Career Path

Page 1


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 2


3 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์

คู่มือการทางาน

เรื่อง : คู่มือการปฏิบตั ิงานเส้นทางอาชีพ Career Path บุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์

วิทยาลัยเซนต์หลุยส์

เอกสารเลขที่

แก้ไขครั้งที่ :

: CM

0141-01

สาเนา

: ----

บังคับใช้ : 22 สิงหาคม 2556

01

ลงนามผู้รับผิดชอบ :

ลงนามผู้อนุมัติ

ตาแหน่ง หัวหน้าแผนกทรัพยากรบุคคล

22 สิงหาคม 2556

ตาแหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์

22 สิงหาคม 2556

:


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 4


5 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์

คานา โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรบุคคล เรื่อง การจัดทา เส้นทางสายอาชีพ (Career Path) โดยมีเป้าหมายเพื่อจัดทาระบบและเครื่องมือใน การพัฒนาทางก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ Career Path ของบุคลากรวิทยาลัยเซนต์ หลุยส์ ให้ดาเนินการไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกาหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับตาแหน่ง เพื่อเป็นเครื่องมือในการประเมินผล การปฏิบัติงานและการคัดเลือกคนดีคนเก่ง กาหนดเส้นทางอาชีพ Career Path รองรับการวางแผนพัฒนาทางก้าวหน้าของบุคลากรให้เป็นระบบ ชัดเจน และเป็น ธรรม ซึ่งจะส่งผลให้บุคลากรสามารถมองเห็นทางก้าวหน้าในสายอาชีพและมุ่งมั่น พัฒนาตนเอง และตั้งใจปฏิบัติงานให้มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ต่อหน่วยงานเพื่อบรรลุ เป้าหมายที่ต้องการ และถือเป็นเครื่องมือ ที่สาคัญของหน่วยงานในการจูงใจในการ ท างาน รวมทั้ ง เป็ น หลั ก ประกั น ในการคั ด เลื อ กและพั ฒ นาบุ ค คลที่ มี คุ ณ ภาพ ปฏิบัติงานในตาแหน่งต่างๆ อย่างต่อเนื่อง แผนกทรัพยากรบุคคล ขอขอบคุณทุกท่ านที่ได้มีส่วนร่วมในการทาประชา พิจารณ์ ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลและข้อคิดเห็น สนับสนุน และช่วยเหลือใน ด้านต่างๆ เพื่อ ประโยชน์ต่อการดาเนินการพัฒนาความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ Career Path ของวิทยาลัยฯ ให้เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป แผนกทรัพยากรบุคคล


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 6


7 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์

สารบัญ เรื่อง

หน้า

หลักการและเหตุผล

9

การดาเนินงาน

13

เกณฑ์การเข้าสู่เส้นทางอาชีพ Career Path  บุคลากรสายวิชาการ

19

 บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ

33

ภาคผนวก  ตัวอย่างค่าตอบแทนที่สอดคล้องกับบันไดวิชาชีพ

50


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 8


9 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์

ส่วนที่ 1 หลักการและเหตุผล แผนพั ฒ นาวิ ท ยาลั ย เซนต์ ห ลุ ย ส์ ระยะที่ 2 (ปี ก ารศึ ก ษา 2550 -2554) ประจ าปี การศึกษา 2553 ซึ่งได้กล่าวถึงปัจจัยสู่ความสาเร็จด้านบุคลากรที่จะต้องเกิดขึ้นกับวิทยาลัย เซนต์หลุยส์วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ คือบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ทางวิชาการที่เชี่ยวชาญ เฉพาะสาขา และมีบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งที่ผ่านมาวิทยาลัยฯ ได้ มีการกาหนดนโยบาย กลยุทธ์และเป้าหมายของแผนพัฒนาวิทยาลัยระยะที่ 2 (ปีการศึกษา 2550-2554) ประจาปีการศึกษา 2553 โดยกาหนดให้มีการนาแผนเส้นทางอาชีพ Career Path ไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งการกาหนดแผนสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร ซึ่งสรุปในส่วนที่ เกี่ยวข้องไว้ดังนี้ แผนพัฒนาวิทยาลัยระยะที่ 2 (ปีการศึกษา 2550-2554) ประจาปีการศึกษา 2553 นโยบายที่ 2 :ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มุ่งสร้างคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ กลยุทธ์ที่ 3 : พัฒนาอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ สอดคล้องกับเป้าหมายที่ 4 : สรรหาและพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน วิชาการตามวิสัยทัศน์ของวิทยาลัยที่มุ่งสู่ความเป็นนานาชาติ โครงการ 020301 พัฒนาคุณภาพอาจารย์ เป้าหมายและโครงการ 1.1 พัฒนาอาจารย์เข้าสู่ตาแหน่งวิชาการ 1.2 พัฒนาอาจารย์ตามบันไดวิชาชีพของวิทยาลัย ตัวบ่งชี้  020301001 อาจารย์ประจามีตาแหน่งทางวิชาการ  020301002 มีระบบกลไกที่สร้างความสาเร็จเพื่อดารงตาแหน่งทางวิชาการ  020301003 มีระบบกลไกในการส่งเสริมผลงานวิชาการและวิจัย  020301004 มีระบบกลไกพัฒนาบุคลากรสู่บันไดวิชาชีพ


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 10  020301005 มีระบบกลไกให้เงินค่าตอบแทนตามบันไดวิชาชีพ  020301006 มีระบบกลไกให้เงินค่าตอบแทนตามภาระงาน  020301007 มีระบบกลไกให้เงินค่าตอบแทนตามคุณภาพของผลลัพธ์ของงาน เกณฑ์ประเมินรายปีการศึกษา  มีระบบกลไกที่สร้างความสาเร็จเพื่อดารงตาแหน่งทางวิชาการ  มีระบบกลไกในการส่งเสริมผลงานวิชาการและวิจัย  มีระบบกลไกพัฒนาบุคลากรสู่บันไดวิชาชีพ  มีระบบกลไกการให้เงินค่าตอบแทนตามบันไดวิชาชีพ  มีระบบกลไกให้เงินค่าตอบแทนตามภาระงาน  มีระบบกลไกให้เงินค่าตอบแทนตามคุณภาพของผลลัพธ์ของงาน ในการดาเนินงานของแผนกทรัพยากรบุคคลจึงได้เสนอพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการทบทวน มี แ ผนสร้ า งความก้ า วหน้ า ในสายงานให้ แ ก่ บุ ค ลากร เพื่ อ สร้ า งขวั ญ และก าลั ง ใจในการ ปฏิบัติงานให้กับบุคลากร ซึ่งกาหนดให้มีแผนสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร(อย่างน้อยใน สายงานหลั ก ) มีก ารด าเนินการตามแผนการสร้า งความก้ า วหน้ าของบุ คลากร และมี ก าร ประเมินผลการดาเนินการตามแผนเส้นทางความก้าวหน้าของบุคลากร แผนกลยุทธ์วทิ ยาลัยเซนต์หลุยส์ ระยะที่ 3 ปีการศึกษา 2555 – 2559 วิทยาลัยได้เล็งเห็นความสาคัญของการเชื่อมต่อระหว่างแผนพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ระยะที่ 2 (ปีการศึกษา 2550-2554)และแผนกลยุทธ์วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ระยะที่ 3 (ปีการศึกษา 2555-2559) จึงได้เสนอขอความเห็นชอบ “โครงการจัดทาแผนพัฒนา เชิงยุทธศาสตร์วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ระยะที่ 3 (ปีการศึกษา 2555-2559) แบบมีส่วนร่วม ”ต่อ กรรมการสภาวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2553 กรรมการฯ ได้เสนอแนะให้ วิทยาลั ยหลายประการ เช่น การมองสภาพสังคมที่เปลี่ ยนไปอย่างรวดเร็วจึ งควรให้ชุมชน โดยรอบเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนา การตระหนักถึงความเป็นประชาคมอาเซียน และนาแผนอภิบาลอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ค.ศ. 2011-2015 มาพิจารณาร่วมด้วย ซึ่งผลการ จัดทาแผนกลยุทธ์วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ระยะที่ 3 (ปีการศึกษา 2555-2559) สรุปสิ่งเกี่ยวข้องได้ ดังนี้


11 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ พันธกิจที่ 5 การบริหารจัดการ : พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมแล ะ หลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การจัดการทรัพยากรการบริหารและสิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดย ใช้หลักธรรมาภิบาล (S4+S6+S7+S8+S10+S12+S13+W1+W2+W3+W4+W5+W6+W7+W9+O1+O2+O3+ O5+O6+O7+O9+O13+T1+T2+T3+T4+T5+T6) ด้านการบริหารคน แผน 2 พัฒนาคุณภาพอาจารย์โดยใช้ผลการประเมิน (S8+W1+W2+W3+W4+W5+W6+W7+W9+O7+T3+T4+T5+T6) มาตรการ 2.1 ใช้ผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษามาพัฒนากลยุทธ์การจัดการเรียน การสอน มาตรการ 2.2 ใช้ผลการประเมินการสอนของนักศึกษาและจากการสังเกต การสอนของผู้ร่วม งานมาพัฒนาคุณภาพการสอน มาตรการ 2.3 พัฒนาประสิทธิภาพแบบประเมินเพื่อการพัฒนาอาจารย์ตามเส้นทางอาชีพ Career path มาตรการ 2.4 พัฒนาการจัดทา Portfolio ที่สอดคล้องกับแบบประเมิน ตัวบ่งชี้ : 1. อาจารย์ที่ไม่ผ่านผลการประเมินการสอน ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาตามเกณฑ์ 2. ร้อยละของอาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาตามผลการประเมินการสอนร่วมกับผลการ วิเคราะห์การปฏิบัติงานตามเส้นทางอาชีพ Career Path แผน 3 พัฒนาคุณภาพบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ (S8+W3+W6+W7+O7+T3+T6) มาตรการ 3.1 ใช้ผลการประเมินการปฏิบัติงานและจากการสังเกตของผู้ร่วมงานมาพัฒนา คุณภาพการปฏิบัติงาน มาตรการ 3.2 พัฒนาประสิทธิภาพแบบประเมินเพื่อการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน วิชาการตามเส้นทางอาชีพ Career path มาตรการ 3.3 พัฒนาการจัดทา Portfolio ที่สอดคล้องกับแบบประเมิน


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 12 ตัวบ่งชี้ : 1. บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการได้รับการพัฒนาร้อยละ 100 ของคุณภาพด้านการ ปฏิบัติงานและการประเมินผล 2. บุ คลากรสายสนับ สนุนวิชาการที่ ไ ม่ ผ่า นผลการปฏิบั ติ ง านได้ รั บการพั ฒนาให้มี คุณภาพตามเกณฑ์ 3. ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ได้รับการพัฒนาตามผลการประเมินการ ปฏิบัติงานร่วมกับผลการวิเคราะห์การปฏิบัติงานตามเส้นทางอาชีพ Career Path


13 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์

ส่วนที่ 2 การดาเนินงานของคณะกรรมการ  วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดทาแผนเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ(Career Planning) ของ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 2. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ Career Path ให้กับบุคลากรสายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ 3. เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการกาหนดความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ Career Path ให้กับบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์  ประโยชน์ 1. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารงานบุคคล 2. การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร เพื่อเตรียมความพร้อมของกาลังคน โดย การสรรหาและคัดเลือกในตาแหน่งงานที่ว่าง 3. การวางแผนฝึ ก อบรมและพั ฒ นาบุ ค ลากร เพื่ อ พั ฒ นาความสามารถเข้ า สู่ ตาแหน่งงาน หรือโอยย้ายงาน 4. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรรายบุคคลการจัดสรรงบประมาณด้านบุคลากร เพื่อสรรหาและคัดเลือก รวมทั้งค่าตอบแทน รางวัล  การดาเนินงาน ตามที่ทางแผนกทรัพยากรบุคคล ได้เคยจัดทาร่างหลักเกณฑ์การเข้าสู่ตาแหน่งของ บุคลากรตามบันใดวิชาชีพ(Career Path)ไว้แล้วเมื่อ พ.ศ. 2551 เป็นแนวทางความกาวหนาไป สูอีกตาแหนง โดยแสดงเสนทางการสั่งสมประสบการณและผลงานผานการเลื่อนตาแหนงจา กระดับลางไปสูตาแหนง ระดับบนหรือในระนาบเดียวกัน โดยเป็นการสรางหรือเพิ่มแรงจูงใจใน การทางานของบุคลากรผูที่มีศักยภาพ(Talent/Successor) ใหเกิดการสั่งสมผลการปฏิบัติงาน สูง(High Performance) และจัดเตรียมและพัฒนาบุคลากรผมี ศักยภาพใหพรอมทดแทนตา แหนงงาน ซึ่ง เปาหมายจัด เตรี ย มและพั ฒ นาผู้ มี ศั ก ยภาพ ให้ พร้ อ มทดแทนต าแหน่ ง งาน เป้าหมายอันเปนตาแหนงงานบริหารระดับกลางขึ้นไปดวยการสั่งสมประสบการณและผลงาน โดยมุ่งสร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะทางและความก้าวหน้าในหน้าที่การงานให้กับบุคลากรทุก


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 14 ระดับตามวิสัยทัศน์ของวิทยาลัยฯ ที่ระบุไว้ในแผนกลยุทธ์วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ระยะที่ 3 ปี การศึกษา 2555 – 2559 และเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น คู่ มือการเสนอขอดารงตาแหน่งทาง วิชาการ ของสานักงานการอุดมศึกษาเอกชน ,แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง ( พ.ศ. 2552 – 2559 ) , การประเมินการศึกษาของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา(องค์กรมหาชน) รอบ 3 , กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 : TQF เป็นต้น ซึ่งถือเป็นเกณฑ์ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องในเรื่องคุณสมบัติและ หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตาแหน่งของบุคลากรตามบันใดวิชาชีพ(Career path) ดังกล่าว ทั้งนีแ้ ผนกทรัพยากรบุคคลจึงเห็นควรแต่งตั้งคณะกรรมการทบทวนหลักเกณฑ์การเข้าสู่ ตาแหน่งของบุคลากรตามบันใดวิชาชีพ ( Career path)จึงได้จัดทาเอกสารฉบับร่าง เพื่อเสนอ รายชื่อแต่งตั้ง คณะกรรมการทบทวนหลัก เกณฑ์ก ารเข้าสู่ ตาแหน่ งของบุค ลากรตามบันใด วิชาชีพ(Career path)ฉบับร่าง อ้างถึงบันทึก ข้อความเลขที่ 84001-52 / พิเศษ 14 ลงวันที่ 8 มีนาคม 2553 เรื่อง ขออนุมัติดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการทบทวนหลักเกณฑ์การเข้าสู่ ตาแหน่งของบุคลากรตามบันใดวิชาชีพ ( Career Path ) ซึ่งได้ระบุหน้าที่ความรับผิดชอบ ตั้งแต่บัดนี้จนกว่าจะมีคาสั่งเปลี่ยนแปลง  วัตถุประสงค์การดาเนินงาน 1. เพื่อทบทวน หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตาแหน่งของบุคลากรตามบันใดวิชาชีพ ( Career path ) ฉบับร่าง ( เดิม ) 2. เพื่อพัฒนา หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตาแหน่งของบุคลากรตามบันใดวิชาชีพ ( Career path ) ประจาปีการศึกษา 2553 สู่การนาไปใช้  ขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ 1. เพื่อทบทวน หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตาแหน่งของบุคลากรตามบันใดวิชาชีพ ( Career path ) ฉบับร่าง ( เดิม ) 2. เพื่อพัฒนา หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตาแหน่งของบุคลากรตามบันใดวิชาชีพ ( Career path ) ประจาปีการศึกษา 2553 สู่การนาไปใช้ 3. ดาเนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเพื่อทบทวน ขั้นตอนการเข้าสู่การพัฒนาบุคลากร ตามบันใดวิชาชีพ ตามที่ได้รับมอบหมาย


15 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ วิ ท ยาลั ย เซนต์ ห ลุ ย ส์ ไ ด้ อ นุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการทบทวนหลั ก เกณฑ์ ก ารเข้ า สู่ ตาแหน่งของบุคลากรตามบันใดวิชาชีพ ( Career path ) เพื่อดาเนินการจัดทาแผนเส้นทาง อาชีพ Career Path ของวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ในปีการศึกษา 2553 ซึ่งมีรายชื่อคณะกรรมการฯ ดังนี้ อธิการบดี

ที่ปรึกษา

ที่ปรึกษาอธิการบดี

ที่ปรึกษา

รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยฯ

ที่ปรึกษา

รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร

ที่ปรึกษา

รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

ประธาน

หัวหน้าแผนกทรัพยากรบุคคล

รองประธาน

คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์

กรรมการ

คณบดีคณะศิลปศาสตร์

กรรมการ

ผู้อานวยการโครงการจัดตั้งคณะกายภาพบาบัด

กรรมการ

ผู้อานวยการสานักงานอธิการบดี

กรรมการ

ผู้อานวยการสานักงานประกันคุณภาพ

กรรมการ

หัวหน้าแผนกวางแผนฯ

กรรมการ

หัวหน้าแผนกการเงินและทรัพย์สิน

กรรมการ

พนักงานแผนกทรัพยากรบุคคล

เลขานุการ


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 16  ขั้นตอนการดาเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาโครงสร้างองค์กร/ตาแหน่งงาน การศึกษาลักษณะทั่วไปของโครงสร้างองค์กร และตาแหน่งงานในปัจจุบัน เป็นขั้นตอน เริ่มต้นก่อนการจัดทาเส้นทางอาชีพ Career Path เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัด ผังโครงสร้างองค์กร โครงสร้างตาแหน่งงาน และระดับตาแหน่งงานขององค์กรในปัจจุบัน และ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์งาน(Job Analysis) การจัดกลุ่มงาน(Job Family) ให้ เหมาะสมกับลักษณะการดาเนินงานขององค์กร ขั้นตอนที่ 2 การจัดกลุ่มงาน การจัดกลุ่มงาน ซึ่งจากการศึกษาโครงสร้างองค์กรสามารถสรุปการแบ่งกลุ่มได้ดังนี้  บุคลากรสายวิชาการ  บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ การจัดกลุ่มงาน หมายถึง การจัดแบ่งกลุ่มงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณสมบัติของ ตาแหน่งงานใกล้เคียงกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน โดยวิเคราะห์จากคาบรรยายลักษณะงานของ ตาแหน่งงานที่จัดทาขึ้น โดย การจัดกลุ่มงาน(Job Family) แบ่งแยกงานตามลักษณะความ รับผิดชอบ หรือตามสายอาชีพจะช่วยให้สามารถจัดทาโครงสร้างที่เหมาะสมในการกาหนด เส้นทางอาชีพให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ขั้นตอนที่ 3 กระบวนการวางแผนทางเดินสายอาชีพ กระบวนการวางแผนทางเดินสายอาชีพสามารถวางแผนได้ใน 3 ลักษณะ ดังนี้ ลักษณะที่ 1. การเลื่อนตาแหน่งงานตามแนวตั้ง(Vertical Movement) เป็นการเลื่อนระดับขึ้น ไปในสายงาน/ประเภทตาแหน่งเดิม ที่ต้องการความรู้ ทักษะสมรรถนะที่ลึกและซับซ้อนยิ่งขึ้น โดยอาจต้องการความรู้และทักษะใหม่บ้างบางจานวนในระดับสูง เพื่อให้สามารถให้คาปรึกษา แนะนาแนวทางและจัดทานโยบาย หรือกลยุทธ์ในการดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ลักษณะที่ 2. การเลื่อนตาแหน่งงานตามแนวนอน(Horizontal Movement) เป็นการเลื่อนใน ระดับเดิมแต่เปลี่ยนไปยังสายงาน/ประเภทตาแหน่งงานที่แตกต่างจากเดิม เพื่อขยายขอบเขต ของการเรียนรู้ลักษณะงานรูปแบบใหม่ๆ การเลื่อนเช่นนี้จึงเป็นการเพิ่มการสั่งสมความรู้ ทักษะ


17 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ สมรรถนะที่หลากหลายยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีความซับซ้อนกรณีที่เลื่อนงานตามแนวนอนเมื่องานอยู่ ระดับสูงแล้ว เนื่องจากงานอาจต้องการความรู้และทักษะใหม่ที่อยู่ในระดับที่ลึกและซับซ้อน ลักษณะที่ 3. การเลื่อนตาแหน่งงานตามแนวขวาง(Diagonal Movement) เป็นการเลื่อน ระดับขึ้นไปยังสายงาน/ประเภทตาแหน่งที่แตกต่างจากเดิม เพื่อขยายขอบเขตของการเรียนรู้ ลักษณะงานรูปแบบใหม่ๆการเลื่อนเช่นนี้จึงเป็นความท้าทายสาหรับผู้ได้รับการมอบหมาย เนื่องจากเป็นการเพิ่มการ สั่งสมความรู้ ทักษะสมรรถนะที่หลากหลาย ซับซ้อน และยากยิ่งขึ้น ในเวลาเดียวกัน โดยเฉพาะกรณีที่เลื่อนงานเมื่องานอยู่ระดับสูงแล้ว  ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ประสบความสาเร็จ ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ประสบความสาเร็จในการจัดทาเส้นทางอาชีพ Career Path มี องค์ประกอบ ดังนี้ o มีความสอดคล้องกันระหว่างแผนทางเดินสายอาชีพ กับกลยุทธ์และทิศทางของ องค์กรในอนาคต o เป็นระบบที่ต่อยอดและเชื่อมโยงกับระบบและกระบวนการบริหารบุคคลที่มีอยู่ แล้วในองค์กร o ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ให้ ค วามส าคั ญ และมี ส่ ว นร่ ว มอย่ า งเต็ ม ที่ ใ นการจั ด ท า กระบวนการวางแผนเส้นทางอาชีพ Career Path และแผนพัฒนารายบุคคล o องค์กรให้ความสาคัญอย่างเต็มที่ในการที่จะใช้เส้นทางอาชีพ Career Path และตัดสินใจพิจารณาความก้าวหน้าโดยอิงนโยบายและเกณฑ์ที่ได้ตกลงกันไว้ เป็นหลักอย่างสม่าเสมอ ขั้นตอนที่ 4 พิจารณาเกณฑ์การเข้าสู่เส้นทางอาชีพ Career Path โดยในส่วนของรายละเอียดในการดาเนิน การของคณะกรรมกาทบทวนหลักเกณฑ์การ เข้าสู่ตาแหน่งของบุคลากรตามบันใดวิชาชีพ ( Career path ) ตั้งแต่เริ่มดาเนินการจัดทาแผนฯ จนถึงการได้มาซึ่งเกณฑ์การเข้าสู่เส้นทางอาชีพ Career Path ได้ยึดแนวคิด Scholarship Model ของ Boyer มีดังนี้


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 18


19 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 20


21 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 22


23 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 24


25 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 26


27 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 28


29 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 30


31 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 32


33 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 34


35 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 36


37 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 38


39 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 40


41 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 42


43 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 44


45 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 46


47 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 48


49 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 50


51 คู่มอ ื เส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


คู่มือเส้นทางอาชีพบุคลากรวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 52


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.