BEDO Magazine 2023 Vol.10 Issue 3

Page 1

แมลงโปรตีน อาหารแห่งอนาคต MAGAZINE • นิตยสารเบโด้ สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) FUTURE OF THE ORIGIN ISSN 2351-0269 WWW.BEDO.OR.TH BIODIVERSITY นักย่อยสลายชั้นดี มีชื่อว่าแมลงโปรตีน INTERVIEW ณัฐฐิญา กงภูธร BIOECONOMY แมลงโปรตีน แมลงนางฟ้าในใจของแม่แรม ฉบับที่ 3 ปีที่ 9 มิถุนายน 2566

และดำ า เนินการเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาของชุมชนในท้องถิ่น แมลงโปรตีน BSF (Black Soldier Fly) เป็นหนึ่งในโครงการที่เบโด้เริ่มดำ า เนินการอย่างจริงจัง มีการจัดทำ า บัญชีรายการ แมลงที่มีศักยภาพต่อเศรษฐกิจไทย โดยทำ า งานร่วมกับนักวิชาการด้านแมลง

บรรณาธิการ : สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ที่ปรึกษา : ดร.ธนิต ชังถาวร จัดท�าโดย : ส�านักงานพัฒนา เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 9 เลขที่ 120 หมู่ที่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2141 7800 แฟกซ์ 0 2143 9202 เว็บไซต์ www.bedo.or.th เฟสบุ๊ค www.facebook/ BedoThailand ผลิตโดย : บริษัท บอสฟอรัส จ�ากัด 61/1 ซอยลาดพร้าว 101 ซอย 44 หมู่บ้านเสรี แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 081 647 3163 Email amybosphorus@gmail.com สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ผู้อ�านวยการ สพภ. EDITOR’S TALK หนึ่งในภารกิจหลักของสำ า นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ
จนประสบความสำ า เร็จเป็นโครงการเพาะเลี้ยง แมลงโปรตีน เพื่อให้เกษตรกรที่สนใจนำ า ไปเพาะเลี้ยงเพื่อช่วยลดต้นทุนในเรื่องของอาหารสัตว์ และยังช่วยเรื่องกำ า จัดเศษอาหาร เศษขยะ ได้เป็นอย่างดี การดำ า เนินงานเรื่องของแมลงโปรตีนในปัจจุบันนับว่าได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี เพราะเกษตรกรนำ า ไปเลี้ยงแล้วเห็นผล เกิดประโยชน์อย่างจริงจัง บางแห่งเกิดการต่อยอด ขยายผลไปสู่การจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้เพื่อเผยแพร่ แบ่งปันความรู้ให้กับ คนในชุมชน และชุมชนต่างถิ่น ซึ่งตรงตามวัตถุประสงค์ที่เบโด้ตั้งไว้ว่า อยากให้มีการส่งต่อความรู้ออกเป็นวงกว้าง เพราะ ด้วยกำ า ลังของบุคลากรเบโด้เอง ไม่สามารถที่จะทำ า ให้เกิดแรงขับเคลื่อนได้รวดเร็วและกว้างขวางเช่นนี้ หากทุกคนร่วมแรง ร่วมใจกัน ในอนาคตเชื่อว่า แมลงโปรตีน จะถูกยกระดับขึ้นเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่สำ า คัญอีกชนิดหนึ่งได้อย่างแน่นอน
(องค์การมหาชน) หรือ เบโด้ คือการส่งเสริม สนับสนุน
BIODIVERSITY 4 นักย่อยสลายชั้นดี มีชื่อว่าแมลงโปรตีน BIOECONOMY 6 แมลงโปรตีน แมลงนางฟ้าในใจของแม่แรม INTERVIEW 8 ณัฐฐิญา กงภูธร MEGA TRENDS 12 แมลง เทรนด์อาหารของโลก BULLETIN 15 CONTENT BEDO MAGAZINE ฉบับที่ 3 ปีที่ 9 มิถุนายน 2566 4 8 6 12 15

แคลอรี่/ กิโลกรัม มีโอเมก้า 3,6,9 และยังมีกรดลอริกเหมือนที่มีอยู่ในนานมแม่ มีฤทธิ์ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อก่อโรคต่างๆ เหมาะที่จะ นำา มาใช้เป็นอาหารสัตว์ ใช้เลี้ยง ไก่ เป็ด ปลา หรือนกสวยงามได้

นักย่อยสลายชั้นดี มีชื่อว่าแมลงโปรตีน แมลงโปรตีน หรือแมลงทหารเสือ ( Black Soldier Fly-BSF) แตกต่างจากแมลงวันบ้านที่ ทุกคนรู้สึกขยะแขยง และเป็นพาหะนํา โรคสู่มนุษย์ แมลงโปรตีนจะอาศัยอยู่ตามต้นไม้ เกาะตาม ใบไม้ กิ่งไม้ กินอาหารจํา พวกน า น า หวาน และวางไข่บนเศษผัก ผลไม้ หรือในถังน า หมักที่มีกลิ่น เปรี้ยว ลักษณะของไข่คล้ายเมล็ดข้าวเจ้า ส่วนแมลงวันบ้านจะพบตามเขตบ้านเรือน ชุมชน อาหาร ก็จะเป็นพวกเศษอาหาร วางไข่บนอาหารของมนุษย์ ลักษณะไข่สีจะออกขาวข้นคล้ายเมล็ดข้าว เหนียว ในบ้านเรามีการเพาะเลี้ยงมาระยะหนึ่งแล้วในกลุ่มเกษตรกรภาคเหนือและอีสาน เป็นแมลง ที่ไม่เป็นพาหะนํา โรค ไม่เป็นศัตรูพืชไม่สร้างความรํา คาญต่อชุมชน และเป็นนักย่อยสลายผู้สร้าง ความมั่นคงทางอาหาร BIODIVERSITY วิจิตรา ศิริเธียรไชย แมลงโปรตีนกลายเป็นที่ต้องการของตลาดทั่วทุกมุมโลก ทั้งในยุโรป สหรัฐอเมริกาและประเทศเขตร้อน เป็นทางเลือกส ำาหรับ ทดแทนกากถั่วเหลืองในอาหารสัตว์ เป็นที่ทราบกันดีว่าอุตสาหกรรม การเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบันกำาลังประสบปัญหาต้นทุนอาหารสัตว์เพิ่ม สูงขึ้น
ทำาให้ ต้นทุนของเกษตรกรสูงขึ้นตามไปด้วย เกษตรกรจึงต้องหาแหล่ง วัตถุดิบทดแทน ทำาให้แมลงโปรตีนเป็นทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจใน การเพาะเลี้ยงเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ทดแทนประเภทโปรตีน เช่น ปลาป่นและถั่วเหลือง ระยะที่สามารถนำา ไปใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด คือระยะที่ยังเป็นตัว หนอน ซึ่งสามารถทำาให้แห้งแล้วป่นเป็นอาหารสัตว์ ช่วยลดการใช้ถั่ว เหลืองได้หลายตันเนื่องจากให้พลังงานโปรตีนสูง มีคุณค่าทางโภชนาการ มีโปรตีนมากกว่า 40% ไขมัน 35% ให้พลังงาน 2,900
ราคาตามท้องตลาดกิโลกรัมละ 500 บาท ในตลาดต่างประเทศ ขายกิโลกรัมละ 600-1,000 บาท ส่วนหนอนอบแห้งกิโลกรัมละ 1,200-1,400 บาท BEDO MAGAZINE 4
วัตถุดิบอาหารสัตว์นำาเข้าขาดแคลนและมีราคาที่สูงขึ้น
วงจรชีวิต 5 ระยะ ของแมลงโปรตีน BSF ระยะตัวเต็มวัย (แมลง) ขนาดล� า ตัวยาว 16 มิลลิเมตร มีอายุ 8-15 วัน ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในธรรมชาติที่มีพุ่มไม้ ใบไม้สีเขียว จับคู่ผสมพันธุ์ ตัวเมีย จะวางไข่ไว้บริเวณใกล้ๆ กับขยะอินทรีย์ จ� า นวนไข่ประมาณ 400-900 ฟองต่อตัว ระยะไข่ เป็นรูปวงรียาวประมาณ 1 มิลลิเมตร สีเหลืองอ่อนหรือสีครีม ไข่จะมีสีเข้มขึ้นตามระยะเวลา ใช้เวลา 3-4 วัน ในการฟักเป็นตัวหนอน ระยะตัวหนอน เป็นระยะที่กินขยะอินทรีย์เป็นอาหาร มีลักษณะตัวอวบ อ้วน แบน สีขาวครีม ขนาดตัวยาวตั้งแต่ 3-26 มิลลิเมตร ตัวหนอนจะ ลอกคราบ 8 ครั้งก่อนเข้าดักแด้ ระยะตัวหนอนก่อนเข้าดักแด้ ระยะรอยต่อระหว่างตัวหนอนกับดักแด้ เป็นระยะที่เหมาะในการน� า ไปใช้ประโยชน์ ระยะดักแด้ ล� ตัวจะมีสีด� เข้มและผิวแห้งแข็ง ใช้เวลาฟักเป็นตัวแมลง 1 2 3 4 BEDO MAGAZINE 5
บ้านแม่แรม คือชื่อที่คนในชุมชนบ้านหนองหิน ต.ดู่ อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ ต่างรู้จักกันเป็นอย่างดี เพราะที่นี่เป็นพื้นที่ศูนย์เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องไม้มีค่า ป่าครอบครัว และ การเพาะเลี้ยงแมลง โปรตีน ของนางแรม เขตนิมิตร เกษตรกรที่ทําเกษตรกรรมด้วยความรักและความผูกพันกับ สิ่งที่บรรพบุรุษตกทอดมาให้ บวกกับอุปนิสัยส่วนตัวที่ชอบในการเป็นผู้ให้ ให้อย่างไม่หวังผล ตอบแทน เพราะการให้เป็นพลังบวกที่ทําให้เธอสุขใจได้ทุกครั้ง BIOECONOMY แมลงโปรตีน แมลงนางฟ้าในใจของแม่แรม วิจิตรา ศิริเธียรไชย BEDO MAGAZINE 6

โปรตีนเราเลี้ยงไส้เดือนมาก่อน แต่พอได้ลองเลี้ยงแมลงโปรตีนรู้สึก ว่าดีกว่าเลี้ยงไส้เดือนเป็นสิบเท่าเลย”

“เราทำา ด้วยพลังบวก

เพราะเราเองทำาแล้วเราได้ก็อยากให้คนอื่นได้เหมือนกับเรา บางคน มาอบรมแป๊บเดียวก็ขอตัวกลับก่อน เราก็คิดว่าเขาคงไม่ชอบ แต่ไม่ใช่ เขาบอกว่าจะรีบกลับไปลองทำาเลยจะได้เห็นผลไว ๆ ก็ให้ ไข่เขาไปเลี้ยง พอเขาเลี้ยงสำาเร็จก็ตอบแทนกลับมาเป็นตัวพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ แค่นี้ก็รู้สึกดีแล้ว”

ด้วยประสบการณ์จริงในการเพาะเลี้ยงแมลงโปรตีนของแม่แรม มีความเชี่ยวชาญจนสามารถถ่ายทอดความรู้ต่อไปยังผู้อื่นได้ เบโด้ จึงให้การสนับสนุนจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้สำา หรับผู้ที่สนใจในการ

เพาะเลี้ยงแมลงโปรตีน ให้ความรู้กับคนในชุมชนใกล้เคียง ชุมชน ต่างถิ่น และยังได้รับเชิญเป็นวิทยากรในการอบรมตามสถานที่ต่าง ๆ เรียกว่าเป็นเกษตรกรมือโปร นำา ประสบการณ์จริงมาถ่ายทอด ต่อยอดองค์ความรู้เรื่องการเพาะเลี้ยงแมลงโปรตีนให้ขยายเป็น วงกว้าง สร้างความเข้าใจว่าแมลงโปรตตีนไม่ได้น่ารังเกียจ ไม่ใช่ แมลงที่เป็นพาหะนำา โรคและสร้างความน่ารำา

ที่ดินขนาด 32 ไร่ของแม่แรม แบ่งสรรเป็นแปลงนาข้าวที่เธอกล่าว ว่า ต่อให้ลำาบากขนาดไหนก็ต้องทำานาปลูกข้าว เพราะเป็นสิ่งที่เห็น มาตั้งแต่เกิด ส่วนหนึ่งขุดเป็นบ่อเลี้ยงปลา และแบ่งพื้นที่ปลูกไม้มีค่า ป่าครอบครัว ตามโครงการที่ได้รับถ่ายทอดองค์ความรู้มาจากเบโด้ “ครั้งแรกที่ได้รู้จักกับเบโด้ก็เริ่มจาก การปลูกไม้มีค่า ป่าครอบครัว ตอนนั้นก็ยังไม่เข้าใจว่าจะเปลี่ยนคันนามาปลูกไม้ใหญ่ก็เกิดเป็น คำา ถามในหัวตลอดว่า ทำา ไมต้องปลูก ปลูกแล้วจะได้อะไร ปลูก ยางนา พยุง กว่าจะโตเมื่อไหร่ถึงจะทำาเงินได้ แต่ตอนนี้เข้าใจแล้ว ว่า คันนาทองคำา นั้นมีจริง ๆ เพราะไม้พวกนี้ในอนาคตข้างหน้าจะ กลายเป็นขุมทองให้ลูกให้หลานเรา และระหว่างรอไม้ใหญ่เติบโต เรายังสามารถปลูกผัก ผลไม้ เก็บกินมีเหลือก็เก็บขายสร้างรายได้” และขุมทองอีกหนึ่งขุมที่แม่แรมค้นพบก็คือ การเพาะเลี้ยงแมลง โปรตีน ด้วยการเป็นหนึ่งในผู้ร่วมอบรมรุ่นแรก ๆ ที่เบโด้จัดขึ้น โดยมีความหวังว่าจะช่วยลดต้นทุนในการซื้ออาหารเลี้ยงปลา แต่ เมื่อได้ทดลองเลี้ยง สิ่งที่ได้มากเกินความคาดหวัง จนเธอตั้งฉายา ใหม่ให้แมลงโปรตีนว่า “แมลงนางฟ้า” “เมื่อก่อนได้ยินเขาคุยกันเรื่อง แมลงวันลาย เราไม่รู้จักเลยไม่สนใจ แต่พอได้ไปอบรมกับทางเบโด้รู้สึกว่าเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มีความ น่าสนใจ คนยังไม่ค่อยรู้จัก เราก็ตัดสินใจว่าจะทดลองเลี้ยงดู ปรากฎว่า เป็นแมลงที่มีประโยชน์มาก แรก ๆ ก็รู้สึกขยะแขยงเหมือนกันตอน ที่ยังเป็นตัวหนอน ตัวดักแด้ ไม่กล้าจับ แต่พอเลี้ยงไปสักพักก็รู้สึก ว่าเขาไม่ได้น่ารังเกียจอย่างภาพที่เราเห็น เพาะเลี้ยงง่าย ไม่ยุ่งยาก มีวงจรชีวิตสั้น 34-46 วันเท่านั้น เหมาะสำาหรับคนที่เลี้ยงสัตว์ช่วย ลดต้นทุนในการซื้ออาหารได้อย่างดีมาก ๆ ก่อนหน้าที่จะเลี้ยงแมลง
แม้ว่าจะเหนื่อยมากแต่เรารู้สึกสุขใจที่จะ ได้ช่วยเหลือพี่น้องเกษตรกรด้วยกัน ให้เขามีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
คาญอย่างที่คิด แต่ กลับให้ประโยชน์และสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นกับชุมชน จนกลายเป็น แมลงนางฟ้าในใจของแม่แรม BEDO MAGAZINE 7

องค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ความหลากหลาย

เป็นหนึ่งในวัตถุประสงค์ของ

สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การ มหาชน) หรือ BEDO และหนึ่งในโครงการที่เบโด้ให้

ความสําคัญเพราะกําลังอยู่ในกระแสโลกเป็นที่น่าจับตา

มองอย่างยิ่ง นั่นคือ แมลงโปรตีน BSF (Black Soldier Fly) หนึ่งในทรัพยากรชีวภาพที่คนส่วนใหญ่ยังไม่รู้จัก หรือรู้จักแต่มีความเข้าใจที่ผิดพลาดว่า แมลงโปรตีน เป็นพวกเดียวกันกับแมลงวันที่เป็นพาหะนํา

เรื่องของอาหารสัตว์ และยังเป็นนักย่อยสลายตัว ฉกาจที่ช่วยลดขยะให้กับโลกใบนี้ เรียกว่าถ้าได้ลอง เลี้ยงแมลงโปรตีนมีแต่ได้กับได้เท่านั้น

เหล่านั้น ด้วยการมองการณ์ไกลของผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญ ในการดำา เนินโครงการเราจึงวางกลยุทธ์การเก็บข้อมูลที่ต้อง แตกต่างและเน้นเรื่องการใช้ประโยชน์จากคุณค่าที่ทรัพยากร เหล่านั้นมีอยู่ ชุดข้อมูลต้องตอบได้ทั้งข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เศรษฐกิจการนำา ไปใช้ประโยชน์และข้อมูลกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เบโด้จึงได้พัฒนาเกณฑ์ในการคัดเลือกและจัดลำา ดับทรัพยากร ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นเศรษฐกิจ

INTERVIEW ณัฐฐิญา กงภูธร ผู้อ�านวยการส�านักพัฒนา และจัดการองค์ความรู้ BEDO นําทัพถ่ายทอดความรู้เรื่องของแมลงโปรตีน วิจิตรา ศิริเธียรไชย คุณณัฐฐิญา กงภูธร ผู้อำา นวยการสำา นักพัฒนาและจัดการ องค์ความรู้ ของเบโด้ เป็นหนึ่งในคณะทำา งานที่รับผิดชอบเกี่ยว กับโครงการ แมลงโปรตีน จะเป็นผู้ที่ถ่ายทอดความเป็นมาเป็นไป ของโครงการที่สำา คัญนี้ให้ทุกคนได้รู้จักว่า แมลงโปรตีน คืออะไร ที่มาของโครงการแมลงโปรตีน BSF เกิดขึ้นได้อย่างไร จุดเริ่มต้นของการศึกษาเรื่องการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จาก แมลง น่าจะเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2557 ที่ริเริ่มโครงแม่บทจัดทำาบัญชี รายการทรัพยากรชีวภาพที่มีศักยภาพเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งโจทย์ใหญ่ที่ได้รับคือ จะเลือกทรัพยากรชีวภาพอะไรมาพัฒนา เลือกจากอะไร ปีไหนจะดำา เนินการเรื่องข้อมูลความหลากหลาย ทางชีวภาพเสร็จ ดังนั้น การวางแผนเรื่องการทำา งานคัดเลือก ทรัพยากร รวมไปถึงเราจะทำา ข้อมูลอะไรบ้างที่จะตอบโจทย์ การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพื่อต่อยอด
ทางชีวภาพและภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่นไปสู่การ ใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
โรค แต่ แท้จริงแล้ว แมลงโปรตีน มีประโยชน์สูง ทั้งทางด้าน คุณค่าทางอาหาร มีมูลค่าเพราะช่วยลดค่าใช้จ่ายใน
โดยเฉพาะเศรษฐกิจ ของระดับเล็ก และแมลงก็เป็นหนึ่งในเรื่องต้น ๆ ที่เบโด้เริ่ม ดำา เนินการจริงจังเมื่อปี 2559 จากการทำา บัญชีรายการแมลงที่ มีศักยภาพทางเศรษฐกิจในประเทศไทยร่วมกับนักวิชาการด้าน แมลง ซึ่งมีหัวหน้าทีมที่ปรึกษาคือ ศาสตราจารย์ ดร.ยุพา หาญบุญทรง จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น จากงานศึกษานั้นเราพบว่า ประเทศไทยเราตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร มีภูมิประเทศและ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของแมลง อีกทั้งเรา BEDO MAGAZINE 8

ความคืบหน้าของโครงการนี้เป็นอย่างไร มีความพึงพอใจมากน้อยแค่ไหน

ความคืบหน้าตอนนี้เราเพิ่มเริ่มโครงการขยายผล

ที่เราเน้นการถ่ายทอดและฝึกอบรมให้กับนักวิจัยเครือข่าย

คือรายงานการเลี้ยงของตัวเอง จนถึงเริ่มการเตรียมความพร้อม ในสถาบันของแต่ละคน ซึ่งก็นับว่าเบโด้โชคดีที่มีเครือข่าย

หลายพื้นที่มาก ๆ เช่น ศิวะพล ฟาร์มที่ขอนแก่น ตอนนี้ก็กลายเป็น ศูนย์เรียนรู้แมลงโปรตีนแทนเบโด้ไปแล้ว มีการผลิตและแปรรูป

ตัวอย่างชุมชนที่มาอบรมและกลับไปทดลองเลี้ยงว่าสิ่งที่อาจารย์ เล่ามาเป็นจริงหรือไม่ ตอนนี้ประธานวิสาหกิจและสมาชิกก็ได้กลาย เป็นวิทยากรหลักในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ ก็ยังมีพื้นที่ที่ลำา

การขยายเครือข่ายไปสถาบันในท้อง ถิ่นจะช่วยเพิ่มโอกาสให้เกษตรกรได้รับความรู้มากขึ้น หากเกษตรกรสนใจที่อยากจะเพาะเลี้ยง แมลงโปรตีน BSF จะต้องทําอย่างไร

หากชุมชนไหนสนใจเรื่องการเพะเลี้ยงแมลงโปรตีนแนะนำาให้เข้าไป ดูชุดความรู้ต่าง ๆ ในห้องสมุดออนไลน์ของเบโด้ก่อน และติดต่อ สอบถามได้จากฝ่ายจัดการองค์ความรู้ สำา นักพัฒนาและจัดการ

โดยเป็นช่วง
ซึ่งจะเข้มข้นและเน้นในหลักวิชาการเพื่อให้ทุกคนเข้าใจและปรับ พื้นฐาน และหลังจากอบรมแล้ว ทุกคนมีการบ้านที่ต้องส่ง
นักวิจัยให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทุกคนได้โจทย์และมีแนวทาง การพัฒนาต่อยอดในแต่ละพื้นที่ที่ไม่ซ า กัน เราก็หวังว่าโครงการ นี้น่าจะเป็นไปตามเป้าหมายและให้ผลลัพธ์ที่คาดหวังไว้
เรื่องของแมลงโปรตีน BSF มีที่ไหนบ้าง ชุมชนที่เบโด้เข้าไปถ่ายทอดความรู้และสนับสนุนเรื่องนี้มี
หรือชุมชนปรางกู่ที่ศรีสะเกษ ก็เป็น
ปาง ลำา พูน เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ เลย กาฬสินธุ์ และ อีกหลาย ๆ แห่ง ที่สนใจเข้ารับการอบรมแต่ก็อย่างที่บอก ถ้า เบโด้ดำา เนินการเองจะล่าช้า
ชุมชนที่เบโด้ให้การสนับสนุน
ผลิตภัณฑ์หลายอย่างไปได้ไกล
องค์ความรู้ของเบโด้หรือเครือข่ายมหาวิทยาลัยที่จะเข้าร่วม โครงการกับเบโด้ปีนี้อีกจำานวน 10 แห่ง รอบ ๆ พื้นที่ตั้งแต่ ปทุมธานี อยุธยา กาญจนบุรี ศรีสะเกษ ร้อยแอ็ด อุดรธานี สุราษฎร์ธานี เพชรบูรณ์ จันทบุรี และขอนแก่น ซึ่งเบโด้และมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จะร่วมกันประชาสัมพันธ์ให้ทราบเป็นระยะต่อไป คิดว่าศักยภาพของเกษตรกรไทยสามารถ เพาะเลี้ยงแมลงโปรตีน BSF ได้มากน้อยขนาดไหน ต้องบอกว่าพี่ ๆ เกษตรกรไทยมีศักยภาพสูงมาก เพราะทุก ท้องถิ่นมีแมลงโปรตีน BSF ในธรรมชาติอยู่แล้ว แต่ไม่มีใคร รู้จัก
จากเกษตรกรที่ทำา จริง สร้างชุมชนเล็ก ๆ โดยใช้ไลน์กลุ่ม ที่มีอาจารย์คอยให้คำา ปรึกษาตลอด เกษตรกรก็จะแลกเปลี่ยน สอนกันเอง และมีการประยุกต์วิธีการเพาะเลี้ยงที่เหมาะสมกับ วิถีของแต่ละคนแตกต่างกันไป ตอนนี้เริ่มมีบางชุมชนเป็นคน ขายปุ๋ยมูล BSF ผสมเป็นดินเพาะปลูก บางชุมชนกลายเป็น แหล่งเรียนรู้และเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับชุมชนอื่น ๆ ที่สนใจเข้าไปเรียนรู้แล้วหลายแห่ง ดังนั้นจากเฟสแรกสอนให้ เขารู้จักเลี้ยงได้ คือ เลี้ยงให้รอดและเข้าใจวิธีการถูกต้อง ต่อไป คือเลี้ยงเป็น เลี้ยงเป็นหมายความว่า เลี้ยงได้ต่อเนื่อง คุณภาพ ของไข่และตัวหนอนคงที่ มีวิธีการตรวจสอบวัตถุดิบและเหมาะสม กับการใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกันได้ เช่น ถ้าต้องการหนอน ที่มีโปรตีนสูง เกษตรกรก็จะเลี้ยงโดยใช้วัตถุดิบอะไร สัดส่วน เท่าไหร่ ถึงจะได้ตามที่กำา หนด หรือถ้าต้องการได้ไขมันสูง เพื่อให้ได้น า มันไปเป็นส่วนผสมของเครื่องสำา อางหรือทำา เป็น ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงต้องเลี้ยงอย่างไร เป็นต้น สำา คัญที่สุดคือถ้า หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนเรื่องนี้อย่างจริงจัง ศักยภาพของ เกษตรกรและผู้ประกอบการด้านแมลงของประเทศไทยจะไป ได้ไกลมากและอาจจะเป็นสัตว์เศรษฐกิจหลักอีกชนิดหนึ่ง BEDO MAGAZINE 11
ไม่รู้วิธีเอามาใช้ประโยชน์ พอเราอบรมและพาไปเรียนรู้
ใครจะคาดคิดว่า แมลง จะติดเทรนด์อาหารของโลกในยุคปัจจุบัน ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาซีก ฝั่งโลกตะวันตกหันมาให้ความสนใจ “การกินแมลง” กันมากขึ้น เพราะโปรตีนจากแมลงตัวเล็ก ๆ สามารถทดแทนเนื้อสัตว์ใหญ่ได้อย่างคาดไม่ถึง แต่สําหรับบ้านเราการกินแมลงมีมานานแล้ว เป็นของขบเคี้ยวที่ยิ่งกินก็ยิ่งเพลิน ไม่ว่าจะเป็น ด้วง จิ้งหรีด ตั๊กแตน หนอนไม้ไผ่ ฯลฯ หากิน ได้ง่ายตามท้องตลาดทั่วไป โดยไม่มีใครรู้ว่า แมลง กลายเป็นแหล่งอาหารสํา คัญแห่งอนาคต เป็นโปรตีนแห่งความยั่งยืน ที่สร้างคุณค่าทางโภชนาการ BEDO MAGAZINE 12
MEGA TRENDS แมลง เทรนด์อาหารของโลก

สะดิ้ง,หนอนไหมหลังชักใย,ดักแด้ไหม,หนอน ผึ้ง ต่อ แตน มิ้ม,หนอนไม้ไผ่,แมงอีนูน, แมงกะชอน,แมงกุดจี่,แมงดา,กว่าง,จิ้งหรีด, แมงเนียม,แมงมัน,ไข่มดแดง,จักจั่น,แมงป่อง,ด้วง มะพร้าว,ตั๊กแตน,แมงทับ,แมงตับเต่

นวัตกรรม

ผลิตภัณฑ์จากแมลง

แมลงแช่เยือกแข็ง,แมลงทอดกรอบ, ผงโปรตีนจากแมลง,ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม

โปรตีนจากแมลง,โปรตีนไฮโดรไลแสท,ไคติน ไคโตซาน,เซรินิน,สารสกัดจากแมลง

ในปี 2564 การบริโภคโปรตีนทางเลือก

ที่มาจากนวัตกรรมอาหารใหม่ของไทย

ด้วยแนวโน้มจำานวนประชากรโลกที่เพิ่มมากขึ้น ทำาให้ความต้องการผลผลิต เพื่อการบริโภคพุ่งขึ้นสูง ที่ต่างก็ต้องการอาหารที่มีคุณภาพสูง มีคุณค่า ทางโภชนาการ ในทางวิทยาศาสตร์ แมลงมีคุณค่าทางสารอาหารที่สูง ไม่น้อยไปกว่าเนื้อสัตว์ใหญ่ อย่าง หมู ปลา ไก่ เนื้อวัว และอาหารทะเล โดยสารอาหารจากแมลงมีครบทั้งโปรตีน ไขมัน วิตามิน ไฟเบอร์ ตลอดจน แร่ธาตุต่าง ๆ เช่น แคลเซียม เหล็ก สังกะสี โดยสารอาหารจากแมลง จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น พันธุ์ของแมลง อายุ อาหาร ที่แมลงกิน เป็นต้น แมลง ที่มีการบริโภค ในไทย
มีมูลค่าประมาณ
คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 12 ของตลาด โปรตีนทางเลือกทั้งหมดของไทย ที่มีมูลค่า 3.62 หมื่นล้านบาท และมูลค่าตลาดโปรตีน คุณรู้หรือไม่ว่าแมลงเป็นสุดยอดอาหารคุณประโยชน์สูง เพราะอุดมไปด้วย โปรตีนที่สูงกว่าเนื้อสัตว์ โดยแมลง 100 กรัม จะให้โปรตีนสูง 70-80 กรัม ขณะที่เนื้อสัตว์อื่น ๆ ให้โปรตีนอยู่ที่ 30-40 กรัมเท่านั้น ปัจจุบันทั่วโลกมี ผู้บริโภคแมลงอยู่ถึง 2,000 ล้านคน มีแมลงมากถึง 1,900 สายพันธุ์ ที่ถูกบันทึกว่ามีการบริโภค แมลงเหล่านี้ส่วนใหญ่อยู่ในเขตร้อนชื้น และ แมลงที่คนทั่วโลกนิยมรับประทานได้แก่ ด้วง 31% หนอนผีเสื้อ 18% ผึ้ง ตัวต่อ และมด 14% จิ้งหรีดและตั๊กแตน 13% จั๊กจั่นและเพลี้ย 10% อื่น ๆ เช่น ปลวก แมลงปอ และแมลงวัน 3% ปัจจุบัน ตลาดโปรตีนทางเลือก มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ด้วยพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไป โดยเฉพาะประเทศไทยซึ่งได้ชื่อว่า เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอันหลากหลาย และเป็นแหล่งโปรตีนสำาคัญ จึงเป็นโอกาสให้ผู้ประกอบการไทยได้ผลิตและพัฒนานวัตกรรมโปรตีน ทางเลือกให้เป็นที่ต้องการของตลาด ทั้งฝั่งยุโรป สหรัฐอเมริกา และ เอเชีย ซึ่งเป็นตลาดที่มีความต้องการบริโภคสินค้าโปรตีนทางเลือก ซึ่งยังรอการเติบโตอีกมากในอนาคต BEDO MAGAZINE 13
4,500 ล้านบาท หรือ

ตรา BIOECONOMY

3 ประการ คือ

1. การใช้ทรัพยากรชีวภาพชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น

: BioEconomy

2. การผลิตที่เป็นมิตรกับความหลากหลายทางชีวภาพ

: Circular & Green Economy

3. การปันรายได้ไปอนุรักษ์ฟื้นฟูความหลากหลาย

: Sustainable Development Goals

ปี 2556 สพภ. เริ่มด� า เนินการให้การรับรองตรา

BioEconomy ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ที่ได้การรับรองตรา

BioEconomy แล้วกว่า 400 รายการ ในปี 2566 นี้มีการ ปรับปรุงกระบวนการให้การรับรองตรา

• เกณฑ์ข้อก�าหนด: แบ่งเป็นเกณฑ์ BEDO-BCG และ

เกณฑ์คุณภาพ

• คณะท�างานตรวจประเมิน/คณะกรรมการพิจารณา

กรมวิชาการเกษตร กรมวิทยาศาสตร์บริการ ส�านักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ส�านักงานคณะ กรรมการอาหารและยา ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม ส�านักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ และสถาบัน สิ่งแวดล้อมไทย)

• กระบวนการ: จะมีการตรวจประเมินเบื้องต้น (Pre-Audit) ให้ค�าแนะน�า (Coaching) ตรวจประเมิน (Audit) เพื่อให้การรับรอง และตรวจติดตาม

โดยสินค้าที่จะรับตรานี้จะหมายถึงสินค้าที่มีการผลิตตาม ข้อก�าหนดบนพื้นฐานของหลักการ BEDO-BCG ท�าให้ ผู้ซื้อมั่นใจได้ว่าเป็นสินค้าที่เป็นมิตรกับความหลากหลาย ทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมและมีการแบ่งปันรายได้ไป อนุรักษ์อย่างแท้จริง

โดยผู้ประกอบการที่สนใจสามารถขอรับการรับรองตรา

ตรา BioEconomy เป็นเครื่องหมายรับรองสินค้าที่ผลิต จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน บนพื้นฐาน การอนุรักษ์ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการขับเคลื่อนการ พัฒนาประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG และเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน
“BEDO-BCG” ด้วยหลักส�าคัญ
(SDGs) ภายใต้หลักการ
เป็นวัตถุดิบหลัก
และสิ่งแวดล้อม
ทางชีวภาพ
BioEconomy ให้สอดดคล้องกับบริบทปัจจุบัน สํา นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) โทรศัพท์ 0-2141-7846, 0-214-7853
• ผู้ยื่นค�าขอ: วิสาหกิจชุมชน/ห้างหุ้นส่วนจ�ากัด/บริษัท/ หรือนิติบุคคลอื่น
ให้การรับรองฯ: มีผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญ ภายนอกเข้าร่วม 11 หน่วยงาน (กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม กรมควบคุมมลพิษ กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กรมการพัฒนาชุมชน
BioEconomy หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ฝ่าย เศรษฐกิจชุมชน ส�านักเศรษฐกิจชีวภาพ ส�านักงานพัฒนา เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) โทรศัพท์ 0-2141-7846, 0-214-7853 BEDO MAGAZINE 14

แมลงโปรตีน BSF เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตแมลงโปรตีนและการใช้ประโยชน์แมลงโปรตีนสำา

BULLETIN BEDO ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ กับ วิทยาลัยนานาชาติ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ BEDO จัดกิจกรรมฝึกอบรมนักวิจัย 10 จังหวัด ภายใต้โครงการการขยายผลการถ่ายทอด องค์ความรู้การผลิตแมลงโปรตีนสํา หรับอาหารสัตว์ ดร.ธนิต ชังถาวร รองผู้อำา นวยการ BEDO ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ดร.ยุพา หาญบุญทรง และนักวิจัยคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หรับเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ ให้แก่เครือข่ายนักวิจัยของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ในพื้นที่เป้าหมาย 10 จังหวัด โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างวิทยากร ตัวคูณถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังเกษตรกรในแต่ละพื้นที่ สำา นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ BEDO โดย นางสุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ผู้อำา นวยการ ร่วม ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ กับ วิทยาลัย นานาชาติ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) โดย รศ.ดร. สมโรตม์ โกมลวนิช รองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการและวิจัย โดยมี ดร.ธนิต ชังถาวร รองผู้อำา นวยการ ผศ.ดร.วีริสา โชติยะปุตตะ รองคณบดีวิทยาลัยนานาชาติ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ BEDO และ ผู้บริหาร คณะอาจารย์ PIM ร่วมเป็นสักขีพยานความร่วมมือ ดังกล่าว ณ อาคาร CP All Academy สถาบันการจัดการปัญญา ภิวัฒน์ แจ้งวัฒนะ BEDO MAGAZINE 15
จัดกิจกรรมฝึกอบรมนักวิจัยเพื่อขยายผลถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตและใช้ประโยชน์
สนใจผลิตภัณฑ์ สั่งซื้อได้ที่ วิสาหกิจชุมชนยาสีฟันสมุนไพรเอนไซม์เฮิร์บบุปผาวัน 88/7 หมู่ 6 ต.นครสวรรค์ออก อ.เมืองนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ โทร.089-9218083 ผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างจากยาสีฟันทั่วไปตามท้องตลาด เพราะเป็นยาสีฟันเจ้าแรกที่ผสม เอนไซม์จากผลไม้ จนได้รับรางวัล อย ควอลิตี้ อวอร์ด 2021 ระดับประเทศ จากกระทรวง สาธารณสุข ยาสีฟันบุปผาวันช่วยขจัดคราบชา กาแฟ ลดอาการปวดและเสียวฟัน แก้ ปัญหากลิ่นปาก ช่วยให้หินปูนหลุดออกง่าย ใช้ปริมาณเท่าเมล็ดข้าวโพด หนึ่งหลอดใช้ได้ ถึง 600 ครั้ง ยาสีฟัน บุปผาวัน ปากหอมสดชื่น
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.