การทำฝนเทียม444aoa

Page 1

๒๕๕๗ องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยี จาก แหล่งการเรี ยนรู้ ต่าง ๆ

กลุม่ A.O.A ม.4/4 โรงเรี ยนกัลยาณวัตร จังหวัดขอนแก่น 25/6/2557


การทาฝนเทียม

1.ตัวป้อน (Input) คือ ปัญหาการขาดแคลนน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร จากความคลาดเคลื่อน ของฤดูกาล โดยพบว่าในพืนที่มีเมฆมากปกคลุมท้องฟ้า แต่ไม่สามารถก่อรวมตัวก้นเป็นฝนได้ 2. กระบวนการเทคโนโลยี (Process) ได้แก่ การศึกษาวิจัยจนได้วิธีการตัดแปลงสภาพอากาศจนท้าให้ฝนตก ได้ มีการปฏิบัติจนสามารถท้าให้เกิดฝนได้จริง มีการวิเคราะห์และปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน 3.ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resource) ที่ใช้ในระบบฝนเทียม มีดังนี คน ได้แก่ คนที่ปฏิบัติงานในโครงการ ฝนหลวง, ข้อมูลและสารสนเทศ ได้แก่ วิชาการอุตุนิยมวิทยาและการตัดแปลงสภาพอากาศ, วัสดุ ได้แก่ สารเคมีต่างๆที่ใช้ในระบบฝนหลวง, เครื่องมือ ได้แก่ เครื่องบิน เครื่องมือตรวจอากาศ พลังงาน ได้แก่ เชือเพลิงต่างๆ ฯลฯ 4.ปัจจัยที่ขัดขวางต่อเทคโนโลยี (Constraints) คือ เงื่อนไขการปฏิบัติ ได้แก่ การเร่งให้เกิดเมฆ จะต้อง กระท้าในขณะที่ท้องฟ้าโปร่งหรือมีเมฆเดิมก่อตัวอยู่บ้าง และมีความชืนสัมพัทธ์ไม่ต่้ากว่า 60 % 5.ผลผลิต (Output) คือ ปฏิบัติการฝนหลวงกู้ภัยแล้งสัมฤทธิ์ผล สามารถตัดแปลงสภาพอากาศให้เมฆก่อตัว รวมกันเกิดเป็นฝนตกลงสู่พืนที่ประสบภัยแล้ง 6.ผลลัพธ์ (Outcome) คือเทคนิคการท้าฝนหลวงจากการโจมตีเมฆอุ่นและเมฆเย็นพร้อมกันในกลุ่มเมฆ เดียวกัน สามารถท้าฝนหลวงมาบ้าบัดทุกข์ บ้ารุงสุขให้กับราษฏรในพืนที่ประสบภัยแล้ง


ตัวป้อน (Input) คือ ปัญหาการขาดแคลนน้าเพื่อ การอุปโภคบริโภคและการเกษตร จากความคลาด เคลื่อนของฤดูกาล โดยพบว่าในพืนที่มีเมฆมากปก คลุมท้องฟ้า แต่ไม่สามารถก่อรวมตัวก้นเป็นฝนได้ ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resource) ที่ ใช้ในระบบฝนเทียม มีดังนี คน ได้แก่ คนที่ ปฏิบัติงานในโครงการฝนหลวง, ข้อมูลและ สารสนเทศ ได้แก่ วิชาการอุตุนิยมวิทยา และการตัดแปลงสภาพอากาศ, วัสดุ ได้แก่ สารเคมีต่างๆที่ใช้ในระบบฝนหลวง, เครื่องมือ ได้แก่ เครื่องบิน เครื่องมือตรวจ อากาศ พลังงาน ได้แก่ เชือเพลิงต่างๆ ฯลฯ

ผลผลิต (Output) คือ ปฏิบัติการฝน หลวงกู้ภัยแล้งสัมฤทธิ์ผล สามารถตัดแปลง สภาพอากาศให้เมฆก่อตัวรวมกันเกิดเป็น ฝนตกลงสู่พืนที่ประสบภัยแล้ง

ระบบฝนเทียม

กระบวนการเทคโนโลยี (Process) ได้แก่ การศึกษาวิจัยจนได้วิธีการตัด แปลงสภาพอากาศจนท้าให้ฝนตกได้ มีการปฏิบัติจนสามารถท้าให้เกิดฝนได้ จริง มีการวิเคราะห์และปรับปรุงวิธีการ ปฏิบัติงาน

ผลลัพธ์ (Outcome) คือเทคนิคการท้าฝน หลวงจากการโจมตีเมฆอุ่นและเมฆเย็นพร้อม กันในกลุ่มเมฆเดียวกัน สามารถท้าฝนหลวงมา บ้าบัดทุกข์ บ้ารุงสุขให้กับราษฏรในพืนที่ ประสบภัยแล้ง

ปัจจัยที่ขัดขวางต่อเทคโนโลยี (Constraints) คือ เงื่อนไขการ ปฏิบัติ ได้แก่ การเร่งให้เกิดเมฆ จะต้องกระท้าในขณะที่ท้องฟ้า โปร่งหรือมีเมฆเดิมก่อตัวอยู่บ้าง และมีความชืนสัมพัทธ์ไม่ต่้ากว่า 60 %


สมาชิก 1.นายภูวดล ค้าภูเวียง ม.4/4 เลขที่5 2.นายณัฐวุฒิ สุนาโท ม.4/4 เลขที่8 3.นางสาวพิชชาพร มงคลวงศ์โรจน์ ม.4/4 เลขที่32 4.นางสาวไอยรินทร์ พงษ์ศรี ม.4/4 เลขที่39 5.นางสาวเมธาวดี ทองมี ม.4/4 เลขที่43 6.นางสาวเฌอมารินทร์ ชาญช้านิ ม.4/4 เลขที่44


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.