วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ไตรมาสที่ 1 (มกราคม-มีนาคม) ปี 2562

Page 1

วารสารสถานการณ ตลาดแรงงานภาคเหนือ ไตรมาสที่ ๑ (มกราคม-มีนาคม) ป ๒๕๖๒

ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ประเภทอาชีพ อาชีพงานพื้นฐานมีความตองการแรงงานมากที่สุด จํานวน 4,582 อัตรา คิดเปนรอยละ 33.73

ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ประเภทอุตสาหกรรม การขายสงและการขายปลีก การซอมยานยนต และจักรยานยนต จํานวน 3,934 อัตรา คิดเปนรอยละ 28.96 ดว น สาย

1506

กด

2 กรมการจัดหางาน

ศูนย บร�หารข อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ กองบร�หารข อมูลตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน


การมีสวนรวม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเปนนักประชาธิปไตย จึงทรงนํา “ประชาพิจารณ” มาใชในการบริหาร เพื่อเปดโอกาสใหสาธารณชน ประชาชน หรือเจาหนาที่ทุกระดับ ไดมารวมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่จะตองคํานึงถึงความคิดเห็นของประชาชน หรือความตองการของสาธารณชน ดังพระราชดํารัส ความตอนหนึ่งวา “…สําคัญทีส่ ดุ จะตองหัดทําใจใหกวางขวาง หนักแนน รูจ กั รับฟงความคิดเห็นแมกระทัง่ ความวิพากษวิจารณจากผูอื่นอยางฉลาด เพราะการรูจักรับฟงอยางฉลาดนั้นแทจริง คือ การระดมสติปญญา และประสบการณอันหลากหลาย มาอํานวยการปฏิบัติบริหารงาน ใหประสบความสําเร็จที่สมบูรณนั่นเอง...”


สารบัญ...

Content..... หน้า

บรรณาธิการ บทสรุปผู้บริหาร ก-ข ประชากรและก�ำลังแรงงาน 1 ภาวะตลาดแรงงาน 5 ภาวะการลงทุน 11 การไปท�ำงานต่างประเทศ 13 การท�ำงานของแรงงานต่างด้าว 15 บทความ : นัยที่แฝงเบื้องหลังอัตราการว่างงานที่ต�่ำ 16

Editor’s Talk

บรรณาธิการ สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที่ 1 ปี 2562 จัดท�ำขึ้นเพื่อให้ทราบถึงข้อมูลประชากรและก�ำลังแรงงาน ภาวะตลาดแรงงาน (ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผูส้ มัครงาน และการบรรจุงาน) ภาวะการลงทุน การไปท�ำงาน ต่างประเทศ การท�ำงานของคนต่างด้าว และบทความ : นัยที่แฝงเบื้องหลังอัตราการว่างงานที่ต�่ำ เอกสารฉบับนี้ ส�ำเร็จได้ด้วยความเอื้อเฟื้อข้อมูลจากส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน และส�ำนักงานจัดหางานจังหวัด 17 จังหวัดภาคเหนือ

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ ขอขอบคุณ ทุกหน่วยงานที่ได้ให้การเอื้อเฟื้อข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าข้อมูลเหล่านีจ้ ะเป็นประโยชน์ทงั้ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทัง้ นีส้ ามารถสืบค้นข้อมูลได้ทางเว็บไซต์ www.nlmi-lp.com หากท่านมีขอ้ เสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ในการจัดท�ำครัง้ ต่อไป ขอได้โปรดติดต่อโดยตรงที่ ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ ศาลากลางจังหวัดล�ำปาง ชัน้ 3 ถนนวชิราวุธด�ำเนิน ต�ำบลพระบาท อ�ำเภอเมืองล�ำปาง จังหวัดล�ำปาง 52000 หรือแจ้งทางโทรศัพท์ ได้ที่หมายเลข 0-5426-5050 หรือช่องทางสื่อสารโดย e-mail : lm_lpg@live.com และ Facebook : lmi.lampang ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

พฤษภาคม 2562


บทสรุปผูบ้ ริหาร สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ไตรมาสที่ 1 ปี 2562 ภาวะการทํางานของประชากร ประชากรรวม

11,318,581 คน (100 %)

ผู้มีอายุต�่ำกว่า 15 ปี

9,492,378 (83.87 %)

ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน

ผู้อยู่ในก�ำลังแรงงาน

3,138,488 คน (27.73 %)

ท�ำงานบ้าน

เรียนหนังสือ

758,478 คน (6.70 %)

= ผู้ว่างงาน x 100 ผู้อยู่ในก�ำลังแรงงาน = 52,730 x 100 6,353,890 = 0.83 %

ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป

(ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน) 1,826,203 (16.13 %)

796,648 คน (7.04 %)

อัตราการว่างงาน

6,353,890 คน (56.14 %)

อื่นๆ

1,583,361 คน (13.99 %)

ผู้มีงานท�ำ

6,249,510 คน (55.21 %)

ภาวะตลาดแรงงาน

ผู้ว่างงาน

52,730 คน (0.47 %)

ผู้ที่รอฤดูกาล

51,650 คน (0.46 %)

ภาวะการลงทุน

ความต้องการแรงงาน 13,585 อัตรา

ชาย 1,501 อัตรา ร้อยละ 11.05

หญิง 1,203 อัตรา ร้อยละ 8.86

ไม่ระบุ 10,881 อัตรา ร้อยละ 80.10

โรงงานที่ขออนุญาต ประกอบกิจการ 111 แห่ง

ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน 11,235 คน

เงินลงทุน 2,359.75 ล้านบาท ชาย 5,005 คน ร้อยละ 44.50

หญิง 6,230 คน ร้อยละ 55.45

การบรรจุงาน 10,086 คน

ชาย 4,539 คน ร้อยละ 45.00

หญิง 5,547 คน ร้อยละ 55.00

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

การจ้างงาน 1,431 คน


ความต้องการแรงงานใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จ�ำแนกประเภทอุตสาหกรรม 5 อันดับแรก 1. อุตสาหกรรม การแปรรูปอาหาร จ�ำนวน 1,690 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 33.87 3. อุตสาหกรรม การบินและโลจิสติกส์ จ�ำนวน 655 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 13.13

2.อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว กลุ่มรายได้ และการท่องเที่ยว เชิงคุณภาพ จ�ำนวน 1,533 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 30.72

K

BOO

ร้อยละ

29.15

3. ระดับ ปวส. จ�ำนวน 706 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 14.15

ระดับ ปวช. จ�ำนวน 661 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 13.25

การไปทํางานต่างประเทศ 5 วิธี การเดินทาง 41.62

2. ระดับประถมศึกษาและต�่ำกว่า จ�ำนวน 898 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 18.00

1. ระดับมัธยมศึกษา จ�ำนวน 1,679 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 33.65

4. อุตสาหกรรมดิจิทัล จ�ำนวน 351 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 7.03

5.อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ จ�ำนวน 307 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 6.15

ร้อยละ

จ�ำแนกตามระดับการศึกษา 5 อันดับแรก

การเดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดส่ง จํานวน 1,025 คน กรมการจัดหางานจัดส่ง จํานวน 718 คน

5. ระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 590 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 11.82

การท�ำงานของแรงงานต่างด้าว ประเภทแรงงานต่างด้าว ตลอดชีพ 3 คน ร้อยละ 0.001 ทั่วไป 8,265 คน ร้อยละ 3.13 พิสูจน์สัญชาติคงเหลือ 72,395 คน ร้อยละ 27.38 พิสูจน์สัญชาติด�ำเนินการจัดท�ำ/ปรับปรุงทะเบียนประวัติ

ร้อยละ

15.59

ร้อยละ

10.27

นายจ้างพาลูกจ้างไปทํางาน จํานวน 384 คน การเดินทางด้วยตัวเอง จํานวน 253 คน

จ�ำนวน 117,610 คน คิดเป็นร้อยละ 44.47 นําเข้า MOU 24,489 คน ร้อยละ 9.26 ส่งเสริมการลงทุน 1,243 คน ร้อยละ 0.47 ชนกลุ่มน้อย 40,336 คน ร้อยละ 15.25

ร้อยละ

3.37

นายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน จํานวน 83 คน

เข้ามาทํางานในลักษณะไป - กลับ หรือตามฤดูกาล 115 คน ร้อยละ 0.04

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


ประชากรและก�ำลังแรงงาน ตารางที่ 1 ประชากรจ�ำแนกตามสถานภาพแรงงานและก�ำลังแรงงาน สถานภาพแรงงาน ผู้มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป ผู้อยู่ในก�ำลังแรงงาน ผู้มีงานท�ำ ผู้ว่างงาน ผู้ที่รอฤดูกาล ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน ท�ำงานบ้าน เรียนหนังสือ อื่นๆ ผู้มีอายุต�่ำกว่า 15 ปี ประชากรรวม

ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 จ�ำนวน (คน) 9,493,440 6,372,878 6,259,161 69,120 44,597 3,120,562 862,355 750,854 1,507,353 1,872,501 11,365,941

ไตรมาสที่ 1 ปี 2562

ร้อยละ 83.53 56.07 55.07 0.61 0.39 27.46 7.59 6.61 13.26 16.47 100.00

ประชากรไตรมาสที่ 1 ปี 2562 จ�ำนวน 11.32 ล้านคน เป็นผูอ้ ยูใ่ น ก�ำลังแรงงาน จ�ำนวน 6.35 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 56.14 ของจ�ำนวน ประชากรรวมทัง้ หมด และผูไ้ ม่อยูใ่ นก�ำลังแรงงานรวมถึงผูม้ อี ายุตำ�่ กว่า 15 ปี จ�ำนวน 4.96 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 43.86 ของประชากรรวมทัง้ หมด ผูอ้ ยูใ่ นก�ำลังแรงงาน จ�ำนวน 6.35 ล้านคน ประกอบด้วยผูม้ งี านท�ำ 6.25 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 55.21 ผู้ว่างงาน จ�ำนวน 52,730 คน คิดเป็นร้อยละ 0.47 และผู้ที่รอฤดูกาล จ�ำนวน 51,650 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.46

จ�ำนวน (คน) 9,492,378 6,353,890 6,249,510 52,730 51,650 3,138,488 796,648 758,478 1,583,361 1,826,203 11,318,581

อัตราการเปลี่ยนแปลง

ร้อยละ 83.87 56.14 55.21 0.47 0.46 27.73 7.04 6.70 13.99 16.13 100.00

จ�ำนวน (คน) -1,062 -18,988 -9,651 -16,390 7,053 17,926 -65,707 7,624 76,008 -46,298 -47,360

ร้อยละ -0.01 -0.30 -0.15 -23.71 15.81 0.57 -7.62 1.02 5.04 -2.47 -0.42

ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน จ�ำนวน 3.14 ล้านคน ประกอบด้วย แม่บ้าน ท�ำงานบ้าน จ�ำนวน 7.97 แสนคน คิดเป็นร้อยละ 7.04 นักเรียน นิสิต นักศึกษา จ�ำนวน 7.58 แสนคน คิดเป็นร้อยละ 6.70 และอื่นๆ เช่น เด็ก คนชรา ผู้ป่วย ผู้พิการจนไม่สามารถท�ำงานได้ จ�ำนวน 1.58 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 13.99 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2561 พบว่าประชากรลดลง คิดเป็นร้อยละ 0.42 ผู้มีงานท�ำลดลง คิดเป็นร้อยละ 0.15 และ ผู้ว่างงานลดลง คิดเป็นร้อยละ 23.71

ตารางที่ 2 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอาชีพ ประเภทอาชีพ ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง เสมียน พนักงานบริการ และพนักงานขายในร้านค้าและตลาด ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง ผูป้ ฏิบตั งิ านด้านความสามารถทางฝีมอื และธุรกิจการค้าทีเ่ กีย่ วข้อง ผูป้ ฏิบตั กิ ารโรงงานและเครือ่ งจักร และผูป้ ฏิบตั งิ านด้านการประกอบ อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ รวม

1

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 ไตรมาสที่ 1 ปี 2562 อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

140,033 295,375 161,084 177,137 1,119,941 2,397,496 732,143 313,039 922,914 6,259,161

2.24 4.72 2.57 2.83 17.89 38.30 11.70 5.00 14.75 100.00

134,507 294,203 176,106 194,791 1,109,770 2,312,893 743,837 314,159 969,246 6,249,510

2.15 4.71 2.82 3.12 17.76 37.01 11.90 5.03 15.51 100.00

จ�ำนวน (คน)

-5,526 -1,172 15,022 17,654 -10,171 -84,603 11,694 1,120 46,332 -9,651

ร้อยละ

-3.95 -0.40 9.33 9.97 -0.91 -3.53 1.60 0.36 5.02 -0.15


๏ ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอาชีพ ผู้มีงานท�ำ จ�ำนวน 6.25 ล้านคน ท�ำงานในอาชีพผู้ปฏิบัติงานที่มี ฝีมือในด้านการเกษตรและการประมงมากที่สุด จ�ำนวน 2.31 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 37.01 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานขาย ในร้านค้าและตลาด จ�ำนวน 1.11 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17.76

และอาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ จ�ำนวน 9.69 แสนคน คิดเป็นร้อยละ 15.51 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาส ที่ 1 ปี 2561 พบว่า อาชีพผูบ้ ญั ญัตกิ ฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผูจ้ ดั การ ลดลงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 3.95

แผนภูมิที่ 1 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ตารางที่ 3 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคการผลิต ภาคบริการและการค้า รวม

ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 2,820,069 45.06

ไตรมาสที่ 1 ปี 2562 จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 2,752,946 44.05

อัตราการเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน (คน) ร้อยละ -67,123 -2.38

640,820

10.24

623,462

9.98

-17,358

-2.71

2,798,271

44.71

2,873,103

45.97

74,832

2.67

6,259,161

100.00

6,249,510

100.00

-9,651

0.15

๏ ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม เมือ่ พิจารณาในแต่ละช่วงของปี พบว่า ผูท้ ำ� งานในภาคเกษตรกรรม

มีจ�ำนวนมากในไตรมาสที่ 3 ปี 2561 เนื่องจากเป็นช่วงฤดูการท�ำ เกษตรกรรมและการเก็บเกี่ยวผลผลิตช่วงนอกฤดูการเกษตร ท�ำให้ คนท�ำงานในภาคเกษตรกรรมเคลือ่ นย้ายแรงงานเข้าสูภ่ าคการบริการและ การค้าในไตรมาสที่ 1 ปี 2562 เมื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงการท�ำงานตามลักษณะทาง เศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญในแต่ละช่วง ไตรมาสทีผ่ า่ นมา พบว่าผูท้ ำ� งานในภาค

การบริการและการค้าเพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 2 ปี 2561 และลดลงจนถึง ไตรมาสที่ 4 ปี 2561 หลังจากนัน้ กลับมาเพิม่ ขึน้ ถึงไตรมาสที่ 1 ปี 2562 ภาคเกษตรกรรมมีแนวโน้มลดลงและเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในไตรมาสที่ 3 ปี 2561 และกลับมาลดลงต่อเนื่องในไตรมาสที่ 4 ปี 2561 จนถึง ไตรมาสที่ 1 ปี 2562 ส�ำหรับภาคการผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจนถึง ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 และกลับมาลดลงต่อเนื่องจนถึงไตรมาสปัจจุบัน

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

2


ตารางที่ 4 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ ระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ ไม่มีการศึกษา

ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 จ�ำนวน (คน)

ไตรมาสที่ 1 ปี 2562

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

อัตราการเปลี่ยนแปลง

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

457,581

7.31

413,698

6.62

-43,883

-9.59

ต�่ำกว่าประถมศึกษา

1,727,102

27.59

1,635,595

26.17

-91,507

-5.30

ประถมศึกษา

1,254,083

20.04

1,240,506

19.85

-13,577

-1.08

มัธยมศึกษาตอนต้น

877,199

14.01

905,237

14.48

28,038

3.20

มัธยมศึกษาตอนปลาย

885,937

14.15

935,170

14.96

49,233

5.56

1,041,665

16.64

1,098,098

17.57

56,433

5.42

12,682

0.20

16,810

0.27

4,128

32.55

2,912

0.05

4,396

0.07

1,484

50.96

6,259,161

100.00

6,249,510

100.00

-9,651

-0.15

อุดมศึกษา อื่นๆ ไม่ทราบ รวม

หมายเหตุ 1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไม่เคยเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือไม่เคยได้รับการศึกษา 2. อื่นๆ หมายถึง บุคคลที่ส�ำเร็จการศึกษา ที่ไม่สามารถเทียบชั้นได้ 3. ผู้มีงานท�ำไม่ทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไม่พบตัวผู้ให้สัมภาษณ์/คนให้ข้อมูลไม่รู้ข้อมูล

๏ ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ ผู้มีงานท�ำส่วนใหญ่ส�ำเร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา และไม่มีการศึกษาสูงถึง จ�ำนวน 3.29 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 52.64 รองลงมาคือระดับอุดมศึกษา จ�ำนวน 1.10 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17.57

และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จ�ำนวน 9.35 แสนคน คิดเป็น ร้อยละ 14.96 โดยภาพรวมเมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2561 พบว่ามียอดลดลง จ�ำนวน 9,651 คน คิดเป็นร้อยละ 0.15

ตารางที่ 5 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน ประเภทอาชีพ นายจ้าง

ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 120,061 1.92

ไตรมาสที่ 1 ปี 2562 จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 119,329 1.91

อัตราการเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน (คน) ร้อยละ -732 -0.61

ลูกจ้างรัฐบาล

647,771

10.35

650,045

10.40

2,274

0.35

ลูกจ้างเอกชน

1,770,128

28.28

1,960,047

31.36

189,919

10.73

ท�ำงานส่วนตัว

2,347,567

37.51

2,234,817

35.76

-112,750

-4.80

ช่วยธุรกิจครัวเรือน

1,370,388

21.89

1,283,970

20.55

-86,418

-6.31

3,245

0.05

1,303

0.02

-1,942

-59.85

6,259,161

100.00

6,249,510

100.00

-9,651

-0.15

การรวมกลุ่ม รวม

หมายเหตุ การรวมกลุ่ม* หมายถึง กลุ่มคนที่มาร่วมกันท�ำงานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพึ่งตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคนมีความเท่าเทียมกันในการก�ำหนดการท�ำงาน ทุกขัน้ ตอนไม่วา่ เป็นการลงทุน การขาย งานอืน่ ๆ ของกิจการทีท่ ำ� ตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามทีต่ กลงกัน (การรวมกลุม่ ดังกล่าวอาจจดทะเบียนจัดตัง้ ในรูปของสหกรณ์ หรือไม่กไ็ ด้)

๏ ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน ผูม้ งี านท�ำส่วนใหญ่ทำ� งานส่วนตัวโดยไม่มลี กู จ้าง จ�ำนวน 2.23 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 35.76 รองลงมาคือ ลูกจ้างเอกชน จ�ำนวน 1.96 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 31.36 และช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับค่าจ้าง

3

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

จ�ำนวน 1.28 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 20.55 โดยภาพรวมเมือ่ เปรียบเทียบ กับไตรมาสที่ 1 ปี 2561 พบว่าผู้มีงานประเภทการรวมกลุ่มลดลง มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 59.85


ตารางที่ 6 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงานต่อสัปดาห์ ไตรมาสที่ 1 ปี 2561

ชั่วโมงการท�ำงาน

จ�ำนวน (คน)

ไตรมาสที่ 1 ปี 2562

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

อัตราการเปลี่ยนแปลง

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

0 ชั่วโมง

72,127

1.15

61,127

0.98

-11,000

-15.25

1-9 ชั่วโมง

18,300

0.29

21,264

0.34

2,964

16.20

10-19 ชั่วโมง

194,583

3.11

195,249

3.12

666

0.34

20-29 ชั่วโมง

691,824

11.05

719,023

11.51

27,199

3.93

30-34 ชั่วโมง

492,813

7.87

591,454

9.46

98,641

20.02

35-39 ชั่วโมง

774,485

12.37

713,209

11.41

-61,276

-7.91

40-49 ชั่วโมง

2,709,615

43.29

2,793,394

44.70

83,779

3.09

50 ชั่วโมง ขึ้นไป

1,305,414

20.86

1,154,790

18.48

-150,624

-11.54

6,259,161

100.00

6,249,510

100.00

-9,651

-0.15

รวม

หมายเหตุ : 1. ชั่วโมงท�ำงาน หมายถึง จ�ำนวนชั่วโมงท�ำงานจริงทั้งหมดในระหว่าง 7 วันก่อนวันสัมภาษณ์ บุคคลที่มีอาชีพมากกว่า 1 อาชีพจะรวมจ�ำนวนชั่วโมงท�ำงานทุกอาชีพ 2. 0 ชั่วโมง หมายถึง ผู้ที่ปกติมีงานประจ�ำแต่ในสัปดาห์การส�ำรวจไม่ได้ท�ำงาน อาจเนื่องมาจากหยุดพักผ่อน ลาป่วย เป็นต้น

๏ ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงานต่อสัปดาห์ ผูม้ งี านท�ำระหว่าง 35-49 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ จ�ำนวน 3.51 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 56.11 และผู้มีงานท�ำตั้งแต่ 50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ จ�ำนวน 1.15 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 18.48 หรือกล่าวได้ว่าผู้มีงานท�ำ ร้อยละ 74.59 ท�ำงานตั้งแต่ 35 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ และอาจจัดว่า บุคคลเหล่านีเ้ ป็นผูท้ ำ� งานเต็มทีใ่ นเรือ่ งชัว่ โมงการท�ำงาน ขณะทีผ่ ทู้ ำ� งาน

น้อยกว่า 35 (1-34) ชั่วโมงต่อสัปดาห์เป็นผู้ท�ำงานไม่เต็มที่ในเรื่อง ชั่วโมงการท�ำงานจ�ำนวน 1.53 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 24.43 ของ ผูม้ งี านท�ำทัง้ สิน้ ส�ำหรับผูท้ ไี่ ม่ได้ทำ� งานในสัปดาห์สำ� รวจ (ระหว่าง 7 วัน ก่อนวันสัมภาษณ์) แต่เป็นผู้มีงานประจ�ำซึ่งถือว่าสัปดาห์การส�ำรวจ ไม่มชี วั่ โมงการท�ำงาน (0 ชัว่ โมง) จ�ำนวน 61,127 คน มีเพียงร้อยละ 0.98

แผนภูมิที่ 2 ภาวะการว่างงาน และอัตราการว่างงาน

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

4


แผนภูมทิ ี่ 3 ภาวะอัตราการว่างงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด

ทีม่ า : ส�ำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ หมายเหตุ 1. ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติผลรวมของแต่ละจ�ำนวนอาจไม่เท่ากับยอดรวมทั้งนี้เนื่องมาจากการปัดเศษทศนิยมของข้ อมูล แต่ละจ�ำนวนซึ่งได้จากการประมวลผลด้วยโปรแกรมส�ำเร็จรูป

๏ ภาวะการว่างงาน และอัตราการว่างงาน ผูว้ า่ งงานไตรมาสที่ 1 ปี 2562 จ�ำนวน 52,730 คน เมือ่ เปรียบเทียบ กับไตรมาสเดียวกันของปี 2561 ลดลงจ�ำนวน 16,390 คน คิดเป็น ร้อยละ 23.71 ส�ำหรับอัตราการว่างงานลดลงจากร้อยละ 1.08 เป็น ร้อยละ 0.83 และเมือ่ เปรียบเทียบภาวะการว่างงานในแต่ละช่วงไตรมาส

2. อัตราการว่างงาน = จ�ำนวนผูว้ า่ งงาน x 100 ผูอ้ ยูใ่ นก�ำลังแรงงาน

ทีผ่ า่ นมา พบว่าจ�ำนวนผูว้ า่ งงาน และอัตราการว่างงานมีแนวโน้มลดลง อย่างต่อเนื่องแสดงถึงภาวะการมีงานท�ำเพิ่มขึ้น จังหวัดทีม่ อี ตั ราการว่างงานลดลง 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดล�ำพูน ร้อยละ 0.41 จังหวัดก�ำแพงเพชร ร้อยละ 0.46 จังหวัดอุตรดิตถ์ ร้อยละ 0.47 จังหวัดเพชรบูรณ์ ร้อยละ 0.48 และจังหวัดตาก ร้อยละ 0.54

ภาวะตลาดแรงงาน แผนภูมิที่ 4 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานย้อนหลัง

5

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


เมือ่ เปรียบเทียบการเปลีย่ นแปลงความต้องการแรงงานในแต่ละช่วงไตรมาสทีผ่ า่ นมา พบว่าความต้องการแรงงานมีแนวโน้มลดลงจนถึง ไตรมาสที่ 3 ปี 2561 และกลับมาเพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 4 ปี 2561 จนถึงไตรมาสที่ 1 ปี 2562 และเมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของช่วงปีที่ผ่านมา พบว่าลดลง จ�ำนวน 792 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 5.51 ผูล้ งทะเบียนสมัครงานลดลง จ�ำนวน 2,330 คน คิดเป็นร้อยละ 17.18 และการบรรจุงานลดลง จ�ำนวน 1,038 คน คิดเป็นร้อยละ 9.33

แผนภูมิที่ 5 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน

ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จ�ำนวน 13,585 อัตรา จ�ำแนกเพศชาย จ�ำนวน 1,501 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 11.05 เพศหญิง จ�ำนวน 1,203 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 8.86 และไม่ระบุ จ�ำนวน 10,881 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 80.10 ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน จ�ำนวน 11,235 คน จ�ำแนกเพศชาย

จ�ำนวน 5,005 คน คิดเป็นร้อยละ 44.55 เพศหญิง จ�ำนวน 6,230 คน คิดเป็นร้อยละ 55.45 การบรรจุงาน จ�ำนวน 10,086 คน จ�ำแนกเป็นเพศชาย จ�ำนวน 4,539 คน คิดเป็นร้อยละ 45.00 เพศหญิง จ�ำนวน 5,547 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00

แผนภูมิที่ 6 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จ�ำแนกตามจังหวัด

ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จังหวัดทีม่ คี วามต้องการ แรงงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 2,391 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 17.60 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 1,845 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 13.58 จังหวัดพิษณุโลก จ�ำนวน 1,539 อัตรา คิดเป็น ร้อยละ 11.33 จังหวัดเพชรบูรณ์ จ�ำนวน 1,084 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 7.98 และจังหวัดสุโขทัย จ�ำนวน 996 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 7.33

ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน จังหวัดที่มีผู้ที่ลงทะเบียนสมัครงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก จ�ำนวน 2,149 คน คิดเป็นร้อยละ 19.13 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 1,736 คน คิดเป็นร้อยละ 15.45 จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 970 คน คิดเป็นร้อยละ 8.63 จังหวัดสุโขทัย จ�ำนวน 856 คน คิดเป็นร้อยละ 7.62 และจังหวัดนครสวรรค์ จ�ำนวน 784 คน คิดเป็นร้อยละ 6.98

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

6


การบรรจุงาน จังหวัดที่มีผู้ที่ลงทะเบียนสมัครงาน และได้รับ การบรรจุงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก จ�ำนวน 1,958 คน คิดเป็นร้อยละ 19.41 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 1,573 คน

คิดเป็นร้อยละ 15.60 จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 967 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.59 จังหวัดสุโขทัย จ�ำนวน 745 คน คิดเป็นร้อยละ 7.39 และจังหวัดนครสวรรค์ จ�ำนวน 685 คน คิดเป็นร้อยละ 6.79

แผนภูมิที่ 7 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน และการบรรจุงานจ�ำแนกตามระดับการศึกษา

ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ระดับการศึกษาที่มี ความต้องการแรงงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษา จ�ำนวน 4,680 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 34.45 รองลงมาคือ ระดับประถมศึกษา และต�่ำกว่า จ�ำนวน 2,299 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 16.92 ระดับ ปวช. จ�ำนวน 1,874 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 13.79 ระดับ ปวส. จ�ำนวน 1,847 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 13.60 และระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 1,735 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 12.77 ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน ระดับการศึกษาที่ลงทะเบียนสมัครงาน 5 อันดับแรกได้แก่ ระดับมัธยมศึกษา จ�ำนวน 4,854 คน คิดเป็น ร้อยละ 43.20 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 2,918 คน

คิดเป็นร้อยละ 25.97 ระดับ ปวส. จ�ำนวน 1,388 คน คิดเป็น ร้อยละ 12.35 ระดับประถมศึกษาและต�ำ่ กว่า จ�ำนวน 1,073 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.55 และระดับ ปวช. จ�ำนวน 947 คน คิดเป็นร้อยละ 8.43 การบรรจุงาน ระดับการศึกษาทีไ่ ด้รบั การบรรจุงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษา จ�ำนวน 4,356 คน คิดเป็นร้อยละ 43.19 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 2,608 คน คิดเป็นร้อยละ 25.86 ระดับ ปวส. จ�ำนวน 1,291 คน คิดเป็นร้อยละ 12.80 ระดับประถมศึกษา และต�่ำกว่า จ�ำนวน 947 คน คิดเป็นร้อยละ 9.39 และระดับ ปวช. จ�ำนวน 841 คน คิดเป็นร้อยละ 8.34

แผนภูมิที่ 8 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน และการบรรจุงานจ�ำแนกตามอายุ

7

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


ความต้ อ งการแรงงาน (ต� ำ แหน่ ง งานว่ า ง) ช่วงอายุที่มี ความต้องการแรงงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ชว่ งอายุ 18-24 ปี จ�ำนวน 5,947 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 43.78 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 25-29 ปี จ�ำนวน 3,222 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 23.72 ช่วงอายุ 30-39 ปี จ�ำนวน 2,215 อัตรา คิดเป็น ร้อยละ 16.30 ช่วงอายุ 40-49 ปี จ�ำนวน 1,280 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 9.42 และช่วงอายุ 50-59 ปี จ�ำนวน 619 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 4.56 ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน ช่วงอายุที่มีผู้ลงทะเบียนสมัครงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ ช่วงอายุ 30-39 ปี จ�ำนวน 3,698 คน คิดเป็น ร้อยละ 32.91 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 18-24 ปี จ�ำนวน 2,897 คน

คิดเป็นร้อยละ 25.79 ช่วงอายุ 25-29 ปี จ�ำนวน 2,365 คน คิดเป็น ร้อยละ 21.05 ช่วงอายุ 40-49 ปี จ�ำนวน 1,479 คน คิดเป็นร้อยละ 13.16 และช่วงอายุ 50-59 ปี จ�ำนวน 567 คน คิดเป็นร้อยละ 5.05 การบรรจุงาน ช่วงอายุที่ได้รับการบรรจุงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ ช่วงอายุ 30-39 ปี จ�ำนวน 3,570 คน คิดเป็นร้อยละ 35.40 รองลงมา คือ ช่วงอายุ 18-24 ปี จ�ำนวน 2,387 คน คิดเป็นร้อยละ 23.67 ช่วงอายุ 25-29 ปี จ�ำนวน 2,014 คน คิดเป็นร้อยละ 19.97 ช่วงอายุ 40-49 ปี จ�ำนวน 1,402 คน คิดเป็นร้อยละ 13.90 และช่วงอายุ 50-59 ปี จ�ำนวน 523 คน คิดเป็นร้อยละ 5.19

แผนภูมิที่ 9 ความต้องการแรงงาน(ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน และการบรรจุงานจ�ำแนกประเภทอาชีพ

ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ประเภทอาชีพ 5 อันดับแรก(หมวดใหญ่) ได้แก่ 1. อาชีพงานพื้นฐาน จ�ำนวน 4,582 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 33.73 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

แรงงานด้านการประกอบการ • แรงงานบรรจุผลิตภัณฑ์ • ผู้ดูแลรักษาอาคารสิ่งปลูกสร้าง • แรงงานก่อสร้างถนน เขื่อน และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • ยาม ผู้เปิด-ปิดประตู ฯลฯ •

2. 2. พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จ�ำนวน 3,416 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 25.15 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

พนักงานขายของหน้าร้านและพนักงานสาธิตสินค้า พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม • แม่บ้านและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง • ผู้ให้บริการด้านการป้องกันภัยที่มิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น • พ่อครัว ฯลฯ

4. ช่างเทคนิคและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง จ�ำนวน 1,454 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 10.70 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

ตัวแทนฝ่ายขายด้านเทคนิคและการค้า เจ้าหน้าที่บัญชี • ผู้ปฏิบัติงานด้านบริหารงานทั่วไป ที่มิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น • ตัวแทนขายประกันภัย • ผู้ตรวจสอบด้านความปลอดภัย สุขภาพ และคุณภาพผลิตภัณฑ์ ฯลฯ • •

• •

3. เสมียน เจ้าหน้าที่ จ�ำนวน 2,226 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 16.39 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้ เจ้าหน้าที่ส�ำนักงานอื่นๆ เจ้าหน้าที่เก็บเงินและเจ้าหน้าที่ขายตั๋ว • เจ้าหน้าที่คลังสินค้า • เจ้าหน้าที่สถิติและการเงิน • พนักงานต้อนรับ และพนักงานบริการข้อมูลข่าวสาร ฯลฯ • •

5. ผู้ปฏิบัติงานโดยใช้ฝีมือในธุรกิจต่างๆ จ�ำนวน 600 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 4.42 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องยานยนต์ • ช่างไฟฟ้าอาคารและอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ • ช่างเจียระไนโลหะ ช่างขัดเงาโลหะ และช่างลับเครื่องมือ • ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งอุปกรณ์ไฟฟ้าก�ำลัง • ช่างปรับแต่งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ •

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

8


ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ประเภทอุตสาหกรรม 5 อันดับแรก (หมวดใหญ่) ได้แก่ 1. การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์

4. กิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน

จ�ำนวน 3,934 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 28.96 จ�ำแนกรายละเอียด หมวดย่อย ดังนี้

จ�ำนวน 978 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 7.20 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

การขายปลีก ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์ • การขายส่ง ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์ • การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์

กิจกรรมการจัดหางาน • กิจกรรมการบริการรักษาความปลอดภัยและการสืบสวน • กิจกรรมบริการส�ำหรับอาคารและภูมิทัศน์ • การบริหารส�ำนักงาน บริการสนับสนุนส�ำนักงาน และบริการสนับสนุนทางธุรกิจอื่นๆ • กิจกรรมการให้เช่าและให้เช่าแบบลิสซิ่ง และ • ตัวแทนธุรกิจการเดินทาง ธุรกิจจัดน�ำเที่ยว และบริการส�ำรองและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง

2. การผลิต จ�ำนวน 3,694 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 27.19 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

การผลิต ผลิตภัณฑ์อาหาร • การผลิตเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย • การผลิตผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์ทางทัศนศาสตร์ • การผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทอื่นๆ • การผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่ท�ำจากแร่อโลหะ ฯลฯ •

5. การขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า จ�ำนวน 655 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 4.82 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

การขนส่งทางบกและการขนส่งทางท่อล�ำเลียง กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับคลังสินค้าและกิจกรรมสนับสนุนการขนส่ง • กิจกรรมไปรษณีย์ และการรับส่งเอกสาร/สิ่งของ • การขนส่งทางอากาศ และ • การขนส่งทางน�้ำ • •

3. ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร จ�ำนวน 1,481 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 10.90 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้ •

ที่พักแรม และ • การบริการด้านอาหาร และเครื่องดื่ม

การบรรจุงานประเภทอาชีพ 5 อันดับแรก (หมวดใหญ่) ได้แก่ 1. อาชีพงานพื้นฐาน จ�ำนวน 3,304 คน คิดเป็นร้อยละ 32.76 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

แรงงานด้านการประกอบ • แรงงานบรรจุผลิตภัณฑ์ • แรงงานก่อสร้างถนน เขื่อน และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • ผู้ดูแลรักษาอาคารสิ่งปลูกสร้าง • ผู้ขนส่งสินค้าต่างๆ ฯลฯ •

4. ช่างเทคนิคและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง จ�ำนวน 1,052 คน คิดเป็นร้อยละ 10.43 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้ ตัวแทนฝ่ายขายด้านเทคนิคและการค้า เจ้าหน้าที่บัญชี • ผู้ปฏิบัติงานด้านบริหารงานทั่วไป ที่มิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น • ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล • ตัวแทนขายประกันภัย • •

2. พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จ�ำนวน 2,553 คน คิดเป็นร้อยละ 25.31 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

พนักงานขายของหน้าร้านและพนักงานสาธิตสินค้า • พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม • ผู้ให้บริการด้านการป้องกันภัยที่มิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น • แม่บ้านและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง • พ่อครัว ฯลฯ •

จ�ำนวน 360 คน คิดเป็นร้อยละ 3.57 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้ • • •

3. เสมียน เจ้าหน้าที่ จ�ำนวน 1,800 คน คิดเป็นร้อยละ 17.85 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

เจ้าหน้าที่ส�ำนักงานอื่นๆ • เจ้าหน้าที่เก็บเงินและเจ้าหน้าที่ขายตั๋ว • เจ้าหน้าที่คลังสินค้า • พนักงานต้อนรับ และพนักงานบริการข้อมูลข่าวสาร • เจ้าหน้าที่สถิติและการเงิน ฯลฯ •

9

5. ผู้ปฏิบัติงานในโรงงาน ผู้ควบคุมเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

• •

ผู้ขับรถยนต์ รถรับจ้าง และรถตู้ ผู้ขับรถบรรทุกขนาดใหญ่ ผู้ควบคุมเครื่องผลิตรองเท้า และผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง พนักงานขับรถจักร (พนักงานขับรถไฟ) ผู้ขับเคลื่อนหัวรถจักร ผู้ควบคุมเครื่องแปรรูปใบชา กาแฟ และโกโก้ ฯลฯ


การบรรจุงานประเภทอุตสาหกรรม 5 อันดับแรก (หมวดใหญ่) ได้แก่ 1. การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์

2. การผลิต จ�ำนวน 2,601 คน คิดเป็นร้อยละ 25.79

3. ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร

จ�ำนวน 3,158 คน คิดเป็นร้อยละ 31.31

จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

จ�ำนวน 1,096 คน คิดเป็นร้อยละ 10.87

จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

การผลิต ผลิตภัณฑ์อาหาร • การผลิตผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์ทางทัศนศาสตร์ • การผลิตเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย • การผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่ท�ำจากแร่โลหะ • การผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทอื่นๆ ฯลฯ

จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

การขายปลีก ยกเว้นยานยนต์และ จักรยานยนต์ • การขายส่งยกเว้น ยานยนต์และ จักรยานยนต์ และ • การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์ •

4. กิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน จ�ำนวน 729 คน คิดเป็นร้อยละ 7.23 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

5. การขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า จ�ำนวน 436 คน คิดเป็นร้อยละ 4.32 จ�ำแนกรายละเอียดหมวดย่อย ดังนี้

กิจกรรมการจัดหางาน กิจกรรมการบริการรักษาความปลอดภัยและการสืบสวน • กิจกรรมบริการส�ำหรับอาคารและภูมิทัศน์ • กิจกรรมการให้เช่าและให้เช่าแบบลิสซิ่ง • การบริหารส�ำนักงาน บริการสนับสนุนส�ำนักงานและบริการสนับสนุนทางธุรกิจอื่นๆ และ • ตัวแทนธุรกิจการเดินทาง ธุรกิจจัดน�ำเที่ยว และบริการส�ำรองและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง •

ที่พักแรม และ • การบริการด้านอาหารและเครื่องดื่ม •

การขนส่งทางบกและการขนส่งทางท่อล�ำเลียง • กิจกรรมที่เกี่ยวกับคลังสินค้าและ กิจกรรมสนับสนุนการขนส่ง • กิจกรรมไปรษณีย์ และการรับส่งเอกสาร/ส่งของ • การขนส่งทางอากาศ และ • การขนส่งทางน�้ำ ตารางที่ 8 ความต้องการแรงงานใน 10 อุตสาหกรรมเป้ าหมาย

ตารางที่ 7 ความต้องการแรงงานใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ระดับการศึกษา

ประเภทอุตสาหกรรม

รวม

ยานยนต์สมัยใหม่ อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ การท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ และการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ การแปรรูปอาหาร หุ่นยนต์เพื่อการอุตสาหกรรม การบินและโลจิสติกส์ เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ดิจิทัล การแพทย์ครบวงจร รวม

ประถมศึกษาและต�่ำกว่า มัธยมศึกษา

64 307 1,533 244 1,690 12 655 17 351 117 4,990

23 70 216 53 327 5 158 4 24 18 898

16 81 667 76 536 5 203 7 63 25 1,679

ปวช.

7 43 211 30 235 2 73 2 41 17 661

ปวส.

6 41 222 32 223 0 82 2 71 27 706

อนุปริญญา

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

1 26 94 23 162 0 62 0 57 6 431

11 39 123 30 189 0 77 2 95 24 590

0 7 0 0 18 0 0 0 0 0 25

ความต้องการแรงงานใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย

จ�ำแนกประเภทอุตสาหกรรม 5 อันดับแรก

1. ระดับมัธยมศึกษา จ�ำนวน 1,679 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 33.65 2. ระดับประถมศึกษาและต�ำ่ กว่า จ�ำนวน 898 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 18.00 3. ระดับ ปวส. จ�ำนวน 706 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 14.15 BOOK

1. อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร จ�ำนวน 1,690 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 33.87 2. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ และการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ จ�ำนวน 1,533 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 30.72 3. อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ จ�ำนวน 655 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 13.13 4. อุตสาหกรรมดิจิทัล จ�ำนวน 351 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 7.03 5. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ จ�ำนวน 307 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 6.15

จ�ำแนกตามระดับการศึกษา 5 อันดับแรก

4. ระดับ ปวช. จ�ำนวน 661 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 13.25 5. ระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 590 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 11.82 ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

10


ภาวะการลงทุน ไตรมาสที่ 1

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ปี 2562

ปี 2561

โรงงาน (แห่ง)

111

137

-18.98

เงินลงทุน (ล้านบาท)

2,359.75

3,230.35

-26.95

การจ้างงาน (คน)

1,431

1,483

-3.51

การลงทุนในภาคเหนือไตรมาสที่ 1 ปี 2562 มีโรงงานทีข่ ออนุญาตประกอบกิจการใหม่ 111 แห่ง เงินลงทุน 2,359.75 ล้านบาท และ เกิดการจ้างงาน 1,431 คน เมือ่ เปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2561 พบว่าจ�ำนวนโรงงานอุตสาหกรรมลดลง คิดเป็นร้อยละ 18.98 เงินลงทุน ลดลง คิดเป็นร้อยละ 26.95 และการจ้างงานลดลง คิดเป็นร้อยละ 3.51

จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดทีม่ โี รงงานที่ ได้รบั อนุญาตให้ประกอบกิจการ 5 อันดับแรก

1. จังหวัดก�ำแพงเพชร และจังหวัดเพชรบูรณ์ จ�ำนวน 19 แห่ง เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 17.12

2. จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 9.91

3. จังหวัดเชียงราย จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดแพร่ จ�ำนวน 7 แห่ง เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 6.31

4. จังหวัดพะเยา และจังหวัดล�ำปาง จ�ำนวน 6 แห่ง เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 5.41

5. จังหวัดตาก และจังหวัดอุตรดิตถ์ จ�ำนวน 5 แห่ง เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 4.50

3. จังหวัดเพชรบูรณ์ จ�ำนวน 218.32 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.25

4. จังหวัดนครสวรรค์ จ�ำนวน 178.28 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.56

5. จังหวัดก�ำแพงเพชร จ�ำนวน 139.60 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.92

จังหวัดที่มีมูลค่าการลงทุน 5 อันดับแรก

1. จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 911.31 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 38.62

11

2. จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 286.68 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.15

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


จังหวัดทีม่ กี ารจ้างงาน 5 อันดับแรก

1. จังหวัดตาก จ�ำนวน 392 คน คิดเป็นร้อยละ 27.39

2. จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 12.72

3. จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 171 คน คิดเป็นร้อยละ 11.95

4. จังหวัดนครสวรรค์ จ�ำนวน 128 คน คิดเป็นร้อยละ 8.94

5. จังหวัดก�ำแพงเพชร จ�ำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 7.83

จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่ ได้รับอนุญาตประกอบกิจการ 5 อันดับแรก

1. อุตสาหกรรมเกษตร จ�ำนวน 21 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.92

2. อุตสาหกรรมทั่วไป จ�ำนวน 17 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 15.32

3. อุตสาหกรรมอาหาร จ�ำนวน 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 13.51

4. อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และ เครื่องเรือน และ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์อโลหะ จ�ำนวน 13 แห่ง เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 11.71

5. อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ ซ่อมแซมโลหะ จ�ำนวน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 7.21

3. อุตสาหกรรมเกษตร จ�ำนวน 284.60 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.06

4. อุตสาหกรรมขนส่ง จ�ำนวน 216.28 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.17

5. อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม จ�ำนวน 187.05 คิดเป็นร้อยละ 7.93

3. อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และ เครื่องเรือน จ�ำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 8.39

4. อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ ซ่อมแซมโลหะ จ�ำนวน 107 คน คิดเป็นร้อยละ 7.48

5. อุตสาหกรรมเกษตร จ�ำนวน 102 คน คิดเป็นร้อยละ 7.13

อุตสาหกรรมทีม่ มี ลู ค่าการลงทุน 5 อันดับแรก

1. อุตสาหกรรมเคมี จ�ำนวน 779.34 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 33.03

2. อุตสาหกรรมทั่วไป จ�ำนวน 443.87 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.81

อุตสาหกรรมทีม่ กี ารจ้างงาน 5 อันดับแรก

1. อุตสาหกรรมทั่วไป จ�ำนวน 532 คน คิดเป็นร้อยละ 37.18

2. อุตสาหกรรมอาหาร จ�ำนวน 141 คน คิดเป็นร้อยละ 9.85

ทีม่ า : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

12


การไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำนวนแรงงานไทยที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำแนกวิธีการเดินทาง 5 วิธีการเดินทาง บริษัทจัดหางานจัดส่ง จ�ำนวน 1,025 คน ร้อยละ 41.62

นายจ้างพาลูกจ้างไปท�ำงาน จ�ำนวน 384 คน ร้อยละ 15.59

นายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน จ�ำนวน 83 คน ร้อยละ 3.37

5 วิธี การเดินทาง

1

2,463 คน

2

กรมการจัดหางานจัดส่ง จ�ำนวน 718 คน ร้อยละ 29.15

4

การเดินทางด้วยตนเอง จ�ำนวน 253 คน ร้อยละ 10.27

3 5

แรงงานไทยที่ได้รับอนุญาตให้ไปท�ำงานต่างประเทศไตรมาสที่ 1 ปี 2562 จ�ำนวน 2,463 คน เพิ่มขึ้น จากไตรมาสที่ 1 ปี 2561 จ�ำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 0.33 ส�ำหรับ Re-entry จ�ำนวน 3,173 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 1 ปี 2561 จ�ำนวน 302 คน คิดเป็นร้อยละ 10.52 ประเทศที่แรงงานไทยเดินทางไปท�ำงานมากที่สุด 5 อันดับแรก

13

1

ประเทศไต้หวัน 860 คน ร้อยละ 34.92

2

ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี 363 คน ร้อยละ 14.74

3

ประเทศอิสราเอล 320 คน ร้อยละ 12.99

4

ประเทศญี่ปุ่น 272 คน ร้อยละ 11.04

5

ประเทศ สปป.ลาว 154 คน ร้อยละ 6.25 ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


แผนภูมิที่ 10 จ�ำนวนแรงงานไทยที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำแนกตามจังหวัด

ไตรมาสท่ี 1 ป 2562

518

600

423

500

ไตรมาสท่ี 1 ป 2561

294

308

353

400

138 138 25 16

13 4

51 60

62 69

131 110

45 70

132 133

127 130

137 98

140 152

100 134

100

107

148 164

200

151

237

300

าน ยัธ

อทุ

ติถ รด

ยั

อตุ

สโุข ท

นู ลาํพ

าง ลาํป

งสอ

ร แม

ฮอ

แพ

รูณ

เพช

รบ

ลก ณโุ

ติร

พษิ

พจิ

พะ เยา

น นา

 รสว

รรค

ก ตา

นค

กาํแ

พง

เพช

ร เชยี งรา ย เชยี งให ม

0

จังหวัดที่แรงงานไทยเดินทางไปท�ำงานต่างประเทศมากที่สุด 5 อันดับแรก ดังนี้

1

จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 518 คน ร้อยละ 21.03

2

จังหวัดล�ำปาง จ�ำนวน 308 คน ร้อยละ 12.51

3

จังหวัดสุโขทัย จ�ำนวน 237 คน ร้อยละ 9.62

4

จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 151 คน ร้อยละ 6.13

5

จังหวัดก�ำแพงเพชร จ�ำนวน 148 คน ร้อยละ 6.01

หมายเหตุ : การแจ้งการเดินทางกลับไปท�ำงานต่างประเทศ (Re-entry) หมายถึง กรณีทคี่ นหางานเดินทางไปท�ำงานในต่างประเทศแล้วเดินทาง กลับมาพักผ่อนหรือท�ำธุระชัว่ คราวทีป่ ระเทศไทยในระหว่างสัญญาจ้าง แล้วกลับไปท�ำงานกับนายจ้างรายเดิม รวมทัง้ กรณีทที่ ำ� งานครบก�ำหนด ตามสัญญาจ้างฉบับเดิมแล้วได้ทำ� สัญญาจ้างใหม่กบั นายจ้าง ซึง่ อาจเป็นนายจ้างรายเดิมหรือนายจ้างรายใหม่กไ็ ด้ แล้วจึงเดินทางกลับมาพักผ่อน หรือท�ำธุระทีป่ ระเทศไทย แล้วเดินทางกลับไปท�ำงานอีก ต้องแจ้งการเดินทางให้กรมการจัดหางานทราบก่อนวันเดินทาง ทีม่ า : กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

14


การท�ำงานของแรงงานต่างด้าว ตารางที่ 8 จ�ำนวนแรงงานต่างด้าวจ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�ำงาน ตลอดชีพ ทั่วไป พิสูจน์สัญชาติคงเหลือ พิสูจน์สัญชาติด�ำเนินการจัดท�ำ/ปรับปรุงทะเบียนประวัติ น�ำเข้าตาม MOU ส่งเสริมการลงทุน ชนกลุ่มน้อย คนต่างด้าวที่เข้ามาท�ำงานในลักษณะ ไป-กลับ หรือตามฤดูกาล รวม

ณ มีนาคม 2562

ณ มีนาคม 2561

เพิ่ม/ลด (%)

3 8,265 72,395 117,610 24,489 1,243 40,336 115 264,456

3 8,145 116,873 0 19,117 1,200 40,781 4,007 190,126

0 1.47 -38.06 100.00 28.10 3.58 -1.09 -97.13 39.10

ทีม่ า : ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว

แรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�ำงานในภาคเหนือ ณ เดือนมีนาคม 2562 จ�ำนวน 264,456 คน เมื่อเปรียบเทียบ ณ เดือนมีนาคม 2561 เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 74,330 คน คิดเป็นร้อยละ 39.10

จ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�ำงาน ประเภทตลอดชีพ

จ�ำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.001

ประเภททั่วไป

จ�ำนวน 8,265 คน คิดเป็นร้อยละ 3.13

มาตรา 59

ประเภทพิสูจน์สัญชาติคงเหลือ

จ�ำนวน 72,395 คน คิดเป็นร้อยละ 27.38 ประเภทพิสูจน์สัญชาติด�ำเนินการจัดท�ำ / ปรับปรุงทะเบียนประวัติ จ�ำนวน 117,610 คน คิดเป็นร้อยละ 44.47

ประเภทน�ำเข้าตาม MOU

จ�ำนวน 24,489 คน คิดเป็นร้อยละ 9.26

มาตรา 62

ประเภทส่งเสริมการลงทุน จ�ำนวน 1,243 คน คิดเป็นร้อยละ 0.47

มาตรา 63

ประเภทชนกลุ่มน้อย จ�ำนวน 40,336 คน คิดเป็นร้อยละ 15.25

มาตรา 64

ประเภทที่เข้ามาท�ำงานในลักษณะไป-กลับ หรือตามฤดูกาล จ�ำนวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 0.04

15

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

จ�ำแนกตามรายจังหวัด 5 อันดับแรก

1 2 3 4 5

จังหวัดเชียงใหม่

จ�ำนวน 141,849 คน คิดเป็นร้อยละ 53.64

จังหวัดตาก

จ�ำนวน 32,232 คน คิดเป็นร้อยละ 12.19

จังหวัดเชียงราย

จ�ำนวน 23,159 คน คิดเป็นร้อยละ 8.76

จังหวัดล�ำพูน

จ�ำนวน 18,326 คน คิดเป็นร้อยละ 6.93

จังหวัดเพชรบูรณ์

จ�ำนวน 9,377 คน คิดเป็นร้อยละ 3.55


บทความ : นัยที่แฝงเบื้องหลังอัตราการว่างงานที่ต�่ำ นางธิรดา ชัยเดชอัครกุล กลุ่มสถิติแรงงาน ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ นายปุญญวิชญ์ เศรษฐ์สมบูรณ์ ฝ่ายนโยบายโครงสร้างเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทย

ในปี 2561 ส�ำนักข่าว Bloomberg จัดอันดับให้ไทยเป็น ประเทศที่มีความทุกข์ยาก (Misery Index) น้อยที่สุดในโลก หนึง่ ในตัวเลขทีใ่ ช้อา้ งอิง คือ อัตราการว่างงานไทยทีต่ ำ�่ เป็นอันดับ 7 จาก 181 ประเทศทั่วโลก (The World Bank 2017) อัตราว่างงาน ที่ต�่ำเช่นนี้ชวนให้เกิดข้อสงสัยว่าจริงหรือที่คนไทยมีความทุกข์ เรื่องงานน้อยมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ หรือที่จริงแล้วตัวเลข ดังกล่าวเป็นเพียงภาพลวงตาและมีความหมายใดแฝงอยู่ บทความนี้ จึงมุ่งตีแผ่นัยของอัตราการว่างงานไทยที่อยู่ในระดับต�่ำ โดยแบ่ง เนือ้ หาเป็นสามส่วน 1. ข้อเท็จจริงของนิยามของอัตราการว่างงานไทย 2. ปัญหาเชิงโครงสร้างทีต่ วั เลขอัตราการว่างงานไม่สามารถสะท้อนได้ และ 3. เสนอเครื่องชี้ด้านแรงงานอื่นๆ เพิ่มเติม

1. นิยามของอัตราการว่างงานไทย เพื่อให้เห็นภาพว่าอัตราการว่างงานไทยที่ 1.1% นั้นต�่ำ เพียงใด ลองคิดดูว่าหากประเทศไทยมีคนพร้อมจะท�ำงานทั้งหมด 100 คน จะมีเพียง 1 คนเท่านัน้ ทีว่ า่ งงาน ในเมือ่ คนไทยเกือบทัง้ หมด มีงานท�ำเหตุใดจึงมีเสียงบ่นจากคนจ�ำนวนไม่นอ้ ยว่ามีรายได้ไม่เพียงพอ ต่อการยังชีพ จึงเกิดค�ำถามว่าตัวเลขอัตราการว่างงานเชื่อถือ ได้หรือไม่ เพื่อไขข้อสงสัยนี้ ขออ้างอิงนิยามของคนว่างงานตาม มาตรฐานองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ว่า ผูว้ า่ งงาน คือ ผูท้ ไี่ ม่มงี านท�ำหรือหากมีงานท�ำ ก็ทำ� ไม่ถงึ หนึง่ ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ซึง่ เป็นนิยามทีป่ ระเทศทัว่ โลกรวม ถึงไทยน�ำมาใช้ อย่างไรก็ตาม ประเทศสหรัฐฯ ได้เพิ่มเติมนิยาม ผู้ว่างงานให้เข้มขึ้นโดยนับรวมบุคคลที่ช่วยกิจการที่บ้านโดยไม่ได้ รับค่าตอบแทนและท�ำงานไม่ถึง 15 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หากเรา ค�ำนวณตามนิยามแบบสหรัฐฯ จะพบว่าอัตราการว่างงานของไทย เพิ่มขึ้นจาก 1.1% เป็น 1.5% ซึ่งยังคงต�่ำมากเมื่อเทียบกับสหรัฐฯ ในช่วงเวลาเดียวกันที่ 4%

2. ประเด็นเชิงโครงสร้างที่ตัวเลขอัตราการว่างงาน ไม่สามารถสะท้อนได้ แม้อตั ราการว่างงานไทยอยูใ่ นระดับต�ำ่ แต่ไม่ได้หมายความว่า ตลาดแรงงานจะไม่มีปัญหาใดๆ เพราะเราก�ำลังเผชิญปัญหาเชิง โครงสร้าง 3 ประการ

ประการแรก แรงงานบางส่วนอาจไม่มีทางเลือกและต้องทนท�ำงาน ที่ไม่มั่นคง

แรงงานภาคเกษตรซึ่งมีเกือบหนึ่งในสามของผู้มีงานท�ำ ทั้งหมด ส่วนใหญ่ไม่ได้มีสถานะเป็นลูกจ้างและไม่ได้อยู่ในระบบ ประกันสังคม จึงไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการส�ำคัญ อาทิ คลอดบุตร สงเคราะห์บตุ ร ทุพพลภาพ เสียชีวติ สวัสดิการจากเงินทดแทนกรณี ว่างงาน นอกจากนี้ลักษณะงานของภาคเกษตรเองไม่เอื้อต่อการ ท�ำงานในแต่ละวันได้เต็มที่ (Underemployment) เห็นได้จาก เวลาเฉลี่ยในการท�ำงานประมาณ 5 ชั่วโมงต่อวัน ต�่ำกว่านอกภาค เกษตรที่เฉลี่ยเกือบ 7 ชั่วโมงต่อวัน ส�ำหรับกลุ่มผู้ท�ำงานนอกภาคเกษตรที่ถึงแม้จะมีงานท�ำ แต่หนึง่ ในสามอาจมีความไม่มนั่ คงในการท�ำงานนัก เพราะไม่ได้อยู่ ในระบบประกันสังคม โดยเฉพาะแรงงานในภาคการค้าที่ส่วนใหญ่ เป็นธุรกิจขนาดเล็ก แข่งขันสูงและมีสถานะทางการเงินไม่ดี เช่น ธุรกิจค้าปลีก แผงลอย โชห่วย และขายของหน้าร้าน ประการที่สอง ไม่พร้อมหางานไม่ได้หมายความว่าไม่ต้องการท�ำงาน

อัตราการว่างงานที่ต�่ำส่วนหนึ่งเป็นผลจากก�ำลังแรงงาน บางส่วนเกษียณก่อนอายุก�ำหนด (Early retire) ซึ่งมีแนวโน้ม เพิม่ สูงขึน้ และบางส่วนของคนกลุม่ นีล้ ม้ เลิกความตัง้ ใจทีจ่ ะหางาน หลังพยายามหางานมาแล้วระยะหนึง่ หรือเรียกว่าถูกบัน่ ทอนก�ำลัง ใจในการหางาน (Discouraged worker) ซึ่งคนกลุ่มนี้จะไม่ถูกนับ ทัง้ ว่าเป็นก�ำลังแรงงานและผูว้ า่ งงาน ท�ำให้อตั ราการว่างงานต�ำ่ กว่า กรณีที่นับรวมเข้าในก�ำลังแรงงานและเป็นผู้ว่างงาน ในปัจจุบัน แบบส�ำรวจของไทยไม่สามารถระบุจ�ำนวนคนกลุ่มนี้ ต่างจาก แบบส�ำรวจของประเทศพัฒนาแล้วอื่นๆ ประการที่สาม มีงานท�ำไม่ได้สะท้อนว่าท�ำงานตรงความสามารถ

การวัดเพียงว่ามีงานท�ำอาจท�ำให้ประเมินสถานการณ์ ตลาดแรงงานดีเกินจริง เพราะแรงงานจะท�ำงานได้ดีและเป็น ประโยชน์ก็ต่อเมื่อได้ท�ำงานที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ โดย ปุญญวิชญ์ เศรษฐ์สมบูรณ์ และศวพล หิรัญเตียรณกุล (2562) ระบุวา่ หนึง่ ในสิบของลูกจ้างนอกภาคเกษตรไทยได้รบั ค่าจ้างต�ำ่ กว่า วุฒกิ ารศึกษาเพราะท�ำงานไม่ตรงความสามารถหรือเรียกว่ามีปญ ั หา

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

16


ความไม่สอดคล้องกันของการจ้างงาน (Job Mismatch) ในด้าน วุฒิการศึกษา (Vertical Mismatch) และสาขาวิชาที่เรียน (Horizontal Mismatch)

3. เสนอเครื่องชี้ด้านแรงงานอื่นๆ เพิ่มเติมจากอัตรา การว่างงาน ปัญหาเชิงโครงสร้างดังกล่าวท�ำให้การใช้อตั ราการว่างงาน เพียงอย่างเดียวไม่สามารถสะท้อนภาพตลาดแรงงานทั้งหมดได้ ด้วยเหตุน้ีผู้เขียนจึงได้เสนอการวิเคราะห์และติดตามพัฒนา การตลาดแรงงานไทยเพิ่มเติม ใน 3 มิติ ดังนี้ 1) ความเชื่อมั่นของตลาดแรงงาน (Confidence) อาทิ แนวโน้มการจ้างงานของภาคธุรกิจซึ่งสะท้อนความเชื่อมั่น ของผู้ประกอบการ 2) พฤติกรรมของนายจ้าง (Employer’s Behavior) อาทิ จ�ำนวนผู้ท�ำงานมากกว่า 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สะท้อนว่า นายจ้างต้องการแรงงานมากจึงต้องจ่ายค่าล่วงเวลา ซึง่ เป็นสัญญาณ ความตึงตัวในตลาดแรงงาน 3) ศักยภาพของตลาดแรงงาน (Utilization) อาทิ อัตราการว่างงาน จ�ำนวนคนว่างงานที่ไม่เคยท�ำงานมาก่อน เพื่อสะท้อนว่ามีการใช้แรงงานเต็มที่หรือไม่

เครือ่ งชีช้ ดุ ดังกล่าวท�ำให้การวิเคราะห์ตลาดแรงงานมีมมุ มอง ที่กว้างขึ้น ตัวอย่างเช่นตลาดแรงงานในไตรมาสที่ 4 ปี 2561 ปรับดีขนึ้ ในหลายมิติ มีการใช้แรงงานเต็มศักยภาพในระดับใกล้เคียง กับค่าเฉลีย่ ในอดีต และมีแนวโน้มการจ้างงานเพิม่ ขึน้ จากความเชือ่ มัน่ ต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้มีการจ้างแรงงานท�ำโอที ในภาคการผลิตเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับการผลิตสินค้าให้เพียงพอต่อ ความต้องการ อย่างไรก็ดีความต้องการแรงงานในกลุ่มทักษะต�่ำ ยังคงปรับลดลง นอกจากการมีชุดเครื่องชี้ฯ นี้แล้ว การปรับปรุงชุดค�ำถาม ของแบบส�ำรวจภาวะการท�ำงานของประชากร เพือ่ พัฒนาข้อมูลให้ ถูกต้อง ครบถ้วน เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงาน รวมทั้งการศึกษาเชิงลึกด้านโครงสร้างตลาดแรงงาน มีความส�ำคัญ เช่นกัน ซึง่ จะท�ำให้ภาครัฐด�ำเนินนโยบายและผูป้ ระกอบการสามารถ วางแผนธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยเติบโต อย่างยั่งยืน เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทยทุกคน

บทความนี้เป็นข้อคิดเห็นส่วนบุคคล ซึ่งไม่จ�ำเป็นต้องสอดคล้องกับข้อคิดเห็นของธนาคารแห่งประเทศไทย

17

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


อํานวยการจัดทํา

นางสาวสุกัญญา ภูพัฒนากุล ผูอํานวยการกองบริหารขอมูลตลาดแรงงาน

คณะผูจัดทํา นายนพดล วาที่ ร.ต.หญิงดรุณี นายภาณุศาสตร นางสาวมณีวรรณ นางฮาดีกะห นางพรนิสา นายจักรกฤษณ นายณัฐพร นางสาวคัทธิยา นายธิติ นางสาวชอผกา

ชาญชัยภูวดล จันทรมล โฮมภิรมย เสมอใจ จําปาทอง เทพวงค ขันทะพงษ กอเกิดวงศ ฟูเจริญสุข ศรีมาทา

วงคกาไชย

หัวหนาศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ นักวิชาการแรงงานชํานาญการ นักวิชาการแรงงานชํานาญการ เจาพนักงานแรงงานชํานาญงาน เจาพนักงานแรงงานชํานาญงาน พนักงานธุรการ ส ๒ พนักงานขับรถยนต ส ๒ เจาพนักงานแรงงาน เจาพนักงานแรงงาน เจาหนาที่บันทึกขอมูล เจาหนาที่บันทึกขอมูล

มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของเจาหนาที่กรมการจัดหางาน ขอ ๑. ขอ ๒. ขอ ๓. ขอ ๔. ขอ ๕.

ปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตย มีคุณธรรม และเสมอภาค ใหบริการดวยความเต็มใจ รวดเร็ว และประทับใจ มีมนุษยสัมพันธ ขยัน อดทน สามัคคี มีวินัย พัฒนาตนเองและหนวยงาน สรรคสรางสังคม ศรัทธารักษาเกียรติ และศักดิ์ศรีของหนวยงาน


ศูนย บร�หารข อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ ศาลากลางจังหวัดลําปางชั้น ๓ ถนนวช�ราวุธดําเนิน ตําบลพระบาท อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง ๕๒๐๐๐

๐-๕๔๒๖-๕๐๕๐

๐-๕๔๒๖-๕๐๗๑

www.nlmi-lp.com

: lm_lpg@live.com

: lmi.lampang

: @lmi.doe

พิมพ ที่ : บร�ษัท นันทพันธ พร�้นติ้ง จํากัด ๓๓/๔-๕ ม.๖ ถ.เช�ยงใหม -หางดง ต.แม เหียะ อ.เมือง จ.เช�ยงใหม โทร. ๐๕๓-๘๐๔๙๐๘-๙ www.nuntapun.com


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.