เครือข่ายคอมพิมเตอร์

Page 1

สมาชิกในกล่ มุ


ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์


ความหมายของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หรือจะเรียกกันสัน้ ๆ ว่า ระบบเครือข่าย (Network) ประกอบด้วยเครือ่ งคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครือ่ ง ที่สามารถติดต่อกันเพือ่ แลกเปลีย่ นข้อมูลกันได้ การติดต่อจะผ่านทางช่องทางการ สือ่ สารต่าง ๆ เช่น สายโทรศัพท์ สายไฟฟ้ า หรือผ่านทางสือ่ แบบอืน่ ๆ ได้แก่ โมเด็ม (Modem) ไมโครเวฟ (Microwave) สัญญาณอินฟราเรด (Infrared) เป็ นต้น


ระบบเครือข่าย (Network) คือ ระบบที่นาเอาเครือ่ งคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล (PC หรือ Personal Computer) แต่ละเครือ่ งมาเชือ่ มต่อกันด้วยกลวิธี ทางระบบคอมพิวเตอร์นน่ั เอง ในการแบ่งชนิดของระบบเครือข่าย (Network) นัน้ จะแบ่งระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็ น 3 แบบด้วยกัน คือ 1. ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) 2. ระบบเครือข่ายระดับท้องถิน่ (Local Area Network หรือ LAN) 3. ระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN)


ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในยุคแรกๆของการใช้คอมพิวเตอร์นนั้ คอมพิวเตอร์แต่ละเครือ่ งจะแยกการ ทางานโดยลาพัง เมื่อต้องการนาข้อมูลจากเครือ่ งคอมพิวเตอร์เครือ่ งหนึง่ มาใช้ ทางานในคอมพิวเตอร์อกี เครือ่ งหนึง่ ก็ตอ้ งอาศัยวิธีการที่ยุ่งยาก เช่น นาเอา เอกสารที่พมิ พ์ออกมาจากเครือ่ งแรกไปป้อนใหม่ทางแป้นพิมพ์ของเครือ่ งสองหรือ บันทึกข้อมูลจากเครือ่ งแรกลงในแผ่นบันทึกข้อมูล แล้วจึงค่อยนาไปเปิ ดในเครือ่ ง ที่สองต่อมามีการเชือ่ มโยงคอมพิวเตอร์หลายเครือ่ งเข้าด้วยกัน จึงทาให้เกิดการ สือ่ สารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ท่ีรวดเร็วขึ้น ทาให้คอมพิวเตอร์หลายเครือ่ งที่ ต่อร่วมเครือข่ายกันนัน้ สามารถทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจสรุปได้ ดังต่อไปนี้


1) ระบบเครือข่ายในบริเวณเฉพาะที่ การเชือ่ มต่อเครือข่ายให้ประโยชน์ในด้านการ ใช้ขอ้ มูลร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การใช้ขอ้ มูลในฐานข้อมูลเดียวกันทาให้ได้ ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็ นปั จจุบนั มากที่สดุ 2) ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เนือ่ งจากระบบนี้เป็ นระบบใหญ่ท่ีมีการเชือ่ มต่อโยง กันทัว่ โลกผลประโยชน์และผลกระทบจึงมีกว้างไกลมาก สิง่ ที่เรารูจ้ กั และนามาใช้ประโยชน์ทุกวันนี้เป็ นเพียงจุดเริม่ ต้นเท่านัน้ และยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งซึง่ จะนามาซึง่ สิง่ ใหม่ๆอีกมากมาย 3) ระบบเครือข่ายร่วมปฏิบตั ิ เป็ นระบบเครือข่ายที่ทาให้เกิดการร่วมพลังของ คอมพิวเตอร์เครือข่ายมาทางานร่วมกัน ขณะที่มีการนาระบบนี้มาใช้ในงานวิจยั เพือ่ ถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่กระจายอยู่ในประเทศ ต่างๆทัว่ โลกสามารถสมัครเข้าร่วมโครงการวิจยั ได้ และแต่ละเครือ่ งได้รบั ส่วน แบบของงานคานวณมาทา


ประเภทของระบบเครือข่าย ในการแบ่งชนิดของระบบเครือข่าย (Network) สามารถดูได้จากลักษณะการ ติดตัง้ ใช้งานทางภูมิศาสตร์ จึงสามารถแบ่งระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็ น 3 แบบ ด้วยกัน คือ


1. ระบบเครือข่ายแวนหรือเครือข่ายบริเวณกว้าง (WIDE AREA NETWORK หรือ WAN) เป็ นระบบเครือข่ายที่ติดตัง้ ใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบ เครือข่ายที่ติดตัง้ ใช้งานทัว่ โลก โดยปกติมีอตั ราการส่งข้อมูลที่ตา่ และมีโอกาสเกิด ข้อผิดพลาดได้สงู การส่งข้อมูลอาจใช้อปุ กรณ์ในการสือ่ สาร เช่น โมเด็ม (MODEM) มาช่วย


2. ระบบเครือข่ายแลนหรือเครือข่ายบริเวณเฉพาะที่ (LOCAL AREA NETWORK หรือ LAN) เป็ นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่ใกล้กนั เช่น ใช้ภายใน มหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสินค้า หรือ โรงงาน เป็ นต้น การส่ง ข้อมูลสามารถทาได้ดว้ ยความเร็วสูง และมีขอ้ ผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่าย ระดับท้องถิน่ นี้จงึ ถูกออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ในการทางานและใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน 3. ระบบเครือข่ายแมนหรือเครือข่ายบริเวณนครหลวง (METROPOLITAN AREA NETWORK หรือ MAN) เป็ นระบบเครือข่ายที่มี ขนาดอยู่ระหว่าง LAN และ WAN คือ เป็ นระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมือง หรือจังหวัดเท่านัน้


ความสัมพันธ์ระหว่าง LAN และ WAN

LAN หรือ Local Area Network เป็ นเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระยะใกล้ คือ ใช้ เชื่อมต่ อกันในบริเวณที่ไม่ ห่างจากกันมากนัก โดยการ เชื่อมต่ อนีท้ าได้ โดยสายสั ญญาณพิเศษ ในสถานที่หนึ่ง ๆ หรือองค์ กรหนึ่ง ๆ สามารถที่จะสร้ างระบบ LAN หลาย ๆ ชุ ดได้ หรือเชื่อมระบบ LAN แต่ ละชุ ด ทีม่ ีอยู่แล้วเข้ าด้ วยกันอีกทีกไ็ ด้ อุปกรณ์ ที่ต้องใช้ ประกอบด้ วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มกี ารติดตั้ง การ์ ดเนตเวิร์คหรือเรียกย่ อ ๆ การ์ ด LAN สื่ อสั ญณาณซึ่งอาจเป็ นสายเคเบิล แบบใดแบบหนึ่ง ระบบปฏิบัติการควบคุมเครือข่ ายเช่ น Novell Netware, Banyan VINES, Windows NT Server เป็ นต้ น


คอมพิวเตอร์แต่ละเครือ่ งที่เชื่อมโยงกันในระบบเครือข่าย LAN จะต้องมีส่วนประกอบที่ สาคัญ คือ การ์ด LAN หรือ Network Interface Card (NIC) อุปกรณ์ช้ นิ นี้จะช่วยให้เครือ่ ง คอมพิวเตอร์ติดต่อกันได้ในเครือข่ายเสมือนกับที่โมเด็มเป็ นอุปกรณ์ช่วยให้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ติดต่อส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ สิง่ ทีแตกต่างกันคือ การ์ด LAN นี้เป็ นอุปกรณ์ท่ีทาให้ เครือ่ งคอมพิวเตอร์สามารถสือ่ สารข้อมูลด้วยความเร็วสูงในระดับ 10 หรือ 100 เมกะบิตต่อ วินาที เร็วกว่าที่ส่งผ่านโมเด็มประมาณ 500 ถึง 2-3 พันเท่า โดยมีสายสัญญาณแบบพิเศษเป็ น ตัวกลางสายดังกล่าว เช่น สาย Coaxial (สาย LAN ที่เห็นเป็ นสีดา ๆ ) สาย Fiber Optic หรือใยแก้วนาแสง สาย Unshield Twisted Pair (UTP) คล้าย ๆ โทรศัพท์ธรรมดาแต่ใหญ่ กว่าเล็กน้อย เป็ นต้น


ในกรณีท่ีมีระบบเครือข่าย LAN ตัง้ แต่ 2 ระบบขึ้นไปที่อยู่ไกลกันมาก ไม่ได้ อยู่ในบริเวณเดียวกัน หรือมีคอมพิวเตอร์บางเครือ่ งในเครือข่ายที่อยู่ไกลมาก จาต้องใช้อุปกรณ์และบริการพิเศษเพือ่ ช่วยในการเชือ่ มโยงกัน ซึง่ จะเรียกว่าเป็ น เครือข่ายระยะไกลหรือเครือข่ายแบบ MAN หรือ WIDE AREA NETWORK ใน การเชือ่ มกันนี้สามารถทาได้หลายวิธี เช่น เชือ่ มผ่านสายที่เช่ามาเป็ นพิเศษ ( LEASED LINE) จากองค์การโทรศัพท์ เชือ่ มผ่านระบบไมโครเวฟ เชือ่ มผ่าน เครือข่ายบริการ ISDN ของการสือ่ สารฯ หรือแม้แต่ผ่านดาวเทียม เป็ นต้น อุปกรณ์พเิ ศษที่จะช่วยเชือ่ ม LAN เข้าด้วยกันให้กลายเป็ น WAN นี้เรียกว่าประตู เชือ่ มต่อ หรือ GATEWAY ซึง่ จะทาให้ระบบเครือข่ายขยายได้อย่างไม่ส้นิ สุด


จากเครือ่ งคอมพิวเตอร์ใช้งานเดีย่ ว ๆ หลายเครือ่ งถูกเชือ่ มต่อกัน กลายเป็ นเครือข่าย LAN เมื่อมีเครือข่าย LAN หลาย ๆ ระบบแยกกันก็ถูก เชือ่ มโยงกันกลายเป็ นเครือข่ายแบบ WAN โดยหลักการแล้วเครือข่าย WAN จะ ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ 4 ส่วนคือ - ส่วนแรก ได้แก่ อุปกรณ์ท่ีใช้ต่อเชือ่ ม LAN เข้าด้วยกัน เช่น Bridge หรือ Router - ส่วนที่สอง คือ อุปกรณ์ช่วยในการต่อเข้าสู่เครือข่าย WAN เป็ นตัว Gateway เช่น โมเด็ม ในกรณีใช้บริการผ่านเครือข่ายโทรศัพท์หรือ Terminal Adapter ในกรณีใช้ บริการ ISDN - ส่วนที่สาม ได้แก่ สือ่ สัญณาณหรือ Media เช่น สายโทรศัพท์คลืน่ วิทยุ - ส่วนที่ส่ี คือ ส่วนของการบริการ WAN หมายถึง เครือข่ายของผูใ้ ห้บริการในการ เชือ่ มต่อระยะไกล ๆ เช่น องค์การโทรศัพท์หรือการสือ่ สาร


INTERNETWORK การเชื่อมต่ อระหว่ างเครือข่ าย Internetwork คือ การที่หลาย ๆ เครือข่ายเชือ่ มต่อกันและทางาน เสมือนเป็ นเครือข่ายอันเดียวกัน ในอดีตเมื่อเริม่ มีการนาเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลหรือ PC มาใช้งานในเชิงธุรกิจในยุคแรก ๆ นัน้ เนือ่ งจากมีการ พัฒนา Application ทางธุรกิจให้เลือกใช้งานมากมาก ก็ทาให้จานวนการใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีเพิม่ มากขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่เมื่อเครือ่ งคอมพิวเตอร์ไม่ได้ถูกเชือ่ มโยงกันทาให้ผูใ้ ช้พบปั ญหาต่าง ๆ เช่น เครือ่ งคอมพิวเตอร์บางเครือ่ งไม่ได้ต่อเครือ่ งพิมพ์ไว้ เวลาจะพิมพ์งานก็ ต้องเอาข้อมูลนัน้ ไปพิมพ์ท่ีเครือ่ งอืน่ ทาให้ไม่สะดวกและยุ่งยาก


ทางแก้ไข คือการติดตัง้ ระบบเครือข่าย LAN เพือ่ เชือ่ มโยงเครือ่ ง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ เครือข่าย LAN ช่วย ทาให้ผูใ้ ช้สามารถใช้งานข้อมูลรวมกันกับหน่วยงานอืน่ ๆ ได้หรือสามารถส่งผ่าน ข้อมูลไปมาระหว่างหน่วยงานได้อย่างราบรืน่ รวมถึงการใช้งานเครือ่ งพิมพ์ ธรรมดา ๆ ก็ถูกแทนที่ดว้ ยเครือ่ งพิมพ์เลเซอร์ความเร็วสูงเพือ่ ใช้ร่วมกันใน หน่วยงานต่าง ๆ ซึง่ ในปั จจุบนั ก็ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้าน Internetwork ไป มาก โดยอาศัยโครงสร้างหรือโมเดลมาตรฐานเป็ นแนวทาง เช่น OSI โมเดล ทา ให้เกิดอุปกรณ์ในการเชือ่ มต่อระหว่าง Network ขึ้นหลายแบบจากผูผ้ ลิตรายต่าง ๆ กัน แต่กส็ ามารถนามาใช้รวมกันได้ ระบบเครือข่ายในปั จจุบนั จึงมีการขยายตัว ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางตัง้ แต่ขา้ มเมืองไปจนถึงข้ามโลกทา ให้จานวนผูใ้ ช้งาน ระบบเครือข่ายเพิม่ ขึ้นอย่างรวดเร็ว


เมื่อมีการใช้งานเครือข่ายอย่างกว้างขวางแล้วก็มกั จะมีเรือ่ งที่ตอ้ งจัดทา ต่อมา เนือ่ งจาก 1. ต้องการขยายจานวนการใช้งานเครือ่ งให้มากขึ้นกว่าเดิม เพราะมีการเพิม่ ผูใ้ ช้มากขึ้น 2. ต้องการขยายระยะทางของระบบให้ไกลกว่าเดิม 3. ต้องการควบคุมการรับส่งข้อมูล (TRAFFIC) ให้ดกี ว่าเดิมเพราะระบบให้ การตอบสนองช้าลง 4. ต้องการแยกปั ญหาที่เกิดในระบบเครือข่าย เพือ่ ให้สามารถค้นหาสาเหตุ และแก้ไขระบบได้ง่าย 5. ต้องการเชือ่ มโยงเครือข่ายที่แตกต่างกันหรือเหมือนกันเข้าด้วยกันเป็ น เครือข่ายใหญ่ข้ นึ


ข้อเปรียบเทียบของระบบเครือข่ายแต่ละแบบ ระบบเครือข่าย (Network) แต่ละแบบไม่ว่าจะเป็ นระบบเครือข่าย ระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) หรือระบบเครือข่ายระดับ ท้องถิน่ (Local Area Network หรือ LAN) หรือระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) มีความแตกต่างกันอยู่หลาย ประการ ซึง่ พอที่จะสามารถสรุปได้ดงั นี้


1. ระบบเครือข่ายระดับท้องถิน่ (LAN) มีระยะทางระหว่างจุดที่ต่อกัน จากัด ขนาดสูงสุดปกติไม่เกิน 10 กิโลเมตร และตา่ สุดไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร 2 โดยปกติทว่ั ไปแล้วระบบเครือข่ายระดับเมือง (MAN) จะทางานด้วย ความเร็วน้อยกว่า 1 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) แต่ถา้ ใช้เทคโนโลยีแบบ เส้นใยนาแสง (Fiber Optic) ในการเชือ่ มต่อจุดแต่ละจุดแล้ว จะทาให้ส่งข้อมูล ด้วยความเร็วหลายร้อยเมกะบิตต่อวินาที (Mbps) 3. เนือ่ งจากระบบเครือข่ายระดับท้องถิน่ (LAN) มีระยะทางการใช้งาน ไม่กว้างนักทาให้อตั ราของความผิดพลาดหรือข้อผิดพลาดต่าง ๆ น้อยกว่า ระบบเครือข่ายระดับเมือง (MAN)


4. ระบบเครือข่ายระดับท้องถิน่ (LAN) จะอยู่ภายใต้การควบคุมของคน หรือองค์กรเดียวแต่ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (WAN) จะมีขอบข่ายการ ใช้งานอยู่ทว่ั โลก ดังนัน้ การช้าจะขึ้นอยู่กบั องค์กรการสือ่ สารของแต่ละประเทศ ด้วย โดยสรุปแล้ว ระบบเครือข่ายระดับท้องถิน่ (LAN) เป็ นรูปแบบการ ทางานของระบบเครือข่ายแบบหนึง่ ที่ช่วยให้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ จอภาพ เครือ่ งพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถติดต่อและใช้งานร่วมกันได้ ซึง่ จะต่างกับ ระบบเครือข่ายแบบอืน่ ๆ ตรงที่จากัดการติดต่อสือ่ สารของอุปกรณ์อยู่ในบริเวณ แคบ ๆ เท่านัน้ โดยทัว่ ไปจะมีระยะการใช้งานไม่เกิน 2 กิโลเมตร เช่น ใช้ภายใน มหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็ นต้น การส่งข้อมูล สามารถทาได้ดว้ ยความเร็วสูงถึง 1-10 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) และมี ข้อผิดพลาดน้อย


รู ปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ การเชือ่ มโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพือ่ ใช้งานร่วมกัน จะมีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วนด้วยกันคือ ส่วนของ และฮาร์ดแวร์หรือส่วนของเครือข่ายเชิงกายภาพ และส่วนของซอฟต์แวร์หรือส่วนการจัดการ


ฮาร์ดแวร์หรือส่วนของเครือข่ายเชิงกายภาพ หรืออุปกรณ์เครือข่าย ได้แก่ สายนาสัญญาณ แผ่นวงจรเครือข่าย ตัวเครือ่ งคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ อืน่ ๆ ที่เครือข่ายใช้ในการรับ – ส่งข้อมูลเครือข่ายเชิงกายภาพ (PHYSICAL NETWORKING) หรือ ฮาร์แวร์ ส่วนเครือข่ายเชิงกายภาพ หรืออุปกรณ์ทางด้านฮาร์ดแวร์ เนือ่ งจากเป็ นส่วนที่สามารถมองเห็นได้ คือ ส่วนของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ อันได้แก่ สายนาสัญญาณ แผ่นวงจร เครือข่าย (LAN CARD) ตัวเครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ฮับ (HUB) และสิง่ อืน่ ๆ ที่ทาให้เครือข่ายทางาน สิง่ ที่สาคัญเกีย่ วกับส่วนเครือข่ายเชิง กายภาพทัง้ หมดก็คอื เรือ่ งของฮาร์ดแวร์


การเชื่อมโยงเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ มีดงั นี้ - การเชือ่ มต่อแบบบัส - การเชือ่ มต่อแบบดาว - การเชือ่ มต่อแบบวงแหวน - การเชือ่ มต่อแบบต้นไม้


การเชือ่ มต่อแบบบัส การเชือ่ มต่อรูปแบบนี้กค็ อื คอมพิวเตอร์จะถูกเชือ่ มต่อกัน โดย ผ่านสายสัญญาณแกนหลัก หรือที่เรียกว่า บัส ( BUS ) คือสายรับส่งสัญญาณข้อมูล หลักใช้เป็ นทางเดินของข้อมูลของทุกเครือ่ งภายในเครือข่ายและ จะมีสายแยกย่อย ออกไปในแต่ละจุด เพือ่ เชือ่ มต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือ่ งอืน่ ๆ เราเรียกว่า โหนด ( NODE) ซึง่ ข้อมูลจากโหนดผูส้ ่งนี้จะถูกส่งเข้าสูส่ ายบัสในรูปของแพ็กเกจ ซึง่ แต่ละแพ็กเกจนี้กจ็ ะประกอบด้วยข้อมูลของผูส้ ่ง, ผูร้ บั และข้อมูลที่จะส่ง ข้อดีของการเชือ่ มต่อแบบบัส ไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยในการวงสายสัญญาณมากนัก เพราะว่าขยายระบบได้ง่าย ไม่ตอ้ งใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อน ข้อเสียของการเชือ่ มต่อแบบบัส อาจเกิดความผิดพลาดได้งา่ ย เพราะว่าจะใช้ สายสัญญาณเพียงสายเดียวในการต่อ และถ้าหากสายขาดที่ใดที่หนึง่ ก็จะทาให้บาง เครือ่ งหรือทัง้ ระบบไม่สามารถทางานได้เลย



การเชือ่ มต่อแบบวงแหวน การเชือ่ มต่อแบบนี้เป็ นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ ทุกเครือ่ งในระบบเครือข่ายนี้ จะถูกเชือ่ มต่อกันเป็ นวงกลมและข้อมูลก็จะไหลเวียน ไปในทิศทางเดียวกัน ในแต่ละเครือ่ งนี้กจ็ ะมี รีพติ เตอร์ ( REPEATER) ประจาอยู่เครือ่ งละ 1 ตัว เพือ่ จะทาหน้าที่เพิม่ เติมข้อมูลที่จาเป็ นใน การติดต่อสือ่ สารเข้ามาที่ส่วนหัวของแพ็กเกจที่ส่ง และก็ทาการตรวจสอบว่าส่วนหัว ของแพ็กเกจที่มาถึงนัน้ เป็ นข้อมูลของตนหรือไม่ ถ้าไม่ใช่กจ็ ะปล่อยข้อมูลนัน้ ไป ข้อดีของการเชือ่ มต่อแบบวงแหวน การส่งข้อมูลนัน้ จะเป็ นไปในทิศทาง เดียวกัน จะไม่มีการชนการของข้อมูลและคอมพิวเตอร์ทุกเครือ่ งก็สามารถส่งข้อมูล ได้เท่าเทียมกันด้วย ข้อเสียของการเชือ่ มต่อแบบวงแหวน ถ้าหากว่ามีเครือ่ งใดเครือ่ งหนึง่ เสียหาก การส่งผ่านข้อมูลนัน้ ก็จะไม่สามารถทาได้เลย


แสดงโครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน


การเชือ่ มต่อแบบดาว การเชือ่ มต่อแบบนี้จะเป็ นการที่เครือ่ ง คอมพิวเตอร์ ทุกเครือ่ งเชือ่ มต่อกันโดยผ่านอุปกรณ์ตวั หนึง่ ที่เป็ นตัวกลางของ การเชือ่ มต่อตัวเดียวกัน ซึง่ เรียกว่า ฮับ ( HUB ) หรือเครือ่ งๆ หนึง่ ที่ทาหน้าที่ เป็ นศูนย์ในการเชือ่ มต่อภายในเครือข่าย และก็ทาการควบคุมเส้นการสือ่ สาร ทัง้ หมดด้วย เมื่อมีเครือ่ งที่ตอ้ งการส่งข้อมูลไปยังเครือ่ งอืน่ ๆ ก็จะทาหน้าที่ส่ง ข้อมูลนัน้ ไปยังศูนย์กลางก่อน และค่อยทาการกระจายข้อมูลนัน้ ต่อไป ข้อดี ของการเชือ่ มต่อแบบดาว การติดตัง้ และดูแลรักษานี้จะทาได้งา่ ย และมีเครือ่ งใดเครือ่ งหนึง่ เสียหายก็สามารถตรวจสอบได้งา่ ย แล้วศูนย์กลางก็ยงั สามารถตัดเครือ่ งที่เสียหายออกจากเครือข่าย ได้โดยที่ไม่มีผลกระทบต่อ เครือข่ายอีกด้วย ข้อเสียของการเชือ่ มต่อแบบดาว ใช้ค่าใช้จา่ ยสูง และการขยายระบบทา ได้ยาก เพราะจะเกีย่ วเนือ่ งกับทุกเครือ่ งบนเครือข่าย



นอกจากนี้ยงั มีการเชื่อมต่อแบบต้นไม้ (Tree Topology) หรื อแบบ โครงสร้างรู ปต้นไม้


ซอฟแวร์หรือส่วนการจัดการเครือข่ายเชิงตรรกยะ ซอฟแวร์หรือส่วนการจัดการเครือข่ายเชิงตรรกยะ เป็ นซอฟแวร์เครือข่าย ที่กาหนดกฏเกณฑ์ในการบริหารจัดการเกีย่ วกับอุปกรณ์ และควบคุมการถ่าย โอนข้อมูลทางเครือ่ งคอมพิวเตอร์เครือ่ งบริการ และเครือ่ งรับบริการ(Client) ให้สามารถทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ เป็ นเกณฑ์วิธีการทางานของ เครือข่ายให้คอมพิวเตอร์สอ่ื สารกันได้ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน เช่น การใช้ โปรแกรมเครือข่ายโนเวลส์ในการบริหารจัดการกับเครือ่ งคอมพิวเตอร์และ เครือ่ งพิมพ์ ถ้าใช้โปรแกรมของไมโครซอฟต์เพือ่ ควบคุมการทางานเช่นเดียวกัน จะใช้ Domain ในการบริหารจัดการ เป็ นต้น


จบการนาเสนอ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.