หลักการแปล

Page 1

หลักการแปล 0


บทที่ 1 หลักการแปล ความหมายของ “การแปล” การแปล คือ การถ่ายทอดใจความหรือความหมายจากภาษาหนึ่ง (Source Language: SL) ให้อยู่ในรูปแบบของอีกภาษาหนึ่ง (Target Language) ซึ่งอาจอยู่ในลักษณะการพูด หรือการเขียนก็ได้ การแปลนั้นมีลักษณะที่มีความเป็นทั้ง “ศาสตร์” และ “ศิลป์” ซึ่งหมายความว่า นอกจากการแปลจะเป็นศาสตร์ ชนิดหนึ่งที่ใช้ในการถ่ายทอดใจความหรือความหมายให้ถูกต้องแล้ว การแปลจะต้องมีความเป็นศิลป์ หรือ ศิลปะ ในการสร้างสรรค์ลีลา และปรุงแต่งภาษาให้มีอรรถรส เพื่อให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังเกิดอารมณ์และความสุนทรี ที่ลึกซึ้งตามความมุ่งหมายในใจความของต้นฉบับที่ได้สอดแทรกเอาไว้ด้วย ผู้แปลจาเป็นต้องคานึงถึงปัจจัยที่ สาคัญของการแปลทั้ง 2 ด้าน คือ ปัจจัยด้านความถูกต้องในการถ่ายทอดความหมาย และ ปัจจัยด้านอรรถรส ที่สอดแทรกเอาไว้ในบทความ ในด้านความถูกต้อง ผู้แปลต้องคานึงถึงความหมายในหลาย ๆ ระดับ ตั้งแต่ ระดับคา ระดับวลีประโยค ระดับประโยค ระดับที่มากกว่า 1 ประโยค จนถึงระดับบทความ เมื่อผู้แปลสามารถ ทาความเข้าใจถึงความถูกต้องกับใจความของบทความที่อ่านได้แล้ว ผู้แปลจะต้องใส่ลีลาและสอดแทรก อรรถรสทางภาษาที่แฝงเอาไว้จากบทความดังกล่าวมาเรียบเรียงใหม่และถ่ายทอดออกมาใหม่เพื่อให้ได้ “งาน แปลที่ดี” คือเป็นงานแปลที่ผู้อ่านหรือผู้ฟังสารจากภาษาปลายทางสามารถได้รับรู้ ใจความที่ถุกต้อง มีอารมณ์ และความรู้สึก ตรงตามความมุ่งหมายของเนื้อหาตามต้นฉบับภาษาได้อีกด้วย อีกสิ่งหนึ่งที่สาคัญของการแปลที่ผู้แปลจะต้องคานึงถึงอยู่เสมอคือ การแปลเปรียบเสมือนการสื่อสาร แต่เป็นการสื่อสารกับผู้รับสารต่างภาษา การสื่อสารดังกล่าวจะประสบผลสาเร็จหรือไม่ ผู้แปลจะต้องทาหน้าที่ เป็น “สื่อที่มีคุณภาพ” ที่สามารถนาข้อมูลไปถึงผู้รับสารได้อย่างสาเร็จ ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ

1


ตัวอย่างแบบจาลองทางการสื่อสาร

ตัวอย่างที่ 1 Model ของการสื่อสาร

ตัวอย่างที่ 2 รูปแบบจาลองเชิงวงกลมของ Wilber schramm และ C.E. Osgood ได้สร้าง Model รูปแบบจาลองเชิงวงกลมการสื่อสาร เป็นรูปแบบของการสื่อสารสองทาง หรือ Twoway Communication)

2


ตัวอย่างที่ 3 แสดง รูปแบบจาลอง SMCR ของเบอร์โล ปี 1960 แบบจาลอง SMCR ของเบอร์โล (Berlo) ได้ให้ความสาคัญกับสิ่งต่าง ๆ คือ 1 ผู้ส่งสาร (S - Source) ต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถเข้ารหัส(Encode) เนื้อหาข่าวสารได้มี ความรู้อย่างดีในข้อมูลที่จะส่งสามารถปรับระดับให้เหมาะสมสอดคล้องกับผู้รับ 2 ข่าวสาร (M - Message) คือเนื้อหา สัญลักษณ์ และวิธีการส่ง 3 ช่องทางการสื่อสาร(C - Channel) ให้ผู้รับได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 4 ผู้รับสาร (R - Receiver) ผู้ที่มีควาสมารถในการถอดรหัส (D - Decode) สารที่รับมาได้ อย่างถูกต้อง

3


ประวัติของ “การแปล” การแปลเป็นศาสตร์ที่มีมาช้านานทั้งที่มีและไม่มีหลักฐานอ้างอิง ตามที่ นิวมาร์ค นักทฤษฎีการแปล ท่านหนึ่งได้กล่าวว่า การแปลนั้นมีมานานถึงกว่า 3,000 ปี ก่อนคริสตกาล แต่ตามหลักฐานที่มีพบว่าการ แปลเริ่มนั้นมีบทบาทในแถบซีกโลกตะวันตกเมื่อ 300 ปีกอนคริสตกาล เมื่อครั้งที่โรมันได้รับอิทธิพลทางด้าน ศาสนาและอารยธรรมต่าง ๆ ของกรีก จึงมีหลักฐานเป็นงานแปลที่เกิดจากการแปลภาษากรีกเป็นภาษาละติน แต่ต่อมาเมื่ออาณาจักรโรมันมีความเจริญรุ่งเรืองกว่าและมีอานาจเหนือกว่า จึงมีการแปลจากภาษาละติน กลับไปเป็นภาษากรีก ในคริสตศตวรรษที่ 12 เป็นยุคที่กลุ่มประเทศอาหรับเริ่มมีความเจริญรุ่งเรืองทางอารย ธรรม จึงมีการแปลงานของอริสโตเติล (Aristotle) กาเลน(Galen) เพลโต(Plato) และ ฮิปโปเครติส (Hippocrates) เป็นภาษาอาหรับ ต่อมาไม่นาน เมื่อพวกมัวร์เข้ามารุกรานและสร้างอิทธิพลในประเทศ สเปน ส่งผลให้ทางซีกโลกตะวันตกมีการติดต่อสื่อสารกันกับพวกมัวร์ในประเทศสเปน จึงมีงานแปลระหว่าง ภาษาอิสลามและภาษาของกลุ่มประเทศในแถบยุโรปมากขึ้น ต่อมาเมื่ออิทธิพลของพวกมัวร์สลายไป จึงมีการ ก่อตั้งโรงเรียนสอนแปลแห่งโทเลโด ซึ่งเป็นสถาบันที่มีการแปลตาราด้านวิทยาศาสตร์และปรัชญาฉบับภาษา อาหรับให้เป็นภาษาอังกฤษ และยังมีตาราอีกหลาย ๆ เล่ม ที่ถูกตีพิมพ์ออกมาเป็นภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษา เช่น จากกรีกเป็นละติน จากละตินเป็นอาหรับ และจากอาหรับเป็นกรีกอีกครั้ง เป็นต้น ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการตีพิมพ์และเผยแพร่วิทยาการความรู้ออกมามากมายและมี พัฒนาการที่เท่าทันกันทั้งทางยุโรปและอเมริกา (ปัญญา บริสุทธิ์ 2533 : 3) “... กล่าวคือ ในยุโรปนั้น การ แปลแบบล่ามทันควัน (Simultaneous Interpretation) ได้เริ่มนามาใช้ในการพิจารณาคดี อาชญากรสงครามที่เมืองนูเรมเบอร์ก (Nuremberg) ในประเทศเยอรมณีระหว่างปี พ.ศ.1945 – 1946 และหลังจากนั้นก็ได้มีการแพร่หลายไปหลายรวดเร็วในการประชุมนานาชาติครั้งสาคัญฯ ต่อมา วิทยาการทางความรู้ด้านการล่ามได้มีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทางอาชีพซึ่งกันและกัน และ เกิดความเห็นพ้องต้องกันในการจัดเป็นมาตรฐานของวิชาชีพการล่าม อีกทั้งกลุ่มสมาคมนักแปลในอเมริกายัง มีการร่วมมือกันเพื่อตรวจสอบบทแปลพระคัมภีร์ไบเบิ้ลจากภาษาโบราณมาเป็นภาษาอังกฤษ ได้มีการ ปรับปรุงแก้ไขภาษาและตีพิมพ์ใหม่ให้ดีกว่าเดิม จนพัฒนาเป็นหลักทฤษฎีการแปล อันเป็นผลพวงจากการ แบ่งปันประสบการณ์การแปลล่ามในทวีปยุโรปเช่นกัน 4


Source : http://s70.photobucket.com/user/hipponoey/media/timelinenoeyoo0.jpg.html

ในประเทศไทย วิทยาการการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยเกิดขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช (กาธร สถิรกุล 2526 : 84 – 126 อ้างถึงใน เชวง จันทรเขตต์ 2528 : 7) ในปี พ.ศ.2205 ได้มีคณะบาทหลวงเข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย จึงมีการแปลและตีพิมพ์คาสอนทางศาสนา คริสต์หรือพระคัมภีร์ไบเบิ้ลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยจานวน 26 เล่ม แต่หลักฐานดังกล่าวถูกทาลาย ทิ้ง แต่ยังมีเอกสารงานเขียนอื่น ๆ ที่ชี้ว่ามีการตีพิมพ์หนังสือดังกล่าวในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ต่อมาการแปลคาสอนทางศาสนาคริสต์จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยเกิดขึ้นอีกครั้งในตอนต้นรัตนโกสินทร์ ในรัชกาลที่ 4 มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและมีการแปลหนังสือราชการ อีกทั้งในประวัติศาสตร์ไทยใน ยุคสมัยดังกล่าวยังกล่าวถึงหมอบรัดเลย์ ซึ่งเป็นมิชชันนารีผู้เผยแพร่ศาสนาคริสต์และเป็นหมอผู้นาวิทยาการ ทางการแพทย์แบบตะวันตกมาใช้รักษาในประเทศไทย และยังเป็นผู้ก่อตั้งโรงพิมพ์บางกอกรีคอร์เดอร์ 5


(Bangkok Recorder) ซึ่งมีการริเริ่มวิทยาการในการตีพิมพ์วารสารหนังสือเผยแพร่ ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ เช่น หนังสือพิมพ์ นิทานอิสป ฯลฯ ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการตีพิมพ์หนังสือชื่อ “ดรุโณวาท” “วชิรญาณ” และ “ลักวิทยา” และมีผลงาน การแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยอื่น ๆ ที่เป็นที่แพร่หลายอีกหลาย ๆ เล่ม ต่อมาวิทยาการทางการแปลมี ความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 ซึ่งมีการแปลข่าวสาร บทความ นิทาน เรื่องสั้น บทละคร และ บทความทางวิชาการต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 7 จนถึงปัจจุบัน การแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยก็ยิ่ง กว้างขวางขึ้นตามลาดับ ทั้งจานวนและเนื้อหา คาจากัดความการแปล ในศาสตร์ทางด้านการแปลนั้น มีผู้ที่ให้คาจากัดความอยู่มากมาย (ปรียา อุนรัตน์ 2533 : 1) เช่น A.F.Tytler ได้กล่าวถึงการแปลว่า “การแปลที่ดี คือ การถ่ายถอดคุณค่าของงานในภาษาต้นฉบับ ออกมาเป็นอีกภาษาหนึ่งอย่างสมบูรณ์ โดยเป็นที่เข้าใจได้อย่างแจ่มแจ้งและถ่ายทอดความรู้สึกได้อย่างลึกซึ้ง ทาให้ผู้อ่านงานแปลนั้นมีความเข้าใจและความรู้สึกที่ทัดเทียมกับเจ้าของภาษาที่ได้อ่านข้อความเดียวกันนั้น ในภาษาต้นฉบับ” Eugene A. Nida ได้กล่าวถึงการแปลว่า “การแปลประกอบขึ้นด้วยการเขียนข้อความในภาษาที่ จะแปลให้มีความหมายที่เท่าเทียมและเป็นธรรมชาติที่สุด กับข้อความในภาษาต้นฉบับ ทั้งในด้านความหมาย เป็นประการแรกและในด้านลีลาเป็นประการที่ 2” Franz Eppert กล่าวว่า “การแปลนั้นในเบื้องต้น หมายถึงการที่บุคคลที่เรียกว่าผู้แปล ซึ่งจัดว่า เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาที่ 1 และมีความสามารถในการใช้ภาษาที่ 2 พยายามที่จะผลิต ข้อเขียนในภาษาที่ 2 ให้มีความเท่าเทียมกันกับข้อเขียนในภาษาที่ 1 ซึ่งความพยายามดังกล่าวนั้นเรียกว่า “การแปล””

6


Katherine Barnwell กล่าวว่า “การแปล คือ การเล่าเรื่องในงานภาษาใหม่ให้มีความหมาย เหมือนเดิมทุกประการ โดยใช้ไวยากรณ์และศัพท์สานวนซึ่งเป็นธรรมชาติในภาษาใหม่ (New Language) และการเอาคาในภาษาใหม่ไปแทนทีค่ าแต่ละคาในต้นฉบับนี้ ไม่ใช่การแปล” The Merriam-Webster Dictionary, 1974 ได้ให้คาจากัดความของการแปลว่า “การ แปลประกอบขึ้นด้วยการเปลี่ยนจาก Form หนึ่ง ไปเป็นอีก Form หนึ่ง เพื่อที่จะเปลี่ยนเป็นภาษาของ ตนเอง หรือเปลี่ยนเป็นภาษาอื่น” Mildred l. Larson ได้ออกมาแสดงความคิดเห็นที่คล้ายคลึงกันว่า “การแปลประกอบด้วยการ ถ่ายถอดความหมายในภาษาหนึ่งให้ไปอยู่อีกภาษาหนึ่ง ภาษาที่หนึ่ง คือ ภาษาต้นฉบับ เราเรียกว่า Source Language (SL) ส่วนอีกภาษานั้นเราเรียกว่าภาษาที่สอง หรือ Target Language (TL) หรือ Receptor Language (RL) การถ่ายทอดความหมายจากภาษาหนึ่ง ไปยังอีกภาษาหนึ่งนั้น จะต้อง เริ่มจากการเปลี่ยน Form ของภาษาที่หนึ่งให้เป็นอีก Form ของภาษาที่สอง โดยคานึงถึงความหมายเป็น สาคัญ ขั้นตอนต่าง ๆ ของการแปลจะมีเพียง “Form” ซึ่งเปลี่ยนไป แต่ “ความหมาย ” นั้น จะต้องคงอยู่ เหมือนในต้นฉบับ ซึ่ง “Form” ที่เราถึงนี้ประกอบด้วย คา (words), วลี (phrases), อนุประโยค (Clauses), ประโยค (Sentences), และ ย่อหน้า (Paragraphs) ซึ่งนามาใช้ทั้งในภาษาพูดและ ภาษาเขียน” ซึ่งลาร์สันได้แสดงขั้นตอนในการแปลออกมาเป็นแผนภูมิได้ดังนี้

7


นักทฤษฎีการแปลอีกท่านหนึ่ง ได้สรุปแนวคิดทฤษฎีการแปลออกมาได้อย่างน่าสนใจ นั่นคือ ที อาร์ เบล ท่านกล่าวไว้ว่า การแปล คือการแสดงข้อความในภาษาหนึ่งออกมาเป็นข้อความที่มีความหมายที่เท่า เทียมกันในภาษาที่สอง โดยกาหนดออกมาเป็นขั้นตอนของการแปลออกมาเป็นแผนภูมิดังนี้

ทฤษฎีของ ที อาร์ เบล คล้ายคลึงกันกับทฤษฎีของ ยูจีน เอ ไนด้า ที่ได้กล่าวถึงกับการแปลเอาไว้ว่า การแปลประกอบขึ้นด้วยการเขียนข้อความในภาษาที่จะแปลให้มีความหมายเท่าเทียมกันแต่ต้องมีความเป็น ธรรมชาติให้มากที่สุดด้วยเช่นกันกับข้อความต้นฉบับ ทั้งในความหมายและลีลาการเขียน Ian Finlay ได้กล่าวถึงงานแปลในแง่มุมที่แตกต่างและสร้างสรรค์ว่า “การแปลเป็นทั้งงานช่างและ งานศิลป คือเป็นความสามารถที่จะถ่ายทอดภาษาได้อย่างถูกต้อง กระทัดรัด รวมทั้งการเพิ่มสีสัน สอดแทรก เสรีภาพ จินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์เข้าไว้ด้วยส่วนหนึ่ง ความรู้ด้านภาษาล้วน ๆ ที่ผู้แปลพึงมี เสมือน หนึ่งช่างหัตถกรรมนั้นอาจจะเรียนรู้ได้หรือสอนกันได้ในขอบเขตหนึ่ง แต่ความคิดร้างสรรค์ที่จะประดิษฐ์งานนั้น ไม่อาจสอนกันในขอบเขตที่ทัดเทียมกัน ถึงแม้ว่าอาจจะตระเตรียม แนะนา และพัฒนากันได้บ้างก็ตาม คาจากัดความจากผู้รู้ทั้งหลายที่ได้หยิบยกขึ้นมาดังข้างต้นนั้น สามารถสรุปสั้น ๆ ได้ว่า “การแปลคือ การถ่ายทอดข้อความจากภาษาต้นฉบับไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยให้มีความถูกต้องครบถ้วน ทั้งในด้าน ความหมายและท่วงทานองลีลาในการบรรยาย อีกทั้งความสละสวยที่ถูกต้องตามหลักภาษาของฉบับแปล ที่ ทาให้ผู้อ่านไม่รู้สึกว่าตนกาลังอ่านงานแปลอยู่ เพราะการแปลเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ 8


ผู้แปลในระดับเริ่มต้นควร. . . -

ให้ความสาคัญในการรักษาความถูกต้อง และเก็บใจความให้ครบถ้วน

-

ไม่ละเลยใจความใด หรือคิดเอาเองว่าไม่สาคัญ - ไม่เพิ่มเติม หรือ ดัดแปลงใจความใด - ไม่ยึดติดกับลาดับศัพท์ และโครงสร้างของภาษาต้นฉบับมากเกินไป ภาษาแปลเรียกว่า “การแปล

ตามตัวอักษร” (“Literal Translation” or “Word by Word”) หรือ “การแปลแบบคาต่อคา” เพราะการถอดความตามอักษรและการยึดติดกับโครสร้างของภาษาต้นฉบับมากเกินไป จะทาให้ภาษาที่ ถ่ายทอดออกมาในฉบับแปล ไม่มีความเป็นธรรมชาติ อ่านแล้วไม่เข้าใจ -

รู้จักนาหลัก “การแปลแบบเรียบเรียง” หรือ “การแปลโดยอรรถ” (Free Translation) ซึ่งมุ่ง

ถ่ายทอดจากต้นฉบับไปสู่ผู้แปล -

เนื้อหาที่แปล หรือที่ถ่ายทอดออกมานั้น ไม่ควรหลุดความ หรือออกห่างจากเนื้อหาในใจความที่

แท้จริงของต้นฉบับมากจนเกินไป จนทาให้งานแปลที่ออกมามีเนื้อหาที่คลาดเคลื่อนจากต้นฉบับจนกลายเป็น คนละเรื่องกัน หรือเกิดเรื่องใหม่ -

ต้องไม่แปลผิด + คลาดเคลื่อน

ลักษณะของงานแปลที่ดี 1. มีความหมายที่ถูกต้องตามต้นฉบับ ไม่ผิดไปจากต้นฉบับ 2. ถ่ายทอด หรือถอดความออกมาอย่างชัดเจน ใช้ภาษาที่กระชับ ไม่เยิ่นเย้อ ใช้ภาษาที่สมจริง เพื่อ มุ่งให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจได้อย่างง่ายดาย 3. มีถ้อยคาที่ประณีตและสละสลวย 4. รู้จักเลือกใช้ถ้อยคาและลีลางานเขียน เพื่อถ่ายทอดอรรถรสตามใจความที่ต้นฉบับมุ่งถ่ายทอด ออกมา 9


ขั้นตอนของการแปล : ก่อนแปล 1. อ่านข้อความจากต้นฉบับ มากกว่า 1 ครั้ง 2. จับประเด็น จับใจความ และดูลักษณะการใช้ภาษาจากเรื่องราวของต้นฉบับ 3. ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากตารา หรือ อินเตอร์เน็ต เพื่อทาความเข้าใจ หากเป็นเรื่องที่ผู้แปล ไม่ได้มีความรู้เฉพาะทาง 4. หากการค้นคว้าดังกล่าวไม่เพียงพอ ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพิ่มเติม

: ขัน้ ลงมือแปล 1. วิเคราะห์ต้นฉบับ ทั้งโครงสร้างภาษาและความหมายที่ต้องการจะสื่อ 2. จับประเด็นของข้อความที่แปล โดยวิเคราะห์ดูความถูกต้องในทุก ๆ หน่วยคา ไปจนถึงระดับ ประโยค หน่วยคา  หน่วยวลี หน่วยประโยค  ตีความ 3. ลงมือแปลตามประเด็นที่แบ่งไว้ 4. ทบทวนความหมาย ลีลา และความต่อเนื่อง ทั้งจากต้นฉบับ และฉบับแปล : ขั้นขัดเกลางานแปล 1. งานแปลมีความถูกต้อง กระชับ และชัดเจน 2. ดูความต่อเนื่อง และความลื่นไหลของภาษาฉบับแปล

10


3. รู้จักเลือกใช้สานวนภาษาที่ถูกต้องและสละสลวยตามที่ผู้อ่านในภาษาแปลเข้าใจได้ และได้รับ อรรถรสทั้งความเข้าใจที่ถูกต้องประกอบกับความบันเทิงที่ผู้อ่านภาษาแปลก็สามารถเข้าใจได้เหมือนกับผู้อ่าน ในภาษาต้นฉบับ

คุณสมบัติของนักแปลที่ดี 1. นักแปลที่ดีต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ทั้งภาษาต้นฉบับ และภาษาแปล มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ทั้ง ความหมายตรง ความหมายแฝง(ความหมายโดยนัย) ความรู้สึก อารมณ์ วาทศิลป์ กลวิธีการใช้ภาษาทั้งของ ต้นฉบับและภาษาแปล มีอุปนิสัยที่รักการเพิ่มพูนความรู้ และรู้จักแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ อย่างสม่าเสมอ รักการ อ่าน และหมั่นบริโภคข้อมูลข่าวสารทั่วไป เพื่อซึมซับหลักการใช้ภาษาในหลาย ๆ แนว 2. มีความรู้รอบตัวและหมั่นเก็บเกี่ยวประสบการณ์ในการแปล และความรู้อื่น ๆ โดยเฉพาะความรู้ พื้นฐานทั้งในด้านของแนวความคิดและวัฒนธรรมทางสังคมที่มาจากภาษาที่มีความสนใจที่จะแปล เพื่อช่วย ส่งเสริมให้เราเกิดความเข้าใจและแปลออกมาได้อย่างถูกต้องยิ่งขึ้น 3. มีความใส่ใจในรายละเอียดและมีความพิถีพิถันทางภาษา 4. มีใจรัก อดทน และทุ่มเทเวลาในการแปล ให้งานที่แปลออกมาอยู่ในรูปแบบที่ดีที่สุดเท่าที่จะดีได้

การใช้พจนานุกรมหรือ Dictionary พจนานุกรมหรือ Dictionary จัดเป็นอาวุธชิ้นสาคัญของนักแปล เมื่อใดที่ผู้แปลมีปัญหาด้านความ เข้าใจคาศัพท์ ไม่ว่าจะเป็นศัพท์ทั่วไปหรือศัพท์เฉพาะทาง ผู้แปลจึงจาเป็นต้องค้นคว้าหาความหมายของ คาศัพท์ดังกล่าวให้มีความหมายที่ถูกต้องในอีกภาษาหนึ่ง หรือภาษาแปล เมื่อผู้แปลมีปัญหาในการทาความ เข้าใจกับคัพท์ ผู้แปลจาเป็นจะต้องหาความหมายและตรวจสอบความหมายจากพจนานุกรมหรือ Dictionary ผู้แปลต้องมีความสามารถในการเลือกคาที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุดมาใช้ เพราะคาศัพท์คา เดียวอาจแปลออกมาได้หลายความหมาย บางครัง้ ผู้แปลก็จาเป็นต้องใช้พจนานุกรมที่เป็นศัพท์เฉพาะทาง เช่น 11


พจนานุกรมศัพท์ช่าง พจนานุกรมทางการแพทย์ หรือพจนากรมบัญชี เป็นต้น หรือค้นคว้าจากแหล่งความรู้อื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นสารานุกรม ห้องสมุด วิดิทัศน์ วิดิโอคลิป และอินเตอร์เน็ต เพื่อหาข้อมูลในการทาความเข้าใจ เพิ่มขึ้น สาหรับการแปลไทยเป็นอังกฤษ นอกจากผู้แปลจะค้นคว้าพจนานุกรมภาษาไทย – อังกฤษ จนได้ คาศัพท์ภาษาอังกฤษแล้ว ผู้แปลจะต้องเช็คศัพท์ภาษาอังกฤษจากพจนานุกรมภาษาอังกฤษ – อังกฤษ เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องและชัดเจน เวลาใช้พจนานุกรมในการค้นศัพท์ในแต่ละเล่ม ผู้แปลจะต้องสังเกต Part of Speech หรือ หน้าที่ของคา เช่น คานาม(Noun), คาสรรพนาม(Pronoun), คากริยา(Verb), คาวิเศษณ์ขยาย คานาม(Adjective), คาวิเศษณ์ขยายคากริยา(Adverb), คาบุพบท(Preposition), คาสันธาน (Conjunction), คาอุทาน(Interjection) ตลอดจนเรื่องของ Transitive และ Intransitive verb ด้วย เพื่อช่วยวิเคราะห์การทาหน้าที่และบทบาทของคาศัพท์แต่ละตัวในบริบทของประโยคที่จะแปล ซึ่ง มีส่วนช่วยในการตีความประโยคมากขึ้น ผู้แปลพึงจาไว้ว่าการใช้ภาษาในแต่ละยุคสมัย มีการเปลี่ยนแปลงไปอยู่เสมอ เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ แปลอีกอย่างหนึ่งคือ ต้องรู้จักติดตามข้อมูลข่าวสารและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ตามยุคสมัย และปรับปรุง รูปแบบการถ่ายทอดภาษาให้มีความเหมาะสมตามยุคสมัยไปด้วย แต่ก็ไม่ควรลืมหรือทอดทิ้งรูปแบบการใช้ ภาษาที่ดี สละสลวย และน่าจดจาในสมัยเก่าก่อนด้วย ยกตัวอย่างเช่น การใช้พจนานุกรมศัพท์เฉพาะทาง ซึ่ง ให้ความหมายเป็นศัพท์บัญญัติ เช่นคาว่า “centralization” แปลว่า “ลังเกนทร์” และ “decentralization” ที่แปลว่า “วิเกนทร์” เช่นนี้ ผู้แปลหรือผู้อ่านอาจไม่เข้าใจ ดังนั้นผู้แปลจึงควรทา หน้าที่ในการค้นคว้า และตรวจสอบความหมายให้ถูกต้องเพิ่มเติม และถ่ายทอดออกมาเป็นภาษาที่เข้าใจง่าย กว่าเดิมว่า “การรวมอานาจ” และ “การกระจายอานาจ” (วรนาถ วิมลเฉลา 2535 : 230)

12


ประเภทของนักแปลและงานแปล สัญฉวี สายบัว กล่าวถึงประเภทของนักแปลและงานแปลไว้ดังนี้ ความสามารถในการแปลภาษาให้ดีอย่างไม่มีที่ติทั้งในภาษาต้นฉบับและในภาษาแปล ราวกับว่าทั้ง 2 ภาษาเป็นภาษาแม่นั้น ถือเป็นคุณสมบัติที่นักแปลหลาย ๆ คนใฝ่ฝันอยากจะเป็น ตลอดจนการผลิตงานแปล อย่างพิถีพิถันจนได้งานแปลที่มีคุณภาพและมีชื่อเสียง อย่างไรก็ดี นักแปลมืออาชีพที่ประสบความสาเร็จใน ปัจจุบันนั้น ไม่ได้เป็นบุคคลที่มีลักษณะดังที่กล่าวมา แต่เป็นเรื่องความความสามารถที่โดดเด่นแตกต่างกันไป ซึ่งแบ่งออกได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1. นักแปลที่สามารถใช้ภาษาต้นฉบับ(SL) และภาษาแปล(TL) ได้อย่างดีเยี่ยมทั้ง 2 ภาษา และ สามารถผลิตงานแปลออกมาได้อย่างสมบูรณ์และมีคุณภาพ 2. นักแปลที่มีภาษาต้นฉบับ(SL) เป็นภาษาแม่ ตัวอย่างเช่น ผู้แปลมีภาษาไทยเป็นภาษาแม่ มี ความสามารถในการถ่ายทอดงานและแปลต้นฉบับ(SL) ที่เป็นภาษาไทยออกมาเป็นงานภาษาอังกฤษ (TL)ได้เป็นอย่างดี 3. นักแปลที่มีภาษาแปล(TL) เป็นภาษาแม่ คือผู้แปลสามารถอ่าน ตีความ ถ่ายทอด และแปลงานที่ มีภาษาต่างประเทศเป็นภาษาต้นฉบับ(SL) มาเป็นภาษาแปล(TL) ที่เป็นภาษาแม่ที่ผู้แปลเป็นผู้ใช้ภาษานั้น มาแต่กาเนิด 4. นักแปลที่สามารถแปลงานภาษาต้นฉบับที่เป็นภาษาที่ 2 มาเป็นภาษาที่ 3 เช่น ผู้แปลเป็นคนไทย แต่แปลงานภาษาอังกฤษ ให้เป็นงานภาษาเยอรมัน เป็นต้น

ข้อคิคต่าง ๆ ของการแปล วรนาถ วิมลเฉลา (2535: 24-28) ได้ทาการรวบรวมข้อคิดดี ๆ ต่างเกี่ยวกับการแปล จากบุคคล ที่มีชื่อเสียงในแวดวงภาษาดังนี้

13


“…คนที่จะแปลหนังสือได้ดี ประการแรกต้องพูดภาษาของตัวเองให้ดีเสียก่อน ถ้าพูดภาษาของตัวเอง ให้ดีไม่ได้ เขียนภาษาของตัวเองให้ดีไม่ได้ ก็ไม่มีทางจะแปลหนังสือให้ดีได้” ส. ศิวรักษ์ “...ที่ไหนมีการแปล ที่นั่นย่อมมีการแปลผิด” สะรัช บุญยรัตพันธุ์ “คาแปลที่เหมาะสมที่สุดนั้น จะมีเพียงอันเดียว” สอ เสถบุตร “การแปลนั้นทาได้เพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งเท่านั้นเอง เพราะการแปลนั้นไม่มีทางที่จะสมบูรณ์ได้ ” ส. ศิวรักษ์ “ในการสอนภาษาไทยซึ่งเป็นภาษาของตนเองนั้น ครูต้องเตรียมการสอนทุกนาทีที่มีโอกาส เพราะ นักเรียนไม่ได้เรียนวิชานี้เฉพาะในห้องเรียน เขาเรียนทุกวินาทีที่ตื่นอยู่ แม้ในเวลาที่เรียนภาษาต่างประเทศก็ยัง เรียนภาษาไทยอยู่นั่นเอง ภายในสมองของเขามีการเปรียบเทียบภาษาใหม่ที่เขาเรียนกับภาษาของเขาเองอยู่ เสมอ โดยที่เขาไม่รู้สึกตัว ยิ่งถ้าสอนด้วยวิธีแปลและชี้แจงไวยากรณ์ เขาก็ต้องเปรียบเทียบอย่างไม่มีปัญหา” ศ.มล.บุญเหลือ เทพยสุวรรณ

“นักแปลต้องมีความรู้ความชานาญในภาษาของตนเองไม่น้อยภาษาของต้นฉบับในวรรณกรรม หรือ มากกว่าภาษานั้นเสียอีก หากเทียบเป็นอัตรส่วนแล้วควรเป็นภาษาต่างประเทศ : ภาษาไทย 40:60 (คือรู้ ภาษาไทยมากกว่า) หรือถ้าหากจะแปลเป็นภาษาต่างประเทศ ก็ต้องรู้ภาษาต่างประเทศมากกว่าภาษาไทยใน อัตราส่วน 60:40 เช่นกัน คนแปลหนังสือนั้นจะต้องมีทั้ง “พรสวรรค์” และ “พรแสวง” กล่าวคือ ความรักที่จะ ทางานแปล กับความใฝ่รู้ ชอบค้นคว้า” ลัดดา ถนัดหัตถกรรม (“อมราวดี”) 14


“การแปลแบบเอาความ (Free Translation) อาจแยกย่อยเป็นการแปลพอเข้าใจกับการแปล มุ่งเก็บรายละเอียดพอสมควร เช่น การแปลข่าวในหนังสือพิมพ์ หรือจดหมายติดต่อ เป็นต้น แต่ก็อาจมีการแปล ในลักษณะเสริมความด้วย เช่น เอาใจความหลักในการแปลภาษาอังกฤษมา “แปลเสริมความ” เท่าที่ผู้แปล เข้าใจลงไป ปัจจุบันมีการ “แปลแบบใส่ความ” กันมาก กล่าวคือ ผู้แปลใช้ความรู้ของตนเองใส่ลงไป เช่น การ แปลข่าวต่างประเทศ ข่าวโทรเลข เป็นต้น เช่น นายกรัฐมณตรีเตรียมประกาศรายชื่อปรับรัฐมณตรีครั้งใหม่ หลัง ประชุมพัก ......... รัฐมณตรีใจสั่น รอฟังผลชื่อจากตาแหน่ง ซึ่งประโยคสุดท้าย คือการใส่ความรู้ส่วนตัวลงไป ในข่าว” อัมพร สายสุวรรณ (อ.สายสุวรรณ)

“กติกา(ในการตีความ) คือ ธรรมะพื้น ๆ เช่น 1. ไม่ตีความไปในทางเสียหายแก่ผู้เขียน หรือที่ผู้เขียนกล่าวถึงหรืออ้างถึง โดยการเดา 2. ตีความโดยสุจริตใจ 3. ตีความตามหลักวิชา” ศ.มล.บุญเหลือ เทพยสุวรรณ

“ปัจจัยสาคัญที่จะส่งเสริมงานแปลให้มีคุณภาพ (นอกเหนือไปจากความรู้ในทฤษฎี กลวิธีการแปล และความช่าชองในภาษาทั้งสอง ทั้งในด้านโครงสร้าง ศัพท์สานวน) ก็คือ ความละเอียด 2 ประการ ซึ่งอาจ แยกได้เป็น 1. ความละเอียดรอบคอบ (Carefulness) 2. ความละเอียดอ่อน (Sensitiveness) 15


รศ. มทนา ดวงรัตน์

“There are more than one way of translation, depending on a certain workable compromise. มีมากกว่าหนึ่งวิธีที่จะแปล สุดแล้วแต่จะผ่อนปรนให้เหมาะสมเพียงใด” ศ.มล.ตุ้ย ชุมสาย

Exercise 1. หลังจากที่นักศึกษาได้อ่านประวัติความเป็นมาของการแปลแล้ว นักศึกษาสนใจตอนไหนหรือช่วง ไหนของประวัติการแปลมากที่สุด เพราะอะไร 2. นักศึกษาสนใจคาจากัดความการแปลของใครมากที่สุด เพราะอะไร 3. ให้นักศึกษาช่วยยกตัวอย่างลักษณะของงานแปลที่ดี คุณสมบัติของผู้แปลที่ดี ในมุมมองของ นักศึกษา และบอกชื่อนักแปลในดวงใจที่นักศึกษาชื่นชอบมากที่สุด พร้อมอธิบายเหตุผล ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ................................................. ............................................................................................................................. ... ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ........................................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................ ..................................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ....................................................................................................................................... .......................................... 16


......................................................................................... ........................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ......... ............................................................................................................................. .................................................... ..................................................................... ............................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... .................................................. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ........................................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................. .................................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ........................................................................................................................................ ......................................... ......................................................................................... ........................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ......... ............................................................................................................................. .................................................... ...................................................................... ........................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... .................................................. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................................................ ..................... .............................................................................................................. ................................................................... ............................................................................................................................. .................................................... 17


............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................... .................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................ ..................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ..................................................................................................................................................................... ............ ....................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. .................................................... .................................................................................................................................................. ............................... .................................................................................................... ............................................................................. ............................................................................................................................. .................................................... .............................................................................................................................. ................................................... ................................................................................ ................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................. .................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ...................................................................................................................................................................... ........... ........................................................................................................................ ......................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ................................................................................................................................................... .............................. .................................................................................................... ............................................................................. 18


รู้ไว้ใช่ว่า???

Tower of Babel From Wikipedia, the free encyclopedia This article is about the Biblical story. For other uses, see Tower of Babel (disambiguation).

The Tower of Babel by Pieter Bruegel the Elder (1563)

19


Engraving The Confusion of Tongues by Gustave Doré (1865) The Tower of Babel (Hebrew:‫בבל‬

‫מגדל‬‎Migdal Bavel Arabic: ‫برج بابل‬‎Borj Baabel) forms the focus of a story

told in the Book of Genesis of the Bible.[1] According to the story, a united humanity of the generations following the Great Flood, speaking a single language and migrating from the east, came to the land of Shinar(Hebrew: ‫שנער‬‎), where they resolved to build a city with a tower"whose top may reach unto heaven; and let us make us a name, lest we be scattered abroad upon the face of the whole earth."[2] God came down to see what they did and said: "They are one people and have one language, and nothing will be withheld from them which they purpose to do." "Come, let us go down and confound their speech." And so God scattered them upon the face of the Earth, and confused their languages, so that they would not be able to return to each other, and they left off building the city, which was called Babel "because God there confounded the language of all the Earth".[3] The Tower of Babel has often been associated with known structures, notably the Etemenanki, a zigguratdedicated to the Mesopotamian godMarduk by Nabopolassar, king ofBabylonia (c. 610 BC). The Great Ziggurat of Babylon base was square (not round), 91 metres (300 ft) in height, and demolished by Alexander the Great. A Sumerian story with some similar elements is told inEnmerkar and the Lord of Aratta.

หอคอยบาเบล (อังกฤษ: Tower of Babel) เป็นเรื่องราวที่ถูกบันทึกเอาไว้ในพระคัมภีร์ไบเบิ้ล หนังสือปฐมกาล บทที่ 11 ข้อ 1-9 ได้กล่าวถึง หอคอย บาเบลเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีจุดมุ่งหมายให้สูงไปถึงสวรรค์ เกิดจากความสามัคคีของมนุษย์ ภายหลังเหตุการณ์น้า ท่วมโลก จากลูกหลานของโนอาห์ ได้ขยายพงศ์พันธุ์แผ่ไพศาลออกไป แต่ทั่วทั้งโลกต่างพูดภาษาเดียวกัน และมี ศัพท์ส้าเนียงเดียวกัน ผู้คนในยุคนั้นจึงได้ร่วมกันสร้างหอบาเบล โดยมีความมุ่งหมายเพื่อที่จะสร้างเป็นหอเทียม ฟ้า สร้างชื่อเสียงไว้ และเป็นแหล่งรวมอารยธรรมของมนุษย์ไว้ด้วยกัน การสร้างหอบาเบล เป็นการสร้างความภาคภูมิใจให้กับมนุษยชาติ ซึ่งความภาคภูมิใจนี้ ก็น้ามาซึ่งความ หยิ่งผยอง คิดท้าทายพระเจ้า ด้วยเหตุนี้ พระเจ้าจึงทรงบันดาลให้เกิดภาษาที่แตกต่างกัน ท้าให้มนุษย์สื่อสารกัน ไม่เข้าใจ การก่อสร้างหอบาเบลจึงหยุดชะงักลงเพียงนั้น

20


Hermes He was the cleverest of the Olympian gods, and messenger to all the other gods. Hermes is the son of Zeus and Maia. He is Zeus messenger. He is the fastest of the gods. He wears winged sandals, a winged hat, and carries a magic wand. He is the god of thieves and god of commerce. He is the guide for the dead to go to the underworld. He invented the lyre, the pipes, the musical scale, astronomy , weights and measures, boxing, gymnastics, and the care of olive trees.

Source : http://www.greekmythology.com/Olympians/Hermes/hermes.html

เทพเฮอร์เมส (Hermes) หรือ เมอร์คิวรี่ (Mercury) เทพแห่งการสื่อสาร

21


เมอร์คิวรี่ (Mercury) หรือ เฮอร์มีส (Hermes) เป็นเทพบุตรของซูสเทพบดี กับ นางมาย หรือ เมยา (Maia) เป็นเทพที่มีผู้รู้จักมาก เนื่องจากรูปของเธอปรากฏคุ้นตาคนมากกว่าเทพองค์อื่น ๆ คนมักน้ารูปเทพองค์นี้ หรืออย่างน้อยก็ของวิเศษอย่างหนึ่งของเธอ คือ เกือกมีปีก มาแสดงเป็นเครื่องหมายถึงความเร็ว นอกจากเกือก หมวกและไม้ถืออันศักดิ์สิทธิ์ของเธอก็มีปีกเหมือนกัน เธอไปได้เร็วยิ่งนัก ถึงแด่ว่ากันว่า "ไปเร็วเพียงความคิด" ทีเดียว หมวกและเกือกมีปีกของเฮอร์มีสนั้นเรียกว่า เพตตะซัส (Petasus) และ ทะเลเรีย (Talaria) เป็น ของที่ ได้รับประทานจากซูสเทพบิดา ซึ่งโปรดให้เธอเป็นเทพพนักงานสื่อสารประจ้าพระองค์ ส่วนไม้ถือศักดิ์สิทธิ์ เรียกว่า กะดูเซียส (Caduceus) เดิมเป็นของเทพอพอลโล เธอใช้ต้อนวัวควายในครอบครอง ครั้งหนึ่งเฮอร์มีส ขโมยวัวของ เธอไปซ่อน อพอลโลรู้ระแคะระคายดังนั้นจึงมาทวงถามให้เทพภราดรคืนวัวให้แก่เธอ เฮอร์มีสใน ตอนนั้นยังเยาว์อยู่แท้ ๆ กลับย้อนถามอย่างหน้าตาเฉยว่า วัวอะไรที่ไหนกัน เธอไม่เคยเห็นและไม่เคยได้ยิน อพอลโลก็ไปฟ้องเทพบิดา ซูส ไกล่เกลี่ยให้เฮอร์มีสคืนวัวให้เจ้าของ อพอลโลได้วัวคืนแล้วก็ไม่ถือเทพผู้น้อง แม้ว่าวัวจะขาดจ้านวนไป 2 ตัว เพราะ เฮอร์มีสเอาไปท้าเครื่องสังเวยเสียแล้วก็ตาม เธอเห็นเฮอร์มีสมีพิณถือคัน หนึ่งเรียกว่า ไลร์ (lyre) เป็นของเฮอร์มีส ประดิษฐ์ขึ้นเองด้วยกระดองเต่าก็อยากได้ จึงเอาไม้กะดูเซียสแลก ไม้ ถือกะดูเซียสจึงเป็นของเฮอร์มีสด้วยเหตุฉะนี้ และถือ กันว่าเป็นสัญลักษณ์ของเฮอร์มีสแต่ครั้งนั้น ไม้กะดูเซียสนี้แต่เดิมเป็นไม้ถือมีปีกลุ่น ๆ ต่อมาเฮอร์มีสถือไปพบงู 2 ตัวก้าลังต่อสู้กัน เธอเอาไม้ทิ่มเข้า ในระหว่างกลางเพื่อห้าม ความวิวาท งูก็เลื้อยขึ้นมาพันอยู่กับไม้ โดยหันหัวเข้าหากัน ตั้งแต่นั้นมางูนี้ก็พันอยู่กับ ไม้ถือกะดูเซียสตลอดมา และไม้ถือกะดูเซียสก็ กลายเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นกลางด้วย ภายหลังได้ใช้เป็น สัญลักษณ์ของการแพทย์มาจนบัดนี้ เฮอร์มีสไม่แต่จะเป็นเทพพนักงานสื่อสารของซูสเท่านั้น หากยังเป็นเทพครองการเดินทาง การพาณิชย์ และตลาด เป็นที่บูชาของพวกหัวขโมย และมีหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์คอยน้าวิญญาณคนตายไปสู่ยมโลกด้วยจน ได้รับนามกร อีกชื่อหนึ่งว่า เฮอร์มีสไซโคปอมปัส (Hermes Psychopompus) สรุปว่าการสื่อสารและการเป็นคน กลางใน กิจการทุกอย่างตกเป็นภาระของเธอ หรืออยู่ในความสอดส่องของเธอทั้งสิ้น ส่วนการที่เธอเป็นที่นับถือ บูชาของพวกขโมยก็คง เนื่องจากขโมยวัวของอพอลโลที่เล่ามาแล้วนั่นเอง สิ่งที่น่าแปลกประการหนึ่งในตัวของเฮอร์มีสก็คือ แม้ว่าเธอจะเป็นโอรสของซูสเทพบดีกับนาง เมยา (Maia) ซึ่ง เป็นอนุ แต่ทว่าทรงเป็นโอรสองค์เดียวของซูสที่ราชินีขี้หึงเทวีฮีร่าไม่เกลียดชัง กลับเรียกหาให้เฮอร์มี สอยู่ใกล้ ๆ ด้วยเสีย อีก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะบุคลิกและนิสัยของเทพเฮอร์มีส ที่ชอบช่วยเหลือทุกคน ไม่ว่าจะเป็น ทวยเทพด้วยกัน หรือมนุษย์ ธรรมดา อาทิเช่น ช่วยปราบยักษ์ร้ายฮิปโปไลตุล ช่วยองค์ซูสเทพบิดาให้พ้นจาก 22


พันธนาการของยักษ์ไทฟีอัส ช่วยอนุองค์ หนึ่งของเทพบิดา คือนางไอโอให้รอดตายด้วยการสังหารอาร์กัส อสูร พันตาของเจ้าแม่ฮีร่า และช่วยเหลือเลี้ยงดูไดโอนิซัส ในยามแรกถือก้าเนิดขึ้นอีกด้วย ในด้านของมนุษย์นั้น เฮอร์ มีสเคยช่วยเปอร์ซีอุสสังหารนางการ์กอนเทดูซ่า ช่วย เฮอร์คิวลิสในยามเดินทางสู่แดนบาดาล ช่วยโอดีสซีอัสให้ รอดพ้นเงื้อมมือนางเซอร์ซี และช่วยให้เตเลมาดุสตามหาพ่อจน พบ เป็นต้น

เฮอร์มีสก็เช่นเดียวกับเทพบุตรองค์อื่น ๆ ตรงที่ไม่ยกย่องเทวีหรือสตรีนางใดเป็นชายา แต่สมัครรักใคร่ไปเรื่อย ๆ นับไม่ถ้วน ว่ากันว่าการที่เธอชอบเสด็จลงไป ในแดนบาดาลบ่อย ๆ นั้นเป็นเพราะหลงเสน่ห์ของเทวีเพอร์ เซโฟนีผู้เป็นชายา ของฮาเดส จ้าวแดนบาดาล ยามขึ้นมาสู่ผืนดินเฮอร์มีสก็รักกับสตรีมนุษย์มากหน้า ที่เป็นที่ กล่าวขานได้แก่ อคาคัลลิส (Acacallis) ผู้เป็นธิดาของท้าวไมนอส แห่งครีต เมื่อขึ้นไปสู่สวรรค์โอลิมปัสก็เกิดจิต พิศวาส กับเทวีในท้านองรักข้ามรุ่น โดยเฉพาะกับ เฮเคตี และอโฟร์ไดที่เทวี Category: ต้านานเทพเจ้ากรีก Source: http://www.tumnandd.com/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B9%80%E0%B8%AE%E0%B8% AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%AA-hermes%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%84/

23


24


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.