ฉบับที่ 14: ตุลาคม-ธันวาคม 2559
14th issue: October-December 2016
สถานการณ์ด้านนโยบาย และการบังคับใช้กฎหมาย
ความส�ำคัญในการจัดท�ำคดียุทธศาสตร์ ด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย1 กัญญรัตน์ วิภาตะวัต
ด้วยสภาพการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ปัจจุบันเอื้อต่อการเกิดปัญหาความไม่เป็นธรรมและการ ละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะต่อกลุม่ ผูด้ อ้ ยโอกาสทาง เศรษฐกิจและสังคมและกลุม่ ชายขอบเปราะบาง เช่น กลุม่ ชาติพันธุ์ ผู้ใช้แรงงาน แรงงานข้ามชาติ ผู้ลี้ภัย ชุมชน ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบจากโครงการลงทุนขนาดใหญ่ หรือนโยบายของรัฐด้านทีด่ นิ ป่าไม้หรือการเมืองการปกครอง เป็นต้น และเมื่อเกิดปัญหาความไม่เป็นธรรมขึ้นแล้ว การที่ จ ะใช้ สิ ทธิ เ รี ย กร้อ งความเป็น ธรรมเพื่อให้ ไ ด้ รั บ การฟื้นฟูและชดเชย เยียวยาหรือเพื่อสร้างบรรทัดฐาน การเปลี่ยนแปลงในเชิงระบบเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา การละเมิดสิทธิขนึ้ อีกยังคงไม่ใช่เรือ่ งง่าย เนือ่ งจากปัญหา 1
และอุปสรรคของระบบยุตธิ รรมทีย่ งั ไม่เอือ้ ต่อการคุม้ ครอง สิทธิมนุษยชนอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งการขาดต้นทุน ทางความรู้ ทางเศรษฐกิจและอืน่ ๆ การด�ำเนินคดีเพือ่ เป็น บรรทัดฐานหรือเป็นคดีตัวอย่างเพื่อท�ำการทดสอบผล ทางกฎหมาย (impact or test case litigation) และ การด�ำเนินคดีเพื่อประโยชน์สาธารณะ (public interest litigation) หรือคดียทุ ธศาสตร์ (strategic litigation) นัน้ จึงถือเป็นวิธกี ารทางกฎหมายประการหนึง่ ทีเ่ ป็นการด�ำเนิน กระบวนการทางศาลเพื่อน�ำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทาง กฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายอันอาจสร้างบรรทัดฐาน ที่ส่งผลต่อกรณีอื่นที่มีลักษณะเดียวกันต่อไปได้
บทความนี้ เป็นส่วนหนึ่งจากรายงานฉบับเต็ม “คดียุทธศาสตร์ด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย) โดย กัญญรัตน์ วิภาตะวัติ กรกฎาคม 2559