จดหมายข่าว ฉ13 1

Page 1

ฉบับที่ 13: กรกฎาคม-กันยายน 2559

13th issue: July-September 2016

สถานการณ์ด้านนโยบาย และการบังคับใช้กฎหมาย

การปกป้องคุ้มครองสิทธิแรงงานบนเรือประมง ปภพ เสียมหาญ ผู้ประสานงานโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน

ท�ำไมแรงงานประมงถึงเลวร้าย?

ในช่วงก่อนปี 2558 แรงงานประมงถือเป็นแรงงาน ทีม่ กี ารถูกละเมิดมากเป็นอันดับต้นๆ และแรงงานประมง ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิใดๆ ได้ทั้งสิ้น เนื่องจากแรงงาน ดังกล่าวถูกแยกออกจากแรงงานทั่วไปด้วยรูปแบบของ การท�ำงานทีต่ อ้ งออกไปท�ำในทะเล และด้วยตัวบทกฎหมาย กล่าวคือ ตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ก�ำหนดให้แรงงานในบางประเภทกิจการซึง่ รวมทัง้ แรงงาน ประมงได้รับการคุ้มครองที่แตกต่างจากบทบัญญัติตาม พระราชบัญญัตฉิ บับนีไ้ ด้ เนือ่ งด้วยธรรมชาติของแรงงาน ประมงไม่สามารถปฏิบัติได้เฉกเช่นแรงงานปกติ ดังนั้น ทางกระทรวงแรงงาน จึงได้ออกกฎกระทรวงคุ้มครอง

ฉบับที่ 10 เพือ่ คุม้ ครองแรงงานประมงโดยเฉพาะ แต่อย่างไร ก็ตาม กฎกระทรวงฉบับนี้กลับมีเนื้อหาที่ไม่สามารถ ตอบโจทย์การคุม้ ครองแรงงานประมงได้ อาทิเช่น ค่าจ้าง ของแรงงานประมงให้ถอื ว่าเป็นไปตามทีน่ ายจ้างและลูกจ้าง ตกลงกัน ไม่มีการก�ำหนดเวลาท�ำงาน ไม่มีการก�ำหนด วันหยุด จึงกลายเป็นการเปิดช่องว่างให้มีการแสวงหา ประโยชน์จากแรงงานประมง เช่น แรงงานประมงบางคน ถูกบังคับให้ท�ำงานวันละไม่ต�่ำกว่า 20 ชั่วโมง แต่ได้รับ ค่าจ้างเพียงไม่กี่ร้อยบาท เพราะค่าจ้างถูกก�ำหนดได้โดย นายจ้างและไม่จำ� เป็นต้องอิงถึงอัตราค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ 300 บาท ยิ่งไปกว่านั้นหากได้รับอุบัติเหตุจากการท�ำงาน แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.