วารสารวิทยาการจัดการ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1

Page 72

กลยุทธ์พ่อสอนลูกปู่ สอนหลานถื อเป็ นกระบวนการหนึ่ งในการหล่อหลอม สมาชิ กชุ มชนตามแนวคิดการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ซึ่ งการสั่งสอนและ ฝึ กอบรมไม่วา่ จะโดยทางตรงหรื อทางอ้อมของบุคคลแวดล้อมย่อมส่ งผลต่อความคิดและ พฤติกรรมของบุคคลให้ปฏิบตั ิตามที่สงั คมคาดหวัง ซึ่งกระบวนการหล่อหลอมทางสังคม นี้มีปัจจัยส�ำคัญคือ สื่ อบุคคล (Personal Media) ตามที่ Lazarfeld and Manzel (1968 : 97) กล่ า วไว้ว่ า การสื่ อ สารระหว่ า งบุ ค คลมี บ ทบาทส� ำ คัญ เพราะเป็ นการสื่ อ สารที่ มี ความเป็ นกันเอง และเป็ นส่ วนตัว ก่ อให้เกิ ดความคุ น้ เคย ซึ่ งช่ วยให้เกิ ดการยอมรั บ ความคิดได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ทฤษฎีความสัมพันธ์ทางสังคมของ De Fleur (1970 : 124 – 129) ก็ได้ช้ ีให้เห็นว่า ความสัมพันธ์ภายในกลุ่มมีอิทธิพลต่อการสื่ อสาร De Fleur พบว่า ความสัมพันธ์แบบเครื อญาติมีบทบาทต่อการตัดสิ นใจว่าจะยอมรับการเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ ผูว้ ิจยั มี ความเห็ นว่าการขัดเกลาทางสังคมเป็ นการสื่ อสารที่ สามารถเสริ มสร้ างการมี ส่ วนร่ วมให้กบั ประชาชนเพราะเป็ นวิธีการสื่ อสารที่ ละเอี ยดอ่อนที่ จะโน้มน้าวใจให้ ผูร้ ับสารเกิดความคิด สร้างความตระหนัก ปรับเปลี่ยนทัศนคติ และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 1.3 องค์ความรู ้ของปราชญ์ชาวบ้าน ปราชญ์ชาวบ้านถือเป็ นผูร้ ู ้ที่ได้รับการยอมรับจากสมาชิกชุมชนว่ามีความรู ้และ ประสบการณ์ในเรื่ องเกี่ยวกับชุมชนท้องถิ่นนั้น หรื อเป็ นผูท้ ี่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการ บริ หารจัดการล�ำน�้ำแม่ห่าง ปราชญ์ชาวบ้านจะถูกเชิญมาให้เข้าร่ วมกิจกรรมและถ่ายทอด ข้อมูลที่ เกี่ ยวกับเรื่ องราววิถีชีวิต ความสัมพันธ์ของคนในชุ มชนกับแม่น้ ำ � ภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่ชุมชนได้พ่ งึ พาอาศัยแหล่งน�้ำ อาทิ การผันน�้ำเข้านา การเก็บกักน�้ำ การตรวจสอบ คุณภาพน�้ำ การอนุรักษ์และฟื้ นฟูแหล่งน�้ำ ฯลฯ ให้แก่กลุ่มแกนน�ำ ชาวบ้านและเยาวชน ได้รั บ รู ้ เ รื่ อ งราวความเป็ นมาของน�้ำ แม่ ห่ า ง วิ ถี ชี วิ ต ความสั ม พัน ธ์ แ ละการอนุ รั ก ษ์ แบบดั้งเดิมในอดีตที่ผเู ้ ฒ่าผูแ้ ก่เคยปฏิบตั ิสืบต่อกันมา ในการสื่ อสารมีท้งั แบบที่เป็ นทางการ เช่ น การบรรยายหรื อบอกเล่ า ในการประชุ ม ของหมู่ บ ้า น และการสื่ อ สารแบบ ไม่เป็ นทางการ ซึ่งส่วนมากจะเป็ นการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ในโอกาสที่เข้าร่ วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น เช่น การเลี้ยงผีขนุ น�้ำ การสื บชะตาน�้ำ การสื บชะตาป่ า ตลอดจนพบปะ พูดคุ ยกันเมื่ อพบกันในงานพิธีกรรมต่าง ๆ เช่ น งานศพ งานแต่งงาน งานทอดกฐิ น ทอดผ้าป่ า งานขึ้นบ้านใหม่หรื องานอื่นๆ ซึ่ งผลของกลยุทธ์การสื่ อสารเช่ นนี้ เป็ นการ กระตุน้ ให้ชาวบ้านเกิดจินตนาการเรื่ องความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน�้ำในอดีต ท�ำให้รู้สึก หวงแหนและอยากให้ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ก ลับ คื น มาดัง เดิ ม จึ ง เข้า มามี ส่ ว นร่ ว มใน การจัดการ และการอนุรักษ์ฟ้ื นฟูแหล่งน�้ำ 64

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.