Thesis : Culture and Belief Centre of Thai

Page 1



ศูนย์เล่าเรื่องความเชื่อลี้ลับของคนไทย

กุลชญา สิ งห์คราม

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2560



CULTURE AND BELIEF CENTRE OF THAI

GULCHAYA SINGKRAM

A THESIS SUBMITTED IN PARTICAL OF THE REQUIREMENT FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DIVISION OD ARCHITECTURAL TECHNOLOGY FACULTY ARCHITECTURE RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2018


ABSTRACT บทคัดย่อ

กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกก


ACKNOWLEDGEMENT กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความช่วย เหลื อ ของอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ์ ซึ่ ง ท่ า นได้ ใ ห้ ค� ำ แนะน�ำและข้อคิดเห็นต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง อีก ทั้งยังช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการด�ำเนินงาน ขอขอบคุณส�ำหรับข้อแนะน�ำและความช่วยเหลือในทุก ๆ ด้าน สุ ดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณบิดามารดา และครอบครัว ซึ่ง เปิดโอกาสให้ได้รับการศึ กษาเล่าเรียน ตลอดจนคอยช่วย เหลือและให้ก�ำลังใจเสมอมาจนส� ำเร็จการศึกษา


บทคัดย่อ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญแผนที่

สารบัญตาราง

สารบัญภาพ

สารบัญแผนภูมิ


สารบัญ

หน้า

บทที่ 1 บทน�ำ 1.1 ความเป็นมาและความส� ำคัญ

1-2

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1-4

1.3 ขอบเขตของการศึกษา

1-4

1.4 วิธีและขั้นตอนการท�ำงาน

1-5

1.5 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาโครงการ

1-6

บทที่ 2 หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมายและค�ำจ�ำกัดความ

2-2

2.2 ความเป็นมาของเรื่องที่ศึกษา

2-6

2.3 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง

2-7

2.4 ทฤษฎีแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ

2-10

2.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

2-15

2.6 การศึกษาและเปรียบเทียบอาคาร

2-17

สารบัญ

หน้า

สารบัญ

หน้า

บทที่ 5 แนวความคิดและผลงานออกแบบ

บทที่ 3 การศึกษาและวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ

5.1 แนวคิดในการออกแบบ

00

5.2 เงื่อนไขในการพัฒนาแนวความคิด

00

5.3 การพัฒนาและการออกแบบ

00

3-7

5.4 ผลงานทางสถาปั ตยกรรม

00

5.5 ภาพถ่าย MODEL

00

4.1 ความเป็นมาของโครงการ

4-2

5.6 CHART PRESENTATION

00

4.2 วัตถุประสงค์

4-3

3.1 การศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบของเมือง 3-2 3.2 การศึกษาและวิเคราะห์ท�ำเลที่ตั้งโครงการ

3-3

3.3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

3-6

3.4 ศึกษาและวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ

บทที่ 4 การก�ำหนดรายละเอียดโครงการ

4.3 การก�ำหนดโครงสร้างการบริหารโครงการ

4-3

4.4 โครงสร้างการบริหารงาน

4-4

4.5 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ

4-5

4.6 ก�ำหนดรายละเอียดและกิจกรรมโครงการ

4-7

4.7 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-13

4.8 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

4-14

บทที่ 6 บทสรุป และข้อเสนอแนะ 6.1 บทสรุปโครงการ

00

6.2 เสนอแนะ

00

บรรณานุกรม

ภาคผนวก


สารบัญภาพ บทที่ 1 บทน�ำ ภาพที่ 1.1 : ภาพขอบหน้าต่าง ภาพที่ 1.2 : ภาพมือจุดไฟแช็ค ภาพที่ 1.3 : วัดจีน ภาพที่ 1.4 : คนอ่านหนังสื อ

01 17 18 20

บทที่ 2 หลักการออกแบบและทฤษฎี ภาพที่ 2.1 คนเดินผ่านเงาสลัว ภาพที่ 2.2 คนส่ องไฟฉาย ภาพที่ 2.3 ชั้นหนังสื อ ภาพที่ 2.4 คนนั่งท�ำงาน ภาพที่ 2.5 ทางเดินสลัว ภาพที่ 2.6 รัฐสภา ภาพที่ 2.7 ฉายหนังต่างประเทศ ภาพที่ 2.8 การถ่ายภาพยนตร์ ภาพที่ 2.9 การถ่ายภาพยนตร์ ภาพที่ 2.10 การจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ ภาพที่ 2.11 การจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ ภาพที่ 2.12 การจัดแสดง Jewish Museum ภาพที่ 2.13 รูปแบบการจัดงานแสดง ภาพที่ 2.14 รูปแบบการจัดงานแสดง ภาพที่ 2.15 รูปแบบการจัดงานแสดง ภาพที่ 2.16 โรงละคร ภาพที่ 2.17 สมอง ภาพที่ 2.18 เก้าอี้ในห้องมืด ภาพที่ 2.19 บันได ภาพที่ 2.20 อาคารหลายชั้น

21 23 24 25 26 27 28 28 29 30 32 34 35 35 35 37 38 39 43 43


สารบัญภาพ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

2.21 ระยะดิ่งอาคาร 2.22 ทางเดินในอาคาร 2.23 รูปแบบของแสงที่ส่องในอาคาร 2.24 ทางเดินในอาคาร 2.25 รูปตัดภายในอาคาร 2.26 รูปตัดภายในอาคาร 2.27 แปลน 2.28 มุมมองของอาคาร 2.29 ภายในหอศิลป์ 2.30 ภายในหอศิลป์ 2.31 ภายในหอศิลป์

43 44 45 45 46 46 46 47 48 49 49

บทที่ 3 การศึกษาและวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ ภาพที่ 3.1 : กรุงเทพมหานคร ภาพที่ 3.2 : กรุงเทพมหนคร ภาพที่ 3.3 : แผนที่โครงการ ภาพที่ 3.4 : เอกมัย ภาพที่ 3.5 : เอกมัย ภาพที่ 3.6 : แผนที่ซอยเอกมัย ภาพที่ 3.7 : เกตเวย์เอกมัย ภาพที่ 3.8 : พื้นที่รอบโครงการ ภาพที่ 3.9 : ซานติก้าผับ ภาพที่ 3.10 : การวิเคราะห์พ้ืนที่

52 54 56 60 61 62 62 63 65 66

บทที่ 4 การก�ำหนดรายละเอียดโครงการ ภาพที่ 4.1 : อาคารร้าง ภาพที่ 4.2 : พระสงฆ์

69 70

ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

4.3 : การชุมนุมของคน 4.4 : การใช้พ้ืนที่ส่วนกลาง 4.5 : การแสดงงานพิพิธภัณฑ์ 4.6 : ชมภาพยนตร์ 4.7 : ถนน 4.8 : การก่อสร้าง 4.9 : โครงสร้างเสาคาน 4.10 : โครงสร้างช่วงพาดกว้าง 4.11 : คอนกรีตเสริมเหล็ก 4.12 : โครงสร้างใต้ดิน 4.13 : โครงสร้างใต้ดิน 4.14 : พื้นคอนกรีต 4.15 : ผนังรับน�้ำหนัก 4.16 : โครงสร้างเหล็ก 4.17 : โครงสร้างเหล็ก 4.18 : Post tension 4.19 : ผนังกระจก 4.20 : ผนังก่ออิฐ 4.21 : บันไดเลื่อน 4.22 : ผนังกระจก 4.23 : พื้นคอนกรีต 4.24 : ระบบน�้ำ 4.25 : ระบบแอร์ 4.26 : ระบบแอร์ 4.27 : ห้องควบคุมระบบ 4.28 : หม้อแปลง 4.29 : เครื่องส� ำรองไฟ

71 77 77 77 85 86 88 89 90 91 92 93 94 95 95 96 97 98 99 99 100 101 102 103 104 105 106

ภาพที่ 4.30 : ระบบป้ องกันอัคคีภัย ภาพที่ 4.31 : ตู้ดับเพลิง ภาพที่ 4.32 : ถังดับเพลิง บทที่ 5 แนวคิดในการออกแบบ

107 108 108


สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิ

ตารางที่ 2.1 กฏหมายที่เกี่ยวของกับโครงการ 40 ตารางที่ 2.1 กฏหมายที่เกี่ยวของกับโครงการ (ต่อ) 41 ตารางที่ 2.1 กฏหมายที่เกี่ยวของกับโครงการ (ต่อ) 42 ตารางที่ 2.2 เปรียบเทียบอาคารตัวอย่าง 50 ้ ตารางที่ 3.1 เกณฑ์การเลือกที่ตงั โครงการ 58 ตารางที่ 3.2 กฏหมายที่เกี่ยวข้อง 59 ตารางที่ 4.1 แสดงพื้นที่ใช้สอย 78 ตารางที่ 4.2 แสดงพื้นที่ใช้สอย (ต่อ) 79 ตารางที่ 4.3 แสดงพื้นที่ใช้สอย (ต่อ) 80 ตารางที่ 4.4 แสดงพื้นที่ใช้สอย (ต่อ) 81 ตารางที่ 4.5 แสดงพื้นที่ใช้สอย (ต่อ) 82

แผนภูมิ 4.1 แสดงจ�ำนวนผู้ใช้งาน แผนภูมิ 4.1 แสดงจ�ำนวนผู้ใช้งาน แผนภูมิ 4.1 แสดงระยะเวลาใช้งานในโครงการ

75 75 75




บทที่ 1 บทน�ำ

ภาพที่ 1.1 : ภาพขอบหน้าต่าง ที่ ม า : https://unsplash.com/photos/

15


1.1 ความสำ�คัญของโครงการ ความกลัวคือปฏิกิริยาที่ร่างกายตอบสนองต่อ สิ่ ง

จะมีความกลัวเกิดขึ้นก็ตาม นอกจากนีย ้ งั มีการวิจย ั ในกลุม ่ คน

ทีม ่ ผ ี ลทีค ่ ด ิ ว่าเป็นอันตราย ความกลัวเป็นพื้นฐานอารมณ์ของ

ที่ชอบดู หนังสยองขวัญอีกด้วยว่าปริมาณความเครียดลดลง

มนุษย์ซ่ งึ เป็นสิ่ งส� ำคัญต่อสั ญชาตญาณการเอาชีวิตรอด ซึ่ง หากไม่มีความกลัวเลยถือเป็นผลเสี ยอาจไม่มีการระมัดระวัง

เมื่อดูส่ื อบันเทิงแนวนี้เป็นประจ�ำ ซึ่งความตื่นเต้นและความ 2 ้ เป็นภาษาสากลของคนทัว่ โลก หนังผีเรือ กลัวนัน ่ งหนึ่งทีแ ่ ฝง

ต่อภัยต่างๆ รอบตัว ความกลัวมีหลายรูปแบบ ความกลัว

ความน่ากลัว ไม่ต้องใช้ค�ำพู ดภาษาสื่ อสาร ไม่ว่าเชื้อชาติไหน

ประเภทหนึ่งที่อยู่คู่คนไทยมานานคือความกลัวในสิ่ งลี้ลับที่

ดูแล้ว ก็สามารถเกิดความกลัวขึ้นมาได้ เมือ ่ เทียบประเภทหนัง

มองไม่เห็น เรียกได้อก ี อย่างคือกลัวผี ในทางจิตวิทยากล่าวไว้

ที่ขายให้ต่างประเทศจะเห็นว่า หนังผีเข้าถึงคนดูต่างเชื้อชาติ

ว่าเป็นความกลัวในจิตใต้ส�ำนึกทีไ่ ด้รบ ั มาผ่านค�ำบอกเล่า ค�ำขู่

ได้มากกว่าหนังประเภทอื่นและช่วยเพิ่ มเศรษฐกิจของหนัง

ตัง้ แต่วย ั เด็ก ซึ่งสิ่ งลีล ้ บ ั ในทีน ่ ถ ี้ ก ู นิยามว่าเป็นสิ่ งทีไ่ ม่สามารถ

ไทยในต่างประเทศได้ ซึ่งในช่วงวิกฤตวงการภาพยนตร์ไทย

พบเห็นได้ทั่วไป ซึ่งสิ่ งลี้ลับในรูปแบบของพลังงานนั้นถูก 1 เรียกว่าวิญญาณ ซึ่งบางคนกลัวผีแต่กลับชอบรับฟั งเรื่อง

ซบเซาช่วงปี 2542 จะเห็นได้ว่าหนังที่ท�ำให้วงการหนังไทย

่ เพราะต้องการความตืน ผีและเรือ ่ งสยองขวัญ นัน ่ เต้น ในทาง

ฟื้ นฟู ขึ้นมาคือ ‘นางนาก’ และเริม ู้ ก ั และสร้างกระแส ่ เป็นทีร่ จ 3 หนังไทยไปทั่วเอเชีย

จิตวิทยากล่าวไว้วา่ มีสารในสมองทีช่ ว่ ยท�ำให้เกิดความสนุกแม้

1 ความกลัวทำ�ให้เราเติบโตทางความรู้สึก https://thematter.co/pulse/why-we-love-being-fear/11515 2 Into Eternity (2011) : https://medium.com/@rongnoisaharath/into-eternity-717a260f845c 3 (หนัง)ผีครองเมือง เพราะต่างชาติก็ใช่ คนไทยก็ชอบ : https://www.sanook.com/movie/32924/

16


เมื่ อ ได้ มี ก ารศึ กษาถึ ง แนวคิ ด การขั บ เคลื่ อ น

เรียกได้วา่ ไม่เหมือนกับทีอ ่ น ่ื เพราะมีความเชือ ่ ทางวัฒนธรรม

เศรษฐกิจของประเทศไทยที่เกี่ยวกับการใช้องค์ความรู้การ

ที่ ห ลากหลายโดยเฉพาะหนั ง ผี ไ ทยเป็ น ที่ เ ลื่ อ งลื อ ในต่ า ง

สร้างสรรค์ผลงานที่ถูกเชื่อมโยงกับรากฐานทางวัฒนธรรม

ประเทศว่าน่ากลัวมากซึ่ งจากการศึ กษาเรื่องลี้ลับของไทย

ซึ่งสามารถจ�ำแนกอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ออกเป็น 4 กลุม ่ คือ

สามารถน�ำมาผนวกใช้กบ ั อุตสาหกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริม

1) มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) ที่

เศรษฐกิจไทยในตลาดเอเชียได้ ซึ่งจากการศึกษาในเรือ ่ งของ

เกี่ยวข้องกับความเชื่อ เช่น สถาปั ตยกรรมเกี่ยวข้องกับวัด 2) ศิลปะ (Arts) ได้แก่ศิลปะการแสดง และ ทัศน ศิลป์ อย่างเช่นนาฏศิลป์ ดนตรีไทยที่มีเรื่องความเชื่อของการ นับถือครูบาอาจารย์การเคารพผู้มีวิชาความรู้

ความกลัวและตลาดของคนชอบหนังผีไทยนั้นค่อนข้างมีแนว โน้มที่ดีและพั ฒนาเศรษฐกิจไม่แพ้ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ อื่น จึงได้เกิดเป็นตัวโครงการนี้ข้ ึนมา ดังนั้นโครงการนี้ จึงเป็นดังศู นย์รวมเรื่องผีและ

3) สื่ อสมัยใหม่ (Media) ได้แก่ภาพยนตร์และ

ต�ำนานความเชื่อต่างๆ เกี่ยวกับผีไทยรวมถึงเรื่องสื่ อวีดีทัศน์

วีดท ี ศ ั น์การพิมพ์การกระจายเสี ยงและดน- ตรีทเี่ กีย ่ วข้องกับ

ต่างๆ ด้วย ซึ่งจะดึงกลุ่มคนไทยที่ชอบเรื่องนี้เข้ามาเจอกัน

ความเชื่อ เช่น ภาพยนตร์เกี่ยวกับความเชื่อเรื่องผี

ท�ำกิจกรรมร่วมกันและดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีความ

4) งานสร้างสรรค์และออกแบบ (Functional Creation)4 ซึ่งความกลัวในเรื่องผีเรื่องสยองขวัญนั้น เป็น

ชื่นชอบเรื่องผี ภาพยนตร์ผีแบบไทยๆ เข้ามาเพื่ อส่ งเสริม เศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในประเทศไทย

หนึ่งในความเชื่อทีอ ่ ยูก ่ บ ั คนไทยมาช้านานและเรื่องผีของไทย

ภาพที่ 1.2 : ภาพมือจุดไฟแช็ค ที่ ม า : https://unsplash.com/photos/

4 เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับการพัฒนาประเทศไทย : วารสารเศรษฐศาสตร์ปริทรรศน์ สถาบันพัฒนศาสตร์ โดย พิริยะ ผลพิรุฬห์

17


1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1 ศึกษาข้อมูลการท�ำภาพยนตร์แนวผี

1.3.2 ศึกษาการออกแบบพิพิธภัณฑ์ ในการเล่า เรื่องราวผีและ สยองขวัญในโครงการ 1.3.3 ศึ กษาการออกแบบพื้ นที่ ในการจะเล่าเรื่องให้น่าสนใจ จนสามารถส่ งผลต่อเศรษฐกิจในระยะยาวได้ นอกเหนือไปมากกว่าการ ดึงคนชมเข้ามา 1.3.4 ศึกษาการเลือกท�ำเลทีต ่ งั้ ศึกษาทีม ่ า น�ำมาสู่ ความสั มพันธ์ กับโครงการ 1.3.5 ศึกษารูปแบบภาพยนตร์ ผีไทยและของต่างประเทศ

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1.2.1 ศึกษาสถาปั ตยกรรมของไทยทีเ่ กีย ่ วข้องกับความเชื่อ

และน�ำมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบพื้นที่โครงการ 1.2.2 ศึกษาและออกแบบพื้นที่ที่ส่งผลต่อความรู้สึกกลัว 1.2.3 เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ การเล่าเรื่อง ลี้ลับอย่างไรให้เป็นที่รู้จักและน่าสนใจ ภาพที่ 1.3 : วัดจีน ที่มา : https://unsplash.com/photos/qqmZrehZtj0

18


1.4 วิธีและขั้นตอนการดำ�เนินงาน

19


1.5 ประโยชน์ของการศึกษา

1.5.1 ศึกษาสถาปั ตยกรรมของไทย ที่เกี่ยว ข้องกับความเชื่อ และน�ำมาประยุกต์ใช้ ในการออกแบบ 1.5.2 ศึกษาการออกแบบพื้นที่ ที่ส่งผลต่อความรู้สึกกลัว 1.5.3 ศึกษาในความเป็นไปได้ของโครงการ ในการเล่าเรื่องลี้ลับอย่างไรให้เป็นที่รู้จักและน่าสนใจ

ภาพที่ 1.4 : คนอ่านหนังสื อ ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

20


บทที่ 2

หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ภาพที่ 2.1 : คนเดินผ่านเงาสลัว ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

21


2.1.1 ความหมาย

ประสบการณ์จากผูใ้ หญ่ ผ่านค�ำบอกเล่า ผ่านค�ำขู่ หรือสื่อต่างๆ ว่ามีผท ี ำ� ให้มก ี ารสร้างมโนภาพ

1. ความกลัว เป็นอารมณ์ที่เกิดจากการรับรู้ภัยคุกคามของสิ่ งมีชีวิตซึ่งเป็นสาเหตุ

ไว้ในใจ ว่าผีมีลักษณะ เช่นที่ได้รับการปลูกฝั งมาแต่ก่อน บางทฤษฎี ก็อธิบายว่าผีน้น ั เกิดมา

ให้เกิดการ เปลีย ่ นแปลงทางสมองและการท�ำงานของอวัยวะ และการเปลีย ่ นแปลงพฤติกรรม ในที่สุด เช่น การวิ่งหนี การหลบซ่อน หรือการช็อกจากเหตุการณ์ที่ท�ำร้ายจิตใจ ซึ่งความกลัว อาจเป็นการตอบสนองต่อตัวกระตุ้นที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ปัจจุบันหรือในอนาคต ซึ่งรับรู้ว่า

1) ความกลัวสภาพหลังการตาย คือกลัวการเป็นศพ กลัวสภาพเน่า ซึ่งผีซ่ งึ เกิดมา จากความกลัวนี้มักมีสภาพอันเน่าเฟะ

เป็นความเสี่ ยงต่อสุ ขภาพหรือชีวิต สถานภาพ อ�ำนาจ ความปลอดภัย หรือความมั่งคั่ง หรือ

2) ความละอายใจ จากการท�ำผิดศีล ธรรม ผีประเภทที่เกิดจากความกลัวดังกล่าว

สิ่ งมีค่าใดๆ การตอบสนองความกลัว เกิดขึ้นได้จากการรับรู้อันตรายที่น�ำไปสู่ การเผชิญหน้า

้ ท�ำผิดศีลธรรมทีย จะเกิดจากคนนัน ่ ด ึ ถือ เช่น ฆ่าคน จิตใต้ส�ำนึกจึงเกรงกลัวว่าจะถูกล้างแค้น

หรือการหลบหนีจากภัยคุกคาม1

หรืออาจถูกลงโทษที่ท�ำผิดจึงสร้างผีข้ น ึ มา เพื่อลงโทษตนเองที่ท�ำผิดศีลธรรม

2. ในทางจิตวิทยา มีทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับการกลัวผีอยู่หลายทฤษฎี บ้างก็ว่า ้ั เป็นความกลัวประเภท “กลัวสิ่ งทีไ่ ม่มต ความกลัวผีนน ี วั ตนจริง” เป็นผลมาจากการเรียนรู้ เมือ ่ ปราศจากการเรียนรูก ้ จ ็ ะไม่มค ี วามกลัวทีม ่ นุษย์กลัวผีนน ั้ ส่ วนหนึ่งเพราะในวัยเด็กถูกถ่ายทอด

22

จากความกลัวในจิตใต้ส�ำนึกของมนุษย์ ได้แก่

1 ความกลัว : th.wikipedia.org/wiki/ความกลัว

3) ความกลัวต่อสิ่งทีไ่ ม่เข้าใจ เช่น ไม่เข้าใจปรากฏการณ์ธรรมชาติตา่ งๆจิตใต้ส�ำนึก จึงสร้าง เรื่องผีหรือสิ่ งลี้ลับมาอธิบายปรากฏการณ์นั้น 4) ความกลัวต่อสิ่ งที่มองไม่เห็น เช่นความมืด


ภาพที่ 2.2 : คนส่ องไฟฉาย ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

ในทางมานุษยวิทยามีคำ� อธิบายว่าในสั งคมมีพ้ืนทีซ ่ ่ งึ แบ่งออกเป็นสองส่ วน คือพื้นที่ ของสิ่ งศักดิส ์ ิ ทธิ์ (Sacred World) หรือพื้นที่ของสิ่ งลี้ลับอยู่เหนือธรรมชาติ และพื้นที่ของสิ่ ง ธรรมดา (Profane World) คือชีวิตปกติประจ�ำ วันทั่วไปของมนุษย์ในสั งคม ซึ่งความสั มพันธ์ ระหว่างสิ่ งลี้ลับเหนือธรรมชาติและมนุษย์ สะท้อนให้เห็นถึงการเลี้ยงดูเด็กในสั งคมนั้นๆ 3. สั งคมที่เชื่อว่าสิ่ งลี้ลับที่เป็นมิตร ช่วยเหลือมนุษย์ ในสั งคมนั้นจะผู้ใหญ่จะเลี้ยง ดูเด็กด้วยการตอบสนองความต้องการอย่างดี ดูแลเอาใจใส่ อย่างอ่อนโยนท�ำให้ผู้คนซึ่งโตมา จากเด็กในสั งคมนั้นก็จะไม่กลัวสิ่ งลี้ลับ และคาดหวังว่าจะได้รับการตอบสนองอย่างดีจากสิ่ ง เหล่านั้น แต่หากเป็นสั งคมที่เชื่อกันว่าสิ่ งลี้ลับมีลักษณะโหดร้าย น่ากลัว ให้โทษและสามารถ ท�ำร้ายมนุษย์ เราจะสั งเกตได้ว่าผู้ใหญ่ในสั งคมนั้นตอบสนองต่อเด็กด้วยการลงโทษอย่าง รุนแรง มีการลงโทษ ด่าว่าเมื่อเด็กไม่ได้ดังใจท�ำให้เด็กที่โตมาจากสั งคมนั้นจะกลัวผีท�ำร้าย

เหมือนที่ผู้ใหญ่เคยท�ำ2 4. สิ่ งลี้ลับ คือ สิ่ งซึ่งไม่สามารถสั มผัสหรือพบเห็นได้โดยทั่วไป แต่เมื่อสั มผัสหรือ พบเห็นแล้ว ในบางคนอาจเกิดอาการตื่นตระหนกหรือในบางคนอาจเกิดความสนใจมากยิง่ ขึ้น แล้วแต่บุคคล สิ่ งลี้ลับที่อยู่ในรูปของพลังงาน คือ ผี วิญญาณ และสปิริต แต่ส�ำหรับสิ่ งลี้ลับ ที่มีตัวตน (มีร่างกายที่ไม่ใช่พลังงาน) คือ ปิศาจ และสั ตว์ประหลาด การสั มผัสของมนุษย์โดย ทั่วไปต่อสิ่ งลี้ลับนั้นจะใช้ประสาทสั มผัส 4 อย่าง ได้ แก่ ตา หู จมูก และการรับรู้ทางผิวหนัง เมื่อถูกสั มผัส แต่ส�ำหรับมนุษย์ที่มีพลังเหนือธรรมชาติแล้ว อาจใช้ประสาทสั มผัสพิเศษ เช่น การรับรู้ได้ด้วยจิต เป็นต้น สิ่ งลี้ลับนั้นจะแตกต่างไปตามพื้นที่ แต่เมื่อแบ่งตามประเภทของ ความเชื่อแล้วแบ่งออกได้เป็น 2 ฝั่ ง นั่นคือฝั่ งตะวัน ตกและฝั่ งตะวันออก นอกจากนี้สิ่งลี้ลับ ยังสามารถพบได้ทุกสถานที่ตั้งแต่ในเมืองจนไปถึงป่ าเขา3

2 ความกลัว : th.wikipedia.org/wiki/ความกลัว 3 ความหมายของสิ่งลี้ลับ : th.wikipedia.org/wiki/วิกิพีเดีย:โครงการวิกิสิ่งลี้ลับ

23


5. ต�ำนาน คือ นิยายหรือเรื่องเล่าที่เล่าสื บทอดกันมาเป็น เวลานาน จนหาต้นตอไม่ได้ และมีเนื้อหาขึ้นมาเพื่ออธิบายที่มาของ สิ่ งต่างๆหรือ สถานที่ต่างๆ ที่คนในสมัยก่อนยังไม่สามารถเข้า ใจ ได้ ลักษณะการเล่าเรื่องเพื่ อตอบค�ำถามที่คนไม่สามารถเข้าใจได้ เป็นลักษณะร่วมของมนุษย์ ทุกชนชาติ เพราะมนุษย์มีปัญญาย่อม ต้องการรู้และต้องการค�ำอธิบายเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ รอบตัว จึงเป็น ส่ วนที่ท�ำให้ต�ำนานเกิดขึ้นมา4 4 ความหมายของตำ�นาน : https://www.gotoknow.org/posts/295967 ้ หนังสื อ ภาพที่ 2.3 : ชัน ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

24


“ลานลี้ลับ” ศู นย์เล่าเรื่องลี้ลับของคนไทย (Thai Belief Storytelling Centre) เป็นโครงการที่เริ่มต้นมาจาก การศึ ก ษาความกลั ว ของมนุ ษ ย์ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความสนุ ก และ ความตื่นเต้นในการรับรู้เรื่องราวแปลกๆ ที่ไม่สามารถหาค�ำ อธิบายได้ อย่างเช่นเรื่องลี้ลับนั่นเอง เรื่องลี้ลับที่ก่อให้เกิด ความสนุก ซึ่งประกอบไปด้วยหลากหลายประเภท ไม่ว่าจะ เป็นต�ำนานหรือเรือ ่ งเล่าผ่านสื่ อวิทยุ หนังสื อ บทความ หรือแม้ กระทั่งภาพยนตร์ ซึ่งเป็นอีกสื่ อที่ส�ำคัญในการเล่าเรื่องลี้ลับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องลี้ลับของไทยที่ปรากฎในภาพยนตร์ มักเป็นที่ข่ืนชอบของผู้ชมชาวต่างชาติ ในแถบเอเชีย และมี แนวโน้มที่ดีกว่าภาพยนตร์แนวอื่น ดังนั้นการเล่าเรื่องลี้ลับ ผ่านภาพยนตร์จงึ เป็นการสื่ อถึงวัฒนธรรม ความเชื่อของคน ไทยที่มีนาน และยังช่วยเพิ่มเศรษฐกิจของภาพยนตร์ไทยใน ต่างประเทศได้อีกด้วย เมื่อเกิดเป็นโครงการนี้ จึงเป็นการ น� ำ เรื่ อ งเล่ า ลี้ ลั บ มาแสดงออกผ่ า นสื่ อ ต่ า ง ๆ รวมถึ ง ทาง ภาพที่ 2.4 : คนนัง่ ท�ำงาน ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

สถาปั ตยกรรมเพื่อดึงดูดกลุ่มคนที่ช่น ื ชอบเรื่องลี้ลับ ไม่ว่าจะ เป็นคนไทยหรือชาวต่างชาติที่สนใจเข้ามาได้อีกด้วย

25


2.2 ความเป็ นมาของโครงการ 2.2.1 ภาพยนตร์ผีไทย

ที่รู้จัก หรือเป็นเหตุการณ์จริง เช่น เรื่องบ้านผีสิง และล่าท้าผี

ในปี 2548 ประเทศไทยอยู่อันดับที่ 17 ในบรรดา

รวมถึงตัวละครผียค ุ ใหม่ ก็เริม ่ มีความหลากหลายมากขึ้น เช่น

ที่ประเทศทั้งหมดที่ส่งออกผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ โดยมีราย

้ สู ง (สี่ แพร่ง), ชนชัน ้ ล่าง (ผีชอ มีทงั้ ผีจากชนชัน ่ งแอร์ ), ผีเด็ก

ได้จากการส่ งออกภาพยนตร์ 8 ล้านเหรียญ คิดเป็น 1.13

(กระสื อวาเลนไทน์), ผีวัยรุ่น (303 กลัว กล้า อาฆาต), ผีอัญ

เปอร์เซ็นต์ ในส่ วนแบ่งตลาดโลกความสํ าเร็จทีน ่ า่ พึงพอใจทัง้

เพศ (ผีคนเป็น) และผีแรงงานต่างด้าว (โกยเถอะเกย์) เป็น

ในเชิงศิ ลปะ และเชิงพาณิชย์ของภาพยนตร์ผีไทยร่วมสมัย

ต้น ตัวละครผีที่แตกต่างและสมจริงมากขึ้นในยุคนี้สะท้อน

คือแรงกระตุ้นส่ วนหนึ่งที่นําไปสู่ การสํ ารวจ การค้นหา การ

ถึงการปรับตัวในสั งคมร่วมสมัยที่ชุมชนโลกและสั งคมไทย

ปรับตัวด้านรูปแบบและเนื้อหา ที่เป็นปั จจัยสําคัญในการนํา

มีความหลากหลายปะปนกันอยู่ และผีก็ล้วนมีที่มาจากมนุษย์

พาภาพยนตร์ผีไทยไปสู่ ความสํ าเร็จ และถูกใจผู้ชมจากอดีต

เคยมีเลือดเนือ ้ จริงมาก่อน ผีมไิ ด้มาจากตาํ นานความเชือ ่ หรือ

สู่ ปัจจุบน ั ตัวละครผีในภาพยนตร์ครัง้ อดีต มักเป็นผีในตํานาน

อยู่ในธรรมชาติที่จับต้องไม่ได้ เช่นเรื่องเล่าผีในอดีต ผีร่วม

ความเชื่อของท้องถิ่นชุมชน หรือผีในสภาพธรรมชาติ เช่น ผี

สมั ย ที่ มี ก ารปรั บ ตั ว สู่ ลั ก ษณะที่ ส มจริ ง มากขึ้น นี้ ส่ื อ ถึ ง การ

เสื อสมิง ผีตานีและผีตะเคียนซึ่งสอดคล้องกับสภาพสั งคม

้ั มีทม ่ั เอง แต่ ยอมรับความจริงในสังคมทีว่ า่ ผีนน ี่ าจากมนุษย์นน

อดีตที่มนุษย์มีความผูกพั นกับชุมชน และใกล้ชิดธรรมชาติ

ทีต ่ อ ้ งกลายเป็นผี เพราะมนุษย์โหดร้ายต่อกัน มนุษย์ทาํ ร้ายกัน

จึงเกรงกลัวและเคารพธรรมชาติ ขณะทีต ่ วั ละครผีในยุคร่วม

ผีจึงถือกําเนิดขึ้นมาไม่ส้ิ นสุ ด5

สมัยเริ่มมีความสมจริงมากขึ้น ผีอาจมีที่มาจากข่าวคดีอันเป็น 5 ภาพยนตร์ผีไทย : ภาพมายาแทนความฝันของผู้ชม ปิลันลน์ ปุณญประภา และ สามินี รัตนยงค์ไพโรจน์

ภาพที่ 2.5 : ทางเดินสลัว ที่ ม า : https://unsplash.com/photos/

26


2.3 นโยบายและแผนพัฒนา

ภาพที่ 2.6 : รัฐสภา ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

2.3.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2564)

2.3.2 ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การมุ่งพัฒนาประเทศไปสู่ ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ไปสู่ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสิ นค้าและบริการ เพื่อที่จะได้น�ำมาสู่ การเจริญเติบโตและความ

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเทีย ่ ว สิ นค้าและบริการด้านการท่องเทีย ่ วให้

กินดีอยู่ดีของคนในประเทศ ซึ่งประเทศไทยจ�ำเป็นต้องให้ความส� ำคัญกับการเพิ่มผลิตภาพ

เกิดความสมดุล และยัง่ ยืนในเรือ ่ งการพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเทีย ่ ว สิ นค้าและบริการทุกรูป

การผลิตของประเทศเพื่ อให้สามารถเท่าเทียมกับประเทศผู้น�ำทางเศรษฐกิจอย่างเกาหลีใต้

แบบอย่างมีมาตรฐานโดยการส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพสิ นค้า และบริการด้านการท่องเทีย ่ ว

สิ งคโปร์ ไต้หวัน และมาเลเซีย สิ่ งส� ำคัญของการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสั งคมคือการ

ทั้งระบบเสริมสร้างพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานด้านการท่องเที่ยว และบริการให้ครอบคลุม

สร้าง “ระบบเศรษฐกิจที่เน้นการเพิ่มประสิ ทธิภาพและสร้างนวัตกรรม” โดยการขับเคลื่อน

ทุกรูปแบบ และส่ งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้านธุรกิจการถ่ายท�ำภาพยนตร์ต่าง

เศรษฐกิจนีจ ้ งึ เป็นปั จจัยพื้นฐานทีจ ่ ำ� ป็นในการก้าวไปสู่ การเป็นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จากการ

ประเทศในประเทศไทย รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับด้านการท่องเทีย ่ ว เพื่อ

สร้างความคิดสร้างสรรค์ และสิ่ งประดิษฐ์ ใหม่ๆ ให้ออกมาสู่ สังคมอันจะเป็นการช่วยต่อยอด

6

ก้าวสู่ การเป็นผู้น�ำคุณภาพ ของแหล่งท่องเที่ยว สิ นค้า และบริการระดับโลก

ไปสู่ การสร้างสรรค์ และการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยในระยะยาว7

6 ยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2โดยสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสานักนายกรัฐมนตรี 7 เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับการพัฒนาประเทศไทย : พิริยะ ผลพิรุฬห

27


2.3.3 แนวทางในการส่งออกภาพยนตร์ไทยสู่ตา่ งประเทศ ในภูมิภาคเอเชียมีความเป็นไปได้ และมีแนวโน้มเติบโต มากที่สุดได้แก่เกาหลีใต้ ไต้หวัน และประเทศเพื่ อนบ้านใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากการวิเคราะห์ด้านสั งคมและ วั ฒ นธรรม พบว่ า มี ค วามใกล้ เ คี ย งกั น กั บ ประเทศไทยจึ ง ท�ำให้ประเทศเหล่านี้สามารถเปิดรับภาพยนตร์ไทยได้หลาก หลายประเภท มากกว่าภูมภ ิ าคอืน ่ และมีความเข้าใจ ในบริบท ทางวัฒนธรรมบางประการ ที่ปรากฏในภาพยนตร์ นอกจาก นี้ภาพยนตร์ประเภทผีสยองขวัญน่าจะเป็นภาพยนตร์ไทย ประเภทเดียว ทีไ่ ด้ขา้ มผ่านอุปสรรคการสื่อสารทางวัฒนธรรม เนื่องมาจากความกลัวและเรื่องผีอาจเป็นเรื่องที่เป็นภาษา สากลที่สุด คือการไม่ต้องใช้เรื่องเล่ามากอาศั ยบรรยากาศ และสถานการณ์ในการท�ำ ปั จจุบันได้มีการจัดงานเทศกาล ภาพยนตร์นานาชาติที่กรุงเทพเพื่ อดึงดูดให้มีการเจรจาซื้อ ขายภาพยนตร์กันเหมือนกับที่งานเทศกาลภาพยนตร์ที่ต่าง ประเทศ นอกจากนี้ยังให้การสนับสนุนผู้ผลิตภาพยนตร์ไทย ภาพที่ 2.7 : การภ่ายภาพยนตร์ ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

น�ำภาพยนตร์ไปเข้าร่วมงานเทศกาลต่างๆ ในต่างประเทศ เพื่อเป็นการเปิดตลาดในต่างประเทศเพิ่มขึ้นทัง้ ในแถบเอเชีย ยุโรปและสหรัฐ8 8 แนวโน้มภาพยนตร์ไทยเพื่อการส่ งออกต่างประเทศ http://digi.library.tu.ac.th/thesis/it/0634/07CHAPTER6.pdf

28


ภาพที่ 2.8 : ฉายหนังต่างประเทศ ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

29


2.3.4 โอกาสใหม่ทางธุรกิจด้านภาพยนตร์ ภาพของภาพยนตร์ไทยในต่างประเทศพบว่าถูกแบ่งออก

2.โอกาสใหม่ทางธุรกิจด้านภาพยนตร์ร่วมทุนถือเป็นอีก

เป็น 2 ประเภทที่ชัดเจนจากเนื้อหา วิธีการน�ำเสนอ และจุด

ช่องทางธุรกิจทีน ่ า่ สนใจ เนือ ่ งจากมีภาพยนตร์ไทยหลายเรือ ่ ง

ประสงค์ในการถ่ายทอดเรื่องราวในภาพยนตร์ โดยประเภท

ที่มีการสร้างในลักษณะการร่วมทุนกับประเทศเพื่ อนบ้านใน

ภาพยนตร์ ก ระแสหลั ก ได้ แ ก่ ภาพยนตร์ ป ระเภทต่ า งๆ

เอเชีย เป็นอีกช่องทางที่สนับสนุนภาพยนตร์ไทย เพิ่มโอกาส

(Genre Films) โดยเฉพาะภาพยนตร์แอคชันและผี โดย

ในการจัดฉายได้มากขึ้น

ภาพยนตร์ไทยเป็นสิ นค้าทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่ ง โดยทุน

3.รูปแบบการขายลิขสิ ทธิ์ภาพยนตร์ต่างประเทศ

ทางวัฒนธรรมท�ำให้เกิดทุนทางเศรษฐกิจในอุตสาหกรรม

1) บริษัทสร้างภาพยนตร์น�ำภาพยนตร์ไปจ�ำหน่ายเองใน

เชิงสร้างสรรค์ ซึ่งทัศนคติเกีย ่ วกับการสื่ อสารต่างวัฒนธรรม

ต่างประเทศ

ของภาพยนตร์ไทยสู่ ตลาดภาพยนตร์โลกในยุควัฒนธรรม

2) ขายผ่านนายหน้า ให้คา่ จ้างกับนาย หน้าเป็นตัวแทน ใน

สมัยนิยม พบว่าในภาพรวมถึงแม้ภาพยนตร์เป็นสื่ อกลางทาง

การขายหนังในแต่ละประ เทศ ถ้านายหน้า สามารถขายได้สูง

วัฒนธรรม อย่างไรก็ตามยังมีอุปสรรคอยู่โดยเฉพาะเรื่อง

กว่าราคาที่บริษัทสร้างภาพยนตร์ก�ำหนดไว้

วัฒนธรรมของแต่ละชนชาติแต่ละประเทศ

3) ขายผ่านเทศกาลภาพยนตร์ (Film Market) โดย

1.การใช้บริการกองถ่ายและสถานทีถ ่ า่ ยท�ำในประเทศไทย

เทศกาลภาพยนตร์เช่น ที่เมือง “คานส์ ” (ประเทศฝรั่งเศส)

ของกองภาพยนตร์ตา่ งประเทศ พบว่าเป็นอีกหนึ่งช่องทางใน

ถือว่ามีผซ ู้ อ ้ื มาทีส ่ ุ ด ถัดไปเป็น “มิลาน” ประเทศอิตาลี ในแถบ

การท�ำรายได้กลับสู่ อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย มาจากเห็น

เอเชียที่ส�ำคัญคือ “ปูซาน” (ประเทศเกาหลี)

สถานที่ถ่ายท�ำภาพยนตร์จากในภาพยนตร์ไทยและตระหนัก

4) ขายแบบ Re-make ขายสิ ทธิ์เพื่อน�ำไปสร้างใหม่ โดย

ถึ ง ศั ก ยภาพของที ม งานโปรดั ก ชั น ของภาพยนตร์ ไ ทยที่ มี

มักเป็นการดัดแปลงบทภาพยนตร์เดิม เหมาะทีจ ่ ะพัฒนาใหม่9

9 อุตสาหกรรมภาพยนตร์ยุคสื่อใหม่ในอาเซียน ที่มา : ก้าวย่างใหม่สู่โลกออนไลน์และภมู ภิาคอุษาคเนย์

30

คุณภาพจากการรับชมผ่านทางภาพยนตร์


อรดล แก้วประเสริฐ ได้แนะน�ำการขยายตลาดสื่ อ ภาพยนตร์ในประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนไว้วา่ “การ สร้างภาพยนตร์รว่ มทุนกับประเทศอืน ่ ๆ ในอาเซียนเพิ่มขึ้น จะสามารถเข้าถึงผู้รับสารที่หลากหลายประเทศได้ เช่น ภาพยนตร์เรื่อง สบายดีหลวงพระบาง ที่ใช้พระเอกคน ไทย นางเอกคนลาว ซึ่งท�ำให้ขายได้ท้ังในประเทศไทย และประเทศลาว ถ้าหากมีการร่วมมือกับประเทศอื่นๆ ใน อาเซียนเพิ่ มมากขึ้น ย่อมจะท�ำให้เปิดตลาดได้กว้างกว่า ้ ผูผ เดิม” ดังนัน ้ ลิตภาพยนตร์ไทยจึงต้องปรับแนวคิด และ สร้างพั นธมิตรในการสร้างสื่ อร่วมกับกลุ่มประเทศเพื่ อน บ้านให้มากขึ้นเพื่ อขยายตลาดกลุ่มผู้รับชมและเป็นการ ศึกษา แลกเปลีย ่ นมุมมองทางวัฒนธรรมผ่านการผลิตสื่ อ ภาพยนตร์ให้หลากหลายกว่าเดิม ส� ำหรับแง่มุมการเข้าถึง ผู้รับสารภาพยนตร์ในแต่ละประเทศแล้ว สิ่ งส� ำคัญที่ควร ผลักดันคือ ภาครัฐต้องยื่นมือเข้ามาช่วยสนับสนุน ช่วย ภาพที่ 2.9 : การภ่ายภาพยนตร์ ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

ประชาสั มพั นธ์ และเผยแพร่ในงานเทศกาลภาพยนตร์ นานาชาติด้วย10 10 อุตสาหกรรมภาพยนตร์ยุคสื่อใหม่ในอาเซียน : ก้าว ย่างใหม่สู่โลกออนไลน์และภมู ภิาคอุษาคเนย์

31


2.4.1 หลักในการจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ วัฒนะ จูฑะวิภาค เขียนถึงสิ่ งส� ำคัญที่จะท�ำให้ นิทรรศการน่าสนใจในเบื้องต้น ดังนี้ 1. เน้นความส� ำคัญของวัตถุโดยให้คำ� บรรยาย หรือ ส่ วนประกอบอื่นๆ เป็นเพียงองค์ ประกอบที่ช่วยเสริมวัตถุให้ เด่นขึ้นการจัดแสดงทีเ่ น้นองค์ประกอบด้านเทคนิคต่างๆ เรียก เป็นการแสดงที่ผิดหลักการ 2. ให้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ วั ต ถุ ที่ จั ด แสดงโดยใช้ ค� ำ บรรยาย ทีส ่ ่ือความหมายครอบคลุมความส� ำคัญของวัตถุ และ ชัดเจนในตัวเองซึ่งจะใช้เทคนิคอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของเรื่องที่จัดแสดง 3. การจั ด แสดงวั ต ถุ จ ะต้ อ งมี ค วามต่ อ เนื่ อ ง สั มพันธ์ การให้ผู้ชมเข้าใจเรื่องราวไปตาม ล�ำดับจากจุดหนึ่ง ไปยังอีกจุดหนึ่งโดยแบ่งเป็นหัวเรื่องใหญ่หัวเรื่องย่อย 4. การจะแสดงต้องยึดหลักการจัดที่ง่าย คือไม่ จัดแสดงให้ดซ ู บ ั ซ้อนพิสดารแต่จะ ต้องออกแบบให้พอเหมาะ ถ้าหากจัดให้เกะกะไม่เป็นระเบียบหรือซับซ้อนจะเป็นการลด ความส� ำคัญของเรื่อง11 11 โครงการดำ�เนินการจัดแสดงนิทรรศการพิพิธภัณฑ์ศิลปะ ยอดชาย เมฆสุวรรณ

32


ภาพที่ 2.10 : การจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

33


ภาพที่ 2.11 : การจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

34


2.4.2 หลักในการออกแบบนิทรรศการ 1. ความเด่นเช่นทิศทางของเส้ น ความเด่นของแบบหรือรูปร่าง ขนาดและสี สิ่ งเหล่า

8. ความกลมกลืน (HARMONY) ในทีน ่ ห ี้ มายถึง

นี้จะท�ำให้นิทรรศการดึงดูดความสนใจ และสะดุดสายตาของผู้ชม ไม่ควรใช้สีเกินกว่า 2-3 สี

การพิจารณาในส่ วนรวมทัง้ หมด แม้จะมีบางอย่างทีแ ่ ตกต่าง

โดยใช้สีที่เป็นกลางเป็นพื้นหลัง และใช้สีที่เข้มเพื่อเน้นจุดสนใจ

กันก็ตามแต่เมื่อมองดูแล้วให้ความรู้สึกผสมผสานกลมกลืน

2. ความไม่ซ้ำ� ซาก ท�ำให้เกิดความสนใจของผู้ดูอยู่ได้นาน

เข้ากันได้

3. ความสมดุล (BALANCING) ท�ำให้ความสนใจของผู้ดูไม่หันเหออกจากเนื้อเรื่อง

9. ความเรียบง่าย (SIMPLICITY) เป็นสิ่ งที่

4. ความต่อเนื่อง การใช้เส้ น สี และแบบจะช่วยแนะให้ผู้ดูสามารถดู และเข้าใจ

ส� ำคัญในการจัดนิทรรศการ เพราะสิ่ งต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น

เนื้อหาได้ตามช่วงและจังหวะที่จัดไว้ 5. การเน้นจุดสนใจในป้ ายนิทรรศการ เป็นการจัดให้ภาพ และข้อ ความที่มีความ ส� ำคัญเด่นชัดขึ้น ซึ่งอาจท�ำได้โดยยึดหลัก

ภาพตัวอักษร ที่ส่ื อความหมายชัดเจนจะช่วยให้ผู้ชมเกิดการ เข้าใจได้เร็วขึ้นควรระลึก เสมอว่า จุดมุ่งหมายที่ส�ำคัญของ การจัดนิทรรศการ เพื่ อให้คนดูเข้าใจเรื่องราวที่เราแสดง

1) ภาพที่แยกจากภาพอื่นจะท�ำให้ดูว่ามีความส� ำคัญ

การใช้วัสดุ หรือสิ่ งที่แสดงเกินความจ�ำเป็น หรือมีลักษณะ

2) ภาพที่มีขนาดใหญ่ กว่าภาพอื่นทั้งหมดย่อมดึงดูดความสนใจ

แปลกพิ สดาร ไม่ตรงกับเนื้อหาย่อมไม่เกิดผลดี ดังนั้นการ

3) สี และรูปทรงของภาพ สามารถแข่งกับขนาดได้หลักส�ำคัญในการวางจุดสนใจ

ประหยัดและความชัดเจนเรียบง่าย จะท�ำให้นิทรรศการนั้น

คือวางไว้ในระดับสายตาสู งจากพื้นขึ้นประมาณ 5 ฟุ ต ระดับที่อยู่เหนือ 7 ฟุ ตขึ้นไป และต�่ำ กว่า 3 ฟุ ตลงมา จะไม่อยู่ในระดับที่ผู้ดูให้ความสนใจ 6. การจัดให้มีเอกภาพ (UNITY) 1) จัดภาพที่มีความเกี่ยวพันเด่นชัด มาอยู่รวมกัน อาจใช้วัสดุขนาดและรูปร่าง ซ�้ำๆ กัน

น่าสนใจมิใช่น้อย 10. ความสมบูรณ์ข้น ั ส� ำเร็จ (FINISH) เป็นการ ส� ำรวจขั้นสุ ดท้าย ที่จะสรุปผลการออกแบบอันมีผลโดยตรง ต่อส่ วนรวมทั้งหมด มีส่วนใดบก พร่องไม่เหมาะสม ต้อง ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง แก้ไข โดยใช้ความคิด หรือถ้ายังไม่

2) จัดวัสดุทม ี่ ล ี วดลายแปลกซ�้ำ ๆ กันท�ำให้เป็นหมวดหมูแ ่ ละเรือ ่ งราวทีส ่ ัมพันธ์กน ั

พอใจ อาจต้องมีการทดลอง จัดตามทีค ่ ด ิ ว่าถูกต้องเหมาะ สม

จากการจัดลักษณะในท�ำนองเดียวกันหมด ไม่มีลักษณะตื่นเต้นแอบแฝงอยู่ ดัง

แล้วก็พิจารณาเปรียบเทียบกับประสบการณ์ที่เคยจัดมาแล้ว

้ การออกแบบโดยอาศัยหลักความแตกต่างโดยการท�ำให้มบ นัน ี างส่ วนหรือ หลายส่ วนท�ำให้เกิด

เมือ ่ รูส ้ ึ กว่าไม่ดเี ท่า ก็โยกย้ายกลับทีเ่ ดิมถือว่าเป็นการประลอง

การขัดแย้งกัน จะเป็นเส้ นที่ตัดกัน ผิดเรียบ นุ่มนวล ตัดด้วยผิวขรุขระ หรือการใช้สีตรงกัน

ความคิด เมือ ่ ได้ทดลองเช่นนีก ้ จ ็ ะช่วยมีการตัดสิ นใจทีถ ่ ก ู ต้อง

ข้ามเพื่อให้รู้สึกขัดแย้งกันบ้างในส่ วนเล็กๆ น้อยๆ อันจะช่วยให้มีชีวิตชีวาเพิ่มขึ้น เพิ่มรสชาติ

ยิ่งขึ้นอันเป็นผลดีแก่การจัดนิทรรศการ12

แตกต่างกันออกไป

12 การจัดนิทรรศการ EXHIBITION : lib.ubu.ac.th

35


2.4.3 การออกแบบการจัดนิทรรศการ 1. แบบก�ำหนดทางเดิน การจัดแสดงนิทรรศการ ในรูปแบบนี้ เราสามารถก�ำหนดทางเดินเข้าออกและก�ำหนด ล�ำดับของการต่อเนื่องของการแสดงได้ ท�ำให้ผู้ดูเคลื่อนไป ในทิศทางที่ต้องการ หรือเปิดให้ได้ผ่านส่ วนที่ต้งั ใจจะให้คน ได้เห็นเป็นพิเศษ สามารถจ�ำกัดผู้ชมตามความเหมาะสมของ สถานที่และนับจ�ำนวนผู้ชมเข้าได้ง่าย การก�ำหนดผังทางเดิน ค่อนข้างยุ่งยาก อาจใช้ส่วนของการแสดงบอร์ดหรือหลัก บังคับทิศทางเดินหรือสิ่ งกีดขวาง เช่น ใช้เชือกกั้นในบริเวณ ที่ผู้คนคับคั่งอาจท�ำเป็นที่ยืนชม 2-3 แถว ลดหลั่นกันไป 2. แบบเปิดเป็นการจัดนิทรรศการที่เปิดโอกาสให้ ผู้เข้าชม เลือกดูเอาตามใจชอบ โดยไม่ได้ก�ำหนดทางเข้าออก การจัดเป็น กลุ่ม ๆ อาจต่อเนื่องหรือไม่ก็ได้ ข้อดีของการจัด แบบนี้คือ สามารถจัดเป็นกลุ่มอิสระเฉพาะเรื่องได้ จัดผู้เข้า ชมเป็นหมู่ตามความสนใจ การจัดยุ่งยากน้อยกว่า ส่ วนข้อ เสี ยคือคนอาจเบียดเสี ยดกันเป็นแห่ง ๆ เฉพาะจุดที่น่าสนใจ 3. แบบผสมเป็นการจัดแบบก�ำหนดทางเดิน และ แบบเปิ ด ผสมกั น กล่ า วคื อ จั ด บริ เ วณส่ ว นที่ ต้ อ งการให้ ผู้ ดู มองเห็นสิ่ งที่แสดงตามล�ำดับต่อเนื่องกันไปเป็นแบบปิด โดยก�ำหนดทางให้เข้าทางหนึ่งออกทางหนึ่ง ส่ วนบริเวณที่ ไม่จ�ำเป็นต้องแสดงขั้นตอนต่อเนื่องก็จัดเป็นแบบเปิดได้ สิ่ ง ที่น�ำมาใช้ในการก�ำหนดทางเดินนั้น อาจใช้บอร์ดหรือแผง นิทรรศการหรือใช้วัสดุอ่น ื ๆ แต่ส่ิ งเหล่านี้ต้องไม่รบกวน หรือ แย่งความสนใจของผู้ชมไป13 13 การจัดนิทรรศการ EXHIBITION : lib.ubu.ac.th

36

ภาพที่ 2.12 : รูปแบบการจัดงานแสดงของ Jewish Museum ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo


2.4.4 ขนาดของนิทรรศการ นิทรรศการจะมีขนาดใหญ่หรือเล็ก ย่อมขึ้นอยู่กับเนื้อหาที่แสดง และบริเวณเนื้อที่ใน การจัดทีม ่ อ ี ยู่ นอกจากนีก ้ ข็ ้ น ึ อยูก ่ บ ั ช่วงเวลาในการจัดตลอดจนเวลา และทุนส�ำหรับด�ำเนิน การ ซึ่งมีผลต่อนิทรรศการด้วยเหมือนกัน เราอาจแบ่งนิทรรศการออกเป็น 3 ขนาด ดังนี้ 1. Display เป็นการจัดนิทรรศการเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น จัดบอร์ด เผยแพร่ความรู้ น�ำ สิ่งของมาตัง้ วางหรือจัดติดผนังทีว่ า่ งตามห้องโถง ทีว่ า่ งทางเดิน ระหว่างอาคาร, บริเวณใต้ถน ุ ตึก เป็นต้น เป็นการจัดที่ไม่ใหญ่โตมากนัก 2. Exhibition เป็นการจัดที่ค่อนข้างซับซ้อน ใหญ่โตกว่า Display ครอบคลุมเนื้อหา มากขึ้น การจัดกว้างขวางขึ้น เสมือนกับเป็นการน�ำเอา Display หลาย ๆ Display มารวมกัน มีเรื่องราวที่ต้องเรียนรู้มากขึ้น ใช้พ้ืนที่กว้างขวาง 3. Exposition ที่เรียกกันว่า EXPO เป็นการจัดนิทรรศการที่ใหญ่โตมหึมา อาจเป็น ระดับชาติ หรือนานาชาติ14 ภาพที่ 2.13 : รูปแบบการจัดงานแสดง ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

ภาพที่ 2.14 : รูปแบบการจัดงานแสดง ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

14 การจัดนิทรรศการ EXHIBITION : lib.ubu.ac.th

ภาพที่ 2.15 : รูปแบบการจัดงานแสดง ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

37


2.4.5 โรงภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์ ประเภทรวมหลายโรง เช่น โรงภาพยนตร์แบบ Auditorium ซึ่งเป็นโรงภาพยนตร์ที่สามารถพบเห็นได้มากที่สุดโดย มีการจัดลักษณะของที่น่งั เป็นแถวตามยาว และมี การไล่ระดับความสู ง–ต�่ำของที่น่งั พื้นที่ภาย ในโรงภาพยนตร์แบ่งออกเป็น พื้นที่ส่วนที่น่งั ชม และพื้นที่ทางเดิน โดยมีทางเดินรอบภายในโรง ทางเดินตามขวางโรงบันไดขึ้นลงโรงภาพยนตร์ ซึ่งจะอยู่บริเวณทางเข้าโรง ในส่ วนของประตูทางเข้าออกของโรงภาพยนตร์ มีประตูทาง ด้านหน้า 1 ประตู หรือ 2 ประตู ขึ้นอยู่กับขนาดของโรงภาพยนตร์ ประตูทางด้านหลังโรง 1 ประตู และประตูทางด้านข้างโรงด้านละ 1 หรือ 2 ประตู (ขึ้นอยู่กับขนาดของโรง) ส่ วนประกอบภายในโรงภาพยนตร์ได้แก่ จอส� ำหรับฉายภาพยนตร์ เก้าอี้หรือที่น่งั ส� ำหรับชมภาพยนตร์ ล�ำโพง ไฟ วัสดุตกแต่งภายในโรง เครื่องปรับอากาศ15 15 โรงภาพยนตร์ : http://digi.library.tu.ac.th

38


2.4.6 การออกแบบที่น่งั โรงละครในหลายรูปแบบ - End stage เป็นเวทีแบบที่ผู้ชมทั้งหมดจะหันหน้าไปเวทีในทิศทางเดียวกัน ซึ่งเหมาะ กับการฉายภาพยนตร์ หรือการน�ำเสนอภาพนิ่ง แต่ค่อนข้างไม่เหมาะ ส� ำหรับการสร้างความ สั ม พันธ์ระหว่างผู้แสดงและผู้ชม และยังมีข้อจ�ำกัดด้านเสี ยงอีกด้วย - Wide fan รูปแบบนี้โรงละครจะอยู่ในมุม 130 องศาช่วยสร้างความสั มพันธ์ระหว่างนักแสดงและผู้เข้าชม แต่ไม่เหมาะสมส� ำหรับการรับชมในรูปแบบของภาพยนตร์ - Arena การจัดวางแบบนี้ การได้ยินและการมองเห็นระหว่างผู้ชมและนักแสดง จะดีข้ น ึ และในฐานะที่ผู้ชม สามารถมองเห็นซึ่งกันและกัน เมื่อชมการแสดงจะมีอารมณ์ร่วมกัน ค่อนข้างมาก16 16 How to Design Theater Seating : https://www.archdaily.com/799379/how-to-design-theater-seating-shown-through-21-detailed-example-layouts

ภาพที่ 2.16 : รูปแบบการจัดงานแสดงของ Jewish Museum ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

39


2.4.7 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 1. คนไทยเชื่อในเรื่องลี้ลับเหนือธรรมชาติ หลักฐานที่แสดงให้เห็นความเกี่ยวข้อง ของคนไทย กับ สิ่ งลี้ลับมีเกลื่อนทั่วไปหมด ทั้งที่ตั้งอยู่ในที่แจ้ง หรือ ที่ลับหู ลับตาคนเช่นในร้านหมอดูหรือต�ำหนักร่างทรง ไม่นบ ั พิธก ี รรม ต่างๆ

ที่เป็นส่ วนหนึ่งในชีวิตประจ�ำวันของแทบทุกชนชั้น

สั งคมไทย อย่างการท�ำบุญตักบาตร ขึ้นบ้านใหม่ ครอบครู ขอ ฝน ขอขมาแม่น้ำ� พิธีกรรมที่ เกี่ยวข้องกับชีวิตตั้งแต่เกิดจน ตาย ไปจนถึงข้อห้ามมากมาย ที่ได้รับการสั่ งสอนและปฏิบัติ สื บต่อกันมารายการโทรทัศน์เกีย ่ วกับผี ภาพยนตร์ทม ี่ ธ ี ม ี หลัก เป็นเรือ ่ งผีและสิ่งสยองขวัญทีไ่ ด้รบ ั ความนิยมจากคนไทยทุก เพศทุกวัยมาอย่างต่อเนื่อง คนไทยไม่ใช่ชาติเดียวที่เชื่อในเรื่องลี้ลับเหนือธรรมชาติ (เหนือวิทยาศาสตร์) และมีชวี ต ิ ผูกพันอยูก ่ บ ั เรือ ่ งนี้ ชนชาติอน ่ื ก็มีแต่ไม่โจ่งแจ้งและถูกมองว่าเป็นเรื่องสามัญธรรมดาเท่า คนไทย แม้วิทยาศาสตร์จะเดินทางมาสู่ การรับรู้ของเรานาน มากแล้ว แต่ผีก็ยังเป็นพลังงานที่มองไม่เห็นที่คอยขับเคลื่อน สั งคม และวัฒนธรรมของเราจนทุกวันนี17้ 17 ทำ�ไมคนไทยเห็นผีมากกว่าชาติใดในโลก http://www.gqthailand.com/life/article/ghost-story

ท�ำไมเรื่องลี้ลับจึงมีพลังเอาชนะสมองส่ วนเหตุผล ทอม กิโลวิช (Tom Gilovich) นักวิชาการด้านจิตวิท ยา จากมหาวิทยาลัยคอร์แนลล์ให้สัมภาษณ์ไว้กับ CBS News ใน ่ั ใจ’ เป็นหนึ่งในสาเหตุทท ด้านจิตวิทยา ‘ความไม่มน ี่ ำ� ให้มนุษย์เชือ ่ ในสิ่ งทีม ่ องไม่เห็นพิสูจน์ไม่ได้ ยกตัวอย่างความเชือ ่ ของชาว อเมริกันบางประการ เช่น การเชื่อว่าเลข 13 เป็นเลขอัปมงคลหรือการเชื่อว่า แมวด�ำเป็นลางร้าย สมองพยายามเชื่อมโยงให้ มนุษยเชื่อในเรื่องเหล่านี้ เพื่อหาเหตุและผลให้เรื่องดังกล่าว ทั้งที่จริงๆ แล้วมันไม่มีเหตุผลใดๆ เลย เจนนิเฟอร์ วิตสั น (Jennifer Whitson) จากมหาวิทยาลัยเทกซัส เมืองออสติน กล่าวว่า ความเชื่อในโชคลางฌกิดมาจาก ความต้องการที่จะเป็นผู้ควบคุม สถานการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นเพื่อเป็นการลดความกังวล1 ภาพที่ 2.17 : สมอง ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

40


มนุษย์เกิดมาพร้อมความกลัว ปั จจัยกระตุ้นเร้าจินตนา การสร้างสรรค์ อันเป็นส่ วนหนึ่งของสั ญชาตญาณแห่งการ เอาตัวรอด ความกลัวในสิ่ งที่ไม่รู้ผลักดันให้มนุษย์ใช้จินตนาการเพื่อ อธิบายปรากฏการณ์รอบตัวที่ไม่อาจเข้าใจได้ จนกลายเป็น เครื่องมือสร้างกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกันในสั งคม ทั้งยังช่วย จุดติดไอเดียสร้างสรรค์ที่ผันรายได้ไม่รู้จบให้สังคม ในการเอาชนะความกลัวของมนุษย์แต่ละยุคสมัย ผ่าน กระบวนการจัดการความกลัวหลากหลายรูปแบบ ก่อเกิดเป็น “ผลผลิตทางวัฒนธรรม’ ที่พบเห็นได้ในสั งคมทุกระดับ ณ ปั จจุบน ั เมือ ่ ความเชือ ่ ดัง้ เดิมถูกน�ำมาผนวกเข้ากับ เทคโนโลยี และความสะดวกสบายตลอดจนทักษะเฉพาะตัวและฝีมือ เฉพาะด้านกลายมาเป็นธุรกิจจากโลกขนานที่สร้างเม็ดเงิน ได้อย่างมหาศาล การผัน ‘ต้นทุนจากความกลัว’ สู่ สุนทรียศาสตร์แห่งการ เปลี่ยนจินตนาการไร้สสารมาเป็นเรื่องราว ภาพ เสี ยง ที่มอง เห็น ได้ยน ิ และสั มผัสได้จริง ตัง้ แต่วรรณกรรม หนัง สื อการ์ ตูน ละครวิทยุ ไปจนถึงภาพยนตร์จนเกิดเป็นธุรกิจสื่ อบันเทิง ทีเ่ มือ ่ คิดมูลค่ารวมแล้ว สามารถท�ำเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจได้ ไม่แพ้ธุรกิจสร้างสรรค์แขนงอื่นใด18

ภาพที่ 2.18 : เก้าอี้ในห้องมืด ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

18 “ผี: ความกลัว...จัดการได้ ด้วยจินตนาการสร้างสรรค์” http://www.tcdc.or.th/exhibition/8314/?lang=th

41


กฏหมาย อาคารขนาดใหญ่

รายละเอียด ้ หนึ่งชัน ้ ใดในหลัง 2.5.1 “อาคารขนาดใหญ่” หมายความว่า อาคารทีมพ ี ้ืนทีร่ วมกันทุกชันหรือชัน เดียวกันเกิน2,000 ตารางเมตร หรืออาคารที่มี่ความสู งตั้งแต่ 15.00 เมตรขึ้นไป และมีพ้ืนที่รวม ้ หรือชัน ้ หนึ่งชัน ้ ใดในหลังเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตรแต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร กันทุกชัน การวัดความสู งของอาคาร ให้วัดจากระดับ พื้นดินทีก่อสร้างถึงพืนดาดฟ้ า สํ าหรับอาคาร ทรงจั่วหรือปั้ นหยา ให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชันสู งสุ ด

โรงมหรสพ

2.5.2 โรงมหรสพ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังต่อไปนี้ 1. โรงมหรสพประเภท ก หมายความถึง โรงมหรสพที่เป็นอาคารเดี่ยว ซึ่งมีการจัดที่นั่ง คนดูในลักษณะยึดติดกับพื้น 2. โรงมหรสพประเภท ข หมายความถึง โรงมหรสพที่เป็นอาคารเดี่ยว ซึ่งไม่มีการจัดที่ นั่งคนดูในลักษณะยึดติดกับพื้น 3. โรงมหรสพประเภท ค หมายความถึงโรงมหรสพที่ต้งั อยู่ในอาคารที่ ประกอบกิจการ หลายประเภทรวมกันซึ่งมีการจัดที่นั่งคนดูในลักษณะยึดติดกับพื้น 4. โรงมหรสพประเภท ง หมายความถึง โรงมหรสพที่ต้งั อยู่ในอาคารที่ประกอบกิจการ หลายประเภทรวมกัน ซึ่งไม่มีการจัดที่นั่งคนดูในลักษณะยึดติดกับพื้น 5. โรงมหรสพประเภท จ หมายความถึง โรงมหรสพที่ต้งั อยู่กลางแจ้งซึ่งมีรั้วที่ถาวรหรือ มีลักษณะมั่นคงแข็งแรงกั้นขอบเขตโรงมหรสพและมีพ้ืนที่ภายในขอบเขต โรงมหรสพตั้งแต่ 150 ตารางเมตรขึ้นไป

ตารางที่ 2.1 : กฏหมายที่เกี่ยวของกับโครงการ ที่มา : กฏกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติ

42


กฏหมาย

รายละเอียด

พื้นที่ภายในอาคาร

2.5.3 พื้นที่ภายในอาคาร ข้อ 19 อาคารอยู่อาศัยรวมต้องมีพ้ืนที่ภายในแต่ละหน่วยทีใช้ เพื่อการอยู่อาศัยไม่น้อย กว่า 20 ตารางเมตร ข้อ 20 ห้องนอนในอาคารให้มีความกว้างด้านแคบทีสุดไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร และมี พื้นที่ไม่น้อยกว่า 8 ตารางเมตร ข้อ 21 ช่องทางเดินในอาคารต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่าตามทีกําหนดไว้ ดังต่อไปนี้คือ อาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สํ านักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารพิเศษ ความกว้าง 1.50 ม. ข้อ 22 ห้องหรือส่ วนของอาคารที่ใช้ในการทํากิจกรรมต่างๆ ต้องมีระยะดิงไม่น้อยกว่า

ระยะดิ่ง

ตามทีกาํ หนดไว้ ห้องทีใ่ ช้เป็นสํานักงาน ห้อง เรียน ห้องอาหาร ห้องโถงภัตตาคาร โรงงาน 3.0 เมตร 2.5.4 ระยะดิ่ง ระยะดิ่งตามวรรคหนึ่ง ให้วัดจากพื้นถึงพื้นในกรณีของชั้นใต้หลังคา ให้วัดจากพื้นถึงยอด ฝาหรือยอดผนังอาคารและในกรณีของห้องหรือส่ วนของอาคาร ที่อยู่ภายในโครงสร้างของหลัง คาให้วัดจากพื้ นถึงยอดฝาหรือยอดผนังของห้องหรือส่ วนของอาคารดังกล่าว ที่ไม่ใช่โครงสร้าง ของหลังคาห้องในอาคาร ซึ่งมีระยะดิ่งระหว่างพื้นถึงพื้นอีกชั้น หนึ่งตั้งแต่ 5 เมตรขึ้นไปจะท�ำพื้น ชั้นลอยในห้องนั้นก็ได้ โดยพื้นชั้นลอยดัง กล่าวนั้น ต้องมีเนื้อที่ไม่เกินร้อยละสี่ สิบของเนื้อที่ห้อง ระยะดิ่งระหว่างพื้นชั้นลอยถึงพื้นอีกชั้น หนึ่งต้องไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และระยะดิ่งระหว่าง พื้นห้องถึงพื้นชั้นลอย ต้องไม่น้อยกว่า 2.40 เมตรด้วย ห้องน�้ำห้องส้ วม ห้องมีระยะดิ่งระหว่าง พื้นถึงเพดานไม่น้อยกว่า 2 เมตร

ตารางที่ 2.1 : กฏหมายที่เกี่ยวของกับโครงการ (ต่อ) ที่มา : กฏกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราช

43


กฏหมาย

รายละเอียด

บันไดของอาคาร

2.5.5 บันไดของอาคาร บันไดของอาคารทีใช้เป็นทีชม ุ นุมของคนจํานวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรือห้องบรรยาย ที่มีพ้ืนที่รวมกันตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไปหรือบันไดห้องรับประทานอาหารหรือสถานบริการที มีพ้ืนที่รวมกันตังแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดของแต่ละชันของอาคารนั้นที่มีพ้ืนที่รวม กันตังแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อยสองบันได ถ้ามีบันไดเดียวต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร

บันไดหนีไฟ

2.5.4 บันไดหนีไฟ ข้อ 27 อาคารทีสูงตังแต่สีชันขึนไปและสู งไม่เกิน 23 เมตร หรืออาคารทีสูงสามชันและ มีดาดฟ้ าเหนือชันทีสามทีมพ ี ืนทีเกิน 16 ตารางเมตร นอกจากมีบน ั ได ของอาคารตามปกติแล้ว ต้อง มีบน ั ไดหนีไฟทีทาํ ด้วยวัสดุทนไฟอย่างน้อยหนึงแห่งและต้องมีทางเดินไปยังบันไดหนีไฟนันได้โดย ไม่มีสิงกีดขวาง ข้อ 28 บันไดหนีไฟต้องมีความลาดชันน้อยกว่า 60 องศา เว้นแต่ตึกแถวและบ้านแถว ทีสูงไม่เกินสี ชันให้มีบันไดหนีไฟทีมีความลาดชันเกิน 60 องศาได้ และ ต้องมีชานพักบันไดทุกชัน ข้อ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุ ทธิไม่น้อยกว่า 60 ซม.และต้องมี ผนังส่ วนทีบันได หนีไฟพาดผ่านเป็นผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุ ถาวรทีเป็นวัสดุทนไฟ

ตารางที่ 2.1 : กฏหมายที่เกี่ยวของกับโครงการ (ต่อ) ที่มา : กฏกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราช

44


ภาพที่ 2.19 : บันได ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

้ ภาพที่ 2.20 : อาคารหลายชัน ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

ภาพที่ 2.21 : ระยะดิ่งอาคาร ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

45


2.6 การศึ กษาและเปรียบเทียบอาคาร 2.6.1 Jian Li Ju Theatre / More Design Office

เป็นโรงละครที่มีการออกแบบเพื่ อการสร้างความ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งพื้ น ที่ ก ารท� ำ กิ จ กรรมและการเคลื่ อ นไหว ้ ตอนการออกแบบด้วยการส�ำรวจรูป สถาปนิกได้อธิบายถึงขัน แบบการใช้แสงและการสร้างเส้ นทางในการเดิน เขาได้ใช้วิธี การแสดงออกของฟิลม ์ นัวร์ (ชือ ่ เรียกประเภทของภาพยนตร์ ประเภทหนึ่ง โดยที่ค�ำว่า "Noir" เป็นภาษาฝรั่งเศสแปลว่า "ด�ำ" หากจะแปลกันตรง ๆ ตัว ฟิล์มนัวร์ จึงแปลว่าฟิล์มด�ำ) และใช้ ค วามรู้ สึ ก ของละครที่ ส ร้ า งขึ้ น มาสู่ บ รรยากาศการ ออกแบบภายใน เพื่ อช่วยสร้างล�ำดับของช่องว่างที่ตัดกัน เสมือนกับเทคนิคการตัดต่อภาพยนตร์ Architect in Charge Jaycee Chui, Justin Bridgland Location : Minhang District, Shanghai, China Program : 930.0 sq.m. Project Year : 2017

ภาพที่ 2.22 : ทางเดินในอาคาร ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

46


ภาพที่ 2.23 : รูปแบบของแสงที่ส่องในอาคาร ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

ภาพที่ 2.24 : ทางเดินในอาคาร ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

47


2.6.2 Temporal Sustainable Theatre Finalist Proposal / PM G Architects เป็นแบบประกวดที่ชนะการออกแบบโดย เป็นพื้นที่ ส� ำหรับส่ วนกลางของชุมชนที่สร้างกิจกรรมให้เกิดขึ้นภายใน เช่น การชมภาพยนตร์ การประชุม เป็น theater ย่อมๆ ที่ ภ ายนอกสามารถใช้ ง านประเภทอื่ น ได้ ด้ ว ย เช่ น พื้ น ที่ สาธารณะในการนั่งพักพบปะกันของคนในชุมชน โดยที่การ ออกแบบไม่ให้มีความสู งเกินไปจากบริบทอาคารรอบๆที่เป็น ชุมชนเพื่อให้กลมกลืนไปด้วยกัน Architects : PM G Architects ภาพที่ 2.25 : รูปตัดภายในอาคาร ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

Location : Cardiff, Wales Program : Theatre for 100 – 150 people Project Year : 2013

ภาพที่ 2.26 : รูปตัดภายในอาคาร ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

48

ภาพที่ 2.27 : แปลน ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo


ภาพที่ 2.28 : มุมมองของอาคาร ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

49


2.6.3 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร แนวความคิดหลัก 4 ประการ ทีน ่ ำ� มาใช้ในการพัฒนาแนวความคิดในการออกแบบ คือต่างกันออกไป 1.อาคารที่มีความยืดหยุ่นสู งในการใช้สอยและเอื้อต่อการปรับเปลี่ยน เพื่อให้การ จัดแสดงงานศิลปะ เป็นไปอย่างอิสระ ภายในพื้นที่หลากหลายซึ่งมี แสง ขนาด และลักษณะ แตกต่างกัน 2.อาคารทีม ่ ค ี ณ ุ ลักษณะเหมาะสมและอิงรูปลักษณ์สถาปั ตยกรรมไทย เป็นตัวแทน อันส� ำคัญของวัฒนธรรมไทย มีความน่าตื่นเต้น เชื้อเชิญ ตอบสนองต่อประโยชน์ใช้สอย และ ต้องสะท้อนความเคลื่อนไหวของศิลปะไทยร่วมสมัย 3.อาคารออกแบบให้มีพ้ืนที่ Space ภายในสู งเพื่อให้เหมาะสมกับการแสดงงาน ศิ ลปะ นอกจากนี้พ้ืนที่ใจกลางอาคารแสดงถึงเอกลักษณ์ของอาคาร ซึ่งเป็นตัวก�ำหนดภาพ รวมของงานตกแต่งภายในทั้งหมด 4.ภายในอาคาร โดยเฉพาะห้องแสดงนิทรรศการจะใช้ ประโยชน์จากแสงธรรมชาติ ให้มากที่สุด แต่ทั้งนี้ แสงนั้นต้องได้รับการควบคุม โดยชั้นบนของอาคารซึ่งเป็นที่ตั้งของห้อง แสดงงานศิลปะได้รับการออกแบบให้ตอบสนองและพัฒนาแนวความคิดนี้ให้เป็นรูปธรรม รูปทรงของอาคารถึงแม้วา่ ตัวอาคารจะประกอบด้วยพื้นทีใ่ ช้สอยทีแ ่ ยกจากกัน รวม ทัง้ พื้นทีร่ า้ นค้า แต่กม ็ ค ี วามเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางสถาปั ตยกรรม พื้นทีภ ่ ายในพัฒนาจาก จุดศูนย์กลางคือ พื้นทีเ่ ปิดโล่งทรงกระบอก ซึ่งน�ำเสนอจุดเด่นแก่สายตาเมือ ่ เข้าสู่ อาคาร พื้นที่ เปิดโล่งส่ วนกลางนี้ยังน�ำสายตาสู่ ช้ันบนของอาคาร รูปทรงซึ่งมีจุดศู นย์กลางเช่นนี้ท�ำให้เห็น กิจกรรมในพื้ นที่ใช้สอยอันหลากหลาย เนื่องจากอาคารนี้เป็นอาคารเพื่ อสาธารณะชนความ ตื่นเต้นเร้าใจจากการแสดงให้เห็นกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นนั้น เป็นตัวปลุกให้เกิดการตอบ สนองจากชุมชน พื้นที่ส่วนกลางนี้ยังท�ำให้เกิดความชัดเจนของการเข้าถึงและความยืดหยุ่น ของอาคาร อาคารนีอ ้ อกแบบให้เป็นพื้นทีต ่ อ ่ เนือ ่ งในอนาคตด้วย หากมีความต้องการทีจ ่ ะปรับ เปลี่ยนส่ วนร้านค้าบางส่ วนให้เป็นพื้นที่ใช้งานทางศิลปะก็สามารถท�ำได้ไม่ยาก

50

ภาพที่ 2.29 : ภายในหอศิลป์ ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo


ภาพที่ 2.30 : ภายในหอศิลป์ ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

ภาพลักษณ์ทางสถาปั ตยกรรม

ภาพที่ 2.31 : ภายในหอศิลป์ ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

- การน� ำ รู ป แบบส่ ว นโค้ ง ของหลั ง คาทรงไทยและรู ป

อาคารนี้ และน�ำไปสู่ งานศิลปะภายในห้องจัดแสดง พื้นที่โถง

อาคารมีความทันสมัยแต่ขณะเดียวกันก็องิ รูปทรงทีแ ่ สดง

ทรงอื่นๆ ของไทย เช่น ท่วงทีท่าร�ำ มาเป็นส่ วนประกอบ

กลางเป็นทรงกลมในผังพื้นและถูกครอบด้วยช่องแสง (Sky-

ประวัติหรือเอกลักษณ์ไทย การออกแบบทางสถาปั ตยกรรม

ของหลังคาและแผงกันแดดเหนือหลังคากระจกห้องแสดง

light) เส้ นทางสั ญจรในส่ วนหอศิ ลปฯโดยพื้นลาด (Ramp)

ครั้งนี้ สะท้อนให้เห็นลักษณะรูปร่างและรูปทรง ความเป็น

นิทรรศการ

ได้ยึดเอารูปโค้งเวียนรอบพื้นที่โถงกลางนี้ ท�ำให้สามารถเห็น

ไทยหลายประการ ได้แก่ - การน� ำ การสอบเข้ า ของผนั ง ซึ่ งเป็ น ส่ วนหนึ่ งของ

แนวความคิดการออกแบบภายใน - พื้นที่ศูนย์กลาง

กิจกรรมต่างๆ ในอาคารนี้ - ห้องจัดนิทรรศการเน้นความยืดหยุ่น ความหลากหลาย

โถงกลางชั้น 1 ได้รับการออกแบบให้เป็นองค์ประกอบ

และความน่าสนใจของห้องแสดงงานศิ ลปะ ห้องแสดงงาน

ส� ำคัญในการเสนอภาพลักษณ์ของอาคาร และเป็นเสมือน

ศิลปะจึงเป็นส่วนทีส ่ ามารถปรับเปลีย ่ นให้เกิดความหลากหลาย

- ช่วงหน้าต่างแคบๆ ซึ่งเป็นรูปทรงแบบไทยๆ ได้น�ำมา

ตัวเชื่อมโยงภาพรวมของกิจกรรมทั้งหลาย มีบทบาท กระตุ้น

ด้านพื้นที่ (Space) ลักษณะ (Characteristic) ในการแสดง

ดัดแปลงให้เกิดเป็นองค์ประกอบสมัยใหม่ในลวดลายและรูป

ระหว่ า งงานศิ ลปะและประชาชนที่ ส นใจ นั บ เป็ น พื้ น ที่

ผลงานด้านศิลปะ

ทรง ทั้งยังเป็นส่ วนควบคุมแสงธรรมชาติไม่ให้เข้าสู่ อาคาร

สาธารณะอย่างแท้จริง ซึ่งสามารถจัดกิจกรรมหลายหลากให้

มากเกินไปทางด้านทิศตะวันตก

ปฏิสัมพันธ์กับประชาชน ท�ำให้สามารถเห็นกิจกรรมต่างๆ ใน

สถาปั ตยกรรมไทย มาประกอบการออกแบบรู ป ทรงของ อาคารภายนอก

51


กรณีศึกษา

Jian Li Ju Theatre / More De-

Temporal Sustainable Theatre Finalist Proposal / PM²G Architects

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

ภาพโครงการ

โรงละครที่ มี ก ารออกแบบสร้ า งความสั ม พั น ธ์

พื้นทีส ่ �ำหรับส่วนกลางของชุมชนทีส ่ ร้างกิจกรรม

ระหว่าง พื้นที่การท�ำกิจกรรม มีการใช้แสงและการ ให้เกิดขึ้นภายใน เช่น การชมภาพยนตร์ การประชุม แนวความคิด

สร้างเส้ นทางในการเดิน เขาได้ใช้วิธี การแสดงออก เป็น theater ย่อมๆ ที่ภายนอกสามารถใช้งาน ของฟิ ล์ ม นั ว ร์ (ชื่ อ เรี ย กประเภทของภาพยนตร์ ประเภทอืน ่ ได้ดว้ ย เช่น พื้นทีส ่ าธารณะในการนัง่ พัก ประเภทหนึ่ง ค�ำว่า "Noir" เป็นภาษาฝรั่งเศสแปล พบปะกันของคนในชุมชน โดยทีก ่ ารออกแบบ ไม่ให้ ว่า "ด�ำ" หากจะแปลกันตรง ๆ ตัว ฟิล์มนัวร์ จึงแปล มีความสูงเกินไปจากบริบทอาคารรอบๆ ทีเ่ ป็นชุมชน ว่าฟิล์มด�ำ) และใช้ความรู้สึกของละครที่สร้างขึ้น เพื่อให้กลมกลืนไปด้วยกัน มา สู่ บรรยากาศการออกแบบภายใน เพื่อช่วยสร้าง

โปรแกรม

ห้องพักนักแสดง

ในตัวอาคารถูกออกแบบมาให้เป็นทรงกระบอก ซึ่ง สามารถเชื่อมต่อระหว่างอาคารได้ด้วยทางเดินวน เป็นแนวเอียงขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้คนที่เข้ามาชมผลงาน สามารถชมได้ต่อเนื่องในแต่ละชั้น ตัวอาคารยัง ออกแบบมาให้สามารถรับแสงสว่างจากภายนอก ได้ โดยที่แสงไม่แรงพอจะที่เข้ามาถึงขนาดท�ำลาย ผลงานศิลปะที่แสดงอยู่ข้างในได้ ห้องสมุดประชาชน

Theater ห้องแต่งตัว

ตัวอาคารสู ง 9 ชั้น (บวกอีก 2 ชั้นใต้ดิน) โดย

Theater Community space

ห้องปฏิบัติการศิลปะ ห้องอเนกประสงค์ 300 ที่นั่ง ร้านค้า โรงภาพยนตร์-โรงละครขนาด 222 ทีน ่ ง่ั

ตารางที่ 2.2 : เปรียบเทียบกรณีศึกษา

52


ภาพโดยรวมของกรณีศึกษา

Jian Li Ju Theatre / More De-

Temporal Sustainable Theatre Finalist

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

53


54


บทที่ 3

การศึกษาและวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ

ภาพที่ 3.1 : กรุงเทพมหานคร ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

55


3.1 ศึ กษาและวิเคราะห์องค์ประกอบเมือง

ส� ำหรับประเทศไทย การพัฒนาเขตเมืองกระจุกตัวอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ ซึ่งมีพ้ืนที่

ใหญ่เป็นอันดับ 5 และมีประชากรที่เข้าใกล้ 10 ล้านคน ซึ่งมากเป็นอันดับ 9 ในเอเชียตะวัน ออก เมื่อเจาะลึกเฉพาะกรุงเทพมหานคร พบว่าตลอดระยะเวลา 6 ปีที่มาสเตอร์การ์ดจัดท�ำ ผลส� ำรวจสุ ดยอดจุดหมายปลายทางโลก กรุงเทพฯติดอัน ดับ Top 3 ทุกปี ปั จจัยหลักที่เป็น จุดแข็งส� ำคัญที่ท�ำให้นักท่องเที่ยวต่างประเทศนิยมเดินทางมากรุงเทพฯ ประกอบด้วย 1. ท�ำเลที่ตั้งของกรุงเทพฯ เป็นจุดศูนย์กลางที่เชื่อมต่อการเดินทางจากทั่วโลก 2. มีการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ระบบคมนาคม 3. ค่าครองชีพไม่สูง เมื่อเทียบกับเมืองใหญ่ของโลก 4. ความหลากหลายที่ผสมผสานกันอย่างลงตัว เช่น วัฒนธรรม อาหารการกินและ มีสินค้าบริการที่รองรับตั้งแต่ระดับ High End ไปจนถึง Mass 5. เป็นเมืองที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นและมีสถาน ที่ท่องเที่ยวมากมาย1

1 การพัฒนาเขตเมืองในประเทศไทยกระจุกตัวอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ : worldbank.org/th/news

56

ภาพที่ 3.2 : กรุงเทพมหานคร ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo


3.2 ศึ กษาวิเคราะห์ท�ำเลทีต่ งั ้

เงื่อนไขในการเลือกที่ตั้งโครงการ จากการศึกษาพื้นที่

ทีเ่ คยมีประวัตเิ รื่องราวลีล ้ บ ั ในอดีต และเป็นทีร่ จ ู้ ก ั อันดับต้น ๆ ใน ประเทศไทย 3.2.1 เกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการ - อยู่ 5 อันดับต้นของการค้นหา และเป็นที่รู้จักมาก - ตัง้ อยูใ่ นเขตพื้นทีก ่ รุงเทพ สะดวกในการคมนาคม - มีพ้ืนที่ว่างส� ำหรับไม่ไกล จากพื้นที่มีเรื่องเล่า ใน ระยะ 500 เมตร หรือมีพ้ืนที่ว่างอยู่ในพื้นที่ที่มีเรื่องราว จากการสื บค้นได้มา 5 สถานที่ 1) ซานติกาผับ 2) ป่ าช้าวัดดอน 3) บ้านร้างรามค�ำแหง32 4) วัดมหาบุศย์ พระโขนง 5) อู่รถเมล์เก่า ซอยสายหยุด

57


ซานติกาผับ ซอยสุ ขุมวิท 63 พื้นที่ 9,184 ตร.ม

สุ สานวัดดอน ถ.สาทรใต้ พื้นที่ 7,407 ตร.ม

พื้นที่สีน้ำ� ตาล ย9-19

พื้นที่สีน้ำ� เงิน สถาบันราชการ

พื้นที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก

สาธารณูปโภ สาธารณูปการ

ภาพที่ 3.3 : ตึกร้าง กทม ที่มา : https://www.catdumb.com/sathorn-unique/

58


บ้านรามค�ำแหง32

วัดมหาบุศย์ พระโขนง

พื้นที่ 10,228 ตร.ม

พื้นที่ 8,165 ตร.ม

พื้นที่สีส้ม ย6-20

พื้นที่สีส้ม ย6-30

พื้ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย หนาแน่ น

อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง

ปานกลาง

อู่รถเมล์เก่า ซ.พหลโยธิน48 พื้นที่ 6,086 พื้ นที่สีเขียวอ่อน ย3-15 พื้นที่โล่งเพื่อนันทนาการ

59


3.2.2 เกณฑ์การพิจารณาเลือกทีต ่ ง้ั โครงการ

ตารางที่ 3.1 : ตารางเกณฑ์การเลือกที่ต้งั

จากการพิจารณาตามเกณฑ์การเลือกเขตที่ตั้งโครงการโดยเลือกจากสถานที่ที่มีเรื่องเล่าลี้ลับ ติดอับดับ 1 ใน 5 ที่เป็นที่รู้จักจากเว็ปไซต์ ต่างๆ และอยู่ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และมีพ้ืนที่อยู่ไม่ไกลจากที่มีเรื่องราวในระยะ 500 เมตร หรือมีที่ว่างในพื้นที่น้น ั ๆ ซึ่งจากการให้ น�้ำหนักคะแนนทั้ง 5 พื้นที่ จากการพิจารณาเรื่องของความห่างไกลจากชุมชน การคมนาคม สาธารณูปการ และสาธารณูปโภค จึงได้คะแนน เฉลี่ยออกมาเป็นพื้นที่ซานติกา

60


3.3 กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง

ตารางที่ 3.2 : ตารางกฏหมายที่เกี่ยวข้อง

61


3.4 ศึ กษาและวิเคราะห์ทตี ่ งั ้ โครงการ 3.4.1 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ

เอกมัยถือเป็นย่านฮิ ตติดชาร์จตลอดกาลของ คนกรุงเทพฯ เพราะเป็นแหล่งธุรกิจส� ำคัญของประเทศ ท�ำให้ เป็นย่านที่เต็มไปด้วยความเจริญทั้ง แสง สี เสี ยง เชิญชวน ให้ทงั้ ชาวไทยและชาวต่างชาติเข้ามาสั มผัส ความบันเทิงตาม สไตล์ของคนรุ่นใหม่ นอกจากนี้ยังเดินทางไปไหนมาไหนได้ ง่าย ทั้งทางรถยนต์ส่วนตัว รถโดยสารประจ�ำทาง หรือจะ โดยสารรถไฟฟ้ า BTS เอกมัย ด้วยความที่เป็นท�ำเลเชื่อมต่อ ถึงย่านทองหล่อ ซึ่งครองต�ำแหน่งท�ำเลทองของนักพั ฒนา อสั งหาริมทรัพย์ รวมไปถึงความเจริญในทุกๆ ด้าน ย่าน เอกมัยจึงได้รับอิทธิพล ของความเจริญเข้ามาอย่างไม่ขาด สาย โดยเฉพาะการหลั่งไหลเข้ามาของไลฟ์ สไตล์ ด้านความ บันเทิง และการพั ฒนาที่ดินเพื่ อสร้างคอนโด เพราะลงทุน แล้วได้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า เรียกลูกค้าทั้งกลุ่มชาวไทยและ ชาวต่างชาติเข้ามาพ�ำ นักพักพิงได้ง่าย2

2 เอกมัย ใครๆ ก็ว่าน่าอยู่ : https://bit.ly/2x8U004

62

ภาพที่ 3.4 : เอกมัย ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo


เอกมัย เป็นย่านที่ไม่เคยหลับ เพราะตั้งแต่เช้าจรดค�่ำจะ คราคร�่ำไปด้วยแหล่งชอป ชิม ชิลล์ตามสไตล์วัยรุ่น ดูแล้วให้ กลิ่นอายคล้ายประเทศสิ งคโปร์ บริเวณย่าน Orchard Rd. ที่ เต็มไปด้วยห้างใหญ่ และแหล่งชอปปิงมากมาย ส� ำหรับ Community Mall ยอดฮิ ตของย่าเอกมัยก็จะมี J Avenue ซึ่งถือ เป็น Community Mall ยุคบุกเบิกของไทย, The Commons พื้ นที่รวบรวมร้านอาหาร และสไตล์การตกแต่งแบบลอฟท์ นอกจากจะโดดเด่นเรื่อง Community Mall แล้ว เอกมัยยัง มีร้านอาหารทั้งไทย และเทศหลากหลายสไตล์ให้เลือกลิ่มชิม รสกัน ตลอดสองฝั่ งฟากของถนน ลากยาวตั้งแต่เช้าไปจรด ค�่ำ ส่ วนตอนกลางคืนก็เพิ่มเติมสี สันให้ชวี ต ิ ด้วย สถานบันเทิง มากมาย พอเข้าสู่ ช่วงหัวค�่ำ ยาวไปจนถึงช่วงกลางคืน หลาย ร้านในย่านเอกมัย ก็ทยอยเปิดตัวเพื่ออ�ำนวยความสนุกสนา นและความบันเทิงให้กับนักท่องเที่ยว เอกมัย ยังเป็นแหล่ง ของครีเอทีฟที่สอดแทรกให้เห็นอยู่ตามผนัง และก�ำแพง ดัง นั้น ย่านเอกมัย จึงเป็นพื้ นที่ของความเจริญ ความบันเทิง และแสงสี เหมาะกับคนที่ช่ืนชอบความคึกครื้นและการท�ำ กิจกรรมในยามว่าง3

ภาพที่ 3.5 : เอกมัย ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

3 เอกมัย ใครๆ ก็ว่าน่าอยู่ : https://bit.ly/2x8U004

63


ภาพที่ 3.7 : เกตเวย์เอกมัย ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

อาคารส� ำคัญ

ภาพที่ 3.6 : เอกมัย ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

64

เชื่อมโยงเส้ นทางการสั ญจรใหม่

พื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเชิงพาณิชย์

เชื่อมโยงเส้ นทางการสั ญจรเดิม

พื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเชิงที่อยู่อาศัย

แนวการเชื่อมโยงภายใน

พื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเชิงผสมผสาน

แนวการปรับปรุงพื้นที่ริมคลอง

พื้นที่ออกแบบพิเศษเพื่อเป็​็นพื้นที่สาธารณะ

ทางจักรยาน

พื้นที่ออกแบบพิเศษเพื่อเป็นพืี่นที่สาธารณะเน้นสี เขียว


3.4.2 ลักษณะทางกายภาพ

ภาพที่ 3.8 : พื้นที่รอบโครงการ ที่มา : กุลชญา สิ งห์คราม

65


SANTIKA PUB EKKAMAI จากที่ดินท�ำเลทองย่านเอกมัย เพียงชั่วข้ามคืนของวันแรกที่ย่างเข้าสู่ ศักราชใหม่ปี 2552 กลับกลายเป็นสุ สานของเหยือ ่ เพลิงนรกน�ำมาสู่ การผูกโยงถึงความเชือ ่ ของชาวบ้านทีอ ่ าศัยอยู่ ใกล้กบ ั “สุ สานซานติกา้ ผับ” ด้วยความหวาดผวา และบอกเล่าถึงเรือ ่ งราวอาถรรพณ์ทเี่ กิดขึ้น รวมถึงลางร้ายบอกเหตุที่อาจจะเป็นสาเหตุที่น�ำมาสู่ โศกนาฏกรรมครั้งนี้ แม้ลางร้ายบอกเหตุ จะมีหลายประการ แต่ข่าวลือที่พูดกันว่า ที่ดินบริเวณนี้เคยเป็น กุโบร์เก่า หรือ สถานที่ฝังศพ ชาวมุสลิม มาก่อนนั้น กลับไม่ใช่เรื่องจริง ตามที่ “ซินแส” ท่านหนึ่งออกมาเปิดเผยต่อสั งคม สุ ธี ผลทวี ทายาทของเจ้าของที่ดินมาตั้งแต่รุ่นดั้งเดิม ออกมายืนยันว่า แม้ที่ดินแถวนี้จะ เป็นชุมชนของพี่น้องมุสลิม แต่ที่ดินทั้งหมดนี้เป็นที่มีโฉนด ไม่ใช่ที่สาธารณะ จึงไม่มีทางเป็นกุ โบร์เก่ามาก่อนได้ ถึงแม้จะไม่ใช่ที่กุโบร์เก่า แต่ทายาทของเจ้าของที่ดิน เล่าว่า เรื่องราวความ เฮี้ ยนบนที่ดินผืนนี้ มีการเล่าขานกันมาตลอด โดยเกิดขึ้นหลังจากขายทีด ่ น ิ ให้แก่แม่ทพ ั เรือทีเ่ ข้ามาอยูเ่ มือ ่ กว่า 40 ปีกอ ่ น ต่อมาแม่ทพ ั เรือ คนนี้ถูกภรรยาฆ่าตายภายในบ้าน หลังจากนั้น ชาวบ้านก็มักจะเห็นเงาคนเดินไปเดินมาอยู่ใน บ้านร้าง จนต้องท�ำพิธีทางศาสนากันมาตลอด ต่อมาแม้จะมีความพยายามเข้ามาใช้ประโยชน์ จากทีด ่ น ิ ผืนนีห ้ ลายครัง้ แต่กไ็ ม่เคยท�ำส� ำเร็จ และปล่อยรกร้างว่างเปล่ามานาน ก่อนจะมาเปิด เป็นสถานบันเทิง “ซานติก้าผับ” เมื่อกว่า 5 ปีที่แล้ว

66


นอกจากเรื่องราวความอาถรรพณ์ของที่ดินตามความเชื่อแล้ว ลางร้ายบอกเหตุที่เกี่ยวกับ การออกแบบภายในซานติก้าผับ ก็เป็นอีกความเห็นหนึ่งที่เจ้าของบ้านฝั่ งตรงข้ามซานติก้าผับ รายนีบ ้ อกว่า การปรับโฉมใหม่ มีการตกแต่งภายในร้านด้วยไม้กางเขนขนาดใหญ่และท�ำเลียบ แบบโลงศพ ซึ่งเขามองว่าไม่เหมาะสม เช่นเดียวกับป้ ายประชาสั มพันธ์งานกูด ๊ บาย และเคานท์ ดาวน์ขนาดใหญ่ทท ี่ างผับออกแบบให้ดเี จมีน้ำ� ตาเป็นสายเลือดและนักร้องมีคราบน�้ำตาเป็นสีดำ� ขณะเดียวกัน ชาวบ้านแถวนีห ้ ลายคนถึงกับนอนไม่หลับ พวกเขายอมรับว่า กลัวเจอผี บ้าง ก็ยังติดตากับภาพสลดใจที่เกิดขึ้น การแผ่เมตตา หรือแม้แต่ท�ำบุญอุทิศส่ วนกุศลให้ผู้ตายจึง เป็นวิธีเดียวที่จะท�ำให้สบายใจ อย่างไรก็ตาม ชาวบ้านส่ วนใหญ่ยังเชื่อว่า เหตุร้ายครั้งนี้น่าจะ เป็นเพราะอุบัติเหตุและความประมาท มากกว่าจะเป็นเพราะเรื่องราวความอาถรรพณ์ แต่ถึง ่ ท�ำบุญให้ผต จะไม่เชือ ่ ชาวบ้านละแวกนีก ้ ไ็ ม่เคยหลบหลู่ โดยตัง้ ใจว่าจะหมัน ู้ ายอย่างสม�่ำเสมอ และหากเป็นไปได้ ที่ดินผืนนี้ไม่อยากให้มีใครมาสร้างเป็นผับอีก สะท้อนความเชื่อว่า ลางบอกเหตุก็ดูที่รูปดีเจภูมิ ที่มีเหมือนเลือดไหลออกจากตา แล้วพื้น หลังก็สีดำ� หมดเลย เห็นตัง้ แต่แรกก็วา่ จะไปทักว่ามันไม่เป็นมงคลเลยเขาว่าในร้านทีเ่ พิ่งตกแต่ง ปรับโฉมใหม่ไม่นานนี้ ก็มีรูปเหมือนโลงศพ แล้วก็มีไม้กางเขนขนาดใหญ่อยู่อันหนึ่งข้างใน มัน ก็เป็นเรือ ่ งสุ ดวิสัย เพราะเจ้าของเองยังนึกไม่ถงึ ว่าจะเป็นแบบนี้ แล้วคนก็ไม่รวู้ า่ ทางด้านหลัง ก็มีประตูทางออกอีกทาง ก็เลยมากรูกันอยู่ที่ประตูทางเข้าด้านหน้าหมดเลย” ภาณุภัทธกล่าว ในตอนท้าย ไม่ว่าสิ่ งที่เกิดขึ้น ณ “ซานติก้าผับ” ในค�่ำคืนแห่งการฉลองเทศกาลปีใหม่ จะเป็นอุบัติเหตุ หรือเป็นอาถรรพณ์ ทว่าความจริงคือ เหตุการณ์ครั้งนี้ต้องสั งเวยด้วย 61 ชีวิต และเจ็บกว่า ภาพที่ 3.9 : ซานติกาผับ ทีม ่ า : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

2 ร้อยคน4 4 อาถรรพณ์นรกซานติก้า ที่ดินนี้มีตำ�นาน...เลือด : https://www.sanook.com/news/120231/

67


3.4.3 บริบทรอบอาคาร

ภาพที่ 3.10 : การวิเคราะห์พ้ืนที่ ที่มา : กุลชญา สิ งห์คราม

ด้านหน้าของโครงการเป็นตึกแถว มีท้งั ตึกร้าง

ด้านขวาของโครงการเป็นที่โล่ง และที่อยู่อาศัย

มุมมองทางทิศเหนือของพื้นที่ เป็นส�ำนักงาน ขาย

ร้านอาหาร คาเฟ่ ร้านขายยา และร้านชุดแต่งงาน เป็น

เล็กน้อย ด้านหลังของโครงการเป็นคลองกว้าง 6.45 ม.

คอนโดด้านหน้า และปั จจุบน ั มีการด�ำเนินสร้างคอนโด

ทางสั ญจรที่ผู้คนมักใช้เดินผ่านไปผ่านมา

68

ด้านในสุ ดของพื้นที่นี้


3.4.4 กายภาพโครงการ

ภาพที่ 3.11 : การวิเคราะห์พ้ืนที่ ที่มา : กุลชญา สิ งห์คราม

การเปลีย ่ นแปลงของดวงอาทิตย์แสง แดดอ้อม

ทิศทางของลมตามประเทศไทย เข้ามาจากหน้า

ฝุ่นละอองทีเ่ ข้าสู่ ตวั โครงการมากสุ ดเป็นฝุ่นละออง

ใต้จากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตกซึ่งกระทบ

ของโครงการติดถนน อาจเข้าถึงได้ไม่เต็มที่ จากการ

ทีม ่ าจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ เนือ ่ งจากเป็นถนนสั ญจร

กับทางเข้าหน้าโครงการโดยตรง อาจจะมีการใช้

ที่มีตึกแถวฝั่ งตรงข้าม

หลักที่น�ำพาฝุ่นมาสู่ โครงการ

ต้นไม้เดิมของโครงการในการบรรเทาความร้อน ด้านนี้

69


70


บทที่4

การก�ำหนดรายละเอียดโครงการ

ภาพที่ 4.1 : อาคารร้าง ที่มา : https://unsplash.com/photos/

71


4.1 ความเป็ นมาของโครงการ

ความกลัวคือปฏิกิริยาที่ร่างกายตอบสนองต่อสิ่ งที่มีผล

ที่คิดว่าเป็นอันตราย เป็นพื้นฐานอารมณ์ของมนุษย์ ความกลัวนั้นมี หลายรูปแบบ ความกลัวประเภทหนึ่งที่อยู่คู่คนไทยมานานคือความ กลัวในสิ่ งลี้ลับที่มองไม่เห็นเรียกได้อีกอย่างคือกลัวผี ความกลัวผี ในทางจิตวิทยากล่าวไว้ว่า เป็นความกลัวในจิตใต้ส�ำนึกที่ได้รับมา ผ่านค�ำบอกเล่า ค�ำขู่ ตั้งแต่วัยเด็ก ซึ่งสิ่ งลี้ลับในที่นี้ถูกนิยามว่าเป็น สิ่ งที่ไม่สามารถพบเห็นได้ท่ัวไป สิ่ งลี้ลับในรูปแบบพลังงานนั้นถูก เรียกว่าวิญญาณ ซึ่งบางคนกลัวผีแต่กลับชอบรับฟั งเรือ ่ งผีและเรือ ่ ง ้ เป็นภาษาสากล สยองขวัญเพราะต้องการความตืน ่ เต้น ความกลัวนัน ของคนทั่วโลก หนังผีเรื่องหนึ่งที่แฝงความน่ากลัวไม่ต้องใช้ค�ำพู ด ภาษาสื่ อสารคนไม่ว่าเชื้อชาติไหน ดูแล้วก็สามารถเกิดความกลัวได้ เมื่ อ เที ย บประเภทหนั ง ที่ ข ายให้ ต่ า งประเทศจะเห็ น ว่ า หนังผีเข้าถึงคนดูต่างชาติได้มากกว่าหนังประ เภทอื่นและช่วยเพิ่ม เศรษฐกิจของหนังไทยในต่างประเทศได้ การตีแผ่และให้ความรู้ ้ั จะท�ำให้ทง้ั คนไทยและต่างชาติได้รเู้ รือ เรือ ่ งผีไทยและหนังผีนน ่ งราว ก�ำเนิดทีม ่ าซึ่งสั มพันธ์กบ ั ความเชือ ่ ของคนไทย และเมือ ่ ชาว ต่างชาติ ได้เข้ามาชมยังช่วยเพิ่มเศรษฐกิจของไทยได้ทางอ้อม จากการที่จะ เกิดการถ่ายท�ำภาพยนตร์ในไทย การลงทุนภาพยนตร์รว่ มกัน การซือ ้ ลิขสิ ทธิ์ภาพยนตร์ การเพิ่มการท่องเที่ยวในแหล่งถ่ายท�ำภาพยนตร์ ในไทยของชาวต่างชาติส่งผลต่อรายได้ของคนในชุมชนอีกด้วย

ภาพที่ 4.2 : พระสงฆ์ ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNz-

72


4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ

4.3 การก�ำหนดโครงสร้างการบริหาร

เหนือธรรมชาติ

ทัศน์ของประเทศไทย

1. เป็นพื้นที่เล่าเรื่องราวความเชื่อของไทยผ่านทางเรื่อง

2. สร้างพื้ นที่ศูนย์รวมพบปะ แลกเปลี่ยนเรื่องราวของ กลุ่มคนที่มีความคิดเดียวกัน 3. ส่ งเสริมการท่องเที่ยวในไทย

สื บเนื่องจากยุทธศาสตร์การส่ งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิ

เป็นโครงการที่เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ โดย

รัฐมอบหมายหน้าที่ให้ภาคเอกชนด�ำ เนินการจัดท�ำโครงการดังกล่าวแทนผ่าน สั ญญาร่วมลงทุน โดยแรกเริ่มจัดตั้งคณะกรรมการ นโยบายเพื่อพิจารณาอนุมัติ หรือตัดสิ นแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกเอกชน และคณะกรรม การก�ำกับดูแล โครงการให้ด�ำเนินการ ภาพที่ 4.3 : การชุมนุมของคน ที่มา : https://unsplash.com/photos/KieCLNzKoBo

73


4.4 โครงสร้างการบริหารงาน

74


4.5 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ 4.5.1 จ�ำนวนผู้ใช้โครงการ

75


4.5.2 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ

76


4.5.3 สถิติผู้ใช้โครงการ

แผนภูมิ 4.1 : แสดงจ�ำนวนผู้ใช้งาน

แผนภูมิ 4.2 : แสดงจ�ำนวนผู้

แผนภูมิ 4.3 : แสดงระยะเวลา

77


4.6 การก�ำหนดรายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ 4.6.1 การก�ำหนดกิจกรรมภายในโครงการ

78


ภาพที่ 4.4 : การใช้พ้ืนที่ส่วนกลาง ที่มา : https://bit.ly/2Pm1kf5

ภาพที่ 4.5 : การแสดงงานพิพิธภัณฑ์ ที่มา : https://bit.ly/2E7RCvQ

ภาพที่ 4.6 : ชมภาพยนตร์ ที่มา : https://www.pexels.com/search/the-

79


4.6.2 การก�ำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่ใช้สอยโครงการ

ตาราง 4.1 ตารางแสดงพื้นที่ใช้สอย

80


ตาราง 4.2 ตารางแสดงพื้นที่ใช้สอย (ต่อ)

81


ตาราง 4.3 ตารางแสดงพื้นที่ใช้สอย (ต่อ)

82


ตาราง 4.4 ตารางแสดงพื้นที่ใช้สอย (ต่อ)

83


ตาราง 4.5 ตารางแสดงพื้นที่ใช้สอย (ต่อ)

84


4.6.3 การก�ำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่ใช้สอยโครงการ

85


86


4.7 สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ ส่ วนบริหาร

263 ตร.ม.

ส่ วนต้อนรับ

273.5 ตร.ม.

ส่ วนจัดแสดงนิทรรศการ

1261 ตร.ม.

ส่ วนภาพยนตร์

868.4 ตร.ม.

พื้นที่แลกเปลี่ยน

375.05 ตร.ม.

ส่ วนบริการ

483.6 ตร.ม.

ส่ วนงานระบบ

130 ตร.ม.

ที่จอดรถ

459.53 ตร.ม.

รวม 30 %

5117.97 ตร.ม.

ภาพที่ 4.7 : ถนน ที่มา : https://bit.ly/2Pm1kf5

87


4.8 การประมาณการ งบประมาณการก่อสร้าง 4.8.1 ราคาที่ดิน ราคาที่ดินสุ ขุมวิท63 ขนาดที่ดิน 9,025 ตร.ม. หรือ 2,256.25 ตร.วา ราคาที่ดิน / ตร.วา 280,000-350,000 บาท ราคาที่ดิน = 789,687,500 บาท 4.8.2 ค่าก่อสร้าง พื้นที่โครงการ 5,117.97 ตร.ม. ราคาค่าก่อสร้าง 20,000 บาท/ตร.ม. ราคาค่าก่อสร้างรวม 102,359,400 บาท - ค่าตกแต่งเฟอร์นิเจอร์ (20%) = 20,471,880 บาท - ค่าด�ำเนินการ (5%)

= 5,117,970 บาท

- ค่าบริหารโครงสร้าง (2%)

= 2,047,188 บาท

- ค่าความคลาดเคลื่อน (8%)

= 8,188,752 บาท

ดังนั้น งบประมาณ = 927,872,696 บาท

ภาพที่ 4.8 : การก่อสร้าง ที่มา : https://bit.ly/2Pm1kf5

88


4.8.3 ความคุ้มทุน เข้าชมภาพยนตร์ 4 รอบ/วัน/3โรง = 960 คน 200 บาท / คน = 192,000 บาท รายได้ค่าเล่นเกมส์ ห้องจ�ำลอง

= 200 บาท/คน = 465,400 บาท

เข้าชมโรงละคร 100 ที่นั่ง 3 รอบ/วัน = 300 คน 250 บาท/คน = 75,000 บาท รายได้ค่าเล่นเครื่องเล่นเกมส์ ตู้

= 60 บาท/คน = 139,620 บาท

รายได้จากร้านขายของที่ระลึก

= 200 บาท/คน = 465,400 บาท

รายได้จากค่าเช่าที่ร้านเครื่องดื่ม = 20,000 บาท/เดือน จ�ำนวน 2 ร้าน

= 40,000 บาท/เดือน

รายได้จากค่าเช่าที่ร้านอาหาร

= 25,000 บาท/เดือน

จ�ำนวน 8 ร้าน

= 200,000 บาท/เดือน

รวม = 480,000+8,400,000 = 8,880,000 / ปี รายได้จากการเช่าทีเ่ ปิดตัวภาพยนตร์ 50,000 บาท/ครัง้ จ�ำนวน 4 เรื่อง/เดือน = 200,000 บาท ดังนั้นรายได้รวม = 484,551,200 บาท/ปี คืนทุนใน 2 ปี

89


4.8 ระบบวิศวกรรม 4.8.1 ระบบโครงสร้าง

1. ระบบเสาคาน หลักการของโครงสร้างแบบ

เสาและคาน ก็คอ ื คานรับน�้ำหนักจากพื้นแล้วส่ งน�้ำหนักลงเสา ความแตกต่างของโครงสร้างแบบหล่อคอนกรีตส�ำเร็จรูป กับ โครงสร้างแบบหล่อคอนกรีตกับที่ คือโครงสร้างเสาและคาน ้ ไม่มี ส� ำเร็จรูปมักจะมีแนวคานอยูเ่ พียงแนวใดแนวหนึ่งเท่านัน คานวิ่งเข้ามาหาเสาทั้งสี่ ด้าน เหมือนกับการหล่อกับที่ ทั้งนี้ เพราะจะท�ำให้เกิดข้อยุ่งยากในการผลิต และติดตั้งชิ้นส่ วน ้ ในระบบส� ำเร็จรูปจะมีคานเฉพาะ ส� ำเร็จรูปเป็นอันมาก ดังนัน ้ ส่ วนในอีกแนวหนึ่ง ซึ่งไม่มี ในแนวทีร่ บ ั น�้ำหนักจากพื้นเท่านัน คานยึดนั้นจะถูกยึดโดยแผ่นพื้นหรือผนัง1

ภาพที่ 4.9 : โครงสร้างเสาคาน ที่มา : https://bit.ly/2Pm1kf5

90

1 ที่มา : http://thai-engineers.blogspot.com/2011/06/skeleton-frame-or-column-and-beam.html


2. โครงสร้างช่วงพาดกว้าง โครงสร้างช่วงกว้าง เป็นโครงสร้างที่สามารถ ครอบคลุ ม เนื้ อ ที่ ไ ด้ ม าก หรื อ มี ข นาดใหญ่ แ ต่ ต้ อ งการจุ ด รองรับ เช่น เสา คาน หรือผนังรับน�้ำหนักเพียงน้อยจุด อาจ จะมีช่วงเสายาวกว่าปกติน้ันเองระบบโครงสร้างช่วงพาด กว้างเป็นที่รู้จัก และใช้งานกันมานานตั้งแต่สมัยโบราณ เช่น โครงสร้างโค้งและโดม ประเภทของโครงสร้างช่วงพาด กว้างมีหลายชนิดได้แก่ 1) โครงถัก (Truss structures) 2) โครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (Prestressed concrete structures) 3) โครงสร้างรูปโค้ง (Arch) 4) โวลท์ (Vault) 5) โดม (Dome) 6) โครงสร้างคอนกรีตเปลือกบาง 7) โครงสร้ า งแบบแผ่ น พั บ (Folded plate structures) 8) โครงสร้างแขวน หรือโครงขึง (Suspension structures, cable structures)2

2 ท่ี่มา : http://winddesign32.blogspot.com

ภาพที่ 4.10 : โครงสร้างช่วงพาดกว้าง ที่มา : https://bit.ly/2Pm1kf5

91


3. ระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก เนื่องจากคอนกรีต สามารถรับแรงอัดได้สูงขณะทีค ่ วามสามารถในการรับแรง ดึงต�่ำเมื่อถูกแรงดึงจะท�ำให้คอนกรีตเปราะแตกได้ง่าย ด้วยสาเหตุนี้ระบบคอนกรีตเสริม แรงจึงถูกน�ำมาใช้ โดยการน�ำวัสดุอ่ืนที่สามารถรับแรงดึงได้ เช่นเหล็กมาใส่ ไว้ภายใน คอนกรีต เพื่อเพิ่มความสา มารถในการรับแรง โดยอาจกล่าวได้วา่ คอนกรีตรับแรงอัด และ เหล็กรับแรงดึงถึงแม้ว่าในช่วงแรกหลังจากที่คอนกรีตเริ่มแข็งตัว คอนกรีตและเหล็กจะ ร่วมกันรับแรงดึงจนถึงสภาวะที่คอนกรีตไม่สามารถรับแรงดึงได้ - รับน�้ำหนักได้มาก - ต้านทานต่อโมเมนต์ดัดและแรงเฉือน - ป้ องกันรอยแตกร้าว ข้อดี มีความแข็งแรงคงทน ต้านทานต่อแรงดึงได้มาก ข้อเสีย จะมีราคามีมากกว่าวัสดุกอ ่ สร้างอืน ่ เพราะจ�ำนวนราคาของเหล็กเป็นการ สิ้ นเปลืองมาก3

ภาพที่ 4.11 : คอนกรีตเสริมเหล็ก ที่มา : https://bit.ly/2Pm1kf5 3 ที่มา : ศัพท์คนสร้างบ้าน-คอนกรีตเสริมเหล็ก

92


4. ระบบโครงสร้างใต้ดิน ระบบโครงสร้างป้ องกันดิน ส� ำหรับงานฐานรากและงาน โครงสร้างใต้ดิน โดยใช้โครงสร้างกันดินแบบ Steel Sheet Pile คือระบบโครงสร้างที่สามารถป้ องกันแรงดันน�้ำ แรง ดันดินแรงดันอื่นๆ ที่ท�ำให้เกิดการเคลื่อนตัวของสิ่ งก่อสร้าง โดยต้องมีเสถียรภาพ ทั้งระบบ โครงสร้างชนิดนี้มีประโยชน์ ส� ำหรับงานก่อสร้างที่ต้องป้ องกันดิน ระหว่างการก่อสร้าง4 ภาพที่ 4.12 : โครงสร้างใต้ดิน ที่มา : https://bit.ly/2Pm1kf5

4 ชีทไพล์ ระบบป้องกันดินพัง ที่มา : siamvibro.com/14389189/ชีทไพล์-ระบบ

93


"ระบบโครงสร้างป้ องกันดินโดยใช้โครงสร้างกัน ดินแบบ Steel Sheet Pile“ 1 . แ ผ่ น เ ห ล็ ก พื ด

(Steel

Sheet

Pile) เป็นแผ่นเหล็กลอนรูปต่างๆ มีความยาวตามก�ำหนด ใช้ตอกในแนวดิ่งส� ำหรับป้ องกันแรงดันน�้ำและแรงดันดินที่ กระท�ำตามความลึกของการขุด 2. เหล็กค�้ำยันรอบ (Wale) เป็นส่ วนของโครงส ร้างที่ต้านแรงกระท�ำทางด้านข้างจากแผ่นเหล็กพืด (Sheet Pile) ซึ่งจะถ่ายแรงเป็นแรงกระจาย (uniform horizontal force) เข้าสู่ เหล็กค�้ำยันรอบ (Wale) 3. เหล็กค�้ำยัน (Strut) เป็นส่ วนโครงสร้างที่รับ แรงแนวแกนที่ถ่ายจากเหล็กค�้ำยันรอบ (Wale) และรับแรง แนวดิ่งที่ถ่ายจากแผ่นเหล็กพื้น(Platform) ซึ่งน�ำมาวางบน เหล็กค�้ำยัน(Strut) เพื่ อใช้ประโยชน์ต่างๆ ในขั้นตอนการ ก่อสร้างเหล็กค�้ำยัน (Strut) 4. เสาเหล็กหลัก (Kingpost) เป็นส่ วนทีร่ บ ั แรง จากเหล็กค�้ำยัน (Strut)ในแนวดิ่งแล้วถ่ายลงสู่ ดินท�ำหน้าที่

ภาพที่ 4.13 : โครงสร้างใต้ดิน ที่มา : https://bit.ly/2Nrhhid

94


5. ระบบพื้น พื้ นคอนกรีตส� ำเร็จรูป ( Precast - Concrete Slabs) ผลิ ต จาก คอนกรี ต เสริ ม ด้ ว ยลวดอั ด แรงก� ำ ลั ง สู ง ส� ำ เร็ จ รู ป จากโรงงานเรี ย กกั น โดยทั่ ว ไปว่ า “แผ่ น พื้ น ส� ำเร็จรูป” แผ่นพื้นประเภทนี้ นิยมใช้อย่างแพร่หลายส� ำหรับ บ้ า นหรื อ อาคารขนาดเล็ ก ติ ด ตั้ ง โดยการวางบนคานเสริ ม เหล็กด้านบนแล้วเทคอนกรีตทับหน้า (Topping) เรียกว่า เป็น “ระบบพื้นส� ำเร็จรูป” เป็นระบบพื้นที่ช่วยประหยัดเวลา ในการก่อสร้าง ระบบพื้ น ส� ำ เร็ จ รู ป เหมาะกั บ พื้ น ที่ ภ าย ในบ้ า น และพื้นที่ใช้งานที่เป็นส่ วนแห้งต่างๆ เช่น ห้องนอน ห้องนั่ง เล่น เป็นต้น ไม่ควรใช้ในพื้ นที่ภายนอกบ้านและพื้ นที่เปียก เช่น ระเบียง ห้องน�้ำ ดาดฟ้ า ฯลฯ เนื่องจากมีรอยต่อระหว่าง แผ่นพื้ นมาก อีกทั้งคอนกรีตที่เททับหน้าพื้ นโดยทั่วไปหนา ประมาณ 5-7 ซม. เท่านั้น จึงเสี่ ยงต่อการรั่วซึมอย่างมาก นอกจากนี้การเจาะแผ่นพื้ นเพื่ อฝั่ งท่อระบายน�้ำเป็นเรื่องที่ ท�ำได้ยาก เพราะส่ งผลให้พ้ื นแตกร้าวได้ง่าย และเสี่ ยงต่อ

ภาพที่ 4.14 : พื้นคอนกรีต ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html

5 ที่มา : scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/ หลากหลายประเภทพื้น.aspx

95


ภาพที่ 4.15 : ผนังรับน�้ำหนัก ที่มา : https://bit.ly/2Nrhhid

4.8.6 ระบบผนังรับน�้ำหนัก

ผนังรับน�้ำหนัก (Bearing Wall) คือ ผนังทีท ่ ำ� หน้าทีเ่ ป็นโครงสร้างอาคาร โดยรับน�้ำหนักของอาคาร และถ่ายลงสู่ โครงสร้าง ใต้ดน ิ โดยตรง จึงไม่มเี สาและคานรองรับวัสดุของผนังรับน�้ำหนักมักเป็นอิฐก่อ หรือคอน กรีตเสริมเหล็กทัง้ รูปแบบหล่อในที่ และแผ่น ผนังคอนกรีตส� ำเร็จรูป (Precast Concrete) เมื่อผนังรับน�้ำหนักเป็นโครงสร้างอาคารประเภทหนึ่ง จึงไม่สามารถทุบ ตัด เจาะผนังในกรณีที่ต้องการปรับปรุงบ้านหรือ อาคารที่ก่อสร้างด้วยผนังลักษณะนี้ เพราะจะส่ งผลต้องความแข็งแรงและปลอดภัยของอาคาร ทั้งนี้เราอาจพบอาคารที่มีผนังรับน�้ำ หนักผสมกับโครงสร้างเสาคานได้ท่วั ไป อย่างเช่นอาคารที่มีลิฟต์โดยสาร ซึ่งผนังปล่องลิฟต์จะเป็นผนังรับน�้ำหนัก ในขณะที่ส่วนอื่น ของอาคารเป็นระบบเสา-คานกับผนังก่อหรือผนังเบา เป็นต้น6 6 ศัพท์คนสร้างบ้าน ผนังรับน้ำ�หนัก : scgbuildingmaterials.com/th/Content/Bearing-Wall.aspx

96


6. ระบบโครงสร้างเหล็ก จุดเด่นของงานโครงสร้างเหล็ก คือเป็นวัสดุส�ำเร็จ รูปผลิตมาจากโรงงานซึ่งจะ ได้มาตรฐานกว่า ออกแบบบ้านตามรูปทรงต่างๆ ได้ง่ายกว่า ใช้ท�ำโครงสร้างที่มีช่วงคาน ยาวและคานยื่นได้ดี สามารถติดตั้งที่หน้างาน ก่อ สร้างได้ง่าย รวดเร็วโดยเฉลี่ยจะใช้เวลา ก่อสร้างน้อยกว่าโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก 1/3 ส่ วน การน�ำเหล็กโครงสร้างเหล็ก มาประกอบเข้าด้วย กันที่นิยมใช้งานมีอยู่ 2 วิธี ได้แก่ 1) ระบบสลักเกลียว ผู้ผลิตจะเตรียมเหล็กมาจากโรงงาน ไม่ว่าจะเป็นเสา คาน เหล็กฉาก และอุปกรณ์อ่ืนๆ พร้อมเจาะรูส�ำหรับยึดน็อตเอาไว้เพื่อความสะดวกในการน�ำ ไปติดตั้งที่หน้างานก่อสร้าง ส่ วนมากเสาคานเหล็ก H Beam จะมีขนาดหน้าตัดและความ หนาตามมาตรฐานของผู้ผลิต ขั้นตอนการติดตั้งจะติดตั้งบ่าเหล็กฉากเข้ากับเสาก่อนแล้ว ภาพที่ 4.16 : โครงสร้างเหล็ก ที่มา : https://www.longislandep-

ยึดเหล็กคาน เข้ากับบ่าเหล็กฉากด้วยการร้อยน็อตสกรู ควรหันหางเกลียวออกด้านนอก ขันน็อตสกรูรองแหวนด้วยมือใส่ จนครบทุกตัว แล้วจึงใช้ประแจปอนด์ขันให้แน่นอีกครั้ง 2) ระบบเชือ ่ มด้วยไฟฟ้ า ตัดเหล็กโครงสร้างให้มขี นาดตามแบบ แล้วเชือ ่ มเหล็ก เข้าด้วยกันด้วยวิธก ี ารเชือ ่ มไฟ ฟ้ า แล้วจึงทาสีกน ั สนิมเคลือบผิวเหล็กและแนวรอยต่อทีหลัง วิธีนี้ต้องอาศัยความช�ำนาญของช่างเป็นอย่างมาก7

ภาพที่ 4.17 : โครงสร้างเหล็ก ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html

7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างเหล็ก : atad.vn/th/ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว/

97


7. Post tension Post tensioned Slab เป็นระบบแผ่นพื้นที่ใช้กัน อย่างแพร่หลายเนือ ่ งจากเป็นระบบทีป ่ ระหยัด และก่อสร้างได้ อย่างรวดเร็วจะเห็นได้จากอาคารสํานักงาน ทีจ ่ อดรถ โรงแรม ศูนย์การค้าที่มักจะมีช่วงเสายาว สามารถออกแบบอาคารที่มี ช่วงเสา และพื้นยืน ่ ยาวมากๆได้ทำ� ให้ภายในอาคาร กว้างขวาง สวยงาม และสามารถจัดแบ่งพื้นที่ใช้งานได้สะดวก ก�ำแพง หรือผนัง ไม่จำ� เป็นต้องวางอยูบ ่ นคานท้องพื้นเรียบไม่กด ี ขวาง แนวท่อหรืองานระบบ มีทอ ้ งพื้นเรียบและบางน�้ำหนักโดย รวม น้อยกว่าพื้น คสล.ทั่วไป จึงท�ำให้สามารถลดค่าก่อสร้างของ งานฐานรากลงได้ ประหยัดไม้แบบและค่าการก่อสร้าง ลักษณะของแผ่นพื้นระบบ Post tension มีดังนี้ 1) Bonded System เป็นระบบที่มีการยึดเหนี่ยว ระหว่าง PC Strand กับพื้นคอน กรีตโดยจะห่อหุ้มด้วยท่อ เหล็ก ที่ข้ ึนเป็นลอนเพื่อช่วยในเรื่องของแรงยึดเหนี่ยว ภาย หลั ง เมื่ อ ทํ า การอั ด แรงจะต้ อ งมี ก ารอั ด น�้ ำ ปู น เพื่ อ ให้ จั บ ยึ ด ระหว่างPC Strand กับท่อเหล็กจะใช้กบ ั อาคารทีพ ่ ักอาศัย ห้าง สรรพสิ นค้า สํ านักงาน และโครงสร้างขนาดใหญ่ 2) Unbonded System เป็นระบบที่ไม่มีการยึด เหนี่ยวระหว่าง PC Strand กับพื้นคอนกรีตแต่จะอาศัยการ ยึดที่บริเวณหัว An-chorage ที่ปลายพื้นทั้ง 2 ข้างเท่านั้นจะ ใช้กับอาคารที่จอดรถ หรืออาคารขนาดเล็กที่มักจะไม่มีการ เปลี่ยนแปลงการใช้งาน8 8 พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับ post tension slab ลักษณะของพื้น - CPAC Academy

98

ภาพที่ 4.18 : Post tension ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html


ภาพที่ 4.19 : ผนังกระจก ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html

8. ระบบผนังกระจก ระบบผนัง Curtain wall เป็นระบบที่ยด ึ หรือแขวนผืนผนังกระจก เข้ากับโครงสร้างของอาคารบริเวณหน้าคานสั น ของแผ่นพื้น หรือสั นของแผ่นพื้นไร้คาน โดยจะประกอบกระจก เข้ากับโครงเหล็ก หรืออะลูมเิ นียมซึ่งมีท้งั รูปแบบที่เห็นโครงในแนวตั้ง นอน ทั้งภายในและภายนอกอาคารและรูปแบบที่ซอ ่ นโครงไว้ภายในอาคาร ส่ วนภายนอกจะเห็นเป็นกระจกประกอบชน กัน ระบบนี้นิยมใช้กับผนังภายนอกอาคารสู ง หรืออาคารที่มีผนังกระจกสู งต่อเนื่องหลายชั้น ซึ่งอาจมีบางส่ วนเป็นเปลือกอาคารหรือเป็นผนังอาคารซ้อนกันสองชั้น ที่ติดตั้งระบบผนังโครง เบาและฉนวนกันความร้อนไว้ด้านหลัง 9. ระบบโครงสร้างผนังกระจก ระบบทีป ่ ระกอบด้วยระบบกระจกและระบบโครงสร้างทีเ่ ปิดเผย ซึ่งระบบโครงสร้างนีท ้ ำ� หน้าทีด ่ า้ นความแข็งแรงให้ทงั้ กระจกและโครง สร้างทนต่อแรงต่าง ๆ ให้สมดุลอยูไ่ ด้ ต่าง จาก Curtain wall ที่ต้องอาศัยแขวนเข้ากับโครง สร้างของอาคาร ซึ่งส่ วนใหญ่มักจะแขวนเข้ากับ หน้าคาน หรือ ผิวหน้าของแผ่นพื้นในแต่ละชั้น9 9 ศัพท์คนสร้างบ้าน ผนังกระจก ที่มา : scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/Glass-Wall.aspx

99


ภาพที่ 4.20 : ผนังก่ออิฐ ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html

10. ระบบโครงสร้างผนัง ก่ออิฐเต็มแผ่น คือรูปแบบหนึ่งของการก่ออิฐมอญในงานก่อผนัง โดยอิฐมอญทัว่ ไปจะมีขนาดกว้างประมาณ 6.06.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 14-16 เซนติเมตร และหนาประมาณ 2.5-3.0 เซนติเมตร การก่ออิฐเต็มแผ่นจะท�ำได้โดยวาง อิฐมอญตามขวางของแนวผนัง อาจะวางสลับแถวหรือสลับทุกๆ 2 ก้อน เพื่อให้เกิดการวางลายอิฐที่สวยงามได้ ทั้งนี้การ ก่ออิฐเต็มแผ่นจะท�ำให้ผนังที่ออกมามีความหนาประมาณ 15-20 เซนติเมตรเมื่อรวมความหนาของปูนฉาบทั้งสองด้านแล้ว วิธก ี ารก่อสร้างผนังก่ออิฐเต็มแผ่นจะเหมือนกับงานก่อทัว่ ไป เพียงแต่จะต้องออกแบบโครงสร้างเผือ ่ ไว้ ให้สามารถ รับน�้ำหนักของอิฐทีเ่ พิ่มมากขึ้น อีกทัง้ ยังต้องใช้เวลาในการก่อสร้าง และใช้จำ� นวนก้อนอิฐทีเ่ พิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่าตัวด้วย อย่างไร ก็ตามความหนาของผนังที่เพิ่มมากขึ้นนี้ก็ช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพการป้ องกันความร้อนจากแสงแดดความชื้น และเสี ยงรบกวน จากภายนอกได้10 10 ก่ออิฐเต็มแผ่น : scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/Full-Brick-Wall.aspx

100


11. บันไดเลื่อน การใช้ ร ะบบควบคุ ม การท� ำ งานของบั น ไดเลื่ อ นแบบ

อัตโนมัติ (Scan Sensors ) 12. ระบบลิฟต์

อัตโนมัติ : ส� ำหรับการใช้บันไดเลื่อนในช่วงการจราจรน้อย

ลิฟท์โดยสาร เป็นลิฟท์แบบมาตรฐานสวยงามปลอดภัย

(off peak) เป็นเวลานานๆ เช่น ในโรงแรม ศูนย์การค้า สถานี

และมีความเร็วสู งเพื่อตอบสนองต่อการใช้งาน เหมาะส� ำหรับ

รถไฟฟ้ า เป็นต้น ควรเลือกใช้การควบคุมแบบอัตโนมัติ กล่าว

อาคารส� ำนักงานทั่วไป และที่พักอาศัย

คือ บันไดเลื่อนจะท�ำงานเมื่อมีผู้โดยสารเท่านั้น ในช่วงเวลา ที่ไม่มีผู้โดยสารใช้งานเกินระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ บันไดเลื่อน จะหยุดการท�ำงานโดยอัตโนมัติ โดยการควบการท�ำงานผ่าน อุปกรณ์ตรวจจับ (Scan sensors) ดังที่แสดงตัวอย่างใน รูปอุปกรณ์ตรวจจับผู้โดยสารของบันไดเลื่อนที่ท�ำงานแบบ

ภาพที่ 4.21 : บันไดเลื่อน ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html

ความเร็วของลิฟต์ข้ น ึ อยูก ่ บ ั ความสู งของอาคารโดยส่ วน ใหญ่จะแบ่งออก เป็น 3 ระดับคือ - ลิฟท์ความเร็วต�่ำ มีความเร็วไม่เกิน 60 เมตร/นาที มักใช้ในอาคารที่มีความสู งไม่เกิน 10 ชั้น - ลิฟท์ความเร็วปานกลาง มีความเร็วระหว่าง 90-105

เมตร/นาที มักใช้ในอาคารที่มีความสู งระหว่าง10-25 ชั้น - ลิฟท์ความเร็วสู ง มีความเร็วไม่เกิน 120 เมตร/นาที ขึ้นไป มักใช้ในอาคารที่มีความสู งมากกว่า 25 ชั้น 1) ลิฟท์โดยสารแบบมีหอ ้ งเครือ ่ ง (Traction Elevator) ส� ำหรับอาคารที่มีพ้ืนที่เพียงพอติดตั้งเครื่องลิฟต์ได้ โดยส่ วน ใหญ่จะอยู่ชั้นบนสุ ดของอาคาร 2) ลิฟท์โดยสารแบบไม่มีห้องเครื่อง (Roomless Elevator)

ลิฟท์โดยสารแบบนี้ได้รับการออกแบบมาเพื่อแก้

ปั ญหาหลายๆประการ เช่น อาคารที่ไม่ได้มีการออกแบบเพื่อ ติดตัง้ ลิฟต์อาคารทีม ่ ค ี วามสู ง และพื้นทีไ่ ม่เพียงพอทีจ ่ ะติดตัง้

ภาพที่ 4.22 : ผนังกระจก ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html

101


13. ระบบพื้น 1) พื้นคอนกรีตหล่อในที่ (Cast – in - Place Concrete Slabs) จะมีกระบวนการท�ำแบบส� ำหรับหล่อพื้ นผูกเหล็กเสริมของพื้ น เชือ ่ มกับเหล็กในคาน แล้วจึงเทคอนกรีตพื้นให้เป็นเนือ ้ เดียวกับคานส่ วน บน โดยส� ำหรับพื้ นชั้นสองขึ้นไปต้องมีการตั้งค�้ำยันแบบใต้ท้องพื้ นจน กว่าคอนกรีตจะแข็งตัวอย่างน้อย 14 วันซึ่งพื้นคอนกรีตหล่อในทีม ่ ี 2 รูป แบบคือพื้นคอนกรีตวางบนคาน และพื้นคอนกรีตวางบนดิน 2) พื้นคอนกรีตส� ำเร็จรูป (Precast Concrete Slabs) ผลิต จากคอนกรีตเสริมด้วยลวดอัดแรงก�ำลังสู งส� ำเร็จรูปจากโรงงานเรียก กันโดยทัว่ ไปว่า “แผ่นพื้นส� ำเร็จรูป” แผ่นพื้นประเภทนีน ้ ย ิ มใช้อย่างแพร่ หลายส� ำหรับบ้านหรืออาคารขนาดเล็กติดตั้ง โดยการวางบนคานเสริม เหล็กด้านบนแล้วเทคอนกรีตทับหน้า(Topping) เรียกว่าเป็น “ระบบพื้น ส� ำเร็จรูป” เป็นระบบพื้นที่ช่วยประหยัดเวลาในการก่อสร้าง1 3) แผ่นเหล็กพื้นโครงสร้าง (Metal Deck) เป็นระบบทีเ่ หมาะ กับโครงสร้างเหล็ก ประกอบด้วยแผ่นเหล็กรีดเป็นลอนต่างๆ ซึ่งผลิต จากโรงงานน�ำมาวางบนคาน โดยมีหัวหมุดเหล็ก (Shear stud) ยึดกับ คานเหล็กเป็นระยะๆ แล้วเทคอนกรีตด้านบนแผ่นเหล็กนีจ ้ ะเป็นทัง้ แบบ ้ เหล็กเสริมจะน้อยกว่าแผ่นพื้นระบบอืน และเหล็กเสริมไปในตัว ดังนัน ่ ๆ แต่ยงั คงต้องเสริมเหล็กในคอนกรีตเพื่อกันการแตกร้าว นอกจากนีท ้ อ ้ ง ้ ใต้พ้ืนนัน ้ ได้ดว้ ย พื้นชนิดนีค แผ่นเหล็กใช้เป็นฝ้ าเพดานสําหรับชัน ้ อ ่ นข้าง เบาและก่อสร้างรวดเร็ว สามารถใช้ท�ำหลังคาดาดฟ้ ารวมถึงพื้นที่เปียก ได้ โดยควรท�ำระบบกันซึมเพิ่มเติม อย่างไรก็ตาม ราคาค่าก่อสร้างโดย รวมยังสู งกว่าระบบพื้นประเภทอื่น และควรพ่นหรือทาสี กน ั สนิมและกัน ไฟเพิ่มเติมด้วย11 11 พื้นคอนกรีต : SCG Brand

102

ภาพที่ 4.23 : พื้นคอนกรีต ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html


ภาพที่ 4.24 : ระบบน�้ำ ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html

2.8.2 ระบบสุ ขาภิบาล 1. ระบบน�้ำใช้ ้ โดยระบบนีย ระบบจ่ายน�้ำขึ้น (UP FEED SYSTEM) เป็นระบบจ่ายน�้ำทีน ่ ย ิ มเหมาะกับอาคารทีม ่ ค ี วามสู งไม่เกิน 3 ชัน ้ งั แบ่งย่อยออกเป็น 2 ชนิดตามประเภทของการจ่ายน�้ำ คือ การ จ่ายตรงจากท่อน�้ำประปาหลัก (Direct Feed Up) และการจ่ายผ่านปั๊ มน�้ำ (Pump Feed Up) การจ่ายตรงจากท่อน�้ำประปาหลัก คือ การต่อท่อเข้ากับท่อน�้ำในบ้านโดยตรง ซึ่งเหมาะกับบ้านพักอาศัยทั่วไปขนาดไม่เกิน 2 ชั้น แต่หากเปิดใช้น้ำ� พร้อมๆ กันอาจเกิดปั ญหาน�้ำไหล อ่อนในบางจุด ปั จจุบันจึงนิยมจ่ายน�้ำโดยผ่านปั๊ มน�้ำ โดยระบบนี้ต้องมีการใช้ถังเก็บน�้ำร่วมด้วย ซึ่งจะเลือกใช้เป็นถังบนดินหรือใต้ดินก็ได้ แล้วแต่ความเหมาะสมของพื้นที่ ทั้งนี้ไม่แนะน�ำให้ ้ ๆ ถูกดูดจากระบบสาธารณะเข้ามาบ้านเราโดยตรง ส่ งผลกระทบต่อการใช้น้ำ� โดยส่ วนรวม และยังเป็นการ ต่อตรงจากท่อประปาเข้าสู่ ป๊ ั มน�้ำโดยไม่ผา่ นถังเก็บน�้ำเพราะจะท�ำให้น้ำ� ในเส้ นท่อนัน กระท�ำที่ผิดกฏหมายอีกด้วย โดยถังเก็บน�้ำจะถูกต่อเข้ากับปั๊ มน�้ำเพื่อสู บน�้ำจากถังเก็บน�้ำเพื่อน�ำไปใช้ภายในบ้านพักอาศัยต่อไป12 12 ตอนที่ 1: ระบบจ่ายน้ำ� : scgbuildingmaterials.com/th/HomeConsult/Blog/new-home/ระบบน้ำ�ประปาภายในบ้าน-เรื่องสำ�คัญควรเข้าใจ-ตอนที่1.aspx

103


2. การระบายน�้ำเสี ย ซึ่งเราสามารถแบ่งน�้ำเสี ยได้เป็น 2 ประเภท 1) น�้ำทิ้งจากห้องครัวส่ วนใหญ่เป็นน�้ ำเสี ยจากอ่างล้าง

สาธารณะให้ดย ี งิ่ ขึ้น แต่ควรมีบอ ่ พักดักกลิน ่ เพื่อป้ องกันกลิน ่ จากบ่อบ�ำบัดย้อนกลับขึ้นมา 3. งานระบบบ�ำบัดน�้ำเสี ย

จาน ซึ่งอาจมีเศษอาหารและไขมันปะปนอยู่บ้าง จึงควรใช้

ระบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย แบบบ่ อ เติ ม อากาศ (Aera -ted

ร่วมกับถังดักไขมัน (Grease Trap) ก่อนระบายลงสู่ ระบบท่อ

Lagoon หรือ AL) เป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสี ยที่อาศั ยการเติม

สาธารณะนอกจากนีบ ้ ริเวณใต้อา่ งทีจ ่ ะต่อออกสู่ ระบายน�้ำทิง้

ออกซิเจนจากเครื่องเติมอากาศ ที่ติดตั้งแบบทุ่นลอยหรือยึด

จะต้องมีทด ี่ ก ั กลิน ่ (P-trap) เพื่อป้ องกันกลิน ่ เหม็นในท่อไม่ให้

ติดกับแท่นก็ได้ เพื่อเพิ่มออกซิเจนในน�้ำให้มีปริมาณเพียงพอ

ย้อนขึ้นมาด้านบนได้

ส� ำหรับจุลินทรีย์สามารถน�ำไปใช้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในน�้ำ

2) น�้ำเสี ยที่มาจากบริเวณห้องน�้ำและน�้ำทิ้งทั่วไป ส� ำหรับ

เสี ย ได้เร็วขึ้นกว่าการปล่อยให้ย่อยสลายตามธรรมชาติท�ำให้

การระบายน�้ำในส่ วนนีค ้ วรมีทอ ่ ดักเพื่อป้ องกันกลิน ่ โดยติดตัง้

ระบบบ�ำบัดน�้ำเสี ยแบบบ่อเติมอากาศสามารถบ�ำบัดน�้ำเสี ยได้

บริเวณจุดระบายน�้ำ (Floor Drain) เลือกฝาท่อระบายน�้ำ ชนิด

อย่างมีประสิ ทธิภาพ สามารถลดปริมาณความสกปรกของน�้ำ

้ จึงท�ำการต่อลงท่อระบายน�้ำเพื่อออก มีตะแกรงกันกลิน ่ จากนัน

เสี ยในรูปของค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand;

สู่ ระบบสาธารณะต่อไป ซึ่งน�้ำเสี ยส่ วนนี้อาจมีการต่อท่อเพื่อ

BOD) ได้ ร้ อ ยละ 80-95 โดยอาศั ย หลั ก การท� ำ งานของ

น�ำกลับมาใช้ในบางกิจกรรมได้ อาทิเช่น รดน�้ำต้นไม้ เป็นต้น

จุลินทรีย์ภายใต้สภาวะที่มีออกซิเจน โดยมีเครื่องเติมอากาศ

3) ระบายของเสี ย ที่ ม าจากสุ ข ภั ณ ฑ์ ส� ำ หรั บ ของเสี ย

ซึ่งนอกจากจะท�ำหน้าเพิ่ มออกซิเจนในน�้ำแล้ว ยังท�ำให้เกิด

ประเภท นี้จะมีส่วนผสมของกากอาหาร ด้วยท่อที่ใช้ที่มีขนาด

การกวนผสมของน�้ำในบ่อด้วย ท�ำให้เกิดการย่อยสลายสาร

ใหญ่กว่าท่อน�้ำทิ้งทั่วไป ความลาดเอียงของท่อก็จะมีมากกว่า

อินทรีย์ได้อย่างทั่วถึงในบ่อ

คือประมาณ 1 : 50 เพื่อให้ของเสี ยสามารถเคลื่อนที่ได้ง่าย นอกจากนี้ของเสี ยชนิดนี้ต้องท�ำการผ่านถังบ�ำบัดน�้ำเสี ย (

ส่ วนประกอบของระบบบ่อเติมอากาศ จะประกอบด้วย หน่วยบ�ำบัด

Septic - Tank) ก่อนจะท�ำการปล่อยน�้ำเสี ยที่ผ่านการกรอง

1) บ่อเติมอากาศ

เรียบร้อยแล้วลงสู่ ระบบท่อสาธารณะ

2) บ่อบ่มเพื่ อปรับสภาพน�้ำทิ้ง (จ�ำนวนบ่อขึ้นอยู่กับการ

ระบบระบายน�้ำ เสี ย ใช้ ช นิ ด ท่ อ รวมเป็น การติ ด ตั้ง ระบบ ระบายน�้ ำ จากห้ อ งครั ว และระบบระบายน�้ ำ จากห้ อ งส้ ว ม

ออกแบบ) 3) บ่อเติมคลอรีนส� ำหรับฆ่าเชื้อโรค 1 บ่อ1 13

มารวมไว้ ที่ ถั ง บ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ก่ อ นปล่ อ ยลงสู่ ท่ อ ระบายน�้ ำ สาธารณะ วิธีนี้จะช่วยเพิ่มคุณภาพของน�้ำที่ปล่อยลงสู่ ระบบ 13 scgbuildingmaterials.com/th/HomeConsult/Blog/new-home/ระบบน้ำ�ประปาภายในบ้าน-เรื่องสำ�คัญควรเข้าใจ-ตอนที่1.aspx

104

ภาพที่ 4.25 : ระบบแอร์ ที่มา : https://www.longislandep-


2.8.4 ระบบปรับอากาศ

ภาพที่ 4.26 : ระบบแอร์ ที่มา : https://www.longislandepโดยอิสระ จึงสามารถควบคุมอุณหภูมิได้อย่างแม่นย�ำ การ

ดันของสารท�ำความเย็นหลังจากผ่านคอยล์ร้อน

1. ระบบปรับอากาศแบบแยกส่ วน ( Split - Type)

4) คอยล์เย็น คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการท�ำให้สาร

ท�ำงานระบบปรับอากาศแบบ VRV ลักษณะการท�ำงานของ

แยกส่ ว นที่ เ ป่ า ลมเย็ น ออกจากตั ว เครื่ อ งระบายความร้ อ น

ท�ำความเย็นเปลี่ยนสถานะจากของเหลวผสมไอ ให้กลายเป็น

ตัวเครื่องภายนอก (Outdoor/Condensing unit) จะท�ำ

ขนาดตั้งแต่ 1-50 ตัน (ขนาด 1-3 ตัน มักไม่มีการต่อท่อลม

ไออย่างสมบูรณ์

หน้าที่เปลี่ยนแปลงปริมาณการไหลของสารท�ำความเย็น ใน

้ อาจมีการต่อท่อลมออก ไปจ่ายหลาย ๆจุด แต่หากมากกว่านัน

2. ระบบปรับอากาศแบบ VRV

ระบบตามโหลดของตัวเครือ ่ งภายใน (Indoor/ Fancoil unit)

จากส่ วนเป่ าลม ไปจ่ายหลาย ๆ จุด) ประกอบไปด้วย

(Variable Refrigerant Volume) หรือ ระบบ VRF

โดยตัวเครือ ่ งภายนอก ได้รบ ั การออกแบบให้มค ี อมเพรสเซอร์

1) คอมเพรสเซอร์ เป็นหัวใจหลักของการท�ำงาน

เป็นระบบเครื่องปรับอากาศที่ลักษณะการท�ำงานที่สามารถ

อย่างน้อย 2 ตัว ซึ่งการท�ำงานของคอมเพรสเซอร์ได้รับการ

ในระบบอัดไอ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส�ำหรับเพิ่มความดันของสาร

เปลี่ยนแปลงปริมาณสารท�ำความเย็น ตามภาระโหลดของ

ออกแบบให้ท�ำงานแบบสลับการท�ำงานแล้วส่ งสารท�ำความ

ท�ำความเย็น ท�ำให้สารท�ำความเย็นสามารถไหลเวียนได้ครบ

การท�ำความเย็นและจ�ำนวนตัวเครือ ่ งภายในทีท ่ ำ� การติดตัง้ ได้

เย็นไปตามท่อของเหลว (Liquid side) ไปยังตัวเครื่องภายใน

วงจรของระบบอัดไอ

ระบบนีจ ้ งึ เป็นระบบเครือ ่ งปรับอากาศทีน ่ ย ิ มใช้ในอาคารขนาด

ซึ่งตัวเครื่องภายในจะมีตัวควบคุมปริมาณของสารท�ำความ

ใหญ่ โดยลักษณะทั่วไปของระบบประกอบด้วย

เย็น ( PMV valve) เป็นตัวจ่ายสารท�ำความเย็นตามภาระโหลด

2) คอยล์ร้อน คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการท�ำให้สาร ท�ำความเย็นเปลี่ยนสถานะจากไอเป็นของเหลวโดยการใช้ พัดลมดูดอากาศเพื่อมาระบายความร้อน 3) วาล์วลดความดัน เป็นอุปกรณ์ทม ี่ ห ี น้าทีล ่ ดความ

ส่ วนของคอยล์ร้อน (Outdoor unit) 1 ตัว ซึ่ง สามารถติดตั้งคอยล์เย็น ( Indoor - Unit) ได้หลายตัว

การท�ำงาน และตัวคอมเพรสเซอร์จะท�ำ งานเต็มที่ เมื่อมีการ เปิดใช้จ�ำนวนตัวเครื่องภายในมากขึ้น14

และหลายชั้นของอาคาร โดยคอยล์เย็นจะแยกการท�ำงาน 14 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (split type) : ienergyguru

105


2.8.5 งานระบบไฟฟ้ าประกอบอาคาร แบ่งเป็น 2 ระบบหลักๆคือ 1.ระบบไฟฟ้ าก�ำลัง ประกอบด้วย - ระบบจ่ายก�ำลังไฟฟ้ า (Power Distribution System) - ระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง (Lighting System) - ระบบไฟฟ้ าส� ำรอง (Standby Power System) - ระบบล่อฟ้ า (Lightning System) - ระบบขนส่ งภายในอาคาร (Transportation System) 2. ระบบไฟฟ้ าสื่ อสารไฟฟ้ าควบคุม - ระบบโทรศัพท์ (Telephone System) - ระบบรักษาความปลอดภัย (Security System) - ระบบสั ญญาณเตือนอัคคีภัย (Fire Alarm System) - ระบบกล้องวงจรปิด (CCTV System) - ระบบเสี ยงตามสาย (Sound System) - ระบบสั ญญาณวิทยุดาวเทียมและโทรทัศน์ - ระบบคอมพิวเตอร์ และระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ (Building Automation System)15

15 งานระบบไฟฟ้าประกอบอาคาร : tmcc.co.th/tag/งานระบบไฟฟ้า/

106

ภาพที่ 4.27 : ห้องควบคุมระบบ ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html


3. ระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง การติดตั้งดวงโคมไฟฟ้ าและ อุปกรณ์ประกอบต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ เช่น การไฟฟ้ านครหลวงหรือNEC โดยที่อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติด ตั้งภายในดวงโคม เช่น หลอดบัลลาสต์และสตาร์ทเตอร์ รวม ถึงขัว้ หลอดต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อต ุ สาหกรรม โคมไฟฟ้ าทั่วไปเป็นระบบ 1 เฟส 220 โวลต์ 50 Hz 2 สาย 4. ระบบไฟฉุ ก เฉิ น (Emergency Light System) เป็นการให้แสงสว่างฉุกเฉินเมือ ่ แหล่งจ่ายไฟฟ้ าปกติลม ้ เหลว รวมถึงการให้แสงสว่างเพื่อการหนีภัย (Escape Lighting) และการให้แสงสว่างส� ำรอง (Standby Lighting) โดยใช้ ไฟฉุกเฉิน (Emergency Luminaries), ไฟป้ ายทางออก (Exit Sign Luminaries) และระบบไฟฉุกเฉินแบบส่ วนกลาง (Central Unit Emergency Light) ที่ต้องต่อใช้งานร่วมกับ หลอดไฟฉุกเฉิน Remote Lamp) การให้แสงสว่างฉุกเฉิน สามารถเลือกสภาวะการท�ำงานทัง้ ชนิดคงแสง (Maintained Mode) และชนิดไม่คงแสง (Non maintained Mode) โดย มีอุปกรณ์ส�ำหรับการให้แสงสว่างฉุกเฉินในการท�ำงาน เช่น แบตเตอรี่, หลอดไฟฟ้ า, ชุดควบคุม, อุปกรณ์ทดสอบ และ อุปกรณ์แสดงภาวะ เป็นต้น การติดตั้งสายดินสายดินคือสายไฟเส้ นที่มีไว้เพื่ อความ ปลอดภัยต่อการใช้ไฟฟ้ าโดยจะต่อเข้ากับวัตถุหรือส่ วนโครง ภายนอกของเครื่องไฟฟ้ าเพื่ อให้มีศักย์ไฟฟ้ าเป็นศู นย์หรือ เท่ากับพื้นดิน กระแสไฟฟ้ ารั่วจากเครื่องใช้ไฟฟ้ าจะไหลลง ดินทางสายดินโดยไม่ผ่านร่างกายผู้สัมผัสเครื่องใช้ไฟฟ้ านั้น ภาพที่ 4.28 : หม้อแปลง ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.

อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้ าช็อตและ/หรือไฟฟ้ ารั่วจะตัด กระแส ไฟฟ้ าออกทันที สี ของสายไฟฟ้ าเส้ นที่แสดงวา่เป็นสายดิน

107


5. ระบบส� ำรองไฟ จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ เครื่องส� ำรองไฟ หรือ UPS และอีกประเภท หนึ่ง คือ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ า (Generator) หรือที่เราเรียกสั้ นๆว่า Gen เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ า (Generator) คือ เป็นอุปกรณ์ที่ท�ำหน้าที่เปลี่ยนแปลงพลังงานกลมา เป็นพลังงานไฟฟ้ า โดยอาศั ยการเหนี่ยวน�ำของแม่เหล็กตามหลักการของ ไมเคิล ฟาราเดย์ คือ การเคลื่อนที่ของขดลวดตัวน�ำผ่านสนามแม่เหล็ก หรือการเคลื่อนที่แม่เหล็กผ่านขดลวด ตัวน�ำ จะท�ำให้เกิดแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ยวน�ำขึ้นในขดลวดตัวน�ำนั้น ซึ่งเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ ามี 2 ชนิด คือชนิดกระแสตรงเรียกว่า ไดนาโม (Dynamo) และชนิดกระแสสลับเรียกว่า อัลเต อร์เนเตอร์ (Alternator) ส� ำหรับเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ าที่ใช้งานในเชิงอุตสาหกรรมนั้นโดยมาก จะเป็นเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ าชนิดกระแสสลับ ซึ่งมีท้งั แบบ 1 เฟส และแบบ 3 เฟส โดยเฉพาะ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่ที่ใช้ตามโรงพยาบาลจะเป็นเครื่องก�ำเนิดแบบ 3 เฟสทั้งหมด เนือ ่ งจากสามารถผลิตและจ่ายก�ำลังไฟฟ้ าได้เป็นสามเท่าของเครือ ่ งก�ำเนิดไฟฟ้ าแบบ 1 เฟส16 ภาพที่ 4.29 : เครื่องส� ำรองไฟ ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html

16 ระบบสำ�รองไฟในโรงพยาบาล : engineerfriend.com/2011/articles/ระบบสำ�รองไฟในโรงพยาบาล/

108


2.8.5. ระบบอัคคีภัย 1. ระบบสั ญญาณแจ้งเหตุเตือนภัยเป็นระบบ ที่บอกให้คนในอาคารทราบว่า มีเหตุ ฉุกเฉิน มีอุปกรณ์ในการเตือนภัย 2 แบบ คือ อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ (Fire Detector) อันได้แก่ อุปกรณ์ตรวจจับความและอุปกรณ์ร้อน (Heat Detector) อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) อีกแบบหนึ่งคืออุปกรณ์แจ้งเหตุดว้ ยมือ เป็นอุปกรณ์ทใี่ ห้ ผูพ ้ บเหตุเพลิง ไหม้ ท�ำการแจ้งเตือนมีท้งั แบบมือดึงและผลัก 2. ระบบดับเพลิงด้วยน�้ำคือระบบที่มีการเก็บกักน�้ำส� ำรองที่มีแรงดันพอสมควร และ เมื่อมีเหตุเพลิงไหม้ จะสามารถใช้ระบบดับ เพลิง ในการดับไฟได้ระบบนี้จะประกอบไป ด้วยถังน�้ำส� ำรองดับเพลิง ซึ่งต้องมีปริมาณส� ำ หรับใช้ดับเพลิงได้ 1-2 ชม.และประกอบด้วย ระบบส่ งน�้ำดับเพลิงได้แก่ เครื่องสู บระบบท่อ แนวตั้งแนวนอน, หัวรับน�้ำดับเพลิง, สายส่ งน�้ำ ดับเพลิง, หัวกระจายน�้ำดับเพลิง นอกจากนี้ยังมีระบบดับเพลิงด้วยน�้ำ แบบอัตโนมัติ โดยที่ เครื่องที่อยู่บนเพดานห้องจะท�ำงาน เมื่อมีปริ-มาณความร้อนที่สูงขึ้น17

ภาพที่ 4.30 : ระบบป้ องกันอัคคีภัย ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html

17 ระบบอัคคีภัย :vecthai.com/main/?p=644

109


3. เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ เป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กข้างในบรรจุสารเคมีส�ำหรับดับเพลิง แบบต่าง ๆ ในกรณีที่เพลิงมีขนาดเล็ก ก็สามารถใช้ เครื่องดับเพลิงขนาดเล็กหยุดยั้งการ ลุกลามของไฟได้ 4. ลิฟต์ส�ำหรับพนักงานดับเพลิงส� ำหรับอาคารสู ง กฎหมายจะก�ำหนดให้มีลิฟต์ส�ำ หรับ พนักงานดับเพลิง ท�ำงานในกรณีไฟไหม้โดยแยกจากลิฟต์ใช้งานปกติทั่วไป ซึ่งจะท�ำให้การ

ภาพที่ 4.31 : ตู้ดับเพลิง ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html

ผจญเพลิงและการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุท�ำได้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น 5. ระบบควบคุมควันไฟ การส� ำลักควันไฟเป็นสาเหตุหลัก ของการเสี ยชีวิตในเหตุไฟไหม้ อาคารจึงต้องมีระบบ ที่จะท�ำให้มีการชะลอ การแพร่ของควันไฟ โดยมากจะใช้การอัดอากาศ ลงไปในจุดที่เป็นทางหนีไฟ , โถงบันได และโถงลิฟต์ โดยไม่ให้ควันไฟลามเข้าไปในส่ วนดัง กล่าว เพิ่มระยะเวลาการหนีออกจากอาคาร และมีการดูดควันออกจากตัวอาคารด้วย18

ภาพที่ 4.32 : ถังดับเพลิง ที่มา : https://www.longislandepoxyfloor.com/concrete.html 18 ระบบอัคคีภัย :vecthai.com/main/?p=644

110


111


บรรณานุกรม กฤษดา กฤษณะเศรณี (2551) เปิดต�ำนาน __________. (2549) จากศิลปะสู่ หั่นสยอง การวิจารณ์ : รายงาน ฆาตกรโรคจิต. เชียงใหม่ : แมวกวัก การวิจัย. กรุงเทพ : ชมนาด. ธิวา เมยไธสง. สัมภาษณ์, 5 มกราคม กฤษดา เกิดดี (2548) ทฤษฎี แ ละและ 2554. การวิจารณ์ ธีรยุทธ บุญมี. (2552) โลก Modern & ภาพยนตร์ เบื้องต้น ในเอกสารการสอน Postmodern. วิ ช า กรุงเทพ : สายธาร. ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์เบื้อง นนทรีย์ นิมิบุตร สัมภาษณ์, 8 ธันวาคม ต้น หน่วย 2553. ที่ 9-15. หน้า 265-294. นนทบุรี : มหาวิทยาลัย เป็นเอก รัตนเรือง (2548) “เป็นเอก รัตน สุโขทัยธรรมาธิราช. เรือง” Hi-Class (พฤษภาคม 2548). เจตนา นาควัชระ (2546) ศิลป์สอ่ งทาง. กรุงเทพ : คมบาง. มติ ช นสุ ด สั ป ดาห์ (2552) มติช น

สุดสัป ดาห์ (11-17 ธันวาคม 2552). รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ (2549) “กลวิธีของการ เล่าเรื่องใน “เจ้า หญิง” สุนทรียรส แห่งวรรณคดี. กรุงเทพ :ณ เพชรส�ำนักพิมพ์. วิ รั ตน์ โตอารี ย์มิ ต ร (2007) เอนเต อร์เ ทน (19-25 เมษายน). อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ (2540) รอยต่อ แห่งยุคสมัย. กรุงเทพ : อัมรินทร์. อุทศิ เหมะมูล (2552) คนช�ำรุดหรือมนุษย์ โรแมนติก.


Dick , Bernard F. (2005) Anatomy of Film. Boston : Bedford/St.Martin’s.

Shanghai Theatre Academy Lacey, Nick. (2005) Film Genre. London : Routledge.

Cordell, Julie F. (2007) Genre, Gender, Race and World Cinema. Oxford : Blackwell.

Malpas, Simon and Wake, Paul. (2006) The Routledge Companion to Critical Theory New York : Routledge.

Knee, Adam. (2550) “The Transnational Whisperings of Contemporary Asian Horror” วารสาร นิเทศศาสตร์ (กรกฎาคม-ธันวาคม). Krisda Kerddee (2010) Exploring the Kingdom of Thai Film Genres : A Study of Thai Films, 2005-2009. 2010 International Seminar and Screening of Thai Cinema.Shanghai :

Stokes, Jane (2003) How to Do Media & Cultural Studies. London : Sage. Booker ,M. Keith (2007) Postmodern Hollywood. London : Praeger. Dancyger, Ken. (2001) Global Scriptwritng. Boston : Focal Press.


กรมการปกครอง. (2555). จ านวนประชากรปี 2550 ในเขต กรุงเทพมหานคร. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2557. จาก www.dopa.go.th/stat/y_ stat49.html. รักศานต์ วิวฒั น์สนิ อุดม. (2548). ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรม ภาพยนตร์ไทย. รายงานการ วิจัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เรวัต ธรรมาอภิรมณ์ และชยันต์ พิภพลาภอนันต์. (2553). สถานะ และแนวทางการพัฒนา เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในประเทศไทย: กรณีกลุ่มสื่อ. รายงาน การวิจัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ศุภวุฒิ สายเชื้อ. (2551). ประเทศไทยกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ท�ำไมต้องเศรษฐกิจ

สร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ. สิทธิ์ ธีรสรณ์. (2552). การสือ่ สารทางการตลาด. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สาํ นักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2557). ตลาดทุน แหล่งเงินทุน ของอุตสาหกรรมภาพยนตร์. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2558. จาก http://www.sec.or.th/TH/MarketDevelopment/Documents/ Film%20industry-on-web.pdf. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ. (2551). โครงการศึกษาเพื่อ จั ด ท ายุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาธุ ร กิ จ ภาพยนตร์ ไ ทย. กรุงเทพมหานคร: สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.


Tung,A.C. & Wan,H. (2010). High Tech, Low Fertility, Korea Becomes a Role Model in Cultural Industrial Policy. [Online]. Retrieved December 2, 2014, from http://www.akes.or.kr/akes/downfile/1_2.pdf. Tze – Chang, Liu. (2011). Open Education and the Creative Economy: Global Perspectives and Comparative Analysis. [Online]. Retrieved December 2, 2014, from https://www.ideals.illinois.edu/handle/2142/29677.


ภาคผนวก


ภาพยนตร์ผี ไทย : ภาพมายาแทนความฝั นของผู้ชม

ด้วยเรื่องของการวิพากษ์ วิจารณ์สถาบันต่างๆ และเรื่องเพศ

Ghost Film : the Illusion of the Dream

้ มีบทบาทในการเข้าไปก�ำหนดแนวทางการ สภาพ หนังผีไทยนัน

ปิลันลน์ ปุณญประภา และ สามินี รัตนยงค์ ไพโรจน์

ผลิตหนังผีของผู้ก�ำกับ ดังนั้นผู้ผลิตจะสามารถใช้ประโยชน์

Pilan Poonyaprapha and Saminee Ratanayongpiroj

จากรูปแบบของการผลิตหนังผีไทยไปท�ำนายการรับรู้ของผู้ ชม จาก “ขนบ” (convention) เพื่อที่จะก�ำหนดรูปแบบการ

บทน�ำ

ผลิตหนังผีไทยให้เป็นมาตรฐาน (Standard) แล้วน�ำไปผลิต

ตระกูลหนังผีไทยทีไ่ ด้มค ี วามสัมพันธ์กบ ั การผลิตตามแบบ

ให้ได้ตรงตามความคาดหวังของผู้ชมมากที่สุด โดยมุ่งเป้ า

ความเชื่อ ในสั งคมไทย โดยพบว่าตระกูลหนังผีไทยได้ทำ� การ

หมายในส่ วนของรายได้จากอุตสาหกรรมการผลิตหนังผีไทย

สร้างกรอบแนวความคิด เพื่อส่ งต่อความเชื่อบางอย่างให้กับ

อีกทัง้ ตระกูลหนังผีไทยทีไ่ ด้มค ี วามสัมพันธ์กบ ั ผูช้ มภาพยนตร์

สั งคมไทย โดยความเชื่อทีผู้วิจัยยังค้นพบ แบ่งออก เป็น 2

โดยพบว่าตระกูลหนังผีไทยมีบทบาท ก�ำหนดความคาดหวัง

แบบ อันได้แก่ ความเชือ ่ หลัก (dominant believe) คือ กรอบ

ของผู้ชมหนังผีไทย โดยในรูปแบบของตระกูลหนังผีไทยจะ

ความคิดทีเ่ กีย ่ วข้องโดยตรงกับกระบวนการสื บทอดความเชือ ่

มี “นวัตกรรม” (Invention) หรือโครงสร้างของสื่ อ/ภาษา

เรื่องผีในสั งคมไทยผ่านทางสื่ อภาพยนตร์หนังผีไทย มีทั้ง

ในด้านทีเคลื่อนไหว และสามารถสร้างสรรค์เปลี่ยนแปลงได้

ความเชือ ่ เกีย ่ วกับเรือ ่ งการมีตวั ตนจริงของผี, ทัง้ ความเชือ ่ ว่า

ซึ่งเป็นสิ่ งที่แปลกใหม่ส�ำหรับผู้ชมหนังผีไทย เพราะแม้จะรู้

ผีมีความน่ากลัว, ผีต้องมีความสั มพันธ์กับคน และผีมีอ�ำนาจ

ว่านี่คือหนังผีไทย แต่ก็ยังต้องการที่จะเข้าไปชมส่ วนที่สร้าง

อันมิอาจคาดเดา รวมถึงการพั ฒนาด้านความทันสมัยของ

สุ นทรียะอันยากคาดเดาที่จะเกิดขึ้นในหนังผีเหล่านี้

สั งคมเมือง ผนวกกับอ�ำนาจของมนุษย์ สุ ดท้ายความเชื่อใน

ลักษณะของภาพยนตร์ไทยในยุคแรกยังมีร่องรอยของ

เรือ ่ งของกฎแห่งกรรม อีกหนึ่งของความเชือ ่ คือ ความเชือ ่ ทาง

มหรสพการแสดงที่คนไทยคุ้นเคยอยู่มาก ความไม่สมจริง

เลือก (alternative believe) คือความเชื่อที่อาจไม่เกี่ยวข้อง

ที่ ป รากฏเป็ น เพราะคนไทยแต่ เ ก่ า ก่ อ นแยกโลกของการ

กับความเชื่อเรื่องผีของคนในสั งคมไทยโดยตรง แต่ก็ท�ำหน้า

แสดงออกจากโลกของความเป็นจริง พระเอกและนางเอก

ทีห ่ มือนเป็นกรอบความคิดทีแฝงอยูในหนังผีเช่นกัน ประกอบ

จึงต้องดูดีโดดเด่นอยู่เสมอ เหมือนโขนละครหรือลิเกเพราะที่


เมื่อหันมามองภาพยนตร์ผีไทยก็จะสั งเกตเห็นคุณค่าที่ไม่มีในที่อ่ืนเมื่อเปรียบเทียบกับ ‘ภาพยนตร์ ผี เ ทศ’ ที่ มั ก เน้ น ไปที ค วามสยองขวั ญ และมี รู ป ลั ก ษณ์ ที่ จ� ำ กั ด ไม่ กี่ ต ระกู ล แต่ ‘ภาพยนตร์ผีไทย’ กลับเป็นศิ ลปะที่ได้รับการสร้างขึ้นจากคลังของทุนวัฒนธรรมความเชื่อที่ ตกผลึกผ่านกาลเวลามาช้านาน อีกทั้งความนิยมของภาพยนตร์ผีในสั งคมสมัยใหม่ของไทยก็ บ่งบอกถึงสภาพความเป็นไปบางด้านเช่นกัน ความเจริญงอกงามของภาพยนตร์ผีตั้งแต่ใน ทศวรรษที่ 2530 อาจแสดงให้เห็นถึงปรากฏการณ์การที่สังคมไทยก�ำลังเดินทางไปสู สังคม แบบทันสมัยก้าวหน้า แต่เต็มไปด้วยความไม่เชื่อมั่น ไม่ม่น ั ใจ ไม่ม่น ั คง สะท้อนความรู้สึกของ ผู้คนในสั งคมทุนนิยม ขณะที่ระบบเศรษฐกิจท�ำให้มนุษย์กลายเป็นเพียงเครื่องจักรที่แปลก แยกกับตัวเองและคนอื่น ความรู้สึกถวิลหาความรักอันเป็นตัวแทนของความสุ ขนิรนัดรกลาย เป็นสิ นค้าขายดีในสื่ อแทบทุกตระกูล ความรักทีป ่ รากฏในภาพยนตร์จงึ เป็นทัง้ การหลีกหนีและ การขบถต่อชีวิตประจ�ำวันอันจ�ำเจ พอเข้าสู่ ทศวรรษ 2540 หลังการพลิกกลับของภาวะ “ภาพยนตร์ไทยตายแล้ว” อันเป็น ผลจากการเสื่ อมถอยของอุตสาหกรรมในระบบเก่า และการปรับเปลียนเพื่อแสวงหาช่องทาง ตลาด ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นคือมีคนท�ำภาพยนตร์คลื่นลูกใหม่มาถึงพร้อมกับความแตกต่าง หลากหลาย แปลกประหลาดซับซ้อนไปจนถึงสั บสนวนเวียนเช่น ภาพยนตร์ของ นนทรีย์ นิมิ บุตร, เป็นเอก รัตนเรือง,วิสิษฐ์ ศาสนเที่ยง, อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ฯลฯ ่ วิเคราะห์ได้วา่ เป็นเพราะวิกฤต จากโครงเรือ ่ งและมิตเิ วลาทีซ ่ บ ั ซ้อนสับสนในภาพยนตร์ นัน ในสั งคมยุคหลังสมัยใหม่สร้างปั ญหาต่อภาวะจิตใจของผูค ้ นเป็นอันมากและการเยียวยาเบือ ้ ง ต้นก็คือ การยอกย้อนต่อสิ่ งทีกดทับตัวเอง เพื่อฟื้ นฟู จิตวิญญาณที่หายไปกลับคืนมา เพราะ ้ ภาพยนตร์จงึ พยายามปฏิเสธกรอบเกณฑ์แต่เดิม แล้วพลิกแพลงด้วยส่ วนผสมทีแปลก ฉะนัน ประหลาดหลากหลาย เพื่อควานหาอรรถรสใหม่อยู่เสมอ ภาพยนตร์เกือบทุกเรื่องน�ำเสนอให้


ท้ายแล้วภาพยนตร์หลากหลายตระกูลอาจไม่แยกขาดออกจากกัน หรือซ้อนเหลื่อมกันไม่ น้อยทั้งนี้ก็ เพราะภาพยนตร์ในแต่ละตระกูลมักจะเชื่อมประสานหรือผสมปนเปเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยังมีการสื บทอดต่อเนื่อง (convention) และการแตกออกในลักษณะนวัตกรรม (invention) ควบคูกัน อันบ่งบอกถึงความไม่หยุดนิ่งตายตัวและแน่นอนว่าความหมายก็จะ ลากเลื่อนไม่แน่นอนด้วยดังเห็นได้จากลักษณะสั มพั นธบทระหว่างภาพยนตร์ผีเอเชียอาทิ ญีป ่ ่ ุน ไทยทีได้รบ ั ความนิยมระดับโลกและได้รบ ั การซือ ้ ลิขสิทธิจ ู ภาพยนตร์ตน ้ ฉบับ ์ ากฮอลลีวด กับภาพยนตร์ฉบับฮอลลีวู้ดสร้างใหม่น้ันพบว่า ภาพยนตร์ผีเอเชียต้นฉบับกับภาพยนตร์ผี ฉบับฮอลลีวู้ดสร้างใหม่จะมีการคงเดิม ดัดแปลง ตัดทอนและเพิ่มเติมได้ในทุกองค์ประกอบ องค์ประกอบที่มีการคงเดิมไว้มากทีสุด คือ จุดเด่นเฉพาะตัวของภาพยนตร์ผีเอเชีย บริบท สั งคม/วัฒนธรรมและสั ญญาการซื้อขายลิขสิ ทธิ์เป็นปั จจัยก�ำหนดลักษณะสั มพันธบท และ กระบวนการผลิตซ�้ำเปิดโอกาสให้มีการเปลี่ยนแปลงภาพยนตร์ต้นฉบับได้อย่างอิสระในทุก องค์ประกอบ และสนับสนุนให้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากต้นฉบับ จุดเด่นเฉพาะตัวของภาพยนตร์ผีเอเชีย อย่างญี่ป่ ุ นหรือไทยเอง ทีเป็นสิ่ งทีฮอลลีวู้ด ้ั คือ รูปแบบทีผจ ต้องการคงไว้นน ี ะปรากฏตัวในสถานทีทใี่ กล้ชด ิ กับชีวต ิ ประจ�ำวันของคนทัว่ ไป ใช้อป ุ กรณ์เทคโนโลยีทม ่ี อ ี ยูแ ่ พร่หลายเป็นช่องทางในการติดต่อหรือท�ำร้ายผูค ้ น และเป็นเรือ ่ ง ราวทีเกีย ่ วข้องกับความรักความสั มพันธ์ของผูค ้ นหรือครอบครัว ซึ่งจุดเด่นเฉพาะตัวดังกล่าว นีเ้ ป็นการปรับเปลีย ่ นพัฒนารูปแบบของผีดัง้ เดิมไปตามยุคสมัย โดยผสานรูปแบบสั งคมสมัย ใหม่เข้ากับความคิดเรือ ่ งผีดง้ั เดิมจนก่อเป็นจุดเด่นเฉพาะตัวขึ้นมา ซึ่งเป็นรูปแบบแปลกใหม่ที่ ไม่เคยมีปรากฏในภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด ในส่ วนภาพยนตร์ผรี ว่ มสมัยของไทย มีการปรับตัวทีส ่ � ำคัญหลายด้าน เช่นด้านมิตขิ องเรือ ่ ง เล่าซึ่งค้นพบว่าเรือ ่ งเล่าเกีย ่ วกับผียค ุ ปั จจุบน ั มีความเหมือนจริงมากขึ้น ไม่ยด ึ ติดกับคติความ เชื่อและต�ำนานโบราณ ตัวละครผีมีลักษณะหลากหลาย และรับเอาบุคลิกของผีต่างชาติเข้า


ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ไทย เป็นเอก รัตนเรือง (2548:71) แสดงทั ศ นะยื น ยั น ว่ า ภาพยนตร์ ที่ คนไทยนิ ย มดู ม ากที่ สุด ในยุ ค ร่ ว มสมั ย คื อ ภาพยนตร์ ผี ภาพยนตร์ แ อ๊ ค ชั่น และ ภาพยนตร์ตลก ขณะงานวิจัยของ กฤษดา เกิดดี (Krisda Kerddee,2010:50-51) ซึ่ ง ส� ำ รวจข้ อ มู ล ภาพยนตร์ ไ ทย ที่ออกฉายระหว่างปี 2548-2552 ชี้ให้เห็นว่า ภาพยนตร์ ตลก และภาพยนตร์ผี คือภาพยนตร์ที่มีปริมาณการออกฉาย มากที สุ ด ในประเทศไทยภาพยนตร์ ผี ไ ทยนอกจากประสบ ความส� ำเร็จในประเทศยังพัฒนารุดหน้าไปไกล ได้รับความ นิยมระดับนานาชาติด้วย ภาพยนตร์ผีเรื่อง ชัตเตอร์กดติด วิญญาณ (2549) ท�ำรายได้สูงมาก ในประเทศบราซิลกว่า 100 ล้านบาท เรื่อง ลองของ (2548) เมื่อไปฉายทีประเทศ มาเลเซียก็สามารถท�ำรายได้ข้ ึน เป็นอันดับ 1 ในเชิงคุณภาพ ภาพยนตร์ เ รื่ อ ง โปรแกรมหน้ า วิ ญ ญาณอาฆาต (2551) สามารถชนะเลิศรางวัล Audience’s Choice Award จาก งานประกวดภาพยนตร์ทอ ี่ น ิ โดนิเซียเมือ ่ ปี 2008 ขณะทีเ่ รือ ่ ง เด็กหอ (2549) และ แฝด(2550) ล้วนเคยได้รับรางวัลจาก เทศกาลภาพยนตร์ระดับนานาชาติมาแล้วทั้งสิ้ น ความส� ำเร็จ มิติของสั มพั นธบท ภาพยนตร์ผีไทยมีการเชื่อมโยงตัว

สม�่ำเสมอ ขณะเดียวกัน เมือ ่ ภาพยนตร์ผไี ทยได้กา้ วเข้าสู่ความ

บทที่หลากหลาย ทั้งตัวบทจากอดีตและปั จจุบัน ทั้งเรื่องจริง

เป็นสากล ตระกูลสื บสวนและ slasher ก็ได้ถูกน�ำมาผสม

และเรื่องแต่ง สามารถน�ำมาผสมผสานกันได้อย่างไม่จ�ำกัด

ผสานมากขึ้นนอกจากนีภ ้ าพยนตร์ผไี ทยยังน�ำเอาสื่ อต่างชนิด

นอกจากนี้ภาพยนตร์ผีไทยยังมีลักษณะเด่นชัดด้านการหยิบ

เข้ามาผสมผสานกันด้วย เช่น การผสมกับรายการโทรทัศน์

ยืม ผสมผสาน และอ้างอิงไปถึงภาพยนตร์เรื่องอื่นๆส่ วนมิติ

คอมพิ วเตอร์กราฟฟิก การ์ตูนภาพ รวมถึงมิวสิ ควีดีโอ

ของตระกูล ภาพยนตร์ผีไทยได้แสดงออกให้เห็นชัดเจนถึง

นี่ เ องอาจเป็ น เหตุ ผ ลให้ ภ าพยนตร์ ผี คื อ หนึ่ งในบรรดา

การผสมผสานท�ำให้กลายเป็นภาพยนตร์ผีที่มีหลากรสชาติ

ภาพยนตร์ ที่ มี ผู้ นิ ย มกั น มาก ผู้ ช มชาวไทยให้ ก ารตอบรั บ

โดยมีตระกูล ตลก รัก และแอ๊คชั่นถูกน�ำมาผสมผสานอย่าง

ภาพยนตร์ผีด้วยดีอย่างต่อเนื่องยาวนานเสมอมา แม้ในบาง

ของภาพยนตร์ผีไทยในยุคปั จจุบัน จึงจัดได้ว่าเป็นก้าวย่าง ที่ส�ำคัญ และถือเป็นก�ำลัง หลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (creative economy) ตามนโยบายรัฐบาลไทย ให้แพร่กระจายสู่ ต่างประเทศได้เป็นอย่างดี ซึ่ งส� ำ หรั บ เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ น้ี มติ ช นสุ ด สั ป ดาห์ (2552:101) รายงานข้ อ มู ล ที่ น่ า สนใจว่ า ในปี 2548 ประเทศไทยอยู่อันดับที่ 17 ในบรรดาที่ประเทศทั้งหมดที่ ส่ งออกผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ โดยมีรายได้จากการส่ งออก


ตัวละครผี ในภาพยนตร์ครั้งอดีต มักเป็นผีในต�ำนานความเชื่อของท้องถิ่น ชุมชน หรือผี

ที่ต้องกลายเป็นผี เพราะมนุษย์โหดร้ายต่อกัน มนุษย์ท�ำร้ายกัน ผีจึงถือก�ำเนิดขึ้นมาไม่ส้ิ นสุ ด

ในสภาพธรรมชาติ เช่น ผีเสื อสมิง ผีตานี และผีตะเคียนซึ่งสอดคล้องกับสภาพสั งคมอดีตที่

อย่างไรก็ตาม แม้ผีทั้งหมดทีกล่าวมา จะแตกต่างกันหลายในสถานภาพ แต่ที่ยังคงเดิม

มนุษย์มีความผูกพันกับชุมชน และใกล้ชิดธรรมชาติ จึงเกรงกลัวและเคารพธรรมชาติ ขณะ

ไม่ต่างไปจากอดีตคือ ทั้งผีในอดีตหรือปั จจุบัน ผีส่วนใหญ่ ยังคงเป็นเพศหญิงเช่นเดิมโดยที่

ที่ตัวละครผีในยุคร่วมสมัย เริ่มมีความสมจริงมากขึ้น ผีอาจมีที่มาจากข่าวคดี อันเป็นที่รู้จัก

ตัวละครผีเพศหญิงเหล่านี้ ยังคงเกีย ่ วข้องกับบทบาทการเป็นแม่ และเมีย ทีต ่ อ ้ งเจ็บปวดรวด

หรือเป็นเหตุการณ์จริง เช่น เรื่องบ้านผีสิง และ ล่าท้าผี รวมถึงตัวละครผียุคใหม่ก็เริ่มมีความ

ร้าวจากสถานะของเพศหญิง เช่น แม่ที่ตายเพราะคลอดลูก ในเรื่อง แม่นาคอเมริกา (2518)

หลากหลายมากขึ้นด้วย เช่นมีท้งั ผีจาก ชนชั้นสู ง (สี่ แพร่ง), ชนชั้นล่าง (ผีช่องแอร์ ), ผีเด็ก

และแม่นาคอาละวาด (2532) แม่ที่จ�ำต้องท�ำแท้ง เช่นเรื่องบุปผาราตรี (2548) และ กระสื อ

(กระสื อวาเลนไทน์), ผีวัยรุ่น (303 กลัวกล้า อาฆาต), ผีมอญ เพศ(queer) (ผีคนเป็น) และ

วาเลนไทน์ (2549)นอกจากบทบาทของแม่แล้ว ผีเพศหญิงก็มก ั เกีย ่ วข้องกับบทบาทของผูเ้ ป็น

ผีแรงงานต่างด้าว (โกยเถอะเกย์) เป็นต้น ตัวละครผีที่แตกต่างและสมจริงมากขึ้นในยุคนี้

เมียด้วย ดังจะเห็นในเรื่อง บ้านผีสิง (2550) เป็นต้นซึ่งอาจกล่าวได้ว่าบทบาทหลักของผีเพศ

สะท้อนถึงการปรับตัวในสั งคมร่วมสมัยที่ชุมชนโลกและสั งคมไทยมีความหลากหลายปะปน

หญิงในเรือ ่ งเล่า คือภาพสะท้อนให้เห็นสภาพการณ์ทางสังคมทีเ่ มียและแม่ มักตกเป็นเหยือ ่ ทาง

กันอยู่ และผี ก็ล้วนมีที่มาจากมนุษย์ เคยมีเลือดเนื้อจริงมาก่อน ผีมิได้มาจากต�ำนานความเชื่อ

สั งคมต้องเจ็บปวดเสมอกระทัง่ ต้องตายกลายเป็นผี และ บรรดาตัวละครผีในภาพยนตร์เหล่า

หรืออยู่ในธรรมชาติที่จับต้องไม่ได้ เช่นเรื่องเล่าผีในอดีต ผีร่วมสมัยที่มีการปรับตัวสู่ ลักษณะ

นี้ ส่ วนใหญ่เมื่อสิ้ นชีวิตไปมักจะกลายเป็นผีที่มีความอาฆาตกลับมาล้างแค้น ก�ำราบคนผิดตัว

ทีสมจริงมากขึ้นนี้ สื่ อถึงการยอมรับความจริงในสั งคมที่ว่า ผีนั้นมีที่มาจากมนุษย์นั่นเอง แต่

ละครผีทั้งหลายในเรื่องเล่าผี จึงท�ำหน้าที่เทศนาสั งคมสั่ งสอนให้มนุษย์เกรงกลัวต่อบาป และ



องค์ประกอบอีกด้านของเรื่องเล่าคือ กาละ (time) ซึ่ง

กาละ ก็คอ ื เทศะ (space) หรือเรียกกันในอีกความหมายก็คอ ื

โดยสามารถสั งเกตได้จากสื่ อทันสมัยอย่างสื่ อวิทยุที่ปัจจุบัน

ก็ มี ก ารปรั บ ตั ว ต่ า งไปจากอดี ต อย่ า งเด่ น ชั ด เรื่ อ งเล่ า ผี ใ น

พื้นที่/ฉาก ส� ำหรับเรื่องเล่าในภาพยนตร์ ผียุคอดีต เทศะ ใน

หันไปจัดรายการผ่านเครือข่ายออนไลน์ แต่บางรายการกลับ

ภาพยนตร์ยุคอดีต ผีไม่สามารถปรากฏตัวตอนกลางวัน พอ

เรือ ่ งเล่ามักเกิดขึ้นในพื้นทีธ ่ รรมชาติในพงไพร ป่ าลึก เช่น เรือ ่ ง

ยังน�ำเสนอเรื่องเล่าเกี่ยวกับ ผี สาง เช่นเดียวกับสื่ อโทรทัศน์

แสงอาทิตย์ส่องสว่าง ผีก็จะต้องหายตัวไป เรื่องเล่าเกี่ยวกับ

นางสมิง พราย (2506) งูผี (2509) และ ปอบผีฟ้า (2534)

ที่ปัจจุบันขยายตัวด้วยการเปิดช่องสั ญญาณผ่านดาวเทียม

ผีในอดีตจึงสั มพันธ์กบ ั ช่วงกาละค�่ำคืนเป็นส� ำคัญ แต่ในเรื่อง

แต่เมือ ่ สภาพสังคมไทยมีการปรับเปลีย ่ นขนานใหญ่ พื้นทีเ่ มือง

มากมาย แต่เนื้อหารายการยังอุดมไปด้วยเรื่องราวเกี่ยวกับ

เล่าสมัยโลกาภิวัฒน์เช่นนี้ บรรดาผีชาย ผีหญิง ต่างออกมา

ที่มากพร้อมด้วยความเจริญด้านเทคโนโลยีที่แพร่กระจายสู่

ภูติ ผี และวิญญาณ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าความเชื่อเรื่องผี สิ ง

หลอกหลอนมนุษย์โดยไม่ต้องหลบแดดและแสงสว่างอีกต่อ

พื้นที่ป่าเขา และชนบทอย่างรวดเร็ว เทศะในเรื่องเล่าผี จึง

อยู่ในโลกทัศน์ของคนไทยอย่างต่อเนื่อง แม้ เทศะ รอบตัว

ไป เช่นผีในเรื่อง โกยเถอะเกย์ และ ผีช่องแอร์ ซึ่งการทีผี

ปรับตัวตามอย่างเห็นได้ชัด ผีในเรื่องเล่าสมัยปั จจุบันจึงไป

ของคนไทยจะทันสมัยมากด้วยเทคโนโลยีแต่โลกทัศน์เรื่องผี

ปรากฏตัวไม่เลือกกาละทัง้ ค�่ำมืดและยามสว่าง ในมุมมองของ

ปรากฏตัวในพื้นทีเ่ มืองเพิ่มขึ้น เช่น ผีในคอนโดมิเนียม (บุปผา

ยังคงแนบแน่นและก้าวเดินไปพร้อมกับความเจริญทางวัตถุ

ผู้ก�ำกับภาพยนตร์เรื่องผีช่องแอร์ ธิวา เมยไธสง (สั มภาษณ์,

ราตรี) ผีในโรงแรม (ผีช่องแอร์) ผีบนเครื่องบิน (สี่ แพร่ง)

ในสั งคมปั จจุบันได้เป็นอย่างดี

5 มกราคม 2554) ระบุวา่ เป็นเพราะต้องการสร้างความแปลก

และผีในโรงภาพยนตร์ (ผีจ้างภาพยนตร์ และ โปรแกรม

การเชื่อมโยงตัวบทหรือสั มพันธบท คือ การการโยงความ

ใหม่ให้ฉก ี ไปจากภาพยนตร์ผใี นอดีต ขณะเดียวกันต้องการสื่อ

หน้า วิญญาณอาฆาต) นอกเหนือจากนั้นผียังสามารถเข้าไป

สัมพันธ์จากตัวบทหนึ่งไปสู่ตวั บทอืน ่ ๆ โดยการเชือ ่ มโยงนี้ อาจ

้ มีความดุรา้ ย แม้ตอนกลางวันก็ยงั ให้เห็นว่า ผีสมัยปั จจุบนนัน

สิ งสถิตในอุปกรณ์และเทคโนโลยีทท ี่ น ั สมัย อย่างอินเตอร์เน็ต

เชื่อมโยงระหว่างตัวบทร่วมสมัยเดียวกัน การเชื่อมโยงกับ

ออกมาหลอกหลอนได้ อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาด้านความ

(คนสั่ งผี) และ โทรศัพท์มือถือ (ผีคนเป็น และ สี่ แพร่ง) รวม

ตัวบทในอดีต เชื่อมระหว่างตัวบทในสื่ อตระกูลเดียวกัน หรือ

เกี่ยวพั นกับสั งคม ผีออกมาหลอกตอนกลางวันแท้จริงแล้ว

ถึงในฟิล์มและในจอภาพยนตร์ (ผีคนเป็นและโปรแกรมหน้า

ต่างตระกูลกันก็ได้ มัลพาส และ เวค (Malpasand Wake,

สะท้อนความปรับเปลี่ยนทางสั งคมด้วยเพราะปั จจุบันเมือง

วิญญาณอาฆาต) ซึ่งหากพิจารณาว่าผีเป็นตัวแทนความเชื่อ

2006:208) ให้ความหมายของสั มพั นธบทว่า คือการที่ตัว

ไทยมีความเจริญทีขยายตัวกว้างขวาง การมาถึงของไฟฟ้ า

ดัง้ เดิม หรือเป็นตัวแทนของของความตายอันเป็นสิ่งธรรมชาติ

บททุกตัวถูกสร้างขึ้นโดยสั มพั นธ์กับตัวบทอื่นๆการวิจัยค้น

และร้านค้าสะดวกซือ้ ทีเปิด 24 ชั่วโมง ท�ำให้เวลาของมนุษย์

การเข้าไปปรากฏตัวของผีในเมือง ก็คือการ รุกกลับ ปรับตัว

หาสั ม พั น ธบท ในภาพยนตร์ ผี ไ ทยครั้ ง นี้ ส ามารถสรุ ป เป็ น

ร่วมสมัย ทัง้ กลางคืนและกลางวัน แทบไม่มค ี วามแตกต่างกัน

และขอคืนพื้นที่ จากธรรมชาติและความเชื่อเดิมในสั งคมไทย

ประเด็นส� ำคัญได้ดังนี้ ภาพยนตร์ผีสัมพันธบทหรือเชื่อมโยง

อรรถจักร สั ตยานุรกั ษ์ (2540:73) กล่าวถึงเวลาในสั งคม

ส่ วนการทีผีสามารถสิ งอุปกรณ์ที่มีเทคโนโลยีช้ันสู งได้อย่าง

กับเหตุการณ์ปัจจุบัน เชื่อมโยงตัวละครหยิบยืมโครงเรื่อง

ไทยปั จจุบันว่า “การบริโภคเวลาของสั งคมบริโภคได้ขยาย

ไร้ข้อจ�ำกัด วิเคราะห์ว่าเป็นเพราะสั งคมปั จจุบันแม้มีการปรับ

และการเชือ ่ มโยงสี สันจากภาพยนตร์เรือ ่ งอืน ่ การเชือ ่ มโยงกับ

ตัวออกไปจนท�ำให้เส้ นแบ่งเวลาตามธรรมชาติของมนุษย์ คือ

ตัวด้านเทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์ ซึ่งส่ งผลกระทบต่อการ

เหตุการณ์ปัจจุบัน มีคุณสมบัติช่วยท�ำให้ภาพยนตร์เรื่องนั้นๆ

มีเวลาที่คงทีให้แก่การท�ำงานและการนอนนั้นเลื่อนเข้าทับกัน

ปรับเปลี่ยนด้านวิถีชีวิตและวิธีคิดของผู้คนในสั งคม แต่น่ัน

มีความร่วมสมัยสามารถ

สนิทจนไม่มีเส้ นแบ่งได้อีกแล้ว”

เป็นเพียงแค่เปลือกนอก แต่เนื้อในคือความคิด และโลกทัศน์

ตอบสนองความสนใจของผูช ้ มในยุคสมัยของตนได้ดี เช่น

ทางสั งคมของคนไทยยังคงเชื่อ และสนเรื่องผีไม่เสื่ อมคลาย

ภาพยนตร์ผย ี ค ุ อดีตเรือ ่ ง แม่นาคอเมริกา (2518) สั มพันธบท

องค์ประกอบอีกด้านของเรื่องเล่าที่มีการปรับตัวพร้อมๆ


ส� ำ หรั บ ภาพยนตร์ ผี ไ ทยร่ ว มสมั ย ก็ มี ก ารเชื่ อ มโยงกั บ

ประกอบสร้างความจริงบางเรื่อง บางประเด็นโดยการเชื่อม

เชื่อถือ ท�ำให้ นางนาก ฉบับนี้ แตกต่างไปจากแม่นาคในอดีต

เหตุการณ์ปัจจุบน ั อย่างน่าสนใจเช่นกัน โดยเฉพาะเหตุการณ์ที่

โยงเหตุการณ์จริงเข้ากับเรื่องแต่งในภาพยนตร์ ภาพยนตร์

ที่เน้นการหลอกหลอนหรือขบขัน ขาดความสมจริง นอกจาก

ประชาชนให้ความสนใจเป็นพิเศษเช่นเรือ ่ งบ้านผีสิง (2550) มี

ถึงแม้เป็นเรื่องจินตนาการก็มิได้ตัดขาดจากโลกความจริง

การหยิบยืมเรื่องในต�ำนาน ความเชื่อ มารื้อสร้าง มาสร้างต่อ

การเชือ ่ มโยงเรือ ่ งราวในภาพยนตร์เข้ากับเหตุการณ์ฆาตกรรม

โดยสิ้ นเชิงการหยิบยืมโครงเรือ ่ งได้แก่การทีภ ่ าพยนตร์นำ� เอา

สร้างซ�้ำ ภาพยนตร์ผีไทยยังมีการหยิบยืมโครงเรื่องมาจาก

่ ศพผูเ้ ป็น จริง กรณีนายแพทย์วส ิ ุ ทธิ์ บุญเกษมสั นติ สั งหารหัน

โครงเรื่องจากแหล่งต่างๆ มาผูกเป็นโครงเรื่องในภาพยนตร์

สื่ อแขนงต่างๆ ด้วย อาทิ จากวรรณกรรม (ผีสามบาท) จาก

ภรรยา เหตุการณ์นี้เป็นคดีสะเทือนขวัญในสั งคมไทยช่วงปี

ส� ำหรับภาพยนตร์ผีไทยในอดีต โดยมากสั มพั นธบทกับ

ละครโทรทัศน์ (ปอบผีฟ้า) จากรายการวิทยุ (ผีชอ ่ งแอร์) รวม

2544 เรื่อง ปอบหวีดสยอง (2544) เชื่อมโยงกับการระบาด

เรื่องราวต�ำนานในท้องถิน ่ หรือความเชื่อที่สืบทอดกันมา เช่น

ถึงจากภาพยนตร์ต่างประเทศ เช่น ล่าท้าผี (2549) หยิบยืม

ของโรคเอดส์ ทย ี่ ากจะรักษาให้หายขาดส่ วน ขุนกระบีผ ่ รี ะบาด

ผีปอบ ผีกระสื อ ผีแม่นาคแต่ส�ำหรับภาพยนตร์ผีร่วมสมัย มี

โครงเรื่องมาจากเรื่อง Death Tunnel (2004) เป็นต้นการ

(2547) มีการเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ระบาดของไข้หวัดนก

ลักษณะการหยิบยืมโครงเรือ ่ ง จากตัวบททีห ่ ลากหลาย และซ�้ำ

เชื่อมโยงตัวละคร ได้แก่การน�ำชื่อหรือบุคลิกตัวละคร ที่มีตัว

และโรคซาส์ทส ี่ ร้างความหวาดกลัวให้กบ ั ชาวไทยในยุคปั จจุบน ั

ซ้อนมากขึ้น มีทง้ั น�ำต�ำนานเก่าแก่มา รือ ้ สร้างใหม่ เช่น นนทรีย์

ตนจริง หรือบุคลิกตัวละครจากโลกจินตนาการมาเป็นส่วนหนึ่ง

อย่างยิ่งทีภาพยนตร์เชื่อมโยงกับเหตุการณ์จริงในปั จจุบัน

นิมิบุตร หยิบยืมต�ำนาน นางนาก อันลือชื่อมาตีความใหม่ โดย

ของภาพยนตร์ เช่น ปอบหวีดสยอง มีการน�ำบุคลิกของนักข่าว

สะท้อนให้เห็นว่า ภาพยนตร์คือปฏิบัติการณ์ทางสั งคมมีการ

เพิ่มมิตอ ิ น ั สมจริง และอ้างอิงหลักฐานทางประวัตศ ิ าสตร์ทน ี่ า่

ชื่อดังคือ คุณสุ ทธิชัย หยุ่น มาล้อเลียนโดยสร้างเป็นตัวละคร


มิ ไ ด้ เ กี่ ย วพั น กั น แต่ ป ระการใด การเชื่ อ มโยงสี สั น จาก

ถึงบางฉากในภาพยนตร์ต่างประเทศเรื่อง The Silence of

หลายสิ่ งอย่าง มาผสมปนเปกัน โดยไม่จ�ำกัดยุคของสิ่ งนั้น

ภาพยนตร์เรื่องอื่น ปั จจุบัน ภาพยนตร์ผีและภาพยนตร์อ่ืน

the Lambs (1991) บางส่ วนของภาพยนตร์เรื่อง โปรแกรม

เช่นภาพยนตร์ผส ี ามารถน�ำตัวบท หรือวัตถุดบ ิ จากต่างยุค ต่าง

ๆ ในยุคร่วมสมัยนี้มักได้รับอิทธิพลจากแนวคิดหลังสมัยใหม่

หน้าวิญญาณอาฆาต(2551) เชือ ่ มโยงไปถึง ภาพยนตร์ผญ ี ป ี่ ่ ุน

สมัย มาผสมกันโดยอาจไม่จำ� ต้องค�ำนึงถึงความกลมกลืน เช่น

อยู่บ้างโดยเฉพาะประเด็นการหวนกลับมาส� ำรวจตรวจสอบ

เรือ ่ ง Ringu(1998) ขณะทีเ่ รือ ่ ง ขุนกระบีผ ่ รี ะบาด ก็เชือ ่ มโยง

เรือ ่ งบ้านผีสิง (2550) มีการน�ำคดีฆาตกรรมอันคึกโครมทีตา่ ง

ตนเอง (self-reflexivity) ซึ่งการส� ำรวจตนเองในวงการ

ไปถึงภาพยนตร์เรือ ่ ง Dawn of the Dead (2004)เป็นต้น ซึ่ง

ยุคต่างสมัยมารวมเข้าไว้ในเรือ ่ งเดียวกัน ส่ วนภาพยนตร์เรือ ่ ง

ภาพยนตร์ อาจหมายถึงการล้อเลียน การยกย่องและการอ้าง

การเชือ ่ มโยงระหว่างภาพยนตร์ดว้ ยกันนอกจากจะสะท้อนถึง

ผีจ้างภาพยนตร์ (2550) มีการน�ำเอา ข่าวดัง กรณีประชาชน

ถึงภาพยนตร์เรื่องอื่นๆ ซึ่ง ดิค(Dick,2005:155) ผู้เขียน

ลักษณะการส� ำรวจสื่ อภาพยนตร์ ด้วยกันเองแล้ว ยังเป็นการ

น�ำภาพยนตร์ไปฉายให้ผชี ม ทีป ่ ่ าค�ำชะโนด จังหวัดอุดรธานี ซึ่ง

ต�ำราด้านภาพยนตร์มากมาย น�ำค�ำว่า reflexivity มาใช้แทน

แสดงถึงการผ่องถ่ายความรู้ ศิลปะ ที่สามารถถ่ายทอดให้แก่

เป็นข่าวดังช่วงต้นทศวรรษ 2530 มาน�ำเสนอเป็นเหตุการณ์

intertexualityเพื่ อเรียกภาพยนตร์ที่ต้องการอ้างอิง เชื่อม

กันได้ในวงการภาพยนตร์ทั่วโลกปั จจุบัน

ส� ำคัญในภาพยนตร์ เรื่องนี้ ซึ่งลักษณะของ สั มพันธบท ที่

โยงหรือสะท้อนถึงอิทธิพลของภาพยนตร์เรื่องอื่นๆ ทีม ่ ต ี อ ่ ตัว

จากข้างต้นจะพบได้ว่า ในภาพยนตร์ผีไทย มีลักษณะ

ไม่จ�ำกัดยุคสมัยนี้ มีความสั มพั นธ์เกี่ยวโยงกับแนวคิดหลัง

เอง ซึ่ง reflexivity นี้ สามารถกระท�ำได้ทงั้ ทางเสี ยง และทาง

ส� ำคัญ 2 ประการ คือ การสลายขอบเขตของยุคสมัย และ

สมัยใหม่ที่นิยมท้าทาย ส� ำรวจ ตรวจดู ยุคสมัยดังที่นักเขียน

ภาพภาพยนตร์ผีร่วมสมัยมีการเชื่อมโยงกับภาพยนตร์เรื่อง

การสลายขอบเขตระหว่างเรื่องจริงกับเรื่องแต่ง โดยการ

รางวัลซีไรท์ อุทิศ เหมะมูล (2552:13)แสดงทัศนะว่า “ภาวะ

อื่น ๆ อาทิ บางฉากในภาพยนตร์เรื่องบ้านผีสิง เชื่อมโยงไป

สลายขอบเขตของยุคสมัย คือการที่ภาพยนตร์มีการน�ำเอา

ยุคหลังสมัยใหม่ที่เราเคลื่อนไหวกันอยู่นี้ เฉพาะอย่างยิ่งใน


นอกจากนี้ ภาพยนตร์ ผี ไ ทยร่ ว มสมั ย ยั ง มี ก ารสลาย ขอบเขตระหว่ า งเรื่ อ งจริ ง กั บ เรื่ อ งแต่ ง ดั ง ปรากฏใน ภาพยนตร์เรื่อง ล่าท้าผี ที่มีการน�ำเรื่องจริง ที่เกิดขึ้นในช่วง สงครามกลางเมืองในประเทศกัมพู ชา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เหตุการณ์สังหารหมูท ่ ค ี่ ก ุ โตรลสเลงมาผูกรวมเข้ากับเรือ ่ งราว ทีผู้ลิตภาพยนตร์แต่งขึ้นมาใหม่ส�ำหรับภาพยนตร์โดยเฉพาะ กระทัง่ เกิดเป็นภาพยนตร์ทม ี่ ส ี ่ วนผสมของเรือ ่ งจริงและเรือ ่ ง แต่งที่ปนเปอยู่ร่วมกันได้อย่างน่าสนใจ ขณะทีเรื่องบ้านผีสิง (2550) มีการน�ำเอาคดีสะเทือนขวัญหลายคดีทเี่ กิดขึ้นจริงใน ประเทศไทย มาผูกเป็นเรื่องราวให้สามารถด�ำเนินไปในเรื่อง เดียวกัน โดยมีเรื่องราวที่แต่งขึ้นมาใหม่เป็นตัวเชื่อมร้อยคดี จากเรื่องจริงทั้งหมด นับเป็นการสลายขอบเขตระหว่างเรื่อง จากการที่ ภ าพยนตร์ ผี ไ ทย มี ลั ก ษณะสั ม พั น ธบทที่ ไ ม่ จ�ำกัดยุค และไม่จ�ำกัดชนิดของความเป็นเรื่องจริงเรื่องแต่ง อาจพิจารณาได้วา่ ส่ วนหนึ่งเกิดจากอิทธิพลของลัทธิพหุนย ิ ม (pluralism) หรือการยอมรับความแตกต่างหลากหลาย ทีเ่ ป็น อุดมการหลักในสั งคมไทยและสั งคมโลกยุคปั จจุบน ั ผนวกกับ อิทธิพลจากแนวคิดหลังสมัยใหม่ ทีเ่ น้นการสลายขอบเขตของ สรรพสิ่ งซึ่ง ธีรยุทธ บุญมี (2552:177) เรียกลักษณะของ หลังสมัยใหม่เช่นนีว้ า่ การย�ำใหญ่ (eclectic) หรือ การมีความ หลากหลายในด้าน กาละ เทศะ ยุคสมัย ปั จจุบันอนาคต และ อดีต ซึ่งอิทธิพลจาก แนวคิดข้างต้น ถือว่ามีบทบาทอยูไ่ ม่นอ ้ ย ต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์ทว่ั โลกรวมถึงต่อกิจการภาพยนตร์


ตระกูลของภาพยนตร์ หรือ genre หมายถึง การแบ่ง

ของแปลกใหม่แต่อย่างใด แต่กลับเป็นสิ่ งที่เคยเกิดขึ้น แล้ว

กลุ่ ม การจ� ำ แนกหมวดหมู่ ข องงานศิ ล ปะต่ า งๆแนวคิ ด นี้ มี

ในภาพยนตร์ไทยทั่วไป เพี ยงแต่การผสมผสานในยุคอดีต

ประวั ติ ศ าสตร์ ย าวนานย้ อ นกลั บ ไปไกลถึ ง ยุ ค สมั ย กรี ก ยั ง

มักจ�ำกัดอยู่ไม่กี่ตระกูล เช่น ตลกและ รัก แต่ครั้นก้าวเข้า

รุ่ ง เรื อ ง โดยอริ ส โตเติ ล ได้ จ� ำ แนกรู ป แบบของ mime-

สู่ ยุคสมัยปั จจุบัน ด้วยสภาพสั งคมที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ ความ

sisไว้เป็นหลายลักษณะ อาทิ lyric, epic และ dramatic ซึ่ง

หลากหลาย ประกอบกับอิทธิพลของภาพยนตร์ต่างประเทศ

ปรากฏอยู่ในภาพยนตร์ส่ื อชื่อ Poetics อันเป็นผลงานด้าน

บางเรื่อง ท�ำให้ภาพยนตร์ผีไทยมีการเปิดรับตระกูลของภาพ

วิจารณ์วรรณคดีชนิดแรกๆ ทีม ่ ก ี ารบันทึกกันไว้ในวัฒนธรรม

ยนตร์ใหม่ๆ เข้ามาผสมผสานมากขึ้น และมีบางตระกูลของ

ตะวันตกในแวดวงภาพยนตร์ มี การน�ำตระกูลของภาพยนตร์

ภาพยนตร์ทแ ี่ ทบไม่เคยถูกน�ำมาผสมกันมาก่อนเลย ซึ่งได้แก่

มาใช้แบ่งหมวดหมู่ภาพยนตร์อย่างยาวนาน โดยตระกูลของ

ตระกูล slasher ขณะที่ตระกูลสื บสวน (detective) ก็ได้ถูก

ภาพยนตร์ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งแพร่ ห ลายมี อ าทิ สยอง

น�ำมาผสมอย่างกว้างขวางมากกว่ายุคสมัยใดๆ ส� ำหรับการมา

ขวัญตลก แอ๊คชัน และแฟนตาซี เป็นต้น การแบ่งหมวดหมู่

ถึงของตระกูลของภาพยนตร์ทง้ั สองนี้ ส่วนหนึ่งเกิดจากการก

ภพยนตร์เป็นตระกูลต่างๆ เช่นนี้มีการสื บสานต่อเนื่องกัน

ระแสความนิยมอย่างท่วมท้นของภาพยนตร์ตา่ งประเทศเรือ ่ ง

ยาวนาน จนเป็นส่ วนหนึ่งของระบบอุตสาหกรรมภาพยนตร์

Scream (1996) และ The SixthSense (1999) ภาพยนตร์

โดยสมบู ร ณ์ อย่ า งไรก็ ดี ว งการภาพยนตร์ ใ นยุ ค ร่ ว มสมั ย

เรื่องแรกเป็นตระกูลสยองขวัญแนวทาง slasher ส่ วนเรื่อง

นี้ ได้มีความพยายามในการสลายขอบเขตที่เคยชัดเจนของ

ทีส ่ องเป็นภาพยนตร์ผผ ี สมสื บสวน ซึ่งภาพยนตร์ทง้ั สองเรือ ่ ง

ภาพยนตร์แต่ละตระกูลลง เพื่อมิให้ภาพยนตร์ต้องถูกจ�ำกัด

นี้ได้รับความนิยมมากจากผู้ชมทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทย

ตัวเองอยูก ่ บ ั แนวทางใดแนวทางหนึ่ง และสามารถสร้างความ

ด้วย กฤษดา กฤษณะเศรณี (2551:25-26) ระบุว่า การมา

สดใหม่ให้เกิดแก่ภาพยนตร์ได้มากขึ้นซึ่งวิธีการที่ส�ำคัญวิธี

ถึงของภาพยนตร์เรื่อง Scream (1996) และ The Sixth

หนึ่งคือการน�ำตระกูลต่างๆ มาผสมผสานเข้าด้วยกันซึ่ง แดน

Sense (1999) ในช่วงเวลาปลายยุค 90 ท�ำให้ผู้ชมชื่นชอบ

ไซเกอร์ (Dancyger,2001:74) แสดงทัศนะชี้ชัดว่า “สิ่ งที่

กันมาก ภาพยนตร์สยองขวัญกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง

เรารู้ดีในขณะนี้ก็คือว่า การผสมผสานระหว่างตระกูลของ

รวมถึงสร้างกระแสการตื่นตัวให้แก่วงการภาพยนตร์สยอง

ภาพยนตร์ (mixing genre) ก�ำลังได้รบ ั ความนิยม และกลาย

ขวัญไทยด้วย ส่ วน นี (Knee ,2550:97) ระบุว่า The Sixth

เป็นแนวทางหลัก (mainstream) ของภาพยนตร์ในยุคปั จจุ

้ มีอท Sense นัน ิ ธิพลต่อภาพยนตร์ในภูมภ ิ าคเอเชีย อย่างมาก

บนั ”จากการวิจัย ส� ำรวจภาพยนตร์ผีไทย พบว่า แท้ที่จริง

ทั้งในประเทศไทย ญี่ป่ ุน เกาหลีใต้ และ ฮ่ องกง

แล้วลักษณะการผสมผสานตระกูลของภาพยนตร์ มิได้เป็น


อย่างไรก็ดี มีข้อน่าสั งเกตว่า เมื่อภาพยนตร์ผีไทยปรับตัวผสมผสานกับตระกูลสื บสวน

ภาพยนตร์ผีไทยยุคปั จจุบันยังนิยมที่จะมีผสมผสานแนวทางภาพยนตร์อย่างหลากหลาย ไม่มี

มากขึ้น ภาพยนตร์ที่มีส่วนผสมดังกล่าวจะได้รับการตอบรับอย่างดีในต่างประเทศดังจะเห็น

ขอบเขตจ�ำกัด เป็นการผสมผสานทีท ่ วีความเข้มข้นขึ้นมาก เข้าลักษณะของ ปรากฏการณ์สลาย

ได้วา่ ภาพยนตร์ผผ ี สมสื บสวนเรือ ่ ง โปรแกรมหน้าวิญญาณอาฆาต, ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ,

ขอบเขตตระกูลของภาพยนตร์ (blurring of genre) ดังกรณีของภาพยนตร์เรื่องปอบหวีด

แฝด และ เด็กหอ ล้วนประสบความส� ำเร็จในต่างประเทศอย่างดีมาก ซึ่งอาจวิเคราะห์ได้ว่า

สยอง, ขุนกระบี่ผีระบาด และ คนสั่ งผี ที่มีการน�ำตระกูลของภาพยนตร์หลากหลาย อย่าง ผี

ตระกูลสื บสวน มีลักษณะที่เป็นสากลค่อนข้างสู ง ผู้ชมต่างชาติเข้าใจและรับรู้ขนบเรื่องแนวนี้

ตลก แอ๊คชั่น และแฟนตาซี มาผสมกลมกลืนเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งผู้ก�ำกับภาพยนตร์เรื่อง คนสั่ ง

ดีจึงมีความนิยมในการเสพชม โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับเรื่องผีในต�ำนานความเชื่อที่มีลักษณะ

ผี ธิวา เมยไธสง (สั มภาษณ์, 5 มกราคม 2554) กล่าวถึงแนวคิดการผลิตภาพยนตร์ ของ

ความเป็นท้องถิน ่ ากจึงไม่ได้รบ ั ความส� ำเร็จในตลาดต่างประเทศมากนักและนอกจากการ ่ อยูม

ตนว่า “ตอนแรก ต้องการท�ำภาพยนตร์ผผ ี สมตลก ต่อมาต้องการน�ำเสนอว่าเป็นแฟนตาซี ต่อ

เปิดรับ ตระกูลของภาพยนตร์ใหม่ โดยได้รับอิทธิพลจากภาพยนตร์เรื่องดังของต่างประเทศ

มาก็กลายเป็นแอ๊คชั่น สรุปว่าเรามีอะไรก็ใส่ ๆ เข้าไป” อย่างไรก็ตาม ผลจากการผสมผสาน


ดั ง นั้ น ภาพยนตร์ ใ นยุ ค ปั จจุ บั น หลายเรื่ อ งๆ จึ ง ถู ก จั ด

การแสดงที่น�ำเอาศิลปะหลายแขนงมาหลอมรวมกัน” ส� ำหรับ

ให้อยู่ใน ตระกูล มากกว่าหนึ่งตระกูล ซึ่งลักษณะความไม่

การผสมตระกูลของสื่ อต่างๆ ในมุมมองของผูผ ้ ลิตภาพยนตร์

ชั ด เจนของตระกู ล ในภาพยนตร์ ผี ไ ทย มิ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น เฉพาะ

อย่าง นนทรีย์ นิมิบุตร (สั มภาษณ์, 8 ธันวาคม 2553) มี

ในวงการภาพยนตร์ ไทยเท่ า นั้ น แต่ เ กิ ด ขึ้ นสอดคล้ อ ง

ทัศนะว่า การผสมตระกูลของสื่ อในภาพยนตร์ ช่วยท�ำให้เกิด

กั บ วงการภาพยนตร์ ในระดั บ สากลด้ ว ยดั ง ที่ ส โตคส์

ความหลากหลายในด้านเทคนิค ไม่เกิดความซ�้ำซากจ�ำเจ เมื่อ

(Stokes,2003:79) ตั้งข้อสั งเกตว่า รูปแบบของตระกูลใน

จะท�ำสิ่ งหนึ่ง สิ่ งใด ก็สามารถเลือกหยิบสื่ อที่เหมาะสมนั้น

ปั จจุบัน มีความน่าสนใจมาก เพราะมีลักษณะก�ำกวม ยากใน

มาใช้ ดีกว่าการใช้ส่ื อในรูปแบบเดียว การน�ำสื่ อหลายชนิด

การจ�ำแนก ว่าเข้าข่ายเป็นตระกูลใดกันแน่ อย่างไรก็ดี หาก

มาผสมกันช่วยตอบโจทย์ในด้านการผลิต ก่อให้เกิดเทคนิค

พิ จารณาถึงลักษณะอันผสมผสานที่เกิดขึ้น ในภาพยนตร์ผี

ใหม่ๆ เกิดผลทางภาพใหม่ๆ ให้แก่ผช ู้ มหากพิจารณาโดยภาพ

ไทย เปรียบเทียบกับบริบททางสั งคมแล้ว จะพบว่า ภาพยนตร์

กว้าง การทีภาพยนตร์ผีน�ำสื่ อตระกูลอื่น ๆ มาผสมผสานเข้า

ก็คอ ื ภาพฉายของสั งคมไทยร่วมสมัยทีม ่ ล ี ก ั ษณะของการเป็น

ด้วยกัน นับเป็นคุณปู การแก่วงการภาพยนตร์และสื อมวลชน

สั งคมลูกผสม มีผค ู้ นทีแ ่ ตกต่างกันมีวฒ ั นธรรมทีแ ่ ตกต่างกัน

โดยทั่วไป เพราะสะท้อนให้เห็นว่าสื่ อนานาตระกูลที่แตกต่าง

และมีการผสมผสานกลมกลืนวัฒนธรรมอันหลากหลายอยู่

กัน สามารถส่ องทางให้แก่กันได้ สื่ อที่แตกต่างไม่จ�ำเป็นต้อง

ภายใต้สังคมเดียวกัน นอกจากภาพยนตร์ผีไทยปั จจุบันจะมี

แยกขาดออกจากกัน แต่สามารถผสมผสานกลมกลืน และส่ ง

การผสมผสานกับตระกูลของภาพยนตร์ทไี่ ม่จำ� กัด ภาพยนตร์

เสริมประสิ ทธิภาพแก่กน ั ได้ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ เมธี

ผียุคนี้ ยังนิยมผสมข้ามชนิดของสื่ อด้วย เช่นมีการน�ำเอารูป

ด้านการวิจารณ์ ศิลปะอย่าง เจตนา นาควัชระ (2546:52) ที

แบบรายการโทรทัศน์มาผสมกับสื่ อภาพยนตร์ ซึ่งการผสม

ระบุไว้วา่ ผูท ้ เี่ ข้าใจทีจะใช้หลักการของสื่ อส่ องทางให้แก่กน ั มา

ผสานข้ามสื่ อนี้ เจตนา นาค-วัชระ (2549:80) ให้ทัศนะว่า

เสริมค่าให้แก่แนวคิด ศิลปะส่ องทางให้แก่กน ั ก็คงจะเป็นผูที่

“ยุคใหม่เป็นยุคของเทคโนโลยี ผลงานศิ ลปะที่น�ำออกเผย

สร้างคุณประโยชน์ให้แก่วงการศิลปะร่วมสมัยได้ไม่น้อย ”

แพร่ต่อมหาชนจึงมิใช่ “งานต้นแบบ” ในความหมายอย่างที่มี ในอดีต แต่เป็นการใช้เทคโนโลยีในการผลิต ดังเช่นในกรณี ของ video art หรือดนตรีตระกูลอิเล็คทรอนิกส์ (electronic music) ดังนั้นความสามารถในการน�ำองค์ประกอบ อันหลาก หลายมาตัดต่อและหลอมรวม จึงถือได้ว่าเป็นส่ วนหนึ่งของ กระบวนการสร้างสรรค์ ภาพยนตร์ก็คงจะต้องได้รั บ การ พิจารณาในลักษณะเช่นเดียวกันเพราะเป็นผลงานของผูก ้ ำ� กับ


การปรับตัวของภาพยนตร์ผีร่วมสมัยในมิติส�ำคัญทั้ง3 ด้าน มีพัฒนาการทีแ ่ ตกต่างไปจากภาพยนตร์ผย ี ค ุ อดีตอย่าง เด่นชัด ในมิตแ ิ ห่งเรือ ่ งเล่า ตัวละครผีจะมีลก ั ษณะหลากหลาย มากขึ้นกว่าอดีต เทศะหรือพื้ นที่ในเรื่องเล่ามีลักษณะปรับสู่ ความเป็นเมืองมากกว่าเดิมขณะทีก ่ าละหรือเวลาในภาพยนตร์ ผีไม่ได้ออกมาหลอกหลอนเฉพาะยามมืดค�่ำอีกต่อไป แต่มา ได้ทุกเวลา ด้านมิติแห่งสั มพันธบทภาพยนตร์ผีร่วมสมัยจะมี ลักษณะทีเ่ กาะเกีย ่ วร้อยรัด กับตัวบทอันแตกต่างหลากหลาย ทัง้ ตัวบทประเภทเรือ ่ งจริง และเรือ ่ งแต่ง อีกทัง้ ยังมีการผสม กลมกลืนกันอย่างซับซ้อนในลักษณะการย�ำใหญ่ นอกจาก นี้ภาพยนตร์ผีไทยร่วมสมัยยังนิยมที่จะพาดพิ ง หรืออ้างอิง ไปยังงานศิลปะ ตัวศิลปิน และภาพยนตร์เรื่องอื่นๆ ในเวลา เดียวกันด้วยส่ วนมิติแห่งตระกูลภาพยนตร์ผีไทยมีปรับตัว ด้านการผสมผสานกับตระกูลอืน ่ ๆ ทีห ่ ลากหลายมากขึ้น อดีต ตระกูลทีถ ่ ก ู น�ำมาผสมผสานกับภาพยนตร์ผอ ี ยูเ่ ป็นประจ�ำ คือ รัก ตลก และแอ๊คชั่น


ภาพยนตร์ผีไทยปั จจุบัน มีการปรับตัวตามกระแสสากลมากขึ้น ตระกูลภาพยนตร์ที่ได้ รับความนิยมในต่างประเทศมักถูกหยิบน�ำเอามาผสมผสานเข้ากับภาพยนตร์ผีไทยมากขึ้น และนอกจากนี้ ภาพยนตร์ผีไทยร่วมสมัยยังนิยมผสมผสานกับสื่ อที่ต่างชนิดกันด้วย อาทิ การผสมผสานกับรูปแบบรายการโทรทัศน์ ผสมสื่ อคอมพิวเตอร์ กราฟฟิก ภาพวาดการ์ตูน รวมถึงมิวสิ ควีดีโอด้วย เหล่านี้เองเผยให้เห็นว่า ภาพยนตร์ผีไทยมีการปรับตัวตามสั งคม และวัฒนธรรมร่วมสมัยที่เปิดรับความหลากหลาย ปฏิเสธการแบ่งแยกสรรพสิ่ ง เน้นการ สลายขอบเขตและข้อจ�ำกัดของสิ่ งต่างๆ รวมทั้งมีความเปิดกว้างในด้านของการผสมผสาน วัฒนธรรมอันหลากหลายเพิ่มมากขึ้นเพื่อตอบสนองถึงการก้าวข้ามพ้นเขตของความต้องการ ความถวิลหา และความอยากได้ใคร่มี ผสมผสานเข้ากับการใช้ชวี ต ิ ทีเ่ ป็นอยูต ่ ามกระแสอันไหล บ่าของวัฒนธรรมทีเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่ง การผสมผสานสิ่ งต่างๆเหล่านี้อาจจะก�ำลัง สะท้อนบางอย่างของสั งคมและชีวิต สะท้อนให้เห็นถึงภาพมายาที่หลอมรวมแบบไร้ขอบเขต กับชีวิตจริง สะท้อนฝั นที่เปรียบเสมือนกิเลสที่ไม่เคยมอดหายไปจากใจของมนุษย์ได้เลย


เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) เทรนด์ใหม่ ตามกระแสโลก

tural Heritage) เป็ น กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ

ประเทศไทยได้ผา่ นยุคของการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติ มาแล้ว และในปั จจุบันก�ำลังอยู่ในยุคของการลงทุน ที่มีการ แย่งชิงพื้ นที่การลงทุนและการส่ งออก ในอนาคตถ้าไม่พูด ถึง เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นเทรนด์ใหม่ของโลก ทีจ ่ ะช่วย สร้าง “มูลค่าเพิ่ม” และแปรเป็นรายได้มหาศาลให้กับสิ นค้า บริการ และอุตสาหกรรมได้ไม่ยาก ก็ลา้ สมัยเต็มที วันนีเ้ รามา รูจ ้ ก ั เศรษฐกิจสร้างสรรค์ หรือ Creative Economy ตามทัน กระแสโลก ว่าเป็นมาอย่างไร

และสภาพสั งคม 2) ประเภทศิลปะ (Arts) เป็นกลุม ่ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ บนพื้นฐานของศิลปะ และวัฒนธรรม 3) ประเภทสื่ อ (Media) เป็นกลุ่มสื่ อผลิตงานสร้างสรรค์ ที่ส่ื อสารกับคนกลุ่มใหญ่ 4) ประเภทสิ นค้า และบริการที่ตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าที่แตกต่างกัน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ - กลุ่มการออกแบบ

เศรษฐกิจสร้างสรรค์ หรือ Creative Economy (CE) มี

- กลุม ่ New Media (เช่น ซอฟต์แวร์ และเนือ ้ หาดิจต ิ อล)

ความหมายที่หลากหลายแนว เช่น การสร้างมูลค่าที่เกิดจาก

- กลุ่มบริการทางความคิดสร้างสรรค์ (Creative Ser-

ความคิดของมนุษย์ หรือ

แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

บนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้ การศึกษา การสร้างสรรค์

vices) เช่น บริการทางโฆษณา นันทนาการ งานวิจัยและ พัฒนา

งาน และการใช้ทรัพย์สินทางปั ญญา ที่เชื่อมโยงกับรากฐาน

สรุปนิยามของเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ทางวัฒนธรรม การสั่ งสมความรู้ของสั งคม และเทคโนโลยี/

ผู้ เ ขี ย นสรุ ป นิ ย ามของ “เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ ” ได้ ว่ า

นวัตกรรมสมัยใหม่ มีการแบ่งประเภทกันดังนี้ 1) ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม (Heritage or Cul-

เป็นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ด้วยการสร้างสรรค์สินค้าและ บริการที่เกิดจากฐานความรู้ และความคิดสร้างสรรค์ อัน


ยุทธศาสตร์การส่ งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิ ทัศน์ ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ หรืองานสร้างสรรค์ที่เป็นภาพ หรือเสี ยงหรือทัง้ ภาพและเสี ยงซึ่งสามารถนาํ มาฉายต่อกันได้ ได้แก่ ภาพยนตร์ แอนิเมชั่น ละครชุด เกม เพลงคาราโอเกะ มิวสิ ควีดีโอ และการออกแบบสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ในรูปแบบ ต่างๆ เป็นงานบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่สมบูรณ์ที่สุดทาง โสตทัศน์ และเป็นมรดกด้านวัฒนธรรมของมนุษยชาติ ซึ่ง ภาพยนตร์ แ ละวี ดิ ทั ศ น์ มี บ ทบาทสํ าคั ญ ในฐานะเป็ น สื่ อ ประเภทบันเทิงที่มีอิทธิพลทางความคิดและพฤติกรรมของ ผู้คนในสั งคม สามารถสร้างสรรค์กระแสสั งคมให้เป็นไปใน ทิศทางที่ต้องการ เพราะสามารถเข้าถึงบุคคลได้ทุกเพศทุก วัยได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว รวมทั้งเป็นเครื่องมือสําคัญ ในการเผยแพร่แลกเปลีย ่ นวัฒนธรรม เสริมสร้างภาพลักษณ์ ประเทศ รวมถึงส่ งเสริมการตลาดให้แก่สินค้าและบริการของ อุตสาหกรรมวัฒนธรรมสรา้งสรรค์ ซึ่งสามารถสร้างรายได้ ทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศต่างๆ ได้อย่างมากมาย


การส่ งเสริ ม อุ ต สาหกรรมภาพยนตร์ แ ละวี ดิ ทั ศ น์ ข องภาครั ฐ ไทย นั บ ตั้ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จจุ บั น มี ค วาม เปลีย ่ นแปลงไปอย่างมาก กล่าวคือปรับเปลีย ่ นจากแนวคิดใน การควบคุมสื่ อ และการคัดกรองภาพยนตร์ที่จะนําออกเผย แพร่ (Censorship) ในยุคอดีตสู่ แนวคิดการส่ งเสริมสื่ อภาย ใต้พระราชบัญญัตภ ิ าพยนตร์และวีดท ิ ศ ั น์ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยนาํ ระบบการจัดระดับความเหมาะสมในการชมภาพยนตร์และวีดิ ทัศน์ (Rating System) ทําให้สถานการณ์ดา้ นการตลาดของ อุตสาหกรรมฯ เติบโตขึ้นอยา่งรวดเร็ว บุคลากรในวิชาชีพมี ความสามารถทักษะ และโอกาสในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาผลงานสู งขึ้น ประชาชนได้มโี อกาสชมภาพยนตร์ที่ มีความหลากหลายและเหมาะสมกับวัยของผูช ้ มมากขึ้น ขณะ เดียวกันประเภทของวัสดุในการสร้างภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ก็เปลีย ่ นแปลงไปตามเทคโนโลยี จากฟิลม์ภาพยนตร์ ๑๖ มม. ๓๕ มม. ๗๐ มม. เทปเบต้า แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี จนกระทั่งถึง การปรับเปลีย ่ นครัง้ ใหญ่โดยใช้เทคโนโลยีดาวน์โหลดไฟล์ดว้ ย ความเร็วอินเทอร์เน็ตสู ง อย่ า งไรก็ ต าม ในช่ ว งก่ อ นการประกาศใช้ พ ระ ราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ผู้ประกอบ การในอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ต้องขับเคลื่อน อุตสาหกรรมฯ ตามศักยภาพ โดยมีการสนับสนุนจากภาครัฐ ไม่มากเท่าที่ควร


ให้เป็นสื่ อสํ าคัญในการบ่มเพาะความคิด และพฤติกรรม

การเผยแพร่การบริโภค การร่วมลงทุน รวมทัง้ การอนุรก ั ษ์ส่ื อ

ในลักษณะสร้างสรรค์ของเยาวชนและประชาชน เสริมสร้าง

ภาพยนตร์วด ี ท ิ ศ ั น์และสิ่งเกีย ่ วเนือ ่ งกับภาพยนตร์และวีดท ิ ศ ั น์

ภูมค ิ ม ุ้ กันในการรูเ้ ท่าทัน และเลือกรับปรับใช้การดาํ เนินชีวต ิ ใน

กระทรวงพาณิชย์ รับผิดชอบภารกิจด้านการส่ งเสริม

โลกยุคปั จจุบน ั ได้อย่างเหมาะสม รวมทัง้ ผลักดันอุตสาหกรรม

การตลาดการจําหน่ายการเจรจาการค้า และปกป้ องคุม ้ ครอง

ภาพยนตร์ แ ละวี ดิ ทั ศ น์ ข องไทยให้ เ ป็ น อุ ต สาหกรรมหลั ก

ทรัพย์สินทางปั ญญาในผลงานภาพยนตร์และวีดิทัศน์

ในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศ โดยมุ่ ง

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รับผิดชอบภารกิจด้าน

พัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมทั้งโครงสร้างพื้นฐาน บุคลากร

การกํากับดูแลและส่ งเสริมการถ่ายทําภาพยนตร์ตา่ งประเทศ

เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ การผลิตการถ่ายทํา การ

ในประเทศไทย

ตลาด การบริโภค การร่วมลงทุนระหวา่งประเทศ การพัฒนา

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร รับผิด

กฎหมาย ตลอดจนการปกป้ องคุ้มครองทรัพย์สินทางปั ญญา

ชอบภารกิจดา้นการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ

อี ก ด้ ว ย ทั้ ง นี้ หน่ ว ยงานหลั ก ที่ รั บ ผิ ด ชอบและบู ร ณาการ

ในการเข้าถึงและใช้โปรแกรมซอฟต์แวร์เพื่ อการผลิตดิจิทัล

ความร่วมมือในการส่ งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิ

คอนเทนท์ (Digital Content) และส่ งเสริมการเจรจาเพื่อ

ทัศน์ของไทย ประกอบด้วยกระทรวงวัฒนธรรม กระทรวง

เผยแพร่ผลงานดิจิทัลคอนเทนท์ไปยังต่างประเทศ

พาณิชย์ กระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬากระทรวงเทคโนโลยี

กระทรวงการต่างประเทศ รับผิดชอบภารกิจด้านการ

สารสนเทศและการสื่อสาร และกระทรวงการต่างประเทศโดย

สนับสนุน การใช้ส่ื อภาพยนตร์และวีดิทัศน์เป็นเครื่องมือใน

แต่ละหน่วยงานมีภารกิจที่สําคัญ ดังนี้

การเสริมสร้างและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยว

กระทรวงวัฒนธรรม รับผิดชอบภารกิจการกํากับดูแล การประกอบกิจการการพัฒนาบุคลากรการส่ งเสริมการผลิต

สิ นค้า บริการ รวมภาพลักษณ์ เกียรติภูมิของประเทศ และ สร้างความสั มพันธ์อันดีกับต่างประเทศ


๙.๔ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่ งเสริมความร่วมมือในการลงทุน

และวีดิทัศน์ระหว่างประเทศ

สถานที่ที่มีช่อ ื เสี ยงด้านต่างๆ ของประเทศไทย รวมถึงการให้

ระหว่ า งประเทศรวมธุ ร กิ จ ถ่ า ยทํ า ภาพยนตร์ ต่ า งประเทศ

(๑) ส่ งเสริมการจัดทําแผนความร่วมมือในการพั ฒนา

บริการที่สะดวก รวดเร็ว เช่น การประชาสั มพันธ์ผ่านสื่ อ หรือ

ในประเทศไทยเพื่ อ เป็ น การขยายความเจริ ญ เติ บ โตของ

อุ ต สาหกรรมภาพยนตร์ แ ละวี ดิ ทั ศ น์ ร่ ว มกั บ ต่ า งประเทศ

อุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ให้มีการลงทุนในขนาด

โดยส่ งเสริมให้มีการร่วมมือจัดทําแผนพั ฒนาอุตสาหกรรม

(๒) จัดทํามาตรการส่ งเสริมภาพยนตร์ต่างประเทศใน

ที่ใหญ่ข้ ึน และมีขอบเขตการตลาดที่ขยายออก ไปสู่ วงกว้าง

ภาพยนตร์ของไทยร่วมกับต่างประเทศ เช่น กําหนดแนวทาง

ประเทศไทย โดยส่ งเสริมธุรกิจถ่ายทาํ ภาพยนตร์ตา่ งประเทศ

ทั่วโลก จึงมีความจําเป็นต้องส่ งเสริมความร่วมมือการลงทุน

ในการพั ฒนาอุตสาหกรรมฯ ของไทยร่วมกับกลุ่มประเทศ

ตลอดจนธุรกิจPost Production ภาพยนตร์และวีดท ิ ศ ั น์ตา่ ง

ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์กับต่างประเทศ โดย

อาเซียน เป็นต้น

ประเทศในประเทศไทยการอํานวยความสะดวกและให้สิทธิ

การเข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและต่างประเทศ

การร่วมกันกับกลุม ่ ผูป ้ ระกอบการทีเ่ กีย ่ วข้องจัดทําแผนความ

(๒) ส่ งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิ

ร่วมมือในการพั ฒนา และการเจรจาจัดทําความตกลงร่วม

ทัศน์ร่วมกับต่างประเทศ โดยดําเนินการเจรจาประสานความ

มือในการลงทุนในรูปแบบต่างๆ ตลอดจนส่ งเสริมให้คณะ

ร่วมมือกับกลุม ่ ผูป ้ ระกอบกิจการด้านภาพยนตร์และวีดท ิ ศ ั น์ใน

(๓) สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารแก้ ก ฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง หรื อ

ถ่ายทําชาวต่างประเทศเข้ามาถ่ายทําภาพยนตร์และการผลิต

ประเทศต่างๆ เจรจาแนวทางความร่วมมือระหว่างกัน และจัด

กฎหมายที่สนับสนุนการเข้ามาลงทุนถ่ายทําภาพยนตร์ต่าง

วีดิทัศน์ รวมไปถึงการใช้บริการที่เกี่ยวเนื่องกับกระบวนการ

ทําความตกลงร่วมมือในลงทุนของอุตสาหกรรมภาพยนตร์กบ ั

ประเทศในประเทศไทยและการผลิตงาน Post Production

ผลิตภาพยนตร์และวีดิทัศน์ในประเทศไทย เพื่ อสร้างราย

ต่างประเทศ (Co – Production) ในรูปแบบต่างๆ

ตา่งประเทศในประเทศไทย อาทิ กฎระเบียบด้านการเงินการ

ได้เข้าประเทศเพิ่ มมากขึ้น และสามารถกระจายรายได้ไปสู้ ประชาชนอย่างทัว่ ถึง โดยมีกลยุทธ์และแนวทาง/มาตรการดํา เนินงานที่สําคัญ ดังนี้ ๙.๔.๑ การส่ งเสริมการร่วมลงทุนสร้าง ผลิตภาพยนตร์

๙.๔.๒ การส่ งเสริมให้ต่างชาติเข้ามาผลิตภาพยนตร์และ วีดิทัศน์ในประเทศไทย (๑) ส่ งเสริมการจัดกิจกรรมประชาสั มพันธ์ประเทศไทย เป็นสถานทีถ ่ า่ ยทําภาพยนตร์ตา่ งประเทศ โดยประชาสั มพันธ์

ประโยชน์ต่างๆ เช่น การจัดให้มีมาตรการจูงใจทางการเงิน การคลังและภาษี

คลัง กฎหมายว่าด้วยการทํางานของคนต่างดาวกฎหมายว่า ด้วยการร่วมวางแผนพัฒนาธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับภาพยนตร์ ต่างประเทศ เป็นต้น



การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมในระดับภาพรวมของวงการ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ เพื่อให้เห็นปั จจัยทั้งหมด ดังต่อไปนี้ จุ ด แข็ ง (S) ปั จจั ย ที่ เ อื้ อ ต่ อ การส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ได้แก่ ๑) ประเทศไทยมีต้นทุนในการผลิตและค่าบริการอื่นๆ ในอั ต ราที่ จู ง ใจ ให้ ผู้ ป ระกอบการมาประกอบกิ จ การด้ า น อุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ๒) ประเทศไทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางการให้ บ ริ ก ารตาม กระบวนการหลังการถ่ายท าภาพยนตร์ในภูมิภาคเอเชียที่ ส� ำคัญ ๓) ประเทศไทยมีบุคลากรและอุปกรณ์ด้านกระบวนการ ผลิตภาพยนตร์ที่มีศักยภาพสู ง เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ ๔) ธุรกิจภาพยนตร์ไทยมีผู้ประกอบการรองรับการผลิต ได้ตลอดครบทุกห่วงโซ่ ๕) ประเทศไทยเป็นตลาดหลักของวีดิทัศน์ในภูมิภาค

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยอุตสาหกรรมเกมมีอัตราการ เติบโตและบริโภคสู งที่สุด ทั้งเกมอาเขต เกมคอนโซล เกม ออนไลน์ และเกมบนโซเชียลเน็ตเวิร์ค ๖) ภาพยนตร์ ไ ทยหลายเรื่ อ งได้ รั บ รางวั ล ในระดั บ นานาชาติ ท าให้ผก ู้ ำ� กับไทยได้รบ ั ความชือ ่ ถือและอุตสาหกรรม ภายนตร์ไทยมีช่อ ื เสี ยงในระดับนานาชาติ ้ ๗) ประเทศไทยมีบค ุ ลากรทีเ่ ป็นนักสร้างสรรค์ผลงานชัน น าในการน�ำเสนอเนื้อหาทีน ่ า่ สนใจทัง้ สื่ อโฆษณาและเกมเป็น ที่ต้องการของตลาดต่างประเทศ ๘) ประเทศไทยมีบุคลากรที่เป็นโปรแกรมเมอร์ช้น ั น าใน การสร้างโปรแกรมแอนิเมชัน และเกมในโซเชียลเน็ตเวิรค ์ เป็น ที่ต้องการของต่างประเทศ ๙) ค่าบริการของ บุคลากรไทยที่เป็นโปรแกรมเมอร์และ นักสร้างสรรค์มี อัตราถูกกว่าต่างประเทศ


จุ ด อ่ อ น (W) ปั จจั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การส่ งเสริ ม อุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ได้แก่

๕) ขาดการส่ งเสริม สนับสนุน การพัฒนาบุคลากรด้าน ภาพยนตร์และวีดิทัศน์อย่างเป็นระบบ

๑. ขาดหน่วยงานกลางและกลไกการผนึกก าลังในการส่ ง

๖) เครื่องมือเครื่องใช้ และโปรแกรมใช้งานในการผลิต

เสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดท ิ ศ ั น์ทม ี่ ก ี ารบูรณาการทัง้

ภาพยนตร์และวีดท ิ ศ ั น์มรี าคาสู งท�ำให้ผป ู้ ระกอบการรายย่อย

ภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเป็นองค์รวม

ไม่สามารถสร้างงานได้

๒. ขาดระบบฐานข้ อ มู ล และการบริ ห ารจั ด การข้ อ มู ล สารสนเทศอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ๓) ขาดการสนั บ สนุ น จากภาครั ฐ อย่ า งเป็ น ระบบแก่ ผู้ ประกอบการในด้ า นการเงิ น ในทุ ก ห่ ว งโซ่ ข องการผลิ ต ใน อุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ๔) ขาดการสนับสนุนด้านการเงินจากภาครัฐและสถาบัน การเงินแก่ผป ู้ ระกอบการในทุกห่วงโซ่ของการผลิตภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ ๔) ขาดเนื้อหาเรื่องราวและบทภาพยนตร์ที่สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด

๗) ขาดงานวิจัยด้านภาพยนตร์และวีดิทัศน์เพื่ อน ามา พัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดท ิ ศ ั น์ของไทย ๘) ผู้สร้างรุ่นใหม่ที่เป็นนักคิดและนักสร้างสรรค์ผลงาน ขาดโอกาสให้น�ำเสนอผลงานด้านภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ๙) ผู้ประกอบการบางส่ วนยังขาดความรู้ในการวางแผน ด้านการตลาดอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ๑๐) กลุ่มผู้ประกอบการบางส่ วนเห็นแก่ผลประโยชน์ส่วน ตนมากเกินไป โดยไม่ค�ำนึงถึผลกระทบที่จะเกิดแก่เยาวชน ของชาติและพัฒนาธุรกิจให้ขยายฐานการผลิตและการตลาด สู่ ระดับนานาชาติเ


๗) การสร้างงานโปรแกรมและการสร้างสรรค์เกมและ แอนิเมชัน สามารถสั่ งการท�ำงานด้วยการติดต่อสื่ อสารทาง

ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ให้เป็นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่ส�ำคัญ ของประเทศ

อินเทอร์เน็ต โดยผู้ว่าจ้างไม่จ าเป็นต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการ เดินทางมาบ่อยครั้ง ๘) คนไทยเริ่มให้ความสนใจในการชมภาพยนตร์ไทยมาก ขึ้น

ข้อจ�ำกัด (T) อุปสรรคที่มีต่อการส่ งเสริมอุตสาหกรรม ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ได้แก่ ๑) มีการเรียกร้องผลประโยชน์ทไี่ ม่เป็นธรรมจากคณะถ่าย

๙) ผู้สร้างภาพยนตร์ต่างประเทศแสวงหาสถานที่ถ่ายท

ท าภาพยนตร์ต่างประเทศทั้งจากภาครัฐและเอกชน

าภาพยนตร์ที่มีความหลากหลายทั้งทางด้านศิ ลปวัฒนธรรม

๒) ขาดการบังคับใช้กฎหมายในการปราบปรามการละเมิด

ภู มิ ป ระเทศ ความพร้ อ มด้ า นบุ ค ลากร และการคมนาคม

ลิขสิ ทธิอ ่ งท�ำให้มก ี ารละเมิดลิขสิ ทธิผ ์ ย่างจริงจังและต่อเนือ ์ ล

สะดวกยิ่งขึ้น

งานภาพยนตร์และวีดิทัศน์เป็นจ�ำนวนมาก

๑๐) การรวมตั ว ทางเศรษฐกิ จ ของประชาคมอาเซี ย น

๓) กฎหมายด้านการปราบปรามการละเมิดลิขสิ ทธิ์ยังไม่

เป็นการเปิดตลาดเสรีทางด้านการค้าบริการด้านบันเทิงมากขึ้น

ครอบคลุมครบทุกด้าน ท�ำให้มีช่องโหว่ส�ำหรับการแสวงหา

๑๑) มีแนวโน้มการร่วมลงทุนในการสร้างภาพยนตร์กับ ต่างประเทศมากขึ้น

ผลประโยชน์ทางธุรกิจ ๔) มาตรการในการจูงใจด้านภาษี และข้อเสนอสิ ทธิพิเศษ

๑๒) การรวมตัว ( Convergence) ของสื่ ออิเล็กทรอนิกส์

อืน ่ ๆ ส�ำหรับผูป ้ ระกอบธุรกิจภาพยนตร์ทง้ั ในและต่างประเทศ

ใหม่ๆ ท าให้มีความต้องการบริโภคภาพยนตร์และวีดิทัศน์

ยังมีไม่เพียงพอกับการแข่งขันในตลาดโลก อาทิ Tax Credit

มากขึ้น

และ CashRebate

๑๓) รั ฐ บาลมี น โยบายในการส่ งเสริ ม อุ ต สาหกรรม


๕) ขาดการส่ งเสริมสนับสนุนการสร้างเมืองภาพยนตร์

ระบบดิจิตอลแล้ว รวมถึงการขนส่ งฟิล์มในปั จจุบันที่มีการ

( Movie town) เพื่อเพิ่มแรงจูงใจให้ผู้สร้างภาพยนตร์จาก

จัดส่ งกันในรูปของ file digital โดยผ่านทางอินเทอร์เน็ต

ซีกโลกที่มีภูมิทัศน์ และวัฒนธรรมแตกต่างกันมาใช้บริการ

ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง ใหญ่ ท� ำ ให้ เ ครื่ อ งฉาย

สร้างภาพยนตร์

ภาพยนตร์ทใี่ ช้อยูใ่ นปั จจุบน ั อาจจะต้องยกเลิกไป และจะต้อง

๖) ยังไม่มีการจัดท�ำข้อตกลงระหว่างประเทศในการร่วม ทุนสร้างภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ (Co-Production Agreement) กับต่างประเทศอย่างเป็นทางการ

มีการลงทุนครั้งใหม่ ๘) ปั ญหาด้านกฎหมายการตรวจพิจารณาจัดประเภทหรือ เซนเซอร์ภาพยนตร์ ขณะนี้ยังใช้ทั้งระบบเซนเซอร์และระบบ

๗) ความเร็ ว ของระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต และเทคโนโลยี ที่

จัดประเภท (Rating) ท�ำให้เกิดผลกระทบทางด้านการตลาด

เกี่ ย วข้ อ งกั บ อิ น เทอร์ เ น็ ต ยั ง ไม่ มี ศั ก ยภาพในการรองรั บ

๙) เจ้าหน้าทีท ่ ก ี่ ำ� กับดูแลการประกอบกิจการร้านจ าหน่าย

อุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดท ิ ศ ั น์ได้อย่างเพียงพอ ในขณะ

และบริการภาพยนตร์และวีดิทัศน์ขาดความรู้ความเข้าใจที่

ที่การจัดฉายภาพยนตร์ได้เปลี่ยนจากการฉายแบบฟิล์มเป็น

ชัดเจนการประกอบธุรกิจภาพยนตร์และวีดิทัศน์


หน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุนในการขับเคลื่อนกลไกระดับชาติ

- กระทรวงศึกษาธิการ

๘.๑ หน่วยงานหลัก

- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม

ภาครัฐ

- กระทรวงแรงงาน

- คณะกรรมการภาพยนตร์และวีดิทัศน์แห่งชาติ

- กระทรวงการพัฒนาสั งคมและความมั่นคงของมนุษย์

- กระทรวงวัฒนธรรม

- กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

- กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

- กระทรวงอุตสาหกรรม

- กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร

- กรุงเทพมหานคร

- กระทรวงพาณิชย์

- กรมศุลกากร

ภาคเอกชน

- กรมสอบสวนคดีพิเศษ

- สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ

- ส านักงานอัยการสู งสุ ด

- สมาคมผู้ประกอบการแอนิเมชันและคอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์ ไทย

- ส านักงานต ารวจแห่งชาติ

-สมาคมไทยธุรกิจอิเล็คโทรนิคบันเทิง

- ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

-สมาคมเกมและสื่ อดิจิตอลบันเทิง

- ส านักงานคณะกรรมการส่ งเสริมการลงทุน

๘.๒ หน่วยงานสนับสนุน

- ส านักงานส่ งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (SIPA)

ภาครัฐ

- เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand)

- ส านักนายกรัฐมนตรี

- ศูนย์เทคโนโลยีอิเลิกทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

- กระทรวงการคลัง

ภาคเอกชน

- กระทรวงการต่างประเทศ

- กลุ่มสมาคมและผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิ

- กระทรวงมหาดไทย

ทัศน



ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยสู่ การ เสริมสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

และอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย จํานวนทั้งสิ้ น 18 คน เครื่อง มือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสั มภาษณ์ก่ ึงโครงสร้าง การ

ผุสดี วัฒนสาคร*

วิเคราะห์เอกสาร และ การวิเคราะห์วิธีปฏิบัติที่ดี จากนั้นผู้

ธีรศักดิ์ อุ่นอารมณ์เลิศ**

วิจย ั นาํ ข้อมูลทีไ่ ด้ไปทาํ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและ สภาพแวดล้อมภายนอก (SWOT Analysis) และทําการจับคู่

บทคัดย่อ

เพื่อกําหนดยุทธศาสตร์ (TOWS Matrix) ท้ายสุ ดแล้วผู้วิจัย

การวิ จั ย นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ 1) เพื่ อ ศึ ก ษาสภาพการณ์

นาํ ยุทธศาสตร์ทไี่ ด้ไปให้ผท ู้ รงคุณวุฒด ิ า้ นการกาํ หนดนโยบาย

และแนวโน้ ม การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมภาพยนตร์ ไ ทยสู่

และมีส่วนเกี่ยวข้องกับแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์และ

การเสริมสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ 2) เพื่ อวิเคราะห์

อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย จํานวน 5 คน ประเมินความถูก

สภาพแวดล้ อ มทางการแข่ ง ขั น ภายในและภายนอกของ

ต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์

อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย และ 3) เพื่อนาํ เสนอยุทธศาสตร์

ของยุทธศาสตร์ ผล การวิจัยสรุปได้ว่ายุทธศาสตร์ในการ

การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมภาพยนตร์ ไ ทยสู่ ก ารเสริ ม สร้ า ง

พัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยสู่ การเสริมสร้างเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและ

เชิงสร้างสรรค์ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ดังนี้คือ

เชิ ง คุ ณ ภาพในการศึ ก ษา การวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ ประชากร

1) การจัดตั้งค่ายภาพยนตร์แห่งชาติ 2) การจัดตั้งศูนย์

ได้แก่ ผู้ชมภาพยนตร์ไทยที่ฉายในโรงภาพยนตร์มัลติเพล็

บริการด้านภาพยนตร์จากต่างประเทศครบวงจร 3) การ

กซ์ในเครือเอส เอฟ ซีเนม่า ซิตี้ และเครือเมเจอร์ ซีนีเพล็

รณรงค์ให้เยาวชนไทยสนับสนุนภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์

กซ์ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 405 คน เครื่องมือที่ใช้

4) การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมภาพยนตร์

เป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจง

ไทยเชิงสร้างสรรค์

ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ

5) การเพิ่มช่องทางสร้างรายได้ให้แก่ภาพยนตร์ไทยเชิง

วิเคราะห์เชิงเนื้อหา การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลสํ าคัญ

สร้างสรรค์ และ 6) การเชื่อมโยงให้เป็นอุตสาหกรรมบันเทิง

ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์


บทน�ำ

ข่ายต่างๆทีม ่ ห ี น้าทีข่ บ ั เคลือ ่ นอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย ด้าน

ภาพยนตร์ไทยเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์กลุ่ม

ทุนทางวัฒนธรรม (Cultural Capital) ซึ่งเป็นภูมป ิ ๎ ญญาท้อง

สื่ อที่เป็นเปู าหมายของการผลักดันทางเศรษฐกิจตามแผน

ถิน ่ ประเพณี ค่านิยม ทัง้ ในรูปแบบวัฒนธรรมไทยดัง้ เดิมและ

พัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555

วัฒนธรรมไทยร่วมสมัยที่สะสมและสื บทอดกันมายาวนาน

– 2559)เนื่องจากเริ่มเป็นทีรู้จักในตลาดโลกมากขึ้น อาทิ

รวมถึงทุนทางโครงสร้าง (Structural Capital) เนื่องจาก

ภาพยนตร์ไทยเรื่อง “ต้มยํากุ้ง” ที่ติดอันดับภาพยนตร์ทํา

มีสถานที่ท่องเที่ยวติดอันดับโลกอยู่หลายแห่ง รวมถึงแหล่ง

เงินสู งสุ ดของสหรัฐอเมริกา (Box Office) ในสั ปดาห์แรกที่

ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ อาจ นํามาใช้เป็นสถานที่ถ่ายทํา

เข้าฉาย ภาพยนตร์ไทยเรื่อง “พี่มาก..พระโขนง” ซึ่งทําราย

ภาพยนตร์ไทยเพื่ อส่ งออก อย่างไรก็ดีประเทศไทยยังขาด

ได้ในประเทศไป 568 ล้านบาทและติดอันดับภาพยนตร์ทํา

ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมภาพยนตร์ ไ ทยเชิ ง

เงินของอินโดนีเซีย ฮ่ องกง สิ งคโปร์ หรือภาพยนตร์ไทยแอ

สร้างสรรค์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์อย่างชัดเจน

นิเมชั่นเรื่อง “ก้านกล้วย” ที่ถูกนําไปฉายหลายประเทศใน

จึงทําให้ไม่มีทิศทางการพัฒนาที่เป็นรูปธรรม ดังนั้น จึงเป็น

ภูมิภาคเอเชีย โดยมีการคาดการณ์ว่าในอีกประมาณ 20 ปี

มูลเหตุจูงใจให้ผู้วิจัยทําการศึ กษาเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การ

ข้างหน้าอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยจะขยายตัวอย่างรวดเร็ว

พัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยสู่ การเสริมสร้างเศรษฐกิจ

และมีความเชื่อมโยงกับตลาดโลกมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นสื่ อ

เชิงสร้างสรรค์ เพื่ อค้นหาว่าสภาพการณ์และแนวโน้มการ

รูปแบบใหม่ต่างๆจะช่วยพั ฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย

พัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยสู่ การเสริมสร้างเศรษฐกิจ

ให้กลายเป็นตลาดเกิดใหม่และเป็นที่รู้จักในตลาดโลก (สํ า

เชิงสร้างสรรค์เป็นอย่างไร สภาพแวดล้อมทางการแข่งขัน

นักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์,

ภายในและภายนอกของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยมีลก ั ษณะ

2557: 1)อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยมีศักยภาพและโอกาสสูง

อย่างไร และยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์

กว่าอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของประเทศอื่นในภูมิภาคเอเชีย

ไทยสู่ การเสริมสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ควรประกอบ

ตะวันออกเฉียงใต้ในการสนับสนุนให้เป็นสิ นค้าส่ งออกที่จะ

ด้วยอะไรบ้าง โดยผลการศึ กษาที่ได้จะนําไปสู่ การวางแผน

สร้างรายได้และการจ้างงานให้แก่ประเทศอย่างมหาศาลตาม

พั ฒนาศั กยภาพอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์

แนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ซึ่งส่ งผลดีตอ ่ เศรษฐกิจของ

เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ด้ า นอุ ต สาหกรรม

ประเทศโดยรวม เนื่องด้วยมีความพร้อมด้านทุนทางสั งคม

สร้างสรรค์ของประเทศไทยต่อไปในอนาคต

(Social Capital) ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน องค์การ หรือเครือ


สรุปและอภิปรายผลการวิจัย

ชิงโชค (6) ชอบเทคนิคการถ่ายทํา (7) ชอบเพลงประกอบ และ

ผู้วิจัยได้สรุปและอภิปรายผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์

(8) ชอบชุดถังปฺอปคอร์น (Popcorn Bucket) และน้ําอัดลม

ของการวิจัยไว้ดังนี้คือ

(Soft Drink) ที่มีลวดลายลิขสิ ทธิ์จากภาพยนตร์ ตามลําดับ

วัตถุประสงค์ที่ 1 เพื่อศึกษาสภาพการณ์และแนวโน้มการ

นอกจากนี้ส่ื อที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกชมภาพยนตร์ไทย

พัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยสู่ การเสริมสร้างเศรษฐกิจ

ในโรงภาพยนตร์ ได้แก่ (1) การบอกต่อ (ปากต่อปาก)(2)

เชิงสร้างสรรค์

โทรทัศน์ (3) สื่ อ Social Media (4) กิจกรรมต่างๆทีเ่ กีย ่ วข้อง

1. สรุปและอภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสํ ารวจ ผล

กับภาพยนตร์ (5) การลด/แลก/แจก/แถม/ชิงโชค (6) สินค้า

การวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุต่ํา

ทีม ่ ส ี ัญลักษณ์ของภาพยนตร์ เช่น หนังสือการ์ตน ู แก้วน้ํา พวง

กว่า 20 ปี เป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและมีราย

กุญแจ เสื้ อยืด ฯลฯ (7) ภาพยนตร์ตัวอย่างในโรงภาพยนตร์

ได้ต่อเดือนน้อยกว่า 5,000 บาท เลือกชมภาพยนตร์ไทยใน

(8) วิทยุ (9) ชุดถัง ปฺอปคอร์น (Popcorn Bucket) และ น้ํา

โรงภาพยนตร์เดือนละ 1 – 2 ครั้งนิยมรับชมกับเพื่อน เลือก

อัดลม (Soft Drink) ที่มีลวดลายลิขสิ ทธิ์จากภาพยนตร์ (10)

ชมในวันหยุดช่วงกลางวัน (เสาร์ – อาทิตย์ และวันหยุดนักขัต

นิตยสาร (11) ปู าย/โปสเตอร์ต่างๆ (12) โทรศั พท์มือถือ

ฤกษ์ ) มีค่าใช้จ่ายโดยรวมแต่ละครั้งอยู่ระหว่าง 200 – 300

(sms/mms) และ(13) หนังสื อพิมพ์ ตามลําดับ สอดคล้อง

บาท ส่ วนราคาตั๋วชมภาพยนตร์ไทยในโรงภาพยนตร์ที่คิด

กับผลงานวิจัยของรักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม (2548) ที่ศึกษา

ว่ายอมรับได้คือราคาต่ํากว่า 100 บาท/ใบ โดยประเภทของ

ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย และพบว่า ผูช้ ม

ภาพยนตร์ไทยในโรงภาพยนตร์ที่นิยมเลือกชม ได้แก่ ตลก ผี

ส่ วนใหญ่ ได้แก่ กลุม ่ วัยรุน ่ การศึกษาต่ํากว่าปริญญาตรี เพศ

่ ชีวต บู/๊ แอ็คชัน ิ และโปฺ (เรทเอ๊กซ์/อาร์) ตามลาํ ดับและปั จจัย

หญิงชอบภาพยนตร์ผีและตลก ส่ วนเพศชายชอบภาพยนตร์

ที่มีผลต่อการเลือกชมภาพยนตร์ไทยในโรงภาพยนตร์ ได้แก่

่ มากกว่า และต่างต้องการชมภาพยนตร์ไทยเพื่อความ แอคชัน

(1) ชอบผู้กํากับภาพยนตร์ (2) ชอบค่ายหนัง (3) ชอบนัก

สนุกบันเทิงมากกว่าเหตุผลด้านเนื้อหา

แสดง (4) ชอบเนื้อเรื่อง (5) ชอบการลด/แลก/แจก/แถม/


2. สรุปและอภิปรายผลจากการสั มภาษณ์แบบเจาะลึก

3. สรุปและอภิปรายผลจากการศึกษาจากเอกสาร ผลการ

ผลการวิจัย พบว่า ผู้ให้ข้อมูลสํ าคัญส่ วนใหญ่ให้ข้อเสนอแนะ

วิจัย พบว่า ประเทศไทยจําเป็นต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอด

เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ในการพั ฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์

จากการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกในยุคโลกาภิวัตน์ด้วย

ไทยสู่ การเสริมสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ไว้ว่า 1) ภาค

การนํานโยบายเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์มาใช้พัฒนาประเทศ

รัฐควรลงทุนในภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์เต็มตัว 2) ควร

โดยอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยได้มพ ี ัฒนาการอย่างต่อเนือ ่ ง

สร้ า งหลั ก สู ต รทางด้ า นภาพยนตร์ ส ร้ า งสรรค์ อ ย่ า งชั ด เจน

ตามลําดับจากระบบฟิลม ์ มาสู่ดจ ิ ต ิ อลทําให้มศ ี ักยภาพมากพอที่

3) ควรสร้างค่ายภาพยนตร์แห่งชาติส่งเสริมความเป็นไทย

จะสร้างรายได้และการจ้างงานให้เกิดขึ้นภายในประเทศ อีก

4) ควรเชื่อมโยงให้เป็นอุตสาหกรรมบันเทิง 5) ควรสร้างค่า

ทัง้ ยังช่วยส่ งออกวัฒนธรรมไทยไปขายในตลาดโลก อย่างไร

นิยม/ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และ 6) ควรศึ กษา

ก็ตามเรื่องที่ต้องพั ฒนาอย่างเร่งด่วนก็คือการที่เนื้อหาของ

วิจัยเกี่ยวกับภาพยนตร์ไทยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องกับ

ภาพยนตร์ไทยมักจะวนเวียนในรูปแบบเดิมๆเนือ ่ งจากนายทุน

ผลงานวิจัยของเรวัต ธรรมาอภิรมณ์ และ ชยันต์ พิภพลาภ

้ เป็นหลักซึ่ง จะมองกระแสของภาพยนตร์ในตลาด ณ ขณะนัน

อนันต์ (2553) ที่ศึกษาเรื่องการศึ กษาสถานะและแนวทาง

สอดคล้องกับความคิดเห็นของธานินทร์ ผะเอม รองเลขาธิการ

การพั ฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทย: กรณี

คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทีไ่ ด้กล่าว

กลุ่มสื่ อ และพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. 2545 – 2551 ผลผลิต

ไว้วา่ “...จริงๆประเทศไทยมีครบทัง้ ห่วงโซ่การผลิตนะ ภายใน

ของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์กลุ่มสื่ อ มีอัตราการเติบโตเฉลี่ย

ห่วงโซ่ยอ ่ ยๆก็เต็มไปด้วยแรงคน เครือ ่ งมือทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพไม่ดอ ้ ย

ร้อยละ 3.98 สาขาการกระจายเสี ยงเป็นกลุ่มที่มีมูลค่าการ

ไปกว่าใคร การที่ค่ายภาพยนตร์ไทยมาแข่งขันกันเองก็จะยิ่ง

ผลิ ต รวมสู ง สุ ด รองลงมาคื อ สาขาการพิ ม พ์ แ ละสื่ อ การ

ช่วยกระตุน ้ ความคึกคักตลอดทัง้ ห่วงโซ่หลังจากซบเซามานาน

พิ มพ์ และสาขาภาพยนตร์และวีดีทัศน์ตามลําดับ โดยสาขา

ทีส ่ ํ าคัญคือจาํ นวนหนังทีจ ่ ะส่ งไปขายเมืองนอกก็จะมีเพิ่มมาก

ภาพยนตร์และวีดิทัศน์นั้นมีความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม

ขึ้น โอกาสในการสร้างชือ ่ บนเวทีโลกก็มม ี ากขึ้น ตามไปด้วย...”

ต้นน้ํามากกว่าปลายน้ํา


4. สรุปและอภิปรายผลจากการศึกษาวิธป ี ฏิบต ั ท ิ ด ี่ ี ผลการ วิจย ั พบว่า การผลักดันนโยบายเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์เพื่อ การพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์เกาหลีใต้ทําให้ภาพยนตร์ และละครโทรทั ศ น์ ข องเกาหลี ใ ต้ ป ระสบความสํ า เร็ จ อย่ า ง งดงามในตลาดโลก และอุตสาหกรรมภาพยนตร์เกาหลีใต้ กลายเป็น 1 ใน 10 ของอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้อย่าง มหาศาลให้ แ ก่ ป ระเทศส่ ง ผลทํ า ให้ อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย ว เติบโตตามไปด้วย ส่ วนการผลักดันนโยบายเศรษฐกิจเชิง สร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ญี่ปุ​ุนก็คือ

การที่เศรษฐกิจญี่ปุ​ุนได้มีโอกาสฟื้ นตัวขึ้นมาอีกครั้งหลังจาก เกิดความตกต่ําอย่างรุนแรง อีกทั้งวัฒนธรรมญี่ปุ​ุนก็กําลัง เป็นทีส ่ นใจของผูอ ้ าํ นวยการสร้างภาพยนตร์จากฮอลลีวด ู้ จึง

เป็นที่ประจักษ์ แล้วว่าเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์มีความสําคัญ อย่างยิ่งในฐานะเป็นทางเลือกหนึ่งในการส่ งเสริมการพัฒนา มนุษย์และการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ซึ่งนําไปสู่ การ พั ฒนาเศรษฐกิจของประเทศในด้านทรัพยากรมนุษย์ ด้าน ความรู้ด้านสิ่ งแวดล้อม และด้านความยั่งยืน (ศุ ภวุฒิ สาย เชื้อ, 2551: 106)


มี ลั ก ษณะกึ่ ง แข่ ง ขั น กึ่ ง ผู ก ขาด (5) บทภาพยนตร์ ไ ทยไม่

ภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์ อุปสรรค (Threats) ได้แก่ (1)

สอดคล้องกับความต้องการของตลาด (6) ขาดการวางแผน

การหลั่งไหลของแรงงานฝีมือข้ามชาติ (2) ต้นทุนการ ผลิต

1. สรุปและอภิปรายผลจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม

กลยุทธ์แบบองค์รวม (7) นายทุนสร้างภาพยนตร์ไทยตาม

ภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์สูงกว่าปกติ (3) ผู้บริโภคขาด

ภายในและภายนอก (SWOT Analysis) ผลการวิจย ั พบว่า จุด

ความต้องการของตลาดเป็นหลัก (8) ขาดการสนับสนุนด้าน

ความเข้าใจเกีย ่ วกับภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์ (4) สภาวะ

แข็ง (Strength ) ได้แก่ (1) บุคลากรมีความเชี่ยวชาญและมี

งบประมาณจากภาครัฐอย่างจริงจัง และ (9) ขาดการส่งเสริม

เศรษฐกิจทีซ ่ บเซาทาํ ให้ผบ ู้ ริโภคต้องระมัดระวังในการจับจ่าย

ผลงานได้รบ ั การยอมรับระดับโลก (2) การพัฒนาบุคลากรมุง่

การลงทุนจากภาคเอกชน โอกาส (Opportunities) ได้แก่ (1)

ใช้สอย(5) การไหลบ่าทางวัฒนธรรมอาจเข้ามาแย่งชิงรายได้

เน้นการปฏิบต ั จ ิ ริง (3) มีการแบ่งงานตามหน้าทีช่ ด ั เจน (4) กา

แรงงานฝีมือในประเทศไทยมีค่าจ้างต่ํา(2) ภาพยนตร์ไทย

จากภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์ (6) ป๎ ญหาความเร็วของ

รนาํ เทคโนโลยีมาใช้อาํ นวยความสะดวก (5) การบริหารจัดการ

เชิงสร้างสรรค์ช่วยฟื้ นฟู ความสามัคคีของคนในชาติและเพิ่ม

อินเตอร์เน็ต (7) ความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศ

ทั้งแบบครบวงจรและแบบ Outsource (6) การผลิตและ

โอกาสส่ งออกวัฒนธรรมไทย (3) ธุรกิจให้เช่าวัสดุอุปกรณ์

และ (8) ป๎ ญหาการละเมิดลิขสิ ทธิ์ยังคงอยู่ ซึ่งสอดคล้องกับ

ฉายมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากลมากขึ้น (7) มีการใส่ ใจ

การผลิ ต ภาพยนตร์ มี โ อกาสขยายตั ว มากขึ้น (4) วั ย รุ่ น ที่

ผลงานวิจย ั ของ Tze - Chang Liu (2011) ทีศ ่ ึกษาเรือ ่ งOpen

กระแสความต้องการของผู้บริโภค (8) ภาครัฐและเอกชน

เป็นกลุ่มเปู าหมายหลักมีพฤติกรรมการตอบรับความแปลก

Education and the Creative Economy: Global Perspec-

เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่สร้างสรรค์ผลงาน และ (9) มีการ

ใหม่อย่างรวดเร็ว (5) การสื่ อสารการตลาดของภาพยนตร์

tives and Comparative Analysisและพบว่า แนวทางของ

รวมตัวกันในรูปแบบสมาคม จุดอ่อน (Weaknesses ) ได้แก่

ไทยเป็น แบบครบวงจร (6) การเปิด ประชาคมเศรษฐกิ จ

แนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์นั้นขึ้นอยู่กับหลายประเด็น

(1) บุคลากรไม่เพียงพอกับความต้องการ (2) ขาดการยกย่อง

อาเซียน (AEC)ช่วยขยายความร่วมมือทางด้านการลงทุนใน

ของการพัฒนาเช่น นโยบาย วัฒนธรรมทางสั งคม การศึกษา

บุ ค ลากรอาวุ โ สด้ า นภาพยนตร์ (3) มุ่ ง เน้ น ความสั ม พั น ธ์

อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์ และ(7) ภาครัฐ

การร่วมมือทางธุรกิจ และโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี

ส่ วนตัวและระบบอุปถัมป์ (4) โครงสร้างของอุตสาหกรรม

เริม ่ ให้ความสําคัญกับการพัฒนาและเพิ่มปริมาณการส่ งออก

วัตถุประสงค์ที่ 2 เพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและ ภายนอกของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย


วัตถุประสงค์ที่ 3 เพื่ อน าเสนอยุทธศาสตร์การพั ฒนา

ภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์

อุ ต สาหกรรมภาพยนตร์ ไ ทยสู่ ก ารเสริ ม สร้ า งเศรษฐกิ จ

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเชื่อมโยงให้เป็นอุตสาหกรรมบันเทิง

เชิงสร้างสรรค์สรุปและอภิปรายผลจากการรับรอง (ร่าง)

จะเห็ น ว่ า ธุ ร กิ จ ภาพยนตร์ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงจากธุ ร กิ จ

ยุทธศาสตร์และการจัดทําข้อเสนอเชิงนโยบายผลจากการ

เชิงเดี่ยวมาเป็นธุรกิจเชิงกลุ่ม และเข้าสู่ ยุคการสร้างเครือ

วิเคราะห์ข้อมูลจากการจับคู่สภาพแวดล้อมภายในและสภาพ

ข่ายและแสวงหาพันธมิตรในรูปแบบต่างๆ (สํานักงานคณะ

แวดล้อมภายนอก (TOWS Matrix) ซึ่งผ่านการรับรอง (ร่าง)

กรรมการพั ฒนาการเศรษฐกิจและสั งคมแห่งชาติ, 2551:

ยุ ท ธศาสตร์ แ ละการจั ด ทํ า ข้ อ เสนอเชิ ง นโยบายสรุ ป ได้ ว่ า

15 – 16) การตลาดของภาพยนตร์ไทยจะต้องศึ กษาความ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยสู่การเสริม

ต้องการของผู้บริโภคด้วยการมองจากภายนอกก่อนแล้วจึง

สร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์

มาสู่ ภายใน (Outside-In Perspective) เพื่อนําเสนอสิ นค้า

ดังนี้คือ

และบริการให้ตรงใจผู้บริโภคมากที่สุด โดยเปลี่ยนผ่านจาก

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดตั้งค่ายภาพยนตร์แห่งชาติ

แนวคิดส่ วนประสมทางการตลาด (4P’s) ไปสู่ แนวคิดที่มุ่ง

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดตัง้ ศูนย์บริการด้านภาพยนตร์จาก

เน้นลูกค้า 4C’s เป็นหลัก (สิ ทธิ์ ธีรสรณ์, 2552:40) ซึ่ง

ต่างประเทศครบวงจร ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 3การรณรงค์ ใ ห้ เ ยาวชนไทยสนั บ สนุ น ภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์ ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 4 การส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาบุ ค ลากรใน อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยเชิงสร้างสรรค์ ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 5 การเพิ่ ม ช่ อ งทางสร้ า งรายได้ ใ ห้ แ ก่

สอดคล้ อ งกั บ แนวทางการผลั ก ดั น นโยบายเศรษฐกิ จ เชิ ง สร้างสรรค์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของประเทศ เกาหลีใต้ที่ได้กําหนดวาระแห่งชาติ และออกพระราชบัญญัติ ส่ งเสริมอุตสาหกรรมวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะ (Tung & Wan, 2010)



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.