อุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมบึงทุ่งสร้าง

Page 1



โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุงภูมิสถาปตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม บึงทุงสราง จังหวัดขอนแกน LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND IMPROVEMENT PROJECT OF BUENG THUNG SANG NATURAL AND ENVIRONMENTAL EDUCATION PARK, KHONKAEN

สุพัตรา ชัยประโคม 5013101317

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของความสมบูรณของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ พ.ศ.2554 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยแมโจ




3

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมอุทยาน

ชื่อเรื่อง

การศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม บึงทุ่งสร้าง จังหวัดขอนแก่น ชื่ อผู้เขียน

สุ พตั รา ชัยประโคม

ชื่อปริญญา

ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม

ประธานกรรมการทีป่ รึกษา

อาจารย์ จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

บทคัดย่อ โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม บึงทุ่งสร้าง จังหวัดขอนแก่น มีเนื้อที่ 440 ไร่ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทาง ธรรมชาติ และสร้างกิจกรรม ที่จะช่วยส่ งเสริ มการอนุรักษ์พ้นื ที่สิ่งแวดล้อม จุดเด่นของพื้นที่คือ ศึกษาพรรณไม้ต่างๆทั้งในท้องถิ่นและต่างถิ่น อีกทั้งยังมีการส่ งเสริ มพื้นที่ให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวใน เชิงอนุรักษ์ เพื่อรักษาพื้นที่สีเขียวให้คงอยูซ่ ่ ึ งสอดคล้องกับนโยบายของสานักงานเทศบาลนคร ขอนแก่น ที่ตอ้ งการจะสร้างพื้นที่สีเขียวให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ในเขตชุมชนเมือง โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม บึงทุ่งสร้าง จังหวัดขอนแก่น มีแนวความคิดในการออกแบบโครงการครั้งนี้ คือ การ ออกแบบพื้นที่ให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่มีความสนุกสนาน เพื่อกระตุน้ การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน นักศึกษา และผูส้ นใจทัว่ ไป ไม่ให้เกิดความเบื่อหน่ายตลอดการเข้ามาศึกษาหาความรู ้ และยังได้ปรับปรุ ง พื้นที่ของศูนย์วทิ ยาศาสตร์ ให้ตอบสนองต่อการใช้งานมากยิง่ ขึ้น โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม บึงทุ่งสร้าง จังหวัดขอนแก่น สามารถรองรับผูม้ าใช้บริ การได้วนั ละไม่เกิน 2900 คน ทั้งนี้ เพื่อเป็ นประโยชน์สาหรับผูท้ ี่ตอ้ งมาศึกษาหาความรู ้ ท่องเที่ยว และพักผ่อนกับธรรมชาติ จะ ได้รับทั้งความรู ้ และสิ่ งที่สาคัญคือการได้ตะหนักถึงการอนุรักษ์ธรรมชาติและพื้นที่สีเขียวให้อยู่ อย่างยัง่ ยืน 3


4

Title

Landscape Architectural Design and Improvement Project of Bueng Thung Sang Natural and Environmental Education Park, Khonkaen

Author

Miss.Supattra Chaiprakhom

Degree of

Bachelor of Landscape Architecture

Advisory Committee Chairperson

Miss.Charaspim Boonyanant

Abstract The Landscape Architectural Design and Improvement Project of Bueng Thung Sang Natural and Environmental Education Park, Khonkaen covered an area of 440 rais. It was intended to be the natural learning resources. It also provided activities to promote conservation of environment. The highlights of the study area were studies of various plants, both the locally and the exotic ones. It is also being promoted as a conservation tourist attraction, in order to preserve green openspaces. This was consistent with the policies of the Office of the Khonkaen Municipality which aimed to create green openspaces. as learning resources whitinurban environments. The design concept of the Landscape Architectural Design and Improvement Project of Bueng Thung Sang Natural and Environmental Education Park, Khonkaen was to design spaces to encourage learning and, at the same time, provide enjoyment of students and other interested persons. The science centers were renovated for more proper uses. The Landscape Architectural Design and Improvement Project of Bueng Thung Sang Natural and Environmental Education Park, Khonkaen had a full capacity of up to 2,900 people a day for the sake of those who want to learn and relax among nature. The would gain knowledge and the most important thing was to aware of natural and openspace sustainable conservation.

4


5

กิตติกรรมประกาศ การทาวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จะสาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดีเพราะได้รับความอนุเคราะห์ ไม่วา่ จะ เป็ นข้อมูล คาแนะนาในการออกแบบ จากบุคคลต่างๆและหน่วยงานอีกหลายๆฝ่ าย ที่ให้ความ ร่ วมมือ และช่วยเหลือ ในทุกๆด้าน ขอกราบขอบพระคุณครอบครัว ที่คอยให้กาลังใจ คาแนะนา การช่วยเหลือสนับสนุน และ เป็ นแรงผลักดันให้ต่อสู ้กบั ปั ญหาและอุปสรรคต่างๆ แม้จะอยูห่ ่างไกลกันแค่ไหน แต่ก็รู้ได้วา่ ครอบครัวอยูข่ า้ งกายข้างใจเสมอ ขอขอบพระคุณครู อาจารย์โรงเรี ยนบัวขาว โดยเฉพาะอาจารย์รองไร ที่ได้แนะนาเกี่ยวกับ การเรี ยนต่อ และทาให้ได้เข้ามาเรี ยนในที่แห่งนี้ ขอขอบพระคุณอาจารย์จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ ที่ช่วยให้คาแนะนา สั่ งสอน อบรมให้วชิ า ความรู ้ในวิชาต่างๆโดยเฉพาะวิทยานิพนธ์ ที่คอยเป็ นที่ปรึ กษาและให้คาแนะนาที่ดีเสมอ ขอขอบพระคุณอาจารย์ยทุ ธภูมิ เผ่าจินดา ที่คอยให้ความรู ้เรื่ องการออกแบบ และให้ คาแนะนาในการทาวิทยานิพนธ์ ขอขอบพระคุณอาจารย์วรี กิต วงศ์วชิ ิต ที่คอยช่วยเหลือในทุกด้านๆ ให้คาแนะนาการ ทางาน ความตรงต่อเวลา มอบขนมให้กินบ่อย มีของฝากให้เสมอๆ ขอบคุณสาหรับสมุดโน้ตค่ะ อาจารย์เป็ นผูม้ ีพระคุณมาก ไม่ใช่แค่เรื่ องเรี ยน คอยห่วงใย ถามเรื่ องสุ ขภาพตอนไม่สบาย ขอบคุณ จริ งๆค่ะ ขอขอบพระคุณคณาจารย์ในคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ที่ คอยให้ความรู ้ อบรมสัง่ สอน ขอขอบคุณพี่ที่สานักงานเทศบาลนครขอนแก่น หน่วยงานกองช่างที่ให้ความรู ้ และข้อมูล ในการทาวิทยานิพนธ์ ขอขอบคุณพี่ๆที่บริ ษทั เรดแลนด์-สเคป จากัด ที่คอยสอนและให้คาแนะนา เทคนิคการ ทางาน ขอขอบคุณพี่เบิ้ม เจ้าหน้าที่หอ้ งสมุด ที่ให้ยมื หนังสื อและช่วยหาหนังสื อให้ตลอด 5


6

ขอขอบคุณพี่ฐา รุ่ น 3 ที่คอยให้คาแนะนาดีๆในการโปรแกรมการทางาน ถึงแม้จะอยู่ ต่างประเทศแต่ก็โทรหาและช่วยหาคาตอบในสิ่ งที่นอ้ งไม่เข้าใจ ขอบคุณจริ งๆค่ะ ขอขอบคุณพี่เอก พี่แพรว ที่บริ ษทั เรด-แลนด์สเคป ที่คอยช่วยเหลือ และให้คาแนะนาเรื่ อง แนวความคิดในการออกแบบ ที่ทาให้วทิ ยานิพนธ์ผา่ นไปได้ดว้ ยดี ขอขอบคุณพี่กานต์ที่ให้คาแนะนาเรื่ องโมเดล พี่เปรี้ ยวที่คอยถามและพร้อมให้ความ ช่วยเหลือวิทยานิพนธ์ตลอด ขอขอบคุณน้องอานนท์ ที่ช่วยพี่ทาโมเดลจนสาเร็ จ ขอขอบคุณเพื่อนต้อม เพื่อนออฟ ที่ช่วยพากระดานไปทา และไปรับกระดานให้ดว้ ย ขอขอบคุณเพื่อนรวง เพื่อนนุ เพื่อนวรรณ เพื่อนต่าย ที่คอยให้คาแนะนา เทคนิคในการตก แต่งงานให้มีคุณภาพมากยิง่ ขึ้น ขอขอบคุณเพื่อนมิน้ ที่ให้คาแนะนาทั้งเรื่ องงาน เรื่ องชีวติ ขอบคุณที่สอนให้รู้อะไรอีก มากมาย ขอขอบคุณเพื่อนเปรม เพื่อหนุ่ม ที่มาช่วยแปะ Plate และมารับฟังเพื่อน July ขอขอบคุณน้องยุฮู้ ที่คอยถามพี่วา่ มีไรให้ช่วยไหมค่ะ ขอบคุณ แค่น้ ีก็เป็ นกาลังใจให้พี่ได้ดี ขอขอบคุณเพื่อนรุ่ น 13 ที่คอยช่วยเหลือ ให้คาแนะนา และอยูด่ ว้ ยกันมาตลอดระยะเวลา 5 ปี ไม่วา่ จะสุ ขหรื อทุกข์ เราก็จะเป็ นเพื่อนกัน ขอขอบคุณพี่นอ้ ง ร้านปริ้ นงานที่ดีสุด ขอขอบคุณกาลังใจดวงหนึ่งที่ไม่เคยทิ้งห่างกันไปไหน แม้จะเจอกับปั ญหาอุปสรรค มากมาย ขอบคุณที่ร่วมต่อสู ้มาด้วยกัน

สุ พตั รา ชัยประโคม

6


7

สารบัญเรื่อง

เรื่อง

หน้ า

หน้าปกด้านใน

(1)

หน้าใบรับรองวิทยานิพนธ์

(2)

บทคัดย่อภาษาไทย

(3)

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

(4)

กิตติกรรมประกาศ

(5)

สารบัญประกอบด้วย -

สารบัญเรื่ อง

(7)

-

สารบัญตาราง

(11)

-

สารบัญภาพ

(12)

-

สารบัญแผนที่

(15)

-

สารบัญแผนภูมิ

(16)

1. บทนา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการ

1

1.2 สถานที่ต้ งั โครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ

2

1.3 วัตถุประสงค์

2

1.4 ขอบเขตของการศึกษา

3

1.5 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการศึกษา

4

1.6 ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษา

6

2. ที่ต้ งั และความสาคัญของโครงการ 2.1 ที่ต้ งั และอาณาเขตติดต่อ

8

2.2 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ

8

2.3 การเชื่อมโยงพื้นที่โครงการ

9 7


8

สารบัญเรื่อง (ต่อ) 2.4 สภาพโดยรอบของพื้นที่

10

2.5 สภาพการใช้ที่ดินทัว่ ไปในพื้นที่โครงการ

10

2.6 เอกลักษณ์ของท้องถิ่น

11

2.7 ความสาคัญของโครงการ

14

3. การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ 3.1 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการด้านเศรษฐศาสตร์

20

3.2 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านการเงิน

20

3.3 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านการบริ หารการจัดการ

20

3.4 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านสาธารณูปโภค

21

3.5 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านการท่องเที่ยว

21

3.6 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านสภาพแวดล้อมและการอนุรักษ์

21

4. กรณี ศึกษา 4.1 กว๊านพะเยา 4.1.1 ประวัติความเป็ นมา

23

4.1.2 การจัดการและการอนุรักษ์

24

4.1.3 องค์ประกอบทางชีวภาพ

24

4.1.4 คุณค่าและการใช้ประโยชน์จากกว๊านพะเยา

25

4.1.5 สภาพปัญหาของกว๊านพะเยา

25

4.1.6 แนวทางการแก้ไข

26

4.1.7 แนวความคิดในการออกแบบ

26

4.1.8 ศึกษาและการวิเคราะห์การออกแบบวางผังโครงการ

27

4.1.9 ระบบทางสัญจร

27

4.1.10 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ

27

4.1.11 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ

28 8


9

สารบัญเรื่อง (ต่อ) 4.2 บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ 4.2.1 ข้อมูลทัว่ ไปและที่ต้ งั โครงการ

33

4.2.2 ประวัติความเป็ นมา

33

4.2.3 วัตถุประสงค์ของโครงการ

35

4.2.4 ส่ วนประกอบของโครงการ

35

4.2.5 แนวคิดในการออกแบบ

38

4.2.6 ศึกษาและการวิเคราะห์การออกแบบวางผังโครงการ

39

4.2.7 ระบบทางสัญจร

39

4.2.8 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ

40

4.2.9 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ

42

4.3 Sungei buloh nature park Singapore 4.3.1 ข้อมูลทัว่ ไปและที่ต้ งั โครงการ

50

4.3.2 ประวัติความเป็ นมา

50

4.3.3 วัตถุประสงค์

50

4.3.4 ส่วนประกอบของโครงการ

51

4.3.5 กิจกรรมในพื้นที่

51

4.3.6 ระบบทางสัญจร

52

4.3.7 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ

53

4.3.8 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ

54

5. ข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูลของโครงการ 5.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทัว่ ไปของจังหวัดขอนแก่น

58

5.2 การวิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของพื้นที่โครงการ

72

5.3 ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอยภายในโครงการ

92

5.4 การสังเคราะห์หาศักยภาพของพื้นที่โครงการ

94 9


10

สารบัญเรื่อง (ต่อ) 5.5 ความต้องการการใช้พ้นื ที่ภายในโครงการ

97

6. แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 แนวคิดในการออกแบบโดยรวม (Main Concept)

105

6.2 แนวความคิดด้านใช้ที่ดิน (LAND USE)

106

6.3 แนวความคิดเรื่ องระบบการสัญจร

107

6.4 แนวความคิดในการใช้พืชพรรณ

108

7. รายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบ 7.1 รายละเอียดการออกแบบ ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ

114

7.2 รายละเอียดรู ปแบบของสิ่ งปลูกสร้ าง

115

8. ผลงานการออกแบบ

119

9. บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ 9.1 บทสรุ ป

136

9.2 ข้อเสนอแนะ

136

บรรณานุกรม

138

ประวัตินกั ศึกษา

139

10


11

สารบัญตาราง

ตารางที่

หน้ า

1. แสดงชุดดิน

65

2. รับน้ าของจังหวัดขอนแก่น

66

3. แสดงชั้นหิ นให้น้ า (น้ าใต้ดิน)

69

4. ตารางสรุ ปศักยภาพของพื้นที่

95

5. ตารางสรุ ปแนวทางการพัฒนาพื้นที่โครงการ

96

6. ความต้องการการใช้พ้นื ที่ภายในโครงการ

97

11


12

สารบัญภาพ ภาพที่

หน้ า

1. แสดงทัศนียภาพบริ เวณป้ าย

30

2. แสดงทัศนียภาพทางเดินริ มกว๊าน

30

3. แสดงทัศนียภาพท่าเรื อ

31

4. แสดงทัศนียภาพวัดติโลกอาราม

31

5. แสดงทัศนียภาพบริ เวณกว้างของกว๊านพะเยา

32

6. แสดงทัศนียภาพมุมสู ง ป้ าย และการทาประมง

32

7. แสดงทัศนียภาพมุมสู งของกว๊านพะเยา

32

8. แสดงทัศนียภาพทางเข้าบึงฉวาก

45

9. แสดงทัศนียภาพทางเข้าสวนสัตว์

45

10. แสดงทัศนียภาพทางเข้ากรงเสื อและสิ งโต

46

11. แสดงทัศนียภาพบริ เวณทางเดินในบริ เวณสวนสัตว์

46

12. แสดงทัศนียภาพบริ เวณทางเดินริ มน้ า

47

13. แสดงทัศนียภาพบริ เวณลานจอดรถราง

47

14. แสดงทัศนียภาพบริ เวณสวนสัตว์

48

15. แสดงทัศนียภาพบริ เวณทางเข้าสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ า

48

16. แสดงทัศนียภาพบริ เวณฟาร์มจระเข้

49

17. แสดงทัศนียภาพบริ เวณทางเดินอุโมงค์ใต้น้ า

49

18. แสดงทัศนียภาพบริ เวณศูนย์นกั ท่องเที่ยว

56

19. แสดงทัศนียภาพบริ เวณทางเดินริ มทะเล

56

20. แสดงทัศนียภาพบริ เวณป่ าชายเลน

57

21. แสดงทัศนียภาพบริ เวณโครงการ

57

22. แสดงแผนที่แสดงชุดดิน

64

23. แสดงแผนที่แสดงแหล่งน้ าผิวดิน

68 12


13

สารบัญภาพ (ต่อ) 24. แสดงแผนที่แสดงแหล่งน้ าใต้ดิน

69

25. ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก

86

26. ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก

86

27. ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก

86

28. ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก

87

29. ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก

87

30. ทัศนียภาพทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ

87

31. ทัศนียภาพทางทิศเหนือ

88

32. ทัศนียภาพทางทิศเหนือ

88

33. ทัศนียภาพทางทิศตะวันออก

88

34. ทัศนียภาพทางทิศตะวันออก

89

35. ทัศนียภาพทางทิศใต้

89

36. ทัศนียภาพทางทิศใต้

90

37. SITE INTRODUCTION & SITE INVENTORY

123

38. SITE ANALYSIS

124

39. SITE ANALYSIS

125

40. SITE ANALYSIS

126

41. SITE SYNTHESIS

127

42. CONCEPTUAL DESIGN

128

43. CONCEPTUAL DESIGN

128

44. MASTER PLAN

130

45. DETAIL A

131

46. DETAIL B

132

47. DETAIL C

133 13


14

สารบัญภาพ (ต่อ) 48. OVERALL

134

49. MODEL

135

14


15

สารบัญแผนที่ แผนที่

หน้ า

1. แสดงที่ต้ งั โครงการระดับประเทศ

15

2. แสดงที่ต้ งั โครงการระดับภาค

16

3. แสดงที่ต้ งั โครงการระดับจังหวัด

17

4. แสดงที่ต้ งั โครงการระดับอาเภอ

18

5. แสดงที่ต้ งั โครงการ

19

6. แผนที่การเข้าถึงกว๊านพะเยา

29

7. แผนที่บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ

43

8. แผนที่การเข้าถึงบึงฉวาก

44

9. แผนผัง Sungei buloh nature park Singapore

55

10. แสดงที่แหล่งน้ าและการระบายน้ า

79

11. แสดงระบบทางสัญจร

80

12. แสดงลักษณะพืชพรรณเดิม

81

13. แสดงสิ่ งปลูกสร้างเดิม

82

14. แสดงระบบสาธารณูปโภค

83

15. แสดงการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ดินเดิม

84

16. แสดงทัศนียภาพและมุมมอง

85

17. แสดงการวิเคราะห์ศกั ยภาพของพื้นที่

91

18. Bubble Diagram

110

19. Zoning Diagram

111

20. Function Diagram

112

21. Circulation Diagram

113

15


16

สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่

หน้ า

1. แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554)

61

2. แสดงฝนตกเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554)

61

3. แสดงความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554)

62

4. แสดงความเร็ วลมเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554)

63

16


1

บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บึงทุ่งสร้าง เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่อยูใ่ นเขตอาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เป็ นพื้นที่ มี ลักษณะเป็ นบึงธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ในอดีตบึงทุ่งสร้างเป็ นแหล่ง ประมงที่สาคัญที่สุดของเมือง แต่ในปั จจุบนั มีสภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม คือ เกิดปั ญหาน้ า เสี ยในบึง เนื่องจากรับน้ าเสี ยมาจากแหล่งชุมชนในเขตเทศบาล และการจับปลาในฤดูวางไข่ จึงให้ ทาปลาลดน้อยลง ดังนั้นจึงควรมีการอนุรักษ์พนั ธุ์สัตว์น้ า และพัฒนาให้เป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อน ใจของประชาชน เมื่อทางเทศบาลได้เล็งเห็นถึงความสาคัญเพื่อให้เกิดประโยชน์ และเกิดแหล่งเรี ยนรู ้จาก ธรรมชาติ ประกอบกับจังหวัดขอนแก่นเป็ นศูนย์กลางทางการศึกษา คือมีแหล่งสถาบันอุดมศึกษา 16 แห่ง สถาบันอาชีวศึกษา 11 แห่ง และโรงเรี ยน 125 แห่ง จึงมีความเหมาะสมในการพัฒนาเป็ น อุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และเพื่อตอบสนองแผนนโยบายในอนาคตของทาง จังหวัดที่จะสร้างพื้นที่สาธารณะ ที่ตอ้ งการให้เป็ นแหล่งการเรี ยนรู ้ แหล่งทัศนศึกษา สถานที่ พักผ่อนหย่อนใจและสถานที่ท่องเที่ยว มีสภาพเป็ นบึงธรรมชาติ มีสวนพฤกษศาสตร์ ชุ่มน้ า พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ า ศูนย์การเรี ยนรู ้ บนพื้นที่ 440 ไร่ เหตุผลที่เลือกโครงการบึงทุ่งสร้างเป็ นอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เนื่องจากพื้นที่มีความเป็ นธรรมชาติ อยูใ่ นอาเภอเมือง ที่มีท้ งั ศูนย์ราชการ บ้านพักที่อยูอ่ าศัย และ โรงเรี ยน เป็ นที่ต้ งั ของแหล่งทัศนศึกษาและเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ดึงดูดนักท่องเที่ยวและผูค้ นทัว่ ไป ให้เข้ามาใช้งาน นอกจากนี้ยงั ช่วยให้ชีวติ ของผูค้ นที่อยูใ่ นละแวกนั้นมีที่พกั ผ่อน ช่วยในการพัฒนา คุณภาพชีวติ สร้างเสริ มแหล่งเรี ยนรู ้ในชุมชน นันทนาการ รวมทั้งคนที่อยูใ่ นเมืองที่ตอ้ งการมา


2

สัมผัสธรรมชาติ โดยไม่ตอ้ งใช้เวลาในการเดินทางที่มากนัก จึงเห็นสมควรที่จะมีการออกแบบและ วางผังภูมิสถาปัตยกรรม เพื่อให้เกิดศักยภาพและตอบสนองความต้องการในอนาคตเมืองขอนแก่น 1.2 สถานทีต่ ้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกทีต่ ้ งั โครงการ 1.2.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งบนถนนกสิ กรทุ่งสร้าง ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เข้าถึงได้จากถนนจอมพล มุ่งตรงสู่ สวนสุ ขภาพของบึงทุ่งสร้าง ส่ วนพื้นที่ต้ งั โครงการเป็ นพื้นที่บริ เวณทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือของบึงทุ่งสร้าง มีขนาดของพื้นที่ท้ งั หมด 440 ไร่ 1.2.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ เนื่องจากบริ เวณดังกล่าว อยูใ่ กล้กบั แหล่งชุมชนโรงเรี ยน และศูนย์ราชการจังหวัด ขอนแก่น สามารถเข้าถึงได้ง่าย เนื่องจากมีถนนที่ลอ้ มรอบโครงการ พื้นที่มีความหลากหลายของ กิจกรรมเดิมอยู่ คือ พื้นที่พกั ผ่อน สนามเด็กเล่น พื้นที่ชุ่มน้ าบางส่ วน และมีอาคารศูนย์วทิ ยาศาสตร์ จึงเหมาะสาหรับการออกแบบและวางผัง 1.3 วัตถุประสงค์ 1.3.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3.1.1 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ สร้างความเข้าใจ และความตระหนักในคุณค่าของ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งเป็ นแหล่งท่องเที่ยว สาหรับคนในชุมชน และนักท่องเที่ยว 1.3.1.2 จัดพื้นที่รองรับกิจกรรมนันทนาการ ของคนในชุมชน และนักท่องเที่ยว 1.3.1.3 เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของคนในชุมชน ด้วยการเพิ่มพื้นที่สีเขียว


3

1.3.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 1.3.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม

พื้นที่อุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ในสภาพภูมิประเทศที่เป็ นบึง 1.3.2.2 เพื่อศึกษาวิเคราะห์สภาพธรรมชาติและพืชพรรณ ที่มีอยูใ่ นบริ เวณพื้นที่บึง ทุ่งสร้างซึ่ งส่ งผลต่อการออกแบบโครงการ 1.3.2.3 เพื่อนาการออกแบบมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กบั นักเรี ยน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไป 1.3.2.4 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบปรับปรุ งและวางผังพืชพรรณบริ เวณพื้นที่ โครงการให้ดีข้ ึน เหมาะกับสภาพแวดล้อม 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.4.1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 1.4.1.1 โครงการตั้งบนถนนกสิ กรทุ่งสร้าง ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น อาเภอ เมืองจังหวัดขอนแก่น ส่ วนพื้นที่ต้ งั โครงการเป็ นพื้นที่บริ เวณทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือของบึงทุ่งสร้าง มีขนาดของพื้นที่ท้ งั หมด 440 ไร่ 1.4.1.2 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ

จรด

ชุมชนโนนชัย และหมู่บา้ นจัดสรร

ทิศใต้

จรด

ชุมชนธารทิพย์และบ่อบาบัดน้ าเสี ย

ทิศตะวันออก จรด เมือง

บ่อบาบัดน้ าเสี ยเทศบาล และชุมชนบ้านโนน


4

ทิศตะวันตก

จรด

หมู่บา้ นจัดสรร สถานีประมงน้ าจืดและศูนย์

ราชการจังหวัดขอนแก่น 1.4.2 ขอบเขตของเนื้อหาที่จะศึกษา 1.4.2.1 การศึกษาข้อมูลและการวิเคราะห์ 1) ศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการทางกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม 2) ศึกษาที่ต้ งั การเข้าถึงพื้นที่โครงการ การเชื่อมโยงพื้นที่ สภาพแวดล้อมบริ เวณโดยรอบ 3) ศึกษาถึงสภาพทางกายภาพของพื้นที่ และปัจจัยทางธรรมชาติ 4) ศึกษาถึงรายละเอียดของโครงการที่เหมาะสมกับการออกแบบ เช่น ความเป็ นมาของโครงการ ประเภทของผูใ้ ช้ กิจกรรมของผูใ้ ช้ที่จะเกิดขึ้นในโครงการ ศึกษาถึง ลักษณะพฤติกรรมผูใ้ ช้ และรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่ใช้สอยในลักษณะต่างๆ 5) ศึกษาโครงการที่มีลกั ษณะใกล้เคียงกันทั้งในประเทศและต่างประเทศ 6) ศึกษาถึงลักษณะธรรมชาติ พืชพรรณ ที่มีความเหมาะสมและสามารถ นามาใช้ประโยชน์ 7) ศึกษาทัศนียภาพ มุมมองของพื้นที่โครงการ 1.5 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการศึกษา 1.5.1 กาหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษาโครงการ 1.5.2 กาหนดขอบเขตของการศึกษา 1.5.3 ศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ 1.5.4 สารวจและการเก็บข้อมูลที่จาเป็ นต่อการออกแบบ 1.5.5 งานขั้นวิเคราะห์ขอ้ มูล (Site Analysis)


5

1.5.5.1 การเข้าถึงที่ต้ งั การคมนาคม และการเชื่อมโยงของพื้นที่ (Accessibility Transportation and Linkage) 1.5.5.2 สภาพทัว่ ไปของโครงการ (Existing Condition) 1.5.5.3 อาคารและสิ่ งก่อสร้าง (Building) 1.5.5.4 พืชพรรณ (Planting) 1.5.5.5 มุมมองและทัศนียภาพ (View) 1.5.5.6 สภาพภูมิอากาศ (Climate) 1.5.5.7 ความลาดชัน (Slop) 1.5.5.8 การระบายน้ า (Drainage) 1.5.5.9 ลักษณะและคุณสมบัติของดิน (Soil) 1.5.5.10 ปัญหาอื่นๆในพื้นที่ (Problems) 1.5.5.11 ลักษณะทัว่ ไปรอบๆ โครงการ (Surrounding Condition and Problems) 1.5.5.12 ความเป็ นมาด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี และกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง (History, Culture, Tradition, and Law) 1.5.5.13 สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (Utility and Facility) 1.5.5.14 ผูใ้ ช้และกิจกรรม (User and Activity) 1.5.5.15 ศึกษาโครงการที่มีความใกล้เคียงกันทั้งในประเทศและต่างประเทศ (Case Study) 1.5.5.16 งานขั้นสังเคราะห์ขอ้ มูล (Site Synthesis) เพื่อเป็ นแนวทางในการกาหนด แนวความคิดในการออกแบบให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ 1.5.5.17 การวิเคราะห์ความต้องการของโครงการ (Program Analysis) 1.5.5.18 ความต้องการของโครงการ (Program Requirement) 1.5.5.19 ศักยภาพและข้อจากัด (Site Potential & Constraint) 1.5.5.20 งานขั้นเสนอแนวความคิดในการออกแบบ (Design Concept) 1.5.5.21 กาหนดโครงสร้างและความสัมพันธ์ของกิจกรรม (Diagram) 1.5.5.22 กาหนดผังแสดงแนวความคิดในการออกแบบ (Concept Plan)


6

1) ผังแสดงแนวความคิดในการออกแบบโดยรวม 2) ผังแสดงแนวความคิดในการออกแบบใช้ที่ดิน 3) ผังแสดงแนวความคิดในการออกแบบระบบทางสัญจร 4) ผังแสดงแนวความคิดในการออกแบบพื้นที่เปิ ดโล่ง (open space) 5) ผังแสดงแนวความคิดในการออกแบบระบบสาธารณูปโภค 6) ผังแสดงแนวความคิดในการวางผังพืชพรรณ 7) งานพัฒนาแบบและปรับปรุ งแบบ 1.5.6 งานนาเสนอขั้นสมบูรณ์ 1.5.6.1 การออกแบบผังแม่บท (Master Plan) 1.5.6.2 การออกแบบวางผังบริ เวณ (Site Plan) 1.5.6.3 การออกแบบผังรายละเอียด (Detail Plans) 1.5.6.4 นาเสนอผลงานออกแบบขั้นสมบูรณ์ 1.5.6.5 ผังแม่บท (Master Plan) 1.5.6.6 ผังบริ เวณ (Site Plan) 1.5.6.7 ผังรายละเอียด (Detail Plans) 1.5.6.8 รายละเอียดการใช้พืชพรรณ (Planting Details) 1.5.6.9 รายละเอียดโครงสร้าง (Construction Details) 1.5.6.10 รู ปตัดและรู ปด้าน (Section and Elevation) 1.5.6.11 รู ปทัศนียภาพ (Perspective) 1.5.6.12 หุ่นจาลอง (Model) 1.2.6.13 รู ปเล่มวิทยานิพนธ์ 1.6 ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับจากการศึกษา 1.6.1 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากพื้นที่โครงการ


7

1.6.1.1 เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ ที่มีลกั ษณะเป็ นบึงธรรมชาติเพื่อรองรับ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติ 1.6.1.2 เป็ นการส่ งเสริ มด้านการศึกษา ทาให้เยาวชนมีความคิดสร้างสรรค์ มี จินตนาการที่กว้างไกล 1.6.1.3 เป็ นสถานที่แสดงออกทางด้านความคิดสร้างสรรค์และกิจกรรมที่เป็ น ประโยชน์ต่อคนในชุมชน 1.6.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา 1.6.2.1 สามารถเป็ นแนวทางในการออกแบบวางผังพื้นที่ที่มีการท่องเที่ ยวและการ อนุรักษ์พ้นื ที่ชุ่มน้ า โดยคานึงถึงสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อสัตว์และสภาพแวดล้อมเดิม 1.6.2.2 ได้ศึกษาถึงสภาพปัญหา ข้อดี ข้อเสี ยที่เกิดจากโครงการที่มีลกั ษณะ เช่นเดียวกันเพื่อเป็ นแนวทางพื้นฐานในการออกแบบ 1.6.2.3 นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาวิเคราะห์เพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบให้ เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด


8

บทที่ 2 ทีต่ ้ังและความสาคัญของโครงการ 2.1 ทีต่ ้งั และอาณาเขตติดต่ อ พื้นที่ต้ งั โครงการ ตั้งบนถนนกสิ กรทุ่งสร้าง ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เข้าถึงได้จากถนนจอมพล มุ่งตรงสู่ สวนสุ ขภาพของบึงทุ่งสร้าง ส่ วนพื้นที่ต้ งั โครงการ เป็ นพื้นที่บริ เวณทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือของบึงทุ่งสร้าง มีขนาดของพื้นที่ ทั้งหมด 440 ไร่ อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ

จรด

ชุมชนโนนชัย และหมู่บา้ นจัดสรร

ทิศใต้

จรด

ชุมชนธารทิพย์และบ่อบาบัดน้ าเสี ย

ทิศตะวันออก จรด

บ่อบาบัดน้ าเสี ยเทศบาล และชุมชนบ้านโนนเมือง

ทิศตะวันตก

หมู่บา้ นจัดสรร สถานีประมงน้ าจืดและศูนย์ราชการ

จรด

จังหวัดขอนแก่น 2.2 การเข้ าถึงพืน้ ทีโ่ ครงการ 2.2.1 การเข้าถึงพื้นที่โครงการสามารถทาได้ดงั นี้ 2.2.1.1 ทางรถยนต์ จากกรุ งเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนน พหลโยธิน) ถึงจังหวัดสระบุรี ตรงหลักกิโลเมตรที่ 107 แยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (ถนน มิตรภาพ) ผ่านจังหวัดนครราชสี มาถึงจังหวัดขอนแก่น เข้าสู่ เขตอาเภอเมือง บนถนนประชา สโมสร เลี้ยวซ้ายเข้าซอยกสิ กรทุ่งสร้าง ประมาณ 1 กิโลเมตร เลี้ยวขวาบนถนนจอมพลตรงมาเจอ สวนสุ ขภาพบึงทุ่งสร้างเลี้ยวซ้ายจะเจอพื้นที่โครงการ อีกหนึ่งเส้นทาง เมื่อถึงสระบุรีแล้วตรงไปตาม ถนนสระบุรี- ลานารายณ์ แยกขวาเข้าเส้นทางม่วงค่อม-ด่านขุนทด-ชัยภูมิ-ขอนแก่น หรื อสระบุรี-อาเภอลานารายณ์-อาเภอ


9

เทพสถิต-ชัยภูมิ-อาเภอมัญจาคีรี-อาเภอพระยืน-ขอนแก่น เข้าสู่ เขตอาเภอเมือง บนถนนประชา สโมสร เลี้ยวซ้ายเข้าซอยกสิ กรทุ่งสร้าง ประมาณ 1 กิโลเมตร เลี้ยวขวาบนถนนจอมพลตรงมาเจอ สวนสุ ขภาพบึงทุ่งสร้างเลี้ยวซ้ายจะเจอพื้นที่โครงการ 2.2.1.2 ทางรถไฟ ขบวนรถไฟออกจากสถานีกรุ งเทพฯ (หัวลาโพง) ไปยัง จังหวัดขอนแก่นใช้เวลาเดินทางประมาณ 8-9 ชัว่ โมง โดยมีระยะห่างจากพื้นที่โครงการ 3.80 กิโลเมตร สามารถเดินทางเข้าสู่ พ้นื ที่โครงการ โดยรถบริ การสามล้อ รถตุก๊ ตุก๊ รถจักรยานยนต์ รับจ้าง 2.2.1.3 ทางรถโดยสารประจาทาง ใช้เวลาเดินทางประมาณ 7 ชัว่ โมง รถออก จากสถานีขนส่ งสายตะวันออกเฉี ยงเหนือ (หมอชิต 2 ) สามารถเดินทางเข้าสู่ พ้ืนที่โครงการ โดยรถ บริ การสามล้อ รถตุก๊ ตุก๊ รถจักรยานยนต์รับจ้าง 2.2.1.4 ทางเครื่ องบิน บมจ. การบินไทย เปิ ดบริ การเที่ยวบินกรุ งเทพฯขอนแก่น ใช้เวลาเดินทาง 50 นาที สามารถเดินทางเข้าสู่ พ้นื ที่โครงการโดยรถบริ การรถรับจ้าง รถสามล้อ รถตุก๊ ตุก๊ 2.3 การเชื่อมโยงพืน้ ทีโ่ ครงการ พื้นที่โครงการ บึงทุ่งสร้าง อยูภ่ ายในเขตเทศบาลนครขอนแก่น การสัญจรจะเชื่อมโยงกับ ถนนเส้นหลักของจังหวัด ทาให้มีการเชื่อมโยงไปยังสถานที่ต่างๆได้อย่างสะดวกและให้บริ การแก่ พื้นที่ได้โดยรอบ 2.3.1 สถานที่ราชการ เนื่องจากพื้นที่อยูใ่ นเขตเทศบาลนครขอนแก่น จึงมีสถานที่ราชการอยูใ่ กล้เคียง ภายในระยะรัศมี 4 กิโลเมตร เช่น ศูนย์ราชการ อีกทั้งอยูใ่ กล้กบั สถาบันการศึกษาหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัย วิทยาลัย และโรงเรี ยน มีการเชื่อมโยงได้อย่างสะดวก


10

2.3.2 สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ภายในจังหวัดขอนแก่น มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นสวยงาม ทรงคุณค่าทางวัฒนธรรมของคนอีสาน เป็ นแหล่งท่องเที่ยวและศูนย์เศรษฐกิจที่สาคัญของภาค เป็ น ที่นิยมของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ สามารถสร้างรายได้และชื่อเสี ยงให้กบั จังหวัด ได้ ทั้งนี้อาจจะจาแนกแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่จงั หวัดได้ ดังนี้ 2.3.2.1 แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ คือแหล่งท่องเที่ยวที่มีความอุดม สมบูรณ์ มีทศั นียภาพที่สวยงามและเป็ นเอกลักษณ์ เช่น อุทยานแห่งชาติภูเก้า- ภูพานคา อุทยาน แห่งชาติภูเวียง น้ าตกตาดฟ้ า ผานกเค้า ถ้ าค้างคาว ถ้ าภูผาหลอ ถ้ าฝามือแดง อุทยานแห่งชาติน้ าพอง เขื่อนอุบลรัตน์ บึงแก่นนคร 2.3.2.2 แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม คือ แหล่งท่องเที่ยวที่ทรงคุณค่า ด้านวัฒนธรรมและจิตใจ เช่น พระธาตุขามแก่น ปราสาทเปื อยน้อย (พระธาตุก่ทู อง) แหล่ง โบราณคดีไดโนเสาร์ภูเวียง หมู่บา้ นเต่า ศาลาไหมไทย พระพุทธไสยาสน์ หมู่บา้ นงูจงอาง 2.4 สภาพโดยรอบของพืน้ ที่ พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นเขตเทศบาลนครขอนแก่น ลักษณะโดยรอบของพื้นที่โครงการมีการ ใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างชัดเจน ที่ดินโดยรอบจะเป็ นที่ชนบทและเกษตรกรรม บริ เวณทางทิศ ตะวันตกจะเป็ นหมู่บา้ นจัดสรรและพื้นที่ทางทิศใต้ของโครงการจะเป็ นสวนสุ ขภาพ บึงทุ่งสร้าง ทิศ ตะวันออกจะติดกับแหล่งน้ าของบึงทุ่งสร้าง ที่จะสามารถนาพื้นที่น้ นั ๆมาพัฒนาต่อในอนาคตได้ 2.5 สภาพการใช้ ทดี่ ินทัว่ ไปในพืน้ ทีโ่ ครงการ การใช้ที่ดินในพื้นที่ในปั จจุบนั ปั จจุบนั อยูใ่ นส่ วนของการดูแลจากสานักงานเทศบาลนคร ขอนแก่น ใช้เป็ นพื้นที่กกั เก็บน้ า พื้นที่เป็ นที่โล่งว่างเปล่าเป็ นส่ วนใหญ่ จะมีบางส่ วนคือ ทางด้านทิศ ตะวันตก มีศูนย์วทิ ยาศาสตร์ ที่ในช่วงเปิ ดเรี ยนจะมีการมาใช้ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ ของเด็กนักเรี ยนที่อยู่


11

ภายในเขตเทศบาล สนามเด็กเล่น จะมีเด็กที่อยูใ่ นชุมชนละแวกนั้นมาเล่นและออกกาลังกายทุกวัน ศูนย์ส่งเสริ มการปลูกต้นไม้ และมีการปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ ส่ วนพื้นที่เกาะกลางน้ า มีการใช้ ในส่ วนของการจัดการแข่งขันรถวิบาก ซึ่ งสิ่ งปลูกสร้างส่ วนใหญ่จะเป็ นส่ วนเดิมที่มีอยูแ่ ล้วของ พื้นที่โครงการ พื้นที่บึงน้ าที่อยูต่ รงกลางของพื้นที่ ชาวบ้านจะมีการทาประมงจับปลา ซึ่ งเป็ นกิจกรรมเดิม ที่ทากันมานาน แต่ถา้ มีการพัฒนาพื้นที่โครงการทางสานักงานเทศบาลจะไม่ให้มีการทาประมง เพราะต้องการจะทาพื้นที่บึงทุ่งสร้างทั้งหมดให้เป็ นพื้นที่อนุรักษ์พนั ธ์สัตว์น้ า การสัญจรในพื้นที่ยงั ไม่มีความชัดเจน เพราะพื้นที่ยงั ไม่ได้รับการพัฒนา แต่ท างเข้าพื้นที่ โครงการจะเข้าได้ 2 ทาง คือ ทางเข้าทางด้านทิศตะวันตก และทางเข้าทางด้านทิศเหนือ 2.6 เอกลักษณ์ของท้องถิ่น พื้นที่มีเอกลักษณ์ประจาท้องถิ่น คือ การร่ วมกันทากิจกรรมส่ งเสริ มวัฒนธรรมประเพณี เช่น งานลอยกระทง เนื่องจากเป็ นพื้นที่ที่กาลังมีการส่ งเสริ มและพัฒนา จึงยังไม่มีกิจกรรมที่เป็ น เอกลักษณ์ประจาท้องถิ่นมากนัก เอกลักษณ์ประจาท้องถิ่นในจังหวัด เช่น ในเรื่ องของภาษาท้องถิ่น งานเทศกาล ประเพณี ต่างๆ เช่น งานเทศกาลดอกคูนเสี ยงแคน สุ ดยอดสงกรานต์อีสานและถนนข้าวเหนียว ซึ่ งจะจัดขึ้นเป็ น ประเพณี ทุกปี วัตถุประสงค์ของการจัดงาน เพื่อส่ งเสริ มวัฒนธรรมการละเล่นสงกรานต์แบบปี ใหม่ ไทย ปลูกฝังพฤติกรรมและค่านิยมที่ดีของเยาวชนต่อครอบครัวและสังคม และที่เป็ นจุดเด่นสาคัญ ของงานคือเป็ นงานที่สนุกได้โดยไร้แอลกอฮอล์ ซึ่งถือเป็ นจังหวัดต้นแบบด้านการส่ งเสริ มสุ ขภาพ และแก้ไขปัญหาการดื่มแอลกอฮอล์ของประชาชน กิจกรรมในงานประกอบด้วย พิธีทาบุญตัก บาตร การละเล่นกีฬา ประกวดอาหารพื้นบ้าน จัดแสดงคนตรี เป็ นต้น ซึ่ งจะจัดในช่วงวันที่ 13-15 เมษายน งานบุญเดือนหก เปิ ดโลกกว้างภูเวียง เป็ นงานบุญที่นิยมจะจัดขึ้นในช่วงเดือนหกของทุกๆ เป็ นการทาบุญอุทิศส่ วนบุญกุศลให้กบั ผูต้ าย หรื อทาบุญหาญาติที่สูญหายไป และมีการเปิ ดโลก


12

กว้างภูเวียง เป็ นงานที่จดั แสดงเกี่ยวกับไดโนเสาร์ ยคุ โบราณ แสดงเรื่ องราวแหล่งอารยธรรมโบราณ ของภูเวียง เช่น โครงกระดูกมนุษย์โบราณ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ โลหะสาริ ด พระนอนสมัยทวารวดี รวมทั้งภาพเขียนสี สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่ถ้ าบนเทือกเขาภูเวียง งานประเพณี ออกพรรษาไต้ประทีปโคมไฟและวิถีอีสาน ประเพณี ออกพรรษา ตรงกับวัน เพ็ญขึ้น 15 ค่า เดือน 11โดยมีความเชื่อตามพุทธประวัติว่า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จ ขึ้นไปโปรดพระพุทธมารดาบนสรวงสวรรค์ช้ นั ดาวดึง ส์ ในระหว่างเข้าพรรษา และได้เสด็จกลับลง มายังโลกมนุษย์ในวันออกพรรษา พุทธศาสนิกชนต่างปิ ติยนิ ดีในจริ ยาวัตรของพระพุทธเจ้า จึงได้ ปฏิบตั ิกิจกรรม “ไต้ประทีปโคมไฟ” เพื่อถวายเป็ นพุทธบูชาสื บทอดต่อกันมา แต่ในสมัยก่อนนั้นยัง ไม่ค่อยมีโคมไฟใช้กนั จึงต้องใช้ลูกตูมกา ลูกฟักเหลือง ลูกส้มโอโตๆ แทน ด้วยการควักเอาเมล็ด ออกให้หมดและทาให้โปร่ งบาง แล้วนาน้ ามันที่นามาจากเมล็ดมะยม หมากบก หรื อน้ ามันมะพร้าว เทลง จากนั้นฟั่นฝ้ ายเป็ นรู ปตีนกาเอามาทาเป็ นไส้ วางไว้ตรงกลางสาหรับจุด พร้อมทั้งทาหูหิ้ว สาหรับแขวนบนต้นไม้ต่างๆ ดูสวยงามมาก ต่อมาจึงได้มีการประยุกต์ ให้เข้ากับยุคสมัยด้วยการนา น้ ามันใส่ ถว้ ย ใส่ ขวดแล้วเอามาตั้งไวที่หิ้ง ซึ่ งเรี ยกว่า “ฮ้านน้ ามันหรื อฮ้านประทีป ” ที่ทาเป็ นรู ป สี่ เหลี่ยมผืนผ้า มีเสาสี่ เสา ความสู งประมาณมือยื้อหรื อเอื้อมถึงได้ โดยจะนาไปตั้งไว้เพื่อบูชาที่ บริ เวณกลางแจ้งของลานวัด เทศบาลนครขอนแก่นจึงได้นาฮ้านประทีปมาเป็ นส่ วนหนึ่งในงาน ประเพณี ออกพรรษา ไต้ประทีปโคมไฟและวิถีอีสาน โดยเทศบาลนครขอนแก่น ร่ วมกับจังหวัด ขอนแก่น องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดขอนแก่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ชุมชน คุม้ วัด และ หน่วยงานภาครัฐ เอกชนในจังหวัดขอนแก่ น จัดงาน ณ บริ เวณสวนสาธารณะ 200 ปี บึงแก่นนคร โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์ ส่ งเสริ มศาสนาและสื บสานศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนเป็ นการฟื้ นฟู วิถีอีสานของเมืองขอนแก่นให้สืบทอดไปจนถึงลูกหลานต่อไป และเป็ นการส่ งเสริ มและ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ในงานประกอบด้วยกิจกรรมมากมาย อาทิ พิธีทางศาสนา ประกวด ฮ้านประทีป การกวนข้าวทิพย์ การออกร้านจาหน่ายสิ นค้าชุมชน มหกรรมอาหารของดีเมือง ขอนแก่น ขบวนแห่ ประทีปโคมไฟ การแสดงศิลปวัฒนธรรมนานาชาติ การแสดงดนตรี /คอนเสิ ร์ต ลูกทุ่งหมอลา การประกวดบอนไซ ประกวดสรภัญญ์ ประกวดพระเครื่ อง และการแข่งขัน X – Games นอกจากนี้แต่ละคุม้ วัดจะจัดให้มีการลอยประทีปโคมไฟในช่วงเทศกาลอีกด้วย


13

งานเทศกาลไหมและประเพณี ผกู เสี่ ยวและงาน หรื อที่นิยมเรี ยกกันว่า "งานไหม" หรื อ "งานเทศกาลไหม" จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี 2522 โดยได้รับการสนับสนุนจากการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย ในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์จนเป็ นที่รู้จกั กันอย่างแพร่ หลาย ประเพณี ผกู เสี่ ยว เป็ นประเพณี ด้ งั เดิมของคนกลุ่มวัฒนธรรมไทยลาว หรื อชาวอีสานมาแต่อดีตจนถึงปั จจุบ ัน คาว่า "เสี่ ยว" ในความหมายของชาวอีสาน หมายถึงเพื่อนรัก เพื่อนตาย เพื่อนรวมชะตาชีวติ รวมทุกข์ รวมสุ ข ถือเสมือนมีชีวติ เดียวกัน คู่เสี่ ยวจะติดต่อไปมาหาสู่ และช่วยเหลือเกื้อกูลกันอยูต่ ลอดเวลา คนที่จะเป็ นคู่เสี่ ยวจะต้องเป็ นชายกับชาย หญิงกับหญิง ซึ่ งสนิทสนมกัน รสนิยมคล้ายกัน เกิดปี เดียวกัน มีบุคลิกคล้ายกัน พ่อแม่เห็นว่าเด็กรักกันก็จะนามาผูกแขนต่อหน้าผูใ้ หญ่ อบรมให้รักกัน แล้วทั้งสองคนก็ได้ชื่อว่าเป็ นเสี่ ยวกันไปจนชีวติ จะหาไม่ งานเทศกาลไหมประเพณี ผกู เสี่ ยวและงาน กาชาดจังหวัดขอนแก่น จัดขึ้นระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 10 ธันวาคม ของทุกปี ณ บริ เวณสนามหน้าศาลากลางจังหวัดขอนแก่น วัตถุประสงค์ของการจัดงาน คือ ให้ประชาชนเข้าใจ ความหมายของคาว่าเสี่ ยวอย่างถูกต้อง ฟื้ นฟูอนุรักษ์ประเพณี อนั ดีงามไว้ให้เป็ นมรดกทาง วัฒนธรรม ส่ งเสริ มให้คนในชาติตระหนักถึงความเป็ นมิตรกัน และนาค่าแห่งมิตรภาพนั้นไปใช้ให้ เป็ นประโยชน์ในด้านความร่ วมมือพัฒนาประเทศชาติและขยายผลการผูกเสี่ ยวไปสู่ คนในชาติให้ มากขึ้น กิจกรรมในงาน ได้แก่การจัดพิธีผกู เสี่ ยว ประกวดพานบายศรี จดั ขบวนแหรถตามคาขวัญ จังหวัด จัดศาลาไหมเพื่อสาธิ ตการทอผ้าไหมและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ การแสดงศิลปะพื้นบ้าน การ ออกร้านกาชาด การจัดนิทรรศการของส่ วนราชการ และการประกวดนางงามไหม งานบุญคูนเมือง โดยมีวตั ถุประสงค์ในการจัดงานเพื่อบูชาศาลหลักเมืองที่เป็ นที่เคารพนับ ถือของประชาชนชาวขอนแก่ น ที่อยูค่ ู่บา้ นคู่ เมืองขอนแก่นมาช้านาน โดยในงานจะมีการประกอบ พิธีกรรมทั้งทางศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์ ช่วงเช้ามีการทาบุญตักบาตร มีพิธีบายศรี สู่ขวัญ ราบวงสรวง เชิดสิ งโต ช่วงเย็นนั้นจะคล้ ายกับบรรยากาศของงานวัดสบายๆ เหมาะกับการที่จะพา ครอบครัวมาเดินเที่ยวชมงาน ชมการแสดงต่างๆ ที่ปัจจุบนั นี้หาดูได้ยาก เช่น การแสดงราวงย้อนยุค ปาเป้ า สาวน้อยตกน้ า หนังกลางแปลง มีการเปิ ดร้านขายสิ นค้าทา มือ ทากิจกรรมด้านศิลปะ มีการ แสดงละคร หุ่นละ ครเล็ก และละครสร้างสรรค์ ของเด็กๆ มีโรงเจ มีพิธีกรรมนัง่ อธิ ษฐานจิตที่ บริ เวณศาลหลักเมือง จะจัดขึ้นในช่วงวันที่ 3-5 ธันวาคมของทุกปี


14

งานประเพณี และวัฒนธรรมที่ดีงามที่ทางจังหวัดได้จดั ขึ้นทุกปี ซึ่ งในการออกแบบพื้นที่จะ ให้มีการรองรับงานประเพณี ต่างๆของทางจังหวัดด้วย เพื่อส่ งเสริ มวัฒนธรรมที่ดีของจังหวัด 2.7 ความสาคัญของโครงการ สานักงานเทศบาลนครขอนแก่น ได้ดาเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กบั เมืองภายใต้โครงการ ขอนแก่นเมืองในสวน 2550 หรื อ 2007 KHONKAEN GREEN CITY ตั้งแต่ปี 2548 – 2550 และสื บ เนื่องมาจากโครงการนี้ ทางสานักเทศบาลยังได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ เกี่ยวกับการอนุรักษ์และฟื้ นฟู รักษาสภาพแวดล้อมชุมชน แหล่งท่องเที่ยว แหล่งความรู ้ทางธรรมที่อยูใ่ นเขตพื้นที่เมือง โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม บึงทุ่งสร้าง ถือเป็ นหนึ่งในโครงการที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นแหล่งการศึกษาทาง ธรรมชาติ ในการออกแบบพื้นที่จะต้องคานึงถึงการท่องเที่ยว และการอนุรักษ์ไปพร้อมๆกัน เพื่อที่จะให้ท้ งั สองส่ วนไม่ขดั แย้งกัน สามารถทางานร่ วมกันได้อย่างลงตัว ทั้งนี้ในการออกแบบได้ คานึงถึงการจะทาพื้นที่ให้เป็ นแหล่งการศึกษาธรรมชาติ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในจังหวัด เพื่อเป็ นการ ดึงดูด นักเรี ยน นักศึกษา นักท่องเที่ยวให้มีการเข้ามาใช้พ้นื ที่ เพื่อที่จะช่วยส่ งเสริ มพัฒนาเศรษฐกิจ ของจังหวัดให้ดีข้ ึนด้วย จากนโยบายของทางสานักงานเทศบาล ที่จะมีการพัฒนาและส่ งเสริ มพื้นที่ รวมถึงการ อนุรักษ์พ้นื ที่ทางธรรมชาติให้เป็ นแหล่งศึกษาหาความรู ้จึงเป็ นเหตุผลสนับสนุนที่ดีของโครงการ ออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม บึงทุ่งสร้าง ที่ นอกเหนือวัตถุประสงค์เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจของประชาชนแล้วยังสามารถยกระดับคุณภาพ ชีวติ ที่ดีของชุมน สามารถสร้างความรู ้ สร้างรายได้ สร้างแหล่งท่องเที่ยว และสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ให้กบั จังหวัด ที่ต้ งั และการเข้าถึงพื้นที่โครงการปรากฏตามแผนที่ที่ 1-5


15

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับประเทศ สั ญลักษณ์

บริ เวณที่ต้ งั โครงการ

ที่มา : http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=139126 &Ntype=5

Not To Scale


16

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับภาค สั ญลักษณ์

บริ เวณที่ต้ งั โครงการ

ที่มา : http://www.skoolbuz.com/library/content/1378

Not To Scale


17

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับจังหวัด สั ญลักษณ์

บริ เวณที่ต้ งั โครงการ

ที่มา : http://learners.in.th/blog/ninbunpom/188255

Not To Scale


18

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 4 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับอาเภอ สั ญลักษณ์

บริ เวณที่ต้ งั โครงการ

ที่มา : www.watisan.com

Not To Scale


19

หมู่บ้านโนนชัยและหมู่บ้านจัดสรร หมู่บ้านจัดสรร พืน้ ทีโ่ ครงการ

ศู นย์ ราชการ และสถานีประมงนา้ จืด

( 440 ไร่ )

พืน้ ทีโ่ ครงการในอนาคต ( 800 ไร่ )

สวนสุ ขภาพและพืน้ ที่ Wetland ( 360 ไร่ ) ชุมชนธารทิพย์ และบ่ อบาบัดนา้ เสีย

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 5 สั ญลักษณ์

แสดงที่ต้ งั โครงการ แผนผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ

ที่มา ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ. [ ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา Scale 1: 10000 http://www.earth.google.com


20

บทที่ 3 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ 3.1 พิจารณาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านเศรษฐศาสตร์ เนื่องจากโครงการนี้ เป็ นโครงการของรัฐบาลภายหลังจากเสร็ จสิ้ นการออกแบบ ปรับปรุ งดังกล่าว โครงการจะสามารถหารายได้จากการให้สิทธิ์ ในการเช่าสถานที่ภายใน สวนสาธารณะ ไม่วา่ จะเป็ นร้านอาหาร ร้านจาหน่ายพรรณไม้ ของที่ระลึก ซึ่ งจะทาให้โครงการ สามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับหนึ่ง โดยไม่ตอ้ งพึ่งงบประมาณจากทางราชการเพียงอย่างเดียว 3 .2 พิจารณาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านการเงิน เนื่องจากเทศบาล ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของพื้นที่โครงการบึงทุ่งสร้าง ว่ามีความจาเป็ น ในการพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางธรรมชาติที่อยูใ่ นเขตเมือง จึงได้จดั สรรงบประมาณใน การปรับปรุ งพื้นที่เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของคนในเขตเทศบาล และเพื่อสร้างแหล่งเรี ยนรู ้ แหล่งใหม่ในเขตเมือง นอกจากนี้ยงั ได้รับการสนับสนุนทางด้านงบประมาณจากหน่วยงานสาคัญๆ และภาคเอกชน ร้านค้าต่างๆ 3.3 พิจารณาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านการบริหารการจัดการ โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม อุทยานการศึกษาธรรมและสิ่ งแวดล้อม บึง ทุ่งสร้าง จังหวัดขอนแก่น จาเป็ นต้องอาศัยงานด้านภูมิสถาปั ตยกรรมควบคู่ไปกับงานด้าน สถาปั ตยกรรม โดยทางเทศบาลนครขอนแก่น มีการดาเนินงาบริ หารการจัดการในส่ วนของสวน สุ ขภาพ เป็ นงานด้านภูมิสถาปัตยกรรมเป็ นหลัก ส่ วนที่รับผิดชอบจะเป็ นส่ วนงานกองช่างของ เทศบาลนคร


21

3.4 พิจารณาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านสาธารณูปโภค ตาแหน่งที่ต้ งั ของโครงการอยู่ในเขตตัวเมือง การเข้าถึงพื้นที่ค่อนข้างสะดวกและแต่เดิม พื้นที่เป็ นเป็ นที่รองรับน้ าของชุมชนเมือง จึงมีการจัดการด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการอยู่ แล้วแต่อาจจะเพิ่มเติมบางส่ วน และปรับปรุ งให้มีความพร้อมต่อความต้องการของพื้นที่และ ประชาชน และรองรับกิจกรรมและผูใ้ ช้ยงั ไม่มีในพื้นที่โครงการ จึงสมควรที่จะมีการก่อสร้างระบบ สาธารณูปโภคเพิ่มเติม ดังนี้ 3.4.1 ระบบสาธารณูปโภคในเรื่ องระบบการสัญจร ปรับปรุ งถนนและทางเท้า 3.4.2 ระบบสาธารณูปโภคในเรื่ องปรับปรุ งและติดตั้งระบบไฟฟ้ าสาธารณะ 3.5 พิจารณาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านการท่องเทีย่ ว เนื่องจากจังหวัดขอนแก่น เป็ นจังหวัดที่มีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ไม่เป็ นที่ดึงดูดความ สนใจจากนักท่องเที่ยวมากนัก เมื่อเทียบกับการท่องเที่ยวของจังหวัดอื่นๆ อีกทั้งสถานที่ท่องเที่ยวที่ มีอยู่ มีที่ต้ งั กระจัดกระจายตามอาเภอต่างๆ ซึ่ งอยูห่ ่างไกลจากตัวเมืองมาก ทาให้ตอ้ งใช้เวลาในการ เดินทางนาน ในการเข้าไปพักผ่อนยังสถานที่น้ นั ๆ ดังนั้น พื้นที่โครงการอุทยานการศึกษาธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม บึงทุ่งสร้าง ซึ่ งตั้งอยูใ่ นเขตอาเภอเมือง จึงมีศกั ยภาพและความพร้อมที่จะพัฒนาให้ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวในเชิงการศึกษาให้ความรู้ในเขตเมือง และสามารถรองรับกิจกรรมต่างๆได้ และ ยังเป็ นที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวจากต่างถิ่นให้สนใจเข้ามาเที่ ยวและมาเรี ยนรู้ ศึกษาธรรมชาติ ตลอดจน ก่อให้เกิดผลทางอ้อมต่อการท่องเที่ยวด้านอื่นๆด้วย 3.6 พิจารณาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านสภาพแวดล้ อมและการอนุรักษ์ ปั จจัยทางด้านสภาพแวดล้อมและการอนุรักษ์พ้นื ที่โครงการเป็ นอีกปั จจัยที่สาคัญใน การออกแบบพื้นที่เหนืออ่างเก็บน้ า ให้มีความร่ มรื่ น สวยงาม และผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมน้อย ที่สุด ซึ่ งสามารถแบ่งเป็ นหัวข้อได้ดงั นี้


22

3.6.1 การรักษาแนวตลิ่งเดินให้มากที่สุดและมีการปรับเปลี่ยนน้อยที่สุด เพื่ออนุรักษ์ สภาพแวดล้อมที่เป็ นธรรมชาติเดิมไว้ 3.6.2 รักษาองค์ประกอบทางธรรมชาติ เช่น พรรณไม้เดิม สิ่ งปลูกสร้างที่มีคุณค่า 3.6.3 รักษาและอนุรักษ์พ้นื ที่ชุ่มน้ า และสิ่ งมีชีวติ ในน้ า


23

บทที่ 4 กรณีศึกษา ในการออกแบบอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม บึงทุ่งสร้าง จังหวัดขอนแก่น มีวตั ถุประสงค์เพื่อสร้างแหล่งเรี ยนรู้ ทางธรรมชาติ รวมทั้งสร้างพื้นที่พกั ผ่อนหย่อนใจ และพัฒนา บึงธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ ทางด้านกิจกรรมนันทนาการและการเรี ยนรู ้ ทั้งนี้การศึกษาจากพื้นที่ โครงการต่างๆที่มีความคล้ายคลึงกับพื้นที่การออกแบบ จะช่วยให้เกิดแนวคิดรู ปแบบแนวทางและ เทคนิคต่างๆที่ดีข้ ึน เพื่อส่ งเสริ มให้โครงการมีความสมบูรณ์มากยิง่ ขึ้น 4.1 กว๊านพะเยา 4.1.1 ที่ต้ งั โครงการ กว๊านพะเยา อยูใ่ นเขตอาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 4.1.2 ประวัติความเป็ นมา กว๊านพะเยา เป็ นบึงน้ าขนาดใหญ่ รู ปพระจันทร์ เสี้ ยวเกือบครึ่ งวงกลม แหว่ง ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ที่เกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกเมื่อประมาณ 70 ล้านปี มาแล้ว โอบล้อมดอยแม่ใจซึ่ งเป็ นภูเขาสู งยาว เป็ นแอ่งน้ าที่รวบรวมของลาห้วยต่างๆ18 สาย ต่อมาในปี 2478 กรมประมงได้ต้ งั สถานีประมงน้ าจืดจังหวัดพะเยาขึ้นบริ เวณต้นแม่น้ าอิงและสร้างฝายกั้นน้ า ทาให้เกิดเป็ นบึงขนาดใหญ่ มีความลึกเฉลี่ย 1.5 เมตร กว๊านพะเยาเป็ นแหล่งน้ าที่สาคัญที่สุดของ จังหวัดพะเยา เป็ นทั้งแหล่งประมงน้ าจืดที่สาคัญที่สุดของภาคเหนือตอนบน และเป็ นสถานที่ ท่องเที่ยวของจังหวัดพะเยา มีเนื้อที่ประมาณ 12,831 ไร่ เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาชนิดต่างๆ เช่น ปลากราย ปลาสวาย ปลาเทโพ ปลาจีน ปลาไน เป็ นต้น


24

คาว่า “กว๊าน” ในชื่อ “กว๊านพะเยา ” หมายถึงหนองน้ าหรื อ บึงน้ าขนาดใหญ่ คานี้ มีใช้ในท้องถิ่นล้านนา เฉพาะที่จงั หวัดพะเยาแห่งเดียวเท่านั้น มีความหมายกว้างๆว่าเป็ นที่รวมศูนย์ ของสิ่ งสาคัญของชุมชน และบ้านเมือง อย่างเดียวกับคาว่า “กว๊าน” อันเป็ นที่รวบรวมน้ าที่ไหลจาก แหล่งน้ าต่างๆ และที่เรี ยกว่า “กว๊าน” คือถือตามสาเนียงเสี ยงพูดของชาวพะเยา 4.1.3 การจัดการและการอนุรักษ์ ในปั จจุบนั กว๊านพะเยาได้รับผลกระทบจากสิ่ งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงมากขึ้น ปริ มาณสัตว์น้ าที่จบั ได้ในแหล่งน้ าต่างๆ มีปริ มาณลดน้อยลงเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เพื่อให้มีสัตว์น้ าพอเพียงกับความต้องการของประชาชนที่เพิ่มขึ้น รัฐบาลได้ทาการปรับปรุ งแหล่ง น้ าต่างๆ และกรมประมงได้นาพันธุ์ปลาชนิดต่างๆ ปล่อยลงในแหล่งน้ าที่ได้รับการปรับปรุ ง แต่ก็ ไม่สามารถเพิ่มผลผลิตให้ทนั กับความต้องการของประชาชน เป็ นเหตุให้ภาครัฐบาลต้องอาศัยความ ร่ วมมือกับราษฎรในท้องถิ่นดาเนินการดูแลทรัพยากรสัตว์น้ าในท้องถิ่นของตนเอง โดยมีหน่วยงาน ต่างๆ และมีกรมประมงเป็ นผูร้ ับผิดชอบ ให้ความรู ้ความเข้าใจให้แก่ประชาชน เพื่อก่อให้เกิดความ หวงแหนและตระหนักถึงความจาเป็ นที่ตอ้ งร่ วมมือกันทานุบารุ งรักษาทรัพยากรสัตว์น้ าของชาติ โดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการผลิตและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ า ในแหล่งน้ าธรรมชาติ นอกจากนี้จะทาให้ชาวประมงมีความระมัดระวังในการใช้ทรัพยากรมากยิง่ ขึ้น ส่ งผลให้เกิดการ อนุรักษ์ เพื่อให้สามารถนาทรัพยากรสัตว์น้ าที่มีอยูไ่ ปใช้ประโยชน์ได้ต่อไปอย่างยัง่ ยืน 4.1.4 องค์ประกอบทางชีวภาพ มีสภาพเป็ นบึง มีบวกน้ า หนองน้ ารอบๆ กว๊านที่ไหลจากลุ่มน้ าอิงมีมากมาย หลายบวก หนองน้ าแหล่งสาคัญๆ ได้แก่ กว๊านหลวง กว๊านน้อย หนองเอี้ยง ร่ องเหี้ ย แม่ร่องน้อย ห่าง หนองช้างแดง สภาพโดยรอบจะเป็ น ป่ าอ้อ ป่ าแขม ป่ าแฝก ป่ าไผ่ ทองกวาว ต้นงิ้ว ไม้สัก ไม้ กระยาเลย จากช่วงฤดูฝนน้ าจะหลาก และค่อยลดลง จนแห้งขอดสามารถเดินเท้าได้


25

4.1.5 คุณค่าและการใช้ประโยชน์จากกว๊านพะเยา เนื่องด้วยกว๊านพะเยาเป็ นแหล่งน้ าขนาดใหญ่ที่สุดในภาคเหนือตอนบน ดังนั้น พื้นที่รอบกว๊านพะเยาส่ วนใหญ่จึงถูกใช้ทาการเกษตร เช่น ทานาข้าว ทาการประมง มีแหล่งที่อยู่ อาศัยโดยรอบ มีแนวถนนและมีการสร้างสะพานข้ามลาห้วย มีการใช้น้ าเพื่อการอุปโภคและ การเกษตร ประชาชนมีอาชีพทาการประมงจากบริ เวณกว๊านพะเยา พื้นที่โดยรอบใช้เป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี เป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจ ที่ชกั ชวนให้คนจากต่าง ถิ่นเข้ามาเยีย่ มชม ซึ่ งเป็ นอีกหนึ่งหนทางที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่คนในพื้นที่ อีกทั้งมีประโยชน์ สาคัญ คือ รองรับน้ าจากพื้นที่ตอนบน สามารถช่วยบรรเทาและป้ องกันการเกิดอุทกภัยบริ เวณพื้นที่ ด้านล่างของแหล่งน้ าได้ 4.1.6 สภาพปัญหาของกว๊านพะเยา ปั ญหาด้านต่างๆ ของกว๊านพะเยาที่พบในปัจจุบนั คือ 4.1.6.1 ปั ญหาการแพร่ ระบาดของผักตบชวาและพืชน้ า 4.1.6.2 ปั ญหาการบุกรุ กพื้นที่ครอบครองพื้นที่บริ เวณรอบกว๊านพะเยา 4.1.6.3 ปัญหาการเสื่ อมโทรมของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของกว๊านพะเยา โดยเฉพาะอย่างยิง่ คุณภาพน้ าในกว๊านพะเยา 4.1.6.4 ปั ญหาการตื้นเขินของกว๊านพะเยา ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขยายตัวของ ผักตบชวา พืชน้ า และการพังทลายของหน้าดินที่มาจากการทาการเกษตรที่ไม่เหมาะสม บนพื้นที่ เหนือกว๊านพะเยา 4.1.6.5 ปั ญหาน้ าท่วมขังบริ เวณพื้นที่เพาะปลู กและพื้นที่อื่นๆ รอบกว๊านพะเยา 4.1.6.6 ปั ญหาด้านการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 4.1.6.7 ปัญหาการใช้สารเคมีในการเกษตร 4.1.6.8 ปั ญหาเกี่ยวกับการท่องเที่ยว


26

4.1.7 แนวทางการแก้ไข แนวทางการแก้ไขปั ญหา ซึ่ งสามารถครอบคลุมถึงปั ญหาต่างๆ โดยได้กาหนด แผนพัฒนาไว้ 5 แผนงาน ดังนี้ 4.1.7.1. แผนงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และการท่องเที่ยว เป็ นแผนงานที่เน้นเรื่ อง การประกอบอาชีพของประชาชน เพื่อสร้างอาชีพ และเสริ มรายได้แก่ประชาชน โดยใช้เรื่ องการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศเป็ นกลยุทธ์หลักของแผน เพื่อให้เกิดการท่องเที่ยวโดยใช้ศกั ยภาพของกว๊าน พะเยาในการดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ให้เดินทางและเข้าพักที่จงั หวัด พะเยา 4.1.7.2. แผนการใช้ประโยชน์ที่ดินและภูมิสถาปัตยกรรม เป็ นแผนงานที่เน้นการ จัดการสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่กว๊านพะเยา และการปรับแต่งสภาพภูมิทศั น์และอาคาร ในส่ วนต่างๆ ให้มีความสวยงาม สามารถใช้ประโยชน์ได้เต็มที่ และตอบสนองกิจกรรมต่างๆ ของ เมืองพะเยาและการท่องเที่ยว 4.1.7.3. แผนงานพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เป็ นแผนงานซึ่ง เน้นไปที่การสร้างระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เพื่อเป็ นโครงสร้างพื้นฐานในการดาเนิน แผนงานอื่นๆ ต่อไป เช่น โครงการจัดระบบไฟฟ้ าและระบบสื่ อสาร โครงการปรับปรุ งและก่อสร้าง ที่จอดรถ และโครงการปรับปรุ งและก่อสร้างถนนสายต่างๆ เป็ นต้น 4.1.7.4. แผนงานด้านประวัติศาสตร์ และโบราณคดี เป็ นแผนงานที่เน้นการฟื้ นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาโบราณคดี และโบราณสถานต่างๆ ในบริ เวณพื้นที่กว๊านพะเยา เพื่อส่ งเสริ ม แผนงานการพัฒนาการท่องเที่ยว และสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์กว๊านพะเยา 4.1.7.5. แผนงานด้านสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรแหล่งน้ า เป็ นแผนงานที่มุ่งเน้น เรื่ องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการจัดการสิ่ งแวดล้อมของกว๊านพะเยาให้คงสภาพตาม ธรรมชาติ และเป็ นพื้นที่ชุ่มน้ าที่คงไว้ซ่ ึ งความหลากหลายทางชีวภาพ และความอุดมสมบูรณ์ของ ทรัพยากรสัตว์น้ า และพันธุ์พืช 4.1.6 แนวความคิดในการออกแบบ


27

แนวความคิดในการออกแบบกว๊านพะเยา จากการเสื่ อมโทรมของพื้นที่ จึงเริ่ มมี แนวคิดที่จะพัฒนาและอนุรักษ์พ้นื ที่ ให้รองรั บกิจกรรมของผูค้ นต่างๆ ทัว่ ไป มีพ้นื ที่การอนุรักษ์ เพื่อแก้ปัญหาการเหลื่อมล้ าเข้ามาในพื้นที่ จัดให้มีพ้นื ที่พกั อาศัยสาหรับผูม้ าเยีย่ มชม กว๊านพะเยา เป็ นแหล่งท่องเที่ยว ที่มีความสาคัญทางด้านประวัติศาสตร์ มีพ้นื ที่ออกกาลังกาย พักผ่อน บน ทางเดินริ มกว๊าน รวมทั้งกาหนดพื้นที่สาหรับทาเกษตรกรรมเพื่อแก้ปัญหาการใช้สารเคมี ที่จะไหล ลงสู่ แหล่งน้ า 4.1.7 ศึกษาและการวิเคราะห์การออกแบบวางผังโครงการ จากการออกแบบการใช้พ้นื ที่ริมกว๊านพะเยา จะมีทางเดินขนาดกว้าง ยังสามารถ จอดรถได้ เป็ นการบดบังทัศนียภาพริ มกว๊าน อีกทั้งยังก่อให้เกิ ดอันตรายแก่ผทู ้ ี่เดินเท้าด้วย ส่ วนการ จัดสวนในพื้นที่มีความสวยงามในบริ เวณลาน และจุดถ่ายรู ปควรให้มีพรรณไม้ที่เพิ่มสี สันเพื่อความ สวยงามในพื้นที่ 4.1.8 ระบบทางสัญจร 4.1.8.1 ระบบทางสัญจรโดยรถยนต์จะอยูบ่ ริ เวณเลียบฝั่ง กว๊านพะเยา เป็ น ถนนลาดยาง กว้าง 8 เมตร ส่ วนริ มน้ าเป็ นถนนบล็อกคอนกรี ต กว้าง 6 เมตร เป็ นลักษณะที่วนแล้ว ย้อนกลับออกมา 4.1.8.2 ระบบทางเดิน ทางเดินริ มน้ า เป็ นถนนบล็อกคอนกรี ต กว้าง 6 เมตร และ ทางเดินเป็ นสะพานไม้ กว้าง 2 เมตร 4.1.9 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ 4.1.9.1 ข้อดีของโครงการ 1) พื้นมีบางส่ วนที่ได้รับการจัดสวน มีความสวยงาม


28

2) มีการแก้ปัญหาที่ยงั่ ยืน 3) มีความกว้างขว้าง มีทศั นียภาพที่สวยงาม มีการจัดสวนบริ เวณลานอย่าง สวยงาม 4.1.9.2 ข้อเสี ยของโครงการ 1) การแบ่งระบบทางเดินกับทางรถยนต์มีการใช้ร่วมกัน ก่อให้เกิดปั ญหา และอุบตั ิเหตุได้ 2) พื้นที่ยงั ขาดการดูแล และมีวชั พืชขึ้นปกคลุมอยู่ 3) บริ เวณทางเดิน มีน้ าท่วมขัง 4.1.10 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ โครงการนี้เป็ นโครงการที่สร้างเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาเนื่องจากพื้นที่มีความ ทรุ ดโทรมการจัดการและการแก้ปัญหาของพื้นที่ ทั้งเรื่ องการประมง การเกษตร พื้นที่การอนุรักษ์ การแก้ปัญหาพื้นต่างๆ อีกทั้งการใช้พ้นื ที่ริมกว๊าน เพื่อให้เกิดประโยชน์ เป็ นแหล่งโบราณคดีและมี ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ มีการจัดแบ่งพื้นที่ที่ช่วยส่ งเสริ มรายได้ของคนในชุมชนด้วย การใช้ ข้อมูลทางด้านแนวคิดต่างๆมาช่วยในการออกแบบและการปั ญหาในพื้นที่ของโครงการ


29

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม อุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่น แผนที่ 6 แสดง แผนที่การเข้าถึงกว๊านพะเยา ทีม่ า : http://travel.mthai.com/travel-news/40821.html

Not to scale


30

ภาพที่ 1 แสดงทัศนียภาพบริ เวณป้ าย ทีม่ า : http://www.yulgang-plus.net/bbs/viewthread.php?tid=10070

ภาพที่ 2 แสดงทัศนียภาพทางเดินริ มกว๊าน ทีม่ า : http://www.h2th.com/index.php?mo=3&art=252229


31

ภาพที่ 3 แสดงทัศนียภาพท่าเรื อ ทีม่ า : http://www.oceansmile.com/forum2/data/2/0150-5.html

ภาพที่ 4 แสดงทัศนียภาพวัดติโลกอาราม ทีม่ า : http://www.oknation.net/blog/kukod/2008/08/11/entry-1


32

ภาพที่ 5 แสดงทัศนียภาพบริ เวณกว้างของกว๊านพะเยา ทีม่ า : http://sernice.blogspot.com/2011/02/blog-post.html

ภาพที่ 6 แสดงทัศนียภาพมุมสู ง ป้ าย และการทาประมง ทีม่ า : http://www.phayaoinfo.com/phayao-city/256/

ภาพที่ 7 แสดงทัศนียภาพมุมสู งของกว๊านพะเยา ทีม่ า : http://sernice.blogspot.com/2011/02/blog-post.html


33

4.2 บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ 4.2.1 ข้อมูลทัว่ ไปและที่ต้ งั โครงการ บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ เป็ นบึงน้ าธรรมชาติขนาดใหญ่ อยูห่ ่างจากตัวอาเภอเมือง สุ พรรณประมาณ 64 กิโลเมตร มีพ้นื ที่รวมประมาณ 2700 ไร่ บึงฉวากมีพ้นื ที่ติดต่อกับอาเภอหันคา จังหวัดชัยนาทและอาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุ พรรณบุรี ส่ วนที่อยูใ่ นเขตอาเภอเดิมบางนาง บวชมีพ้นื ที่ประมาณ 1,700 ไร่ 4.2.2 ประวัติความเป็ นมา จังหวัดสุ พรรณบุรีมีแนวโน้มในการพัฒนาจังหวัดในด้านต่างๆ เพื่อให้ชีวติ ความ เป็ นอยูข่ องประชาชนในพื้นที่มีความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน ทั้ง ทางด้านเศรษฐกิจ และทางด้านสังคมจึงได้มี การพัฒนาในส่ วนต่างๆ โดยทางจังหวัดได้เล็งเห็นว่าพื้นที่ในส่ วนของบึงฉวากเดิมนั้น มีศกั ยภาพที่ จะพัฒนาได้ เพราะมีความหลากหลายทางธรรมชาติที่สูง มีเรื่ องราวทางธรรมชาติที่น่าสนใจ และยัง เป็ นพื้นที่ที่เป็ นรอยต่อกับจังหวัดต่างๆในพื้นที่ภาคกลางหลายจังหวัด ซึ่ งน่าจะเป็ นจุดศูนย์กลางการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของภาคกลางได้ จึงมีแนวคิดในเรื่ องการพัฒนาพื้นที่เข้ามา เพื่อให้เป็ นสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และรักษาสภาพสิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติให้คงอยูแ่ ละยังประโยชน์แก่พ้นื ที่ ชุมชนที่อยูใ่ นบริ เวณนั้นทั้งทางด้านเศรษฐกิจและทางด้านสิ่ งแวดล้อมโดยเริ่ มมีการพัฒนาดังนี้ พ.ศ. 2525 นายจริ นทร์ กาญจโนมัย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสุ พรรณบุรีในขณะนั้น ได้มี แผนพัฒนาหมู่บา้ นรอบบึงฉวากเพราะเป็ นสถานที่ที่มีทศั นียภาพที่สวยงาม มี นกนานาชนิด จึงนา เรื่ องเสนอกรมป่ าไม้ เพื่อให้เป็ นพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ประกาศเรื่ อง กาหนดให้พ้นื ที่บริ เวณ บึงฉวาก ตาบลบ้านเชี่ยน อาเภอหันคา จังหวัดชัยนาท และตาบลปากน้ า ตาบลเดิมบาง ตาบลหัว เขา อาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุ พรรณบุรีเป็ นเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ตามพระราชบัญญัติสงวนและ


34

คุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 โดยกาหนดชนิดสัตว์ป่าที่หา้ มล่าไว้ 59 ชนิด เป็ นนก 58 ชนิด สัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนม 1 ชนิด (นากทุกชนิดในวงศ์ยอ่ ย) พ.ศ. 2526 ตามพระราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ ประกาศให้บึงฉวากเป็ นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าอย่างสมบูรณ์แบบ พ.ศ. 2537 นายบรรหาร ศิลปอาชา ร่ วมกับหน่วยงานในจังหวัดสุ พรรณบุรี จัดทา โครงการบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ เพื่อเป็ นการเฉลิมฉลองในวาระโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั ทรงครองราชย์ครบ 50 ปี ในปี พ.ศ. 2539 เกิดศูนย์พฒั นาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก สังกัดสานักงานอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ รับผิดชอบเกี่ยวกับ การศึกษา สารวจค้นคว้าวิจยั การเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ดารงสายพันธุ์สัตว์ป่า พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์ ป่ า ปรับปรุ งฟื้ นฟูแหล่งอาหารของสัตว์ป่า ฯลฯ ต่อมาได้สร้างกรงนกขนาดใหญ่และสวนสัตว์ เพื่อให้ประชาชนและ นักท่องเที่ยวที่สนใจ พ.ศ. 2539 ได้จดั สร้างตูป้ ลา 30 ตู ้ มีปลาน้ าจืดกว่า 50 ชนิด สร้างบ่อจระเข้ พ.ศ. 2541 ได้จดั ให้เป็ นพื้นที่ลุ่มน้ าที่มีความสาคัญระดับชาติตามอนุสัญญาแรม ซาร์ คือ เป็ นพื้นที่ลุ่ม พื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พื้นที่ฉ่ าน้ า น้ าขัง พื้นที่พรุ พื้นที่แหล่งน้ า ทั้ง ที่ เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น มีน้ าขังถาวรหรื อชัว่ คราว ทั้งที่น้ านิ่ง น้ าไหว ทั้ง น้ าจืด น้ า กร่ อย น้ าเค็ม น้ าลึกไม่เกิน 6 เมตร พ.ศ. 2542 สร้างอุทยานผักพื้นบ้านเพื่อการยังชีพเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2544


35

ได้ทาการเปิ ดให้ประชาชนเข้าชมในอุทยานผักพื้นบ้านเพื่อการยังชีพเฉลิม พระเกียรติได้เป็ นครั้งแรก พ.ศ. 2544 วางศิลาฤกษ์อาคารแสดงพันธุ์สัตว์น้ าหลังที่ 2 ภายในอาคารมีตปู้ ลาขนาด ใหญ่ 1 ตู้ ตูป้ ลาขนาด 1 ตัน 30 ตู้ มีปลาน้ าจืด 60 ชนิด ปลาทะเลสวยงาม 7 ตู้ พ.ศ. 2546 อาคารแสดงพันธุ์สัตว์น้ าสร้างแล้วเสร็ จ วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 เปิ ดให้ประชาชนเข้าชมอาคารแสดงพันธุ์สัตว์น้ าเฉลิมพระเกียรติอย่างเป็ นทางการ บึงฉวาก จึงกลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวศึกษาธรรมชาติ และมีแผนรองรับ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศวิทยาที่ยงั่ ยืนในอนาคตต่อไป 4.2.3 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.2.3.1 เพื่อเป็ นสถานที่ศึกษาพฤติกรรมสัตว์น้ าให้กบั นักวิชาการ ประชาชน นักเรี ยน นักศึกษา ตลอดจนผูส้ นใจโดยทัว่ ไป 4.2.3.2 เพื่อพัฒนาให้เป็ นศูนย์นนั ทนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของภาคกลาง 4.2.3.3 เพื่อการอนุรักษ์พ้นื ที่ธรรมชาติ ระบบนิเวศวิทยาอย่างยัง่ ยืน 4.2.3.4 เพื่อการอนุรักษ์และเพาะเลี้ยงพืชพรรณและสัตว์ในบึงฉวาก 4.2.3.5 เพื่อเป็ นการอนุรักษ์พ้นื ที่ชุ่มน้ า 4.2.3.6 เพื่อสร้างแหล่งเรี ยนรู ้ตามธรรมชาติ 4.2.3.7 เพื่อการจัดการและการอนุรักษ์พ้นื ที่แหล่งน้ าตามธรรมชาติ 4.2.4 ส่ วนประกอบของโครงการ 4.2.4.1 ศูนย์พฒั นาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก สร้างขึ้นเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในวโรกาสทรงครองราชย์เป็ นปี ที่ 50 ประกอบไปด้วย


36

1) อาคารศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว จัดนิทรรศการให้ความรู ้เกี่ ยวกับการ เพาะเลี้ยงสัตว์ป่าชนิดต่างๆ การดูนก สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็ นมาของบึงฉวาก มีตู้ จาลองระบบนิเวศ ห้องฉายสไลด์วดี ิทศั น์ ด้านนอกอาคารมี กรงเลี้ยงนก ขนาดใหญ่ มีพ้นื ที่ ประมาณ 5 ไร่ สู ง 25 เมตร ภายในกรงได้รับการตกแต่งให้ดูคล้าย สภาพธรรมชาติ ประกอบด้วยนก กว่า 45 ชนิด มีการจาลองน้ าตกขนาดเล็กเอาไว้ภายในกรง ผูเ้ ข้าชมจะเดินตามทางเดินที่จดั ไว้ และ ได้สัมผัสใกล้ชิดกับนกต่าง ๆ ที่ปล่อยให้มีชีวติ อยูใ่ นสภาพแบบธรรมชาติ เดินผ่านหน้าเรา ในพื้นที่ ประกอบด้วย 1.1) เขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1.2) กรงเสื อและกรงสิ งโต กรงเสื อและสิ งโต ลักษณะภายในตกแต่งเป็ นถ้ าและ เนินหิ น ให้ดูคล้ายธรรมชาติ ซึ่ งเป็ นกรงเลี้ยงสัตว์ป่าตระกูลแมว อันได้แก่ สิ งโต เสื อโคร่ ง เสื อลาย เมฆ เสื อดาว แมวดาว เป็ นต้น นอกจากนั้นยังมีกรงสัตว์ป่าหายากอีกหลายประเภท ที่จดั แสดงไว้ เช่น นกน้ า นกยูงและไก่ฟ้าชนิดต่างๆ ม้าลาย อูฐ และนกกระจอกเทศ 1.3) สถานที่ถ่ายภาพร่ วมกับสัตว์ เด็กจะได้สนุกสนานกับการถ่ายภาพบนหลังม้า หรื อ ถ่ายภาพคู่กบั ลิงอุรังอุตงั เก็บไว้เป็ นที่ระลึก 1.4) ศูนย์พฒั นาการจัดการสัตว์ป่า และกรงนกใหญ่ เดินชมภายในกรงนกใหญ่ ที่มีสภาพแวดล้อมคล้าย สภาพธรรมชาติ ชมพันธ์นกหายากกว่า 30 ชนิด เช่น นกยูง นกกาบบัว เป็ ดแดง 1.5) เกาะกระต่าย พื้นที่คล้ายเกาะ สร้างเป็ นที่พกั ของกระต่าย 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์เจอร์ ซี่ วูลลี่ และสายพันธุ์แองโกร่ า ที่มีความน่ารักและสวยงาม รวมทั้งยังมีกวางดาว เนื้อทราย และจากสาเหตุที่เป็ นเกาะมี พ้นื ที่น้ าล้อมรอบ จึงเลี้ยงปลาไว้ในกระชังอีกจานวนมาก เพื่อให้ผคู ้ นได้พกั ผ่อนอีกประเภทหนึ่ง โดยการให้อาหาร เช่น ปลาทอง ปลาคาร์ ฟ ปลาสวายเผือก ฯลฯ 1.6) ศูนย์รวมพันธุ์ไก่ และกรงสัตว์หายาก


37

เป็ นสถานที่รวบรวมพันธุ์ไก่ชนิดต่างๆ ทั้งสวยงาม และหายาก เช่น ไก่ฟ้าหลังขาว ไก่ฟ้าสี ทอง ไก่ฟ้าพญาลอ และสัตว์หายากอีกหลายชนิด 4.2.1.2 สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ าบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ เป็ นหน่วยงานของ องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดสุ พรรณบุรี ภายในอาคารแสดงพันธุ์สัตว์น้ ารวบรวมพันธุ์ปลาน้ าจืด ปลาสวยงามและพันธุ์ปลาหายากเอาไว้ให้ประชาชนได้ศึกษา แบ่งเป็ น 3 อาคาร 1) อาคารแสดงสัตว์น้ าหลังที่ 1 จัดแสดงพันธุ์สัตว์น้ าจืดและสัตว์น้ าเค็ม ทั้งพันธุ์ปลาไทย และพันธุ์ปลาต่างประเทศกว่า 50 ชนิดเช่น ปลาบึก ปลากระโห้ ปลาม้า ปลากราย ปลาช่อนงูเห่า ปลาเสื อตอ เป็ นต้น 2) อาคารแสดงสัตว์น้ าหลังที่ 2 ประกอบด้วยตูป้ ลาขนาดใหญ่สวยงาม บรรจุน้ าได้กว่า 400 ลูกบาศก์เมตร และมีอุโมงค์ความยาวประมาณ 8.5 เมตร ผูช้ มสามารถเดินลอด ผ่านใต้ตปู ้ ลาได้บรรยากาศเหมือนอยูใ่ กล้สัตว์น้ า ซึ่ งถือว่าเป็ นอุโมงค์ปลาน้ าจืดแห่งแรกของ ประเทศไทย มีนกั ประดาน้ าหญิงสาธิ ตการให้อาหารปลา นอกจากนั้นโดยรอบยังมี ตปู ้ ลาน้ าจืดอีก 30 ตู้ และตูป้ ลาทะเลสวยงามอีก 7 ตู ้ การแสดงตูป้ ลาใหญ่มีเฉพาะในวันเสาร์ อาทิตย์และวันหยุด นักขัตฤกษ์ 3) อาคารสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ าหลังที่ 3 (สวรรค์แห่งโลกใต้ทะเล) จัด แสดงพันธุ์ปลาทะเลมากมายหลายชนิด มีตปู ้ ลาขนาดใหญ่ และตูป้ ลารู ปทรงแปลกตา เพื่อบริ การ นักท่องเที่ยวได้ชื่นชมกับความสวยงาม และบรรยากาศของโลกใต้ทอ้ งทะเล รวมทั้งอุโมงค์ปลา และบันไดเลื่อน ขนาดความยาว 75 เมตร เพื่อให้ได้ศึกษาสภาพความเป็ นอยูข่ องสัตว์ทะเลอย่าง ใกล้ชิด รวมทั้งปลาฉลามอีกจานวนมาก ภายอาคารในพบกับ 3.1) ตูป้ ลาทรงกระบอก (Cylinder) ใหญ่และสู งที่สุดในเมืองไทย 3.2) เปิ ดโลกใต้ทะเล (The Open Sea) ชมความงามของปลากระเบน นก ปลาฉลามครี บดา ปลาค้างคาว 3.3) ตูย้ กั ษ์ใต้สมุทร (Giant Groupter) พบปลาหมอทะเล ปลากระเบนท้อง น้ า เต่าทะเล และอุโมงค์ยาว 12.50 เมตร


38

3.4) ตูแ้ นวประการัง (Coral reef) พบกับฝูงปลาขนาดใหญ่ ปลาปั กเป้ า ปลาผีเสื้ อ ว่ายวนบนแนวประการังเทียมที่สีสันสวยสดงดงาม 3.5) ตูป้ ระการังสี ฟ้าจากโอกินาวา (Okinava blue) เนรมิตปะการังภายในตู้ เปรี ยบ เสมือน ประการังแห่งท้องทะเลโอกินาวา 3.6) อุโมงค์ปลาฉลาม (Shark Tunnel) ตื่นตากับฝูงปลาฉลามขนาดใหญ่ ฉลามเสื อทราย ฉลามเสื อดาว ฉลามครี บดา และอุโมงค์ยาว 16 เมตร กว้าง 6 เมตร ซึ่งเป็ นอุโมงค์ ปลาที่กว้างที่สุดในโลก 3.7) ตูส้ ี สันสิ มิลนั (Similan Cliff) ตกแต่งด้วยประการังสี ชมพู กัลปั งหาที่ สวยงามและปลาสี สันสวยงามหลากหลายชนิด นอกจากนี้ ภายในบริ เวณรอบๆสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ า ยังเชื่อมต่อ ระหว่าง 4) เวทีริมบึง มีการแสดงทางศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านของนักเรี ยน นักศึกษาในจังหวัดสุ พรรณบุรี นาการแสดงศิลปะพื้นบ้านที่หาดูได้ยากมาให้ชม 5) บ่อจระเข้น้ าจืด เป็ นบ่อจระเข้ที่ได้จาลองให้มีสภาพใกล้เคียงกับ ธรรมชาติมากที่สุด พื้นที่ประมาณ 3 ไร่ มีจระเข้น้ าจืดพันธุ์ไทยขนาด 1.5-4.0 เมตร ประมาณ 60 ตัว 4.2.5 แนวคิดในการออกแบบ แนวความคิดในการออกแบบ ศูนย์พฒั นาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก พื้นที่ส่วนนี้ จะออกแบบที่อยูอ่ าศัยตามสภาพภูมิศาสตร์ สัตว์ต่างๆจะเป็ นสัตว์ที่มีอยูเ่ ดิมในบึงฉวาก บางชนิดก็ นาเข้ามาเพื่อให้เป็ นแหล่งรู ้ในการศึกษาสัตว์ป่า มีท้ งั การออกแบบจาลองน้ าตก รวมถึงการออกแบบ แนวทางเดิน เพื่อให้ได้สัมผัสและใกล้ชิดความเป็ นธรรมชาติ แนวความคิดในการออกแบบสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ าบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ ออกแบบเพื่อเป็ นพื้นที่การอนุรักษ์และรวบรวมพันธ์สัตว์น้ า ที่หาดูได้ยาก อีกทั้งเพื่อให้เป็ นแหล่ง เรี ยนรู ้ให้ผคู ้ นได้ตระหนักถึงความความเป็ นธรรมชาติของสัตว์เพื่อว่าเราจะได้ช่วยกันอนุรักษ์ดูแล


39

ให้คงสื บต่อไปอย่างยัง่ ยืน รู ปแบบอาคาร เป็ นอาคาร 2 ชั้น และอาคารที่ออกแบบให้มีลกั ษณะเป็ น อุโมงค์ เพื่อให้ได้สัมผัสความเป็ นธรรมชาติ โดยไม่กระทบต่อความเป็ นอยูข่ องสัตว์น้ า ภายใน แสดงพันธุ์สัตว์น้ ารวบรวมพันธุ์ปลาน้ าจืด ปลาสวยงามและพันธุ์ปลาหายากเอาไว้ให้ประชาชนได้ ศึกษา 4.2.6 ศึกษาและการวิเคราะห์การออกแบบวางผังโครงการ 4.2.6.1 ศูนย์พฒั นาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก จากแนวความคิดในการออกแบบพื้นที่อยูอ่ าศัยของสัตว์ให้เหมาะกับ สภาพภูมิศาสตร์ เป็ นการออกแบบโดยคานึงถึงความเป็ นธรรมชาติของสัตว์ โดยมีการให้เข้าชม อย่างใกล้ชิดเหมือนกับได้เข้าไปชมในป่ า โดยไม่ส่งผลกระทบต่อความเป็ นอยูข่ องสัตว์ 4.2.6.2 สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ าบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ จากแนวความคิดที่เริ่ มจากการอนุรักษ์พนั ธุ์สัตว์ จึงมีการออกแบบสร้าง อาคารเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ มีการรวบรวมพันธุ์สัตว์จากทุกที่ โดยเฉพาะพันธุ์สัตว์น้ าในบึงฉวากที่มี อยูม่ ากมาย บางชนิดใกล้สูญพันธุ์เพราะการทาการประมงของชาวบ้าน ดังนั้นเพื่อการอนุรักษ์และ เพื่อการทั้งท่องเที่ยวทั้งยังเพื่อการเพาะพันธุ์สัตว์น้ าจึงมีการสร้างพื้นที่เพื่อทาคุณประโยชน์แก่สัตว์ น้ าให้คงอยู่ การเข้าถึงจะเข้าทางด้านอาคาร1 ขนาด 2 ชั้น เดินผ่านมายังอาคาร2 และ มายังอุโมงค์ใต้น้ า เชื่อมกับบ่อจระเข้ เวทีริมน้ า ทางเดินจะมีหลังคาคลุมกันแดดและฝน มีลกั ษณะที่ เป็ นวนรอบ (loop) ทาให้ไม่สับสน และง่ายต่อการเข้าถึง 4.2.7 ระบบทางสัญจร 4.2.7.1 ศูนย์พฒั นาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก


40

1) การสัญจรโดยรถยนต์ การสัญจรอยูบ่ ริ เวณด้านหน้าเป็ นถนนรอบบึง เป็ นถนนลาดยาง กว้าง 8 เมตร และภายในพื้นที่จะเป็ นถนนลาดยางกว้าง 8 เมตร สาหรับรถรางพา เยีย่ มชมสัตว์ยงั จุดต่างๆ ทั้งยังเป็ นลานจอดรถยนต์ดว้ ย มีหลังคาคลุม 2) การสัญจรโดยทางเดิน จากทางเข้าผ่านซุ ม้ ทางเข้าจะมีช่องทางเดินมี หลังคาคลุม กว้าง 4 เมตร สาหรับทางเดินระหว่างการเชื่อมชมสัตว์ต่างๆ กว้าง1- 2 เมตร มีลกั ษณะ ที่กลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อมที่สร้างขึ้น มีสะพานเชื่อมทางเดินจากสวนสัตว์ไปยังเกาะกระต่าย เป็ นลักษณะสะพานไม้ กว้าง 2 เมตร ทางเดินริ มสระน้ า กว้าง 2 เมตร มีแนวหลังคาคลุมตลอดแนว 4.2.7.2 สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ าบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ 1) การสัญจรโดยรถยนต์ การสัญจรอยูบ่ ริ เวณด้านหน้าอาคารสถานแสดง พันธุ์สัตว์น้ า เชื่อมกับลานจอดรถ เป็ นถนนลาดยาง กว้าง 8 เมตร และ 10 เมตร 2) การสัญจรโดยทางเดิน จากทางเข้าผ่านซุ ม้ ทางเข้าจะมีช่องทางเดินมี หลังคาคลุม กว้าง 2 เมตร สาหรับทางเดินภายในอาคารใต้อุโมงค์ มีขนาดความกว้าง 6 เมตร ส่ วน บริ เวณเวทีริมบึง และบ่อจระเข้ ทางเดินจะมีหลังคาคลุม ขนาดทางเดินกว้าง 2 เมตร มีลกั ษณะเป็ น ทางเดินวนรอบ (Loop) เข้าถึงได้ง่ายและไม่ซบั ซ้อน 4.2.8 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ 4.2.8.1 ศูนย์พฒั นาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก 1) ข้อดีของโครงการ 1.1) ถนนทางเข้าง่ายไม่ซบั ซ้อน เป็ น loop เข้าถึงได้ในทุกพื้นที่ 1.2) มีการออกแบบโดยคานึงชีวติ ความเป็ นอยูข่ องสัตว์ตามสภาพ ภูมิศาสตร์ 1.3) การออกแบบทางเดินโดยไม่ให้เกิดความแปลกแยก เพื่อให้ ได้ใกล้ชิดและไม่ทาให้สัตว์ไม่เกิดอาการหวาดกลัวผูค้ น


41

1.4) การใช้หลังคาคลุมเพื่อเป็ นการกาหนดจุดเส้นทางเดินที่ ชัดเจนและเป็ นการช่วยบังแดดและลมด้วย 1.5) พื้นที่มีความร่ มรื่ น มีการจัดสวนที่เหมาะสมกับสภาพ ภูมิศาสตร์ 2) ข้อเสี ยของโครงการ 2.1) บางจุดในพื้นที่ยงั ขาดการดูแล และมีวชั พืชขึ้นปกคลุมอยู่ 2.2) พืชพรรณเดิมบางส่ วนถูกทาลาย เพื่อการก่อสร้างอาคาร 2.3) บริ เวณทางเดิน มีน้ าท่วมขัง 4.2.8.2 สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ าบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ 1) ข้อดีของโครงการ 1.1) ใช้ถนนในลักษณะเป็ นวนรอบ (loop) มีความง่ายและไม่ ซับซ้อนในการเข้าถึง 1.2) มีการออกแบบให้เป็ นอุโมงค์เพื่อให้ได้สัมผัสกับสัตว์น้ า โดยไม่ กระทบถึงชีวติ ความเป็ นอยูข่ องสัตว์น้ า 1.3) การแบ่งช่วงทางเดินจากซุ ม้ ประตูทางเข้ามายังอาคารแสดง สัตว์น้ าโดยใช้หลังคาคลุมเพื่อบังแดดและลม อีกทั้งเป็ นการแยกทางเดินออกจากทางรถยนต์ได้ อย่างชัดเจน 1.4) มีการออกแบบอาคาร โดยคานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น อนาคตได้ดี 2) ข้อเสี ยของโครงการ 2.1) การแบ่งทางสัญจรระหว่างการสัญจรทางรถกับการสัญจร ทางเดินจากจุดลานจอดรถไม่ชดั เจน ทาให้เกิดปั ญหาด้านความปลอดภัย 2.2) พื้นที่ป่าและต้นไม้ใหญ่บางส่ วนมีการถูกทาลาย เพื่อการ ก่อสร้างอาคาร


42

4.2.9 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ โครงการนี้เป็ นโครงการที่สร้า งเพื่อการอนุรักษ์และรวบรวมพันธุ์สัตว์น้ าที่หายาก การออกแบบอาคาร ระบบทางสัญจรทั้งภายในและภายนอกอาคาร หรื อกระทั้งการออกแบบใน พื้นที่ส่วนต่างๆ จึงมีการคานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เพราะพื้นที่มีการสร้างบนเกาะกลางน้ า การ นาข้อมูลทางด้านแนวคิดในการออกแบบ ระบบทางเดิ น รู ปแบบของอาคาร เพื่อช่วยในการ ออกแบบโครงการ


43

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม อุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่น แผนที่ 7 แสดง แผนที่บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ ทีม่ า : www.googleearth.com

Not to scale


44

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม อุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่น แผนที่ 8 แสดง แผนที่การเข้าถึงบึงฉวาก ทีม่ า : http://www.gotoknow.org/blog/paninin/217962

Not to scale


45

ภาพที่ 8 แสดงทัศนียภาพทางเข้าบึงฉวาก ทีม่ า : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=vassaire&month=20-102008&group=2&gblog=4

ภาพที่ 9 แสดงทัศนียภาพทางเข้าสวนสัตว์ ทีม่ า : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=vassaire&month=20-102008&group=2&gblog=4


46

ภาพที่ 10 แสดงทัศนียภาพทางเข้ากรงเสื อและสิ งโต ทีม่ า : http://www.suphan.biz/bungchawak.htm

ภาพที่ 11 แสดงทัศนียภาพบริ เวณทางเดินในบริ เวณสวนสัตว์ ทีม่ า : http://www.brightnesssuppliers.com/image/pic_roof/34/index.htm


47

ภาพที่ 12 แสดงทัศนียภาพบริ เวณทางเดินริ มน้ า ทีม่ า : http://www.brightnesssuppliers.com/image/pic_roof/34/index.htm

ภาพที่ 13 แสดงทัศนียภาพบริ เวณลานจอดรถราง ทีม่ า : http://www.brightnesssuppliers.com/image/pic_roof/33/index.htm


48

ภาพที่ 14 แสดงทัศนียภาพบริ เวณสวนสัตว์ ทีม่ า : http://www.pateawthai.com/travel/view_detail.asp?code=350

ภาพที่ 15 แสดงทัศนียภาพบริ เวณทางเข้าสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ า ทีม่ า : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=vassaire&month=20-102008&group=2&gblog=4


49

ภาพที่ 16 แสดงทัศนียภาพบริ เวณฟาร์มจระเข้ ทีม่ า : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=vassaire&month=20-102008&group=2&gblog=4

ภาพที่ 17 แสดงทัศนียภาพบริ เวณทางเดินอุโมงค์ใต้น้ า ทีม่ า : http://www.boatriverhouse.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539191563


50

4.3 Sungei buloh nature park Singapore 4.3.1 ข้อมูลทัว่ ไปและที่ต้ งั โครงการ Sungei buloh nature park Singapore ตั้งอยูบ่ ริ เวณ ถนน neo tiew cressent เป็ น ศูนย์ศึกษาธรรมชาติสาหรับป่ าชายเลน และพื้นที่ชุ่มน้ า รวมถึงเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าของสิ งคโปร์ สวนสาธารณะแห่งนี้ได้ถูกกาหนดให้เป็ นพื้นที่สงวน (Nature reserve)โดยกระทรวงการพัฒนา ประเทศ ในปี 1989 ถูกประกาศให้เป็ นเขตรักษาพันธุ์สัตว์สิงคโปร์ บนพื้นที่ 87 เฮกเตอร์ ประกอบ ไปด้วยหาดเลนบึงน้ ากร่ อยและบึงน้ าจืดป่ าชายเลนพันธุ์มห้ ายาก 4.3.2 ประวัติความเป็ นมา เดิมพื้นที่ถูกปกคลุมด้วยป่ าชายเลน ต่อมามีการพัฒนาพื้นที่บางส่ วนถูกจัดการเป็ น พื้นที่นากุง้ และบ่อเลี้ยงปลา ต่อมาพบว่าบริ เวณนี้เป็ นแหล่งอาศัยหากินของนกอพยพต่างๆเป็ นพื้นที่ ทารัง พื้นที่ชุ่มน้ าเต็มไปด้วยแหล่งอาหารนก ในปี 1989 หลังจากการตั้งถิ่นฐานใหม่ของเกษตรกร พื้นที่ 87 เฮกเตอร์ จึงถูกปรับปรุ งเป็ นพื้นที่สงวน (Nature park) ชื่อ Sungei buloh ถูกเรี ยกตามชื่อ ของแม่น้ าซึ่ งไหลผ่านตลอดพื้นที่ ในวันที่ 6 ตุลาคม 1993 สวนสาธารณะได้ทาการเปิ ดอย่างเป็ น ทางการ 4.3.3 วัตถุประสงค์ 4.3.3.1 เพื่อการอนุรักษ์ เพื่อการอนุรักษ์นกน้ าในเขตเอเชียตะวันออกที่บินอพยพ มาอาศัยอยูแ่ ละเพื่อขยายการรองรับสาหรับนกและสัตว์อื่นๆ 4.3.3.2 เพื่อการศึกษา เพื่อส่ งเสริ มการศึกษาทางธรรมชาติวทิ ยาจากทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่นและรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ


51

4.3.3.3 เพื่อการพักผ่อนและนันทนาการ เพื่อส่ งเสริ มทางเลือกในกิจกรรม นันทนาการและกระตุน้ ให้เกิดสานึกในการรักธรรมชาติและการชื่นชมความงามความหลากหลาย ของชีวติ สัตว์ 4.3.3.4 เพื่อการค้นคว้าวิจยั เพื่อการศึกษาวิจยั ทางชีววิทยา ส่ งเสริ มความรู ้ เฉพาะถิ่น และเป็ นสากล 4.3.4 ส่ วนประกอบของโครงการ 4.3.4.1 ศูนย์ตอ้ นรับนักท่องเที่ยว (visitor center) ประกอบไปด้วย พิพิธภัณฑ์ ธรรมชาติวทิ ยา โรงฉายวีดีทศั น์ 4.3.4.2 โรงอาหารและที่ขายของที่ระลึก (cafeteria and souvenir shop) 4.3.4.3 ทางเดินริ มทะเลและห้องเรี ยนกลางแจ้ง (boardwalk and outdoor classroom) 4.3.4.4 ซ่อนการสังเกตนก (bird observation hide) บังไพรสาหรับดูนก ตลอดทั้ง ปี สามารถดูสัตว์ต่างๆ จาพวกสัตว์ชายเลน ปู ปลาตีน งูน้ า นก แมงมุม และสัตว์เลื้อยคลาน พืช น้ าต่างๆนกที่มาบางฤดู เช่น ในเดือนกันยายนถึงเดือนมีนาคมจะมีนกอพยพ เช่น นกยาง 4.3.5 กิจกรรมในพื้นที่ จัดกิจกรรมอาสาสมัครในพื้นที่ข้ ึนเพื่อกระตุน้ ให้ประชาชนที่มีความรักธรรมชาติ รู้จกั การอนุรักษ์ที่ถูกต้องรวมทั้งจัดกิจกรรมการอบรมต่างๆ กิจกรรมพิเศษในโอกาสต่างๆ พื้นที่ ต่างๆที่น่า สนใจมีดงั นี้ 4.3.5.1 Mudflats เป็ นบริ เวณที่เหมือนจุดเต็มพลังงาน สาหรับบรรดานกน้ าต่างๆ ใน การหาอาหาร และใช้เป็ นที่พกั พิง เป็ นที่อยูข่ องนกเฉพาะบางชนิดที่กินนอนสามารถพบได้ บริ เวณนี้นกน้ าและนกชายฝั่งต่างๆเป็ นที่พบเห็นได้ง่าย เนื่องจากอาศัยอยูใ่ นน้ าตื้นเพื่อหาอาหารนก ชายเลนต่างๆ เป็ นนกที่พบได้ทวั่ ไปในสวนสาธารณะ ด้วยลักษณะเฉพาะที่ต่างกันออกไป ความ


52

ยาวของช่วงปากและลักษณะพฤติกรรมการหาอาหารต่างๆ ซึ่ งพวกมันสามารถปรับตัวเข้ากับแหล่ง อาหารต่างๆที่พบในบริ เวณซึ่ ง สามารถทาให้ดารงชีวติ อยูไ่ ด้ นกยางต่างๆในสวนสาธารณะ มีสีขาวและมีรูปร่ างบอบบางกว่านกกระสา เป็ นนกที่พบ บ่อยในช่วงฤดูอพยพ นกยางเล็กทาให้เกิดบรรยากาศที่มีชีวติ ชีวาเวลามันออกหากิน ไล่เหยือ่ บริ เวณน้ าตื้น นกกระสาสี เทาสามารถพบเห็นได้ตลอดทั้งปี ในช่วงฤดูวางไข่ จะวางไข่ใน รังบนต้นไม้ โดยทัว่ ไปตัวผูจ้ ะมีหน้าที่ไปหากิ่งไม้เพื่อทารัง รังของนกพบได้บนเกาะตลอดแนวป่ า ชายเลน นกกระสาสี เทาเป็ นหนึ่งในนกที่ใหญ่ที่สุดของสิ งคโปร์ โดยมากมักพบหาอาหารอยูต่ าม บึง น้ าและอาหารของมันได้แก่ ปูและสัตว์น้ าบางประเภท หอยต่างๆซึ่ งพบได้ทวั่ ไปในโคลน 4.3.5.2 Mangrove เมื่อเมล็ดร่ วงหล่นลงสู่ โคลนเลนเบื้องล่างจะเกิดเป็ นป่ าชาย เลนขึ้นในไม่ชา้ โดยสามารถเจริ ญเติบโตในสภาพที่เป็ นดินเค็ม น้ าท่วมขัง หรื อโคลนเลน บริ เวณ ที่มีกระแสน้ าไหลผ่าน การเดินไปตามทางเดินริ มทะเลนาไปสู่ บ ริ เวณที่เต็มไปด้วยต้นไม้และผืนน้ า ดอกไม้บริ เวณป่ าชายเลนที่มีสีสันสดใส รวมไปถึงการชมสัตว์ต่างๆ เช่น ค้างคาวและนก นกประจาถิ่นในสิ งคโปร์ นกกระเต็นที่กินปลาเป็ นอาหารจะพบว่ากินไป มาบริ เวณต้นไม้ในเขตนี้ สามารถชมนกดาน้ าจับปลาช่วงที่น้ าขึ้นสู งและยังพบสัตว์พวกแมงมุม หรื อสัตว์ เลื้อยคลานที่อาจมีความยาวถึง 2 เมตร สามารถพบเห็นได้ตามเส้นทางเดิน ปลาตีนต่าง พบบริ เวณป่ าพรุ น้ าจืด (swamp Freshwater) บริ เวณบึงน้ าจืดเป็ นบึงรู ปร่ างยาวรี เป็ นที่อาศัยและหา กินของสัตว์หลายชนิดทั้งพวกแมลงและสัตว์น้ า และมีดอกบัวและพืชน้ าจานวนมากรวมถึงนกบาง ชนิดที่หากินหรื อกินเกสรดอกไม้ 4.3.5.3 Secondary forest เป็ นบริ เวณที่พบผีเสื้ อต่างๆวางไข่บริ เวณต้นไม้ ใบไม้ ออกเป็ นดักแด นกกระจาบต่างๆที่มาทารังบริ เวณกิ่งไม้ สัตว์เลื้อยคลานต่างๆ ที่พบในบริ เวณนี้ ปรับตัวตามสภาพแวดล้อม รวมถึงมีพืชสมุนไพรต่างๆเป็ นทั้งไม้พมุ่ และไม้ยนื ต้น 4.3.6 ระบบทางสัญจร เส้นทางคมนาคมการเข้าถึงสามารถแบ่งเป็ น 3 เส้นทางคือ


53

4.3.6.1 เส้นทางที่ 1 (Route 1) ประมาณ 3 กิโลเมตร (ใช้เวลาเดินทาง 1-2 ชัว่ โมง) ประกอบ ด้วย บึงขนาดใหญ่ 2 บึง เป็ นที่หาอาหารของนกประจาถิ่นพวกนกกระสาและ นกน้ าอพยพและมีประตูควบคุมน้ า หอดูนก ซุ ม้ บังไพร เดินผ่านไม้น้ าต่างๆมีนกและ สัตว์เลื้อยคลานให้เห็น 4.3.6.2 เส้นทางที่ 2 (Route 2) ประมาณ 5 กิโลเมตร (ใช้เวลาเดินทาง 2-3 ชัว่ โมง) เริ่ มจากห้องเรี ยนกลางแจ้งเป็ นทางเดินริ มทะเล ที่ยาวที่สุดนาไปสู่ ป่าชายเลนนาไปสู่ ที่ทารังของนก กระสา และซุ ม้ บังไพรรวมถึงบริ เวณนากุง้ เดิม 4.3.6.3 เส้นทางที่ 3 (Route 3) ประมาณ 7 กิโลเมตร (ใช้เวลาเดินทาง 4-5 ชัว่ โมง) นาไปสู่ บึงน้ าจืด สุ ดทางด้านตะวันตกของสวนสาธารณะ เป็ นที่ทารังของนกกระจาบและนกน้ า ต่างๆ 4.3.7 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ 4.3.7.1 ข้อดีของโครงการ 1) เป็ นการส่ งเสริ มการศึกษาทางธรรมชาติวทิ ยาจากทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่น และรักษาความหลากหลายทางชีวภาพให้คงอยู่ 2) เป็ นการส่ งเสริ มทางเลือกในกิจกรรมนันทนาการและกระตุน้ ให้เกิด สานึกในการรัก ธรรมชาติและการชื่นชมความงาม ความหลากหลายของชีวติ สัตว์ 3) มีกิจกรรมทางธรรมชาติที่น่าสนใจในแต่ละพื้นที่ ซึ่ งแต่ละพื้นที่มี จุดเด่นที่น่าสนใจแตกต่างกัน 4) มีการจัดการกับพื้นที่ธรรมชาติในแต่ละจุดได้เป็ นอย่างดี ทาให้ นักท่องเที่ยวเกิด ความประทับใจ 4.3.7.2 ข้อเสี ยของโครงการ 1) เส้นทางกิจกรรมและในพื้นที่ธรรมชาติในแต่ละบริ เวณยังขาดจุดเด่น ( land mark ) ของพื้นที่ ซึ่ งจะเป็ นสิ่ งที่จะทาให้นกั ท่องเที่ยวจดจาได้ง่ายและไม่หลง


54

2) เนื่องจากพื้นที่เป็ นพื้นที่ธรรมชาติมีทรัพยากรทางธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ์และเป็ นที่น่าสนใจของนักท่องเที่ยว ฉะนั้นควรมีการเตรี ยมการในการรองรับนักท่องเที่ยว ที่มาเป็ นจานวนมาก เช่น จัดพื้นที่ให้มีพ้นื ที่เปิ ดโล่ง (open space) เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ซ่ ึ ง อาจจะมีกิจกรรมอื่นๆเพิ่มขึ้นมา 4.3.8 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ พื้นที่ในกรณี ศึกษามีการนาเอาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูเ่ ดิม มาใช้ในการ ออกแบบที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม มีการประยุกต์กิจกรรม บางกิจกรรมเข้ามาใช้ในการ ออกแบบโครงการ ร่ วมทั้งมีระบบแบบแผนแนวคิดไม่ขดั ต่อธรรมชาติ การนาข้อมูลต่างๆแนวคิด มาประยุกต์กบั โครงการ เพื่อช่วยในการออกแบบต่อไป


55

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม อุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่น แผนที่ 9 แสดง แผนผัง Sungei buloh nature park Singapore ทีม่ า : http://mangrove.nus.edu.sg/guidebooks/text/flora.htm

Not to scale


56

ภาพที่ 18 แสดงทัศนียภาพบริ เวณศูนย์นกั ท่องเที่ยว ทีม่ า : http://www.travelerswonder.com/natural-attractions/sungei-buloh-birdsanctuary.html

ภาพที่ 19 แสดงทัศนียภาพบริ เวณทางเดินริ มทะเล ทีม่ า : http://www.singaporeplayground.com/2009/05/sungei-buloh-wetland-reserve.html


57

ภาพที่ 20 แสดงทัศนียภาพบริ เวณป่ าชายเลน ทีม่ า : http://maps.google.co.th/maps/

ภาพที่ 21 แสดงทัศนียภาพบริ เวณโครงการ ทีม่ า : http://maps.google.co.th/maps/


58

บทที่ 5 ข้ อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูลโครงการ 5.1 การวิเคราะห์ ข้อมูลทัว่ ไประดับจังหวัดขอนแก่น 5.1.1 ความเป็ นมาของจังหวัดขอนแก่น พงศาวดารภาคอีสานฉบับของ พระยาขัตติวงษา (เหลา ณ ร้อยเอ็ด) มีความ สาคัญตอนหนึ่งว่า (พ.ศ.2325) ทราบข่าวว่าเมืองแสนกลัวความผิดหลบตัวหนีลงไป พึ่งพระยา โคราช บอกให้เมืองแสนลงไปเมืองเจ้าเมือง จึงโปรดเกล้าฯ ให้เป็ นพระจันทรประเทศ ขึ้นมาตั้ง บ้านกองแก้ว เป็ น เมืองชลบถ มีไพร่ พลสมัครไปด้วย 340 คน ในรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระ พุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก พ.ศ. 2340 ฝ่ ายเพียเมืองแพน บ้านชีโหล่น เมืองสุ วรรณภูมิเห็นว่าเมืองแสนได้ เมืองชลบถก็อยากจะได้บา้ ง จึงเกลี่ยกล่อมคนได้สามร้อยคนเศษจึงสมัครขึ้นอยูก่ บั พระยา นครราชสี มา แล้วขอตั้งบ้านบึงบอนเป็ นเมือง เจ้าพระยานครราชสี มาได้มีใบบอกมายัง กรุ งเทพฯ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ต้ งั เพียเมืองแพนเป็ นพระนครศรี บริ รักษ์ดารงตาแหน่ง เจ้าเมือง โดยยกบ้านบึง บอนขึ้นเป็ นเมือง ขอนแก่น 5.1.2 ที่ต้ งั และอาณาเขตติดต่อ จังหวัดขอนแก่นตั้งอยู่ บริ เวณตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ห่างจาก กรุ งเทพฯ 445 กม. อยูร่ ะหว่างเส้นรุ ้ง ที่ 15-17 องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 101-103 องศาตะวันออกมี พื้นที่ 10,886.99 ตารางกิโลเมตร หรื อ 6.8 ล้านไร่ และมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง รวม 9 จังหวัดดังนี้ อาณาเขตติดต่อ


59

ทิศเหนือ

ติดกับ จังหวัดอุดรธานี เลย และหนองบัวลาภู

ทิศใต้

ติดกับ จังหวัดนครราชสี มา และบุรีรัมย์

ทิศตะวันออก ติดกับ จังหวัดกาฬสิ นธุ์ และมหาสารคาม ทิศตะวันตก ติดกับ จังหวัดชัยภูมิ และเพชรบูรณ์ 5.1.3 ลักษณะภูมิประเทศ 5.1.3.1 ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดขอนแก่น มีสภาพพื้นที่ท้ งั หมดลาดเอียง จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออกและทิศใต้ โดยสามารถแบ่งสภาพพื้นที่ออกได้เป็ น 3 ส่ วน คือ 1) บริ เวณที่สูงทางด้านตะวันตก เริ่ มตั้งแต่อาเภอภูผาม่าน ที่มีสภาพพื้นที่ เป็ นเขาหิ นปูนตะปุ่ มตะป่ า เช่นภูผกั หนามภูซาดีหมี เป็ นต้น สลับกับพื้นที่เป็ นลูกคลื่นลอนลาด เล็กน้อยที่มีระดับความสู งประมาณ 250 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง จากนั้นพื้นที่จะมี ลักษณะเป็ นลูกคลื่นลอนลาดไปทางอาเภอสี ชมพู อาเภอชุมแพ และอาเภอหนองเรื อ ที่มีระดับความ สู งประมาณ 200-240 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง โดยมีภูเขารู ปแอ่ง หรื อภูเวียงวางตัวอยูต่ ิด อาเภอภูเวียง 2) บริ เวณที่สูงตอนกลางและด้านเหนือ สภาพพื้นที่เป็ นเทือกเขาของภูเก้า ภูเม็ง ภูพานคา เป็ นแนวขวางมาจากด้านเหนือ แล้ววกลงมาทางตะวันตกเฉียงใต้ โดยไหล่เขาด้าน นอกมีความสู งและลาดชันมาก มีความสู งประมาณ 300-660 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง ส่ วนไหล่เขาด้านในมีความลาดชันน้อย มีระดับความสู งประมาณ 220-250 เมตร จากระดับน้ าทะเล ปานกลาง สภาพพื้นที่น้ ีครอบคลุมพื้นที่อาเภอกระนวน อาเภอเขาสวนกวาง อาเภอน้ าพอง อาเภอ อุบลรัตน์ อาเภอบ้านฝาง และกิ่งอาเภอโคกโพธิ์ ชยั 3) บริ เวณแอ่งโคราช ครอบคลุมพื้นที่ทางด้านใต้จงั หวัด สภาพพื้นที่เป็ น ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความสู งประมาณ 150-200 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง มีบางส่ วน เป็ นเนินที่มีระดับความสู งประมาณ 170-250 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลางและลาดต่าไปหาที่ ราบลุ่มที่ขนานกับลาน้ าชี ซึ่งมีความสู งประมาณ 130-150 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง พื้นที่ บริ เวณนี้ได้แก่ ด้านใต้อาเภอกระนวน อาเภอน้ าพอง อาเภอเมือง อาเภอพระยืน อาเภอมัญจาคีรี แล้ว


60

พื้นที่จะลาดชันขึ้นไปทางตะวันออก เป็ นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดมีความสู งประมาณ 200-250 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง และค่อนข้างราบ มีความสู งประมาณ 170 -180 เมตร จาก ระดับน้ าทะเลปานกลาง ได้แก่ พื้นที่อาเภอชนบท อาเภอบ้านไผ่ อาเภอแวงน้อย อาเภอแวงใหญ่ อาเภอพล อาเภอหนองสองห้อง อาเภอเปื อยน้อย กิ่งอาเภอบ้านแฮด และกิ่งอาเภอโนนศิลา 5.1.3.2 แหล่งน้ าธรรมชาติที่สาคัญไหลผ่านหลายสาย ได้แก่ 1) ลาน้ าพองเป็ นลาน้ าที่มีความยาวในพื้นที่อาเภอเมื องประมาณ 55 กิโลเมตร ไหลผ่านตาบลสาราญ ตาบลโนนท่อน ตาบลโคกสี ตาบลหนอตูม ตาบลศิลา และ ตาบลพระลับ ใช้เป็ นเส้นทางคมนาคมเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และทาการประมง 2) ลาน้ าชี เป็ นลาน้ าที่มีความยาวประมาณ 31 กิโลเมตร ไหลผ่าน ตาบลพระลับ ตาบลเมืองเก่า ตาบลท่าพระ และตาบลดอนหัน ประชาชนใช้ประโยชน์ในการทา ประมงเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ 5.1.4 ลักษณะภูมิอากาศ 5.1.4.1 อุณหภูมิ จังหวัดขอนแก่นมีสภาพอากาศที่ค่อนข้างร้อน ลักษณะภูมิอากาศ เฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) อุณหภูมิสูงสุ ด 29.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยต่าสุ ด 23.9 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ย 27.1 องศาเซลเซี ยส (ดูแผนภูมิที่ 1)


61

แผนภูมิที่ 1 แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) 5.1.4.2 ปริ มาณฝน จังหวัดขอนแก่นมีปริ มาณฝนตก เป็ นปริ มาณฝนที่ตกหนักมาก พื้นที่ ไม่มีปัญหาด้านการระบายน้ า ฝนตกเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) ฝนตกเฉลี่ยสู งสุ ด 476.2 มิลลิเมตร ฝนตกเฉลี่ยต่าสุ ด 2.8 มิลลิเมตรโดยมีฝนตกเฉลี่ย 132.5 มิลลิเมตร (ดูแผนภูมิที่ 2)

แผนภูมิที่ 2 แสดงฝนตกเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554)


62

5.1.4.3 ความชื้นสัมพัทธ์ จังหวัดขอนแก่นมีความชื้นสัมพัทธ์ปกติเหมาะแก่การเจริ ญเติบโต ของพืชพรรณความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยสู งสุ ด 84% ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยต่าสุ ด 56% โดยมีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 71% (ดูแผนภูมิที่ 3)

แผนภูมิที่ 3 แสดงความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) 5.1.4.4 ความเร็ วลม จังหวัดขอนแก่นมีความเร็ วลมที่ค่อนข้างเบาจึงไม่ส่งผลต่อพืชพรรณ ในพื้นที่ความเร็ วลมเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) ความเร็ วลมเฉลี่ยสู งสุ ด 4.6 น็อต ความเร็ ว ลมเฉลี่ยต่าสุ ด 3.1 น็อต โดยมีความเร็ วลมเฉลี่ย 3.9 น็อต (ดูแผนภูมิที่ 4)


63

แผนภูมิที่ 4 แสดงความเร็ วลมเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) 5.1.4.5 ฤดูกาล 1) ฤดูร้อน เริ่ มตั้งแต่เดือนมีนาคม ไปยังถึงเดือนมิถุนายนอุณหภูมิ ค่อนข้างสู ง ร้อนอบอ้าว อุณหภูมิ เฉลี่ย 27.1 องศาเซลเซี ยส 2) ฤดูฝน เริ่ มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ไปจนถึงเดือนตุลาคมเนื่องจาก เป็ นระยะที่ลมมรสุ มตะวันตกเฉี ยงใต้เข้าสู่ ประเทศไทย ปริ มาณฝนตกเฉลี่ยประมาณ 476.2 มิลลิเมตร 3) ฤดูหนาว เริ่ มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ย 23.9 องศาเซลเซียสโดยได้รับ ลมหนาวจากลมมรสุ มตะวันออกเฉียงเหนือ มีลมแรง และหนาวจัด 5.1.5 ทรัพยากรธรรมชาติ จังหวัดขอนแก่นมีพ้นื ที่ท้ งั สิ้ น 10,886 ตารางกิโลเมตร หรื อประมาณ 6,803,744 ไร่ จากผลการสารวจดิน พบดินทั้งหมด 83 หน่วยแผนที่ มีเนื้อที่ประมาณ 5,689,150 ไร่ หรื อร้ อยละ 83.61 ของเนื้อที่ท้ งั หมดโดยแยกเป็ นประเภทของกลุ่มชุดดินเดี่ยว 27 หน่วย มีเนื้อที่ประมาณ


64

4,811,885 ไร่ หรื อร้อยละ 70.72 ของเนื้อที่ท้ งั หมด หน่วยปะปนของกลุ่มชุดดิน 33 หน่วย มีเนื้อที่ ประมาณ 996,980 ไร่ หรื อร้อยละ 14.65 ของเนื้อที่ท้ งั หมด และเป็ นพื้นที่เบ็ดเตล็ด 6 หน่วย มีเนื้อที่ ประมาณ 994,878 ไร่ หรื อร้อยละ 14.62 ของเนื้อที่ท้ งั หมด รวมเนื้อที่ท้ งั จังหวัดประมาณ 6,803,744 ไร่ 5.1.5.1 ทรัพยากรดิน แหล่งข้อมูลทรัพยากรดินในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ทรัพยากรดินในพื้นที่เขตเทศบาล ส่ วนใหญ่เป็ นดินในชุดดินยโสธร มีเนื้ อที่ ประมาณ 6,184.35 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 21.51 รองลงมาคือชุดดินร้อยเอ็ ดมีเนื้อที่ประมาณ 5,082.74 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 17.68 ชุดดินที่มีเนื้อที่นอ้ ยที่สุดคือดินคล้ายชุดดินร้อยเอ็ด แต่มีเนื้อ ดินเป็ นดินร่ วน มีเนื้อที่ประมาณ 2.85 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 0.01 (ดูภาพที่22 และตารางที่1)

ภาพที่ 22 แสดงแผนที่แสดงชุดดิน ทีม่ า : กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ปี 2552


65

ตารางที่ 1 แสดงชุดดิน

ชุดดิน พืน้ ที่ (ไร่ )

ร้ อยละ

ชุดดินที่ไม่ทราบชื่อ

3692.1

12.84

ชุดดินยโสธร

6184.35

21.51

ชุดดินร้อยเอ็ด

5082.74

17.68

ชุดดินร้อยเอ็ด ประเภทที่เกิดบนที่สูง

2871.1

9.99

ชุดดินอุบล

1574.54

5.48

ชุดดินเพ็ญ

355.32

1.24

ชุดดินโคราช

2951.37

10.27

2.85

0.01

ดินคล้ายชุดดินร้อยเอ็ด แต่มีเนื้อดินเป็ นดินเหนียว

2180.88

7.59

บริ เวณแหล่งน้ า

3658.86

12.73

หน่วยผสมดินของดินตะกอนลาน้ าหลายชนิดปะปนกัน

195.89

0.68

รวม

28750

100

ชื่ อชุ ดดิน

ดินคล้ายชุดดินร้อยเอ็ด แต่มีเนื้อดินเป็ นดินร่ วน

ทีม่ า : กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ปี 2552 หมายเหตุ : - ชุดดิน (Soil series) คือ หน่วยการจาแนกดินระดับต่าสุ ดของการจาแนก ดินตามระบบอนุกรมวิธาน โดยถือลักษณะสัณฐานของดินเป็ นหลัก ได้แก่ สี เนื้อดิน ปฏิกิริยา ดิน และการระบายน้ าของดิน เป็ นลักษณะที่สามารถตรวจวัดได้ในสนาม - ดินคล้าย (Soil variant) คือ หน่วยของการจาแนกดินที่รวบรวมดินซึ่ งมี ลักษณะแตกต่างพอที่จะแยกเป็ นชุดดินใหม่ได้ แต่เกิดขึ้นมีป ริ มาณไม่มากพอ จึงแยกไว้เป็ นดินอีก


66

หน่วยหนึ่ง โดยใช้ชื่อของชุดดินที่มีลกั ษณะใกล้เคียงที่สุด กากับด้วยลักษณะสาคัญ แสดงความ แตกต่างกับชุดดินนั้นๆ - หน่วยผสมของดิน (Soil Complex) หมายถึง หน่วยแผนที่ดินที่ได้รวมดิน อย่างน้อย 2 ชนิด ซึ่ งเกิดปะปนกันอย่างสลับซับซ้อนยากต่อการแยกขอบเขตออกจากกัน และดิน แต่ละชนิดที่พบในหน่วยแผนที่ดินเดียวกันนั้น มีศกั ยภาพในการใช้ประโยชน์และการจัดการที่ แตกต่างกัน หรื อไม่แตกต่างกันก็ได้ - ประเภทดิน (Soil Phase) หน่วยของแผนที่ดิน ซึ่ งได้แบ่งย่อยลงไปจากชุด ดินเดียวกัน โดยถือลักษณะที่มีอิทธิ พลต่อการใช้ประโยชน์ และการบารุ งรักษาดินเป็ นหลักในการ จาแนก เป็ นต้นว่า ความลาดชันของพื้นที่ ความลึกของดิน การกัดกร่ อน และอื่นๆ 5.1.5.2 ทรัพยากรน้ า แหล่งน้ าผิวดิน จังหวัดขอนแก่นอยูใ่ นเขตของลุ่มน้ าหลัก 2 ลุ่มน้ า คือ ลุ่มน้ ามูลและลุ่มน้ าชี พื้นที่ลุ่มน้ ามูล ได้แก่ กลุ่มลุ่มน้ าสาขาที่ไหลลงลาห้วยแอก ลาห้วยสะทด และลาพังชู ในส่ วนพื้นที่ลุ่มน้ าชี ได้แก่ กลุ่มลุ่มน้ าที่ไหลลงอ่างเก็บน้ าอุบลรัตน์ กลุ่มลุ่มน้ าที่ไหล ลงลาน้ าพองตอนล่าง กลุ่มลุ่มน้ าที่ไหลลงแม่น้ าชี และกลุ่มลุ่มน้ าสาขาลาปาวตอนบน โดยมี ลาน้ า สายหลักที่ไหลผ่านจังหวัดขอนแก่น ได้แก่ ลาน้ าพอง ลาน้ าเชิญ และลาน้ าชี ซึ่ งสามารถแบ่งพื้นที่ จังหวัดขอนแก่นทั้งหมดออกเป็ น 11 ลุ่มน้ า และปริ มาณน้ าท่าเฉลี่ยรายเดือนที่เกิดจากพื้นที่ รับน้ า ของจังหวัดขอนแก่นทั้ง 11 ลุ่มน้ า (ดูตารางที่2) ตารางที่ 2 รับน้ าของจังหวัดขอนแก่น ลาดับที่

ลุ่มนา้ ย่ อย

พืน้ ทีร่ ับนา้ ฝน (ตร.กม.)

ปริมาณนา้ ท่ารายปี เฉลีย่ (ล้าน ลบ.ม)

1

ลุ่มน้ าห้วยแอก

859.39

120.93

2

ลุ่มน้ าลาสะแทด

77.86

11.83

3

ลุ่มน้ าพังชู

189.89

26.86

4

ลุ่มน้ าชีส่วนที่ 2

350.49

37.29


67

5

ลุ่มน้ าชีส่วนที่ 3

6

ลุ่มน้ าลาห้วยสามหมอ

7

3,244.00

362.23

98.29

15.58

ลุ่มน้ าพองตอนบน

2,150.49

411.78

8

ลุ่มน้ าพองตอนล่าง

2,194.42

359.69

9

ลุ่มน้ าลาปาวตอนบน

95.52

26.38

10

ลุ่มน้ าเชิญ

1,168.57

174.53

11

ลุ่มน้ าห้วยสายบาตร

457.06

87.82

10,885.98

1,634.92

รวม ที่มา : โครงการชลประทานขอนแก่น ปี 2552

1) แหล่งน้ าผิวดินในพื้นที่ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น รวมทั้งหมดมีพ้นื ที่ 2,360.50 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 8.21 ของพื้นที่เขตเทศบาล (ดูภาพที่22) ได้แก่ บึงทุ่งสร้าง มีพ้นื ที่

1,692 ไร่ พื้นที่กกั เก็บน้ า 3,248,640 ลูกบาศกเมตร

บึงแก่นนคร มีพ้นื ที่

603.5 ไร่ พื้นที่กกั เก็บน้ า 1,449,600 ลูกบาศกเมตร

บึงหนองใหญ่ มีพ้นื ที่

20 ไร่ พื้นที่กกั เก็บน้ า

52,800 ลูกบาศกเมตร

บึงหนองแวง มีพ้นื ที่

24 ไร่ พื้นที่กกั เก็บน้ า

43,200 ลูกบาศกเมตร

บึงหนองยาว มีพ้นื ที่

10 ไร่ พื้นที่กกั เก็บน้ า 30,000 ลูกบาศกเมตร

บึงหนองบอน มีพ้นื ที่

10 ไร่ พื้นที่กกั เก็บน้ า

30,000 ลูกบาศกเมตร

หนองสะพัง มีพ้นื ที่ 1ไร่ พื้นที่กกั เก็บน้ า 5,000 ลูกบาศกเมตร คลอง จานวน 2 แห่ง ได้แก่ คลองร่ องเหมือง คลองชลประทาน ที่มา : สานักการช่าง ปี 2551


68

ภาพที่ 23 แสดงแผนที่แสดงแหล่งน้ าผิวดิน ทีม่ า : กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ปี 2552 2) แหล่งน้ าใต้ดินในพื้นที่เขตเทศบาลนครขอนแก่ น สามารถแบ่งพื้นที่แหล่ง น้ าใต้ดินออกเป็ น 2 บริ เวณใหญ่ๆตามชนิดของชั้นหิ นให้น้ าคือ ชั้นน้ าบาดาลในหินแข็ง (Consolidated Rock Aquifers) และชั้นน้ าบาดาลในหิ นร่ วน (Unconsolidated Rock Aquifers) โดยพื้นที่ส่วนใหญ่จะอยูบ่ ริ เวณชั้นน้ าบาลในหิ นแข็ง คือ หิ นชุดมหาสารคาม มีเนื้อที่ 21,882.92 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 76.11 ของพื้นที่เขตเทศบาล รองลงมาคือชั้นหิ นให้น้ าชั้นน้ าบาดาลในหิน ร่ วน-ตะกอนน้ าพาและตะกอนตะพักลุ่มน้ า มีเนื้อที่ 6,867.08 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 23.89 ของพื้นที่ เขตเทศบาล (ดูภาพที่ 24 และตารางที่ 3)


69

ภาพที่ 24 แสดงแผนที่แสดงแหล่งน้ าใต้ดิน ทีม่ า : กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ปี 2552 ตารางที่ 3 แสดงชั้นหิ นให้น้ า (น้ าใต้ดิน) นา้ ใต้ ดิน ชื่อชั้นหินให้ นา้

พืน้ ที่ (ไร่ )

ร้ อยละ

ชั้นน้ าบาดาลในหินแข็ง-หินชุดมหาสารคาม

21,882.92

76.11

ชั้นน้ าบาดาลในหินร่ วน-ตะกอนน้ าพาและตะกอนตะพักลุ่มน้ า

6,867.08

23.89

รวม

28,750

100

ทีม่ า : กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ปี 2552


70

5.1.6 การคมนาคม ทางรถยนต์ จากกรุ งเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนน พหลโยธิน) ถึงจังหวัดสระบุรี ตรงหลักกิโลเมตรที่ 107 แยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (ถนน มิตรภาพ) ผ่านจังหวัดนครราชสี มาถึ งจังหวัดขอนแก่น เข้าสู่ เขตอาเภอเมือง บนถนนประชา สโมสร เลี้ยวซ้ายเข้าซอยกสิ กรทุ่งสร้าง ประมาณ 1 กิโลเมตร เลี้ยวขวาบนถนนจอมพลตรงมาเจอ สวนสุ ขภาพบึงทุ่งสร้างเลี้ยวซ้ายจะเจอพื้นที่โครงการ อีกหนึ่งเส้นทาง เมื่อถึงสระบุรีแล้วตรงไปตาม ถนนสระบุรี- ลานารายณ์ แยก ขวาเข้าเส้นทางม่วงค่อม-ด่านขุนทด-ชัยภูมิ-ขอนแก่น หรื อสระบุรี-อาเภอลานารายณ์-อาเภอเทพ สถิต-ชัยภูมิ-อาเภอมัญจาคีรี-อาเภอพระยืน-ขอนแก่น เข้าสู่ เขตอาเภอเมือง บนถนนประชาสโมสร เลี้ยวซ้ายเข้าซอยกสิ กรทุ่งสร้าง ประมาณ 1 กิโลเมตร เลี้ยวขวาบนถนนจอมพลตรงมาเจอสวน สุ ขภาพบึงทุ่งสร้างเลี้ยวซ้ายจะเจอพื้นที่โครงการ ทางรถโดยสารประจาทาง ใช้เวลาเดินทางประมาณ 7 ชัว่ โมง รถออกจากสถานี ขนส่ งสายตะวันออกเฉี ยงเหนือ (หมอชิต 2 ) สามารถเดินทางเข้าสู่ พ้นื ที่โครงการ โดยรถบริ การ สามล้อ รถตุก๊ ตุก๊ รถจักรยานยนต์รับจ้าง ทางรถไฟ ขบวนรถไฟออกจากสถานีกรุ งเทพฯ (หัวลาโพง) ไปยังจังหวัด ขอนแก่นใช้เวลาเดินทางประมาณ 8-9 ชัว่ โมง โดยมีระยะห่างจากพื้นที่โครงการ 3.80 กิโลเมตร สามารถเดินทางเข้าสู่ พ้นื ที่โครงการ โดยรถบริ การสามล้อ รถตุก๊ ตุก๊ รถจักรยานยนต์รับจ้าง ทางเครื่ องบิน บมจ. การบินไทย เปิ ดบริ การเที่ยวบินกรุ งเทพฯ-ขอนแก่น ใช้ เวลาเดินทาง 50 นาที สามารถเดินทางเข้าสู่ พ้นื ที่โครงการโดยรถบริ การรถรับจ้าง รถสามล้อ รถตุก๊ ตุก๊ 5.1.7 ประชากร ในจังหวัดขอนแก่นมีประชากรรวม 1,762,242 คน ชาย 873,735 คน หญิง 888,507 คน จานวน 510,219 ครัวเรื อน มีพ้นื ที่การเกษตร 4.132 ล้านไร่ (ร้อยละ 60.8 ของพื้นที่จงั หวัด)


71

แบ่งเขตการปกครอง เป็ น 26 อาเภอ 198 ตาบล 2,331 หมู่บา้ น 389 ชุมชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น จานวน 225 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาล 66 แห่ง (เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 3 แห่ง และเทศบาลตาบล 62 แห่ง) และ องค์การบริ หารส่ วนตาบล 158 แห่ง (ที่มา : สานักงานท้องถิ่นจังหวัดขอนแก่น) ราชการส่ วน ภูมิภาค 35 ส่ วนราชการ และราชการส่ วนกลางและรัฐวิสาหกิจ 208 หน่วยงาน พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นองค์กรปกครองท้องถิ่น ในเขตเทศบาลนคร อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น มีพ้นื ที่รวมทั้งสิ้ น 46 ตารางกิโลเมตร หรื อประมาณ 28,750 ไร่ 5.1.8 โครงสร้างพื้นฐาน 5.1.8.1 การไฟฟ้ า มีแหล่งผลิตไฟฟ้ าที่สาคัญ คือ โรงไฟฟ้ าพลังน้ าเขื่อนอุบล รัตน์ และโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วมน้ าพอง กาลังผลิต 25.2 เมกกะวัตต์ และ 737 เมกกะวัตต์ ตามลาดับ สถานการณ์ใช้ไฟฟ้ าของจังหวัดขอนแก่น 460,878 ครัวเรื อน มีไฟฟ้ าใช้แล้ว 441,743 ครัวเรื อน เป็ นร้อยละที่มีไฟฟ้ าใช้ 95.85 5.1.8.2 การประปา มีสานักงานประปาอยูใ่ นพื้นที่ จานวน 10 แห่ง ให้บริ การ จ่ายน้ าประปา 8 แห่ง ได้แก่ สานักงานประปาขอนแก่น บ้านไผ่ ชุมแพ น้ าพอง ชนบท กระนวน หนองเรื อ และเมืองพล จานวนผูใ้ ช้น้ ารวม 136,244 ราย กาลังการผลิตที่ใช้งาน 185,064 ลูกบาศก์ เมตร/วัน ปริ มาณน้ าจาหน่าย 3,126,597 ลูกบาศก์เมตร 5.1.8.3 การสื่ อสารและโทรคมนาคม มีที่ทาการไปรษณี ย ์ จานวน 27 แห่ง แยก เป็ นประเภทรับฝาก (ปทฝ.) 3 แห่ง และประเภทรับ-จ่าย (ปทจ.) 24 แห่ง มีสานักงานเขตโทรศัพท์ ภูมิภาคที่ 2 ซึ่งมีชุมสายในการปฏิบตั ิงานในจังหวัด 8 แห่ง 5.1.8.4 ด้านสื่ อมวลชน มีสถานีวทิ ยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT ขอนแก่น สานักประชาสัมพันธ์เขต 1 สถานีถ่ายทอดผ่านดาวเทียมของสถานีวทิ ยุโทรทัศน์ไทยทีวสี ี ช่อง 3 และช่อง 9 อ.ส.ม.ท. สถานีวทิ ยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ช่อง 7 และทีวไี ทย นอกจากนี้ยงั มีสถานี วิทยุกระจายเสี ยง 14 สถานี หนังสื อพิมพ์ส่วนกลาง 12 ฉบับ และหนังสื อพิมพ์ทอ้ งถิ่น 13 ฉบับ


72

5.2 การวิเคราะห์ ลกั ษณะทางกายภาพของพืน้ ทีโ่ ครงการ 5.2.1 ความเป็ นมาของพื้นที่ บึงทุ่งสร้าง เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่อยูใ่ นเขตอาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เป็ น พื้นที่มีลกั ษณะเป็ นบึงธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ในอดีตบึงทุ่งสร้างเป็ น แหล่งประมงที่สาคัญที่สุดของเมือง แต่ในปั จจุบนั มีสภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม คือ เกิด ปั ญหาน้ าเสี ยในบึง เนื่องจากรับน้ าเสี ยมาจากแหล่งชุมชนในเขตเทศบาล และการจับปลาในฤดู วางไข่ จึงให้ทาปลาลดน้อยลง ดังนั้นจึงควรมีการอนุรักษ์พนั ธุ์สัตว์น้ า และพัฒนาให้เป็ นสถานที่ พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน เมื่อทางเทศบาลได้เล็งเห็นถึงความสาคัญเพื่อให้เกิดประโยชน์ และเกิ ดแหล่ง เรี ยนรู ้จากธรรมชาติ ประกอบกับจังหวัดขอนแก่นเป็ นศูนย์กลางทางการศึกษา คือมีแหล่ง สถาบันอุดมศึกษา 16 แห่ง สถาบันอาชีวศึกษา 11 แห่ง และโรงเรี ยน 125 แห่ง จึงมีความเหมาะสม ในการพัฒนาเป็ นอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และเพื่อตอบสนองแผนนโยบายใน อนาคตของทางจังหวัดที่จะสร้างพื้นที่สาธารณะ ที่ตอ้ งการให้เป็ นแหล่งการเรี ยนรู ้ แหล่งทัศนศึกษา สถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจและสถานที่ท่องเที่ยว มีสภาพเป็ นบึงธรรมชาติ มีสวนพฤกษศาสตร์ ชุ่มน้ า พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ า ศูนย์การเรี ยนรู ้ บนพื้นที่ 440 ไร่ 5.2.2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ โครงการตั้งบนถนนกสิ กรทุ่งสร้าง ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ส่ วนพื้นที่ต้ งั โครงการ เป็ นพื้นที่บริ เวณทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือของบึงทุ่งสร้าง มี ขนาดของพื้นที่ ทั้งหมด 440 ไร่ อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ

จรด

ชุมชนโนนชัย และหมู่บา้ นจัดสรร

ทิศใต้

จรด

ชุมชนธารทิพย์และบ่อบาบัดน้ าเสี ย


73

ทิศตะวันออก

จรด

บ่อบาบัดน้ าเสี ยเทศบาล และชุมชน

ทิศตะวันตก

จรด

หมู่บา้ นจัดสรร สถานีประมงน้ าจืด

บ้านโนนเมือง และศูนย์ราชการจังหวัดขอนแก่น 5.2.3 ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่โครงการจะตั้งอยู่ บริ เวณแอ่งโคราช ครอบคลุมพื้นที่ ทางด้านใต้จงั หวัด สภาพพื้นที่เป็ นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความสู งประมาณ 150-200 เมตร จากระดับน้ าทะเลปาน กลาง มีบางส่ วนเป็ นเนินที่มีระดับความสู งประมาณ 170-250 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลางและ ลาดต่าไปหาที่ราบลุ่มที่ขนานกับลาน้ าชี ซึ่งมีความสู งประมาณ 130-150 เมตร จากระดับน้ าทะเล ปานกลาง พื้นที่บริ เวณนี้ได้แก่ ด้านใต้อาเภอกระนวน อาเภอน้ าพอง อาเภอเมือง อาเภอพระยืน อาเภอมัญจาคีรี แล้วพื้นที่จะลาดชันขึ้นไปทางตะวันออก เป็ นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดมีความสู ง ประมาณ 200-250 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง และค่อนข้างราบ มีความสู งประมาณ 170 180 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง ได้แก่ พื้นที่อาเภอชนบท อาเภอบ้านไผ่ อาเภอแวงน้อย อาเภอแวงใหญ่ อาเภอพล อาเภอหนองสองห้อง อาเภอเปื อยน้อย กิ่งอาเภอบ้านแฮด และกิ่งอาเภอ โนนศิลา 5.2.4 ลักษณะภูมิอากาศ 5.2.4.1 อุณหภูมิ เนื่องจากพื้นที่โครงการตั้งอยู่ในเขตเมือง จังหวัดขอนแก่น จึงได้มี สภาพอากาศที่ค่อนข้างร้อน ลักษณะภูมิอากาศเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) อุณหภูมิสูงสุ ด 29.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยต่าสุ ด 23.9 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ย 27.1 องศา เซลเซียส (ดูแผนภูมิที่ 1)


74

5.2.4.2 ปริ มาณฝน จังหวัดขอนแก่นมีปริ มาณฝนตก เป็ นปริ มาณฝนที่ตกหนักมาก พื้นที่ ไม่มีปัญหาด้านการระบายน้ า ฝนตกเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) ฝนตกเฉลี่ยสู งสุ ด 476.2 มิลลิเมตร ฝนตกเฉลี่ยต่าสุ ด 2.8 มิลลิเมตรโดยมีฝนตกเฉลี่ย 132.5 มิลลิเมตร (ดูแผนภูมิที่ 2) 5.2.4.3 ความชื้นสัมพัทธ์ จังหวัดขอนแก่นมีความชื้นสัมพัทธ์ปกติเหมาะแก่การเจริ ญเติบโต ของพืชพรรณความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยสู งสุ ด84% ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยต่าสุ ด 56% โดยมีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 71% (ดูแผนภูมิที่ 3) 5.2.4.4 ความเร็ วลม จังหวัดขอนแก่นมีความเร็ วลมที่ค่อนข้างเบาจึงไม่ส่งผลต่อพืชพรรณ ในพื้นที่ความเร็ วลมเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2545 - 2554) ความเร็ วลมเฉลี่ยสู งสุ ด 4.6 น็อต ความเร็ ว ลมเฉลี่ยต่าสุ ด 3.1 น็อต โดยมีความเร็ วลมเฉลี่ย 3.9 น็อต (ดูแผนภูมิที่ 4) 5.2.5 แหล่งน้ าและการระบายน้ า ลักษณะของแหล่งน้ าในพื้นที่บึงทุ่งสร้าง มีท่อระบายน้ าอยูร่ อบๆโครงการและ รอบบึงทุ่งสร้างโดยทางด้านทิศใต้ของบึงทุ่งสร้างมีการสร้างร่ องระบายน้ า มีความกว้าง 10 เมตร ลึก 3-4 เมตร เพื่อให้น้ าไหลลงสู่ บ่อบาบัดน้ าเสี ยได้โดยตรง เพื่อพัฒนาคุณภาพน้ าให้ดีข้ ึน ก่อน ปล่อยลงสู่ ลาธารสาธารณะ (ดูภาพที่ 23) พื้นที่โครงการลาดเอียงไปทางด้านทิศตะวันออก ลักษณะการไหลของน้ าไหล ตามความลาดเอียงของพื้นที่ 5.2.6 ลักษณะดิน


75

พื้นที่โครงการ จัดอยูใ่ นชุดดินของแหล่งน้ า ลักษณะดินเป็ นดินที่ตะกอนธารน้ า พากรวด ทราย ทรายแป้ ง และดินเหนียวสะสมตัวตามร่ องน้ า คันดินแม่น้ า และแอ่งน้ าท่วมถึง (ดู ภาพที่ 22) ดินในพื้นที่โครงการ คือ ดินที่เกิดจากการขุดลอกคลอง และนากลับมาถมใหม่ สามารถปลูกพืชพรรณและสร้างสิ่ งปลูกสร้างได้ 5.2.7 ระบบการสัญจร 5.2.7.1 ระบบทางสัญจรโดยรถยนต์ ระบบทางสัญจรในพื้นที่โครงการ มีความชัดเจนและเข้าถึงพื้นที่ โครงการได้ง่าย พื้นผิวการจราจรเรี ยบไม่เป็ นลูกคลื่น ส่ วนทางสัญจรในพื้นที่โครงการควรมี ออกแบบและปรับปรุ งพื้นทางสัญจร รวมทั้งออกแบบพื้นที่ทางเดินทาง การสัญจรจะมีลกั ษณะ พื้นผิวจราจร 3 แบบ ดังนี้ 1) ระบบทางสัญจรเข้ามาในพื้นที่โครงการเป็ นถนนคอนกรี ต พื้นผิว บางจุดมีการชุด ควรมีการปรับปรุ ง 2) ระบบทางสัญจรในพื้นที่โครงการเป็ นวนรอบ ( loop) มีลกั ษณะ เป็ นดินลูกรัง ควรมีการปรับปรุ ง 3) ระบบทางสัญจรรองไม่มีความชัดเจนและมีลกั ษณะเป็ นดินลูกรัง ควรมีการปรับปรุ ง 5.2.7.1 ระบบทางสัญจรโดยรถยนต์ 1) ระบบสัญจรทางเท้ารอบโครงการจะมีเพียงทางด้านทิศตะวันตก ของพื้นที่โครงการ เป็ นทางท่อระบายน้ าที่สามารถเป็ นทางเดินเท้าได้ มีความกว้าง 0.80 m 2) ระบบสัญจรทางเท้าในพื้นที่โครงการไม่มีความชัดเจน มีเพียง ทางเดินที่เชื่อมต่อกันระหว่างศูนย์ส่งเสริ มการปลูกต้นไม้ สนามเด็กเล่น และศูนย์วิ ทยาศาสตร์


76

5.2.8 ลักษณะพืชพรรณ พืชพรรณในพื้นที่โครงการ จะอยูบ่ ริ เวณรอบๆทางด้านทิศตะวันตกและทิศ เหนือของโครงการ เป็ นพืชพรรณที่เกิดขึ้นมาปลูกขึ้นมาใหม่ บางชนิดยังมีการเจริ ญเติบโตไม่เต็มที่ และพืชพรรณบางส่ วนที่เกิดบริ เวณพื้นที่ชุ่มน้ า 5.2.8.1 ไม้ยนื ต้น ได้แก่ ต้นจามจุรี ต้นพญาสัตบรรณ ต้นหางนกยูง ต้นหมากเหลือง ต้นโมก ต้นปาล์มมงกุฎ ต้นปาล์มจีบ ต้นไทรทอง ลักษณะของต้นไม้ บางต้นก็ กาลังจะล้มตาย บางต้นก็ยงั คงเจริ ญเติบโตได้ดี ที่เป็ นเช่นนี้ เพราะต้นไม้ขาดการดูแล 5.2.8.2 ไม้คลุมดิน ได้แก่ ต้นเทียนทอง ต้นข่อย จะอยูบ่ ริ เวณหน้า ศูนย์ส่งเสริ มการปลูกต้นไม้ และใกล้สนามเด็กเล่น 5.2.8.3 ไม้น้ า เช่น ต้นกก ต้นธูป ไมยราบ จะอยูบ่ ริ เวณของพื้นที่ชุ่ม น้ า ทางด้านทิศใต้ของโครงการ ค่อนข้างที่จะอุดมสมบูรณ์ และมีอยูม่ ากมาย 5.2.9 อาคารและสิ่ งปลูกสร้าง อาคารและสิ่ งปลูกสร้างเดิม จะอยูท่ างด้านทิศตะวันตกของพื้นที่โครงการ มีอยู่ 3 ส่ วน ได้แก่ 5.2.9.1 ศูนย์ส่งเสริ มการปลูกต้นไม้ มีลกั ษณะเป็ นอาคารชั้นเดียว หลังคาจัว่ มีหน้าที่เก็บอุปกรณ์การปลูกต้นไม้ต่างๆ มีสภาพค่อนข้างทรุ ดโทรม ประตูไม้ชารุ ด ควร ได้รับการปรับปรุ งหรื อก่อสร้างใหม่ 5.2.9.2 สนามเด็กเล่น อยูต่ รงกลางระหว่าง ศูนย์ส่งเสริ มการปลูก ต้นไม้ และศูนย์วทิ ยาศาสตร์ จะพบว่า อุปกรณ์การเล่นบางชิ้นเกิดการชารุ ด และบริ เวณข้างๆจะมี หลุมลึกขนาดกว้างอยู่ วัสดุพ้นื ผิวสาหรับรองฐานเครื่ องเล่นมีความชารุ ด ควรได้รับการปรับปรุ ง 5.2.9.3 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ เป็ นศูนย์กลางการเรี ยนรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์ ให้ความรู ้เรื่ อง ระบบสุ ริยะ ท้องฟ้ า ความรู ้ดา้ นวิทยาศาสตร์ ต่างๆ มีศาลาลักษณะทรง


77

สู ง หลังคาปั้ นหยา วัสดุพ้นื ผิวบริ เวณศาลาเป็ นหิ นอ่อน บริ เวณรอบนอกศาลาเป็ นคอนกรี ต ป้ าย ฐานความรู ้ต่างๆ หลุดลอก ค่อนข้างจะมีความทรุ ดโทรม จึงควรได้รั บการปรับปรุ ง 5.2.10 สาธารณูปโภค การบริ การไฟฟ้ าจะอยูใ่ นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคระบบ สาธารณูปโภคในพื้นที่โครงการ จะมีระบบไฟฟ้ า ระบบการประปา 5.2.10.1 ระบบไฟฟ้ า จะมีในส่ วนของพื้นที่ศูนย์ส่งเสริ มการปลูก ต้นไม้ สนามเด็กเล็ก และศูนย์วทิ ยาศาสตร์ ซึ่งจะเชื่อมโยงมาจากเสาไฟฟ้ าริ มถนน 5.2.10.2 ระบบน้ าประปา จะมีในส่ วนของพื้นที่ศูนย์ส่งเสริ มการปลูก ต้นไม้ สนามเด็กเล็ก ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ และพื้นที่ปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ มีการสร้างปั๊ มน้ าใกล้ กับศูนย์วทิ ยาศาสตร์ เพื่อปั๊ มน้ ามาใช้ในพื้นที่ ในการรดน้ าต้นไม้ 5.2.11 การใช้ประโยชน์ที่ดินเดิม การใช้ประโยชน์ในที่ดินเดิม ในภาพรวม ค่อนข้างจะมีการใช้พ้นื ที่นอ้ ย เนื่องจากพื้นที่ยงั ไม่มีการปรับปรุ ง สามารถแบ่งการใช้ประโยชน์ที่ดินเดิมดังนี้ 5.2.11.1 พื้นที่เกาะกลางน้ า เป็ นพื้นที่โล่ง มีการใช้พ้นื ที่ในการแข่งขันรถวิบาก ละฝึ กซ้อมรถวิบาก 5.2.11.2 พื้นที่ชุ่มน้ า เป็ นพื้นที่อยูอ่ าศัยของสัตว์น้ าและอนุบาลสัตว์น้ า 5.2.11.3 พื้นที่ทาการประมง เป็ นที่ชาวบ้านหาปลาเพื่อนามาเป็ นอาหาร 5.2.11.4 พื้นที่น้ า 5.2.11.5 พื้นที่ปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ เป็ นพื้นที่โล่ง มีการปลูกต้นไม้ อยู่ ทางด้านทิศเหนือของพื้นที่โครงการ 5.2.11.6 พื้นที่กิจกรรม มีกิจกรรมการเรี ยนรู ้ และการละเล่น เพราะมีศูนย์ วิทยาศาสตร์ ศูนย์ส่งเสริ มการปลูกต้นไม้ และสนามเด็กเล่น


78

5.2.12 ทัศนียภาพและมุมมอง 5.2.12.1 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศตะวันตก เป็ นพื้นที่ทางเข้าโครงการ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นอาคาร และสนามเด็กเล่น 5.2.12.2 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศตะวันตก เป็ นพื้นที่โล่งระหว่าง อาคารและสนามเด็กเล่น เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่ง สามารถมองเห็นหมู่บา้ นจัดสรร 5.2.12.3 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศตะวันตก เป็ นพื้นที่ทางเข้าศูนย์ วิทยาศาสตร์ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นศาลา 5.2.12.4 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศตะวันตก เป็ นพื้นที่โล่งริ มน้ า เป็ น มุมมองที่เปิ ดโล่ง สามารถมองเห็นเกาะกลางน้ าได้ 5.2.12.5 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือ เป็ นพื้นที่การ ปลูกพรรณไม้เฉลิมพระเกียรติ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่ง สามารถมองเห็นชุมชนและแหล่งน้ า 5.2.12.6 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศเหนือ เป็ นพื้นที่ถนนรองใน โครงการเป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่ง สามารถมองเห็นชุมชนและแหล่งน้ า 5.2.12.7 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศเหนือ เป็ นพื้นที่ที่มองจากถนนรอบ นอกโครงการ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่ง สามารถมองเห็นโครงการและแหล่งน้ าได้ 5.2.12.8 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศตะวันออก เป็ นพื้นที่เกาะกลางน้ า เป็ นที่ราบ เชื่อมกับทางเข้าเกาะกลางน้ า เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่ง สามารถมองเห็นชุมชนและแหล่งน้ า 5.2.12.9 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศตะวันออก เป็ นพื้นที่ชุ่มน้ า เป็ น พื้นที่อยูร่ ะหว่างเกาะกลางน้ า เป็ นที่ราบลุ่มลงไป เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่ง สามารถมองเห็นพื้นที่ชุ่มน้ า แหล่งน้ า และกรงนก 5.2.12.10 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศใต้ เป็ นพื้นที่เนิน สลับกับพื้นที่ ราบ เพราะเป็ นพื้นที่ใช้สาหรับการแข่งขันและฝึ กซ้อมรถวิบาก เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่ง สามารถ มองเห็นชุมชนและแหล่งน้ า 5.2.12.11 ทัศนียภาพและมุมมองทางด้านทิศใต้ เป็ นพื้นที่ชุ่มน้ า เป็ นมุมมองที่ เปิ ดโล่ง สามารถมองเห็นพื้นที่ชุ่มน้ าอีกฝั่งได้ สวนสุ ขภาพ และกรงนก


79

หมู่บ้านโนนชัยและหมู่บ้านจัดสรร 0-5% 0-5%

0-5%

หมู่บ้านจัดสรร

0-5%

ศู นย์ ราชการ 0-5%

และสถานี

0-5%

พืน้ ทีโ่ ครงการ

ประมงนา้ จืด 0-5%

ในอนาคต ( 800 ไร่ )

สวนสุ ขภาพและพืน้ ที่ Wetland( 360 ไร่ )

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 10 สั ญลักษณ์ ที่มา

แสดงที่แหล่งน้ าและการระบายน้ า ทิศทางน้ าไหล เทศบาลนครขอนแก่น

Scale 1: 5000


80

หมู่บ้านโนนชัยและหมู่บ้านจัดสรร

หมู่บ้านจัดสรร

พืน้ ทีโ่ ครงการ

ศู นย์ ราชการ

ในอนาคต ( 800 ไร่ )

และสถานี ประมงนา้ จืด สวนสุ ขภาพและพืน้ ที่ Wetland( 360 ไร่ )

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 11

แสดงระบบทางสัญจร

สั ญลักษณ์

แสดงในรู ปภาพ

ที่มา

การสารวจ

Scale 1: 5000


81

หมู่บ้านโนนชัยและหมู่บ้านจัดสรร

หมู่บ้านจัดสรร ศู นย์ ราชการ และสถานี พืน้ ทีโ่ ครงการ

ประมงนา้ จืด

ในอนาคต ( 800 ไร่ )

สวนสุ ขภาพและพืน้ ที่ Wetland( 360 ไร่ )

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 12 สั ญลักษณ์ ที่มา

แสดงลักษณะพืชพรรณเดิม พืชพรรณ การสารวจ

Scale 1: 5000


82

หมู่บ้านโนนชัยและหมู่บ้านจัดสรร

หมู่บ้านจัดสรร ศู นย์ ราชการ และสถานี

พืน้ ทีโ่ ครงการ

ประมงนา้ จืด

ในอนาคต ( 800 ไร่ )

สวนสุ ขภาพและพืน้ ที่ Wetland ( 360 ไร่ )

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 13 สั ญลักษณ์ ที่มา

แสดงสิ่ งปลูกสร้างเดิม ที่ต้ งั สิ่ งปลูกสร้างเดิม

การสารวจ

Scale 1: 5000


83

หมู่บ้านโนนชัยและหมู่บ้านจัดสรร

หมู่บ้านจัดสรร

พืน้ ทีโ่ ครงการ

ศู นย์ ราชการ

ในอนาคต ( 800 ไร่ )

และสถานี ประมงนา้ จืด สวนสุ ขภาพและพืน้ ที่ Wetland ( 360 ไร่ )

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 14

แสดงระบบสาธารณูปโภค

สั ญลักษณ์

แสดง ในรู ปภาพ

ที่มา

การสารวจ

Scale 1: 5000


84

หมู่บ้านโนนชัยและหมู่บ้านจัดสรร พืน้ ทีป่ ระมง พืน้ ทีป่ ลูกพรรณไม้ เฉลิมพระเกียรติ

หมู่บ้านจัดสรร

พืน้ ทีน่ า้ พืน้ ทีเ่ กาะกลางนา้ พืน้ ทีโ่ ครงการ

พืน้ ทีเ่ รียนรู้

ศู นย์ ราชการ

พืน้ ทีช่ ่ ุมนา้

ในอนาคต ( 800 ไร่ )

และสถานี ประมงนา้ จืด สวนสุ ขภาพและพืน้ ที่ Wetland( 360 ไร่ )

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 15

แสดงการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ดินเดิม

สั ญลักษณ์

แสดงในรู ปภาพ

ที่มา

การสารวจ

Scale 1: 5000


85

หมู่บ้านโนนชัยและหมู่บ้านจัดสรร

หมู่บ้านจัดสรร ศู นย์ ราชการ

พืน้ ทีโ่ ครงการ

และสถานี

ในอนาคต ( 800 ไร่ )

ประมงนา้ จืด สวนสุ ขภาพและพืน้ ที่ Wetland( 360 ไร่ ) มุมมองทีด่ ี มุมมองทีไ่ ม่ ดี

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 16

แสดงทัศนียภาพและมุมมอง

สั ญลักษณ์

แสดงในรู ปภาพ

ที่มา

การสารวจ

Scale 1: 5000


86

ภาพที่ 25 ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก ทีม่ า : การสารวจ เป็ นภาพของพื้นที่ทางเข้าโครงการ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นอาคาร และ สนามเด็กเล่น

ภาพที่ 26 ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก ทีม่ า : การสารวจ เป็ นภาพของพื้นที่โล่งระหว่างอาคารและสนามเด็กเล่น เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถ มองเห็นหมู่บา้ นจัดสรร

ภาพที่ 27 ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก ทีม่ า : การสารวจ เป็ นภาพของพื้นที่ทางเข้าศูนย์วทิ ยาศาสตร์ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นอาคาร


87

ภาพที่ 28 ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก ทีม่ า : การสารวจ เป็ นภาพของพื้นที่โล่งริ มน้ า เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นเกาะกลางน้ าได้

ภาพที่ 29 ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก ทีม่ า : การสารวจ เป็ นพื้นที่ปลูกพรรณไม้เฉลิมพระเกียรติ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นถนน ชุมชน และแหล่งน้ า

ภาพที่ 30 ทัศนียภาพทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทีม่ า : การสารวจ เป็ นพื้นที่การปลูกพรรณไม้เฉลิมพระเกียรติ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นชุมชน และแหล่งน้ า


88

ภาพที่ 31 ทัศนียภาพทางทิศเหนือ ทีม่ า : การสารวจ เป็ นพื้นที่ถนนรองในโครงการ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่ง มองเห็นชุมชน แหล่งน้ า และถนน

ภาพที่ 32 ทัศนียภาพทางทิศเหนือ ทีม่ า : การสารวจ เป็ นพื้นที่ที่มองจากถนนรอบนอกโครงการ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่ง สามารถมองเห็นพื้นที่ โครงการและแหล่งน้ า

ภาพที่ 33 ทัศนียภาพทางทิศตะวันออก ทีม่ า : การสารวจ เป็ นพื้นที่ราบ เชื่อมกับทางเข้าเกาะกลางน้ า เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นชุมชน และแหล่งน้ า


89

ภาพที่ 34 ทัศนียภาพทางทิศตะวันออก ทีม่ า : การสารวจ เป็ นพื้นที่ชุ่มน้ า เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นพื้นที่ชุ่มน้ า และกรงนก

ภาพที่ 35 ทัศนียภาพทางทิศใต้ ทีม่ า : การสารวจ เป็ นพื้นที่เนินสลับกับพื้นที่ราบ เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นพื้นที่ชุ่มน้ า และ แหล่งน้ า


90

ภาพที่ 36 ทัศนียภาพทางทิศใต้ ทีม่ า : การสารวจ เป็ นพื้นที่ชุ่มน้ า เป็ นมุมมองที่เปิ ดโล่งสามารถมองเห็นพื้นที่ชุ่มน้ า และกรงนก


91

หมู่บ้านโนนชัยและหมู่บ้านจัดสรร

B E

A

C

หมู่บ้านจัดสรร ศู นย์ ราชการ และสถานี

D

ประมงนา้ จืด

พืน้ ทีโ่ ครงการ ในอนาคต ( 800 ไร่ )

สวนสุ ขภาพและพืน้ ที่ Wetland( 360 ไร่ )

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 17

แสดงการวิเคราะห์ศกั ยภาพของพื้นที่

สั ญลักษณ์

แสดงในรู ปภาพ

ที่มา

การสารวจ

Scale 1: 5000


92

5.3 ความสั มพันธ์ ระหว่างพืน้ ทีใ่ ช้ สอยภายในโครงการ 5.3.1 ประเภทของผูใ้ ช้โครงการ การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับผูใ้ ช้แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้ 5.3.1.1 ผูใ้ ช้หลัก ได้แก่ กลุ่มเด็ก นักเรี ยน นักศึกษา นักท่องเที่ยว และ ประชาชนในท้องถิ่น 1) ประชาชนในท้องถิ่น มาจากกลุ่มคนที่มีความสนใจอยูภ่ ายใน รอบๆบริ เวณพื้นที่โครงการ เป็ นชุมชนที่อยูต่ ิดกับพื้นที่และคนในเขตพื้นที่ ชุมชนเมือง 2) นักเรี ยน/นักศึกษา มาจากโรงเรี ยน สถานศึกษาต่างๆ ที่อยูใ่ นเขต อาเภอเมือง และจังหวัดขอนแก่น รวมไปถึง ในจังหวัดอื่นๆในเขตภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ 3) นักท่องเที่ยว คือกลุ่มคนที่มาจากการท่องเที่ยวทั้งมาแบบทัศนาจร และแบบถาวร มีท้ งั ชาวไทยและชาวต่างประเทศ 5.3.1.2 ผูใ้ ช้รอง ได้แก่ ประชาชนในเขตพื้นที่ใกล้เคียง และเจ้าหน้าที่ 1) ประชาชนพื้นที่ใกล้เคียง มาจากกลุ่มคนที่อยูใ่ นเขตพื้นที่นอก เทศบาลนครขอนแก่น และประชาชนทัว่ ไปที่มาจากพื้นที่อื่นๆ 2) เจ้าหน้าที่ คือกลุ่มคนที่ดูแลงานภายในอุทยานการศึกษา 5.3.2 การแบ่งช่วงอายุผเู ้ ข้าร่ วมโครงการ แบ่งตามช่วงอายุ อายุ 0-4 ปี อยูใ่ นความดูแลผูป้ กครอง ไม่สามารถเลือกกิจกรรมทาได้ จะใช้พ้นื ที่ในส่ วนของการเรี ยนรู ้ อายุ 5-14 ปี อยูช่ ่วงวัยเด็ก-วัยรุ่ น เลือกกิจกรรมกึ่งอิสระ จะใช้พ้นื ที่ใน ส่ วนของการเรี ยนรู ้ พื้นที่พกั ผ่อนและทากิจกรรม สวนพรรณไม้


93

อายุ 15-19 ปี อยูช่ ่วงวัยรุ่ น กิจกรรมอิสระ จะใช้พ้นื ที่ในส่ วนของศูนย์ การเรี ยนรู ้ พื้นที่พกั ผ่อนและทากิจกรรม สวนพรรณไม้ อายุ 20-24 ปี อยูช่ ่วงวัยรุ่ น-วัยผูใ้ หญ่ กิจกรรมอิสระที่เป็ นประโยชน์ จะ ใช้พ้นื ที่ในส่ วนของพื้นที่ของการเรี ยนรู ้ พักผ่อนและทากิจกรรม อายุ 25-59 ปี อยูช่ ่วงวัยทางาน กิจกรรมอิสระที่เป็ นประโยชน์ต่อสังคม จะใช้พ้นื ที่ในส่ วนของพื้นที่ของการเรี ยนรู ้ พักผ่อนและทากิจกรรม อายุ 60-79 ปี อยูช่ ่วงวัยผูส้ ู งอายุ กิจกรรมที่พกั ผ่อน จะใช้พ้นื ที่ในส่ วน ของพื้นที่พกั ผ่อนและทากิจกรรม อายุ 80 ปี ขึ้นไป อยูช่ ่วงวัยชรา จะใช้พ้นื ที่ในส่ วนของพื้นที่พกั ผ่อนและ ทากิจกรรม 5.4.3 การคาดการณ์จานวนผูม้ าใช้โครงการ โดยแบ่งวิธีคิด ดังนี้ 5.4.3.1 จากข้อมูลสถิติ ปี 2553 มีปริ มาณประชากรที่อาศัยอยูใ่ นจังหวัด ขอนแก่น 1,767,601 คน จากการคาดการณ์ โดยกาหนดเป้ าหมายของผูใ้ ช้โครงการ ทั้งหมด 30% ของจานวนประชากรในจังหวัดขอนแก่น ปริ มาณประชาชนในจังหวัดขอนแก่น มีท้ งั หมด คิดเป็ น

1,766,601 คน ((1,766,601x30)/100)= 529,980 คน/ปี

และใน 1 ปี โครงการจะเปิ ด คิดเป็ น

317 วัน 529,980/317 = 1671 คน/วัน

5.4.3.2 กาหนดเป้ าหมายของผูใ้ ช้โครงการ คิด 10% จากจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ กาฬสิ นธุ์ มหาสารคาม ชัยภูมิ หนองบัวลาภู ดังนี้ ปริ มาณประชาชนในจังหวัดใกล้เคียง มีท้ งั หมด คิดเป็ น และใน 1 ปี โครงการจะเปิ ด

2,113,902 คน ((2,113,902x10)/100) = 211,390 คน/ปี 317 วัน


94

คิดเป็ น

211,390/317 = 793 คน/วัน 5.4.3.3 คาดการณ์จากจานวนนักท่องเที่ยวในปี พ.ศ. 2553 (ทั้งชาวไทยและชาว

ต่างประเทศ) ซึ่ งเป้ าหมายของนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มาเพื่อพักผ่อนและเที่ยวชมธรรมชาติ มากกว่าจะเข้ามาใช้บริ การแหล่งเรี ยนรู ้ประเภทนี้ จึงคาดการณ์เพียง 5% ของจานวนนักท่องเที่ยว สาหรับจานวนนักท่องเที่ยวที่มาเพื่อทัศนาจรและมาทัศนศึกษาในปี พ.ศ.2553 (ทั้งชาวไทยและชาว ต่างประเทศ) คาดการณ์วา่ จะเข้ามาใช้บริ การถึง 15% ของจานวนนักท่องเที่ยว ดังนั้นจะได้วา่ จานวนนักท่องเที่ยว คิดเป็ น

1,751,513 คน/ปี (5x1,751,513)/100 = 87,575 คน/ปี

และใน 1 ปี โครงการจะเปิ ด

317 วัน

คิดเป็ น

87,575 /317 = 276 คน/วัน

จานวนนักท่องเที่ยวที่มาเพื่อทัศนาจรและมาทัศนศึกษา คิดเป็ น และใน 1 ปี โครงการจะเปิ ด คิดเป็ น

707,341 คน/ปี

(15x707,341)/100 = 106,101 คน/ปี 317 วัน 106,101/317 = 334 คน/วัน

ดังนั้น รวมแล้วจะมีนกั ท่องเที่ยวเข้ามาใช้โครงการปี ละ 87,575+106,101= 193,676 คน/ปี และใน 1 ปี โครงการจะเปิ ด คิดเป็ น ดังนั้น คิดจานวนผูใ้ ช้โครงการทั้งหมด และใน 1 ปี โครงการจะเปิ ด ดังนั้น จะมีผเู ้ ข้าชมโครงการประมาณ

317 วัน 193,676/317 = 610 คน/วัน 529,980+211,390+193,676= 935,046 คน/ปี 317 วัน 935,046/317=2,949 คน/วัน

5.4 การสั งเคราะห์ หาศักยภาพของพืน้ ทีโ่ ครงการ การประเมินหาศักยภาพของพื้นที่โครงการได้มาจากการวิเคราะห์ลกั ษณะของแต่ละพื้นที่ ใช้สอย (Zone) ว่ามีขอ้ จากัด หรื อศักยภาพอย่างไร เพื่อให้สอดคล้องกับกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ ดังนี้


95

ตารางที่ 4 ตารางสรุ ปศักยภาพของพื้นที่ Zone Zone A

Characteristics

Zone B พื้นที่ปลูกต้นไม้

Constrain

มีการเข้าถึงได้ง่าย ทั้งยัง

ถูกจากัดมุมมอง

มีแหล่งเรี ยนรู ้ ควรมีการ

บางส่ วนด้วยป่ า

สิ่ งก่อสร้าง เช่น อาคาร

จัดความสวยงาม ความ

และหมู่บา้ นจัดสรร

ส่ งเสริ มการปลูกต้นไม้

ร่ มรื่ นของพื้นที่ เพิม่ เสริ ม ร้านอาหาร

สนามเด็กเล่น ศูนย์

พัฒนาการ และส่ งเสริ ม

วิทยาศาสตร์

การออกกาลังกาย

เป็ นพื้นทางเข้าหลัก มี

พื้นที่ทางเข้าด้าน ถนนล้อมรอบบึง มี ทิศตะวันตก

Potential

เป็ นพื้นที่มีการปลูกต้นไม้ เป็ นพื้นที่ติดถนนรอบบึง

ถูกจากัดมุมมอง

เฉลิมพระเกียรติ

บางส่ วนด้วยป่ า

สามารถสร้างกิจกรรม

ต่างๆที่เป็ นการเสริ มสร้าง และหมู่บา้ นจัดสรร

เฉลิมพระเกียรติ ทางด้านทิศ

ความสัมพันธ์ที่ดี

ร้านอาหาร

มีมุมมองที่ดี มองเห็น

ทางเข้าอยูท่ างด้าน

ตะวันตกและทิศ เหนือ Zone C

เป็ นพื้นที่เนินสลับสู ง-ต่า

พื้นที่เกาะกลางน้ า เพราะเป็ นพื้นที่ใช้สาหรับ แม่น้ ารอบทิศทาง การแข่งขันและฝึ กซ้อม

สามารถสร้างกิจกรรมที่

การแข่งขันรถวิบาก

เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ และ ดึงดูดความสนใจของ นักท่องเที่ยวได้

Zone D

เป็ นพื้นที่มีระบบนิเวศ

พื้นที่ติดกับสวนสุ ขภาพ

พื้นที่ชุ่มน้ า

เป็ นพื้นที่ชุ่มน้ า มีสัตว์ที่

และพื้นที่ชุ่มน้ า มี

อยูอ่ าศัย เช่น นกสายพันธุ์ ทัศนียภาพที่สามารถ ต่างๆ ปลาต่างๆ

มองเห็นน้ า และมองเห็น กรงนกที่อยูบ่ ริ เวณสวน สุ ขภาพ

ทิศเหนือ


96

ตารางที่ 4 ตารางสรุ ปศักยภาพของพื้นที่ (ต่อ) Zone

Characteristics

Potential

Zone E

เป็ นส่ วนของน้ า ภายใน เป็ นแหล่งน้ าขนาดใหญ่ อยู่

พื้นที่น้ า

โครงการ อยูต่ รงกลาง

ใจกลาง สามารถออกแบบ

ของพื้นที่

ให้เป็ นพื้นที่พกั ผ่อน มี

Constrain

กิจกรรมทางน้ าได้ ตารางที่ 5 ตารางสรุ ปแนวทางการพัฒนาพื้นที่โครงการ Area

Program Development

Area A

เป็ นพื้นที่ทางเข้า ควรมีการพัฒนาให้มีส่วนของสวนต้อนรับ

พื้นที่ทางเข้า

จุดบริ การนักท่องเที่ยว สวนต้อนรับ พื้นที่พกั ผ่อน ลาน อเนกประสงค์ ลานออกกาลังกาย

Area B

เดิมบางส่ วนเป็ นพื้นที่ปลูกป่ าเฉลิมพระเกียรติ สามารถ

พื้นที่ทางด้านทิศ

พัฒนาให้เป็ นพื้นที่สีเขียวเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวติ เพิ่มกิจกรรม

ตะวันตกและทิศ

ทางธรรมชาติ คือสวนวรรณคดี ให้ได้ศึกษาพรรณไม้มาก

เหนือ

ยิง่ ขึ้น

Area C

บริ เวณเกาะกลางน้ า มีมุมมองที่สวยงามเป็ นจุดดึงดูดสายตา

พื้นที่เกาะกลางน้ า สามารถพัฒนาให้เป็ นจุดพักผ่อน เพิ่มพื้นที่การเรี ยนรู ้ สร้าง พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ า ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการเรี ยนรู้ Area D พื้นที่ชุ่มน้ า

ควรมีการอนุรักษ์และส่ งเสริ มการศึกษาธรรมชาติ ในพื้นที่ ชุ่มน้ า สร้างสะพานไม้ เพื่อให้ศึกษาระบบนิเวศของ ธรรมชาติโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่ งมีชีวติ ในพื้นที่ชุ่มน้ า

Area E

เป็ นพื้นที่น้ า ควรมีการอนุรักษ์และส่ งเสริ มการศึกษาพรรณ

พื้นที่น้ า

ไม้น้ า

Note


97

5.5 ความต้ องการการใช้ พนื้ ทีภ่ ายในโครงการ ZONE

Program Requirement & Description ผูใ้ ช้บริ การ(USER) Requirement/Description นักเรี ยน /นักศึกษา

1.ส่ วนพื้นที่พกั ผ่อนและ นันทนาการ - สวนต้อนรับ - ลานกิจกรรม - ศาลาพักผ่อน - ร้านจาหน่ายพรรณ ไม้ - ท่าน้ า - ตลาดน้ า - ร้านอาหาร - ร้านอาหารริ มน้ า - สปาสมุนไพร

นักท่อง เที่ยว

ประชาชน ในท้องถิ่น

ประชาชน พื้นที่ ใกล้เคียง

ขนาดพื้นที่ (ตรม.) ขนาดพื้นที่ จานวน พื้นที่รวม

เจ้าหน้าที่

1 1

3 2

3 3

3 2

3 3

1 0

3 3

3 2

2 2

3 3

2 3 2 2 1

3 3 3 3 3

3 3 3 3 3

3 3 3 3 2

3 3 3 3 3

เป็ นพื้นที่ออกกาลังกายและพักผ่อน เพิ่ม ศักยภาพ และเพิ่มคุณภาพชีวติ พื้นที่ทางเข้าโครงการ เป็ นลานอเนกประสงค์สามารถทากิจกรรม ต่างๆได้ เช่น ลานออกกาลังกาย เป็ นต้น ศาลาพักผ่อนริ มลานกิจกรรม จัดจาหน่ายพรรณไม้ที่ได้จากโดม พฤกษศาสตร์ ตลาดริ มน้ า เป็ นศูนย์อาหาร นวดสมุนไพร ส่ วนนี้จะเชื่อมกับสวน

300 572

1 1

300 572

5 200

7 1

35 200

455 455 470 410 147+117

1 1 1 1 1

455 455 470 410 246 97


98

- ทางเดินเท้าขนาด 3 เมตร - ทางเดินเท้าขนาด 1.5 เมตร - ลานจอดรถ - พื้นที่สีเขียว พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด

3

3

3

3

3

สมุนไพร ทางเดินหลัก อยูร่ ิ มน้ า

2

3

3

3

3

ทางเดินรองภายในพื้นที่

1 1

1 3

1 3

1 3

1 3

3

2

1

1

2

3 3 3 3

2 2 2 2

1 1 1 1

1 1 1 1

2 2 2 2

จัดแสดงสมุนไพรเป็ นกลุ่มตามลักษณะ ของอาการต่างๆ ทั้งหมด 10 กลุ่ม มะขามป้ อม ชะเอมไทย ปี ป จิก มะกรู ด ไพล มะแว้งเครื อ ฯลฯ กะดังงาไทย บุนนาค การะเกด ฯลฯ ชองระอา ทองหลาง รางจืด มะขวิด ฯลฯ กุ่มบก ข่า ขมิ้นชัน ใบระนาด มะยม ฯลฯ กรรณิ การ์ กฤษณา กันเกรา ตะไคร้ ฯลฯ

3

2

1

1

2

กระท้อ กระชาย กระท้อน ทับทึม ฯลฯ

2.สวนสมุนไพร -กลุ่มยาแก้ไอ ขับ เสมหะ - กลุ่มยาบารุ งหัวใจ - กลุ่มยาแก้อกั เสบ - กลุ่มยาแก้โรคผิวหนัง - กลุ่มยาแก้อ่อนเพลีย บารุ งกาลัง - กลุ่มยาแก้บิด

กว้าง 3 ม.

1

1500

กว้าง 1.5 ม. 2445

1

950

1 1

2455 10622 18670 (2.77%)

78

1

78

78 78 78 78

1 1 1 1

78 78 78 78

78

1

78 98


99

ท้องเดิน โรคกระเพาะ - กลุ่มยาแก้ปวดฟัน - กลุ่มยารักษา เบาหวาน - กลุ่มยาขับปั สสาวะ - กลุ่มยาถ่ายพยาธิ - พื้นที่ปลูกไม้หอม - ทางเดินเท้าขนาด 3 เมตร - ทางเดินเท้าขนาด 1.5 เมตร - พื้นที่สีเขียว พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด 3.โดมพฤกษศาสตร์

1.1 ภายในโดม 1

3 3

2 2

1 1

1 1

2 2

ข่อย กานพลู ดาวเรื อง ผักชี มะอึก ฯลฯ กระแต ไต่ไม้ ชะพลู โทงเทง บุก ฯลฯ

3 3 3 3

2 2 2 2

1 1 1 1

1 1 1 1

2 2 2 2

กระเจี๊ยบแดง ทองกวาว ทานตะวัน ฯลฯ แก้ว ทับทิม มะขาม มะเกลือ มะเฟื อง ฯลฯ บุนนาค พิกุล กรรณิ การ์ พะยอม ฯลฯ

3

2

1

1

2

3

2

1

1

2

78 78

1 1

78 78

78 78 78 กว้าง 3 ม.

1 1 1 1

78 78 78 257

กว้าง 1.5 ม.

1

559

1

7799 9392 (1.54%)

จัดแสดงพรรณไม้ที่มีในพื้นถิ่นพร้อมทั้ง พรรณไม้ต่างถิ่นทั้งในและนอกโดม พฤกษศาสตร์ จัดแสดงพรรณไม้ที่มีในจังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 99


100

- พรรณไม้ในจังหวัด ที่มาจากภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 1.2 ภายในโดม 2 - พรรณกล้วยไม้ - พรรณไม้เมืองร้อน - พรรณไม้ดอก - สวนป่ า - ทางเดินเท้าขนาด 3 เมตร - ทางเดินเท้าขนาด 1.5 เมตร - พื้นที่สีเขียว - เรื อนเพาะชา - สานักงานสวน พฤกษศาสตร์ พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด 4.สวนวรรณคดี

3

3

1

1

2

3 3 3 3 3

3 3 3 3 3

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

2 2 2 2 1

3

3

1

1

1

1 0 1

1 0 1

1 0 1

1 0 1

1 3 3

1230

จัดแสดงพรรณไม้ที่มาจากต่างถิ่น พรรณกล้วยไม้ชนิดต่างๆ เช่น รองเท้านารี ตะบองเพ็ด ไม้พมุ่ ให้ดอก พรรณไม้ต่างๆปลูกแบบป่ าธรรมชาติ

1

1230

1 1 1

2126 2126 2126

1

297

1

189

1 1 1

242 300 246

6378

3543 กว้าง 3 ม. กว้าง 1.5 ม. 300 246

11333 (1.89%) สวนแสดงพรรณไม้ในวรรณคดี 100


101

- สวนป่ า - สวนน้ า - ลาน - บ้านทรงไทย - ทางเดินเท้าขนาด 3 เมตร - ทางเดินเท้าขนาด 1.5 เมตร - พื้นที่สีเขียว พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด 5.สวนปาล์ม - จุดรอรถบริ การ - ร้านขนม กาแฟ - ลาน - สวนปาล์ม - ทางเดินเท้าขนาด 3 เมตร

3 3 3 3 3

2 2 2 2 2

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

3

2

1

1

1

3

2

1

1

1

3 1 2 3

3 3 2 3

1 1 1 1

1 1 1 1

3 3 1 2

3

3

1

1

1

จัดแสดงในแบบคล้ายป่ าหิมพานต์ สวนที่มีน้ าตกไหลลงมาเป็ นริ มธาร ลานพักระหว่างที่ชมสวนกับบ้านทรงไทย จัดแสดงบ้านทรงไทยให้โบราณ

2840 1288 240 210 กว้าง 3 ม.

1 1 1 3 1

2840 1288 240 630 705

กว้าง 1.5 ม.

1

4313 5532 15548 (2.36%)

จุดสาหรับรอขึ้นรถบริ การ ร้านนัง่ พักระหว่างรอรถบริ การ จัดแสดงปาล์มชนิดต่างๆ โดยจะปลูกเป็ น แถว ริ มน้ า และเป็ นกลุ่ม

200 25 132 8293

2 2 2 1

400 50 264 8293

กว้าง 3 ม.

1

2574 101


102

- ทางเดินเท้าขนาด 1.5 เมตร - พื้นที่พกั ผ่อน - พื้นที่สีเขียว พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด 6.ทางเข้าและส่ วน ต้อนรับศูนย์การเรี ยนรู้ - อาคารต้อนรับ - ลานจอดรถ - จุดรอรถ - ร้านอาหาร - ทางเดินเท้าขนาด 3 เมตร - พื้นที่สีเขียว พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด 7.ศูนย์การเรี ยนรู้ - ศูนย์วทิ ยาศาสตร์

3

3

1

1

1

1 3

3 1

1 0

1 0

1 2

กว้าง 1.5 ม. 9581

1

478

1

9581 4881 26521 (3.77%)

3500 2795 200 1170 กว้าง 3 ม.

1 1 1 1 1

3500 2795 200 1170 709

ทางเข้าหลักของศูนย์การเรี ยนรู้ 3 1 1 2 3

3 1 1 3 3

2 1 1 2 3

2 1 1 2 2

3 1 1 3 3

3

3

3

3

3

3

3

2

1

3

มีอาคารจอดรถอยู่ ชั้น 1 จอดรถยนต์และรถบัส จุดรอรถ และจุดเข้าอาคาร ร้านอาหารริ มน้ า รวมระเบียงและลาน

33904 42278 (7.01%) 3446

1

3446 102


103

- ลานวิทยาศาสตร์ - โลกแมลง - พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าจืด - ร้านอาหาร - ศาลาริ มน้ า - จุดรอรถบริ การ - จุดจอดรถบริ การ - จุดจอดรถยนต์ - ศาลา - อาคารซ่อมบารุ ง - ทางเดินเท้าขนาด 3 เมตร - ทางเดินเท้าขนาด 1.5 เมตร - พื้นที่สีเขียว พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด 8.พื้นที่ชุ่มน้ า - ลาน

3 3 3 1 0 3 0 0 2 0 3

3 3 3 3 3 3 0 0 3 0 3

2 2 2 2 3 3 0 0 3 0 2

1 1 1 3 3 3 0 0 3 0 3

2 2 3 3 1 3 3 3 2 3 3

665 600 3704 375 200 200 2367 874 259 149 14412

1 1 1 1 1 2 1 1 2 1 1

665 600 3704 375 200 200 2367 874 518 149 14412

3

3

2

3

3

7062

1

7062

3

3

3

3

3

3

2

2

1

3

73537 109395 (15.54%) 120

2

240 103


104

- ศาลา - ระเบียง - ทางเดินเท้าขนาด 2 เมตร - พื้นที่สีเขียว พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด 9. พื้นที่น้ า - ผนังกั้นน้ า พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด รวมพื้นที่ใช้สอยทั้ง โครงการ

3 3

2 2

2 2

1 1

3 3

3

2

2

1

3

1

1

1

1

1

16 32 112 2407

2 2 1 1

32 64 112 2407 82159 85014 (12.08%)

11881

1

11881 373422 (53.04%) 704000

ที่มา : จากการสังเคราะห์ขอ้ มูล

104


105

บทที่ 6 แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 แนวคิดในการออกแบบโดยรวม (Main Concept) ชื่อแนวความคิด “PLERN” แนวคิดในการออกแบบโดยรวม ของการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม อุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม บึงทุ่งสร้าง จังหวัดขอนแก่น ซึ่งเป็ นบึงธรรมชาติขนาด ใหญ่อยูใ่ นเขตชุมชนเมือง ทางสานักงานเทศบาลได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม จึงต้องการที่จะอนุรักษ์และส่ งเสริ มพื้นที่ธรรมชาติน้ ีไว้ ดังนั้น ผูอ้ อกแบบ จึงมีแนวคิด ที่จะสร้างให้เป็ นอุทยานการศึกษา สาหรับศึกษาหาความรู ้ทางธรรมชาติ และส่ งเสริ มการอนุรักษ์ 6.1.1 แนวความคิดในการออกแบบวางผัง 6.1.1.1 เคารพความเป็ นธรรมชาติ มาใช้ในการวางผัง โดยมีแหล่งน้ าเชื่อมระหว่าง พื้นที่และวิถีชีวติ โดยไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติที่มีอยูเ่ ดิม การออกแบบจะนา วิถีชีวติ ของคนในชุมชนเข้ามารวมด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็ นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามให้ควบคู่ ไปกับธรรมชาติ 6.1.1.2 คานึงถึงทิศทาง แดด ลม และมุมมองประกอบในการวางตาแหน่งของ กิจกรรม เช่น บริ เวณเกาะกลางน้ าที่สามารถมองเห็นพื้นที่น้ า ได้โดยรอบ จัดให้มีศาลาเพื่อการ พักผ่อน และมีมุมมองที่สวยงาม 6.1.1.3 คานึงถึงการขยายตัวในอนาคต โดยการออกแบบพื้นที่ให้ใช้งานร่ วมกับ กิจกรรมอื่นในบึงทุ่งสร้าง มีเส้นทางเชื่อมเข้ากัน เพื่อง่ายและสะดวกต่อการเดินทางไปยังพื้นที่ อนาคตในบึงทุ่งสร้างได้


106

6.1.1.4 คานึงถึงพื้นที่ชุ่มน้ า ในการออกแบบจะไม่ให้รบกวนในบริ เวณพื้นที่ชุ่มน้ า มากนัก จะจัดให้มีเพียงทางเดินเพื่อเข้าไปศึกษาหาความรู ้ บริ เวณพื้นที่ชุ่มน้ าจะมีการฟื้ นฟูโดยการ ปลูกพรรณไม้น้ าที่มีความจาเป็ นต่อการอนุบาลสัตว์น้ า 6.1.1.5 คานึงถึงพื้นที่อเนกประสงค์ สาหรับคนในชุมชน และคนใกล้เคียง เช่นการ จัดพื้นที่กิจกรรมนันทนาการ จะมีลานกิจกรรมที่สามารถทากิจกรรมต่างๆได้ รวมไปถึงให้เป็ นลาน รวมจิตใจของคนในชุมชนด้วย 6.2 แนวความคิดด้ านใช้ ทดี่ ิน (LAND USE) แนวความคิดด้านการใช้ที่ดินได้มาจาก การวิเคราะห์ศกั ยภาพ ของพื้นที่โครงการ โดยทาง เขาหลักพิจารณาให้ใช้ทางเข้าทางทิศเหนือ ส่ วนถนนเส้นต่างๆที่อยูล่ อ้ มรอบพื้นที่โครงการ สามารถพัฒนาเป็ นทางเข้ารอง เพื่ออานวยความสะดวกแก่ระบบสัญจร ของกิจกรรมต่างๆ แนวคิดการแบ่งพื้นที่ใช้สอย ได้มาจากการวิเคราะห์พ้นื ที่โครงการ รวมทั้งแนวคิดในการ ออกแบบโดยรวมทาให้แบ่งพื้นที่ใช้สอยหลักๆ ได้ดงั นี้ 6.2.1 ส่ วนพื้นที่พกั ผ่อนและนันทนาการ สร้างบรรยากาศที่น่าสนใจและสวยงาม เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวและผูใ้ ช้บริ การ เข้า มาเพื่อการพักผ่อนและท่องเที่ยว ทั้งนี้มีบริ เวณตลาดน้ า ที่จะช่วยดึงดูดผูค้ นให้เข้ามากิจกรรมใน พื้นที่มากยิง่ ขึ้น 6.2.2. พื้นที่สวนสมุนไพร เป็ นส่ วนที่จะช่วยส่ งเสริ มความรู ้ในด้านพืชสมุนไพร ที่สามารถรักษาอาการป่ วย ต่างๆได้ และยังเป็ นส่ วนที่เชื่อมพื้นที่ไปยังบริ เวณสวนพฤกษศาสตร์ ได้ 6.2.3 พื้นที่โดมพฤกษศาสตร์


107

การออกแบบจะออกแบบให้เป็ นพื้นที่ป่าธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ในด้าน ของพืชพรรณ และภายโดมจะจัด แสดงพรรณไม้ต่างถิ่น พรรณไม้ดอก และพรรณไม้ประจาจังหวัด ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6.2.4 พื้นที่สวนปาล์ม การออกแบบจะใช้พรรณไม้ตระกูลปาล์ม ที่มีรูปร่ างแปลกตา เพื่ อกระตุน้ การ เรี ยนรู ้ของนักเรี ยน นักศึกษา รวมถึงผูส้ นใจทัว่ ไปได้ 6.2.5 ศูนย์การเรี ยนรู้ จะมีทางเข้าหลักในส่ วนของพื้นที่น้ ี การออกแบบจะใช้พรรณไม้ประจาจังหวัด ขอนแก่นเป็ นไม้หมายทางเพื่อนาเข้าสู่ พ้นื ที่การศึกษา การจัดพื้นที่จะให้มีความสัมพันธ์และ เชื่อมโยงกัน เพื่อง่ายต่อการเข้าถึงกิจกรรมต่างๆ 6.2.6 พื้นที่ธรรมชาติ การออกแบบให้มีทางเดินเพื่อเข้าไปศึกษาระบบนิเวศทางธรรมชาติ เสริ มพรรณ ไม้น้ า เพื่อเป็ นการอนุรักษ์พ้นื ที่ธรรมชาติดว้ ย 6.3 แนวความคิดเรื่องระบบการสั ญจร ระบบการสัญจรภายในโครงการแบ่งได้เป็ น 2 ระบบ ดังนี้ 6.3.1 ทางสัญจรระบบทางรถยนต์ มีอยูบ่ ริ เวณทางเข้าที่จอดรถยนต์ ไม่อนุญาตให้รถยนต์ เข้าไปไกลเกินลานจอดรถ เพื่อไม่ให้รบกวนรถบริ การของโครงการเว้นแต่ในกรณี ฉุกเฉิ นเท่านั้น ส่ วนระบบทางบริ การ เป็ นถนนแอสฟัลต์ ขนาด 6 เมตร ถูกออกแบบให้อยู่ โดยรอบของโครงการ และในบางส่ วนก็สามารถเข้ามาSERVICE ร่ วมกับทางสัญจรภายใน


108

โครงการได้ในกรณี ฉุกเฉิ นและในเวลาที่ไม่เปิ ดให้บริ การเท่านั้น ระบบทางบริ การจึงสามารถเข้าถึง ได้ทุกพื้นที่ของโครงการ 6.3.2 ทางสัญจรระบบทางเท้า โดยออกแบบส่ วนทางเท้าหลักให้อยูบ่ ริ เวณรอบๆริ มน้ า ภายในโครงการ สาหรับในส่ วนกิจกรรมส่ งเสริ มทักษะด้านต่างๆ จะใช้เส้นทางระบบทางเดินวน (Loop) เพื่อให้ผเู ้ ข้ามาใช้บริ การสามารถใช้กิจกรรมได้อย่างเป็ นลาดับขั้นตอน และมีทางลัด เพื่อ เชื่อมต่อและใช้เป็ นเส้นทางลัดไปยังส่ วนอื่นๆที่ใกล้เคียงกัน ทางสัญจรรองเพื่อใช้ลดั ในกรณี ที่ผู ้ เข้าชมไม่ตอ้ งการเข้าชมในส่ วนอื่นๆ ต่อไปอีก เส้นทางภายในโครงการจะถูกออกแบบให้สัญจรได้ อย่างต่อเนื่อง 6.4 แนวความคิดในการใช้ พชื พรรณ เนื่องจากพื้นที่โครงการมีเรื่ องราวที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละส่ วน ดังนั้นการใช้พืช พรรณเข้ามาเป็ นส่ วนช่วยส่ งเสริ มบรรยากาศในพื้นที่มีความจาเป็ นอย่างมาก และยังให้ร่มเงา เหมาะต่อการพักผ่อนหย่อนใจ 6.2.1 ส่ วนพื้นที่พกั ผ่อนและนันทนาการ การเลือกใช้พรรณไม้ที่ให้ร่มเงา เช่น จามจุรี ชัยพฤกษ์ หางนกยูง ทังนี้เพื่อความร่ ม รื่ น และเพื่อการพักผ่อนในพื้นที่ 6.2.2. พื้นที่สวนสมุนไพร การเลือกใช้พรรณไม้ส่วนใหญ่จะเป็ นพรรณไม้สมุนไพรต่างๆ เช่น ยอ ขิง ฟ้ า ทะลายโจร ฯลฯ ทังนี้ยงั ใช้พรรณไม้หอมรวมด้วย เพื่อส่ งเสริ มให้มีการเดินที่ผอ่ นคลายมากขึ้น 6.2.3 พื้นที่โดมพฤกษศาสตร์


109

การเลือกใช้พรรณไม้จะแบ่งเป็ นสองส่ วน ส่ วนแรกภายในโดมจะใช้พรรณไม้แล้ง ต่างๆ พรรณไม้ดอก และพรรณไม้ประจาจังหวัดในเขตภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ส่ วนภายนอกโดม จะใช้บรรยากาศแบบธรรมชาติ การเลือกใช้พรรณไม้จะใช้แบบธรรมชาติที่ทรงพุม่ ที่หนาแน่น 6.2.4 พื้นที่สวนปาล์ม การออกแบบจะใช้พรรณไม้ตระกูลปาล์ม ที่มีรูปร่ างแปลกตา ปลูกเรื่ องเป็ น แถว เป็ นแนว และเป็ นกลุ่ม 6.2.5 ศูนย์การเรี ยนรู้ บริ เวณทางเข้าจะมีการออกแบบใช้พรรณไม้ประจาจังหวัดขอนแก่นเป็ นไม้หมาย ทางเพื่อนาเข้าสู่ พ้นื ที่การศึกษา ในส่ วนของพื้นที่การศึกษาจะจัดให้เป็ นพรรณไม้สีสัน ให้ดอกตาม ช่วงฤดูแต่จะมีดอกออกตลอดทั้งปี และในส่ วนของพื้นที่ชมนก จะออกแบบให้มีลกั ษณะเป็ นป่ า เพื่อเป็ นที่อยูอ่ าศัยของฝูงนก เละลดการรบกวนต่อสิ่ งปลูกสร้างจากนกอพยพต่างๆ 6.2.6 พื้นที่ธรรมชาติ การเลือกใช้พรรณไม้ จะใช้พรรณไม้น้ าปลูกเสริ มพื้นที่ลงไป และใช้พรรณไม้ที่ สามารถปลูกในน้ าได้ เพื่อให้ร่มเงาในเวลาเดิน


110

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม บึง ทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 18 Bubble Diagram สั ญลักษณ์ ที่มา

แสดงในรู ปภาพ การออกแบบ

Not to scale


111

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 19 Zoning Diagram สั ญลักษณ์ ที่มา

แสดงในรู ปภาพ การออกแบบ

Not to scale


112

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 20 Function Diagram สั ญลักษณ์ ที่มา

แสดงในรู ปภาพ การออกแบบ

Not to scale


113

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมสิ ถาปัตยกรรมอุทยานการศึกษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้ อม บึงทุ่งสร้ าง จังหวัดขอนแก่ น แผนที่ 21 Circulation Diagram สั ญลักษณ์ ที่มา

แสดงในรู ปภาพ การออกแบบ

Not to scale


114

บทที่ 7 รายละเอียดโครงการออกแบบ 7.1 รายละเอียดการออกแบบ ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ 7.1.1 ระบบการสัญจรภายในโครงการ ดังนี้ 7.1.1.1 ทางสัญจรรถยนต์ ในบริ เวณทางเข้าออกหลักของโครงการ เป็ น ถนนลาดยาง (Asphalt) ขนาดความกว้าง 8 เมตร มีเกาะกลางกั้นระหว่างรถเข้า และออก สาหรับ ทางสัญจรรถยนต์ในส่ วนทางเข้า-ออกไปยังบริ เวณลานจอดรถเป็ นถนนลาดยาง (Asphalt) กว้าง 6.00 เมตร 7.1.1.2 ทางสัญจรรถบริ การ เป็ นถนนลาดยาง (Asphalt) ขนาดความกว้าง 6 เมตร 7.1.1.3 ทางสัญจร สาหรับบริ การโครงการ (service Way) จะแยกจากทางสัญจร ของรถบริ การ แต่จะใช้สีที่แตกต่างกัน เพื่อแยกระบบการสัญจร มีขนาดกว้าง 6 เมตร 7.1.1.4 ทางสัญจรเท้าแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้ 1) ทางสัญจรเท้าหลักภายในโครงการ กว้าง 3.00 เมตร ลักษณะพื้นผิวเป็ น ทางเดินอิฐบล็อกตัวหนอนสี น้ าตาล 2) ทางสัญจรรองภายในโครงการ กว้าง 1.50 เมตร ลักษณะพื้นผิวเป็ น ทางเดินอิฐบล็อกตัวหนอนสี น้ าตาล 7.1.2 ระบบประปา มีระบบน้ าประปา ซึ่ งเขตเทศบาลเป็ นผูด้ ูแล 7.1.3 ระบบไฟฟ้ า มีระบบไฟฟ้ า ซึ่งเขตเทศบาลเป็ นผูด้ ูแล 7.1.4 ระบบโทรศัพท์และสื่ อสาร จัดให้มีตโู ้ ทรศัพท์ และระบบสื่ อสารทุกชนิด ในพื้นที่กิจกรรมสาคัญ


115

7.1.5 ระบบดับเพลิง บริ เวณใกล้บึงทุ่งสร้าง มีสถานดับเพลิงตั้งอยูไ่ ม่ห่างจากบึงทุ่งสร้างมากนัก 7.1.6 ระบบบาบัดน้ าเสี ย การจัดการระบบบาบัดน้ าเสี ยจะอยูฝ่ ั่งทิศใต้ของบึงทุ่งสร้าง 7.1.7 ระบบระบายน้ าเสี ย, ป้ องกันน้ าท่วม จัดให้มีทางระบายน้ ารอบบึงทุ่งสร้าง ในส่ วนพื้นที่การออกแบบจัดให้มีท่อระบาย น้ าขนาดใหญ่ เพื่อป้ องกันน้ าท่วม 7.1.8 ป้ าย (SIGNS & SIGNATES) การแสดงข้อความในแต่ละส่ วนแตกต่างกันออกไป มีการใช้สีสันที่ดึงดูความ สนใจของเด็ก และออกแบบให้เป็ นรู ปทรงที่ดูตื่นเต้น และน่าสนใจ ใช้ความสู งตามมาตรฐานความ สู งอยูใ่ นช่วงมุมเงยและก้มจากระดับสายตา ระดับสู งประมาณ 0.80 เมตร 1.20 เมตรและ 1.80 เมตร 7.2 รายละเอียดรู ปแบบของสิ่ งปลูกสร้ าง 7.2.1 สิ่ งปลูกสร้างถาวร สิ่ งปลูกสร้างที่เกิดขึ้นในโครงการ ทั้งหมดถูกสร้ างขึ้นใหม่ อาคารส่ วนใหญ่สร้างแบบถาวร เช่น 7.2.1.1 โดมพฤกษศาสตร์ เป็ นศูนย์รวบรวมพรรณไม้ และให้ความรู้ดา้ นพรรณไม้ 7.2.1.2 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ ให้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ มีการจัดกิจกรรมทัง ภายนอกและภายในอาคาร 7.2.1.3 พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าจืด จัดรวบรวมพันธ์ปลาน้ าจืด และมีบ่อน้ าสาหรับเลี้ยง ปลา รวมไปถึงมีอุโมงค์ใต้น้ าด้วย 7.2.1.4 อาคารต้อนรับ เป็ นอาคารที่รวบรวมผังการเดินทางโดยย่อในพื้นที่ โครงการ และเป็ นจุดประชาสัมพันธ์ต่างๆ 7.2.1.5 บ้านทรงไทย แสดงให้เห็นถึงสถาปัตยกรรมไทยที่สวยงาม 7.2.1.6 สานักงานสวนพฤกษศาสตร์ ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์เรื่ องพรรณไม้ และดูแลพรรณไม้


116

7.2.1.7 ลานอเนกประสงค์ต่างๆ เป็ นตัวจาแนกกิจกรรม หรื อเป็ นศูนย์รวมกิจกรรม ต่างๆ 7.2.1.8 โลกแมลง จัดแสดงสัตว์และแมลงต่างๆ 7.2.2 สิ่ งปลูกสร้างชัว่ คราว ได้แก่ ร้านค้า ซุ ม้ ขายของ ที่ร้านจะเปลี่ยนแปลงได้ตามความ ต้องการของคนที่เข้ามาเที่ยวชม


117

บทที่ 8 ผลงานการออกแบบ 8.1 แผ่นงานที่ 1 SITE INTRODUCTION & SITE INVENTORY (ดูภาพที่ 37) 8.1.1 ความเป็ นมาของโครงการ 8.1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 8.1.3 ที่ต้ งั โครงการและอาณาเขตติดต่อ 8.1.4 สภาพทัว่ ไปของพื้นที่โครงการ 8.1.5 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ 8.1.6 การเชื่อมโยงพื้นที่โครงการกับพื้นที่สาคัญอื่นๆ 8.2 แผ่นงานที่ 2 SITE ANALYSIS (ดูภาพที่ 38) 8.2.1 สภาพภูมิอากาศ 8.2.2 ลักษณะภูมิประเทศ 8.2.3 สภาพธรณี วทิ ยา โครงสร้างดิน 8.2.4 ความลาดชันและระดับของพื้นที่ 8.2.5 แหล่งน้ าและทางระบายน้ าธรรมชาติ 8.3 แผ่นงานที่ 3 SITE ANALYSIS (ดูภาพที่ 39) 8.3.1 การใช้ประโยชน์ที่ดินในโครงการ 8.3.2 ผังพืชพรรณเดิม 8.3.3 สิ่ งปลูกสร้างเดิม 8.3.4 ระบบทางสัญจร 8.3.5 ระบบสาธารณูปโภค และระบบสาธารณูปการ 8.3.6 ข้อมูลด้านสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม


118

8.4 แผ่นงานที่ 4 SITE ANALYSIS (ดูภาพที่ 40) 8.4.1 ทัศนียภาพภายในและภายนอกโครงการ 8.4.2 ข้อมูลผูใ้ ช้โครงการ 8.4.3 ข้อมูลพิเศษ 8.5 แผ่นงานที่ 5 SITE SYNTHESIS (ดูภาพที่ 41) 8.5.1 การวิเคราะห์คุณลักษณะของพื้นที่โครงการ 8.5.2 การวิเคราะห์ศกั ยภาพในการพัฒนาพื้นที่โครงการ 8.5.3 การวิเคราะห์ความต้องการของพื้นที่โครงการ 8.5.4 ตารางแสดงลักษณะขององค์ประกอบต่างๆในพื้นที่โครงการ 8.6 แผ่นงานที่ 6 DESIGN CONCEPT (ดูภาพที่ 42) 8.6.1 แนวความคิดหลัก 8.6.2 แผนผังอธิบายแบบวงกลม 8.6.3 แผนผังอธิ บายการแบ่งพื้นที่ใช้สอย 8.6.4 แผนผังอธิ บายการใช้สอยที่สัมพันธ์กบั พื้นที่ 8.6.5 แผนผังอธิบายระบบทางสัญจร 8.6.6 แผนผังอธิ บายแบบพื้นที่วา่ ง 8.7 แผ่นงานที่ 7 DESIGN CONCEPT (ดูภาพที่ 43) 8.7.1 แผนผังอธิบายพืชพรรณ 8.7.2 แผนผังอธิ บายแนวคิดทั้งหมดในโครงการ 8.8 แผ่นงานที่ 8 MASTER PLAN (ดูภาพที่ 44) 8.8.1 ผังแม่บทแสดงการใช้ที่ดิน มาตราส่ วน 1:1250


119

8.9 แผ่นงานที่ 9 DETAIL PLAN A (ดูภาพที่ 45) 8.9.1 ผังแสดงองค์ประกอบบริ เวณพื้นที่โดมพฤกษศาสตร์ สวนวรรณคดี มาตราส่ วน 1 : 500 8.9.2 แนวความคิดในการออกแบบ บริ เวณพื้นที่โดมพฤกษศาสตร์ สวนวรรณคดี 8.9.3 รู ปตัดบริ เวณสวนวรรณคดี มาตราส่ วน 1 : 200 8.9.4 รู ปตัดบริ เวณทางเดินข้างโดมพฤกษศาสตร์ มาตราส่ วน 1 : 100 8.9.5 ทัศนียภาพบริ เวณทางเดินข้างโดมพฤกษศาสตร์ 8.9.6 ทัศนียภาพบริ เวณบ้านทรงไทย 8.9.7 KEY PLAN 8.9.8 IMAGE 8.9.9 TYPICAL DETAIL 8.10 แผ่นงานที่ 10 DETAIL PLAN B (ดูภาพที่ 46) 8.10.1 ผังแสดงองค์ประกอบบริ เวณพื้นที่ศูนย์การเรี ยนรู ้ มาตราส่ วน 1 : 500 8.10.2 แนวความคิดในการออกแบบ บริ เวณพื้นที่ศูนย์การเรี ยนรู ้ 8.10.3 รู ปตัดบริ เวณหน้าอาคารต้อนรับ มาตราส่ วน 1 : 150 8.10.4 รู ปตัดบริ เวณบ่อเลี้ยงปลา มาตราส่ วน 1 : 150 8.10.5 ทัศนียภาพบริ เวณพื้นที่พกั ผ่อน 8.10.6 ทัศนียภาพบริ เวณลานอเนกประสงค์ 8.10.7 ทัศนียภาพบริ เวณบ่อเลี้ยงปลา 8.10.8 KEY PLAN 8.10.9 IMAGE 8.10.10 TYPICAL DETAIL 8.11 แผ่นงานที่ 11 DETAIL PLAN C (ดูภาพที่ 47)


120

8.11.1 ผังแสดงองค์ประกอบบริ เวณพื้นที่ศูนย์การเรี ยนรู ้ และศึกษาธรรมชาติ มาตราส่ วน 1 : 500 8.11.2 แนวความคิดในการออกแบบ บริ เวณพื้นที่ศูนย์การเรี ยนรู้ และศึกษาธรรมชาติ 8.11.3 รู ปตัดบริ เวณทางเข้าลานศึกษาธรรมชาติ มาตราส่ วน 1 : 150 8.11.4 รู ปตัดบริ เวณพื้นที่ศึกษาระบบนิเวศทางธรรมชาติ มาตราส่ วน 1 : 150 8.11.5 ทัศนียภาพบริ เวณพื้นที่ชุ่มน้ า 8.11.6 ทัศนียภาพบริ เวณลานดูนก 8.11.7 KEY PLAN 8.11.8 IMAGE 8.11.9 TYPICAL DETAIL 8.12 แผ่นงานที่ 12 OVER ALL PERSPECTIVE (ดูภาพที่ 48) 8.10.1 ทัศนียภาพทั้งหมดของพื้นที่โครงการ 8.13 แผ่นงานที่ 13 MASS MODEL (ดูภาพที่ 49) 8.11.1 แบบจาลองพื้นที่โครงการ มาตราส่ วน 1:1000


121

ภาพที่ 37 SITE INTRODUCTION & SITE INVENTORY


122

ภาพที่ 38 SITE ANALYSIS


123

ภาพที่ 39 SITE ANALYSIS


124

ภาพที่ 40 SITE ANALYSIS


125

ภาพที่ 41 SITE SYNTHESIS


126

ภาพที่ 42 CONCEPTUAL DESIGN


127

ภาพที่ 43 CONCEPTUAL DESIGN


128

ภาพที่ 44 MASTER PLAN


129

ภาพที่ 45 DETAIL A


130

ภาพที่ 46 DETAIL B


131

ภาพที่ 47 DETAIL C


132

ภาพที่ 48 OVERALL


133

ภาพที่ 49 MODEL


134

บทที่ 9 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ 9.1 บทสรุ ป การพิจารณาเลือกโครงการ ควรนึกถึงความถนัด และความสามารถในการออกแบบของตัว นักศึกษาเอง รวมไปถึงการพิจารณาถึงความเหมาะสมและความเป็ นไปได้ของโครงการ การออก แบบพื้นที่โครงการ ในที่ต้ งั นั้นๆ ในขั้นตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูล สิ่ งที่สาคัญคือการกาหนดขอบเขตว่าโครงการนี้มีศกั ยภาพที่ จะพัฒนาให้เป็ นอะไรได้บา้ ง พิจารณาจากความต้องการของหน่วยงานที่รับผิดชอบก่อน และศึกษา ความเป็ นมาของพื้นที่เดิม เพื่อที่จะสามารถกาหนด โปรแกรมต่างๆเพิ่ม และกาหนดผูม้ าใช้โครง การได้ และในขั้นตอนการวางแนวความคิด ควรคานึงถึงการลาดับเรื่ องราว ที่มีความชัดเจน สร้าง บรรยากาศในพื้นที่ให้ดูน่าสนใจ เกิดการกระตุน้ ที่จะก่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ กับผูเ้ ข้ามาศึกษา การออกแบบทางเดินก็ควรมีความต่อเนื่อง ไม่ซบั ซ้อน การสร้างพื้นที่วา่ ง ก็ควรให้เหมาะสมกับ พื้นที่ดว้ ย 9.2 ข้ อเสนอแนะ 9.2.1 การวางแผนและการจัดการ การทางานทุกอย่าง จะต้องมีการวางแผนให้เหมาะสม สิ่ งใดควรทาก่อน สิ่ งใดควรทาหลัง กาหนดระยะเวลาที่แน่นอน และปฏิบตั ิตามนั้น ควรทาอย่างเคร่ งครัด เพื่อให้ บรรลุต่อวัตถุประสงค์ ที่วางไว้ได้ 9.2.2 การจัดเตรี ยมข้อมูล


135

เนื่องจากการออกแบบ ต้องมีการแสดงความคิดหรื อกระบวนการคิดต่างๆ จาเป็ นต้องมี ข้อมูลต่างๆเพื่อนาเสนองานได้ ดังนั้นควรมีการเตรี ยมข้อมูลที่ถูกต้องและแม่นยา เพื่อให้เกิดความ ผิดพลาดน้อยที่สุด 9.2.3 การประมวลความรู้ การนาความรู ้ทุกด้าน ทั้งในห้องเรี ยน นอกห้องเรี ยน ประสบการณ์ ความรู ้รอบตัว ผสมผสานกัน สามารถทาให้เกิดผลงานการออกแบบที่เหมาะสม และสวยงาม 9.2.4 ให้ตระหนักอยูเ่ สมอว่า สุ ขภาพเป็ นสิ่ งสาคัญที่สุด การทาวิทยานิพนธ์ เป็ นการนาสิ่ งที่เราเรี ยน มาใช้และทาอย่างเต็มที่ แต่ก็ตอ้ งดูแลสุ ขภาพ ของตนด้วยเช่นกัน


136

บรรณานุกรม เทศบาลจังหวัดขอนแก่น . 2544. วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิ ปัญญา จังหวัดขอนแก่น. กรุ งเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2550. คู่มือการเขียนโครงร่ างวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกร รม ศาสตร์บณั ฑิต. อัดสาเนา. คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้. สมุนไพร [ระบบออนไลน์] . แหล่งที่มา : http://www.gpo.or.th/herbal/ : (วันที่คน้ ข้อมูล 20 มีนาคม 2555) กองประชาสัมพันธ์. 2537. กว่าจะมาเป็ นเทศบาลเมืองขอนแก่น. ขอนแก่น: เทศบาลนครขอนแก่น. กองสวนสาธารณะ. 2538. วันต้ นไม้ ประจาปี แห่ งชาติ 2538. กรุ งเทพฯ: สานักงานสวัสดิการสังคม. สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระราชูปถัมภ์. 2538. กฎหมายอาคาร 1. กรุ งเทพมหานคร : บริ ษทั เมฆา เพรส จากัด. เดชา บุญค้ า. 2537. การวางผังบริ เวณ. กรุ งเทพมหานคร : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เว็บไซต์เทศบาลนครขอนแก่น. ข้ อมูลพืน้ ฐาน. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.kkmuni.go.th (15 มกราคม 2555) เว็บไซต์ขอนแก่น. ข้ อมูลขอนแก่ น. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.khonkaen.go.th (15 มกราคม 2555) กรมโยธาธิการและผังเมือง. ผังเมืองรวม. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.dpt.go.th (15 มกราคม 2555) กรมทรัพยากรธรณี . ดาวน์ โหลดแผนที่. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.dmr.go.th (15 มกราคม 2555)


137

ประวัตินักศึกษา ชื่อ

นางสาวสุ พตั รา ชัยประโคม

เกิด

27 กุมภาพันธ์ 2531

ที่อยู่

12 ม. 9 ต.ไค้นุ่น อ.ห้วยผึ้ง จ.กาฬสิ นธุ์ 46240

ประวัติการศึกษา ชั้นอนุบาล

โรงเรี ยนบ้านเหล่าสี แก้ว อ.ห้วยผึ้ง จ.กาฬสิ นธุ์

ชั้นประถม

โรงเรี ยนบ้านเหล่าสี แก้ว อ.ห้วยผึ้ง จ.กาฬสิ นธุ์

ชั้นมัธยม

โรงเรี ยนบัวขาว อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสิ นธุ์

ปริ ญญาตรี

สาขาวิชา ภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ประสบการณ์ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 – 9 มีนาคม พ.ศ. 2555 ฝึ กงานภูมิสถาปัตยกรรม บริ ษทั เรดแลนด์-สเคป จากัด กรุ งเทพมหานคร




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.