิต เปนตน คะแนนเฉลี่ย (จุดมุงหมาย ๑) ๒. ความรูและทั กษะในการบริหารปจจัย  เข าใจหลั กการทํ างานของเครื่อ งจั กรอุ ป กรณ ตา งๆ การผลิตและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ในแตละหนวยการผลิตตลอดจนสิ่งอํานวยความสะดวก รวมทั้งอาคารสถานที่ และสิ่งแวดลอม ในการผลิต วิธีการซอมแซมและบํารุงรักษา รวมถึงการ ตรวจสอบความถู ก ต อ งของการทํ า ความสะอาด (cleaning validation)  ทราบวิธีการตรวจรับรอง (qualification) เครื่องจักร การผลิ ต สิ่ ง อํ านวยความสะดวก และการสอบเที ย บ (calibration) เครื่องมือวัดที่ใชในการผลิต  ทราบกระบวนการฝ ก อบรมพนั ก งานฝ า ยผลิ ต รวมทั้งหลักปฏิบัติเกี่ยวกับสุขอนามัยและความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน  เขา ใจหลักการและแนวทางการตรวจติ ดตามและ ควบคุมสภาวะแวดลอม (environmental monitoring & control) ในบริเวณผลิตยาที่อันตราย  เข า ใจหลั ก การป อ งกั น การปนเป อ นข าม (crosscontamination) และการปองกันยาและวัตถุ อันตราย ไมใหออกสูสภาวะแวดลอมภายนอกโรงงาน  ทราบขอกําหนดเกี่ยวกับหองสะอาด (clean room) ระดับตางๆ รวมถึงวิธีการตรวจติดตามและประเมินหอง สะอาดในดานตางๆ

ระดับของการบรรลุ วัตถุประสงค ๕ ๔ ๓ ๒ ๑


จุดมุงหมาย

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม

ระดับของการบรรลุ วัตถุประสงค ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

 เข า ใจหลั ก การและแนวทางควบคุ ม มลพิ ษ ทาง อุตสาหกรรมในด านตางๆ ทั้งมลพิษทางน้ํา ทางอากาศ ทางเสียง คะแนนเฉลี่ย (จุดมุงหมาย ๒) ๓. ความรูในหลักการบริหารการผลิต การ  เข า ใจลั ก ษณะผัง โครงสรา งองคก ร ทราบบทบาท บริหารคุณภาพ การวางแผนการผลิต และหนาที่ และความรับผิดชอบของบุคลากรฝายผลิต เภสัช ควบคุมสินคาคงคลัง กรผูควบคุมการผลิต และเขาใจความเชื่อ มโยงระหวา ง ฝายผลิตกับฝายอื่นที่เกี่ยวของ  เขาใจระบบเอกสาร (documentation) ที่เกี่ยวของ กับการผลิตทั้งในสวนการจัดทํา การควบคุม การจัดเก็บ และการใชประโยชน  เข า ใจหลั ก การและวิ ธี ก ารวางแผนการผลิ ต การ กํา หนดความต อ งการสิน ค าจากการพยากรณ การจั ด ตารางการผลิตและกํ าลังการผลิตการบริ หารวั สดุและ สินคาคงคลัง  เขาใจแนวคิ ดพื้ นฐานและหลักเกณฑ ที่เกี่ ยวข องกั บ ระบบประกันคุณภาพ เชน GMP, ISO, HACCP  เข า ใ จ ห ลั ก ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เสี่ ย ง (risk management) และการประยุ ก ต ใ ช ใ นการประกั น คุณภาพการผลิต  เขาใจแนวทางปฏิบัติตามหลักปฏิบัติที่ดีในการจัดสง (GDP) และหลักปฏิบัติที่ดใี นการจัดเก็บ (GSP) คะแนนเฉลี่ย (จุดมุงหมาย ๓) ๔. ความรู ใ นกฎระเบี ย บที่ เกี่ ย วข อ งกั บ ทราบข อ กํ า หนดและกฎระเบี ย บเกี่ ย วกั บ การขอ อุตสาหกรรมยา อนุญ าตผลิต เชน การขออนุ ญ าตสถานที่ ผลิ ต การส ง รายงานการผลิต  ทราบข อ กํ า หนดและกฎระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ อุตสาหกรรม เช น กฎหมายแรงงาน กฎหมายเกี่ ยวกับ สิ่ ง แวดล อ ม กฎหมายเกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย ในการ ทํางาน คะแนนเฉลี่ย (จุดมุงหมาย ๔) ๕. อื่นๆ (โปรดระบุ) คะแนนรวม (จุดมุงหมาย ๑-๔) * ๕ คะแนน ขอเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………… -๓๐-


แบบ-ป ๒-๒ แนวทางการประเมินความความรู ความเขาใจ และทักษะการฝกปฏิบัติงาน ดานการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพยา สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก การประเมินผลของการฝกปฏิบัติงาน ประกอบดวยจุดมุงหมายหลัก ๔ ขอ นักศึกษาควรไดรับการฝกปฏิบัติงานจนครบทั้ง ๔ จุดมุงหมายหลัก โดยในแตละจุดมุงหมายหลักนั้นมีวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมในหลายสวน ซึ่งอาจไมจําเปนตองฝกจนครบทุก วัตถุประสงคโดยใหขึ้นอยูกับความพรอมและบริบทของแตละแหลงฝก สําหรับการประเมินผลนั้น อาจารยประจําแหลงฝกสามารถทําไดจากการสังเกต การสอบถาม การอภิปราย รวมไปถึงผล ของการฝกปฏิบัติงาน โดยมีแนวทางของการใหคะแนนดังนี้ คะแนน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

ระดับ นิยาม ดีมาก นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู ความเขาใจ และทักษะครบถวนตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของ การฝกงาน เกิดความบกพรองนอย สามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง โดยอาจไดรับคําแนะนําเป นครั้ง คราว ดี นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู ความเขาใจ และทักษะครบถวนตามวัตถุประสงคเชิงพฤติ กรรมของ การฝกงาน มีความบกพรองในระดับ ยอมรับได สามารถปฏิบัติงานได แตตองไดรับ คําแนะนําเปนครั้ง คราว ปานกลาง นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู ความเขาใจ และทักษะครบถวนตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของ การฝกงาน มีความบกพรองในระดับยอมรับได สามารถปฏิบัติงานได แตตองไดรับคําแนะนําเปนสวน ใหญ ปรับปรุง นั กศึก ษาแสดงให เห็ นว าขาดความรู ความเข าใจ และทั กษะ เกิ ด ความผิ ด พลาดอยู เสมอ ต อ งฝ ก ปฏิบัติงานภายใตการดูแลของอาจารยประจําแหลงฝกอยางใกลชิด ไมผา น นักศึกษาแสดงใหเห็นวาขาดความรู ความเขาใจ และทักษะ ไมสามารถปฏิบัติงานไดตามวัตถุประสงค เชิงพฤติกรรมที่ กําหนด เกิดความผิ ดพลาดช้ํา และไมทําการแกไขตามคําแนะนํา ของอาจารย ประจํ า แหลงฝก

-๓๑-


แบบประเมินความรู ความเขาใจ และทักษะการฝกปฏิบัติงาน ดานการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพยา ๑) ชื่อนักศึกษา ๒) สถานที่ฝกปฏิบัติงาน ๓) ชวงเวลาที่ฝกปฏิบัติงาน ๔) สัดสวนงานที่ใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติจริง ดานการประกันคุณภาพ ดานการควบคุมคุณภาพ ดานอื่นๆ (โปรดระบุ) รวม

ติดรูป นักศึกษา ขนาด 1 นิว้

รหัส

__________ % __________ % __________ % ๑๐๐ %

การประเมินผล จุดมุงหมาย

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม  อธิ บ ายหลั ก การการบริ ห ารคุ ณ ภาพ (quality management) ต า ง ๆ เพื่ อ ใช ใ นการประกั น และ ควบคุมคุณภาพของการผลิตยา และผลิตภัณฑสุขภาพ เช น ก า ร บ ริ ห า ร คุ ณ ภ า พ โ ด ย ร ว ม (TQM) ระบบปฏิบัติการแกไข/ปฏิบัติการปองกัน (corrective action/preventive action system : CAPA) ระบบ การบริหารการเปลี่ยนแปลง (change management system)การบริหารความเสี่ยงด านคุณ ภาพ (quality risk management)  อธิบ ายหลั กการระบบคุ ณ ภาพรูป แบบต าง ๆ ที่ เกี่ยวของซึ่งมีการนํามาใชเพื่อบรรลุเปาประสงคในการ ประกัน และควบคุมคุณภาพการผลิตยา และผลิตภัณฑ สุ ข ภาพ เช น หลั ก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารที่ ดี ในการผลิ ต (GMP) หลักปฏิบัติท่ีดีทางหองปฏิบัติการ (GLP) หลัก ปฏิ บั ติที่ ดี ในการจั ด ส ง (GDP) หลัก ปฏิ บั ติ ที่ ดี ในการ จั ด เก็ บ (GSP) มาตรฐานไอเอสโอ (ISO) ต า ง ๆตาม มาตรฐานปจจุบัน  อธิบายวิธีตางๆในการการตรวจสอบความถูกตอง คือ การตรวจสอบความถูกตองกอนการผลิตจําหนาย (prospective validation) ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ถู ก ต อ งพ ร อ ม ก า รผ ลิ ต จํ า ห น า ย (concurrent validation) การตรวจสอบความถู ก ต อ งย อ นหลั ง (retrospective validation)  อธิบ ายการติ ดตามหลัง การผลิต เพื่ อ การพั ฒ นา ผลิ ต ภั ณ ฑ ได แ ก การทบทวนคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ (product quality review) และการตรวจสอบตนเอง (self inspection) คะแนนเฉลี่ย (จุดมุงหมาย ๑)

๑. ความรู และเขาใจเรื่องระบบ คุ ณ ภาพ รวมถึ งหลั ก เกณฑ แ ละ วิ ธี ก า ร ที่ ดี ต า ง ๆ แ ล ะ มาตรฐานสากลที่เกี่ยวของกับการ ประกัน และควบคุ ม คุ ณ ภาพใน การผลิตยาและผลิตภัณฑสุขภาพ

ระดับของการบรรลุวัตถุประสงค ๕ ๔ ๓ ๒ ๑


จุดมุงหมาย

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม

๒. ความรู และแนวทางในการ ตรวจรับรอง (qualification) การ ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ถู ก ต อ ง (validation) และการสอบเทีย บ (calibration)

 อธิบายถึงความหมายของการตรวจรับรอง และ VModel ของการตรวจรั บ รอง และความหมายของ ขั้นตอนตางๆของการตรวจรับรอง คือ การตรวจรับรอง การออกแบบ (design qualification : DQ) การตรวจ รั บ รองการติ ด ตั้ ง (installation qualification : IQ) ก า ร ต ร ว จ รั บ ร อ ง ก า ร ทํ า ง า น (operational qualification : OQ) การตรวจรั บ รอ งสมรรถน ะ (performance qualification : PQ)  อธิ บ ายถึ งความหมายของการตรวจสอบความ ถูกตอง รวมถึงอธิบาย และบอกแนวทาง หัวขอที่สําคัญ ในการจัดทํา validation master plan  เขา ใจหลั กการและวิ ธี การวางแผนการผลิต การ กํา หนดความตองการสินคาจากการพยากรณ การจัด ตารางการผลิตและกํ าลั งการผลิตการบริหารวัสดุและ สินคาคงคลัง  อ ธิ บ า ย ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ถู ก ต อ ง ซ้ํ า (revalidation) และการควบคุ ม การเปลี่ ย นแปลง (change control)  อธิ บ ายถึ ง กิ จ กรรมสํ า คั ญ ความหมาย และ แนวทางในการตรวจสอบความถู ก ต อ ง ได แ ก การ ตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการผลิต (process validation) การตรวจสอ บ ความถู ก ต องข องวิ ธี วิ เ คราะห (analytical method validation) การ ตรวจสอบความถู ก ต อ งของการทํ า ความสะอาด (cleaning validation) การสอบเทียบ (calibration)

คะแนนเฉลี่ย (จุดมุงหมาย ๒) ๓. ความรู เกี่ ย วกั บ การควบคุ ม คุณ ภาพตลอดกระบวนการผลิต วิ ธี วิ เ คราะ ห การตรวจสอ บ คุ ณ ภาพตามเภสั ช ตํ า รั บ และ เครื่ อ งมื อ ที่ ใช ในการตรวจสอบ คุณภาพ

 ระบุ และสืบคนขอมูลที่ตองการจากตํารายาตางๆ ที่ท างการรับ รอง เชน USP, BP, TP, Ph. Int.รวมถึ ง การสืบคนขอมูลจากตํารายาอื่นๆ ที่เกี่ยวของทางเภสัช กรรม  อธิบายความหมาย ความสําคัญ และวัตถุประสงค ของขอกํา หนดวัตถุดิบ วัสดุ การบรรจุ และผลิตภั ณ ฑ สํ า เร็ จ รู ป รวมถึ ง สามารถระบุ ข อ มู ล ที่ จํ า เป น ใน ข อ กํ า หนดวั ต ถุ ดิ บ วั ส ดุ ก ารบรรจุ และผลิ ต ภั ณ ฑ สําเร็จรูป พรอมทั้งวัตถุประสงคของขอมูลแตละอยาง  อธิบาย และจัดทําเอกสารขอกําหนดวัตถุดิบ วัสดุ การบรรจุ และผลิตภัณฑสําเร็จรูป  อธิ บ ายและเลื อ กหลั ก การทางสถิ ติ ที่ ใช ในการ ควบคุมคุณภาพ  อธิ บ ายหลั ก การ และเลื อ กเครื่ อ งมื อ ในการ วิเคราะหและทดสอบตางๆ ที่สําคัญ

ระดับของการบรรลุวัตถุประสงค ๕ ๔ ๓ ๒ ๑


จุดมุงหมาย

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม

ระดับของการบรรลุวัตถุประสงค ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

 วิเคราะห เชิงคุ ณ ภาพและเชิ งปริม าณที่ สําคัญ ใน ตํา รายา ทางเคมี กายภาพ และชี วภาพได ตามความ เหมาะสมของแหลงฝก  อธิ บ ายหลั ก การพั ฒ นาวิ ธี วิ เ คราะห รวมถึ ง ตรวจสอบความถู ก ต อ งของวิ ธี วิ เคราะห และความ สอดคลอ งกับ ขอ กํา หนดในตํ ารายาและตามแนวทาง มาตรฐาน เช น ASEAN Harmonization และ ICH Guideline คะแนนเฉลี่ย (จุดมุงหมาย ๓) ๔. อื่นๆ (โปรดระบุ)

คะแนนรวม (จุดมุงหมาย ๑-๔) * ๕ คะแนน ขอเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………

-๓๔-


แบบ-ป ๒-๓ แนวทางการประเมินความความรู ความเขาใจ และทักษะการฝกปฏิบัติงาน ดานการวิจัยและพัฒนายา สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก การประเมินผลของการฝกปฏิบัติงาน ประกอบดวยจุดมุงหมายหลัก ๔ ขอ นักศึกษาควรไดรับการฝกปฏิบัติงานจนครบทั้ง ๔ จุดมุงหมายหลัก โดยในแตละจุดมุงหมายหลักนั้นมีวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมในหลายสวน ซึ่งอาจไมจําเปนตองฝกจนครบทุก วัตถุประสงคโดยใหขึ้นอยูกับความพรอมและบริบทของแตละแหลงฝก สําหรับการประเมินผลนั้น อาจารยประจําแหลงฝกสามารถทําไดจากการสังเกต การสอบถาม การอภิปราย รวมไปถึงผล ของการฝกปฏิบัตงิ าน โดยมีแนวทางของการใหคะแนนดังนี้ คะแนน ระดับ นิยาม ๕ ดีมาก นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู /ความเขาใจ /ทักษะครบถวนตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของการ ฝกงาน เกิดความบกพรองนอย สามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง โดยอาจไดรับคําแนะนําเปนครั้งคราว ๔ ดี นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู/ ความเขาใจ /ทักษะครบถวนตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของการ ฝกงาน มีความบกพรองในระดับยอมรับได สามารถปฏิบัติงานได แตตองไดรับคําแนะนําเปนครงคราว ๓ ปานกลาง นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู /ความเขาใจ /ทักษะครบถวนตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของการ ฝกงาน มีความบกพรองในระดับยอมรับได สามารถปฏิบัติงานได แตตองไดรับคําแนะนําเปนสวนใหญ ๒ ปรับปรุง นักศึกษาแสดงใหเห็นวาขาดความรู /ความเขาใจ /ทักษะ เกิดความผิดพลาดอยูเสมอ ตองฝกปฏิบัติงาน ภายใตการดูแลของอาจารยประจําแหลงฝกอยางใกลชิด ๑ ไมผาน นักศึกษาแสดงใหเห็นวาขาดความรู /ความเขาใจ /ทักษะ ไมสามารถปฏิบัติงานไดตามวัตถุประสงคเชิง พฤติกรรมที่กําหนด เกิดความผิดพลาดช้ําและไมทําการแกไขตามคําแนะนําของอาจารยประจําแหลง ฝก

-๓๕-


แบบประเมินความรู ความเขาใจ และทักษะการฝกปฏิบัติงานดานการวิจัยและพัฒนายา ๑) ชื่อนักศึกษา ๒) สถานที่ฝกปฏิบัติงาน ๓) ชวงเวลาที่ฝกปฏิบัติงาน

ติดรูป นักศึกษา ขนาด ๑ นิ้ว

รหัส

การประเมินผล จุดมุงหมาย

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม

๑. ทักษะพื้นฐานในการวิจัย

 ทราบและเขาใจกระบวนการการวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ

๒. ประยุกตใชหลักวิทยาศาสตรใน การพัฒนาตํารับยา ๓. ทักษะพื้นฐาน ในการถายทอด เทคโนโลยี ๔. ทักษะเกี่ยวกับระบบคุณภาพและ หลักปฏิบัติที่ดีที่เกี่ยวของกับการวิจัย และพัฒนา ๕. อื่นๆ (โปรดระบุ)

 สามารถเขาใจและพัฒนา หรือแกไข ปญหาในการตั้งตํารับยา  มีความรูพื้นฐานในการถายทอด เทคโนโลยี  มีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับระบบ คุณภาพและหลักปฏิบัติที่ดีที่เกี่ยวของกับ การวิจัยและพัฒนา

ระดับของการบรรลุวัตถุประสงค ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

คะแนนรวม (จุดมุงหมาย ๑-๔) * ๕ คะแนน ขอเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………

-๓๖-


แบบ-ป ๒-๔ แนวทางการประเมินความความรู ความเขาใจ และทักษะการฝกปฏิบัติงาน ดานการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก การประเมินผลของการฝกปฏิบัติงาน ประกอบดวยจุดมุงหมายหลัก ๔ ขอ นักศึกษาควรไดรับการฝกปฏิบัติงานจนครบทั้ง ๔ จุดมุงหมายหลัก โดยในแตละจุดมุงหมายหลักนั้นมีวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมในหลายสวน ซึ่งอาจไมจําเปนตองฝกจนครบทุก วัตถุประสงคโดยใหขึ้นอยูกับความพรอมและบริบทของแตละแหลงฝก สําหรับการประเมินผลนั้น อาจารยประจําแหลงฝกสามารถทําไดจากการสังเกต การสอบถาม การอภิปราย รวมไปถึงผล ของการฝกปฏิบัติงาน โดยมีแนวทางของการใหคะแนนดังนี้ คะแนน ระดับ นิยาม ๕ ดีมาก นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู ความเขาใจ และทักษะครบถวนตามวัตถุป ระสงคเชิงพฤติกรรมของ การฝกงาน เกิดความบกพรองนอย สามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง โดยอาจไดรับคําแนะนําเปนครั้ง คราว ๔ ดี นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู ความเขาใจ และทักษะครบถวนตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของ การฝกงาน มีความบกพรองในระดับยอมรับได สามารถปฏิ บัติงานได แตตองไดรับ คําแนะนําเปนครั้ง คราว ๓ ปานกลาง นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีความรู ความเขาใจ และทักษะครบถวนตามวัตถุป ระสงคเชิงพฤติกรรมของ การฝกงาน มีความบกพรองในระดับยอมรับได สามารถปฏิบัติงานได แตตองไดรับคําแนะนําเปนสวน ใหญ ๒ ปรับปรุง นั กศึก ษาแสดงใหเห็ นว าขาดความรู ความเข า ใจ และทั ก ษะ เกิ ดความผิ ดพลาดอยู เสมอ ต อ งฝ ก ปฏิบัติงานภายใตการดูแลของอาจารยประจําแหลงฝกอยางใกลชิด ๑ ไมผาน นักศึกษาแสดงใหเห็นวาขาดความรู ความเขาใจ และทักษะ ไมสามารถปฏิบัติงานไดตามวัตถุประสงค เชิงพฤติกรรมที่ กําหนด เกิดความผิดพลาดช้ํ าและไมทํ าการแกไขตามคํา แนะนํ าของอาจารย ประจํา แหลงฝก

-๓๗-


๑) ชื่อนักศึกษา ๒) สถานที่ฝกปฏิบัติงาน ๓) ชวงเวลาที่ฝกปฏิบัติงาน

แบบประเมินความรู ความเขาใจ และทักษะการฝกปฏิบัติงาน ดานการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ รหัส

ติดรูป นักศึกษา ขนาด ๑ นิ้ว

การประเมินผล จุดมุงหมาย

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม

๑. กฎหมาย ระเบี ย บ ข อ บั ง คั บ เกี่ ย วกั บ การ กํ า กั บ ดู แ ล ย า แ ล ะ ผลิตภัณฑสุขภาพ

 อธิ บ ายสาระสํ า คั ญ ของกฎ ระเบี ย บหรือ ข อ บั ง คั บ ที่ เกี่ ย วกั บ ยาและผลิ ต ภั ณ ฑ สุ ข ภาพ เช น พระราชบั ญ ญั ติ กฎกระทรวง ประกาศ คํา สั่ ง ระเบี ย บ ที่เกี่ ยวข อ งกั บยาและ ผลิตภัณฑสุขภาพ

๒. ก ร ะ บ ว น ก า ร ขึ้ น ท ะ เ บี ย น ย า แ ล ะ ผลิตภัณฑสุขภาพ

๓. การป ระมวลและ จั ด ทํ า เอกสารสํ า หรั บ การขึ้ น ท ะเบี ยนตาม ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ที่ กฎหมายกําหนด

 อธิบ ายหลั ก เกณฑ ในการขึ้ นทะเบี ยนยาและผลิ ตภั ณ ฑ สุขภาพระหวางประเทศ เชน ASEAN Harmonization, WHO, ICH และอธิ บ ายมาตรฐานวิ ช าชี พ เภสั ช กรรมทะเบี ย นและ กฏหมายเภสั ช ภั ณ ฑ แ ละจรรยาบรรณของเภสั ช กรวิ ช าชี พ ทะเบียนและกฎหมายผลิตภัณฑ คะแนนเฉลี่ย (จุดมุงหมาย ๑)  อธิ บ ายโครงสร า งขององค ก ร โครงสร า งของงานขึ้ น ทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ และความสัมพันธของงานขึ้น ทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพกับหนวยงานอื่นๆ ในองคกร  อธิบ ายขอบเขตหนาที่ความรับ ผิดชอบของเภสัชกร หรือ พนั ก งานเจ า หน า ที่ ที่ ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ก ารขึ้ น ทะเบี ย นยาและ ผลิตภัณฑสขุ ภาพ  อธิบายขั้นตอนการขึ้นทะเบียนและการแกไขเปลี่ยนแปลง ทะเบียนยาและผลิตภัณฑสุขภาพ คะแนนเฉลี่ย (จุดมุงหมาย ๒)  เข า ใจการจั ด หมวดหมู เ อกสารตามข อ กํ า หนดของ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมทั้งแบบฟอรมคําขอ และการยื่นคําขอตางๆ  คนควา ขอ มูลจากแหลงขอ มูลต า งๆ เพื่ อประมวลข อ มู ล ด า นความปลอดภั ย ประสิ ท ธิ ผ ล และคุ ณ ภาพของยาและ ผลิ ตภั ณ ฑ สุข ภาพสํ า หรับ การขึ้ น ทะเบี ยนยาและผลิ ตภั ณ ฑ สุขภาพ  จัด เตรีย มเอกสารเพื่ อ ขอขึ้ นทะเบี ย นยาและผลิ ต ภั ณ ฑ สุขภาพตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและ ยา คะแนนเฉลี่ย (จุดมุงหมาย ๓)

ระดับของการบรรลุวัตถุประสงค ๕ ๔ ๓ ๒ ๑


จุดมุงหมาย

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม

ระดับของการบรรลุวัตถุประสงค ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

๔. การประเมินคุณภาพ  ประเมินคุณภาพและความถูกตองของขอมูลในเอกสาร และความถู ก ต อ งของ ดานความปลอดภัย ประสิทธิผล และคุณภาพของผลิตภัณฑ ข อ มู ล ในเอกสารด า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล แ ล ะ คุณภาพของผลิตภัณฑ ๕. อื่นๆ (โปรดระบุ)

คะแนนรวม (จุดมุงหมาย ๑-๔) * ๕ คะแนน ขอเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………

-๓๙-


แบบ-ป ๓ แนวทางการประเมินการนําเสนอกรณีศกึ ษาของนักศึกษา สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก คําชี้แจง แนวทางของการใหคะแนน คะแนน ระดับ นิยาม ๕ ดีมาก นักศึกษาสามารถนําเสนอ อภิปราย และตอบคําถามไดถูกตองครบถวน และนําไปใชประโยชนได ๔ ดี นักศึกษาสามารถนําเสนอ อภิปราย และตอบคําถามไดถูกตอง และนําไปใชประโยชนไดบางสวน ๓ ปานกลาง นักศึกษาสามารถนําเสนอ อภิปราย และตอบคําถามไดในเกณฑพอใช ๒ ตองปรับปรุง นักศึกษาสามารถนําเสนอ อภิปราย และตอบคําถามไดถูกตองบางสวน ขาดขอมูลสําคัญ ไมสามารถ นําไปประยุกตใชได ๑ ไมผาน นั ก ศึ ก ษาไม ส ามารถนํ า เสนอ อภิ ป ราย และตอบคํ า ถามได ขาดข อ มู ล สํ า คั ญ ต อ งสอนการทํ า กรณีศึกษาใหม

-๔๐-


ติดรูป นักศึกษา ขนาด 1 นิ้ว

แบบประเมินการนําเสนองานที่ไดรับมอบหมายของนักศึกษา สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก

ชื่อนักศึกษา…………………………………....………….......................…………รหัส……………………………………………………………………… ชื่อแหลงฝก…………………………………………………………แผนก…………….…………………………....................ผลัดที่............................ หัวขอการประเมิน

คะแนน ๓

1. รูปแบบการนําเสนอ/อภิปราย ไดแก ความนาสนใจของการนําเสนอ การเรีย งลํ าดั บ ของเนื้ อ หา การแสดงสาระสําคัญ ของเนื้ อ หาอยางชัดเจน เขาใจงาย เปนตน (คาน้ําหนักเทากับ *๒) 2. สาระของชิ้นงานที่นําเสนอ ซึ่งประกอบดวย ที่มาและเหตุผล วิ ธีการ ดํ า เนิ น และผลการปฏิ บั ติ รวมไปถึง ประโยชน ที่ ไดรั บ ต อ แหล งฝ ก และ นักศึกษา (คาน้ําหนักเทากับ *๘) 3. การใชหลั กฐานทางวิชาการประกอบการคนควาอยางนาเชื่อถือและ ทันสมัย (คาน้ําหนักเทากับ *๔) 4. การตอบคําถามไดอยางถูกตองมีเหตุผล สามารถแสดงความคิดเห็นที่ ไดจากการวิ เคราะห ป ญ หาโดยประยุกตใชความรูที่ มีอ ยูเดิ มและจากการ เรียนรูจ ากแหลงฝกมาประกอบ (คาน้ําหนักเทากับ *๖) คะแนนรวมเต็ม ๑๐๐ (คะแนนสวนที่๑ x ๒) + (คะแนนสวนที่ ๒ x ๘) + (คะแนนสวนที่ ๓ x ๔) + (คะแนนสวนที่ ๔ x ๖) ขอเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………

-๔๑-


แบบบันทึกการฝกปฏิบัติงานของนักศึกษา ชื่อ-สกุล............................................................................................................................รหัส....................................................... สถานที่ฝกปฏิบัติงาน..................................................................................ชวงเวลาที่ฝกปฏิบัติงาน..............................................

-๔๒-


แบบขออนุญาตลาการฝกปฏิบัติงาน

ลงชื่อ………………………………… (……………………………………………) เภสัชกรผูประสานงานหรือเภสัชกรผูดูแล -๔๓-


ใบรวมจํานวนชัว่ โมงฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ

ลงชื่อ………………………………… (……………………………………………) เภสัชกรผูประสานงานหรือเภสัชกรผูดูแล

-๔๔-


ภาคผนวก ก




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.