วารสารวิทยาการจัดการ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1

Page 20

ตารางที่ 3 แสดงค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการรับรู ้เนื้อหาการรณรงค์หาเสี ยง ของผูส้ มัครฯ กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ส่วน การตัดสินใจ การรับรู้ จำ�นวน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน ลงคะแนน Sig. มาตรฐาน เสียงเลือกตั้ง การรับรู้เนื้อหาการรณรงค์ 394 3.5047 .75755 .537*** .000 หาเสียงของผู้สมัครฯ โดยภาพรวม 1) การรับรู้ภาพลักษณ์ 397 3.4370 .99067 .288*** .000 2) การรับรู้สโลแกน 399 3.5489 .93631 .334*** .000 3) การรับรู้นโยบาย 382 3.0925 .89871 .534*** .000 - *p < 0.05, **p < 0.01, ***p < 0.001 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ดว้ ยสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สนั โดยภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์เชิ งบวกของตัวแปรทั้งสองอยู่ในระดับสู ง เท่ากับ .537 หมายความว่า ผูม้ ี สิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้ง ที่ มีการรั บรู ้ เนื้ อหาการรณรงค์หาเสี ยงของผูส้ มัครฯ โดยภาพรวมสู ง ก็จะมีการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งสู งด้วย และเป็ นความสัมพันธ์ อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ผวู ้ ิจยั ยังพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู ้เนื้อหาการรณรงค์หาเสี ยงของผูส้ มัครฯ 3 ประเด็น กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยง เลื อ กตั้ง โดยมี ค่ า สหสั ม พัน ธ์ เ พี ย ร์ สั น เรี ย งจากมากไปน้อ ย คื อ การรั บ รู ้ น โยบาย มีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งอยูใ่ นระดับสู ง (r = .534) ส�ำหรับ การรับรู ้ภาพลักษณ์มีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งอยูใ่ นระดับ ปานกลาง (r = .334) ขณะที่การรับรู ้สโลแกนมีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจลงคะแนน เสี ยงเลือกตั้งอยูใ่ นระดับต�่ำ (r = .288)

12

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.