ERW: รายงานประจำปี 2561

Page 1


Vision

ว�สัยทัศน

เป นผู นําธุรกิจการพัฒนาและลงทุนในโรงแรมและ ร�สอร ทในประเทศไทยและอาเซียน

ขยายเคร�อข ายโรงแรมที่มีคุณภาพ ในประเทศไทยและอาเซียน ซึ่งสามารถสร าง ผลตอบแทนที่ดีให ผู ถือหุ นและเกิดประโยชน แก ผู มีส วนได เสียทุกฝ ายอย างเหมาะสมและต อเนื่อง

Mission พันธกิจ

10 Brands in operation Currently own 61 hotels; 8,485 rooms Alliance with 4 world-class hoteliers

Corporate Culture for Sustainable Growth วัฒนธรรมองค กรเพ�่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

2

C

L

I

EN

T

Commit to Success

Learning & Improvement

Integrity

Enjoy to Serve

Team Spirit


Our Business Strategy กลยุทธ ในการดําเนินธุรกิจ • กลยุทธ เพ��มการเติบโต: มุ งเน นการเติบโตของเคร�อข ายโรงแรมและร�สอร ทในตลาดที่มีศักยภาพทั้งกลุ มโรงแรมและสถานที่ตั้ง • กลยุทธ การเพ��มผลตอบแทน: มุ งเน นการสร างผลตอบแทนที่คุ มค าแก ผู ถือหุ น โดยการปรับปรุงพัฒนาทรัพย สินที่ดําเนินการอยู อย างต อเนื่อง การพ�จารณาขายทรัพย สินเพ�่อรับรู มูลค าตลาด และการบร�หารจัดการโครงสร างเง�นทุนให เหมาะสม • กลยุทธ เพ�่อการเติบโตที่ยั่งยืน: สร างป จจัยสนับสนุนความมั่นคง และการเจร�ญเติบโตที่ยั่งยืน ซึ่งประกอบด วย การบร�หารงานด านต างๆ อย างเป นระบบ การเสร�มสร างทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพโดยมุ งเน นที่ทักษะในการทํางาน การพัฒนาระบบฐานข อมูลความรู เพ�่อประกอบการตัดสินใจ และการมีวัฒนธรรมองค กรที่เข มแข็ง

To be the Leading Hotel Developer and Investor in Thailand and ASEAN.

CORE VALUE “ERAWAN’s SPICE”

ค านิยมองค กร System

บร�หารจัดการอย างเป นระบบ มีประสิทธิภาพ ไม ยึดติดกับตัวบุคคล People

บุคลากรที่มีทักษะและความชํานาญ มุ งมั่นที่จะเร�ยนรู และพัฒนาตนเองอย างต อเนื่อง Information

ฐานข อมูลที่ถูกต อง เพ�ยงพอและทันสมัย สําหรับการบร�หารและตัดสินใจ Culture

วัฒนธรรมองค กรที่เข มแข็ง สนับสนุนความเจร�ญเติบโตที่ยั่งยืน Environment

เป นสมาชิกที่ดี มีความรับผิดชอบต อสังคม และผู มีส วนได เสียทุกฝ าย รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

3


Contents สารบัญ ภาพรวมปี 2561 2018 In Review

วิสยั ทัศน์ พันธกิจ และวัฒนธรรมองค์กร กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ และค่านิยมองค์กร ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุป ธุรกิจโรงแรมในเครื อปี 2561 สารจากประธานกรรมการ สารจากกรรมการผู้จดั การใหญ่ รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบต่อผู้ถือหุ้น เกี�ยวกับบริษัท

2 3 6 8 10 11 13

ประวัตบิ ริษทั โครงสร้ างการถือหุ้น และการบริหาร การถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนคณะกรรมการและผู้บริหาร ภาพรวมของธุรกิจ

16 18 31 32

โครงสร้ างธุรกิจ โครงสร้ างการบริ หารทรัพย์สนิ ธุรกิจที�ดําเนินงานในปั จจุบนั ธุรกิจที�อยูร่ ะหว่างการพัฒนา ภาพรวมอุตสาหกรรมท่องเที�ยว ปั จจัยความเสี�ยง รายงานด้ านสิ�งแวดล้ อม สังคม และบรรษัทภิบาล

35 36 38 43 44 47

รางวัลด้านบรรษัทภิบาล นโยบายการพัฒนาอย่างยัง� ยืน นโยบายต่อต้านการคอร์รปั ชัน� นโยบายการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้าน การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ าย นโยบายบรรษัทภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคม การควบคุมภายใน และการปกป้องการใช้ข้อมูลภายใน รายการระหว่างกัน กิจกรรมเพือ� สังคม ข้ อมูลทางการเงิน และข้ อมูลบริษัท

50 51 52

About Erawan

Business Overview

Environmental, Social and Governance Report

54 56 62 66 67 69

Financial Information and Corporate Information

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ต่อรายงานทางการเงิน คําอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน รายงานของผู้สอบบัญชีรบั อนุญาต ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี งบการเงิน ข้อมูลบริษทั รายงานบรรษัทภิบาล 4

74 75 79 82 83 172 177


2018 in Review ภาพรวมป 2561


Financial Highlights ข อมูลทางการเง�นโดยสรุป บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน) รายการ

2559

2560

หน่วย : พันบาท 2561

5,624,173 5,663,949 3,048,675 1,621,368 366,891

5,995,627 6,050,456 3,359,986 1,819,279 505,572

6,260,170 6,307,675 3,445,012 1,893,480 536,305

สรุปผลการดําเนินงาน รายได้ จากการดําเนินกิจการ รายได้ รวม กําไรขันต้ � น กําไรก่อนหักดอกเบี �ย ภาษี และค่าเสื�อมราคา กําไรสุทธิ

สรุปฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม หนี �สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ (ไม่รวมส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย) ทุนเรื อนหุ้นเรี ยกชําระแล้ ว จํานวนหุ้นเรี ยกชําระแล้ ว (พันหุ้น)

14,911,115 16,047,695 16,948,692 9,838,561 10,644,663 11,240,266 5,072,554 5,403,032 5,708,426 4,917,922 5,236,020 5,543,115 2,498,173 2,500,893 2,507,716 2,498,173 2,500,893 2,507,716

มูลค่าหุ้นที�ตราไว้ หุ้นละ (บาท) กําไร ต่อหุ้น (บาท) เงินปั นผลต่อหุ้น (บาท) มูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิตอ่ หุ้น (บาท) (ไม่รวมส่วนของผู้ถอื หุ้นส่วนน้ อย)

1 0.15 0.06 1.97

1 0.20 0.09 2.09

1 0.21 0.09 2.21

0.34 0.28 0.39 54.21% 6.48% 2.47% 7.65% 1.94 1.66 4.13

0.49 0.40 0.49 56.04% 8.36% 3.27% 9.96% 1.97 1.68 5.03

0.44 0.35 0.52 55.03% 8.50% 3.25% 9.95% 1.97 1.68 5.00

อัตราส วนทางการเงินที่สําคัญ อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด อัตรากําไรขันต้ � นต่อรายได้ รวม อัตรากําไรสุทธิตอ่ รายได้ รวม อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี �สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี �สินที�มีภาระดอกเบี �ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี �ย

6

(เท่า) (เท่า) (เท่า)

(เท่า) (เท่า) (เท่า)


รายได จากการดําเนินกิจการ

หน วย : ล านบาท

5,996

6,260

5,624 5,255 4,285

2557

2558

2559

2560

2561

กําไรก อนหักดอกเบี้ย ภาษี และค าเสื่อมราคา หน วย : ล านบาท

1,819

1,893

1,621 1,433

939

2557

2558

2559

2560

2561

กําไร (ขาดทุน) สุทธิ หน วย : ล านบาท 506

536

367

195

2557 2558

(113)

2559

2560

2561


Hotel and Resort Portfolio in 2018 กรุงเทพฯ

ธุรกิจโรงแรมในเคร�อ ป 2561 แกรนด ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ

เจดับบลิว แมร�ออท กรุงเทพ

คอร ทยาร ด โดย แมร�ออท กรุงเทพ

กรุงเทพฯ พัทยา หัวหิน

โนโวเทล กรุงเทพ สุข�มว�ท 4

สมุย

เมอร เคียว กรุงเทพ สยาม

กระบี่ ภูเก็ต

พัทยา

ไอบิส สไตล กรุงเทพ สุข�มว�ท 4

ฮอลิเดย อินน พัทยา

ไอบิส กรุงเทพ สุข�มว�ท 4

เมอร เคียว พัทยา โอเชี่ยน ร�สอร ท

เรเนซองส เกาะสมุย ร�สอร ท แอนด สปา

เดอะ นาคา ไอแลนด , เอ ลักซ ชัวร�่ คอลเลคชั่น ร�สอร ท แอนด สปา, ภูเก็ต

ไอบิส กรุงเทพ ร�เวอร ไซด

ไอบิส พัทยา

ไอบิส สมุย บ อผุด

ไอบิส ภูเก็ต ป าตอง

ไอบิส สไตล กระบี่ อ าวนาง

ไอบิส ภูเก็ต กะตะ

หัวหิน

กระบี่

สมุย

ภูเก็ต

ไอบิส กรุงเทพ สาทร

ไอบิส กรุงเทพ สยาม

8

ไอบิส หัวหิน


ประเทศไทย 36 แห ง

, เชียงใหม ซุปเปอร ไฮเวย ลำปาง, ลำปาง ซิตี้ เซ็นเตอร

2

มุกดาหาร 2

สุร�นทร 2

ชลบุร� ระยอง หัวหิน

, กระบี่ สาขา 2

ประเทศฟ�ลิปป นส 5 แห ง มะนิลา - เออร มิต า - มาคาติ อเวนิว - เอเซียน า ซิตี้ - อลาบาง - โทมัส โมราโต เกซอนซิตี้

9

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

9


Chairman Review สารจากประธานกรรมการ อุตสาหกรรมท่องเทีย� วของไทยในปี 2561 ยังคงเติบโตร้ อยละ 8 จากปี 2560 โดยมีการเติบโตในทุกกลุ่มนักท่องเที�ยวหลักซึ�งสะท้ อนถึง ความแข็งแกร่ งและศักยภาพของของอุตสาหกรรมท่องเที�ยวไทย ในฐานะแหล่งท่องเทีย� วยอดนิยม ซึง� บริษทั ฯ ยังคงเชือ� มัน� ในศักยภาพ ของอุตสาหกรรมท่องเทีย� วของไทยว่าจะยังคงเติบโตต่อไปในระยะยาว ด้วยความตระหนักถึงความสําคัญของการเปลีย� นแปลงของสถานการณ์ รอบด้ านซึง� เป็ นไปอย่างรวดเร็วและมีการเปลีย� นแปลงอยูต่ ลอดเวลา ในปี 2561 บริ ษัทฯ ได้ จดั ตังแผนกกลยุ � ทธ์ และนวัตกรรมองค์กร (Corporate Strategy and Innovation) เพือ� ศึกษาและดูแลการนํา นวัตกรรมใหม่มาเพือ� พัฒนาการดําเนินธุรกิจรวมถึงการศึกษาปัจจัยต่างๆ เพื�อกํ าหนดและปรั บทิศทางกลยุทธ์ การดําเนินงานของบริ ษัทฯ เพือ� รองรับโอกาสและความท้าทายใหม่และสร้ างรากฐานทีม� นั� คงต่อไป ในอนาคต และเชื� อ มั�นว่าบริ ษั ท ฯ มี ค วามพร้ อมที� จ ะรั บ มื อ กับ การเปลี� ย นแปลงได้ อย่ า งรวดเร็ ว และสามารถเติ บ โตต่ อ ไป ตามเป้าหมายทีว� างไว้ นอกเหนือจากการประสบความสําเร็ จในด้ านธุรกิจแล้ ว บริ ษัทฯ ยังให้ ความสําคัญต่อความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชนและสิง� แวดล้อม มาโดยตลอดเพื�อพัฒนาไปสูก่ ารเติบโตอย่างยัง� ยืน โดยในปี 2561 บริษทั ฯ ได้ริเริ�มโครงการสนับสนุนการท่องเทีย� วชุมชนผ่านการยกระดับ โฮมสเตย์ภายใต้ โครงการ “Happy Home Happy Stay พักสบายกาย เทีย� วสบายใจ” ร่วมกับ โลเคิล อไลค์ โดยได้ ร่วมกับชุมชนบ้ านแหลม โฮมสเตย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็ นชุมชมนําร่องเพือ� พัฒนาและ ยกระดับมาตรฐานการประกอบกิจการโฮมสเตย์ในประเทศไทย ให้ มมี าตรฐานระดับสากล โดยการส่งต่อความรู้ด้านการบริหารจัดการ ที�พกั และโรงแรมของบริ ษัทฯ ไปยังโฮมสเตย์ชมุ ชนในประเทศไทย รวมถึงการส่งเสริมทักษะและอุปกรณ์อาํ นวยความสะดวกในการบริการ นักท่องเที�ยว ซึง� จะช่วยสนับสนุนให้ เกิดการพัฒนาการท่องเที�ยว แบบยัง� ยืนในระดับชุมชนต่อไป

การให้ ความสําคัญในการสร้ างสมดุลของประโยชน์ของผู้มสี ว่ นได้ เสีย ทุกฝ่ าย ซึง� บริษทั ฯ ดําเนินการมาตลอดนันสะท้ � อนได้ จากรางวัลต่างๆ ที�ได้ รับจากองค์ กรต่างๆ อาทิเช่น ได้ รับการประเมินเป็ นบริ ษัท ที�มีการปฏิบตั ิตามหลักบรรษัทภิบาล (CGR Report) ในระดับ “ดีมาก” จากโครงการรายงานการกํากับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียนไทย โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย เป็ นปี ที� 12 ติดต่อกัน และเป็ นหนึ�งในหลักทรัพย์จดทะเบียนที�มีการดําเนินงานโดดเด่น อย่างยัง� ยืนด้ านสิ�งแวดล้ อม สังคม และธรรมาภิบาล “ESG100 Companies” จากการประเมินโดยสถาบันไทยพัฒน์ และ สํานักงาน คณะกรรมการกํ า กับ หลัก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ รวมถึ ง ได้ รั บ รางวั ล บริ ษั ท จดทะเบี ย นดี เ ด่ น ด้ านนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ในโครงการ SET Awards 2018 ซึ� ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความ สมํ�าเสมอในการให้ ข้อมูลที�เหมาะสมและโปร่งใสแก่ผ้ มู ีสว่ นได้ เสีย ทุก ฝ่ าย รางวัล เหล่า นี เ� ป็ น ตัว อย่ า งที� แ สดงถึ ง ความ เอาใจใส่ ของบริ ษั ท ฯ ที� มี ต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ เติ บ โตไปพร้ อมกั บ ผู้มสี ว่ นได้ เสียทุกภาคส่วน ทังนี � � บริษทั ฯ ยังคงมุง่ มัน� ในการปรับปรุง และพัฒนาการกํากับดูแลกิจการให้ ดียิ�งขึ �นไปควบคูไ่ ปกับการดูแล ผู้มสี ว่ นได้ เสียทุกภาคส่วนอย่างยัง� ยืน ในนามของคณะกรรมการบริ ษัท ขอขอบคุณผู้มีสว่ นได้ เสียรวมทัง� ผู้เกี�ยวข้ องทุกฝ่ ายทังในและต่ � างประเทศที�ได้ ให้ การสนับสนุนและ เชือ� มัน� ต่อการดําเนินกิจการของบริษทั ฯ ด้วยดีเสมอมา รวมถึงผู้บริหาร และพนักงานของบริ ษัทฯ ซึง� มีสว่ นสําคัญในการขับเคลือ� นบริ ษัทฯ ให้ก้าวหน้ าสูก่ ารเป็นองค์กรทีเ� ติบโตอย่างมัน� คงและยัง� ยืน และบริษทั ฯ เชือ� มัน� ว่าแนวทางการบริหารจัดการภายใต้ แผนยุทธศาสตร์ทกี� าํ หนด ไว้ และความสนับสนุนจากทุกท่านจะเป็นปัจจัยสําคัญทีช� ว่ ยสนับสนุน ให้ บริษัทฯ เติบโตต่อไปภายใต้ ปรัชญาการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ทีว� า่ ความสําเร็จต้ องมาพร้ อมด้ วยคุณธรรม

นายชนินท ว องกุศลกิจ ประธานกรรมการ

10


Message from the President สารจากกรรมการผู จัดการใหญ ปี 2561 นับเป็นปีแรกของผมในบทบาทใหม่ในฐานะกรรมการผู้จดั การใหญ่ • โรงแรม โนเวเทล สุขมุ วิท 4 และโรงแรม ไอบิส สไตล์ สุขมุ วิท 4 ของบริษทั ฯ ซึง� ยังคงมุง่ มัน� ทีจ� ะนําพาบริษทั ฯ ก้ าวสูก่ ารเป็ นผู้นาํ ธุรกิจ จํานวน 318 ห้ อง ซึง� นับเป็ นโรงแรมภายใต้ แบรนด์โนโวเทลแห่งแรก การพัฒนาและลงทุนในโรงแรมและรีสอร์ทในประเทศไทยและอาเซียน ของบริษทั ฯ และเป็ นโรงแรมในรูปแบบคอมโบซึง� มี 2 โรงแรมภายใน และสานต่อความสําเร็จตลอดระยะเวลา 36 ปี ทผี� า่ นมา ซึง� เกิดจาก ตึกเดียวกันเป็นแห่งที� 2 ของบริษทั ฯ หลังจากการเปิดให้บริการ โรงแรม ความทุ่มเทมุ่งมัน� ในการทํางานของผู้มีส่วนได้ เสียทุกฝ่ าย โดยได้ เมอร์เคียว ไอบิส สยามซึง� เป็นโรงแรมคอมโบแห่งแรกในปี 2555 และ มีการกําหนดแผนกลยุทธ์ระยะยาว 5 ปี เพื�อให้ บรรลุตามวิสยั ทัศน์ มีผลการดําเนินงานทีด� มี าโดยตลอด และมีการทบทวนแผนกลยุทธ์ และปรั บเปลี�ยนตามสถานการณ์ ทีเ� ปลีย� นไปอยูต่ ลอดเวลา การดําเนินการขยายงานตามแผนดังกล่าว ส่งผลให้ ณ สิ �นปี 2561 บริษทั ฯ มีจาํ นวนโรงแรมทีเ� ปิดให้บริการเพิม� ขึ �นจากจํานวน 52 โรงแรม การดําเนินการตามแผนกลยุทธ์ดงั กล่าวส่งผลให้ บริษทั ฯ มีการกระจาย เป็น 61 โรงแรม และมีจาํ นวนห้องพักเพิม� ขึ �นจาก 7,328 ห้อง ณ สิ �นปี 2560 ธุรกิจไปในทุกกลุม่ ประเภทโรงแรม ซึง� ช่วยให้ สามารถเผชิญหน้ ากับ มาเป็ น 8,485 ห้ อง ซึง� เป็ นไปตามวิสยั ทัศน์ที�จะคงความเป็ นผู้นํา ความท้ าทายต่างๆ และสามารถขยายธุรกิจให้ เติบโตได้ ตามเป้าหมาย ในการเป็ นผู้พฒ ั นาและผู้ลงทุนในกิจการโรงแรมของประเทศไทยและ ทีว� างไว้ ในปี 2561 บริษทั ฯยังคงสร้ างผลการดําเนินงานทีเ� ติบโตโดยรายได้ อาเซียน จากการดําเนินงานปรับตัวเพิม� ขึ �นร้ อยละ4และสร้ างผลกําไรสุทธิจาํ นวน 536 ล้านบาท ซึง� เพิม� ขึ �นร้ อยละ 6 จากผลกําไรจํานวน 506 ล้านบาท การดําเนินการตามกลยุทธ์ การเพิ�มผลตอบแทน ในปี 2560 ในปี 2561 บริษทั ฯ ได้ดาํ เนินการปรับปรุงห้ องพักของโรงแรม เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพฯ ระยะที� 2 จํานวน 178 ห้อง หรือ ร้ อยละ 40 จากจํานวน การดําเนินการตามกลยุทธ์ เพิ�มการเติบโตของธุรกิจโรงแรม ห้องพักทังหมดในระหว่ � างเดือนเมษายน ถึง กันยายน 2561 ตามแผนงาน บริษัทฯ มุง่ เน้ นการขยายงานในตลาดทีม� ศี กั ยภาพและมีการเติบโต ที� กํ า หนดไว้ ซึ� ง เป็ น ส่ ว นหนึ� ง ของกลยุท ธ์ ก ารเพิ� ม ผลตอบแทน โดยในปี 2561 ได้ เปิ ดให้ บริการโรงแรมจํานวน 9 แห่ง ดังนี � เพือ� เพิม� ศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจ โดยห้ องพักส่วนนี �ได้ ดาํ เนินการ • โรงแรมภายใต้แบรนด์ “ฮ็อปอินน์”(“HOPINN”)ซึง� บริษทั ฯ เป็นผู้ลงทุน เสร็จสิ �นพร้ อมให้บริการในเดือนตุลาคม 2561 และจะดําเนินการระยะที� 3 และบริหารเองที� ประเทศไทย 4 แห่ง และ 3 แห่ง ทีเ� มืองมะนิลา ประเทศ ซึง� เป็ นระยะสุดท้ ายของการปรับปรุงจํานวนร้ อยละ 30 ในช่วงโลว์ซซี นั� ฟิ ลปิ ปิ นส์ ซึง� ตลอดระยะเวลา 4 ปี นบั จากการเปิ ดให้ บริการโรงแรม ระหว่างไตรมาส 2 และ 3 ของปี 2562 “ฮ็อป อินน์” (“HOP INN”) แห่งแรกในปี 2557 บริษทั ฯ ได้ ทาํ การ ขยายเครื อข่ายตามแผนที�วางไว้ มาโดยตลอดเพื�อให้ ครอบคลุม การดําเนินการตามกลยุทธ์ เพื�อการเติบโตอย่างยั�งยืน ทุกภูมิภาคของประเทศไทยรวมถึงการขยายไปในต่างประเทศ บริษทั ฯ ยังคงมุง่ มัน� พัฒนาองค์กรในด้านต่างๆ อย่างต่อเนือ� งซึง� เป็นกลไก ณ สิ �นปี 2561มีจาํ นวนโรงแรมภายใต้แบรนด์“ฮ็อปอินน์”ทังหมด � 36แห่ง ในการสร้ างองค์กรให้ สามารถเติบโตอย่างต่อเนือ� งในระยะยาว โดยให้ ในประเทศไทย และ 5 แห่งในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ นอกจากนี � บริษทั ฯ ความสําคัญกับการสร้ างและพัฒนาระบบบริหารงานด้านต่างๆ รวมถึง ยังให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของโรงแรมเพือ� ให้ตอบสนอง การพัฒนาบุคคลากรทีม� คี ณ ุ ภาพ พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพือ� ประกอบการ กับความต้ องการของลูกค้ าอยู่ตลอดเวลารวมถึงการสร้ างการ ตัดสินใจ และหล่อหลอมวัฒนธรรมองค์กรทีเ� ข้มแข็ง รวมถึงการเป็นสมาชิก รั บรู้ ของแบรนด์ ในฐานะเครื อข่ายโรงแรมบัดเจ็ทที�มีคุณภาพ ทีด� ขี องสังคม ดังจะเห็นได้ จากการริเริ�มโครงการยกระดับโฮมสเตย์ซงึ� ซึง� สะท้อนได้จากผลการดําเนินงานทีเ� ติบโตอย่างต่อเนือ� งของโรงแรม จะช่วยสนับสนุน ให้เกิดการพัฒนาการท่องเทีย� วโดยชุมชมด้วยสมาชิก ในกลุม่ นี � ในชุมชน ซึง� ทังหมดจะเป็ � นพื �นฐานทีส� าํ คัญในการสร้ างการเจริญเติบโต ทีย� งั� ยืนในระยะยาว

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

11


ด้ วยแผนยุทธศาสตร์ ของบริ ษัทฯ ที�ม่งุ เน้ นการเติบโตในตลาดที�มี ศักยภาพสูงรวมถึงการปรับปรุงทรัพย์สนิ ต่างๆ เพือ� เพิม� ศักยภาพการ แข่งขันทางธุรกิจและการให้ความสําคัญต่อการเติบโตทีย� งั� ยืนทีบ� ริษทั ฯ ยึดถือมาตลอดนัน� จะเป็นส่วนหนึง� ทีช� ว่ ยสนับสนุนการเติบโตทีแ� ข็งแกร่ง และสร้ าง ผลตอบแทนทีด� ตี อ่ ผู้ลงทุนและสร้ างประโยชน์โดยรวมแก่ ผู้มสี ว่ นได้เสียต่อไป ทังนี � � การเติบโตของ ดิ เอราวัณ กรุ๊ป นัน� มิใช่เพือ� ความสําเร็จขององค์กรเพียงเท่านันแต่ � เป็ นส่วนหนึง� ในการผลักดันของ อุตสาหกรรมการท่องเทีย� วไทยด้ วยเช่นกัน

สุดท้ ายนี � ในนามของบริษทั ดิเอราวัณ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) ผมขอ ขอบคุณผู้มสี ว่ นได้เสียทุกท่านทีไ� ด้สนับสนุนการดําเนินงานของบริษทั ฯ ในปี 2561 ทีผ� า่ นมา และหวังว่าจะได้รบั ความสนับสนุนจากท่านอีกในปี 2562 และปี ตอ่ ๆ ไป เพือ� สร้ างความเติบโตอย่างยัง� ยืนต่อบริษทั ฯ ต่อไป

นายเพชร ไกรนุกูล กรรมการผู้จัดการใหญ่

Renaissance Koh Samui Resort and Spa

12


Report of the Audit Committee to Shareholder รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบต อผู ถือหุ น เรี ยน ท่ านผู้ถือหุ้น

4. การสอบทานรายการที�เกี�ยวโยงกันหรื อรายการที�อาจ มีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) ได้ สอบทานรายการค้ ากับกิจการทีม� คี วามเกีย� วข้ องกันอย่างเป็ น ได้รบั การแต่งตังจากคณะกรรมการบริ � ษทั ประกอบด้วยกรรมการอิสระ ธรรมตามธุรกิจปกติ ซึง� บริษทั ฯ ได้ ถอื ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดของ 3 คน ซึง� เป็ นผู้ทรงคุณวุฒดิ ้ านการเงิน และการบริหารจัดการ ปฏิบตั ิ ตลท. และ ก.ล.ต. โดยคํานึงถึงประโยชน์ของผู้มสี ว่ นได้เสียทุกฝ่ าย หน้ าทีด� ้ วยความเป็ นอิสระ ครอบคลุมขอบเขตหน้ าทีใ� นการสนับสนุน คณะกรรมการบริ ษัท ตามกฎบัตรและสอดคล้ องกับประกาศของ 5. การกํากับดูแลระบบการบริหารความเสี�ยง คณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และสํานักงานคณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบทานแผนงานประจําปี และติดตามความคืบหน้ า กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) สําหรับปี 2561 ของการบริหารความเสีย� งสําคัญทุกไตรมาส มัน� ใจได้ วา่ บริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวม 5 ครัง� กรรมการตรวจสอบ มีนโยบายและกระบวนการบริ หารความเสี�ยงที�มีประสิทธิภาพ เข้ าประชุมครบทุกครัง� เพือ� พิจารณาเรื�องต่างๆ ร่วมกับฝ่ ายจัดการ และเหมาะสม มีการปรับปรุงกระบวนการประเมินความเสี�ยง หัวหน้ าสายงานตรวจสอบ และผู้สอบบัญชี สรุปได้ ดงั นี � ของโครงการลงทุนต่างๆ ให้ เป็ นมาตรฐานเดียวกัน เพื�อรองรับ สภาวการณ์ทเี� ปลีย� นแปลง สร้ างโอกาสทางธุรกิจและมูลค่าเพิม� 1. การสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทาน ต่อองค์กร ข้ อมูลทางการเงินรายไตรมาส และ งบการเงิน ประจําปี 2561 ของกลุม่ บริษทั ฯ ทีจ� ดั ทําขึ �นอย่างถูกต้อง มีการเปิดเผยข้ อมูลอย่าง 6. การกํากับดูแลงานตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้ เพียงพอ ซึง� ผู้สอบบัญชีได้ แสดงความเห็นในรายงานอย่างไม่มี คําปรึกษาและอนุมตั แิ ผนตรวจสอบภายในประจําปี รับทราบและ เงือ� นไข มีการประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มฝี ่ ายจัดการเข้ าร่วม เสนอผลการตรวจสอบภายในต่อคณะกรรมการบริษทั พิจารณา เพือ� หารือเกีย� วกับความเป็นอิสระในการปฏิบตั หิ น้าทีแ� ละการแสดง งบประมาณประจําปี ตลอดจนกํากับดูแล ปรังปรุงโครงสร้ างสํานัก ความเห็นของผู้สอบบัญชี พร้ อมทังรั� บทราบข้ อสังเกต ตลอดจน ตรวจสอบภายใน และประเมินผลงานของหัวหน้ าสายงานตรวจ แนวทางการปรับปรุงทีเ� ป็ นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ สอบภายใน 2. การสอบทานการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน 7. การต่ อต้ านคอร์ รัปชั�น (Anti-Corruption) บริ ษัทฯ เข้ าเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในของ สมาชิกแนวร่ วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านการ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึง� ครอบคลุมด้ านการบัญชีและการเงิน ทุจริ ต (โครงการ Collective Action Coalition: CAC) และ การดูแลทรัพย์สนิ การปฏิบตั งิ าน การติดตามผลการปฏิบตั ติ าม ได้ การรั บรองตามโครงการดังกล่าว ตัง� แต่วันที� 4 ตุลาคม กฎหมายและระเบียบข้ อบังคับ มีกลไกการตรวจสอบถ่วงดุล 2556 เพื�อตอบสนองนโยบายและสนับสนุนการดําเนินธุรกิจ โดยมีสายงานตรวจสอบภายในทีเ� ป็ นอิสระ มีประสิทธิภาพเพียง ด้ ว ยความโปร่ ง ใสและยั�ง ยื น ของประเทศ และในปี 2557 พอในการปกป้องดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและผู้เกี�ยวข้ อง บริ ษัทฯ ได้ รับการรับรองระดับ 4 (Certified) ด้ านการป้องกัน มีกระบวนการในการรับแจ้ งเบาะแสและจัดการเรื� องร้ องเรี ยนที� การมีสว่ นเกีย� วข้ องกับการคอร์รปั ชัน� (Anti-Corruption progress เป็ นธรรม indicator) ในโครงการการประเมินระดับการพัฒนาความยัง� ยืน (Sustainable Development) ของบริษทั จดทะเบียนไทยจากสํานักงาน 3. การสอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมายที�เกี�ยวข้ องกับธุรกิจ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ซึง� การได้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานการปฏิบตั ิตามกฎหมาย รับการรับรองจากหน่วยงานกํากับดูแลทังสองหน่ � วยงานทําให้ ข้ อกําหนดต่างๆ ทีเ� กี�ยวข้ องกับธุรกิจ บริษทั ฯ มีการปฏิบตั ติ าม เชือ� มัน� ได้วา่ บริษทั ฯ มีความมุง่ มัน� ในการดําเนินการอย่างชัดเจน และ กฎหมายทีเ� กีย� วข้ องอย่างถูกต้ อง มีกระบวนการในการดําเนินการอย่างไม่มขี ้ อบกพร่อง รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

13


คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ พจิ ารณาแล้วเห็นว่าบริษทั ฯ ถือนโยบาย การกํากับดูแลกิจการทีด� เี ป็ นสําคัญ การบริหารความเสีย� งทีส� าํ คัญ สอดคล้ องกับนโยบายของบริษทั ฯ ส่งผลให้ เกิดการควบคุมภายในที� มีประสิทธิภาพเพียงพอและสามารถตอบสนองต่อการเปลีย� นแปลง ทังจากภายในและภายนอก � มีการสอบทานรายการทีเ� กีย� วโยงกันทีอ� าจ ทําให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์วา่ เป็ นรายการจริงทางการค้ า อันเป็ นธุรกิจปกติทวั� ไปอย่างสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สงู สุด ตามนโยบายของบริษทั ฯ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ� กีย� วข้ องเป็ นไป โดยถูกต้ อง คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่างบการเงินรอบปี บญ ั ชีสิ �น สุดวันที� 31 ธันวาคม 2561 ได้ จดั ทําขึ �นอย่างถูกต้ องและมีการเปิ ดเผย ข้ อมูลอย่างเพียงพอ การพิจารณาแต่ งตัง� ผู้สอบบัญชีประจําปี 2562 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ พจิ ารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง� และเสนอ ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีประจําปี 2562 โดยได้ ประเมินจากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเป็ นอิสระของผู้สอบบัญชีและ ผลการตรวจสอบในปี ทผี� า่ นมา นอกจากนี � ได้ พจิ ารณาความเหมาะ สมของค่าตอบแทนเป็ นประการสําคัญด้ วย โดยมีมติเสนอให้ แต่งตัง� ผู้สอบบัญชีประจําปี 2562 ต่อคณะกรรมการบริษัท ก่อนนําเสนอ ขออนุมตั ติ อ่ ทีป� ระชุมผู้ถอื หุ้นเพือ� แต่งตัง�

14

1. นางสาว วิไลวรรณ ผลประเสริฐ ผู้สอบบัญชีรบั อนุญาตทะเบียนเลขที� 8420 และ/หรือ 2. นางสาว วิภาวรรณ ปัทวันวิเวก ผู้สอบบัญชีรบั อนุญาตทะเบียนเลขที� 4795 และ/หรือ 3. นางสาว ปัทมวรรณ วัฒนกุล ผู้สอบบัญชีรบั อนุญาตทะเบียนเลขที� 9832 แห่งบริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จํากัด (KPMG) เป็นผู้สอบบัญชี ของบริษทั ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) ประจําปี 2562

ดร. กุลภัทรา สิโรดม ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ วันที� 20 กุมภาพันธ์ 2562


About Erawan เกี่ยวกับบร�ษัท


Corporate Profile ประวัติบร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน) 2525 2531

จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2537

แปรสภาพ เป็ นบริ ษัทมหาชน

2540

เปิ ดดําเนินการ โรงแรม เจดับบลิว แมริ ออท กรุงเทพ

2548

เปิ ดดําเนินการ โรงแรม เรเนซองส์ เกาะสมุย รี สอร์ ท แอนด์ สปา

เปิ ดดําเนินการ โรงแรมไอบิส 4 แห่ง ได้ แก่ โรงแรมไอบิส ภูเก็ต ป่ าตอง, โรงแรมไอบิส พัทยา, โรงแรมไอบิส กรุงเทพ สาทร, และโรงแรมไอบิส สมุย บ่อผุด เปิ ดดําเนินการ โรงแรมซิกส์เซ้ นส์ แซงชัวรี� ภูเก็ต

2528

ก่ อตัง� บริษัท เมื�อวันที� 29 ธันวาคม 2525

2551

ดําเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ และธุรกิจโรงแรมมาตลอด 36 ปี

2534

เปิ ดดําเนินการ อาคารอัมริ นทร์ พลาซ่า

2539

เปิ ดดําเนินการ โรงแรม แกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ

2547

เปิ ดดําเนินการ อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์

เปิ ดดําเนินการ อาคารเอราวัณ แบงค็อก

เปิ ดดําเนินการ โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา เปิ ดดําเนินการ โรงแรมไอบิส 2 แห่ง ได้ แก่ โรงแรมไอบิส กรุงเทพ สุขมุ วิท 4 และโรงแรมไอบิส ภูเก็ต กะตะ

16

2552

2550

เปิ ดดําเนินการ โรงแรมคอร์ ทยาร์ ด โดย แมริ ออท กรุงเทพ ขายกิจการ อาคารอัมริ นทร์ พลาซ่า


2553 2558

2561

2560

เปิ ดดําเนินการ ห้ องพักรูปแบบดีลกั ซ์ ที� เดอะ นาคา ไอแลนด์, เอ ลักซ์ชวั รี� คอลเลคชัน� รี สอร์ ท แอนด์ สปา, ภูเก็ต เปิ ดดําเนินการ โรงแรม ฮ็อป อินน์ ในประเทศไทย 10 แห่ง เปิ ดดําเนินการ โรงแรม ฮ็อป อินน์ มาคาติ อเวนิว มะนิลา ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์

2555

2556

เปิ ดดําเนินการ โรงแรม ฮ็อป อินน์ ในประเทศไทย 5 แห่ง

เปิ ดดําเนินการ โรงแรมเมอร์ เคียว กรุงเทพ สยาม เปิ ดดําเนินการ โรงแรมไอบิส 2 แห่ง ได้ แก่ โรงแรมไอบิส หัวหิน และ โรงแรมไอบิส กรุงเทพ สยาม

2557

2554

ขายกิจการ โรงแรมไอบิส พัทยา และโรงแรมไอบิส ภูเก็ต ป่ าตอง เข้ า “กองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ เอราวัณ โฮเทล โกรท” โดยยังเป็ นผู้บริ หารงานกิจการโรงแรมทัง� 2 แห่ง

2559

รี แบรนด์ กจิ การโรงแรม เป็ น เดอะ นาคา ไอแลนด์, เอ ลักซ์ชวั รี� คอลเลคชัน� รี สอร์ ท แอนด์ สปา, ภูเก็ต ขายกิจการ อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ โดยยังเป็ นผู้บริ หารอาคาร

เปิ ดดําเนินการ โรงแรมไอบิส กรุงเทพ ริ เวอร์ ไซด์

เปิ ดดําเนินการ โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา เอ็กเซ็กคูทีฟ ทาวเวอร์ เปิ ดดําเนินการ โรงแรมเมอร์ เคียว พัทยา โอเชี�ยน รี สอร์ ท เปิ ดดําเนินการ โรงแรมไอบิส สไตล์ กระบี� อ่าวนาง เปิ ดดําเนินการ โรงแรม ฮ็อป อินน์ ในประเทศไทย 10 แห่ง

เปิ ดดําเนินการ โรงแรม ฮ็อป อินน์ ในประเทศไทย 7 แห่ง เปิ ดดําเนินการ โรงแรม ฮ็อป อินน์ เออร์ มิต้า มะนิลา ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์

เปิ ดดําเนินการ โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขมุ วิท 4 เปิ ดดําเนินการ โรงแรมไอบิส สไตล์ กรุงเทพ สุขมุ วิท 4 เปิ ดดําเนินการ โรงแรม ฮ็อป อินน์ ในประเทศไทย 4 แห่ง เปิ ดดําเนินการ โรงแรม ฮ็อป อินน์ ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ 3 แห่ง ประกอบด้ วย โรงแรม ฮ็อป อินน์ อาเซียน่า ซิตี � มะนิลา โรงแรม ฮ็อป อินน์ อลาบาง มะนิลา และ โรงแรม ฮ็อป อินน์ โทมัส โมราโต้ เกซอนซิตี � มะนิลา

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

17


Our Shareholders and Management Structure โครงสร างการถือหุ นและการบร�หาร โครงสร้ างการถือหุ้น ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีทนุ ทีเ� รียกชําระแล้ ว 2,507,715,910 บาท เป็ นหุ้นสามัญทังหมด � มูลค่าหุ้นละ 1 บาท โดยผู้ถือหุ้น 10 รายแรก ตามทะเบียนหุ้นของบริ ษัทฯ ได้ แก่

ชื่อผู ถือหุ น

จํานวนหุ น (หุ น)

% ของหุ นรวม

1. นายสุขกาญจน์ วัธนเวคิน

336,439,178

13.42%

2. บริ ษัท ซิตี � โฮลดิ �ง จํากัด

231,047,500

9.21%

3. นางวรรณสมร วรรณเมธี

149,757,004

5.97%

4. บริ ษัท ทุนมิตรสยาม จํากัด

144,488,645

5.76%

5. บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด

91,458,695

3.65%

6. PAN ASIA ASSETS LIMITED

73,000,000

2.91%

7. นายสุพล วัธนเวคิน

66,235,502

2.64%

8. UBS AG SINGAPORE BRANCH

60,000,000

2.39%

9. N.C.B.TRUST LIMITED-NORGES BANK 11

58,044,600

2.31%

43,659,291 1,254,130,415

1.74% 50.01%

10. น.ส. ฐิ ตนิ นั ท์ วัธนเวคิน รวมผู้ถือหุ้น 10 รายแรก

โครงสร้ างผู้ถือหุ้น มีลกั ษณะดังต่อไปนี �

กลุ มผู ถือหุ น

จํานวนหุ น (หุ น)

% ของหุ นรวม

กลุม่ ว่องกุศลกิจ

717,967,966

28.63%

กลุม่ วัธนเวคิน

710,202,185

28.32%

กลุม่ นักลงทุนสถาบันในประเทศและต่างประเทศ

833,063,044

33.22%

7,297,126

0.29%

239,185,589 2,507,715,910

9.54% 100.00%

กลุม่ ผู้บริ หารและพนักงานของบริ ษัทฯ กลุม่ ผู้ถือหุ้นรายย่อย รวม

ผู้ลงทุนสามารถดูข้อมูลปั จจุบนั ได้ จากเว็บไซต์ ของบริ ษัทฯ www.TheErawan.com ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี

18


รายชื�อกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที�มีอิทธิพลต่อการกําหนดนโยบายบริ หาร หรื อการดําเนินงานอย่างมีนยั สําคัญประกอบด้ วย

ชื่อกรรมการ

1. นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ 2. นางอารดา ว่องกุศลกิจ 3. นายกวิน ว่องกุศลกิจ 4. นายสุพล วัธนเวคิน 5. นางพนิดา เทพกาญจนา

กลุ มผู ถือหุ นรายใหญ กลุม่ ว่องกุศลกิจ กลุม่ วัธนเวคิน

Holiday Inn Pattaya

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

19


โครงสร างการถือหุ นและการบร�หาร โครงสร้ างการบริหาร คณะกรรมการบริษทั ได้ รบั การแต่งตังจากที � ป� ระชุมผู้ถอื หุ้น 11 คน โดยคณะกรรมการบริษทั ได้ แต่งตังคณะกรรมการชุ � ดย่อยขึ �น 4 คณะ เพือ� ช่วยในการกํากับดูแลด้ านต่างๆ ประกอบด้ วย 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการยุทธศาสตร์และการลงทุน 3) คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล และ 4) คณะกรรมการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน โดยมีตาํ แหน่ง และวุฒกิ ารศึกษาตามรายละเอียดดังนี �

Grand Hyatt Erawan Bangkok

นายชนินท ว องกุศลกิจ

ดร. กุลภัทรา สิโรดม

อายุ 66 ปี

อายุ 62 ปี

ตําแหน่ งปั จจุบนั • ประธานกรรมการบริษทั (แต่งตังเมื � อ� วันที� 27 เมษายน 2561) • กรรมการ

ตําแหน่ งปั จจุบนั • กรรมการอิสระ • ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ (แต่งตังเมื � อ� วันที� 27 เมษายน 2561)

วันที�ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการ 4 พฤศจิกายน 2547

วันที�ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการ 26 เมษายน 2560

ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ งกรรมการ 14 ปี

ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ งกรรมการ 2 ปี

วุฒกิ ารศึกษา Master of Business Administration (Finance), St. Louis University, Missouri, U.S.A.

วุฒกิ ารศึกษา • Ph.D. (Finance) University of Pittsburgh, U.S.A. • Master of Business Administration (Finance) West Virginia University, U.S.A. • BBA (First Class Honors-Finance), Thammasat University หลักสูตรการอบรม/เสวนา 1. DCP: Director Certification Program รุ่น Train the Trainer 2. Global Association of Risk Professionals (GARP) 3. วิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รุ่นที� 2 4. ACP: Audit Committee Program รุน่ ที� 29/2009 5. Global Institute of Women Corporate Directors (Invited as speaker at the annual event in New York, USA) ประสบการณ์ ทาํ งาน 5 ปี ย้ อนหลัง บมจ.อื�นในตลาดหลักทรั พย์ 2537-ปัจจุบนั • กรรมการอิสระ และประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทยเพรซิเดนท์ ฟูดส์ 2556-ปัจจุบนั • กรรมการอิสระ และประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ และ ประธาน คณะกรรมการธรรมาภิบาล บมจ. ไทยวาโก้ 2552-ปัจจุบนั • กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร บมจ. ธนาคารไทยพาณิชย์ 2545-ก.ย. 2560 • กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. เพรซิเดนท์ เบเกอรี�

หลักสูตรการอบรม/เสวนา 1. DCP: Refresher Course รุ่นที� 3/2006 2. DCP: Director Certification Program รุ่นที� 20/2002 3. LDP: Leadership Development Program ปี 2012 ประสบการณ์ ทาํ งาน 5 ปี ย้ อนหลัง และบมจ.อื�นในตลาดหลักทรั พย์ 2559 – ปัจจุบนั • ประธานกรรมการ บมจ. บ้านปู 2558 – ปัจจุบนั • กรรมการ บมจ. บ้ านปู เพาเวอร์ 2526 – ปัจจุบนั • กรรมการ บมจ. บ้ านปู 2558 – 2559 • เจ้ าหน้ าทีบ� ริหารอาวุโส บมจ. บ้ านปู 2526 – 2558 • ประธานเจ้ าหน้ าทีบ� ริหาร บมจ. บ้ านปู

20


นายเอกสิทธิ์ โชติกเสถียร

รศ. ดร. สมประวิณ มันประเสริฐ นายบรรยง พงษ พานิช

อายุ 48 ปี

อายุ 43 ปี

อายุ 64 ปี

ตําแหน่ งปั จจุบนั • กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและ บรรษัทภิบาล

ตําแหน่ งปั จจุบนั • กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ

ตําแหน่ งปั จจุบนั • กรรมการอิสระ • กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาผู้บริหาร ระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน

วันที�ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการ 29 เมษายน 2552 ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ ง 9 ปี วุฒกิ ารศึกษา • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรการอบรม/เสวนา 1. DAP: Director Accreditation Program รุ่นที� 79/2009 2. AACP: Advanced Audit Committee Program 1 รุ่นที� 28/2561 ประสบการณ์ ทาํ งาน 5 ปี ย้ อนหลัง บมจ.อื�นในตลาดหลักทรั พย์ • ไม่มี

วันที�ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการ 28 เมษายน 2561 ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ ง 1 ปี วุฒกิ ารศึกษา • Ph.D. Economics, University Of Maryland at college Park, United states • M. A. Economics,University Of Maryland at college Park, United states • M. Sc. Economics and Finance, University Of Warwick, United Kingdom • ปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรการอบรม/เสวนา • DAP: Director Accreditation Program รุ่นที� 151/2018 ประสบการณ์ ทาํ งาน 5 ปี ย้ อนหลัง บมจ.อื�นในตลาดหลักทรั พย์ ก.ค. 2560 – ปัจจุบนั • ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การใหญ่ ผู้บริหารสายงานวิจยั ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน)

วันที�ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการ 16 พฤศจิกายน 2547 ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ ง 14 ปี วุฒกิ ารศึกษา • ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ� (การบริหารการพัฒนา) สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ • เศรษฐศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ� จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เศรษฐศาสตรบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรการอบรม/เสวนา 1. CGI: Corporate Governance for Capital Market Intermediaries รุ่นที� 15/2016 2. ACEP: Anti-Corruption for Executive Program รุ่นที� 2/2012 3. DAP: Director Accreditation Program รุ่นที� 36/2005 4. RCP: Role of the Chairman Program รุ่นที� 5/2001 ประสบการณ์ ทาํ งาน 5 ปี ย้ อนหลัง บมจ.อื�นในตลาดหลักทรั พย์ 2555 – ปัจจุบนั • กรรมการ, ประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการบริหารความเสีย� ง บมจ. ธนาคารเกียรตินาคิน 2553 – ปัจจุบนั • ประธานกรรมการ บมจ. ทุนภัทร 2550 – ปัจจุบนั • กรรมการอิสระ และประธานอนุกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ทางยกระดับดอนเมือง 2548 – ปัจจุบนั • ประธานกรรมการ บมจ. หลักทรัพย์ ภัทร 2551 – เม.ย. 2560 • กรรมการอิสระ บมจ. เมืองไทยประกันภัย 2553 – เม.ย. 2560 • ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่า ตอบแทน บมจ. เมืองไทยประกันภัย 2555 – 2558 • ประธานเจ้ าหน้ าทีบ� ริหาร บมจ. ธนาคารเกียรตินาคิน รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

21


นายสุพล วัธนเวคิน

นางพนิดา เทพกาญจนา

อายุ 63 ปี

อายุ 59 ปี

ตําแหน่ งปัจจุบนั • กรรมการ • ประธาน คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล วันที�ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการ 4 พฤศจิกายน 2547 ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ ง 14 ปี วุฒกิ ารศึกษา • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (นักบริหาร) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • นิตศิ าสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง หลักสูตรการอบรม/เสวนา 1. Chairman Dinner (2018) หัวข้อ “Social Responsibilities in Action” สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 2. Chairman Dinner (2017) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 3. Family Business Club Event (3/2017) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 4. สัมมนา SET 100 ผนึกกําลังประชารัฐ (2016) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5. Risk Management Program for Corporate Leader (RCL 3/2016) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 6. CG Forum 4/2015 – Thailand CG Forum “Governance as a Driving Force for Business Sustainability” ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 7. Director Certification Program Update (DCPU 1/2014) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 8. CG Forum 2/2014 Corporate Governance in the Perspective of Investors ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 9. Chairman Forum 1/2013 Meeting the AEC Challenge: Role of the Chairman สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 10. CG Forum 3/2013 Conflict of Interest : Fighting Abusive RPT สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 11. Chairman Forum 2/2013 บทบาทของประธานกรรมการในการส่งเสริม จริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 12. Financial Institutions Governance Program (FGP 2/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 13. การปฏิรปู สถาบันการเงินไทย: จากปัจจุบนั สูอ่ นาคต (Special Seminar 1/2010) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 14. The 5th SEACEN / ABAC / ABA / PECC Public Private Dialogue for the Asia Pacific Region (2009) The South East Asia Central Bank Research and Training Center ประเทศมาเลเซีย 15. การสัมมนาเพือ� การกํากับดูแลกิจการทีด� ขี องบริษทั จดทะเบียนตาม รายงาน Corporate Governance Report of Thai Listed Companies (2007) สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย 16. Leadership, Strategic Growth and Change (2006) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 17. Organizing and Managing Strategic Alliances for Success and Profit (2006) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 18. Director Certification Program (DCP 76/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 19. Director Accreditation Program (DAP 56/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 20. Orchestrating Winning Performance (2005) IMD International ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 21. Board & CEO Assessment (2003) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 22. The Role of the Chairman Program (RCP 1/2000) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ประสบการณ์ทาํ งาน 5 ปี ย้อนหลัง บมจ.อื�นในตลาดหลักทรัพย์ 2554-ปัจจุบนั • ประธานกรรมการบริษทั และประธานกรรมการบริหารความเสีย� ง บมจ. ธนาคารเกียรตินาคิน 2516-ปัจจุบนั • กรรมการ บมจ. ธนาคารเกียรตินาคิน

22

ตําแหน่ งปั จจุบนั • กรรมการ • ประธาน คณะกรรมการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและ กําหนดค่าตอบแทน วันที�ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการ ปี 2534 ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ ง 27 ปี วุฒกิ ารศึกษา • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท สาขานิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เนติบณ ั ฑิตไทย สํานักงานอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบณ ั ฑิตยสภาไทย หลักสูตรการอบรม/เสวนา 1. RNG: Role of the Nomination and Governance Committee รุน่ ที� 6/2014 2. DCP: Refresher Course รุ่นที� 1/2005 3. DCP: Director Certification Program รุ่นที� 18/2002 ประสบการณ์ ทาํ งาน 5 ปี ย้ อนหลัง บมจ.อื�นในตลาดหลักทรั พย์ • ไม่มี


นางอารดา ว องกุศลกิจ

นายกว�น ว องกุศลกิจ

นายกษมา บุณยคุปต

อายุ 43 ปี

อายุ 36 ปี

อายุ 56 ปี

ตําแหน่ งปั จจุบนั • กรรมการ • กรรมการ คณะกรรมการยุทธศาสตร์และ การลงทุน • กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาผู้บริหาร ระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน

ตําแหน่ งปั จจุบนั • กรรมการ • กรรมการ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ และ การลงทุน • กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและ บรรษัทภิบาล

ตําแหน่ งปั จจุบนั • กรรมการ • ประธาน คณะกรรมการยุทธศาสตร์ และ การลงทุน

วันที�ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการ 26 เมษายน 2560

วันที�ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการ 1 ธันวาคม 2554

ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ ง 2 ปี

ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ ง 7 ปี

วุฒกิ ารศึกษา • Bachelor of Science in Manufacturing Engineering, Boston University School of Engineering, Boston Massachusetts • Master of Engineering, Operations Research & Industrial Engineering, Cornell University Graduate School, Ithaca, New York • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตการจัดการ (Executive MBA) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (SASIN)

วุฒกิ ารศึกษา • Master of Business Administration (Finance), The University of Sydney, Australia หลักสูตรการอบรม/เสวนา 1. RCC: Role of the Compensation Committee รุ่นที� 17/2013 2. RNG: Role of the Nomination and Governance Committee รุ่นที� 4/2013 3. DCP: Director Certification Program รุ่นที� 156/2012

ประสบการณ์ ทาํ งาน 5 ปี ย้ อนหลัง หลักสูตรการอบรม/เสวนา บมจ.อื�นในตลาดหลักทรั พย์ 1. Risk Management Program for Corporate • ไม่มี Leader รุ่น 12/2018 2. BMT: Board and Matter and Trends รุ่น 3/2017 3. DCP: Director Certification Program รุ่น 162/2012 4. FSD: Fiancial Statements for Director รุ่น 17/2012 ประสบการณ์ ทาํ งาน 5 ปี ย้ อนหลัง บมจ.อื�นในตลาดหลักทรั พย์ • ไม่มี

วันที�ดาํ รงตําแหน่ ง 28 เมษายน 2561 ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ ง 1 ปี วุฒกิ ารศึกษา • Master of Business Administration (International Business), University of Bridgeport, Connecticut, U.S.A • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาการเงินและธนาคาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรการอบรม/เสวนา 1. DCP: Director Certification Program รุ่นที� 49/2004 2. DSR : Corporate Governance and Social Responsibility รุ่น 1/2007 ประสบการณ์ ทาํ งาน 5 ปี ย้ อนหลัง บมจ.อื�นในตลาดหลักทรั พย์ 2557-2560 • ทีป� รึกษา คณะกรรมการยุทธศาสตร์และการลงทุน บมจ. ดิ เอราวัณ กรุ๊ป 2557-2559 • กรรมการ คณะกรรมการกํากับยุทธศาสตร์และการปฏิรปู บมจ. การบินไทย 2547-2553 • ประธานเจ้ าหน้ าทีบ� ริหาร และกรรมการผู้จดั การใหญ่ บมจ. ดิ เอราวัณ กรุ๊ป 2554-2557 • ประธานเจ้ าหน้ าทีบ� ริหาร บมจ. ดิ เอราวัณ กรุ๊ป

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

23


นายเพชร ไกรนุกูล

น.ส.กนกวรรณ ทองศิวะรักษ

อายุ 47 ปี ตําแหน่ งปั จจุบนั • กรรมการ • กรรมการ คณะกรรมการยุทธศาสตร์และการลงทุน • กรรมการผู้จดั การใหญ่ (แต่งตังเมื � อ� 1 มกราคม 2561) วันที�ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการ 1 มิถนุ ายน 2557 ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ ง 4 ปี วุฒกิ ารศึกษา • Master of Business Administration (Finance), University of South Alabama, Alabama, U.S.A หลักสูตรการอบรม/เสวนา • DCP: Director Certification Program รุ่นที� 101/2008 ประสบการณ์ ทาํ งาน 5 ปี ย้ อนหลัง บมจ.อื�นในตลาดหลักทรั พย์ • ไม่มี

24

ตําแหน่ งปั จจุบนั • เลขานุการบริษทั • เลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ • เลขานุการ คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล • ผู้อาํ นวยการ สํานักตรวจสอบภายใน • ผู้อาํ นวยการ สํานักบรรษัทภิบาล วุฒกิ ารศึกษา • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การอบรมในปี 2561 1. Sustainability reporting หลักสูตรจัดทํารายงานความยัง� ยืน จัดโดย ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2. S06: หลักสูตรจัดทํารายงานความยัง� ยืน (Sustainability Reporting) รุน่ 2/2018 3. งานสัมมนา “Data Protection for Business: Road to GDPR Standard” 4. S05: หลักสูตรการประเมินผลและการจัดการข้ อมูลด้ านความยัง� ยืน (Sustainability Evaluation & Data Management) รุ่นที� 2/2018 5. การซักซ้ อมความเข้ าใจมาตรการเตือนผู้ลงทุน หลักสูตรการอบรม/เสวนา 1. การจัดทํารายงานแห่งความยัง� ยืน (Sustainability Reporting) รุ่นที� 1/2017 2. การบริหารความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ� การพัฒนาอย่างยัง� ยืน (CSR for Corporate Sustainability) รุ่นที� 1/2017 3. Corporate Secretary Development Program รุ่นที� 11/2005 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. Auditing Information System, The Institute of Internal Auditors of Thailand (IIAT) 5. RCC: Role of the Compensation Committee Program รุน่ ที� 3/2007 6. CSP: Company Secretary Program รุ่นที� 28/2008 7. Going from “Good” to “Great” in IT Risk and Control Management, 28 พ.ย. 2555 8. IOD Company Secretary Forum 2013 วิทยากรงานเสวนา หัวข้ อ “Equipping Your Board for AGM” 9. Company Secretary Program (CSP) บรรยายหลักสูตรสําหรับเลขานุการบริษทั จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 10. IOD Company Secretary Forum 2014 วิทยากรในงานเสวนาหัวข้ อ “Strengthening Anti-Corruption Practice in Your Boardroom” 11. The UK Experience on Implementing the Enhanced Auditor Reporting จัดโดย ก.ล.ต. สภาวิชาชีพบัญชี และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 12. CG Forum 1/2016 “จริยธรรม: จิตสํานึกหลักบรรษัทภิบาล” ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 13. IOD Luncheon Briefing “How can Corporate Directors Help Nurture Social Enterprises” 14. CG Forum 2/2016 “สุจริต ระมัดระวัง เกราะคุ้มกันกรรมการ” ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 15. TLCA Knowledge Sharing “Cross-Team Collaboration for Sustainability and Innovation” 16. โครงการอบรมทางวิชาการ หลักสูตร RE-CU Hotel Investment and Marketing รุ่นที� 8 ปี 2559


กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนามผูกพันบริษัทฯ 2. กําหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และนโยบายต่างๆ ทีเ� กีย� วข้ องกับการ ประกอบด้ วย นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ นางพนิดา เทพกาญจนา ดําเนินธุรกิจ นายกษมา บุณยคุปต์ นางอารดา ว่องกุศลกิจ และนายเพชร ไกรนุกลู 3. พิจารณาแผนธุรกิจ พัฒนาขีดความสามารถ และประเมินผลการ สองในห้ าคนนี �ลงลายมือชือ� ร่วมกัน ดําเนินงานของบริษทั ฯ 4. พิ จ ารณางบประมาณ เพื� อ เพิ� ม มูล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ สูง สุด นโยบายจ่ ายเงินปั นผล ให้ แก่กจิ การ และสร้ างผลตอบแทนทีด� ใี ห้ แก่ผ้ ถู อื หุ้น บริษัทฯ มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผล ประมาณร้ อยละ 40 ของ 5. กําหนดนโยบายพัฒนา และแผนสืบทอดตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง กําไรสุทธิ ของงบการเงินรวมหลังหักเงินสํารองต่างๆ ทุกประเภท 6. กํากับดูแล และพัฒนาการบริหารความเสีย� ง ที� กฎหมาย และบริ ษัทฯกํ าหนด อย่างไรก็ตาม อัตราการจ่าย 7. กํากับดูแล และพัฒนาการปฏิบตั ติ ามหลักบรรษัทภิบาล เงินปั นผลดังกล่าวขึ �นอยูก่ บั กระแสเงินสด และภาระการลงทุนของ 8. กํากับดูแล ควบคุมให้ มรี ะบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบ บริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ รวมถึงข้ อจํากัดทางกฎหมาย และความ ภายในทีด� ี จําเป็ นอืน� 9. ดูแลผลประโยชน์ของผู้ถอื หุ้นทังรายใหญ่ � และรายย่อย ให้สามารถ ใช้สทิ ธิในการดูแลรักษาผลประโยชน์ของตน และรับรู้ขา่ วสารอย่าง อํานาจหน้ าที�ความรั บผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ถูกต้ องครบถ้ วน โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ และคณะกรรมการชุดย่ อย 10.แต่งตังคณะกรรมการชุ � ดย่อย กําหนดขอบเขตอํานาจหน้ าที� และ คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้ วย ติดตามการดําเนินงาน 1. นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการ 11.ประเมินผลการดําเนิ นงานผู้บริ หารระดับสูง และพิจารณา 2. ดร. กุลภัทรา สิโรดม กรรมการอิสระ และ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ � 3. นายเอกสิทธิ โชติกเสถียร กรรมการอิสระ และ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ วย กรรมการตรวจสอบ 1. ดร. กุลภัทรา สิโรดม ประธาน � 4. รศ. ดร. สมประวิณ มันประเสริฐ กรรมการอิสระ และ 2. นายเอกสิทธิ โชติกเสถียร กรรมการ กรรมการตรวจสอบ 3. รศ. ดร. สมประวิณ มันประเสริฐ กรรมการ 5. นายบรรยง พงษ์พานิช กรรมการอิสระ 4. นางสาวกนกวรรณ ทองศิวะรักษ์ เลขานุการ 6. นายสุพล วัธนเวคิน กรรมการ และผู้อาํ นวยการ 7. นางพนิดา เทพกาญจนา กรรมการ สํานักตรวจสอบภายใน 8. นางอารดา ว่องกุศลกิจ กรรมการ 9. นายกวิน ว่องกุศลกิจ กรรมการ วาระการดํารงตําแหน่ง กรรมการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี 10.นายกษมา บุณยคุปต์ กรรมการ 11.นายเพชร ไกรนุกลู กรรมการ และกรรมการผู้จดั การใหญ่ กฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ วาระการดํารงตําแหน่ง กรรมการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี 1.1 กรรมการตรวจสอบต้ องเป็ นกรรมการอิสระ และในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี ทุกครั ง� กรรมการจะ 1.2 มีกรรมการตรวจสอบไม่น้อยกว่า 3 คน และอย่างน้ อย 1 คน ต้องออกจากตําแหน่งจํานวนหนึง� ในสามของจํานวนกรรมการทังหมด � มีความรู้ด้านการเงินและบัญชี ทังนี � �กรรมการซึง� พ้ นจากตําแหน่งอาจได้ รบั เลือกใหม่ได้ 2. คุณสมบัตกิ รรมการตรวจสอบ 2.1 ได้ รบั แต่งตังจากคณะกรรมการบริ � ษทั คณะกรรมการบริษัท มีอํานาจหน้ าที�ความรับผิดชอบดังนี � 2.2 ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 0.5 ของจํานวนหุ้นที�มีสทิ ธิออกเสียง 1. จัดการบริษทั ฯ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้ อบังคับ ทังหมดของบริ � ษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรื อนิตบิ คุ คล และมติของทีป� ระชุมผู้ถอื หุ้น ด้ วยความซือ� สัตย์สจุ ริต ระมัดระวัง ที�อาจมีความขัดแย้ ง ทังนี � � ให้ นบั รวมการถือหุ้นของผู้ที� และรักษาผลประโยชน์ เกีย� วข้ องของกรรมการอิสระรายนันๆ � ด้ วย

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

25


2.3 ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นกรรมการทีม� สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้ าง 2.9 ไม่มลี กั ษณะอืน� ใดทีท� าํ ให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ น พนักงาน ทีป� รึกษาทีไ� ด้เงินเดือนประจํา หรือผู้มอี าํ นาจควบคุม อิสระเกีย� วกับการดําเนินงานของบริษทั ฯ ของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริ ษัทร่วม หรื อนิตบิ คุ คลที�อาจมี กรรมการอิสระทีม� คี ณ ุ สมบัตติ าม 2.1 - 2.9 ข้ างต้ น อาจได้ รบั ความขัดแย้ ง เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าว มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ให้ตดั สินใจในการดําเนิน มาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที�ได้ รับการแต่งตังเป็ � น กิจการของบริ ษัทฯ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม หรื อนิติบคุ คล กรรมการอิสระ ทีอ� าจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบองค์คณะได้ 2.4 ไม่เป็ นบุคคลที�มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการ (Collective Decision) จดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที�เป็ นบิดามารดา 3. วาระการดํารงตําแหน่ง และการพ้ นจากตําแหน่ง คูส่ มรส พีน� ้ อง และบุตรรวมทังคู � ส่ มรสของบุตร ของผู้บริหาร 3.1 กรรมการตรวจสอบ มีวาระการดํารงตําแหน่ง คราวละ 3 ปี หรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อบุคคลที�จะ กรรมการตรวจสอบผู้พ้นจากตําแหน่งตามวาระ อาจได้ รับ ได้ รับการเสนอให้ เป็ นผู้บริหาร หรื อผู้มีอาํ นาจควบคุมของ การแต่งตังเข้ � ามาใหม่ได้ บริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย 3.2 ในกรณีที�ตําแหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลง เพราะเหตุ 2.5 ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ย่อย อันมิใช่การพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั บริ ษัทร่ วมหรื อนิติบคุ คลที�อาจมีความขัดแย้ งในลักษณะ แต่งตังกรรมการผู � ้ มคี ณ ุ สมบัตติ ามทีส� าํ นักงานคณะกรรรม ที�อาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วจิ ารณญาณอย่างอิสระของ การกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือตลาด ตน รวมทังไม่ � เป็ นหรือเคยเป็ นผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ กรรมการซึง� หลักทรัพย์ฯ กําหนด ดํารงตําแหน่งกรรมการตรวจสอบแทน ไม่ใช่กรรรมการอิสระ หรื อผู้บริหารของผู้ทมี� ีความสัมพันธ์ ตําแหน่งทีว� า่ งนัน� โดยให้ มวี าระดํารงตําแหน่งเพียงเท่าวาระ ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คล ทีย� งั เหลืออยูใ่ นตําแหน่งกรรมการตรวจสอบทีไ� ปแทนนัน� ที�อาจมีความขัดแย้ ง เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะ 3.3 หากกรรมการตรวจสอบท่านใด ประสงค์จะลาออกก่อนครบ ดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันยืน� คําขออนุญาต วาระ จะต้ องแจ้ งต่อบริ ษัทฯ ล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 30 วัน ต่อสํานักงานคณะกรรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เพื� อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาแต่ง ตัง� ทดแทน 2.6 ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษทั ฯบริษทั ย่อยบริษทั ร่วม โดยคณะกรรมการบริษทั จะต้ องแต่งตังกรรมการตรวจสอบ � หรื อนิติบุคคลที�อาจมีความขัดแย้ ง และไม่เป็ นผู้ถือหุ้น รายใหม่ ให้ ครบถ้ วนในทันทีหรืออย่างช้ า ภายใน 3 เดือน รายใหญ่ กรรมการซึง� ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริ หาร หรื อ นับ แต่วัน ที� ก รรมการตรวจสอบลาออกและให้ บ ริ ษั ท ฯ หุ้นส่วนผู้จดั การของสํานักงานสอบบัญชี ซึง� มีผ้ สู อบบัญชี แจ้ งการลาออกพร้ อมส่งสําเนาหนังสือลาออกให้ ตลาด ของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริ ษัทร่วม หรื อนิตบิ คุ คลที�อาจมี หลักทรัพย์ฯทราบในทันที ความขัดแย้ งสังกัดอยู่ เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะ 4. การประชุมและองค์ประชุม ดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันทีไ� ด้ รบั การแต่งตัง� 4.1 การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละครัง� ให้ มกี รรมการ เป็ นกรรมการอิสระ ตรวจสอบเข้ าร่ วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ�งหนึ�งของจํานวน 2.7 ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นผู้ให้ บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง� รวมถึงการ กรรมการตรวจสอบ จึงจะถือว่าครบองค์ประชุม ให้ บริ การเป็ นที�ปรึกษากฎหมายหรื อที�ปรึกษาทางการเงิน 4.2 ในกรณีที�ประธานกรรมการตรวจสอบไม่อยู่ในที�ประชุม ซึง� ได้รบั ค่าบริการเกินกว่า2ล้านบาทต่อปี จากบริษทั ฯบริษทั ย่อย หรือไม่สามารถปฏิบตั หิ น้ าทีไ� ด้ ให้ กรรมการตรวจสอบ บริ ษั ท ร่ ว ม หรื อ นิ ติ บุค คลที� อ าจมี ค วามขัด แย้ ง ทัง� นี � ทีม� าประชุม เลือกกรรมการตรวจสอบท่านหนึง� เป็ นประธาน ในกรณีที�ผ้ ใู ห้ บริ การทางวิชาชีพเป็ นนิติบคุ คล ให้ รวมถึง ในทีป� ระชุม การเป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึง� ไม่ใช่กรรมการอิสระ 4.3 จัดให้ มกี ารประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ อย่างน้ อยปี ละ ผู้บริหาร หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การ ของผู้ให้ บริการทางวิชาชีพ 4 ครัง� และประธานกรรมการตรวจสอบอาจเรียกประชุมคณะ นันด้ � วย เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ ว กรรมการตรวจสอบเป็นกรณีพเิ ศษ เพือ� พิจารณาเรื�องจําเป็น ไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันทีไ� ด้รบั การแต่งตังเป็ � นกรรมการอิสระ เร่งด่วนได้ ตามทีเ� ห็นสมควร 2.8 ไม่เป็ นกรรมการที�ได้ รับการแต่งตังขึ � �นเพื�อเป็ นตัวแทนของ 4.4 มติที�ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ให้ ถือเสียงข้ างมาก กรรมการของบริษทั ฯ ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถอื หุ้นซึง� เป็ น ของกรรมการทีม� าประชุม และออกเสียงลงคะแนน โดยให้ ผู้ทเี� กีย� วข้ องกับผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ของบริษทั ฯ กรรมการตรวจสอบหนึ�งคนมีหนึ�งเสียงในการลงคะแนน ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากันให้ ประธานในที�ประชุมออกเสียง เพิม� ขึ �นอีกหนึง� เสียงเป็นเสียงชี �ขาด

26


4.5 กรรมการตรวจสอบทีม� สี ว่ นได้รบั ประโยชน์สว่ นตน หรือมีสว่ น 5.8 จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ใน ได้ เสียในเรื�องทีพ� จิ ารณา ให้ งดแสดงความเห็นและงดออก รายงานประจําปี ของบริษทั ฯ ซึง� รายงานดังกล่าวต้ องลงนาม เสียงลงคะแนนในเรื�องนัน� โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้ องประกอบด้ วย 4.6 เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรื อ ผู้เข้ าร่ วม ข้ อมูลอย่างน้ อยดังต่อไปนี � ประชุมอื�น ไม่มสี ทิ ธิออกเสียงในการประชุมคณะกรรมการ 5.8.1 ความเห็นเกีย� วกับความถูกต้องครบถ้วนเป็นทีเ� ชือ� ถือได้ ตรวจสอบ ของรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ และรายงานผล 5. ขอบเขตหน้าทีแ� ละความรับผิดชอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที� การดําเนินงานทีม� ใิ ช่รายงานทางการเงิน ตามทีไ� ด้ รบั มอบหมาย ดังต่อไปนี � 5.8.2 ความเห็นเกีย� วกับการบริหารความเสีย� ง 5.1 สอบทานให้ บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงิน อย่างถูกต้ อง 5.8.3 ความเห็นเกี�ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุม และเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ รวมถึงสอบทานรายงานผลการ ภายในของบริษทั ฯ ดําเนินงานทีม� ใิ ช่ทางการเงิน พร้ อมให้ ข้อคิดเห็น พิจารณา 5.8.4 ความเห็นเกี�ยวกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้ วย แนวทางการจัดการ เพื� อให้ มั�นใจว่า มี การปฏิ บัติงาน หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาด ตามแนวทางอย่างเหมาะสมและโปร่งใส หลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายทีเ� กี�ยวข้ องกับธุรกิจของ 5.2 สอบทานให้ บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal บริษทั ฯ Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ� หมาะสม 5.8.5 ความเห็นเกีย� วกับรายการทีเ� กีย� วโยงกันหรือทีอ� าจมี และมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงาน ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณา 5.8.6 ความเห็นเกี�ยวกับการปฏิบตั ติ ามมาตรการต่อต้ าน แต่งตัง� โยกย้ าย เลิกจ้ างหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน การทุจริตคอร์รปั ชัน� หรื อหน่วยงานอื�นใดที�รับผิดชอบเกี�ยวกับการตรวจสอบ 5.8.7 ความเห็นเกีย� วกับการตรวจสอบภายใน ภายใน 5.8.8 ความเห็นเกีย� วความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 5.3 สอบทานให้ บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์ 5.8.9 จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการ และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ เข้ าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน หรือกฎหมายทีเ� กีย� วข้ องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 5.8.10 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีไ� ด้รบั จากการปฏิบตั ิ 5.4 สอบทานประสิทธิภาพและความเหมาะสมของการบริหาร หน้ าทีต� ามกฎบัตร (charter) ความเสีย� ง พร้ อมทังให้ � ข้อเสนอแนะและติดตามความคืบหน้า 5.8.11 รายการอื�นที�เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทัว� ไปควร ของการบริหารจัดการความเสีย� งทีม� นี ยั สําคัญอย่างเป็นระบบ ทราบภายใต้ขอบเขตหน้ าทีแ� ละความรับผิดชอบทีไ� ด้ 5.5 สอบทานให้ บริษทั ฯ มีมาตรการการควบคุมภายใน รวมถึง รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั การกํากับดูแล การปฏิบตั ติ ามมาตรการต่อต้ าน การทุจริต 5.9 คณะกรรมการตรวจสอบ มีสทิ ธิเข้ ารับการอบรม หรือเข้ าร่วม คอร์รปั ชัน� ตลอดจนประเมินความเสีย� ง ให้ คาํ แนะนํา และ กิจกรรม เพือ� เป็นการเพิม� พูนความรู้ในเรื�องทีเ� กีย� วข้อง โดยใช้ รายงานผลการตรวจสอบตามมาตรการต่อต้ านการทุจริ ต ทรัพยากรของบริษทั ฯ คอร์รปั ชัน� ต่อคณะกรรมการบริษทั รับทราบอย่างสมํา� เสมอ 5.10 ทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และ 5.6 พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตังบุ � คคลซึง� มีความเป็ น เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ� พิจารณาอนุมตั ิ อิสระเพือ� ทําหน้ าทีเ� ป็ นผู้สอบบัญชีของบริษทั และเสนอค่า 6. ปฏิบตั กิ ารอืน� ใดตามทีค� ณะกรรมการบริษทั มอบหมายด้วยความ ตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทังเข้ � าร่วมประชุมกับผู้สอบ เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ บัญชีโดยไม่มฝี ่ ายจัดการเข้ าร่วมประชุมด้ วยอย่างน้ อยปี ละ ในการปฏิบตั หิ น้ าที� คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบ 1 ครัง� ต่อคณะกรรมการบริษทั โดยตรง และคณะกรรมการบริษทั ยังคง 5.7 พิจารณารายการทีเ� กีย� วโยงกัน หรือรายการทีอ� าจมีความขัดแย้ง มีความรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษทั ฯ ต่อบุคคลภายนอก ทางผลประโยชน์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมายและข้ อกําหนด ในการปฏิบตั หิ น้ าทีข� องคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมี ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทังนี � �เพือ� ให้ มนั� ใจว่า รายการดังกล่าว ข้ อสงสัยว่า มีรายการหรือการกระทําทีเ� กีย� วกับ สมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์ สูงสุดต่อบริษทั ฯ 1. รายการทีเ� กิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ 2. การทุจริตหรือมีสงิ� ผิดปกติหรือมีความบกพร่องทีส� าํ คัญใน ระบบควบคุมภายใน รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

27


3. การฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายทีเ� กี�ยวข้ อง กับ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ซึ�ง อาจมี ผ ลกระทบอย่ า งมี นัย สําคัญต่อฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ให้ คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพื�อดําเนินการปรับปรุงแก้ ไขภายในเวลาที�คณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นควร หากคณะกรรมการบริษทั หรือผู้บริหาร ไม่ดําเนินการให้ มีการปรับปรุงแก้ ไขภายในเวลาที�กําหนด กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึง� อาจรายงานว่ามีรายการ หรือการกระทํานัน� ต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ ตลาดหลักทรัพย์ฯ 7. การรายงาน การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทุกครั ง� ให้ เลขานุการฯ ทํ า รายงานการประชุ ม และสรุ ป ความเห็ น ของที� ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ นํ าเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท เพือ� ทราบ และ/หรือ เพือ� พิจารณา 8. เรื�องอืน� ๆ 8.1 คณะกรรมการตรวจสอบมีอาํ นาจเชิญผู้บริหาร ผู้เกี�ยวข้ อง หรือผู้สอบบัญชีเข้ าร่วมประชุมเพือ� ชี �แจงข้ อมูลเพิม� เติม 8.2 คณะกรรมการตรวจสอบอาจแสวงหาความเห็นทีเ� ป็ นอิสระ จากที�ปรึกษาทางวิชาชีพอื�นใด เมื�อเห็นว่าจําเป็ นได้ ด้วย ค่าใช้ จา่ ยของบริษทั ฯ 8.3 คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผู้พจิ ารณาและให้ ความเห็นใน การแต่งตัง� โยกย้ าย พิจารณาความดีความชอบ หรือเลิกจ้ าง ผู้บริหาร พนักงาน สํานักตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอืน� ใดทีร� บั ผิดชอบเกีย� วกับการตรวจสอบภายใน 8.4 คณะกรรมการตรวจสอบ เป็ น ผู้พิ จ ารณาเสนอขอให้ คณะกรรมการบริษทั ว่าจ้ างผู้ให้ บริการงานตรวจสอบภายใน จากภายนอกเมือ� เห็นว่าจําเป็ นด้ วยค่าใช้ จา่ ยของบริษทั ฯ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ และการลงทุน ประกอบด้ วย 1. นายกษมา บุณยคุปต์ ประธาน 2. นางวรรณสมร วรรณเมธี กรรมการ 3. นางอารดา ว่องกุศลกิจ กรรมการ 4. นายกวิน ว่องกุศลกิจ กรรมการ 5. นายณัฐพงษ์ ว่องกุศลกิจ กรรมการ 6. นายสุพชั ร วัธนเวคิน กรรมการ 7. นายเพชร ไกรนุกลู กรรมการ 8. นางสาวกันยะรัตน์ กฤษณเทวินทร์ เลขานุการ

คณะกรรมการยุทธศาสตร์ และการลงทุน มีอาํ นาจหน้ าทีค� วาม รับผิดชอบ ดังนี � 1. พิจารณาและกําหนดทิศทางธุรกิจและแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว ขององค์กรร่ วมพิจารณากับกรรมการผู้จดั การใหญ่และคณะ ผู้บริหาร เพือ� เสนอให้ คณะกรรมการบริษทั อนุมตั ิ 2. พิจารณากลัน� กรองโครงการลงทุนและการขายทรัพย์สนิ ตามแผน ยุทธศาสตร์ ซึง� รวมถึงการพิจารณาความเป็ นไปได้ ของโครงการ ผลตอบแทนทางการเงินที�เหมาะสมกับความเสีย� งในด้ านต่างๆ โครงสร้ างเงินทุนและแหล่งเงินของโครงการลงทุน 3. ให้ คาํ แนะนําและคําปรึกษาแก่ฝ่ายบริหาร ในการหาช่องทางการ ดําเนินธุรกิจ คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล ประกอบด้ วย 1. นายสุพล วัธนเวคิน ประธาน � 2. นายเอกสิทธิ โชติกเสถียร กรรมการ 3. นายกวิน ว่องกุศลกิจ กรรมการ 4. นางสาวกนกวรรณ ทองศิวะรักษ์ เลขานุการ วาระการดํารงตําแหน่ง กรรมการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล มีอํานาจหน้ าที�ความ รับผิดชอบ ดังนี � 1. พิจารณาโครงสร้ างคณะกรรมการ กําหนดคุณสมบัติเฉพาะ ตําแหน่งของกรรมการ และกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย 2. พิจารณา และสรรหาผู้ทรงคุณวุฒเิ ข้าดํารงตําแหน่งกรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยทีค� ณะกรรมการบริษทั แต่งตังขึ � �น 3. กําหนดค่าตอบแทนกรรมการ และค่าตอบแทนคณะกรรมการชุดย่อย 4. นําเสนอนโยบาย และแนวปฏิบตั ใิ นด้ านการกํากับดูแลกิจการทีด� ี ต่อคณะกรรมการบริษทั และพิจารณาปรับปรุงให้ ทนั สมัยอยูเ่ สมอ 5. ประเมินผลงาน และติดตามการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายจัดการให้เป็นไปตามนโยบาย และแนวปฏิบตั ใิ นการกํากับ ดูแลกิจการทีด� ี 6. สนับสนุนการเรี ยนรู้ในเรื� องที�เกี�ยวกับธุรกิจ ข้ อบังคับ และแผน กลยุทธ์ของบริษทั ฯ

คณะกรรมการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน ประกอบด้ วย 1. นางพนิดา เทพกาญจนา ประธาน 2. นายบรรยง พงษ์พานิช กรรมการ 3. นางอารดา ว่องกุศลกิจ กรรมการ วาระการดํารงตําแหน่ง กรรมการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี 4. นายสุชยั วุฒวิ รชัยรุ่ง เลขานุการ

28


วาระการดํารงตําแหน่ง กรรมการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี 4. บริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ตังแต่ � การสรรหา การกําหนดเงินเดือน ค่าจ้าง ผลตอบแทนและสวัสดิการต่างๆ กําหนดวิธปี ระเมินผลและ คณะกรรมการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน จัดสรรผลประโยชน์พเิ ศษ การแต่งตัง� ถอดถอน โอนย้ าย ตลอดจน มีอาํ นาจหน้ าทีค� วามรับผิดชอบ ดังนี � การออกกฎระเบียบ ข้ อบังคับ ประกาศต่างๆ ตามความเหมาะสม 1. ดํ า เนิ น การประเมิ น ผลการปฏิ บัติ ง าน พิ จ ารณากํ า หนด 5. จัดโครงสร้ างบริ หารงาน กําหนดบทบาทและหน้ าที� ตลอดจน ค่าตอบแทนประจําปี และกําหนดโครงสร้ างค่าตอบแทนของกรรมการ กําหนดอํานาจอนุมตั ติ า่ งๆ ให้ มปี ระสิทธิภาพและเหมาะสมกับ ผู้จดั การใหญ่ พร้ อมทังให้ � คาํ ปรึกษาแก่กรรมการผู้จดั การใหญ่ คุณสมบัตขิ องบุคลากรและสถานการณ์ทางธุรกิจ ในการกําหนดค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูง 6. พัฒนาระบบงานต่างๆ เพื�อให้ การทํางานของหน่วยงานต่างๆ 2. พิจารณาแผนพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถของผู้ที�ถกู มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เสนอชือ� ให้ ดาํ รงตําแหน่งกรรมการผู้จดั การใหญ่ (ในกรณีเกิดการ 7. เสริมสร้ างวัฒนธรรมองค์กรให้เข้มแข็งเพือ� สนับสนุนการเป็นองค์กร เปลีย� นแปลง) ทีย� งั� ยืน 3. พิจารณานโยบายการบริ หารทรัพยากรบุคคลที�สําคัญ และ 8. พัฒนาทักษะความรู้ และขีดความสามารถของบุคลากรตาม พิจารณานโยบายเกีย� วกับโครงสร้ างผลตอบแทนพนักงาน ได้ แก่ ความต้ องการของแผนธุรกิจส่งเสริมตลอดจนพัฒนาแผนสืบทอด นโยบายและงบประมาณการปรับผลตอบแทนประจําปี การจ่าย ตําแหน่งผู้บริหารทีส� าํ คัญในทุกระดับ เงินรางวัล (โบนัส) ประจําปี 9. พัฒนาฐานข้ อมูลและระบบการจัดเก็บที�เพียงพอและทันสมัย 4. พิจารณาการจัดสรร การให้สทิ ธิซื �อหุ้นแก่พนักงาน (ESOP) ในส่วน ตลอดจนระบบการเรียกใช้ และการแสดงผลอย่างมีประสิทธิภาพ ทีไ� ด้ รบั การจัดสรรเกินกว่าร้ อยละ 5 ของโครงการ 10.เสริมสร้ างภาพลักษณ์องค์กรและประชาสัมพันธ์องค์กร ตลอดจน ทําหน้ าทีเ� ป็ นตัวแทนขององค์กรในกิจกรรมต่างๆ ขององค์กรต่อ กรรมการอิสระ มี 4 คน คิดเป็นร้ อยละ 36.36 ของคณะกรรมการบริษทั บุคคลภายนอก ประกอบด้ วย 11.พัฒนาและเสริมสร้ างการเป็ นองค์กรทีย� ดึ ถือและปฏิบตั ติ ามหลัก 1. ดร. กุลภัทรา สิโรดม ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ บรรษัทภิบาลทีด� ี และบุคลากรมีสาํ นึกความรับผิดชอบต่อผู้ทมี� ี � 2. นายเอกสิทธิ โชติกเสถียร กรรมการตรวจสอบ ส่วนเกีย� วข้ อง ตลอดจนสังคมและสิง� แวดล้อม 3. รศ. ดร. สมประวิณ มันประเสริฐ กรรมการตรวจสอบ 4. นายบรรยง พงษ์พานิช กรรมการอิสระ หน้ าที�ความรั บผิดชอบของเลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัท ได้ แต่งตัง� นางสาวกนกวรรณ ทองศิวะรักษ์ ผู้บริหาร ประกอบด้ วย ทําหน้ าที�เลขานุการบริ ษัท โดยให้ มีอํานาจหน้ าที�ตามที�กําหนดไว้ 1. นายเพชร ไกรนุกลู กรรมการผู้จดั การใหญ่ ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 2. นางสาวกันยะรัตน์ กฤษณเทวินทร์ รองกรรมการผู้จดั การ แก้ ไขเพิม� เติม (ฉบับที� 5) พ.ศ.2559 และ/หรือกฎหมาย หรือข้ อกําหนด 3. นายอภิชาญ มาไพศาลสิน รองกรรมการผู้จดั การ อืน� ทีเ� กีย� วข้ อง ซึง� ประกอบด้ วย 4. นายนวรัตน์ ธรรมสุวรรณ รองกรรมการผู้จดั การ 1. สนับสนุนให้ คณะกรรมการบริษทั ปฏิบตั หิ น้ าทีด� ้ วยความรับผิด 5. นายสุชยั วุฒวิ รชัยรุ่ง ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ชอบ และความระมัดระวัง เยีย� งวิญ�ูชนผู้ประกอบธุรกิจจะพึง 6. นางสาวเจติยา กิตโิ ยดม ผู้อาํ นวยการ ฝ่ ายบัญชี กระทําภายใต้สถานการณ์อย่างเดียวกัน (Fiduciary Duties) ตลอด จนให้ คาํ ปรึกษาแก่กรรมการ ฝ่ ายจัดการ และพนักงานให้ ปฏิบตั ิ บทบาทหน้ าที�ของกรรมการผู้จดั การใหญ่ (President) ตามกฎหมาย กฎและระเบียบ และข้ อกําหนดของ สํานักงานคณะ 1. จัดทําทิศทางธุรกิจและแผนยุทธศาสตร์ระยะยาวขององค์กรร่วมกับ กรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) รวมทังข้� อ คณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ แ ละการลงทุ น เพื� อ เสนอให้ กําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ/หรือ กฎหมาย คณะกรรมการบริษทั อนุมตั ิ อืน� ทีเ� กีย� วข้ อง 2. จัดทําแผนธุรกิจและกําหนดกลยุทธ์เพือ� ให้ บรรลุแผนยุทธศาสตร์ 2. กํากับดูแลในส่วนทีเ� กีย� วข้องกับการปฏิบตั ติ ามหลักบรรษัทภิบาลทีด� ี ขององค์กรในระยะยาว 3. ประสานงานในเรื�องทีเ� กีย� วข้องกับกรรมการ ได้แก่ การเปลีย� นแปลง 3. จัดทํางบประมาณประจําปีและจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ตามแผนธุรกิจ คุณสมบัติ การเปลี�ยนแปลงบทบาทหน้ าที� การดํารงตําแหน่ง และรับผิดชอบในการดําเนินการเพือ� บรรลุเป้าหมายประจําปีทวี� างไว้ ในคณะกรรมการชุดย่อย การพ้ นจากตําแหน่งตามวาระ การลา ออกจากตําแหน่งก่อนครบวาระ การแต่งตังกรรมการใหม่ � เป็นต้ น รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

29


4. กําหนด และแจ้งสถานทีจ� ดั เก็บเอกสารสําคัญของบริษทั ฯ ตลอดจน 18.4 บุค คลซึ�ง ได้ รั บ คะแนนเสี ย งสูง สุด ตามลํ า ดับ ลงมาเป็ น เปิดเผยสารสนเทศทีเ� กีย� วข้องตามหน้าทีค� วามรับผิดชอบต่อ ก.ล.ต. ผู้ได้ รบั การเลือกตังเป็ � นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการทีจ� ะพึงมี 5. ติดตามการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายจัดการให้ เป็ นไปตามมติของ ในกรณีทบี� คุ คลซึง� ได้รบั การเลือกตังในลํ � าดับถัดลงมา มีคะแนน คณะกรรมการบริษทั (Good Practices) เสียงเท่ากันเกินจํานวนกรรมการทีจ� ะพึงมี ประธานกรรมการ 6. จัดทํารายงานประจําปี ให้ เพียงพอต่อการเผยแพร่แก่ผ้ ถู อื หุ้น และ ในทีป� ระชุมมีสทิ ธิออกเสียงชี �ขาด ผู้มสี ว่ นเกีย� วข้ อง 7. พิจารณาจดหมายเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี (Annual ข้ อ 19 ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี ทกุ ครัง� ให้ กรรมการ General Meeting of Shareholders) และการประชุมวิสามัญผู้ถอื หุ้น ออกจากตําแหน่งจํานวนหนึ�งในสาม (1 ใน 3) เป็ นอัตรา (The Extraordinary General Meeting of Shareholders) ถ้ าจํานวนกรรมการทีจ� ะแบ่งออกให้ ตรงเป็ นสามส่วนไม่ได้ ให้ ความเพียงพอของเอกสาร ข้ อมูล เอกสารประกอบการประชุม ออกโดยจํานวนใกล้ ทสี� ดุ กับส่วนหนึง� ในสาม กรรมการซึง� พ้ น การให้ ข้อมูลต่อทีป� ระชุม และบันทึกรายงานการประชุม จากตําแหน่งหรือครบวาระอาจได้ รบั เลือกตังใหม่ � ได้ 8. เปิ ดเผยสารสนเทศที�เกี�ยวข้ องตามหน้ าที�ความรับผิดชอบต่อ กรรมการอาจตกลงระหว่างกันถึงลําดับการออกจากตําแหน่ง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามวาระโดยเป็ นไปตามบทบัญญัตใิ นวรรคแรก ข้ อบังคับบริษัทที�เกี�ยวข้ องกับการแต่ งตัง� กรรมการ ข้ อ 48 มติของที�ประชุมผู้ถือหุ้นนัน� ให้ ประกอบด้ วยคะแนนเสียง ข้ อ 18 กรรมการนัน� ให้ ทปี� ระชุมผู้ถอื หุ้นเลือกตังตามหลั � กเกณฑ์ และ ดังต่อไปนี � วิธกี ารดังต่อไปนี � 48.1 ในกรณีปกติ ให้ถอื คะแนนเสียงข้างมากของผู้ถอื หุ้นซึง� มาประชุม 18.1 ให้ ประธานในทีป� ระชุมเสนอต่อทีป� ระชุมซึง� รายชือ� และประวัติ (ด้ วยตนเองหรือโดยการมอบฉันทะ) และออกเสียงลงคะแนน ความเป็ นมาของผู้ได้ รับการเสนอชื�อ ตามที�คณะกรรมการ ได้ เสนอเพือ� ขออนุมตั ิ 18.2 ผู้ถอื หุ้นคนหนึง� มีคะแนนเสียงเท่ากับจํานวนหุ้นทีต� นถือ 18.3 การเลือกตังกรรมการอาจดํ � าเนินการโดยการออกเสียงลง คะแนนเลือกตังบุ � คคลคนเดียวหรือหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้ ตามที�ที�ประชุมผู้ถือหุ้นจะเห็นสมควร ผู้ถือหุ้นแต่ละคนต้ อง ใช้ คะแนนเสียงทีม� อี ยูท่ งหมดตามข้ ั� อ 18.2 เลือกตังกรรมการแต่ � ละคน และไม่อาจแบ่งคะแนนเสียงให้ แก่ ผู้ใดโดยเฉพาะ

30


Shareholding of the Board of Directors and Management การถือครองหลักทรัพย ของกรรมการและผู บร�หาร ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหน ง

หุ นสามัญ (หุ น) 31 ธ.ค.2561 31 ธ.ค.2560 เพิ่ม (ลด)

1. นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ

ประธานกรรมการบริษทั

2. ดร. กุลภัทรา สิโรดม 3. นายเอกสิทธิ� โชติกเสถียร

กรรมการอิสระ

-

-

-

กรรมการอิสระ

-

-

-

4. รศ.ดร.สมประวิณ มันประเสริฐ 2

กรรมการอิสระ

-

-

-

5. นายบรรยง พงษ์พานิช

กรรมการอิสระ

-

-

-

6. นายสุพล วัธนเวคิน

กรรมการ

66,235,502

66,235,502

-

7. นางพนิดา เทพกาญจนา 1

กรรมการ

3,596,448

3,596,448

-

8. นายกวิน ว่องกุศลกิจ

กรรมการ

67,213

67,213

-

9. นางอารดา ว่องกุศลกิจ

กรรมการ

59,760

59,760

-

10. นายกษมา บุณยคุปต์ 2

กรรมการ

99,999

99,999

-

3,339,082

3,339,082

-

149,764,304 149,764,304

-

11. นายเพชร ไกรนุกลู 12. นางวรรณสมร วรรณเมธี

กรรมการผู้จดั การใหญ่ 3

กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย

102,905

-

13. นายณัฐพงษ์ ว่องกุศลกิจ

กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย

14. นางสาวกันยะรัตน์ กฤษณเทวินทร์

รองกรรมการผู้จดั การ

15. นายอภิชาญ มาไพศาลสิน

รองกรรมการผู้จดั การ

1,385,000

900,000

485,000

16. นายนวรัตน์ ธรรมสุวรรณ

รองกรรมการผู้จดั การ

100,000

100,000

-

17. นายสุชยั วุฒวิ รชัยรุ่ง 4

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ

500,587

128,387

372,200

100,000 225,740,440 224,783,240

100,000 957,200

18. นางสาวเจติยา กิตโิ ยดม ผู้อาํ นวยการฝ่ ายบัญชี รวมสัดส่ วนการถือครองหุ้นของกรรมการและผู้บริหาร

389,640

102,905

-

389,640

-

-

-

หมายเหตุ: 1. รวมคูส่ มรส 1,868,500 หุ้น 2. ดํารงตําแหน่งกรรมการเมื�อวันที� 28 เมษายน 2561 3. รวมคูส่ มรส 7,300 หุ้น 4. ดํารงตําแหน่งระดับบริ หาร 4 รายแรกตามประกาศของคณะกรรมการ กลต. เมื�อวันที� 23 มีนาคม 2561

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

31


Remueration of the Board of Directors and Management ค าตอบแทนคณะกรรมการและผู บร�หาร คณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้ คณะกรรมการชุดย่อย ทําหน้ าที� 2) การประเมิ น ผลงานเชิ ง ทัก ษะและเชิ ง พฤติ ก รรม (CSBในการกําหนดนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการ ผู้บริหาร Competency Skill Behavior) ที�สนับสนุนวัฒนธรรมองค์กร และพนักงาน ดังนี � การประเมินเป็ นรายบุคคล โดยผู้บงั คับบัญชาโดยตรง ซึง� จะ มีหัวข้ อการประเมินบางส่วนตามนโยบายของบริ ษัทฯ และ คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล ทําหน้ าที�ในการกําหนด บางส่วนแตกต่างกันตามที�ผ้ ูบงั คับบัญชาระดับสายงานเป็ น นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการ โดยมี การพิจารณาทบทวน ผู้กําหนด และเพื�อให้ การประเมินเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ความสมเหตุสมผลของการจ่ายค่าตอบแทน ตามขอบเขตอํานาจหน้าที� และมีข้อมูลประกอบจากผู้ร่วมงานในระดับต่างๆ การประเมิน ความรับผิดชอบ สถานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ จึงทําในลักษณะ 360 องศา โดยให้ ผ้ บู งั คับบัญชาประเมินผู้ใต้ เปรียบเทียบกับบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจ และระดับรายได้ทใี� กล้เคียงกันทุกปี บังคับบัญชา ผู้ใต้ บงั คับบัญชาประเมินผู้บงั คับบัญชา และให้ โดยกําหนดให้มกี ารจ่ายค่าตอบแทน 3 รูปแบบคือ ค่าตอบแทนประจํา มีการประเมินตนเองทุกระดับ ผลการประเมินทัง� 2 ส่วนนํามา ค่าเบี �ยประชุม และบําเหน็จกรรมการ (โบนัส) อย่างไรก็ตาม กรรมการ เป็ นเครื�องมือในการกระจายผลตอบแทนรวมขององค์กรสูร่ ะดับ ทีไ� ด้ รบั มอบหมายให้ เป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย จะได้ รบั สายงาน ฝ่ าย และส่วนงาน ค่าตอบแทนเพิม� ตามความรับผิดชอบทีเ� พิม� ขึ �น และเสนอขออนุมตั ิ จากทีป� ระชุมสามัญผู้ถอื หุ้นเป็ นประจําทุกปี ในปี 2561 บริ ษัทฯ จ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริ หาร รวม 47,523,681.04 บาท ประกอบด้ วย คณะกรรมการพัฒนาผู้บริ หารระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน 1. ค่าตอบแทนกรรมการ 10,847,500.00 บาท รายละเอียดแสดง ทําหน้ าทีใ� นการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผู้จดั การใหญ่ ไว้ ตามตารางแสดงค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั และ ตามเป้าหมายทีก� าํ หนดไว้ 4 ด้ าน คือ ด้ านการเงิน ด้ านความพึงพอ คณะกรรมการชุดย่อย ปี 2561 ใจของลูกค้ า ด้ านกระบวนการภายใน และด้ านการพัฒนาทรัพยากร 2. ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ย่อย 5,860,000.00 บาท มนุษย์และการพัฒนาองค์กร เพือ� ประกอบในการพิจารณากําหนด 3. ค่าจ้ างของผู้บริหาร 6 คน ทีจ� า่ ยจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย โครงสร้ างค่าตอบแทนและค่าตอบแทนประจําปี ให้ กบั ผู้บริหารและ 29,906,091.80 บาท พนักงานตามสายงาน 4. เงินกองทุนสํารองเลี �ยงชีพของผู้บริหาร 6 คน 910,089.24 บาท กรรมการผู้จดั การใหญ่ พิจารณาจ่ายค่าตอบแทนผู้บริหาร โดยผ่าน กระบวนการการประเมินผล 2 ส่วนคือ 1) การประเมินผลงานตามยุทธศาสตร์ (BSC - Balance Score Card) เป็ นการพิจารณาตามความสําคัญของยุทธศาสตร์ ของ สายงานต่อยุทธศาสตร์ ขององค์กร ผ่านกระบวนการถ่ายทอด เชื�อมโยงยุทธศาสตร์ จากระดับองค์กรลงสูร่ ะดับต่างๆ 3 ระดับ ได้ แก่ ยุทธศาสตร์ องค์กร ยุทธศาสตร์ สายงาน และยุทธศาสตร์ ฝ่ ายงาน และ

32


รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

33

2.

1.

นายประกิต ประทีปะเสน ลาออกตังแต่ � วนั ที� 27 เมษายน 2561 นางกมลวรรณ วิปลุ ากร ลาออกตังแต่ � วนั ที� 27 เมษายน 2561

ประธานกรรมการบริษทั กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและกรรมการผู้จดั การใหญ่ กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย กรรมการอิสระ กรรมการ ค่าตอบแทนรวม/ปี

1.นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ 2. ดร. กุลภัทรา สิโรดม 3. นายเอกสิทธิ� โชติกเสถียร 4. รศ. ดร. สมประวิณ มันประเสริฐ 5. นายบรรยง พงษ์พานิช 6. นายสุพล วัธนเวคิน 7. นางพนิดา เทพกาญจนา 8. นางอารดา ว่องกุศลกิจ 9. นายกวิน ว่องกุศลกิจ 10.นายกษมา บุณยคุปต์ 11. นายเพชร ไกรนุกลู 12. นางวรรณสมร วรรณเมธี 13. นายณัฐพงษ์ ว่องกุศลกิจ 14. นายสุพชั ร วัธนเวคิน 15. นายประกิต ประทีปะเสน1 16. นางกมลวรรณ วิปลุ ากร2

หมายเหตุ

ตําแหน ง

รายชื่อกรรมการ

ค าตอบแทนกรรมการ

840,000 720,000 720,000 240,000 720,000 720,000 720,000 720,000 720,000 240,000 720,000 720,000 480,000 8,280,000

167,000 140,000 90,000 65,000 462,000

318,750 293,750 292,500 281,250 275,000 318,750 1,780,000

54,000 66,000 14,000 40,000 19,500 193,500

40,000 52,000 40,000 132,000

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ พัฒนา คณะกรรมการ ตรวจสอบ ยุทธศาสตร และ สรรหาและ ผู บริหารระดับ บริษัท การลงทุน บรรษัทภิบาล สูงและกําหนดค า ตอบแทน

ค่ าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่ อย ปี 2561

840,000 887,000 914,000 330,000 760,000 786,000 772,000 1,092,750 1,053,750 532,500 720,000 281,250 275,000 318,750 804,500 480,000 10,847,500

ค าตอบแทน รวม/ป


Business Overview ภาพรวมของธุรกิจ


Business Structure โครงสร างธุรกิจ

74%* บริ ษัท โรงแรมเอราวัณ จํากัด (มหาชน) แกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ

100%

100%

100%

100%

บริ ษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน)

บริ ษัท เอราวัณ สมุย จํากัด

บริษทั เอราวัณ ภูเก็ต จํากัด

บริษทั เอราวัณ ราชดําริ จํากัด

เจดับบลิว แมริ ออท กรุงเทพ

เรเนซองส์ เกาะสมุย รี สอร์ ท แอนด์ สปา

ฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา ฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา เอ็กซ์เซ็กคูทีฟ ทาวเวอร์

คอร์ ทยาร์ ด โดย แมริ ออท กรุงเทพ

100%

100% 100%

บริษทั เอราวัณ เจ้ าพระยา จํากัด

บริษทั เอราวัณ โกรท เมเนจเม้ นท์ จํากัด

บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด

ไอบิส กรุงเทพ ริ เวอร์ ไซด์

บริ หารโรงแรม ไอบิส พัทยา ไอบิส ภูเก็ต ป่ าตอง

ฮ็อป อินน์ ในประเทศ ฮ็อป อินน์ ต่างประเทศ

เดอะ นาคา ไอแลนด์, เอ ลักซ์ชวั รี� คอลเลคชัน� รี สอร์ ท แอนด์ สปา, ภูเก็ต

โนโวเทล กรุงเทพ สุขมุ วิท 4

เมอร์ เคียว กรุงเทพ สยาม เมอร์ เคียว พัทยา โอเชี�ยน รี สอร์ ท

100%

100%

100%

20%

บริษทั เอราวัณ คอมเมอร์ เชียล เมเนจเม้ นท์ จํากัด

บริษทั เอราวัณ นาคา จํากัด

บริษทั เดอะ รีเสิร์ฟ จํากัด

กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ เอราวัณ โฮเทล โกรท

ที�ดนิ รอการพัฒนา

ที�ดนิ รอการพัฒนา

ไอบิส สไตล์ กระบี� อ่าวนาง ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ สุขมุ วิท 4

ไอบิส กรุงเทพ สุขมุ วิท 4 ไอบิส กรุงเทพ สาทร ไอบิส กรุงเทพ สยาม ไอบิส ภูเก็ต กะตะ ไอบิส สมุย บ่อผุด ไอบิส หัวหิน

ไอบิส พัทยา ไอบิส ภูเก็ต ป่ าตอง

บริ หารอาคารสํานักงาน และศูนย์การค้ า อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์

ธุรกิจพื �นที�ให้ เช่า อาคารเอราวัณ แบงค็อก

*รัฐบาลถือหุ้นผ่าน บริ ษัท สหโรงแรมไทย จํากัด 26% และเป็ นเจ้ าของที�ดนิ รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

35


Operation Structure โครงสร างการบร�หารทรัพย สิน ดิ เอราวัณ กรุ๊ป แบ่งการบริ หารโรงแรมในเครื อออกเป็ น 3 กลุม่ ดังนี � 1. การบริ หารโดยบุคคลภายนอกซึ�งเป็ นเจ้ าของแบรนด์ โรงแรม บริ ษัทฯ จะดําเนินการคัดเลือกบริ ษัทผู้บริ หารโรงแรม ที�เป็ นองค์กรชันนํ � ามีชื�อเสียงระดับนานาชาติ มีประสบการณ์ มีเครื อข่ายทางการ ตลาดกว้ างขวาง และมีระบบการทํางานที�มีประสิทธิภาพ โดยการคัดเลือกแบรนด์จะพิจารณาจากความชํานาญของบริษัทผู้บริหาร และ ความเหมาะสมต่อทรัพย์สนิ เป็ นหลัก

บร�ษัทผู บร�หารโรงแรม

Luxury

Midscale

36


2. การบริหารโดยบริษทั ฯ ภายใต้ แบรนด์ โรงแรมของบุคคล ภายนอกในรู ปแบบของการแฟรนไชส์ บริษทั ฯ ดําเนินการคัดเลือกแบรนด์ทจี� ะทําการแฟรนไชส์จากบริษทั เจ้ าของแบรนด์โรงแรมทีเ� ป็ นองค์กรชันนํ � ามีชอื� เสียงระดับนานาชาติ มีการดําเนินงานที�เป็ นระบบ และทําการคัดเลือกแบรนด์โดยคํานึง ถึงชื�อเสียง ความกว้ างขวางของเครื อข่ายทางการตลาดและความ เหมาะสมของแบรนด์ตอ่ ทรัพย์สนิ เป็ นหลัก ซึง� แบรนด์ทบี� ริษทั ฯ ได้ รบั สิทธิ�ให้ ใช้ อยูภ่ ายใต้ การบริหารงานของกลุม่ AccorHotels ทังหมด � ประกอบด้ วยแบรนด์ โนโวเทล,เมอร์ เคียว,ไอบิส สไตล์ และ ไอบิส 3. การบริหารโดยบริษัทฯ ภายใต้ แบรนด์ ของบริษัทฯ บริษทั ฯ ได้ ดาํ เนินการพัฒนาแบรนด์ของบริษทั ฯ ภายใต้ ชอื� ฮ็อป อินน์ "HOP INN" เพือ� นํามาประกอบการพัฒนาทรัพย์สนิ และ ได้ใช้แบรนด์นี � ในการบริหารงานโรงแรมโดยคํานึงถึงความต้องการของกลุม่ เป้าหมาย หลักเป็ นสําคัญ

ibis Styles Bangkok Sukhumvit 4

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

37


Properties in Operation ธุรกิจที่ดําเนินงานในป จจ�บัน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยประกอบธุรกิจเกีย� วกับการลงทุนพัฒนาและดําเนินธุรกิจโรงแรมทีส� อดคล้ องกับทําเล สถานทีต� งั � และกลุม่ เป้าหมาย เป็ นธุรกิจหลัก ปัจจุบนั มีโรงแรมทีเ� ปิ ดดําเนินการรวม 61 โรงแรม โดยมีธรุ กิจอืน� ได้ แก่ ธุรกิจพื �นทีใ� ห้ เช่า และธุรกิจบริหารอาคาร รายละเอียด ตามประเภทของธุรกิจทีด� าํ เนินงานแล้ว มีดงั นี �

ธุรกิจโรงแรมในประเทศ กรุงเทพฯ Luxury

แกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุ งเทพ Grand Hyatt Erawan Bangkok https://bangkok.grand.hyatt.com จํานวนห้ องพัก: 380 ห้ อง สถานที�ตง:ั � ราชประสงค์ ถนนราชดําริ

เจดับบลิว แมริออท กรุ งเทพ JW Marriott Hotel Bangkok www.marriott.com/bkkdt จํานวนห้ องพัก: 441 ห้ อง สถานที�ตง:ั � ถนนสุขมุ วิท ซอย 2

ภูมิภาค Luxury

เรเนซองส์ เกาะสมุย รีสอร์ ท แอนด์ สปา Renaissance Koh Samui Resort and Spa

www.marriott.com/usmbr จํานวนห้ องพัก: Deluxe 45 ห้ อง และ Pool Villa 33 ห้ อง สถานที�ตง:ั � หาดละไม เกาะสมุย สุราษฎร์ ธานี

เดอะ นาคา ไอแลนด์, เอ ลักซ์ชวั รี� คอลเลคชั�น รีสอร์ ท แอนด์ สปา, ภูเก็ต The Naka Island, a Luxury Collection Resort and Spa, Phuket www.nakaislandphuket.com จํานวนห้ องพัก: Deluxe 13 ห้ อง และ Pool Villa 67 ห้ อง สถานทีต� ง:ั � เกาะนาคาใหญ่, ภูเก็ต

38


ธุรกิจโรงแรมในประเทศ กรุงเทพฯ Mid-Scale

คอร์ ทยาร์ ด โดย แมริออท กรุงเทพ โนโวเทล กรุ งเทพ สุขุมวิท 4 Courtyard by Marriott Bangkok Novotel Bangkok Sukhumvit 4

เมอร์ เคียว กรุ งเทพ สยาม Mercure Bangkok Siam

www.marriott.com/bkkcy www.novotel.com จํานวนห้ องพัก: 316 ห้ อง จํานวนห้ องพัก: 185 ห้ อง สถานทีต� ง:ั � ซอย มหาดเล็กหลวง 1 ถนนราชดําริ สถานที�ตง:ั � ถนนสุขมุ วิท ซอย 4 (นานา)

www.mercure.com จํานวนห้ องพัก: 189 ห้ อง สถานที�ตง:ั � สยาม ถนนพระราม 1

ภูมิภาค Mid-Scale

ฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา Holiday Inn Pattaya www.holidayinn-pattaya.com จํานวนห้ องพัก: 567 ห้ อง สถานที�ตง:ั � ถนนพัทยาสาย 1 ชลบุรี

เมอร์ เคียว พัทยา โอเชี�ยน รี สอร์ ท Mercure Pattaya Ocean Resort

www.mercure.com จํานวนห้ องพัก: 210 ห้ อง สถานที�ตง:ั � ถนนพัทยาสาย 1 ชลบุรี

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

39


ธุรกิจโรงแรมในประเทศ กรุงเทพฯ Economy

ไอบิส สไตล์ กรุ งเทพ สุขุมวิท 4 ibis Styles Bangkok Sukhumvit 4 www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 133 ห้ อง สถานที�ตง:ั � ถนนสุขมุ วิท ซอย 4 (นานา)

ไอบิส กรุ งเทพ สาทร ibis Bangkok Sathorn www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 213 ห้ อง สถานที�ตง:ั � ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4

ไอบิส กรุ งเทพ สุขุมวิท 4 ibis Bangkok Sukhumvit 4 www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 200 ห้ อง สถานที�ตง:ั � ถนนสุขมุ วิท ซอย 4 (นานา)

ไอบิส กรุ งเทพ ริเวอร์ ไซด์ ibis Bangkok Riverside www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 266 ห้ อง สถานที�ตง:ั � ริ มแม่นํ �าเจ้ าพระยา ซอยเจริ ญนคร 17

ไอบิส กรุ งเทพ สยาม ibis Bangkok Siam www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 189 ห้ อง สถานที�ตง:ั � สยาม ถนนพระราม 1

40


ธุรกิจโรงแรมในประเทศ ภูมิภาค Economy

ไอบิส สไตล์ กระบี� อ่ าวนาง ibis Styles Krabi Ao Nang

ไอบิส พัทยา Ibis Pattaya

ไอบิส ภูเก็ต ป่ าตอง ibis Phuket Patong

ไอบิส ภูเก็ต กะตะ ibis Phuket Kata

ไอบิส สมุย บ่ อผุด ibis Samui Bophut

ไอบิส หัวหิน Ibis Hua Hin

www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 206 ห้ อง สถานที�ตง:ั � อ่าวนาง กระบี�

www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 254 ห้ อง สถานที�ตง:ั � ถนนพัทยาสาย 2 ชลบุรี

www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 258 ห้ อง สถานที�ตง:ั � หาดกะตะ ภูเก็ต

www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 258 ห้ อง สถานที�ตง:ั � หาดป่ าตอง ภูเก็ต

www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 200 ห้ อง สถานที�ตง:ั � หัวหิน ประจวบคีรีขนั ธ์

www.ibisthailand.com จํานวนห้ องพัก: 209 ห้ อง สถานที�ตง:ั � หาดบ่อผุด เกาะสมุย

ธุรกิจโรงแรมในประเทศ ภูมิภาค Budget

ฮ็อป อินน์ HOP INN

www.hopinnhotel.com จํานวนห้ องพัก: 2,810 ห้ อง (รวม), 36 โรงแรม สถานทีต� ง:ั � กระบี� กาญจนบุรี ขอนแก่น จันทบุรี ชลบุรี ชุมพร เชียงราย เชียงใหม่ ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค์ บุรีรมั ย์ พิษณุโลก ภูเก็ต แม่สอด มุกดาหาร ระยอง ร้ อยเอ็ด ลพบุรี ลําปาง สกลนคร สระแก้ ว สุราษฎร์ธานี สุรินทร์ หาดใหญ่ หัวหิน หนองคาย อุดรธานี อุบลราชธานี รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

41


ธุรกิจโรงแรมในต างประเทศ

ฮ็อป อินน์ เออร์ มติ ้ า มะนิลา HOP INN Ermita Manila

ฮ็อป อินน์ มาคาติ อเวนิว มะนิลา ฮ็อป อินน์ อาเซียน่ า ซิตี � มะนิลา HOP INN Makati Avenue Manila HOP INN Aseana City Manila

มาตรฐานโรงแรม: Budget Hotel จํานวนห้ องพัก: 168 ห้ อง สถานที�ตงั � : เออร์ มติ ้ า กรุ งมะนิลา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ www.hopinnhotel.com

มาตรฐานโรงแรม: Budget Hotel จํานวนห้ องพัก: 144 ห้ อง สถานที�ตงั � : มาคาติ กรุ งมะนิลา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ www.hopinnhotel.com

ฮ็อป อินน์ อลาบาง มะนิลา HOP INN Alabang Manila

ฮ็อป อินน์ โทมัส โมราโต้ เกซอนซิตี � มะนิลา HOP INN Tomas Morato Quezon City Manila

มาตรฐานโรงแรม: Budget Hotel จํานวนห้ องพัก: 168 ห้ อง สถานที�ตงั � : อลาบาง กรุ งมะนิลา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ www.hopinnhotel.com

มาตรฐานโรงแรม: Budget Hotel จํานวนห้ องพัก: 167 ห้ อง สถานที�ตงั � : เกซอนซิตี � กรุ งมะนิลา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ www.hopinnhotel.com

ธุรกิจพ�้นที่ให เช า

อาคารเอราวัน แบงค็อก Erawan Bangkok ร้ านค้ า: พื �นที�เช่า 6,554 ตร.ม. สถานที�ตง:ั � สี�แยกราชประสงค์ www.erawanbangkok.com

42

มาตรฐานโรงแรม: Budget Hotel จํานวนห้ องพัก: 196 ห้ อง สถานที�ตงั � : อาเซียน่ า ซิตี � กรุ งมะนิลา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ www.hopinnhotel.com

ธุรกิจบร�หารอาคาร

อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ Ploenchit Center

เจ้าของอาคาร: กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไพร์ม ออฟฟิ ศ บริหารงานโดย: บริษทั เอราวัณ คอมเมอร์เชียล เมเนจเม้ นท์ จํากัด อาคารสํานักงาน: พื �นที�เช่า 42,847 ตร.ม. สถานที�ตง:ั � ถนนสุขมุ วิท ซอย 2


Properties under Development ธุรกิจที่อยู ระหว างการพัฒนา ประเทศไทย - กําหนดเป ดดําเนินการ ป 2562-2563 เมอร์ เคียว Mercure

มาตรฐานโรงแรม: Mid-Scale Hotel สถานที�ตง:ั � ถนนสุขมุ วิท ซอย 24 กรุงเทพ

ไอบิส ibis

มาตรฐานโรงแรม: Economy Hotel สถานที�ตง:ั � ถนนสุขมุ วิท ซอย 24 กรุงเทพ

ฮ็อป อินน์ HOP INN

มาตรฐานโรงแรม: Budget Hotel สถานที�ตง:ั � ประเทศไทย จํานวนโรงแรม: 8 โรงแรม

ประเทศฟ�ลิปป นส - กําหนดเป ดดําเนินการ ป 2564 ฮอลิเดย์ อินน์ Holiday Inn

ฮ็อป อินน์ HOP INN

มาตรฐานโรงแรม: Mid-Scale Hotel สถานที�ตง:ั � ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์

มาตรฐานโรงแรม: Budget Hotel สถานที�ตง:ั � ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ จํานวนโรงแรม: 2 โรงแรม

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

43


Tourism Industry Overview ภาพรวมอุตสาหกรรมท องเที่ยว บันทึกการส่งเสริมการท่องเทีย� วระหว่างททท. กับการท่องเทีย� วภูมภิ าค คิวชู ของประเทศญีป� นุ่ และการเปิ ดสํานักงานททท. ณ กรุงโทรอนโต ประเทศแคนาดา เพือ� สร้ างการรับรู้และการขยายฐานนักท่องเทีย� ว ใหม่ในบริเวณอเมริกาเหนือเพิม� มากขึ �น ในขณะเดียวกัน ประเทศไทย ได้ รบั ความสนใจจากประเทศญีป� นุ่ มากขึ �น โดยพบว่าในช่วง Golden Week ของประเทศญี�ปนุ่ มีนกั ท่องเทีย� วชาวญี�ปนุ่ เพิม� ขึ �นร้ อยละ 31 จากช่วงเดียวกันของปี 2560 และจากการที�รัฐบาลจีนมีนโยบาย จํากัดการท่องเทีย� วไปยังประเทศไต้ หวัน ประเทศไทยกลายเป็ นจุด หมายหลักของนักท่องเที�ยวชาวจีนและส่งผลให้ ในช่วงครึ�งปี แรกมี นักท่องเที�ยวชาวจีนเดินทางเข้ ามาประเทศไทยเป็ นจํานวนมาก แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม จากเหตุก ารณ์ เ รื อ ล่ม ที� จัง หวัด ภูเ ก็ ต เมื� อ อุตสาหกรรมท่องเทีย� วในปี 2561 มีการเติบโตตามอุปสงค์ทเี� พิม� ขึ �น เดือนกรกฎาคม 2561 ทําให้ จํานวนนักท่องเที�ยวชาวจีนลดลง โดยเฉพาะนักท่องเทีย� วชาวต่างชาติกลุม่ Free Individual Traveler เมือ� เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2560 ดังนัน� หน่วยงานราชการไทย (F.I.T.) ที�มีสดั ส่วนการท่องเที�ยวสูงขึน� โดย การท่องเที�ยวแห่ง ที�เกี�ยวข้ องจึงเร่ งสร้ างความเข้ าใจกับนักท่องเที�ยวชาวจีนรวมถึง ประเทศไทย (ททท.) ได้ ใช้ กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์การท่องเทีย� ว ผู้ประกอบการและหน่วยงานภาครัฐของประเทศจีน เพื�อบรรเทา เมืองรองและการท่องเที�ยวเชิงวัฒนธรรมเพื�อดึงดูดนักท่องเที�ยว ผลกระทบจากเหตุ ก ารณ์ ดัง กล่ า ว ต่ อ มาหน่ ว ยงานภาครั ฐ ชาวต่างชาติ อีกทัง� ประเทศไทยได้ รับความสนใจจากสายการบิน ได้ อ อกมาตรการ การยกเว้ น ค่า ธรรมเนี ย มวี ซ่า 2,000 บาท นานาชาติโดยทําการเพิม� เทีย� วบินใหม่เป็ นจํานวนมาก ทีด� า่ นตรวจคนเข้ าเมือง (VOA) ให้ กบั 20 ประเทศ และ 1 เขตเศรษฐกิจ พิเศษ เพื�อกระตุ้นอุตสาหกรรมการท่องเที�ยวไทยในช่วงปลายปี ในช่วงครึ�งปี แรก อุตสาหกรรมการท่องเที�ยวมีสญ ั ญาณเริ� มต้ นที�ดี โดยพบว่ามาตรการดังกล่าวทําให้ มจี าํ นวนนักท่องเทีย� วยืน� ขอ VOA ต่อเนื�องมาจากปลายปี 2560 ซึ�งหน่วยงานภาครั ฐและเอกชน สูงถึง 1.03 ล้ านคน เพิม� ขึ �นประมาณร้ อยละ 70 จากช่วงเดียวกัน ต่างเร่งทําการตลาดประชาสัมพันธ์การท่องเที�ยวไทยอย่างเข้ มข้ น ของปี 2560 รวมถึง ช่วงปลายปี มกี ารจัดประกวดนางงามจักรวาล, ทังจั � ดกิจกรรมภายในประเทศและทําการตลาดในประเทศทีเ� ป็ นกลุม่ การจัดงานแข่งขัน MotoGP และการจัดแสดงคอนเสิร์ตจากนักร้ องทีม� ี เป้าหมายทีส� าํ คัญของไทย เช่น การท่องเทีย� วเชิงวัฒนธรรมอาหาร ชือ� เสียงระดับโลก ซึง� ได้รบั ความสนใจเป็นอย่างดี จึงทําให้อตุ สาหกรรม (Gastronomy Tourism) โดยนําเมนูอาหารที�มีชื�อเสียงในแต่ละ การท่องเที�ยวไทยในภาพรวมปี 2561 ยังคงมีจํานวนนักท่องเที�ยว ท้ องถิน� นํามาเป็ นจุดเด่นของการท่องเทีย� วเชิงวัฒนธรรม การลงนาม ชาวต่างชาติเติบโตจากปี 2560 จํานวนนักท่ องเที�ยวชาวต่ างชาติในแต่ ละปี และอัตราการเติบโต ประเทศไทย ในปี 2561 อุตสาหกรรมท่องเที�ยวของประเทศไทยได้ ขยายตัว อย่ า งต่ อ เนื� อ งจากปี 2560 โดยมี ก ารเติ บ โตทั ง� ในด้ าน จํานวนนักท่องเทีย� วและรายได้ จากภาคการท่องเทีย� ว ซึง� ในปี 2561 มี นัก ท่ อ งเที� ย วชาวต่ า งชาติ เ ดิ น ทางเข้ าประเทศไทยจํ า นวน ประมาณ 38.3 ล้ านคน ขยายตัวร้ อยละ 8 จากปี 2560 และ นักท่องเที�ยวชาวไทยท่องเที�ยวภายในประเทศ 161 ล้ านคน/ครัง� ขยายตัวร้ อยละ 6 จากปี 2560 โดยการท่องเทีย� วของนักท่องเทีย� ว ชาวต่างชาติและชาวไทยก่อให้ เกิดรายได้ สอู่ ตุ สาหกรรมท่องเที�ยว รวม 3.05 ล้านล้านบาท ขยายตัวร้ อยละ 11 จากปี 2560

จำนวนนักท องเที่ยวต างชาติ (คน) +18%

อัตราการเจริญเติบโต (ร อยละ)

+19%

ล้ านคน

+20%

+19%

+13%

50

40

+9%

+9%

+8% +8%

30

20

+1%

-3%

10

-7% 0

2551

2552

ปดิ ส น ามบนิ

2553

2554

การ เมอื ง อ ทุก ภยั การ เมอื ง แ ล ะไขห วดั ร ะบาด

2555

2556

2558

2557

ปฏวิติัิ

ร ะเบดิ ราชประสงค

ทีม� า: กรมการท่องเทีย� ว, และการท่องเทีย� วแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมท่องเทีย� วแห่งประเทศไทย

44

2559

2560

2561E 2562F


จำนวนนักท องเที่ยวต างชาติ (คน) +18%

อัตราการเจริญเติบโต (ร อยละ) +19%

ล้ านคน

+20%

+19%

50

40

ด้ า นสถานการณ์ ก ารท่ อ งเที� ย วภายในประเทศ คนไทยมี ก าร โดยในปี 2562 อุตสาหกรรมการท่องเที�ยวคาดว่าจะได้ รับปั จจัย +13% ง� ขยายตัวร้ อยละ 6 สนับสนุน+9% เดินทางท่องเทีย� วในประเทศ 161 ล้ านคน/ครั จากการเติ โตของเศรษฐกิ 30จในทิศทางที�ดีของประเทศ +9% บ+8% +8% จากปี 2560 สร้ างรายได้ หมุนเวียนให้ กบั ประเทศ 1 ล้ านล้ านบาท ในเอเชียไม่วา่ จะเป็นเวียดนาม, ฟิ ลปิ ปิ นส์, อินเดีย, ญีป� นุ่ , เกาหลีใต้ ซึง� มีปัจจัยสนับสนุนส่วนหนึ ง� มาจากผู้ประกอบการในธุรกิจท่องเทีย� ว และไต้หวัน อีกทังสายการบิ � นต้นทุนตํ20 า� มีแผนเปิ ดเส้นทางการบินใหม่ +1% เช่น โรงแรมและสายการบิน ได้จดั โปรโมชัน� กระตุ้นตลาดอย่างต่อเนือ� ง และเพิม� ความถีด� ้ านการบิน ซึง� จะทําให้ เกิดการขยายตัวของนักท่อง -3% 10 ทังปี � ประกอบกับหน่วยงานภาครัฐทําการประชาสัมพันธ์การท่องเทีย� ว-7% เทีย� วขาเข้าและขาออก ในขณะเดียวกัน การท่องเทีย� วไทยจะได้รบั ผลดี เมืองรองผ่านแคมเปญ “Amazing Thailand Go Local : เทีย� วท้องถิน� ไทย จากนโยบายการลงทุนของภาครัฐผ่านโครงการต่ างๆ ได้ แก่ นโยบาย 0 ชุมชนเติบใหญ่ เมืองไทยเติ บโต” โดยมาตรการดังกล่าวเป็ นการ การลงทุนโครงสร้ างพื �นฐาน เช่น การก่อสร้ างขยายสนามบินสุวรรณภูมิ 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561E 2562F สร้ างอุปสงค์เข้ าสูช่ มุ ชนในเมื � �ยังเป็ นการประชาสัมพันธ์ และสนามบินนานาชาติภเู ก็ต, นโยบายโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาค ปดิ ส น ามอบงรอง นิ ทักางนี ร เมอื ง ปฏวิติัิ บดิ (EEC) เช่น การปรับปรุงสนามบินอูต่ ะเภา และนโยบาย อาหารถิน� , วัฒนธรรมประเพณีกาและการท่ ตะวัรนะเออก อ ทุย� กวในประสบการณ์ ภยั ร เมอื ง องเที ราชประสงค แ ล ะ ไ ข ห ว ั ด ร ะ บ าด ที�แปลกใหม่ นอกจากนี �หน่วยงานภาครัฐได้ ออกสิทธิประโยชน์ใน การเป็ นศูนย์กลางของกลุม่ ประเทศ CLMV (กัมพูชา-ลาว-เมียนมาการลดหย่อนภาษีให้กบั ผู้ทที� อ่ งเทีย� วเมืองรองสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท เวียดนาม) นอกจากนี � จากผลการตอบรับทีด� ขี องมาตรการยกเว้ นค่า และยังมีการทําตลาดประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเทีย� วของทังภาครั � ฐและ ธรรมเนียมวีซา่ ให้ กบั 20 ประเทศ และ 1 เขตเศรษฐกิจพิเศษ ทีเ� กิดขึ �น ภาคเอกชนผ่านช่องทางเครือข่ายสังคมออนไลน์มากขึ �น จึงทําให้ คณะรัฐมนตรี ได้ มีมติขยายระยะเวลามาตรการดังกล่าว จากเดิมสิ �นสุดวันที� 14 มกราคม 2562 เป็น สิ �นสุดวันที� 30 เมษายน 2562 ทิศทางหลักของการท่องเทีย� วไทยในปี 2562 นัน� ททท. คาดการณ์ โดยจะครอบคลุมเทศกาลสําคัญอย่าง ตรุษจีน และสงกรานต์ ทังนี � � จะมีจาํ นวนนักท่องเทีย� วชาวต่างชาติจาํ นวน 41.1 ล้านคน และมีจาํ นวน ในปี 2562 มีปัจจัยเสีย� งต่ออุตสาหกรรมการท่องเทีย� ว เช่น เศรษฐกิจ นักท่องเทีย� วชาวไทยอยูท่ ี� 166 ล้ านคน/ครัง� โดยจะสร้ างรายได้ รวม โลกอาจจะมีความผันผวนจากนโยบายสงครามทางการค้ าระหว่าง 3.33 ล้ านล้ านบาท จําแนกเป็ นรายได้ จากนักท่องเทีย� วชาวต่างชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกากับประเทศจีน อีกทังคาดว่ � าเศรษฐกิจประเทศจีน 2.21 ล้ านล้ านบาท และเป็ นรายได้ จากคนไทยเดินทางเทีย� วภายใน มีแนวโน้ มเติบโตลดลงจากปี 2561 ประกอบกับเหตุการณ์ความ ประเทศ 1.12 ล้านล้านบาท ไม่แน่นอนในสถานการณ์ Brexit ของสหภาพยุโรป ซึง� อาจส่งผลกระทบ ต่ออุปสงค์ของการท่องเทีย� วจากประเทศดังกล่าว

จํานวนนักท่ องเที�ยวภายในประเทศในแต่ ละปี และอัตราการเติบโต จำนวนผู เยี่ยมเยือนชาวไทย (คน-ครั้ง)

อัตราการเจริญเติบโต (ร อยละ)

ล า น ค น -ครั้ง

+17%

200

150

+14% 100

+10%

+2% 2551

+8%

+6% +4%

+3%

2553

ปดิ ส น ามบนิ

2554

ก าร เมอื ง ก าร เมอื ง อ ทุก ภยั

แล ะไขห วดั ร ะบาด

50

+3%

+1%

+0% 2552

+6%

2555

2556

2557

2558

0 2559

2560

2561E 2561F

ปฏวิตั ิ

ร ะเบดิ ร าช ประสงค

ทีม� า : กรมการท่องเทีย� ว, การท่องเทีย� วแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมท่องเทีย� วแห่งประเทศไทย

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

45


สําหรั บแผนการตลาดของ ททท. ในปี 2562 เป็ นดังนี �

ภาพรวมยุทธศาสตร Go Strategy ของ ททท. อุปสงค ตลาดต างประเทศ

อุปสงค ตลาดในประเทศ

Go Local Go High-end Go New Customer Go Low Season Go Digital

Go Creative Go More Stories Go Equality Go Tourism for All Go Together

ทีม� า : การท่องเทีย� วแห่งประเทศไทย

ในปี 2562 ททท.ได้วางยุทธศาสตร์ภายใต้กลยุทธ์ Go Strategy สําหรับ อุปสงค์ของนักท่องเทีย� วชาวต่างชาติ ททท. มุง่ สร้ างประสบการณ์ และกระตุ้นให้ เกิดการเดินทางผ่านแนวคิด “Discover unique local experiences with million shades of Thailand” โดยจะส่งเสริมการ ท่องเทีย� วเมืองรอง, การเพิม� รายได้ ตอ่ หัวของนักท่องเทีย� ว อีกทังจะ � ดึงดูดกลุม่ นักท่องเทีย� วระดับ Luxury, กลุม่ ทีม� คี วามสนใจเป็ นพิเศษ, กลุม่ นักท่องเทีย� วจากประเทศใหม่และกลุม่ นักท่องเทีย� วทีใ� ช้ระยะเวลา เดินทางนาน เพือ� เป็ นการเพิม� โอกาสและกระจายความเสีย� ง อีกทัง� ยังเป็ นปั จจัยสนับสนุนการเติบโตในช่วง Low Season นอกจากนี � ททท.มี แ ผนประยุก ต์ ใช้ เทคโนโลยี เพื� อเพิ� ม การเข้ า ถึงทํ าให้ มี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ตอ่ นักท่องเทีย� ว สําหรับอุปสงค์ของ นักท่องเทีย� วในประเทศ ททท. จะให้ความสําคัญกับการกระตุ้นความถี� ในการเดินทางและเพิม� การใช้ จา่ ยผ่าน การทํางานบูรณาการระหว่าง หน่วยงานเอกชน ราชการและประชาชน ซึง� จะเป็ นการสร้ างโอกาส ด้ วยการเข้ าถึงแหล่งท่องเทีย� ว โดยมีนโยบายส่งเสริมการท่องเทีย� วใน เมืองรองและพื �นทีร� องในเมืองหลัก เพือ� จุดกระแสให้ คนไทยท่องเทีย� ว แบบเท่ ๆ ตามแบรนด์ อะเมซิง� ไทยเท่ พร้ อมกับการจัดทํา branding destination เพือ� ให้ สะท้ อนสิง� ทีแ� ปลกใหม่ อีกทัง� ททท.จะมุง่ สร้ าง และสะสมเรื�องราวด้ านการท่องเทีย� วให้ สอดคล้องกับแนวคิด Million Shades of Thailand เพือ� ดึงดูดให้ นกั ท่องเทีย� วเดินทางค้ นหาเรื�องราว ในแต่ละท้ องถิ�น และใช้ เป็ นวัตถุดบิ ทางความคิดในการสร้ างสรรค์ สินค้ า นอกจากนี �จะเร่งปรับสมดุลการท่องเทีย� วในเชิงพื �นทีแ� ละเวลา เพือ� ให้ นกั ท่องเทีย� วเดินทางตลอดทังปี � ซึง� แผนยุทธศาสตร์ ดงั กล่าว จะเป็ นการแสดงศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเทีย� วทังชาวต่ � างชาติ และชาวไทย และเป็ นกลไกสําคัญในการเติบโตของอุตสาหกรรม ท่องเทีย� วของประเทศต่อไป

46

ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ อุตสาหกรรมการท่องเทีย� วของประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ ถือว่ายังมีศกั ยภาพ ในการเติบโตได้ อีก โดยกระทรวงการท่องเที�ยว เน้ นการท่องเที�ยว ทังหมด � 9 รูปแบบ ได้ แก่ การท่องเทีย� วเชิงธรรมชาติ การท่องเทีย� วเชิง วัฒนธรรม การท่องเทีย� วเชิงสุขภาพ การท่องเทีย� วสําหรับผู้เกษียณอายุ การท่องเทีย� วกลุม่ MICE การท่องเทีย� วเชิงการศึกษา การท่องเทีย� ว กลุ่ม Leisure การท่องเที� ยวเชิงกี ฬา และการท่องเที� ยวใต้ นํา� โดยประชาสัมพันธ์ผา่ นแคมเปญ “It’s more fun in the Philippines” โดยมีหลักการคือ Safe and Enjoy ในสถานที�ทอ่ งเที�ยวประเทศ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ในปี 2561 อุตสาหกรรมการท่องเทีย� วยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื�อง โดยจํานวนนักท่องเทีย� วชาวเกาหลียงั คงมีจาํ นวนเป็ นอันดับ 1 ของ นักท่องเที�ยวต่างชาติทงหมด ั� และนักท่องเที�ยวชาวจีนถือเป็ นกลุม่ ที�เติบโตสูง โดยมีการเติบโตกว่าร้ อยละ 30 อย่างไรก็ตามจํานวน นักท่องเทีย� วชาวต่างชาติเติบโตตํา� กว่าเป้าหมายเล็กน้ อยเนื�องจาก หน่วยงานราชการได้ทาํ การปิ ดเกาะ โบราไกย์ ซึง� เป็นสถานทีท� อ่ งเทีย� ว สําคัญของประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ เป็นเวลา 6 เดือน ตังแต่ � เดือนเมษายน ถึง เดือนตุลาคม 2561 เพือ� ทําการฟื น� ฟูสภาพแวดล้อม นอกจากนี � การเดินทางภายในประเทศยังคงได้ รับปั จจัยสนับสนุน จากเศรษฐกิจของประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ทยี� งั คงอยูใ่ นทิศทางการขยายตัว โดยธนาคารโลกคาดการณ์วา่ GDP ของประเทศจะเติบโตร้ อยละ 6.4 ในปี 2561 และร้ อยละ 6.5 ในปี 2562 ซึง� มีปัจจัยหลักมาจากการเลือก ตังกลางเทอมในเดื � อน พฤษภาคม 2562 ซึง� จะเพิม� การจับจ่ายใช้ สอย ของภาคเอกชนและประชาชน และจากนโยบายการลงทุนของภาครัฐ ผ่านโครงการต่างๆ จึงทําให้ นกั ท่องเที�ยวภายในประเทศ ซึง� เป็ น กลุม่ หลักในการสร้ างรายได้ ให้ กบั อุตสาหกรรมท่องเทีย� วของประเทศ ฟิ ลปิ ปิ นส์ มีการเติบโตอย่างต่อเนื�อง และเติบโตสูงกว่าเป้าหมาย ทีก� ระทรวงการท่องเทีย� วคาดการณ์ไว้


Risk Factors ป จจัยความเสี่ยง บริ ษัทฯ มี การบริ หารความเสี�ยงอย่างเป็ นระบบ โดยผู้บริ หาร ที�กํากับดูแลสายงานสูงสุด เป็ นเจ้ าของความเสี�ยง และมีหน้ าที� ในการวิเคราะห์ความเสีย� งและหาแนวทางแก้ ไข ซึง� คณะกรรมการ บริ ษัท เป็ นผู้กํากับดูแลและติดตามการบริหารความเสีย� งที�สาํ คัญ โดยกําหนดแนวทางการบริหารความเสีย� งตลอดจนมาตรการรองรับผล กระทบพอสรุปได้ ดงั ต่อไปนี � 1. ความเสี�ยงด้านการบริหาร การจัดการ กรณีต้องพึ�งพา ผู้บริหารจากภายนอก บริ ษัทฯ มีนโยบายในการกระจายความเสีย� งโดยการคัดเลือกและ ว่าจ้ างบริษทั ผู้บริหารโรงแรมระดับนานาชาติ (International Hotel Operator) โดยคํานึงถึงความน่าเชือ� ถือ ชือ� เสียง ประสบการณ์ ระบบ การทํางาน ความชํานาญในตลาดแต่ละประเภท และสถานะทางการ เงินทีม� นั� คงเป็ นสําคัญ ซึง� ในปัจจุบนั มีบริษทั ทีด� าํ เนินการบริหารงาน โรงแรมให้ กบั บริษทั ฯ ดังนี Hyatt � International, Marriott International และ InterContinental Hotels Group อย่ า งไรก็ ต าม เนื� อ งจากสั ญ ญาจ้ างบริ หารเป็ นสั ญ ญา ระยะยาวซึ�งอาจมีความเสี�ยงเรื� องความสามารถในการแข่งขัน ในระดับสากลของบริ ษัทผู้บริ หารลดลงในระหว่างช่วงสัญญา และอาจส่ง ผลต่อผลการดํ า เนิ น งานของทรั พย์ สิน ของบริ ษัทฯ ได้ บริ ษัทฯ จึงกําหนดเงื�อนไขในสัญญาจ้ างบริ หารให้ สามารถ ยกเลิ ก สัญ ญาจ้ า งบริ ห ารได้ หากความสามารถของผู้บ ริ ห าร โรงแรมส่ ง ผลกระทบทางลบต่ อ ผลประกอบการโรงแรมของ บริษทั ฯ อย่างต่อเนือ� งและมีนยั สําคัญ เพือ� ให้ บริษทั ฯ สามารถจัดหา บริษทั ผู้บริหารทีม� ชี อื� เสียงอืน� มาบริหารแทนได้

อย่างรุ นแรงระหว่างผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมเพื�อช่วงชิงส่วนแบ่ง การตลาด ซึ�งส่งผลกระทบต่อรายได้ และกํ าไรจากการดําเนิ น ธุรกิจ ดังนันบริ � ษัทฯ จึงมุง่ เน้ นการสร้ างโรงแรมในหลายระดับและ ครอบคลุมหลายพืน� ที� โดยมีการกํ าหนดเป้าหมายและกลยุทธ์ ในการแสวงหาที�ดินที�มีศกั ยภาพทังในประเทศและต่ � างประเทศ ในแหล่งท่องเทีย� วและแหล่งธุรกิจการค้ าทีส� าํ คัญ เพือ� ลดความเสีย� ง ที�อาจเกิดขึ �นกับโรงแรมระดับใดระดับหนึง� หรื อพื �นที�ใดพื �นที�หนึง� เพือ� ให้ มผี ลการดําเนินงานในภาพรวมทีส� มํา� เสมอ นอกจากนี � บริษทั ฯ ยังมีการว่าจ้ างผู้บริหารโรงแรมระดับนานาชาติ และพัฒนาทีมงานบริ หารกิจการโรงแรมของบริ ษัทฯ ซึง� มีจดุ แข็ง ในกลุม่ ตลาดทีเ� หมาะสมกับโรงแรมทีบ� ริหารอยู่ และยังมีฐานลูกค้าของ ตนเองทังในประเทศและต่ � างประเทศ รวมทังได้ � ผา่ นสถานการณ์ตา่ งๆ ทีเ� ป็นความเสีย� งต่อรายได้และกําไรของการดําเนินกิจการมาแล้วทัว� โลก จึงมีความได้เปรียบเชิงแข่งขันต่อคูแ่ ข่งหลายด้าน บริษทั ฯ มีการเตรียม การรองรับความเสีย� งด้ วยการปรับปรุงและเพิ�มจุดแข็งของโรงแรม อย่างต่อเนือ� ง และมีมาตรการเพือ� ลดค่าใช้ จา่ ยในส่วนต่างๆ อยูเ่ สมอ

ยิง� ไปกว่านัน� บริษทั ฯ ได้ มกี ารพัฒนาและเสริมสร้ างทีมงานบริหาร กิจการโรงแรมทีม� ปี ระสบการณ์และความเชีย� วชาญ เพือ� ดําเนินการ บริหารโรงแรมภายใต้สญ ั ญาแฟรนไชส์และบริหารโรงแรมแบรนด์ของ บริษทั ฯ ซึง� เป็นการลดความเสีย� งจากการพึง� พาการบริหารโรงแรมจาก ภายนอกเพียงอย่างเดียว

3. ความเสี�ยงจากปั จจัยภายนอกที�มผี ลกระทบต่อทรัพย์สนิ และการดําเนินธุรกิจ ปั จจัยภายนอกที�อาจส่งผลกระทบต่อทรัพย์สนิ และการดําเนินงาน ของบริษทั ฯ ส่วนใหญ่เป็นเรื�องทีไ� ม่สามารถควบคุมและคาดการณ์ได้ เช่น ภัยธรรมชาติตา่ ง ๆ การก่อการร้ าย หรือความไม่สงบทางการเมือง ทังภายในและต่ � างประเทศ เป็ นต้ น อย่างไรก็ดี บริษทั ฯ มีการจัดทํา ประกันภัยคุ้มครองความเสีย� งทุกประเภท (All risks) คุ้มครองการขาด รายได้จากการหยุดดําเนินธุรกิจ (Business Interruption) และ คุ้มครอง ภัยความรุนแรงทางการเมือง (Political Violence) เพือ� บรรเทาความ เสียหายทีอ� าจเกิดขึ �นโดยตรงต่อทรัพย์สนิ และผลประกอบการของ บริษทั ฯ นอกจากนี �บริษทั ฯ ยังมีการกําหนดมาตรการทีร� ดั กุมเพือ� ช่วย บรรเทาผลกระทบต่อทรัพย์สนิ และการดําเนินงานของธุรกิจทีอ� าจเกิด ขึ �นจากเหตุดงั กล่าว โดยมีการเพิม� ลําดับความเข้มงวดให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ตามมาตรฐานสากล

2. ความเสี�ยงจากการแข่งขันที�มากขึนเนื � �องจากอุปสงค์ท�ลี ดลง และอุปทานในธุรกิจที�เพิ�มขึน� ในส่ ว นของความเสี� ย งของอุป สงค์ แ ละอุป ทานในตลาดที� ล ด ลงหรื อเพิ�มขึน� อย่างไม่สัมพันธ์ กันนัน� ส่งผลให้ เกิ ดการแข่งขัน

ปัจจัยภายนอกเหล่านี ยั� งอาจส่งผลกระทบต่อจํานวนนักท่องเทีย� วต่าง ชาติทเี� ข้ามาในประเทศ ซึง� มีผลกระทบโดยตรงต่อรายได้และกําไรของ ธุรกิจ อย่างไรก็ดี จากอดีตทีผ� า่ นมา เหตุการณ์จากปัจจัยภายนอกจะ ส่งผลกระทบต่อความเชือ� มัน� ในระยะสัน� ประมาณ 3-9 เดือน ขึ �นอยู่ รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

47


กับความรุนแรงของเหตุการณ์ ทังนี � � โรงแรมของบริษทั ฯ มีการบริหาร โดยผู้บริ หารโรงแรมระดับนานาชาติซงึ� มีระบบที�มีความคล่องตัว มีความยืดหยุน่ และสามารถใช้ประสบการณ์จากการดําเนินกิจการมา แล้ วทัว� โลกในการบริหารจัดการเหตุการณ์ไม่ปกติตา่ งๆ โดยบริษทั ฯ สามารถปรับเปลีย� นกลยุทธ์ทางการตลาด และปรับลดหรือชะลอค่า ใช้จา่ ยในส่วนต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว เพือ� ให้ธรุ กิจสามารถดําเนินต่อไปได้ และลดผลกระทบต่อรายได้ และกําไรของธุรกิจ

6. ความเสี�ยงด้ านอัตราดอกเบีย� บริษทั ฯ ได้ ดาํ เนินการ บริหารความเสีย� งเกีย� วกับอัตราดอกเบี �ยทีจ� ะ เกิดขึ �นจากการเปลีย� นแปลงของอัตราดอกเบี �ยในตลาดในอนาคต ซึง� อาจส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดของบริษทั ฯ โดยจัดทําสัญญาเงินกู้ระยะยาวส่วนใหญ่ของบริ ษัทฯ เป็ นอัตรา ดอกเบี �ยคงที� ระยะเวลา 3 ปี เริ�มตังแต่ � ปี 2560-2562 เพือ� ลดความ เสีย� งด้ านอัตราดอกเบี �ยของบริษทั ฯ

4. ความเสี�ยงด้ านการก่ อสร้ าง เนือ� งจากบริษทั ฯ มีแผนการขยายการลงทุนก่อสร้ างโรงแรมอย่างต่อ เนือ� ง ทําให้ การลงทุนแต่ละครังมี � ความเสีย� งอันเนือ� งมาจากมาตรฐาน คุณภาพการก่อสร้ าง, ระยะเวลาการก่อสร้ าง และต้นทุนในการก่อสร้ าง แต่ละครัง� โดยบริษทั ฯ คํานึงถึงความปลอดภัยและผลกระทบทีอ� าจ จะเกิดขึ �น จึงมีการคัดเลือกผู้วา่ จ้ างทีม� ปี ระสบการณ์ มีคณ ุ ภาพและ มีมาตรฐานการก่อสร้ างตามทีก� ฎหมายกําหนด พร้ อมติดตามและ ตรวจสอบมาตรฐานการก่อสร้ างโดยทีมงานที�มีความรู้ และความ เชี�ยวชาญเฉพาะด้ าน รวมทัง� ได้ จดั ทําประมาณการระยะเวลา การก่อสร้ างก่อนการดําเนินงาน และติดตามความคืบหน้ าอย่าง ต่อเนื� อง โดยบริ ษัทฯ จะประเมินสถานการณ์ ร่วมกับผู้บริ หาร ระดับสูงของบริ ษัทฯ สําหรับมาตรการป้องกันและลดผลกระทบ ในแต่ละสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ นอกจากนี �บริษทั ฯ มีการจัดหาผู้ผลิต วัสดุกอ่ สร้ างและผู้รบั เหมาไว้หลายราย เพือ� ให้เกิดการแข่งขันด้านราคา พร้ อมทังปรั � บปรุงฐานข้ อมูลของบริษทั ฯ เกีย� วกับแนวโน้ มของต้ นทุน เพือ� นํามาประมาณการณ์ต้นทุนการก่อสร้ างสําหรับโครงการในอนาคต แต่อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้ คาํ นึงถึงความเสีย� งในด้ านการก่อสร้ าง ที�อาจจะเกิดขึ �นจากเหตุการณ์ที�ไม่สามารถคาดการณ์ได้ บริ ษัทฯ จึงมีนโยบายจัดทําประกันภัยความเสี�ยงภัยทุกชนิดของผู้รับเหมา (Contractor’s All Risks Insurance) เพือ� บรรเทาการสูญเสียมูลค่าของ อาคารทีอ� ยูร่ ะหว่างการก่อสร้ าง

7. ความเสี�ยงด้ านบุคลากร บริษัทฯ ได้ ให้ ความสําคัญในเรื�องการพัฒนาและบริหารทรัพยากร บุคคลเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากการทีบ� ริษทั ฯ ได้ดาํ เนินการปรับปรุง เปลีย� นแปลงผู้บริหารให้ เหมาะสมอย่างต่อเนื�อง การเพิม� บุคลากร ที�มีความรู้ ความสามารถในทุกระดับในส่วนงานที�มีการขยายตัว การพัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะของบุคลากรที�มีอยู่ อย่างต่อเนื� อง อย่างไรก็ตามการสูญเสียผู้บริ หารระดับสูงหรื อ บุคลากรทีส� าํ คัญถือเป็ นอีกความเสีย� งทีส� าํ คัญ บริษทั ฯ จึงได้ มกี าร จัดทําแผนสืบทอดและพัฒนาตําแหน่งกรรมการผู้จดั การใหญ่ โดยมี คณะกรรมการพัฒนาผู้บริ หารระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน เป็ นผู้กํากับดูแล สําหรับการพัฒนาตําแหน่งบริ หารอื�นเป็ นหน้ าที� ของผู้บริหารตามสายบังคับบัญชาทีจ� ะกํากับดูแลการพัฒนาบุคลากร ให้สามารถขึ �นมาทดแทน โดยมีการพิจารณาลงไป 3 ระดับจากระดับรอง กรรมการผู้จดั การถึงผู้ทจี� ะขึ �นมาระดับผู้อาํ นวยการฝ่ าย นอกจากนี � การเป็นบริษทั ฯ ทีบ� ริหารงานโดยผู้บริหารมืออาชีพ ดําเนินการภายใต้ ระบบงานทีม� ปี ระสิทธิภาพไม่ยดึ ติดกับความสามารถหรือการตัดสินใจ ของบุคคลใดบุคคลหนึง� มีการกระจายความรับผิดชอบและการตัดสิน ใจที�ชดั เจนภายใต้ การกํากับดูแลของคณะกรรมการบริ ษัท จึงเป็ น โครงสร้ างการบริหารงานที�ชว่ ยลดความเสีย� งและผลกระทบหากมี การสูญเสียบุคลากรทีส� าํ คัญ

5. ความเสี�ยงจากการขยายการลงทุนไปต่ างประเทศ บริษทั ฯ มีแผนการขยายการลงทุนด้ านโรงแรมในต่างประเทศ ส่งผล ให้ บริษทั ฯ มีความเสีย� งอันเนือ� งมาจากความผันผวนของอัตราค่าเงิน การเปลีย� นแปลงของมูลค่าการลงทุน กฎหมายและระเบียบต่างๆ ในการดําเนินกิจการโรงแรม รวมถึงการขอใบอนุญาตที�เกี�ยวข้ อง ต่างๆ บริษทั ฯ จึงมีมาตรการการควบคุมดูแลโครงการลงทุนในต่าง ประเทศอย่างใกล้ ชดิ โดยการทํา Due Diligence วางแผนงาน และ ขันตอนการลงทุ � นอย่างละเอียด การป้องกันความเสีย� งแบบธรรมชาติ จากอัตราแลกเปลีย� น (Natural Currency Hedging) รวมทังมี � การ ว่าจ้ างทีป� รึกษาผู้มคี วามรู้ ความเชีย� วชาญในประเทศทีเ� ข้ าไปลงทุน เพือ� ลดความเสีย� งทีอ� าจเกิดขึ �นเนือ� งจากการดําเนินงานในต่างประเทศ

48

นอกจากนี � การสร้ างวัฒนธรรมองค์กรที�เอือ� ในการทํางานให้ มี บรรยากาศทีด� ี เน้ นการทํางานแบบเป็ นทีม การทํางานด้ วยคุณธรรม จริยธรรม จะช่วยให้ บริษัทฯ เป็ นองค์กรที�เป็ นที�สนใจแก่ผ้ มู ีความรู้ ความสามารถ มืออาชีพ และ มีคณ ุ ธรรม สุดท้ ายนโยบายการ ให้ ผลตอบแทนและสวัสดิการทีแ� ข่งขันได้ ตามความรู้ความสามารถ การให้ผลตอบแทนพิเศษ (โบนัส) ตามผลงานทีเ� ชือ� มโยงกับยุทธศาสตร์ ขององค์กร และการให้ สทิ ธิซื �อหุ้นในระยะยาวแก่คณะผู้บริหาร และ พนักงาน เป็ นอีกส่วนที�ทําให้ บคุ ลากรมีความมุ่งมัน� รู้สกึ ร่วมเป็ น เจ้ าของ และทํางานให้ บริษทั ฯ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง� นโยบายต่าง ๆ เหล่านี �ถือเป็นกลไกสําคัญในการรักษาบุคลากรทีม� คี ณ ุ ภาพให้ ทาํ งาน อย่างมีประสิทธิภาพ


ESG Report รายงานดานสิ่งแวดลอม สังคม และบรรษัทภิบาล


CG Awards รางวัลด านบรรษัทภิบาล ปี 2561 • บริ ษัทที�มีการปฏิบตั ิตามหลักบรรษัทภิบาล ปี 2561 “ดีมาก” โครงการ Corporate Governance Report of Thai Listed Companies (CGR Report) โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย (IOD) ซึง� ได้ รบั การสนับสนุนจาก ตลท. และ ก.ล.ต. • การจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2561 “ดีมาก” โครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถอื หุ้นประจําปี โดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย • บริ ษัทจดทะเบียนด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ ดีเด่น โครงการ: SET Awards 2018 • “ESG100 Companies” เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนทีม� กี ารดําเนิน งานโดดเด่นอย่างยัง� ยืนด้ านสิง� แวดล้ อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG) ปี 2561 โดยสถาบันไทยพัฒน์ และ ก.ล.ต. ปี 2548-2560 โครงการประกาศเกียรติคณ ุ คณะกรรมการแห่งปี • คณะกรรมการแห่งปี - ดีเด่น ปี 2549/50 (Board of the Year Awards 2006/07) โครงการ Corporate Governance Report of Thai Listed Companies (CGR Report) • “ควอไทล์ที� 2 ปี 2548” (2nd Quartile,Top rating = 1st Quartile) • บริษทั ทีม� กี ารปฏิบตั ติ ามหลักบรรษัทภิบาล ปี 2549 และปี 2551 “ดีมาก” • บริษทั ทีม� กี ารปฏิบตั ติ ามหลักบรรษัทภิบาล ปี 2552 “ดีเยีย� ม” • บริษทั ทีม� กี ารปฏิบตั ติ ามหลักบรรษัทภิบาล ปี 2553 - 2556 ”ดีเลิศ” • บริษทั ทีม� กี ารปฏิบตั ติ ามหลักบรรษัทภิบาล ปี 2557-2560 “ดีมาก” โครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถอื หุ้น • การจัดประชุมผู้ถอื หุ้นสามัญประจําปี 2549 “ดี” • การจัดประชุมผู้ถอื หุ้นสามัญประจําปี 2550 “ดีมาก” • การจัดประชุมผู้ถอื หุ้นสามัญประจําปี 2551 - 2552 “ดีเยีย� ม” • การจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี 2553 “ดีเยี�ยม – สมควรเป็ นตัวอย่าง” • การจัดประชุมผู้ถอื หุ้นสามัญประจําปี 2554-2560 “ดีเยีย� ม” โครงการ SET Awards • SET Awards 2009: เป็ น 1 ใน 3 บริษทั ทีไ� ด้ รบั การเสนอชือ� เข้ าชิง รางวัลบริษทั จดทะเบียนด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ดเี ด่น • SET Awards 2010: เป็ น 1 ใน 2 บริษทั ทีไ� ด้ รบั การเสนอชือ� เข้ าชิง รางวัลรายงานบรรษัทภิบาลดีเด่น • SET Awards 2010: บริษทั จดทะเบียนด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ดเี ด่น • SET Awards 2011: เป็ น 1 ในบริษทั ทีไ� ด้ รบั การเสนอชือ� เข้ าชิง รางวัลรายงานบรรษัทภิบาลดีเด่นปี 2554

50

• SET Awards 2013: CSRI Recognition 2013 “Most Improved” • SET Awards 2013: บริษทั จดทะเบียนด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ยอด เยีย� ม • SET Awards 2014: บริษทั จดทะเบียนด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ยอด เยีย� ม • SET Awards 2015: เป็ น 1 ในบริษทั ทีไ� ด้ รบั การเสนอชือ� เข้ าชิง รางวัลบริษทั จดทะเบียนด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ดเี ด่น • SET Awards 2016: เป็ น 1 ในบริษทั ทีไ� ด้ รบั การเสนอชือ� เข้ าชิง รางวัลบริษทั จดทะเบียนด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ดเี ด่น • SET Awards 2017: บริษทั จดทะเบียนด้านนักลงทุนสัมพันธ์ดเี ด่น โครงการแนวร่ วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต • เป็ นบริษทั ทีม� กี ระบวนการในการต่อต้ านการคอร์รปั ชัน� ทีด� ี และได้ รับการรับรองการเป็ นสมาชิกของแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชน ไทยในการต่อต้านการทุจริตอย่างสมบูรณ์ เมือ� วันที� 4 ตุลาคม 2556 • เป็ นบริษทั ทีไ� ด้ รบั รองระดับ 4 (Certified) ด้ านการมีกระบวนการ ป้องกันการมีสว่ นเกี�ยวข้ องกับการคอร์ รัปชัน� (Anti-Corruption Progress Indicator) โครงการการประเมินระดับการพัฒนาความ ยัง� ยืน (Sustainable Development) ของบริษทั จดทะเบียนไทย จัด โดยสถาบันไทยพัฒน์ ร่วมกับ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ในปี 2557 โครงการการจัดอันดับหลักทรัพย์จดทะเบียนที�มกี ารดําเนิน งานโดดเด่นด้านสิ�งแวดล้ อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG100) • “ESG100 Companies” เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนทีม� กี ารดําเนิน งานโดดเด่นอย่างยัง� ยืนด้ านสิง� แวดล้ อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG) ในปี 2558 และปี 2560 โดยสถาบันไทยพัฒน์ และ ก.ล.ต. Asia Recognition Awards • การจัดการด้ านบรรษัทภิบาล ปี 2555 และปี 2556 “ดีเด่น” จาก วารสาร Corporate Governance Asia Recognition Awards ปี 2555 และปี 2556 โครงการ Thailand Corporate Excellence Awards and SMEs Excellence Awards 2016 • “ความเป็ นเลิศในการบริหารจัดการโดยรวม” สําหรับองค์กรทีม� ี รายได้ ไม่เกิน 10,000 ล้านบาท/ปี โครงการ: Thailand Corporate Excellence Awards and SMEs Excellence Awards 2016 โดยสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทยและสถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


Sustainable Development Policy นโยบายการพัฒนาอย างยั่งยืน บริษทั ฯ มีความมุง่ มัน� ในการดําเนินธุรกิจเพือ� การเจริญเติบโตอย่าง 1. การนําพาองค์กรสูค่ วามยัง� ยืนด้ วยแนวความคิดด้ านการพัฒนา ยัง� ยืนในระยะยาว ซึง� ต้ องสร้ างขึ �นจากการกํากับดูแลกิจการ ผลการ ผ่านการสือ� สารและการแลกเปลีย� นวิธีปฏิบตั ทิ เี� ป็ นเลิศร่วมกับผู้มี ดําเนินงาน บุคลากร และวัฒนธรรมองค์กรทีด� ี โดยเน้ นการปฏิบตั ิ ส่วนได้ เสียทุกฝ่ าย งานทีม� คี วามโปร่งใส เป็ นธรรม พร้ อมมุง่ ให้ เกิดประโยชน์และเติบโต 2. ดําเนินการให้ แนวคิดด้ านการพัฒนาอย่างยัง� ยืนเป็ นหนึง� เดียวกัน ไปพร้ อมกับผู้มสี ว่ นได้ เสียทุกฝ่ ายอย่างเหมาะสม โดยคํานึงถึงสังคม ทุกกระบวนการทํางาน และกระบวนการในการตัดสินใจ และสิง� แวดล้อมเป็ นสําคัญ เพือ� ผลักดันให้ บริษทั ฯ เติบโตอย่างยัน� ยืน 3. ส่งเสริมการฝึกอบรม การให้ ความรู้ และการให้ คาํ แนะนําทีม� งุ่ เน้ น วิธปี ฏิบตั ติ ามแนวทางการพัฒนาอย่างยัง� ยืน บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับแผนยุทธศาสตร์ องค์กร และทิศทาง 4. สนับสนุนการดําเนิ นงานและสร้ างความร่ วมมื อกับภาครั ฐ การเติบโตอย่างยัง� ยืน ซึง� ประกอบด้วยผู้นาํ และการกํากับดูแลกิจการทีด� ี ภาคเอกชนเพือ� ให้ เกิดการพัฒนาอย่างยัง� ยืนและเกิดความร่วมมือ การวางแผนกลยุทธ์ คุณภาพและประสิทธิภาพของผู้มสี ว่ นได้ เสียทุก ร่วมใจของทุกภาคส่วน ฝ่ าย ได้ แก่ ผู้ถอื หุ้น พนักงาน ครอบครัวพนักงาน ลูกค้ า เจ้ าหนี � คูค่ ้ า คูแ่ ข่งขัน รัฐ ชุมชน สังคม และสิง� แวดล้ อม บริษัทฯ จึงได้ กําหนด นโยบายการพัฒ นาอย่ า งยั�ง ยื น ถื อ เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของ นโยบายในการปฏิบตั เิ พือ� การพัฒนาอย่างยัง� ยืน ดังนี � คณะกรรมการบริ ษัท และฝ่ ายจัดการ ที� จะร่ วมกันขับเคลื�อ น อย่างเป็นรูปธรรม และเป็นหน้ าทีข� องพนักงานทุกคนทีจ� ะนําไปปฏิบตั ิ อย่างจริงจัง และเป็ นส่วนหนึง� ในทุกกระบวนการทํางานเพือ� ให้ เกิดผล อย่างเป็นรูปธรรม

นายเพชร ไกรนุกูล กรรมการผู้จดั การใหญ่

JW Marriott Bangkok

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

51


Anti-Corruption Policy นโยบายต อต านการคอร รัปชั่น บริ ษัทฯ บริ หารจัดการโดยยึดหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดี และ กําหนดนโยบายต่อต้ านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน� ทุกรู ปแบบที�อาจเกิด ขึ �นจากการปฏิบตั ิงานและการติดต่อกับผู้มีสว่ นได้ เสีย ซึง� บริ ษัทฯ กําหนดให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัทฯ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม ยึดถือปฏิบตั ิโดยเคร่งครัด

2.1 ต้ อ งพิ สูจ น์ ไ ด้ ว่ า มี กิ จ กรรมตามโครงการเพื� อ การกุศ ล ดัง กล่ า วจริ ง และมี ก ารดํ า เนิ น การเพื� อ สนั บ สนุ น ให้ วัตถุประสงค์ของโครงการประสบผลสําเร็จ และก่อให้ เกิด ประโยชน์ตอ่ สังคมอย่างแท้ จริ ง 2.2 ต้ องพิสจู น์ได้ วา่ การบริ จาคเพื�อการกุศลดังกล่าวไม่มีสว่ น เกี� ยวข้ องกับผลประโยชน์ ต่างตอบแทนให้ กับบุคคลใด หรื อหน่วยงานใด ยกเว้ น การประกาศเกี ยรติคุณตาม ธรรมเนียมปฏิบตั ทิ วั� ไป เช่น การติดตราสัญลักษณ์ (Logo) การประกาศรายชื�อ ณ สถานที�จดั งาน หรื อในสื�อเพื�อการ ประชาสัมพันธ์อื�น เป็ นต้ น

คํานิยาม การคอร์ รัปชัน� (Corruption) หมายถึง การติดสินบน การใช้ ตาํ แหน่ง หน้ าที� และ/หรื อการใช้ ข้อมูลที�ได้ รับจากการปฏิบตั หิ น้ าที�การงาน ของบริษัทฯ ไปกระทําการใดๆ ที�เป็ นการเอื �อประโยชน์ให้ กบั ตนเอง พวกพ้ อง และ/หรื อผู้อื�นเพื�อให้ ได้ มาซึง� ทรัพย์สนิ ผลประโยชน์อื�น ใดที�ไม่เหมาะสมทางธุรกิจ หรื อผลประโยชน์อื�นใดโดยมิชอบแก่ 3. เงินสนับสนุน (Sponsorships) มีวตั ถุประสงค์เพือ� ธุรกิจ ตราสินค้า ตนเองทังทางตรงและทางอ้ � อม รวมถึงการกระทําใดๆ ที�ขดั หรื อ หรื อชื�อเสียงของบริ ษัทฯ ซึ�งมีความเสี�ยง เนื�องจากเป็ นการ แย้ งกับจริ ยธรรมธุรกิจของบริ ษัทฯ ยกเว้ นแต่เป็ นกรณีที�กฎหมาย จ่ายเงินสําหรับการบริ การหรื อผลประโยชน์ที�ยากต่อการวัดผล ระเบียบ ประกาศ ข้ อบังคับ ขนบธรรมเนียมประเพณีของท้ องถิ�น และติดตาม เงินสนับสนุนอาจถูกเชื�อมโยงไปเกี�ยวข้ องกับการ หรื อจารี ตทางการค้ าให้ กระทําได้ ให้ สินบน บริ ษัทฯ จึงกํ าหนดนโยบายและหลักเกณฑ์ เกี� ยว กับเงินสนับสนุน กระบวนการสอบทาน และรายละเอียดการ รูปแบบของการคอร์ รัปชั�น ประกอบด้ วย 4 รูปแบบหลัก ควบคุม รวมทังการประเมิ � นผลที�ได้ รับไว้ ดงั ต่อไปนี � 1. การช่ วยเหลือทางการเมือง หมายถึง การให้ การสนับสนุน 3.1 ต้ อ งพิ สูจ น์ ไ ด้ ว่ า ผู้ข อเงิ น สนับ สนุน ได้ ทํ า กิ จ กรรมตาม ทางการเงิน สิ�งของ และ/หรื อการเข้ าร่ วมกิจกรรม ตลอดจน โครงการดังกล่าวจริง และเป็ นการดําเนินการเพือ� สนับสนุน การส่งเสริ มให้ พนักงานเข้ าร่ วมกิจกรรมทางการเมืองในนาม ให้ วตั ถุประสงค์ของโครงการประสบผลสําเร็จ และก่อให้ เกิด ของบริ ษัทฯ เพื�อให้ ได้ มาซึ�งความได้ เปรี ยบทางธุรกิจการค้ า ประโยชน์ตอ่ สังคมอย่างแท้ จริง ทังนี � �ไม่รวมถึงการที�พนักงานเข้ าร่วมกิจกรรมตามสิทธิเสรี ภาพ 3.2 ต้ องพิสจู น์ได้ วา่ การให้ เงินสนับสนุนหรื อประโยชน์อื�นใดที� ส่วนบุคคล สามารถคํานวณเป็ นตัวเงินได้ เช่น การให้ ทพี� กั และอาหาร บริษัทฯ มีนโยบายดําเนินธุรกิจอย่างเป็ นกลาง ไม่ฝักใฝ่ ทางการ เป็ นต้ น ไม่มีส่วนเกี�ยวข้ องกับผลประโยชน์ต่างตอบแทน เมืองหรื อนักการเมืองมืออาชีพที�สงั กัดพรรคการเมืองพรรคใด ให้ กับบุคคลใด หรื อหน่วยงานใด ยกเว้ น การประกาศ พรรคหนึง� และจะไม่นําเงินทุน หรื อความช่วยเหลือในรูปแบบ เกียรติคณ ุ ตามธรรมเนียมธุรกิจทัว� ไป อื�นใดไปเพื�อเป็ นการช่วยเหลือทางการเมืองตามความหมาย ในวรรคแรก โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อเอื �อประโยชน์ทางธุรกิจ 4. ค่าของขวัญ ค่าบริการต้อนรับ (Hospitality) และค่าใช้ จ่ายอื�น นโยบายและหลักเกณฑ์ กระบวนการสอบทาน และรายละเอียด 2. การบริ จ าคเพื� อ การกุ ศ ล อาจทํ า ให้ เ กิ ด ความเสี� ย งต่ อ การควบคุม รวมทัง� การประเมิ นผลเกณฑ์ ใ นการพิ จารณา บริ ษัทฯ เนื�องจากกิจกรรมดังกล่าวเกี�ยวข้ องกับการใช้ จ่ายเงิน ให้ เป็ นไปตามความความรั บผิดชอบต่อสังคม (Corporate โดยไม่มีผลตอบแทนที�มีตวั ตน และอาจจะใช้ เป็ นข้ ออ้ างหรื อ Social Responsibility (CSR)) เส้ นทางสําหรับการคอร์ รัปชัน� และเพือ� ไม่ให้ การบริจาคเพือ� การ กุศลมีวตั ถุประสงค์แอบแฝง บริ ษัทฯ จึงกําหนดนโยบายและ หลักเกณฑ์เกีย� วกับการบริจาคเพือ� การกุศล กระบวนการสอบทาน และรายละเอียดการควบคุมไว้ ดงั ต่อไปนี �

52


การแจ้ งเบาะแส และมาตรการคุ้มครอง 3. กระบวนการรายงาน คณะกรรมการวินยั มีหน้ าทีร� ายงานข้ อ หากผู้ใ ดพบหรื อ มี ข้ อ สงสัย โดยเฉพาะเรื� อ งการไม่ ป ฏิ บัติ ต าม เท็จจริงโดยตรงต่อกรรมการผู้จดั การใหญ่ (President) และ/หรือ จรรยาบรรณ ระเบียบ กฎเกณฑ์ และข้ อกฎหมายทีเ� กี�ยวข้ อง เมือ� ได้ คณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือคณะกรรมการบริษทั ขึ �นอยูก่ บั รับการแจ้ งเบาะแสไม่วา่ จากภายในหรื อภายนอก บริ ษัทฯ มีหน่วย ความเหมาะสมของเรื�องทีเ� กิดขึ �น โดยการพิจารณาความเหมาะ งานอิสระที�จะทําการพิจารณารายละเอียดเพื�อสืบหาข้ อเท็จจริ ง สมของการนําเสนอรายงานต่อผู้มอี าํ นาจหน้ าทีร� ับผิดชอบให้ อยู่ ตามกระบวนการดังต่อไปนี � ในดุลยพินจิ ของคณะกรรมการวินยั ซึง� กําหนดกรอบการพิจารณา ไว้ ดงั ต่อไปนี � 1. กระบวนการหาข้ อเท็จจริ ง บริ ษัทฯ กําหนดช่องทางในการ 3.1 กรรมการผู้จดั การใหญ่ (President) เป็ นเรื� องที�เกี�ยวข้ อง ติดต่อและรับเรื�องร้ องเรียนไว้ บนเว็บไซต์ รายงานประจําปี หวั ข้ อ กับการบริหารงานปกติทวั� ไป และอยูภ่ ายใต้ การกํากับดูแล รายงานบรรษัทภิบาล และในคูม่ ือจริ ยธรรมธุรกิจ โดยกําหนด ของกรรมการผู้จดั การใหญ่ กระบวนการหาข้ อเท็จจริงที�รวดเร็วและเป็ นระบบประกอบด้ วย 3.2 คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) เป็ นเรื� องที� 1.1 ความชัดเจนเพียงพอ รายละเอียดของเบาะแสหรื อข้ อ เกี�ยวข้ องกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที�ดี และ/หรื อ ร้ องเรี ยนต้ องเป็ นความจริ ง และ/หรื อมีความเพียงพอที� การจงใจกระทําการทุจริ ตต่อหน้ าที�ที�ส่งผลกระทบอย่าง จะนําสืบได้ ร้ ายแรง 1.2 สาระสํ า คัญ เบาะแสหรื อ ข้ อ ร้ องเรี ย นที� มี ส าระสํ า คัญ 3.3 คณะกรรมการบริ ษัท (Board of Directors) เป็ นเรื� องที� ผู้รับเรื� องจะพิจารณาส่งให้ คณะกรรมการวินยั ซึง� สมาชิก คณะกรรมการตรวจสอบพิ จ ารณาแล้ ว เห็ น ว่า สมควร ประกอบด้ วย หน่วยงานอิสระ (Compliance), หน่วยงาน รายงานต่อคณะกรรมการบริษัท เพื�อทราบ และ/หรื อเพื�อ ทรั พยากรบุคคล, หน่วยงานต้ นเรื� องของผู้ถูกร้ องเรี ยน พิจารณาดําเนินการในเรื�องทีเ� กีย� วข้ องกับนโยบายการกํากับ และหน่วยงานต้ นเรื� องของผู้แจ้ งเบาะแสหรื อผู้ร้องเรี ยน ดูแล และ/หรือเรื�องทีม� ผี ลกระทบต่อผู้บริหารระดับสูง (กรณีเป็ นพนักงาน) เพื�อขยายผลหาข้ อเท็จจริ ง 1.3 ผู้แจ้ งเบาะแสหรื อผู้ร้องเรี ยน จะได้ รับความคุ้มครองสิทธิ 4. กระบวนการลงโทษ และการแจ้ งผลการดําเนินการ อย่างเท่าเทียมกันไม่วา่ จะเป็ นพนักงานหรือบุคคลภายนอก 4.1 การลงโทษ ให้ เป็ นไปตามระเบียบว่าด้ วยวินยั พนักงานของ 1.4 ผู้แจ้ งเบาะแสหรือผู้ร้องเรียน สามารถเลือกทีจ� ะไม่เปิ ดเผยชือ� บริ ษัทฯ และ/หรื อข้ อกฎหมายที�เกี�ยวข้ อง ทีอ� ยู่ หรือหมายเลขโทรศัพท์ทตี� ดิ ต่อได้ เว้ นแต่ผ้ แู จ้ งเบาะแส 4.2 กรณี ที� ส ามารถติ ด ต่ อ ผู้ ใ ห้ เ บาะแสหรื อ ผู้ ร้ องเรี ย นได้ หรื อผู้ร้องเรี ยน เห็นว่าการเปิ ดเผยข้ อมูลจะทําให้ บริ ษัทฯ บริ ษัทฯ จะแจ้ งผลการดําเนินการให้ ทราบเป็ นลายลักษณ์ สามารถรายงานความคืบหน้ า หรื อสอบถามข้ อมูลที�เป็ น อักษร ประโยชน์เพิม� เติม หรือชี �แจงข้ อเท็จจริงให้ ทราบ หรือบรรเทา 4.3 หัวหน้ าสายงานที�เกี�ยวข้ องติดตามผลการปรับปรุ งแก้ ไข ความเสียหายได้ สะดวกและรวดเร็วยิง� ขึ �น (ถ้ ามี) และรายงานให้ ผ้ มู ีอํานาจทราบตามลําดับ 2. กระบวนการให้ความเป็ นธรรม คณะกรรมการวินยั จะพิจารณา ให้ ความเป็ นธรรม และปกป้องผู้แจ้ งเบาะแสหรื อผู้ร้องเรี ยน ผู้ รั บ เรื� อ งร้ องเรี ย น ผู้ ถู ก ร้ องเรี ย น และผู้ มี ส่ ว นเกี� ย วข้ อง ในกระบวนการตรวจสอบหาข้ อเท็จจริง และการรายงาน ต้ องเก็บ ข้อมูลทีเ� กีย� วข้องเป็นความลับ จะเปิดเผยเท่าทีจ� าํ เป็น โดยคํานึงถึง ความปลอดภัย และความเสียหายของผู้แจ้งเบาะแสหรือผู้ร้องเรียน ผู้ถกู ร้ องเรียน หรือผู้ทรี� ่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง แหล่งทีม� า ของข้อมูล หรือบุคคลทีเ� กีย� วข้อง โดยการลงนามให้สตั ยาบันร่วมกัน

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

53


Anti-Money Laundering and Countering the Financing of Terrorism Policy นโยบายด านการป องกันและปราบปรามการฟอกเง�นและการต อต านการ สนับสนุนทางการเง�นแก การก อการร าย การกําหนดนโยบาย เพือ� ให้ การดําเนินงานของ ดิ เอราวัณ กรุ๊ป และบริษทั ย่อย (บริษทั ฯ) เป็ นไปตามขันตอนที � �ถกู ต้ องตามกฎหมายว่าด้ วยการป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน และมาตรฐานสากลด้ านการป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้ านการสนับสนุนทางการเงิน แก่การก่อการร้ าย คณะกรรมการบริษทั จึงกําหนดนโยบายด้ านการ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้ านการสนับสนุน ทางการเงินแก่การก่อการร้ าย นโยบายการรับลูกค้ า นโยบายการ บริ หารความเสี�ยงเกี�ยวกับการฟอกเงินของลูกค้ า และกําหนดการ กํ า กั บ ดู แ ลให้ บุ ค ลากรภายในองค์ ก รปฏิ บั ติ ต ามนโยบาย ด้ า นการป้อ งกัน และปราบปรามการฟอกเงิ น และการต่อ ต้ า น การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ ายของบริ ษัทฯ

บริ ษัทฯ กําหนดนโยบายลําดับรองและมาตรการต่างๆ เพื�อรองรับ นโยบายข้ างต้ น ประกอบด้ วย นโยบายการรับลูกค้ า นโยบาย การบริ หารความเสี�ยงเกี�ยวกับการฟอกเงินของลูกค้ า แนวปฏิบตั ิ ในการตรวจสอบเพื�อทราบข้ อเท็จจริ งเกี�ยวกับลูกค้ า รวมทังการ � กํากับดูแลให้ บคุ ลากรภายในองค์กรปฏิบตั ติ ามนโยบาย มาตรการ และแนวทางปฏิบตั ดิ งั กล่าว อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี �

นโยบายด้ านการป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และการต่ อต้ านการสนับสนุนทางการเงินแก่ การก่ อการร้ าย บริ ษัทฯ มีหน้ าที� และจรรยาบรรณในการกําหนดนโยบายและ แนวทางในการปฏิบตั ิเพื�อการป้องกันและปราบปรามการฟอก เงินและการต่อต้ านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ าย และมุ่ ง มั� น ในการป้ อ งกั น มิ ใ ห้ บริ ษั ท ฯ เป็ นแหล่ ง ฟอกเงิ น และสนับ สนุน ทางการเงิ น แก่ ก ารก่ อ การร้ าย โดยการปฏิ บัติ ตามกฎหมายว่าด้ วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิ น รวมถึงกฎหมายที�เกี�ยวข้ องและแนวทางปฏิบตั ทิ ี�สาํ นักงานป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงินกําหนดขึ �นอย่างเคร่งครัด

นโยบายการบริหารความเสี�ยงเกี�ยวกับการฟอกเงินของลูกค้ า บริ ษัทฯ มีหน้ าที�บริ หารความเสี�ยงเกี�ยวกับการฟอกเงินของลูกค้ า ก่อนพิจารณาอนุมตั ริ ับลูกค้ าตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายว่าด้ วย การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

54

นโยบายการรั บลูกค้ า บริ ษัทฯ มีหน้ าที�ต้องจัดให้ ลกู ค้ าแสดงตน ดําเนินการตรวจสอบ พิสจู น์ทราบและระบุตวั ตนของลูกค้ า ก่อนพิจารณาอนุมตั ริ ับลูกค้ า ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้ วยการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน

แนวปฏิบตั ใิ นการตรวจสอบเพื�อทราบข้อเท็จจริงเกี�ยวกับลูกค้า บริ ษัทฯ มีหน้ าที�ตรวจสอบเพื�อทราบข้ อเท็จจริ งเกี� ยวกับลูกค้ า อย่างสมํ�าเสมอและต่อเนื�อง จนกว่าจะยุติความสัมพันธ์กบั ลูกค้ า ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้ วยการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน


การกํากับดูแลให้ บุคลากรภายในองค์ กรปฏิบตั ติ ามนโยบาย 4. บริษัทฯ สนับสนุนและส่งเสริมให้ คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร การป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่ อต้ านการ พนักงาน รวมทังบริ � ษัทคูค่ ้ า (บริ ษัทผู้บริ หารโรงแรม) มีความรู้ สนับสนุนทางการเงินแก่ การก่ อการร้ ายของบริษัทฯ ความเข้ าใจด้ านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและ 1. บริษทั ฯ กําหนดให้ ผ้ บู ริหารทุกระดับ พนักงาน รวมทังบริ � ษทั คูค่ ้ า การต่อต้ านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ ายอย่าง (บริษทั ผู้บริหารโรงแรม) ปฏิบตั ติ ามนโยบาย และระเบียบวิธปี ฏิบตั ิ เพียงพอที�จะสามารถปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยการป้องกัน ด้ านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้ าน และปราบปรามการฟอกเงินได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ ายโดยเคร่งครัด 5. บริ ษัทฯ กําหนดให้ มีคําสัง� ระเบียบ และคูม่ ือการปฏิบตั งิ านที� 2. บริ ษัทฯ กําหนดให้ มีผ้ ูบริ หารที�มีอํานาจทําหน้ าที�กํากับดูแล สอดคล้ องกับนโยบายด้ านการป้องกันและปราบปรามการฟอก การปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้ วยการป้องกันและปราบปรามการ เงินและการต่อต้ านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ าย ฟอกเงิน และเป็ นผู้ตดิ ต่อประสานงานกับสํานักงานป้องกันและ 6. ผู้บริ หารทุกระดับ พนักงาน รวมทังบริ � ษัทคูค่ ้ า (บริ ษัทผู้บริ หาร ปราบปรามการฟอกเงิน โรงแรม) ต้ องปฏิบตั ิตามนโยบาย และระเบียบวิธีปฏิบตั ิด้าน 3. บริ ษัทฯ กําหนดมาตรการการควบคุมความเสี�ยงในการฟอก การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้ านการ เงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ ายที�อาจเกิด สนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ ายโดยเคร่งครัด ขึ �นจากการใช้ บริ การต่างๆ ของบริ ษัทฯ

ibis Bangkok Sukhumvit 4

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

55


Corporate Governance Policy นโยบายบรรษัทภิบาล บริษทั ฯ บริหารจัดการโดยยึดหลักการกํากับดูแลกิจการทีด� ี (Good Corporate Governance) ดําเนินธุรกิจถูกต้ องตามกฎหมาย ยึดหลัก คุณธรรมและจริ ยธรรมธุรกิจ เปิ ดเผยข้ อมูลด้ วยความโปร่งใสตรง ไปตรงมา พัฒนาระบบควบคุมภายใน และมีกลไกการตรวจสอบทีด� แี ละ เหมาะสม การดําเนินงานคํานึงถึงความรับผิดชอบต่อผู้ถอื หุ้นและผู้ทมี� ี ส่วนได้เสียทุกฝ่ าย โครงสร้ างคณะกรรมการบริษทั กลไกการกํากับดูแล การบริหารงาน แสดงให้ เห็นถึงศักยภาพและความรับผิดชอบในเรื�อง ต่างๆ ได้ ดี ซึง� นอกจากจะเป็ นไปตามกรอบมาตรฐานทีด� ขี อง OECD (Organization for Economic Cooperating and Development) และ ASEAN CG Scorecard แล้ว บริษทั ฯ ได้ ศกึ ษาและนําแนวปฏิบตั ทิ ี� ดีทงในประเทศ ั� และต่างประเทศนํามาปฏิบตั ิ อาทิ การจัดตังคณะ � กรรมการชุดย่อย 4 คณะ เพือ� ช่วยกํากับดูแลการบริหารจัดการในแต่ละ เรื�องให้ ละเอียดมากขึ �น ตลอดจนการกําหนดโครงสร้ างกรรมการซึง� มี กรรมการอิสระร้ อยละ 36.36 สําหรับการกํากับดูแลเรื�องบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริษทั แต่งตังคณะกรรมการสรรหาและบรรษั � ทภิบาล (Nominating and Corporate Governance Committee (NCG)) เพื�อกํ าหนดนโยบาย และทบทวนแนวปฏิบัติที�เหมาะสมอย่าง สมํา� เสมอ เพือ� ให้ ผ้ มู สี ว่ นได้ เสียทุกฝ่ ายมัน� ใจว่าบริษทั ฯ มีมาตรฐาน การจัดการทีด� แี ละนําไปปฏิบตั จิ ริงอย่างเป็ นรูปธรรม โดยกรรมการ ผู้จดั การใหญ่ เป็ นผู้กํากับดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตามนโยบายและ แนวทางทีถ� กู ต้ อง

บริ ษั ท ฯ มุ่ง เน้ น ให้ พ นัก งานเข้ า ใจการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที� คํ า นึง ถึ ง ผู้มสี ว่ นได้ เสียทุกฝ่ ายอย่างเหมาะสม ไม่วา่ จะเป็ นผู้ถอื หุ้น พนักงาน ครอบครัวพนักงาน ลูกค้ า เจ้ าหนี �คูค่ ้ า คูแ่ ข่งขัน รัฐ ชุมชน สังคม และ สิ�งแวดล้ อ ม และจัด ให้ มี ห น่วยงานที� มี ห น้ าที� ค วามรั บ ผิ ด ชอบ คอยติดตามและสํารวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ เสียทุกฝ่ าย อย่างสมํ�าเสมอ เพื�อนํามาปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงานให้ มี ประสิทธิภาพมากยิง� ขึ �น และยังใช้ เป็ นปัจจัยหนึง� ในการประเมินผล งานประจําปี ของพนักงาน

แนวปฏิบตั ดิ ้ านบรรษัทภิบาล แบ่ งเป็ น 8 เรื� องดังนี � 1. จริยธรรมธุรกิจ บริษัทฯ กําหนดแผนในการดําเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาลที�ดี โดยรวบรวมข้ อควรปฏิบตั ิ และจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจทีด� ี เหมาะ สมสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์องค์กร และมัน� ใจว่าสามารถปฏิบตั ไิ ด้ มาจัดทําเป็ นคู่มือจริ ยธรรมธุรกิจ และพิจารณาปรับปรุ งอยู่เสมอ เพื�อเผยแพร่ให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน เกิดการรับรู้การ ปฏิบตั ริ ่วมกันทังองค์ � กร เพือ� ให้บริษทั ฯ ก้ าวไปสูค่ วามสําเร็จด้วยสํานึก ของความถูกต้ องและดีงาม ตามคําขวัญทีว� า่ “ความสําเร็จต้ องมา พร้ อมด้ วยคุณธรรม (Success with Integrity)” ซึง� ถือเป็ นหนึง� ใน กลไกสําคัญทีจ� ะหล่อหลอมให้ ผ้ บู ริหาร และพนักงาน มีความเชือ� มัน� ในหน้ าทีค� วามรับผิดชอบของตนทีพ� งึ มีตอ่ ผู้มสี ว่ นได้ เสียทุกฝ่ าย มี จริยธรรมและทัศนคติทดี� ใี นการทํางาน และเป็นสมาชิกทีด� ขี องสังคม นอกจากนี � บริษทั ฯ ได้ ร่วมลงนามประกาศเจตนารมณ์เข้ าเป็ นแนว และเผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ (www.TheErawan.com) ร่วมปฏิบตั ิ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านการทุจริต (Collective Action Coalition) ได้ รบั การรับรองการเป็ นสมาชิกของแนวร่วมปฏิบตั ิ 2. คุณสมบัติ โครงสร้ าง หน้ าที�ความรั บผิดชอบของ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านการทุจริตอย่างสมบูรณ์ และเป็ น คณะกรรมการบริษัท และฝ่ ายจัดการ บริ ษัทที�มีกระบวนการในการต่อต้ านการคอร์ รัปชัน� ที�ดี โดยเป็ น 1 บริ ษัทฯ กําหนดคุณสมบัติของกรรมการ สอดคล้ อง และเข้ มกว่า ในบริษทั จดทะเบียนทีไ� ด้ รบั การประเมินสูงสุดในระดับ 4 (Certified) ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรรมการมีวาระ ด้านการป้องกันการมีสว่ นเกีย� วข้องกับการคอร์รปั ชัน� (Anti-Corruption การดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี มีขอบเขตอํานาจหน้ าทีช� ดั เจน มีการ Progress Indicator) ตามโครงการประเมินระดับการพัฒนาความ ถ่วงดุลอํานาจระหว่างกันของกรรมการทีไ� ม่เป็นผู้บริหาร ประกอบด้วย ยัง� ยืนของบริษทั จดทะเบียน โดยสถาบันไทยพัฒน์ ร่วมกับสํานักงาน ประธานกรรมการบริ ษัท เป็ นคนละคนกับกรรมการผู้จดั การใหญ่ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ โดยมีบทบาท อํานาจ หน้ าที�แบ่งแยกออกจากกันอย่างชัดเจน ในปี 2558, ปี 2560 และปี 2561 ได้ รับประกาศเกียรติคณ ุ ว่าเป็ น เพื�อส่งเสริ มให้ เกิดดุลยภาพระหว่างการบริ หารและการกํากับดูแล หลักทรัพย์จดทะเบียนที�มีการดําเนินงานโดดเด่นอย่างยัง� ยืนด้ าน คณะกรรมการบริ ษัทมี 11 คน ประกอบด้ วย กรรมการอิสระ สิง� แวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG100) โดยสถาบันไทยพัฒน์ 4 คน กรรมการทีไ� ม่เป็ นผู้บริหาร 6 คน และผู้บริหารทีด� าํ รงตําแหน่ง และ ก.ล.ต. กรรมการ 1 คน

56


คณะกรรมการบริษทั แต่งตังคณะกรรมการชุ � ดย่อย 4 คณะ เพือ� ให้มกี าร แบ่งแยกหน้ าทีค� วามรับผิดชอบอย่างชัดเจนเหมาะสม และมีนโยบาย ในการพิจารณาสับเปลีย� นกรรมการ (Rotation) ในคณะกรรมการชุดย่อย ตามความเหมาะสม โดยประธานคณะกรรมการชุดย่อย มีหน้ าที� ในการนําเสนอนโยบายที�ได้ รับมติเห็นชอบจากคณะของตนต่อ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อยแต่งตังเลขานุ � การ เพือ� ทํา หน้ าทีร� บั ผิดชอบในการติดตาม และประสานงานระหว่างกรรมการกับ ฝ่ ายจัดการ เพือ� ให้ แน่ใจได้ วา่ มีการปฏิบตั ติ ามนโยบายทีว� างไว้ และ บันทึกรายงานการประชุมเป็ นลายลักษณ์อกั ษร คณะกรรมการชุดย่ อยประกอบด้ วย คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ วยกรรมการอิสระทังคณะ � ไม่น้อยกว่า 3 คน ทีม� คี วามรู้ทางด้ านบัญชี การเงิน และลักษณะการ ประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ อย่างเพียงพอเพือ� ทําหน้ าทีร� บั ผิดชอบการ สอบทานรายงานทางการเงิน สอบทานความเพียงพอของระบบควบคุม ภายใน และติดตามการบริ หารความเสี�ยงที�สําคัญอย่างต่อเนื�อง พิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ให้ ความ เห็นชอบการแต่งตัง/โยกย้ � าย/เลิกจ้ างหัวหน้ าสายงานทีป� ฏิบตั หิ น้ าที� ในฐานะเลขานุการ สอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎเกณฑ์ และ ระเบียบทีเ� กีย� วข้ อง พิจารณาคัดเลือก/แต่งตัง/ถอดถอน � และเสนอค่า ตอบแทนผู้สอบบัญชี พิจารณาสอบทาน และเปิ ดเผยข้ อมูลการทํา รายการทีเ� กีย� วโยงกัน (Connected Transaction) ให้เป็นไปตามเกณฑ์ ทีก� าํ หนดอย่างครบถ้ วน โปร่งใส

คณะกรรมการยุทธศาสตร์ และการลงทุน ประกอบด้วยกรรมการ 7 คน มีหน้ าทีร� บั ผิดชอบในการพิจารณาและกําหนดทิศทางธุรกิจ แผน ยุทธศาสตร์ระยะยาวขององค์กร และกลัน� กรองโครงการลงทุน การ ขายทรัพย์สนิ ตามแผนยุทธศาสตร์เพือ� ให้ ได้ ผลตอบแทนทางการเงิน ทีเ� หมาะสม ตลอดจนให้คาํ แนะนําและคําปรึกษาแก่ฝ่ายบริหารในการ หาช่องทางการดําเนินธุรกิจ คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล ประกอบด้ วยกรรมการที� ไม่ได้ เป็ นผู้บริหาร 3 คน มีหน้ าทีร� บั ผิดชอบในการพิจารณาโครงสร้ าง คณะกรรมการบริษัท กําหนดคุณสมบัตเิ ฉพาะตําแหน่ง พิจารณา และสรรหาบุคคลผู้ทรงคุณวุฒเิ ข้ าดํารงตําแหน่งกรรมการ ตลอดจน ประเมินผลงานของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย และกํากับดูแลให้ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับปฏิบตั ติ าม แนวทางการกํากับดูแลกิจการทีด� ี (Good Corporate Governance) และจริยธรรมธุรกิจ (Code of Conduct) คณะกรรมการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน ประกอบด้ วยกรรมการทีไ� ม่ได้ เป็ นผู้บริหาร 3 คน ทําหน้ าทีร� บั ผิดชอบ ในการนําเสนอนโยบายเพือ� พัฒนา ประเมินความรู้ความสามารถ และ กําหนดค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูง จัดทําแผนสืบทอดตําแหน่ง ผู้บริหารระดับสูง ตลอดจนพิจารณานโยบายการบริหารทรัพยากร บุคคล

Holiday Inn Pattaya

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

57


3. คุณสมบัตกิ รรมการบริษัท (Qualification of Directors) 2. วาระการดํารงตําแหน่งของกรรมการอิสระ มีวาระการดํารงตําแหน่ง หลักการ คณะกรรมการบริษทั ควรประกอบด้ วยบุคคลทีม� คี ณ ุ สมบัติ คราวละ 3 ปี ระยะเวลาดํารงตําแหน่งต่อเนือ� งรวมไม่เกิน 9 ปี เว้นแต่ หลากหลายทังเพศ � อายุ มีความรู้และประสบการณ์ในด้ านต่างๆ เช่น คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล จะเสนอขอให้คณะกรรมการ การเงิน เศรษฐกิจ การจัดการ บริหารธุรกิจ การตลาด การบริการ บริ ษัท พิจารณาเป็ นกรณีพิเศษแล้ วเห็นว่ากรรมการอิสระผู้นนั � การท่องเทีย� วกฎหมาย และอสังหาริมทรัพย์ เป็ นต้ น เพือ� ให้ สามารถ ยังมีความเป็นอิสระมากเพียงพอทีจ� ะปฏิบตั หิ น้าทีเ� ป็นกลไกสําคัญ กําหนดนโยบายและวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ ตลอดจนอนุมตั ิแผน ในเรื�องการกํากับดูแลกิจการทีด� ี เพือ� ช่วยดูแลประโยชน์ของบริษทั ยุทธศาสตร์ และการดําเนินงาน ทําหน้ าทีก� ํากับดูแลและตรวจสอบ ผู้ถอื หุ้น และเป็นอิสระจากฝ่ ายจัดการ โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ การทํางานของฝ่ ายจัดการ และสนับสนุนให้มกี ารบริหารงานตามหลัก ต้ องให้ ความเห็นชอบ การกํากับดูแลกิจการทีด� ี (Good Corporate Governance) 3. การพ้ นจากตําแหน่งกรรมการให้ เป็ นไปตามข้ อบังคับของบริษทั ฯ และต้ องพ้ นจากตําแหน่งเมือ� อายุเกินกว่า 75 ปี ตามคุณสมบัติ องค์ ประกอบของคณะกรรมการบริษัท ทัว� ไปข้ างต้ น โดยให้ สามารถดํารงตําแหน่งต่อไปจนถึงวันจัด 1. กรรมการทีไ� ม่ได้ เป็ นผู้บริหาร (Non-Executive Director) ประชุมผู้ถอื หุ้นสามัญประจําปี และพ้นจากตําแหน่งเมือ� การประชุม 2. กรรมการอิสระ (Independent Director) ต้ องมีไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 แล้วเสร็จ ของจํานวนกรรมการบริษทั และอย่างน้ อย 1 คนต้ องมีความรู้ด้าน บัญชีและการเงิน เพือ� ให้ เพียงพอต่อการแต่งตังให้ � ดาํ รงตําแหน่ง คุณสมบัตเิ ฉพาะ ในคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริษัท 3. ผู้บริหารทีด� าํ รงตําแหน่งกรรมการ (Executive Directors) มีหน้ าที�นอกเหนือจากที�กล่าวในหลักการข้ างต้ นและกรรมการ อื�นคือ (1) การทําหน้ าที�ประธานในที�ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท คุณสมบัตทิ � วั ไป (2) การลงคะแนนเสียงชี �ขาดในกรณีทที� ปี� ระชุมคณะกรรมการบริษทั 1. อายุไม่เกิน 75 ปี มีการลงคะแนนเสียง และคะแนนเสียง 2 ข้างเท่ากัน (3) การเป็นผู้เรียก 2. เป็ นผู้มคี วามรู้และประสบการณ์ทหี� ลากหลาย เป็ นมืออาชีพ และ ประชุมคณะกรรมการบริษทั (4) การทําหน้าทีป� ระธานในทีป� ระชุมผู้ถอื หุ้น มีจริยธรรม โดยประธานกรรมการบริษทั จะต้ องไม่มสี ว่ นร่วมในการบริหารงาน 3. เข้ าใจบทบาทหน้ าที� และทําหน้ าทีข� องตน (Practices) แทนผู้ที� ไม่เป็ นลูกจ้ าง พนักงาน ทีป� รึกษาทีไ� ด้ รบั เงินเดือนประจํา ผู้สอบบัญชี เกี�ยวข้ องโดยสุจริ ตอย่างเต็มที�ด้วยความมุง่ มัน� ที�จะสร้ างมูลค่า ผู้ให้ บริการทางวิชาชีพอืน� ในบริษทั ร่วมและบริษทั ตรวจสอบบัญชี สูงสุดให้ กจิ การและผู้ถอื หุ้นอย่างต่อเนือ� งในระยะยาว 4. มีเวลาทีเ� พียงพอในการทําหน้ าทีไ� ด้ อย่างมีประสิทธิภาพ กรรมการที�เป็ นผู้บริหาร 5. ควรมีการประเมินตนเอง และแจ้ งต่อคณะกรรมการบริษทั เมือ� มี กรรมการทีด� าํ รงตําแหน่งประธานเจ้ าหน้ าทีบ� ริหาร และ/หรือ กรรมการ การเปลีย� นแปลง หรือมีเหตุการณ์ทที� าํ ให้ ไม่สามารถปฏิบตั หิ น้ าที� ผู้จดั การใหญ่ ควรให้ เวลาในการบริหารงานอย่างเต็มทีไ� ม่ควรดํารง ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ตําแหน่งในบริ ษัทอื�นยกเว้ นบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่ วม และหากมี ความประสงค์จะไปดํารงตําแหน่งกรรมการในบริษทั อืน� ต้องได้รบั การ วาระในการดํารงตําแหน่ ง และการพ้ นจากตําแหน่ ง พิจารณาจากคณะกรรมการบริษทั 1. วาระการดํารงตําแหน่งของกรรมการ และผู้บริหารทีด� าํ รงตําแหน่ง กรรมการ มีวาระดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี ตามข้ อบังคับบริษทั ฯ กรรมการอิสระ และคณะกรรมการบริษทั อาจเสนอชือ� ให้ ผ้ ถู อื หุ้นพิจารณาแต่งตัง� 1. มีสดั ส่วนการถือหุ้นในบริษทั ไม่เกินร้ อยละ 1 ของจํานวนหุ้นทีม� ี ใหม่หลังหมดวาระ โดยให้ พจิ ารณาการดํารงอยูจ่ ากการประเมิน สิทธิออกเสียงทังหมดของบริ � ษัทฯ บริษัทร่วม นิตบิ คุ คลทีอ� าจมี ผลการทํางานของกรรมการเป็ นรายปี โดยกําหนดให้ วาระการ ความขัดแย้ ง โดยให้ นบั รวมหุ้นทีถ� อื โดยผู้ทเี� กีย� วข้ องของกรรมการ ดํารงตําแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยเป็ นคราว อิสระรายนันๆ � ด้ วย ละ 3 ปี เท่ากัน ในกรณีที�กรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย 2. ไม่เป็นกรรมการทีม� สี ว่ นร่วมบริหารงาน พนักงาน ลูกจ้ าง ทีป� รึกษา ครบวาระการดํารงตําแหน่ง และยังไม่มกี ารแต่งตังใหม่ � ให้ คณะ ทีไ� ด้ รบั เงินเดือนประจํา ผู้มอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ กรรมการชุดเดิมยังคงทําหน้ าทีต� อ่ ไปจนกว่าจะมีการแต่งตังใหม่ � บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลําดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คล ทีอ� าจมีความขัดแย้ งในปัจจุบนั และช่วง 2 ปี กอ่ นได้ รบั การแต่งตัง�

58


3. ไม่มี ค วามสัม พัน ธ์ ท างสายโลหิ ต หรื อ โดยการจดทะเบี ย น ในลักษณะทีเ� ป็ นบิดา มารดา คูส่ มรส พีน� ้ อง และบุตร รวมทังคู � ่ สมรสของบุตร กับผู้บริหาร ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ ผู้มอี าํ นาจควบคุม หรื อบุคคลที�จะได้ รับการเสนอชื�อเป็ นผู้บริ หาร หรื อผู้มีอํานาจ ควบคุมของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย 4. ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ร่วม ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ ภายใน 2 ปี กอ่ นหน้ า ได้ แก่ 4.1 ความสัมพันธ์ในลักษณะการให้ บริการทางวิชาชีพ ได้ แก่ ผู้สอบบัญชี (ทุกกรณี) ผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพอื�น เช่น ทีป� รึกษากฎหมาย ทีป� รึกษาทางการเงิน ผู้ประเมินราคา ทรัพย์สนิ ทีม� มี ลู ค่ารายการต่อปี เกิน 2 ล้านบาท 4.2 ความสัมพันธ์ทางการค้ า ทางธุรกิจ ได้ แก่ รายการธุรกรรม ปกติ รายการเช่าให้ /เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย� วกับ สินทรัพย์ บริ การ และรายการให้ หรื อรับความช่วยเหลือ ทางการเงินที�มีมลู ค่าการทํารายการตังแต่ � 20 ล้ านบาท หรือตังแต่ � ร้อยละ 3 ของ NTA ของบริษทั ฯ แล้วแต่จาํ นวน ใดจะตํา� กว่า โดยให้ รวมมูลค่ารายการย้ อนหลังไม่น้อยกว่า 6 เดือน ก่อนวันทีม� กี ารทํารายการครังล่ � าสุด 4.3 ไม่มลี กั ษณะอืน� ใดทีท� าํ ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็น อิสระได้ 5. ต้ องเข้ าอบรมหลักสูตรทีจ� ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริ ษัทไทย (IOD) อย่างน้ อย 1 หลักสูตร ได้ แก่ Directors Certification Program (DCP) หรือ Directors Accreditation Program (DAP) หรือ Audit Committee Program (ACP)

ธุรกรรมที�มีผลต่ อความเป็ นอิสระ 1. เป็ นผู้มอี าํ นาจอนุมตั ริ ายการต่างๆ หรือลงนามผูกพันบริษทั จริง ยกเว้ น การลงนามตามมติของคณะกรรมการบริษทั หรือเป็ นการ ลงนามร่วมกับกรรมการรายอืน� 2. เข้ า ร่ ว มประชุม หรื อ ร่ ว มลงคะแนนในเรื� อ งที� มี ส่ว นได้ เ สี ย หรือมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ลักษณะต้ องห้ าม กรรมการและผู้บริ หารของบริ ษัทฯ ต้ องไม่มี คุณสมบัติที�ขดั หรื อแย้ งกับข้ อกําหนดของบริ ษัทฯ และประกาศ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) 4. บทบาทของคณะกรรมการบริษัท และฝ่ ายจัดการ คณะกรรมการบริ ษัท มี ส่วนร่ วมในการกํ าหนดนโยบาย และ ข้ อพึงปฏิบตั ิของผู้บริ หาร ครอบคลุมถึงหน้ าที� และภารกิจหลัก โดยให้ ฝ่ายจัดการมีอสิ ระในการกําหนดแผนยุทธศาสตร์ การบริหาร ตามวัตถุประสงค์ และพันธกิจของบริษทั ฯ และเสนอขออนุมตั แิ ผน จากคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั ต้ องจัดให้ มกี ารประชุมระหว่างกรรมการอิสระ ด้วยกันเอง และผู้บริหารระดับรองลงมาจากผู้บริหารสูงสุดของฝ่ ายจัดการ ตามลําพัง

5. การประชุมคณะกรรมการบริษัท บริษทั ฯ กําหนดจํานวนครังที � จ� ดั ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการบริษทั และ คณะกรรมการชุดย่อย โดยการนัดหมายและแจ้ งให้ กรรมการ และผู้ที� มีสว่ นเกีย� วข้องทราบล่วงหน้ าตลอดทังปี � โดยกําหนดวาระให้กรรมการ กรรมการตรวจสอบ อิสระได้ ประชุมร่วมกัน เพือ� แลกเปลีย� นความเห็นโดยอิสระ โดยไม่มี 1. ต้ องเป็ นกรรมการอิสระที�ได้ รับแต่งตังจากคณะกรรมการบริ � ษัท ผู้บริหารสูงสุดของฝ่ ายจัดการ อยูร่ ่วมในทีป� ระชุม เพือ� พิจารณาและ หรือผู้ถอื หุ้น แลกเปลีย� นความเห็นระหว่างกัน 2. ไม่เป็ นกรรมการที�ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท ให้ตดั สินใจในการดําเนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ร่วม บริษทั ย่อย ปี 2561 บริ ษัทฯ จัดให้ มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท 6 ครัง� ลําดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คลทีอ� าจมีความขัดแย้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ 5 ครัง� คณะกรรมการยุทธศาสตร์และการลงทุน 3. มีหน้ าทีไ� ม่น้อยกว่าทีต� ลาดหลักทรัพย์ฯ กําหนด 14 ครัง� คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล 3 ครัง� และคณะกรรมการ พัฒนาผู้บริหารระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน 2 ครัง� ทุกครังมี � การ จดบันทึกรายงานการประชุมไว้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร และเก็บไว้ ณ สํานักงานเลขานุการ และบน Data Server ซึง� ผู้มสี ว่ นเกีย� วข้องภายใน สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวกตามตารางการเข้าประชุมของกรรมการประจําปี 2561ดังต่อไปนี �

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

59


60

หมายเหตุ

วาระการดํารง ตําแหน ง

นายประกิต ประทีปะเสน ลาออกตังแต่ � วนั ที� 27 เมษายน 2561

นางกมลวรรณ วิปลุ ากร ลาออกตังแต่ � วนั ที� 27 เมษายน 2561

2

ประธานกรรมการบริษทั 27 เม.ย.2561-ปัจจุบนั กรรมการ เม.ย. 2559-2562 กรรมการอิสระ เม.ย. 2560-2563 กรรมการอิสระ เม.ย. 2560-2563 กรรมการอิสระ เม.ย. 2561-2564 กรรมการอิสระ เม.ย. 2559-2562 กรรมการ เม.ย. 2561-2564 กรรมการ เม.ย. 2560-2563 กรรมการ เม.ย. 2560-2563 กรรมการ เม.ย. 2559-2562 กรรมการ เม.ย. 2561-2564 กรรมการ เม.ย. 2561-2564 กรรมการผู้จดั การใหญ่ 1 ม.ค.2561-ปัจจุบนั กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย มิ.ย.2561-2564 กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย มิ.ย.2561-2564 กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย ม.ค.2561-2564 กรรมการอิสระ เม.ย. 2558-2561 กรรมการ เม.ย. 2560-2561 สัดส่ วนการเข้ าประชุมเฉลี�ยต่อคณะ

ตําแหน ง

1

12. นางวรรณสมร วรรณเมธี 13. นายณัฐพงษ์ ว่องกุศลกิจ 14. นายสุพชั ร วัธนเวคิน 15. นายประกิต ประทีปะเสน1 16. นางกมลวรรณ วิปลุ ากร2

2. ดร. กุลภัทรา สิโรดม 3. นายเอกสิทธิ� โชติกเสถียร 4. รศ. ดร. สมประวิณ มันประเสริฐ 5. นายบรรยง พงษ์พานิช 6. นายสุพล วัธนเวคิน 7. นางพนิดา เทพกาญจนา 8. นางอารดา ว่องกุศลกิจ 9. นายกวิน ว่องกุศลกิจ 10. นายกษมา บุณยคุปต์ 11. นายเพชร ไกรนุกลู

1. นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ

รายชื่อกรรมการ

ตารางแสดงการเข้ าประชุมของกรรมการ ประจําปี 2561

1/1 1/1 95%

5/6 6/6 4/4 5/6 6/6 4/6 6/6 6/6 4/4 6/6

6/6

100%

2/2

5/5 5/5 3/3

95%

12/14 12/14 14/14

14/14 13/14 14/14 14/14

100%

1/1

1/1 2/2

3/3

3/3

100%

2/2 2/2

2/2

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ พัฒนา คณะกรรมการ ตรวจสอบ ยุทธศาสตร และ สรรหาและ ผู บริหารระดับ บริษทั การลงทุน บรรษัทภิบาล สูงและกําหนดค า ตอบแทน

จํานวนครั้งที่เข าประชุม/จํานวนครั้งที่จัดให มีการประชุม


6. การประเมินผลงานคณะกรรมการบริษัท บริษทั ฯ จัดให้มกี ารประเมินผลงานคณะกรรมการบริษทั ทุกปี และเพือ� ให้ เป็ นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดสี าํ หรับบริษัทจดทะเบียน ในการให้ คณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานด้ วยตนเองอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง� เพือ� ให้คณะกรรมการบริษทั ร่วมกันพิจารณาผลงานและปรับปรุงแก้ ไข โดยการประเมินฯ ได้ปรับมาจากแบบประเมินทีฝ� ่ ายพัฒนาธรรมาภิบาล เพือ� ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2558 นํามาปรั บใช้ ให้ เหมาะสมกับลักษณะการประกอบธุรกิจ และครอบคลุมการปฏิบตั ิหน้ าที�ของคณะกรรมการบริ ษัท และ คณะกรรมการชุดย่อย 4 คณะ (Board of Directors and Sub Committee) ประกอบด้ วย

สรุ ปผลการประเมินคณะกรรมการบริษัท ประจําปี 2561 ความเห็นของกรรมการ ร้ อยละ 91 เห็นด้ วยกับโครงสร้ าง และองค์ ประกอบของกรรมการว่ามีความเหมาะสม มีกรรมการอิสระทีเ� พียงพอ ทําให้มกี ารถ่วงดุลอํานาจแบบสมดุล ร้ อยละ 87 เห็นว่ากรรมการเข้าใจ บทบาทหน้ าทีข� องตน มีความอิสระในการตัดสินใจโดยไม่ถกู ครอบงํา โดยบุคคลใดบุคคลหนึง� ร้ อยละ 92 เห็นว่าจํานวนครังของการประชุ � ม มีความเหมาะสม และเอกสารทีไ� ด้รบั ล่วงหน้าเพียงพอต่อการตัดสินใจ กรรมการได้ ศึกษาข้ อมูลก่อนการประชุม และสามารถเข้ าร่ วม ประชุมได้ อย่างสมํ� าเสมอ ร้ อยละ 91 เห็นว่ากรรมการทุกคน ปฏิบตั ิหน้ าที�ของตนด้ วยความรับผิดชอบในการดูแลการบริ หาร กิ จ การให้ เ ป็ น ไปเพื� อ ประโยชน์ สูง สุด ของผู้ถื อ หุ้น ร้ อยละ 93 เห็นว่ากรรมการมีความสัมพันธ์ทดี� กี บั ฝ่ ายจัดการ และสามารถหารือ กันได้ อย่างตรงไปตรงมา และร้ อยละ 88 เห็นว่ากรรมการมีการพัฒนา 1. แบบประเมินผลงานคณะกรรมการบริษทั ปี 2561 เพือ� ประเมินการ ตนเองและพัฒนาผู้บริหารอย่างเหมาะสมทําให้ มคี วามเข้ าใจในธุรกิจ ทํางานของคณะกรรมการทังคณะ � อย่างเพียงพอ 2. แบบประเมินผลงาน คณะกรรมการชุดย่อย เพือ� ประเมินการทํางาน ของคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะประกอบด้ วย 7. การสรรหากรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูง 2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee (AC)) คณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล 2.2 คณะกรรมการยุทธศาสตร์และการลงทุน (Strategic and มีหน้ าที�ในการกําหนดนโยบาย และกระบวนการสรรหากรรมการ Investment Committee (SIC)) ทีช� ดั เจน ประกอบด้วยกระบวนการในการตรวจสอบคุณสมบัตเิ บื �องต้น 2.3 คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล (Nominating and ของผู้ทถี� กู เสนอชือ� เพือ� ให้ แน่ใจว่าเป็นไปตามคุณสมบัตขิ องกรรมการ Corporate Governance Committee NCG)) และถูกต้ องตามกระบวนการคัดเลือก เพื�อติดต่อทาบทามให้ เข้ า 2.4 คณะกรรมการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน ดํารงตําแหน่ง และเสนอขอแต่งตังจากคณะกรรมการบริ � ษทั และ/หรือ (Management Development and Compensation พิจารณารับรองคุณสมบัตขิ องกรรมการทีพ� ้ นจากตําแหน่งตามวาระ Committee (MDC)) ให้ กลับเข้ าดํารงตําแหน่งอีกวาระหนึง� จากทีป� ระชุมผู้ถอื หุ้น โดยจะนํา 3. แบบประเมินตนเอง (Self assessment) เพือ� ใช้ประเมินการทําหน้าที� ข้ อสรุปจากการประเมินผลงานของกรรมการในขณะทีด� าํ รงตําแหน่ง อย่างเหมาะสมของตนเอง เป็ นรายบุคคลมาประกอบการพิจารณา 4. แบบประเมินประสิทธิผลของการประชุมคณะกรรมการบริษทั ปี 2561 อนึ�ง ในการพิ จ ารณาสรรหากรรมการ และผู้บ ริ ห ารระดับ สูง วิธีการให้ คะแนน กําหนดคํานิยามเป็ นค่านํ �าหนัก (1-5) เพือ� นําไป เป็ นไปโดยอิสระ ไม่อยูภ่ ายใต้ อทิ ธิพลของผู้หนึง� ผู้ใด โดยฝ่ ายจัดการ วิเคราะห์ผลทางสถิติ ดังนี � จะจัดให้ มกี ารปฐมนิเทศบรรยายสรุป (Briefing) เพือ� ให้ กรรมการ หรือ 1 = ไม่เห็นด้วยต้องแก้ไขเร่งด่วน โปรดระบุความเห็น/ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารระดับสูงเข้ าใจแนวทางการดําเนินธุรกิจ และแผนยุทธศาสตร์ 2 = ควรปรับปรุง โปรดระบุความเห็น/ข้ อเสนอแนะ ขององค์กร 3 = เหมาะสม 4 = เหมาะสมอย่างมาก คณะกรรมการบริษัท มอบหมายให้ คณะกรรมการพัฒนาผู้บริหาร 5 = เหมาะสมอย่างยิง� ระดับสูงและกําหนดค่าตอบแทน มีหน้าทีส� รรหาและจัดทําแผนสืบทอด ตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง เพือ� ให้ การทําหน้ าทีเ� ป็ นไปอย่างต่อเนือ� ง ป้องกันไม่ให้ การดําเนินธุรกิจหยุดชะงัก

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

61


Corporate Social Responsibility “CSR” ความรับผิดชอบต อสังคม 8. ความรั บผิดชอบต่ อสังคม “CSR” คณะกรรมการบริ ษัท กําหนดยุทธศาสตร์ ในการดําเนินธุรกิจไว้ หลายประการ และมีความมุง่ มัน� ที�จะพัฒนาธุรกิจอย่างยัง� ยืนโดย การพัฒนากระบวนการเพือ� สร้ างและพัฒนาแนวคิดด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมจากภายในบริ ษัทฯ (CSR-in-process) ซึ�งหมายถึง การดําเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อผู้มสี ว่ นได้เสียทุกฝ่ ายได้แก่ ผู้ถอื หุ้น พนักงาน ครอบครัวพนักงาน ลูกค้ า เจ้ าหนี � คูค่ ้ า คูแ่ ข่งขัน รั ฐชุมชน สังคมและสิ�งแวดล้ อม และมีการจัดสรรงบประมาณ สํ า หรั บ ทํ า โครงการ “ดิ เอราวัณ เพื� อ สัง คมและสิ�ง แวดล้ อ ม” เพื�อทํากิจกรรมที�เป็ นประโยชน์ให้ กบั ชุมชนใกล้ เคียงกับทรัพย์สิน ของบริ ษัทฯ และสังคมทัว� ไปโดยส่วนรวม (CSR-after-process) อย่างต่อเนือ� งและยัง� ยืน นอกจากรางวัลด้านบรรษัทภิบาลทีไ� ด้รบั (อ่านเพิม� เติมในหัวข้อ “รางวัล ด้ านบรรษัทภิบาล”) ในปี 2561 บริษทั ฯ ได้ จดั ทําโครงการสนับสนุน ท่องเที�ยวชุมชน มีวตั ถุประสงค์หลักเพื�อสนับสนุนการท่องเที�ยว ชุมชน ผ่านการยกระดับโฮมสเตย์ พัฒนาและยกระดับมาตรฐาน การประกอบกิจการโฮมสเตย์ระดับชุมชนในประเทศไทยสนับสนุน การท่องเที�ยวแบบยัง� ยืนในระดับชุมชน โดยร่ วมกับ local Alike ซึง� เป็ นบริษทั ทีด� าํ เนินการเกีย� วกับการท่องเทีย� วแบบยัง� ยืน โดยชุมชน เพือ� ชุมชน เริ�มทําการสํารวจชุมชนกลุม่ เป้าหมาย ตังแต่ � ปลายปี 2560 และได้ พิจารณาเลือกให้ การสนับสนุนชุมชนบ้ านแหลมโฮมสเตย์

อํ า เภอท่ า ศาลา จัง หวัด นครศรี ธ รรมราช ซึ�ง บริ ษั ท ฯ เห็ น ว่ า มี ศัก ยภาพดี ชุ ม ชนมี ค วามเข้ มแข็ ง และสามารถเติ บ โตได้ อย่างยัง� ยืน บริ ษัทฯ ได้ รับประโยชน์จากการพัฒนากระบวนการเพื�อสร้ างและ พัฒนาแนวความคิดด้ านความรั บผิดชอบต่อสังคมซึ�งคํานึงถึง ผู้มสี ว่ นได้เสียทุกฝ่ าย นอกจากการสร้ างคุณค่าให้ สงั คมโดยทัว� ไปแล้ว ยังส่งผลให้ บริษทั ฯ เป็นบริษทั ทีม� กี ารดําเนินธุรกิจด้ วยความเป็นธรรม สนับสนุนการแข่งขันทางการค้ าอย่างเสรี หลีกเลีย� งการดําเนินการ ทีก� อ่ ให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ และการละเมิดทรัพย์สนิ ทางปั ญญา ก่อให้ เกิดกระบวนการต่อต้ านการทุจริ ตทุกรู ปแบบ (อ่ า นเพิ� ม เติ ม ในหั ว ข้ อ “นโยบายการพั ฒ นาอย่ า งยั� ง ยื น ”, “นโยบายต่อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั�น ” และ “นโยบายการป้อ งกัน และปราบปรามการฟอกเงิ น และการต่ อ ต้ านการสนั บ สนุ น ทางการเงินแก่การก่อการร้ าย”) ตลอดจนเตรียมควมพร้ อมสําหรับ ISO 37001 ระบบการจัดการป้องกันการติดสินบน (Anti-bribery management systems) คํ า นึง ถึง การเคารพสิ ท ธิ ม นุษ ยชน การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็ นธรรม การพัฒนาชุมชน สังคม และสิง� แวดล้ อมภายใต้ แนวคิดด้ านความรับผิดชอบต่อสังคมจาก ภายใน จึงกํ าหนดให้ เป็ นหลักปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ เสียทุกฝ่ าย ดังต่อไปนี (อ่ � านเพิม� เติมใน “คูม่ อื จริยธรรมธุรกิจ (Code of Conduct)” บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ)

การพัฒนากระบวนการ เพื่อสรางและพัฒนาแนวคิด และความรับผิดชอบตอสังคมจากภายในบริษัท พนักงานและ ครอบครัวพนักงาน

ลูกคา

ผูถือหุน

เจาหนี้

ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม

รัฐ

62

ภาพรวม ความรับผิดชอบตอสังคม คูคา

คูแขงขัน


ความรั บผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ต่ อผู้ถอื หุ้น (Duties and Responsibilities of the Board to Shareholder) คณะกรรมการบริษัท คํานึงถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นโดยไม่จํากัดเฉพาะ สิทธิขนพื ั � �นฐานทีก� ฎหมายได้กาํ หนดไว้ ได้แก่ การซื �อขายหรือโอนหุ้น การมีสว่ นแบ่งในกําไร การได้รบั ข่าวสารข้อมูลของบริษทั ฯ อย่างเพียงพอ การเข้ าร่ วมประชุมเพื�อใช้ สิทธิออกเสียงในที�ประชุมผู้ถือหุ้นเพื�อ แต่งตัง/ถอดถอนกรรมการ � แต่งตังผู � ้ สอบบัญชี และเรื� องสําคัญที� มีผลกระทบต่อบริ ษัทฯ เช่น การจัดสรรกําไร การกําหนดหรื อการ แก้ ไขข้ อบังคับและหนังสือบริคณห์สนธิ การลดทุนหรือเพิม� ทุน และ การอนุมตั ริ ายการพิเศษ ทังนี � � คณะกรรมการ ได้ กํากับดูแลการให้ ข้ อมูล วัน เวลา สถานที� และวาระการประชุม ตลอดจนเอกสารข้ อมูล ทังหมดที � เ� กีย� วข้ องกับเรื�องทีต� ้ องตัดสินใจในทีป� ระชุมแก่ผ้ ถู อื หุ้น และ แจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบกฎเกณฑ์ที�ใช้ ในการประชุม รวมถึงขันตอน � การออกเสียงลงมติทไี� ม่ยงุ่ ยาก สถานทีใ� นการจัดประชุมสะดวก และ ไม่เสียค่าใช้ จา่ ยมากนักในการเดินทางมาร่วมประชุม

เข้ าร่ วมประชุมและเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูถือหุ้นมีเวลาได้ ซกั ถามอย่าง เพียงพอเหมาะสมแต่ไม่ได้ ทาํ ให้ ระยะเวลาในการประชุมนานเกินไป โดยจะสรุ ปประเด็นคําถามคําตอบที�มีสาระสําคัญและเกี�ยวเนื�อง กับวาระที�เสนอต่อที�ประชุม มติของที�ประชุม และผลคะแนนการ ลงมติไว้ในรายงานการประชุม และเผยแพร่รายงานการประชุมภายใน กําหนด 14 วันนับจากวันประชุมผู้ถอื หุ้น พร้ อมวีดที ศั น์บรรยากาศ ในการประชุมผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ฯ นอกเหนือจากความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ต่อผู้ถอื หุ้น ดังกล่าวข้ างต้ นแล้ ว คณะกรรมการบริษทั ได้ กาํ หนดนโยบายความ รับผิดชอบระดับบริ ษัทที�มีต่อผู้มีส่วนได้ เสียทุกฝ่ าย ทังทางตรง � และทางอ้ อม ซึง� รวมถึงความรับผิดชอบที�มีตอ่ ผู้ถือหุ้นด้ วย โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี � ความรั บผิดชอบของบริษัทฯ ต่ อผู้ถอื หุ้น (Responsibilities to Shareholders) 1. บริหารจัดการบริษทั ฯ ให้ เป็ นสถาบันทีม� คี ณ ุ ภาพ ยึดมัน� ในความ ถูกต้ อง สร้ างความเข้ มแข็ง และความเจริญเติบโตทีย� งั� ยืนให้ แก่ ผู้ถอื หุ้นในระยะยาว 2. ปฏิบตั หิ น้าทีด� ้วยความสามารถ และความระมัดระวังเยีย� งวิญ�ูชน ผู้ประกอบธุรกิจพึงกระทําภายใต้ สถานการณ์อย่างเดียวกัน 3. ปฏิบตั หิ น้ าทีด� ้วยความสุจริต และเป็นธรรมต่อผู้ถอื หุ้นทังรายใหญ่ � และรายย่อย และเพือ� ผลประโยชน์ของผู้เกีย� วข้ องโดยรวม 4. จัดการดูแลไม่ให้ ทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ ต้ องสูญค่าหรือสูญเสียไป โดยไม่เกิดประโยชน์ 5. รายงานสถานะและผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ อย่างถูกต้ อง สมํา� เสมอ และครบถ้ วนตามความเป็ นจริง 6. ไม่เปิดเผยสารสนเทศทีเ� ป็นความลับของบริษทั ฯ ต่อผู้อนื� โดยมิชอบ 7. ไม่ดําเนินการใดๆ ในลักษณะซึ�งก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์ โดยมิได้ แจ้ งให้ บริษทั ฯ ทราบ 8. เคารพสิทธิ และความเท่าเทียมกันของผู้ถอื หุ้นทุกราย ทังผู � ้ ถอื หุ้น ทีเ� ป็นผู้บริหาร และผู้ถอื หุ้นทีไ� ม่เป็นผู้บริหาร รวมทังผู � ้ถอื หุ้นต่างชาติ ให้ ได้ รบั การปฏิบตั ทิ เี� ท่าเทียมกัน

คณะกรรมการบริษทั เปิดโอกาสให้ผ้ถู อื หุ้น เสนอวาระการประชุมผู้ถอื หุ้นสามัญประจําปี ลว่ งหน้ าก่อนวันประชุมผู้ถอื หุ้น โดยกําหนดเกณฑ์ ทีช� ดั เจน เผยแพร่ไว้ ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ เพือ� อํานวยความสะดวก ให้แก่ผ้ถู อื หุ้น โดยผู้ถอื หุ้นสามารถส่งเอกสารเพือ� เสนอวาระการประชุม ล่วงหน้ าทุกปี ทังนี � � คณะกรรมการบริ ษัท สนับสนุนให้ ผ้ ถู ือหุ้นใช้ หนังสือมอบฉันทะแบบ ข. ซึ�งจะทําให้ ผ้ ูถือหุ้นสามารถกําหนด ทิศทางการลงคะแนนเสียง โดยมีชื�อและข้ อมูลของกรรมการอิสระ 4 คน เพือ� เป็ นทางเลือกในการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น และกําหนด ให้ มีการเผยแพร่ข้อมูลไว้ บนเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ เป็ นการล่วงหน้ า ไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนวันประชุม และจัดส่งเอกสารให้ ทนั เวลา เพือ� เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู อื หุ้นได้ มเี วลาศึกษาข้ อมูลประกอบการประชุม ล่วงหน้ าอย่างเพียงพอ และในระหว่างการประชุม บริษทั ฯ ให้ ความ สําคัญในทุกขันตอนการนํ � าเสนอ ไม่มกี ารรวม เพิม� หรือสลับวาระ แต่อย่างใดโดยเฉพาะอย่างยิง� ในวาระแต่งตังกรรมการ � บริษทั ฯเปิดโอกาส ให้ ผ้ ถู อื หุ้นมีสทิ ธิเลือกกรรมการภายใต้ข้อมูลทีเ� พียงพอเป็นรายบุคคล และเก็บบัตรลงคะแนนไว้เป็นหลักฐานครบทุกคะแนนเสียงทังเห็ � นด้วย ไม่เห็นด้ วย และงดออกเสียง และหากตรวจสอบแล้ วพบว่าบัตรลง คะแนนมีความไม่สมบูรณ์จะนับเป็ นบัตรเสีย ซึง� ในการประชุมสามัญ ผู้ถอื หุ้นประจําปี 2561 ไม่พบบัตรเสีย ความรั บผิดชอบของบริษัทฯ ต่ อผู้ลงทุนสัมพันธ์ (Responsibilities to Investor Relations) ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง� ประธานกรรมการบริษทั ประธานคณะกรรมการ บริษทั ฯ แต่งตังหน่ � วยงานดูแลผู้ลงทุนสัมพันธ์ เพือ� ทําหน้ าทีร� วบรวม ชุดย่อ ย กรรมการ และกรรมการผู้จัด การใหญ่ เข้ าร่วมประชุม ข้ อมูลทีส� าํ คัญของบริษทั ฯ ไว้อย่างครบถ้ วนและเพียงพอทีผ� ้ ลู งทุนราย ครบทุกคนเพื�อเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นแสดงความเห็น และสามารถ ย่อย/สถาบัน ผู้ถอื หุ้น นักวิเคราะห์ และภาครัฐ ทีเ� กีย� วข้ องสามารถ ซักถามต่อทีป� ระชุมในเรือ� งต่างๆ ทีเ� กีย� วข้อง โดยประธานกรรมการบริษทั ติดต่อได้ โดยตรง ณ สํานักงานทีท� าํ การของบริษทั ฯ หรือค้ นหาราย ประธานกรรมการชุดย่อย กรรมการ และกรรมการผู้จดั การใหญ่ ละเอียด และข่าวสารได้ ทางเว็บไซต์ของบริษทั ฯ หรือสอบถามข้ อมูล เพิม� เติมผ่าน IR@TheErawan.com

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

63


บริษทั ฯ ทําแบบสอบถามเพือ� สํารวจความพึงพอใจต่อข้ อมูลทีไ� ด้ รบั 4. การให้ รางวัลและการลงโทษต้ องอยูบ่ นพื �นฐานของความถูกต้ อง (IR Survey) เป็ นประจําทุกปี ตังแต่ � ปี 2549 และ ในปี นี �บริ ษัทฯ และกระทําด้ วยความสุจริต ได้ทาํ การสํารวจจากนักวิเคราะห์ทเี� ข้าร่วมประชุมกับบริษทั ฯ ไม่น้อยกว่า 5. ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการทํางานให้มคี วามปลอดภัยต่อชีวติ 2 ครัง� ในรอบปี โดยส่งแบบสอบถาม อิเล็กทรอนิกส์ให้ นกั วิเคราะห์ สุขภาพอนามัย ทรัพย์สิน สนับสนุนให้ มีบรรยากาศที�ดี และ ในเดือนพฤศจิกายน 2561 หลังการประชุมนักวิเคราะห์ไตรมาส เอื �ออํานวยให้ พนักงานทํางาน 4/2561 ทําให้เชือ� ได้วา่ ผู้ตอบแบบสอบถามทุกคนอยูใ่ นกลุม่ เป้าหมาย 6. มีระบบการทํางานทีช� ดั เจนมีประสิทธิภาพ ให้ โอกาสได้ ใช้ ความรู้ ทีต� ้ องการ ผู้ตอบแบบสอบถามได้ ตดิ ตามข้ อมูลของกลุม่ ธุรกิจท่อง ความสามารถ และสนับสนุนให้ มีการเรี ยนรู้ เพื�อพัฒนาความ เทีย� วและบริการ 2-10 ปี และร้ อยละ 96.70 มีความพึงพอใจต่อข้ อมูล สามารถ ให้ โอกาสและให้ ความสําคัญกับการมีส่วนร่ วมของ ข่าวสารทีไ� ด้ รบั และพึงพอใจต่อรูปแบบในการนําเสนอของบริษทั ฯ พนักงาน 7. เผยแพร่ข้อพึงปฏิบตั ทิ างจริยธรรมแก่พนักงาน เพื�อให้ มนั� ใจว่า ความรับผิดชอบของบริษทั ฯ ต่อสิทธิในการเข้ าถึงข้ อมูล พนักงานเข้ าใจและปฏิบตั ติ ามอย่างทัว� ถึง ของผู้มสี ่ วนได้เสีย (Responsibilities of the Right to Access 8. ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้ อบังคับต่างๆ เกีย� วกับกฎหมายแรงงาน Information of Stakeholders) และสวัสดิภาพของพนักงาน บริ ษั ท ฯ ให้ สิ ท ธิ ก ารเข้ าถึ ง ข้ อมูล ของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ าย 9. หลีกเลีย� งการกระทําใดๆ ทีไ� ม่เป็นธรรมและไม่ถกู ต้อง ซึง� มีผลกระทบ กําหนดแนวทาง และข้ อควรปฏิบตั สิ าํ หรับผู้บริ หาร และพนักงาน ต่อความก้ าวหน้ าและมัน� คงในอาชีพ และให้ ความเคารพต่อสิทธิ เมือ� ต้ องติดต่อสัมพันธ์กบั ผู้มสี ว่ นได้ เสียอย่างเท่าเทียม เป็ นธรรม และ ส่วนบุคคล เปิ ดโอกาสให้ ผ้ มู สี ว่ นได้ เสียสามารถติดต่อกับคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล ความรั บผิดชอบของบริษัทฯ ต่ อลูกค้ า เพือ� ให้ ข้อแนะนําทีเ� ป็ นประโยชน์ตอ่ การบริหาร และสร้ างมูลค่าเพิม� (Responsibilities to Customers) ให้ กบั บริษัทฯ โดยตรงที� บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) 1. กําหนดนโยบายการตังราคาที � ย� ตุ ธิ รรม และเหมาะสม เลขที� 2 อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ ชัน� 6 ถนนสุขมุ วิท คลองเตย กรุงเทพฯ 2. การพิจารณาเงือ� นไขทางการค้ า การเจรจาทางธุรกิจ ไม่มรี ายการ 10110 หรือติดต่อทีส� าํ นักบรรษัทภิบาล GCG@TheErawan.com ใดเป็ นพิเศษ โดยยึดหลักเสมือนกับการทํารายการกับบุคคล ข้ อมูลทีไ� ด้ รบั ถือเป็นความลับส่งตรงให้ กบั คณะกรรมการบริษทั ภายนอก (Arm’s Length Basis) ทุกรายการ 3. จัดหา และปรับปรุงระบบการให้บริการทีเ� หมาะสม และเป็นไปตาม ความรับผิดชอบของบริษทั ฯ ต่อพนักงานและครอบครัว เงือ� นไขทางการค้ า พนักงาน (Responsibilities to Employees and Families) 4. จัดทําสัญญาที�เป็ นธรรมกับลูกค้ า ไม่ทําให้ ลกู ค้ าเสียประโยชน์ 1. กําหนดโครงสร้ างผลตอบแทนที�เหมาะสมสอดคล้ องกับอัตรา หรือมีข้อเสียเปรียบในทางการค้ า ตลาด ตามความรู้ ความสามารถ ความรับผิดชอบต่อหน้ าที� 5. เปิ ดเผยข้ อมูลข่าวสารทีเ� กีย� วข้ อง และเป็ นประโยชน์ อย่างตรงไป การงาน และพฤติกรรม ผ่านกระบวนการประเมินยุทธศาสตร์ ตรงมา ถูกต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลา และไม่บดิ เบือนข้ อเท็จจริง 3 ระดับ ได้ แก่ ยุทธศาสตร์ องค์กร ยุทธศาสตร์ สายงาน และ 6. รักษาสารสนเทศทีเ� ป็ นความลับของลูกค้ าเสมือนหนึง� สารสนเทศ ยุทธศาสตร์ ฝ่ายงาน และการประเมินผลงานเชิงทักษะ และ ของบริษทั ฯ และไม่นาํ ไปใช้ เพือ� ประโยชน์ของตนเองและพวกพ้ อง เชิงพฤติกรรม (CSB - Competency Skill Behavior) ในลักษณะ 7. ไม่เรียก ไม่รบั หรือไม่ให้ ผลประโยชน์ใดๆ ทีไ� ม่สจุ ริต หรือเกินกว่า 360 องศา โดยให้ ผ้ ูบังคับบัญชาประเมินผู้ใต้ บังคับบัญชา ธรรมเนียมประเพณีทถี� อื ปฏิบตั โิ ดยทัว� ไป ผู้ใต้ บงั คับบัญชาประเมินผู้บงั คับบัญชา และการประเมินตนเอง 2. ปรับปรุงและจัดหาสวัสดิการทีด� ี และประโยชน์อนื� ทีเ� หมาะสม เช่น ความรั บผิดชอบของบริษัทฯ ต่ อเจ้ าหนี/� คู่ค้า การประกันอุบตั ิเหตุสําหรับพนักงานและผู้บริ หารที�เดินทาง (Responsibilities to Suppliers and Creditors) ไปปฏิบตั งิ านนอกสถานที� การทําประกันสุขภาพ การให้ วงเงิน 1. เปิ ดโอกาสให้ มกี ารแข่งขันทางการค้ าอย่างเป็ นธรรม โดยกําหนด วิธกี ารจัดซื �อ ว่าจ้างทําของ และบริการทีเ� หมาะสม เน้นความโปร่งใส ค่ารักษาพยาบาลคนไข้ นอก การตรวจสุขภาพประจําปี การจัดให้ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ได้ แก่ วิ ธี ต กลงราคา วิ ธี ส อบราคา มีเครื�องดืม� บริการพนักงาน เป็ นต้ น วิ ธี ป ระมูล งาน วิธีพิเศษ และวิธีจดั ซื �อจากส่วนราชการและ 3. สร้ างความเข้ าใจในเป้าหมาย บทบาทและความรับผิดชอบ รัฐวิสาหกิจ และมีการออกแบบสอบถามความเห็นต่อการเข้ าร่วม ให้ โอกาสเจริ ญก้ าวหน้ าตามเหตุผล สร้ างการยอมรับและรับรู้ ประมูลงาน เพือ� ปรับปรุงกระบวนการทํางานอยูเ่ สมอ ในผลงานทีท� าํ

64


2. ไม่เจาะจงผลิตภัณฑ์ หรื อพยายามเลือกสรรคุณลักษณะที� โน้ มเอี ย งไปทางผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ดผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห นึ� ง อย่ า งจงใจ นอกจากจะมี เ หตุผ ลสนับ สนุน ความจํ า เป็ น อย่ า งเพี ย งพอ กรณีทมี� กี ารเปลีย� นแปลงผลิตภัณฑ์ หรือคุณลักษณะเฉพาะของ ตัวผลิตภัณฑ์ จะต้ องบอกกล่าวให้ ผ้ คู ้ าทราบ และหากจําเป็ น ต้ องให้ เสนอราคาใหม่ ผู้เสนอราคารายเดิมจะต้องได้รบั โอกาส ในการเสนอราคาอย่างเท่าเทียมกัน 3. ต้ องเลือกสรรผู้เสนอราคาทีด� ี และสนใจต่อการเสนอราคาอย่าง แท้ จริง ไม่เชิญผู้เสนอราคาเพียงเพือ� ให้ ครบจํานวนตามระเบียบ และผู้เสนอราคาทุกรายต้ องได้ รับรายละเอียด ข้ อมูลและเงื�อน ไขอย่างเดียวกันเป็ นลายลักษณ์อกั ษร กรณีมกี ารบอกกล่าวด้ วย วาจาจะต้ องมีการยืนยันเป็ นลายลักษณ์อกั ษรอีกครังหนึ � ง� 4. ผู้บริหาร หรือพนักงานทีม� สี ว่ นเกีย� วข้องกับการจัดซื �อ ว่าจ้างทําของ และบริการ ต้ องเปิ ดเผยข้ อมูล และ/หรือ ลักษณะความสัมพันธ์ ส่วนบุคคลของตนเอง คูส่ มรส ญาติสนิท หรือมีความสัมพันธ์สว่ น บุคคลกับผู้เสนอราคารายใดรายหนึง� ทีส� ง่ ผลให้ เกิดความไม่โปร่ง ใสในการปฏิบตั ิหน้ าที�โดยตรง และให้ แสดงความรับผิดชอบ โดยการไม่อยูร่ ่วมในกระบวนการพิจารณาตัดสินชี �ขาด 5. ไม่เรียก ไม่รบั ของขวัญ ของกํานัล การรับเลี �ยง ยกเว้ น ในโอกาส อันควรตามธรรมเนียมปฏิบตั ิ และละเว้ นการให้ ความชอบพอ เป็ นพิเศษจนเป็ นเหตุให้ ผ้ อู นื� คิดว่าน่าจะเกิดความไม่ยตุ ธิ รรมโดย เฉพาะการทําให้ผ้คู ้ารายอืน� เกิดความเข้าใจผิด และไม่ต้องการร่วม เสนอราคา และอาจนําไปบอกกล่าวจนทําให้บริษทั ฯ เสียภาพพจน์ 6. จัดทําสัญญาทีเ� ป็ นธรรม และปฏิบตั ติ ามข้ อตกลงทีม� ตี อ่ เจ้ าหนี �/ คูค่ ้า กรณีทคี� าดว่าจะไม่สามารถปฏิบตั ไิ ด้ ต้องรีบเจรจากับเจ้าหนี �/ คูค่ ้ า โดยเร็ว เพือ� ร่วมกันหาแนวทางแก้ ไข และป้องกันไม่ให้ เกิด ความเสียหาย 7. ละเว้ นการกระทําใดๆ ทีช� ว่ ยให้ เจ้ าหนี �/คูค่ ้ า ไม่ต้องเสียภาษีทพี� งึ จะเสียให้ กบั รัฐ 8. เปิ ดเผยข้ อมูลข่าวสารทีเ� กีย� วข้ องและเป็ นประโยชน์ อย่างตรงไป ตรงมา ถูกต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลา และไม่บดิ เบือนข้ อเท็จจริง

ความรับผิดชอบของบริษทั ฯ ต่อภาครัฐ (Responsibilities to the Public Sector) 1. ปฏิบตั ิตามนโยบายของรัฐ รวมทังปฏิ � บตั ิตามกฎหมาย และ ข้ อบังคับทีเ� กีย� วข้ อง 2. ส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทีม� พี ระมหากษัตริย์ เป็ นประมุข 3. ดําเนินภารกิจด้ วยความรับผิดชอบ และสนันสนุนกิจกรรมต่างๆ กับภาครัฐและองค์กรอืน� ทีเ� ป็ นประโยชน์แก่ชมุ ชน สังคม 4. ดําเนินโครงการเพือ� จัดหารายได้ สนับสนุนองค์กรการกุศล 5. ไม่กระทําการใดๆ ทีม� ผี ลเสียหายต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ ความรับผิดชอบของบริษทั ฯ ต่อชุมชน สังคม และสิ�งแวดล้ อม (Responsibilities to the Communities, the Society and the Environment) 1. ไม่กระทําการใดๆ ทีจ� ะมีผลเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติ และ สิง� แวดล้อม 2. ให้ การสนับสนุนกิจกรรมทีม� สี ว่ นในการสร้ างสรรค์สงั คมทังภาครั � ฐ และเอกชนอย่างสมํา� เสมอ 3. ปลูกฝั งจิตสํานึกของความรั บผิดชอบต่อชุมชน สังคม และ สิง� แวดล้ อม ให้ เกิดขึ �นในหมูพ่ นักงานทุกระดับอย่างต่อเนือ� งและ จริงจัง 4. อนุมตั งิ บประมาณสําหรับทําโครงการ “ดิ เอราวัณ เพือ� สังคมและ สิง� แวดล้อม” ประมาณร้ อยละ 0.5 ของกําไรสุทธิของทุกปี โดยแบ่ง เป็ น 2 ส่วนคือ ใช้ เพือ� ประโยชน์แก่ชมุ ชน สังคม และสิง� แวดล้อม ใกล้ เคียงกับทรัพย์สินของบริ ษัทฯ และเพื�อประโยชน์ตอ่ สังคม ส่วนรวมทัว� ไปอย่างต่อเนือ� ง ทังนี � � การอนุมตั วิ งเงินแต่ละโครงการ ขึ �นอยูก่ บั ความเหมาะสม

การดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามหลักบรรษัทภิบาลที�ดแี ละ จริยธรรมธุรกิจ (Compliance with Corporate Governance and the Business Code of Conduct) บริษทั ฯ กําหนดให้เป็นหน้าทีค� วามรับผิดชอบของกรรมการ ผู้บริหาร และ ความรับผิดชอบของบริษทั ฯ ต่อคู่แข่ งทางการค้ า พนักงานทุกคนทีจ� ะต้องรับทราบ และปฏิบตั ติ ามหน้าทีค� วามรับผิดชอบ (Responsibilities to Competitors) ของตนอย่างจริ งจัง และกํ าหนดให้ คณะกรรมการสรรหาและ 1. ประพฤติ ปฏิบตั ภิ ายใต้ กรอบกติกาการแข่งขันทีด� ี บรรษัทภิบาล (Nominating and Corporate Governance Committee 2. ไม่แสวงหาข้ อมูลทีเ� ป็ นความลับของคูแ่ ข่งทางการค้ า ด้ วยวิธีการ (NCG)) มีหน้ าทีใ� นการกํากับดูแลให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ทีไ� ม่สจุ ริต หรือไม่เหมาะสม ทุกระดับปฏิบตั ติ ามแนวทางการกํากับดูแลกิจการทีด� ี และจริยธรรม 3. ไม่พยายามทําลายชือ� เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้ าด้ วยการกล่าวหา ธุรกิจ โดยมีเลขานุการ เป็นผู้ชว่ ยในการประสานติดตาม และรายงาน ในทางร้ าย โดยปราศจากซึง� มูลความจริง ผลเพื�อให้ มีการรวบรวม เผยแพร่ ข้อมูลต่อผู้ถือหุ้น ผ่านช่องทาง 4. ให้ ความร่วมมือเพือ� เสริมศักยภาพทางธุรกิจให้ เจริญเติบโตอย่าง การสือ� สารภายใน และภายนอกองค์กร ยัง� ยืน การร่วมกันดูแลความปลอดภัย ความสงบเรียบร้ อยในพื �นที� สาธารณะบริเวณโดยรอบ และร่วมกันแก้ ปัญหาเมือ� มีเหตุการณ์ ทีก� ระทบต่อการดําเนินธุรกิจ รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

65


Internal Control and Protection of Internal Information การควบคุมภายใน และการปกป องการใช ข อมูลภายใน ปี 2561คณะกรรมการบริษทั มีการประชุม 6 ครัง� โดยมีคณะกรรมการ ตรวจสอบเข้ าร่ วมประชุมด้ วยทุกครั ง� เพื�อให้ ความเห็นเกี� ยวกับ ความเพี ย งพอและความเหมาะสมของระบบควบคุม ภายใน ซึ� ง คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ชี แ� จงและรายงานสรุ ป ผล การตรวจสอบภายใน ให้ คณะกรรมการบริ ษัท ทราบ เมื�อวันที� 26 กุมภาพันธ์ 2562 ตามทีไ� ด้ แสดงไว้ ในรายงานจาก คณะกรรมการ ตรวจสอบต่อ ผู้ถื อ หุ้น และคณะกรรมการบริ ษั ท มี ค วามเห็ น ต่อระบบการควบคุมภายในเช่นเดียวกับคณะกรรมการตรวจสอบ สรุปสาระสําคัญได้ ดงั นี �

การปกป้ องการใช้ ข้อมูลภายใน บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญในการใช้ ข้อมูลภายใน และเพื�อเป็ นการ ปกป้ อ งกรณี ที� ก รรมการและผู้บ ริ ห ารใช้ ข้ อ มูล ภายในเพื� อ หา ผลประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ต นเองหรื อ ผู้ อื� น ในทางมิ ช อบ (Abusive self-dealing) โดยเฉพาะอย่างยิ�งข้ อมูลภายในที�ยงั ไม่เปิ ดเผยต่อ สาธารณะ หรื อข้ อมูลที�มีผลกระทบต่อแผนยุทธศาสตร์ องค์ กร การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ การเจรจาต่ อ รองทางการค้ า และราคาหุ้น ซึ�ง เป็ น การเอาเปรี ย บและก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่อ ผู้ถื อ หุ้น โดยรวม และได้ กํ า หนดหลัก บรรษั ท ภิ บ าลสํ า หรั บ ผู้ บริ ห าร (Executive Ethic standard) ไว้ เ ป็ นข้ อปฏิ บัติ 10 ประการ การควบคุมภายใน และกํ า หนดบทลงโทษสถานหนัก ในกรณี ที� มี ก ารฝ่ าฝื น หรื อ คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้ าที�โดยตรงในการกํากับดูแลระบบ กระทําการใดๆ ในลักษณะทีจ� งใจไม่ปฏิบตั ไิ ว้ ในคูม่ อื จริยธรรมธุรกิจ การควบคุมภายในทีด� ี ครอบคลุมทุกด้ าน ทังด้ � านบัญชี การเงิน การ ในหัวข้ อหลักบรรษัทภิบาลสําหรับผู้บริหารระดับสูง ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้ อบังคับ ระเบียบทีเ� กีย� วข้ อง โดยกําหนดกลไก ในการตรวจสอบที�ถ่วงดุลกันอย่างมีประสิทธิภาพ มีสํานักตรวจ อนึง� บริษัทฯ กําหนดระดับการเข้ าถึงข้ อมูลภายในสําหรับพนักงาน สอบภายใน ทําหน้ าที�ตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของทุกสายงาน ตามความเหมาะสมกับหน้ าที�ความรั บผิดชอบ และได้ กําหนด ตามแผนตรวจสอบทีพ� จิ ารณาด้ านความเสีย� งเป็ นสําคัญ รวมทังให้ � บทลงโทษไว้ในข้อบังคับการทํางานในหมวดวินยั และโทษทางวินยั เช่น คําปรึกษาเกี�ยวกับการวางระบบควบคุมภายในที�ดี วินยั เกี�ยวกับความลับและผลประโยชน์ของบริ ษัทฯ ข้ อ 3.2 ที�วา่ “ไม่แสวงหาผลประโยชน์อนั มิควรได้ จากบริ ษัทฯ หรื อบุคคลอื�น ทังนี � � คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้ าที�ในการพิจารณาแผนตรวจ ที� มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ บริ ษั ท ฯ ห้ ามประกอบธุ ร กิ จ ส่ ว นตั ว สอบ ควบคุม กํากับดูแลความเป็ นอิสระของ สํานักตรวจสอบภายใน หรื อรับทํางานให้ ผ้ อู ื�นในธุรกิจที�เหมือน หรื อคล้ ายคลึงกับบริ ษัทฯ เห็นชอบการแต่งตัง� โยกย้ าย เลิกจ้ าง หัวหน้ าสายงานตรวจสอบ แม้ ว่างานนัน� จะทํานอกเวลาของบริ ษัทฯ ก็ตาม” การให้ ความ ภายใน ตลอดจนดูแลให้ สายงานตรวจสอบภายในมีความเป็ นอิสระ เป็ นธรรมในการพิจารณาโทษทางวินยั และการลงโทษ บริ ษัทฯ สามารถทําหน้ าที�ตรวจสอบและถ่วงดุลได้ ตามมาตรฐานที�กําหนด แต่งตังคณะกรรมการวิ � นยั ให้ ดําเนินการสอบสวน และให้ ความ และให้รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบไม่น้อยกว่าไตรมาสละ เป็ นธรรมแก่พนักงานที�ถกู กล่าวโทษ 1 ครัง� เพื�อให้ มนั� ใจได้ วา่ ระบบการควบคุมภายใน และงานตรวจ สอบภายใน เป็ นไปโดยรัดกุม ไม่ก่อให้ เกิดความเสียหาย

66


Connected Transactions รายการระหว างกัน บริษทั ฯ กําหนดวิธีปฏิบตั กิ ารทํารายการระหว่างกันกับบุคคลทีอ� าจ มี ค วามขัด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ต้ อ งผ่ า นการสอบทานจาก คณะกรรมการตรวจสอบ หรือคณะกรรมการ บริษทั ตามเกณฑ์ทกี� าํ หนด และให้มกี ารเปิดเผยรายการ และมูลค่าของรายการทีอ� าจมีความขัดแย้ง ในปี ทผี� า่ นมา โดยอธิบายความจําเป็ น และความสมเหตุสมผลของ รายการทีเ� กิดขึ �นไว้อย่างชัดเจน ทังนี � บริ � ษทั ฯ กําหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร ทีม� สี ว่ นเกีย� วข้องกับรายการดังกล่าวเปิดเผยข้อมูล และ/หรือ ลักษณะ ความสัมพันธ์สว่ นบุคคลของตนเอง คูส่ มรส ญาติสนิท หรือมีความ สัมพันธ์สว่ นบุคคลกับผู้เสนอราคารายใดรายหนึง� ทีส� ง่ ผลให้ เกิดความ ไม่โปร่งใสในการปฏิบตั หิ น้ าทีโ� ดยตรง ส่งให้ สาํ นักบรรษัทภิบาล และ ให้งดออกเสียง และ/หรือ ไม่อยูร่ ว่ มในกระบวนการพิจารณาตัดสินชี �ขาด

การทํารายการที�เกี�ยวโยงกันในปี ที�ผ่านมา แสดงไว้ ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน และตารางแสดงรายการระหว่างกิจการที� เกี�ยวข้ องกันในลักษณะความสัมพันธ์ โดยทุกรายการเป็ นรายการ ที�สมเหตุสมผล และเป็ นการดําเนินธุรกิจปรกติ การพิจารณาทํา รายการเป็ นไปเพือ� ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ ผ่านการสอบทานจาก คณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือคณะกรรมการบริษทั ว่าเป็นเสมือน การทํารายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) ตามข้ อ กําหนดของบริษทั ฯ และระเบียบของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และไม่ขดั กับ มาตรฐานการบัญชีเรื�องการเปิดเผยข้อมูลทีเ� กีย� วกับบุคคลหรือกิจการ ทีเ� กีย� วข้ องกัน

รายการระหว่ างกิจการที�เกี�ยวข้ องกันในลักษณะความสัมพันธ์

บุคคล/นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย งทางผลประโยชน และลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะการทํารายการ

บริษทั โรงแรมชายทะเล จํากัด - โรงแรมไฮแอท รีเจนซี� หัวหิน ประเภทธุรกิจ: ประกอบกิจการโรงแรม สัญญาเช่าพื �นทีส� าํ นักงานและบริการ กับ ลักษณะความสัมพันธ์: บมจ. โรงแรมเอราวัณ • คุณพนิดา เทพกาญจนา และคุณสุพล วัธนเวคิน • รายได้ คา่ เช่าและบริการ กรรมการเป็นญาติสนิท กับคุณวรรณสมร วรรณเมธี • ลูกหนี �ณ วันสิ �นงวด กรรมการผู้มอี าํ นาจลงนาม ของบริษทั โรงแรมชายทะเล จํากัด • เงินมัดจํารับจากผู้เช่า • กลุม่ วัธนเวคิน ถือหุ้นในบริษทั ฯ ร้ อยละ 28.32 ของทุนชําระแล้ ว บริษทั ซูชิ อิจิ (ประเทศไทย) จํากัด ประเภทธุรกิจ: ธุรกิจร้ านอาหาร นําเข้ าวัตถุดบิ ในการประกอบ สัญญาเช่าพื �นทีส� าํ นักงานและบริการ กับ บมจ.ดิ เอราวัณ กรุ๊ป อาหาร จําหน่ายอาหารและเครื�องดืม� -นําเข้ า ลักษณะความสัมพันธ์: • รายได้คา่ เช่าและบริการ • ลูกหนี �ณ วันสิ �นงวด • คุณกวิน ว่องกุศลกิจ กรรมการ เป็ นกรรมการผู้มอี าํ นาจ • เงินมัดจํารับจากผู้เช่า ลงนามในบริษทั ซูชิ อิจิ (ประเทศไทย) จํากัด • กลุม่ ว่องกุศลกิจ ถือหุ้นในบริษทั ฯ ร้ อยละ 28.63 ของทุน ชําระแล้ว บริษทั คัปป้าเดลิ จํากัด ประเภทธุรกิจ: ธุรกิจร้ านอาหาร สัญญาเช่าพื �นทีส� าํ นักงานและบริการ ลักษณะความสัมพันธ์: กับ บมจ.ดิ เอราวัณ กรุ๊ป • รายได้ คา่ เช่าและบริการ • กลุม่ ว่องกุศลกิจ ถือหุ้นในบริษทั ฯ ร้ อยละ 28.63 ของทุน ชําระแล้ว • ลูกหนี �ณ วันสิ �นงวด • เงินมัดจํารับจากผู้เช่า

มูลค ารายการ (บาท) ป 2561 ป 2560

959,193.22 1,011,518.78 82,680.06 316,186.06 316,186.06

2,102,445.21 2,046,426.74 23,714.11 27,661.61 586,131.56 586,131.56

2,785,670.97 4,976,859.28 280,504.22 486,323.24 719,938.00 1,230,840.00

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

67


ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั กําหนดให้ต้องปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ของประกาศ ราคาทีต� กลงกันเป็นราคาตลาดเมือ� เทียบกับพื �นทีใ� ห้เช่าบริเวณใกล้เคียง คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื� องการเปิ ดเผย และไม่ตาํ� กว่าผู้เช่าหรือผู้รบั บริการรายอืน� ตามเกณฑ์มาตรฐานธุรกิจ ข้ อมูลและการปฏิบตั ขิ องบริษทั จดทะเบียนในรายการทีเ� กีย� วโยงกัน และให้ มรี าคาและเงือ� นไข เสมือนการทํารายการกับบุคคลภายนอก ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่ างกัน โดยกรรมการหรือพนักงานทีม� สี ว่ นได้ เสียในรายการนันจะต้ � องไม่มี ในกรณีที�บริ ษัทฯ เข้ าทําสัญญาใดๆ ก็ตาม หรื อมีการทํารายการ ส่วนในการพิจารณาอนุมตั ิ ระหว่างกันกับ บริษทั ย่อย บริษทั ทีเ� กีย� วข้ อง และ/หรือบุคคลภายนอก บริษทั ฯ จะพิจารณาถึงความจําเป็ นและความเหมาะสมในการเข้ าทํา นโยบายหรื อแนวโน้ มการทํารายการระหว่ างกันในอนาคต สัญญานันๆ � โดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของบริษทั ฯ เป็ นหลัก -ไม่ม-ี มาตรการหรื อขัน� ตอนการอนุมัตกิ ารทํารายการระหว่ างกัน นอกจากนี � บริ ษัทฯ มีการทํารายการอื�นที�ก่อให้ เกิดรายได้ กบั กลุม่ ในกรณีที�บริ ษัทฯ เข้ าทําสัญญาใดๆ ก็ตาม หรื อมีการทํารายการ บริษทั ฯ ทีม� คี วามเกีย� วข้ องกันในลักษณะความสัมพันธ์ ซึง� ถือเป็นการ ระหว่ า งกัน กับ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ที� เ กี� ย วข้ อ ง บุค คลภายนอก ดําเนินธุรกิจปรกติ นอกเหนือจากรายการทีก� ล่าวมาแล้วข้ างต้ น ดังนี � และ/หรื อบุคคลที�อาจมีความขัดแย้ ง เพื�อประโยชน์ของบริ ษัทฯ

รายการอื่นที่ก อให เกิดรายได ระหว างกัน 1.

2.

3.

4.

5.

68

• • • •

2561

2560

กลุม่ บริษทั นํ �าตาลมิตรผล จํากัด รายได้ จากการประกอบกิจการโรงแรม 9,055,309.69 7,100,080.66 ลูกหนี �ณ วันสิ �นงวด 1,346,315.78 1,470,915.43 กลุม่ บริษทั บ้ านปู จํากัด (มหาชน) รายได้ จากการประกอบกิจการโรงแรม 1,461,412.52 2,763,386.32 ลูกหนี �ณ วันสิ �นงวด 142,887.80 130,655.25 บริษทั โฮเต็ลเบดส์ (ประเทศไทย) จํากัด (ไม่ใช่กจิ การทีเ� กีย� วข้ องกันในลักษณะความสัมพันธ์ ณ 31 ธันวาคม 2561) • รายได้ จากการประกอบกิจการโรงแรม 13,684,451.33 46,349,097.15 • ลูกหนี �ณ วันสิ �นงวด 3,454,878.32 ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน) • รายได้ จากการประกอบกิจการโรงแรม 1,581,562.23 1,748,101.82 • ลูกหนี �ณ วันสิ �นงวด 227,289.40 บริษทั โรงแรมชายทะเล จํากัด • รายได้ จากการประกอบกิจการโรงแรม 1,909,580.22 4,819,099.81 • ลูกหนี �ณ วันสิ �นงวด 294,718.12 1,588,883.57


Corporate Contribution Activities กิจกรรมเพ�่อสังคม 2561 ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป ดําเนินกิจกรรมด้ านความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเน้ นกิจกรรมที�เกิดประโยชน์ตรงตามความต้ องการของชุมชน อย่างแท้ จริงและดําเนินกิจกรรมอย่างต่อเนือ� งเพือ� นําไปสูก่ ารพัฒนา และการเปลี�ยนแปลงที�ดีให้ กบั ชุมชนและสังคมอย่างยัง� ยืนต่อไป ที�ผา่ นมาบริ ษัทฯ ได้ ดําเนินกิจกรรมเพื�อสังคมอย่างต่อเนื�องหลาย กิจกรรม ซึง� ครอบคลุม 4 ด้ านหลัก คือ 1. กิจกรรมเพือ� ส่งเสริมอุตสาหกรรมท่องเทีย� ว 2. กิจกรรมเพือ� พัฒนาชุมชน 3. กิจกรรมส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงานและสิง� แวดล้อม 4. กิจกรรมอนุรกั ษ์ช้างไทย

ทังนี � � บ้ านแหลมโฮมสเตย์ ตังอยู � ท่ ี� ตําบลท่าศาลา อําเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ รับการคัดเลือกให้ เป็ นชุมชนนําร่องของ โครงการ เนือ� งจากเป็นชุมชนทีม� ศี กั ยภาพในการท่องเทีย� ว มีเอกลักษณ์ และมีกจิ กรรมทีโ� ดดเด่นอย่างสปาโคลน โดยบริษทั ฯ ได้ เข้ าไปทํางาน ร่ วมกับชุมชนเพื�อนําองค์ความรู้ ด้านการจัดการที�พกั และบริ การ ตามมาตรฐานของโรงแรมมาปรับใช้ กบั ชุมชน โดยด้ านกายภาพ ทําการปรับปรุ งสถานที�และอุปกรณ์ เพื�อให้ ชุมชนมีความพร้ อม ในการบริ ห ารจัด การ ทัง� ด้ า นสุข อนามัย ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ด้านบุคลากร (People) จัดกิจกรรมอบรมให้องค์ความรู้ เรื� องมาตรฐานการบริ การ และบริ หารจัดการเช่น การปูที�นอน การทําความสะอาดการต้อนรับการลงทะเบียนการทําบัญชีให้กบั ชาวบ้าน ในปี ที�ผา่ นมา บริ ษัทฯ เปิ ดโอกาสให้ พนักงานทุกคนได้ มีสว่ นร่วม โดยพนักงานจากโรงแรม HOP INN ทังนี � � เพือ� ให้ มกี ารบริการทีด� แี ต่ ในกิจกรรมเพือ� สังคมและสิง� แวดล้อมของบริษทั ฯ ด้วยการจัดประกวด คงไว้ ซึ�ง ความเป็ น เอกลัก ษณ์ ข องชุม ชน สิ�ง เหล่า นี จ� ะเติ ม เต็ม กิจกรรมเพือ� สังคมฯ โดยกําหนดให้ พนักงานทุกแผนกร่วมกันระดม ประสบการณ์ของนักท่องเทีย� วให้ เกิดความประทับใจ ความคิดส่งกิจกรรมเข้าประกวดเพือ� คัดสรรเลือกกิจกรรมมาดําเนินการ ต่อไปภายใต้ หลักเกณฑ์ คือ บริษทั ฯ เชือ� มัน� ว่าการพัฒนายกระดับโฮมสเตย์ชมุ ชนจะช่วยส่งเสริม • กิจกรรมต้ องเชือ� มโยงและสะท้ อนอัตลักษณ์กบั ธุรกิจขององค์กร คุณค่าการท่องเที�ยวชุมชนให้ สามารถอํานวยความสะดวกให้ แก่ • กิจกรรมสามารถทําได้ อย่างต่อเนือ� ง นักท่องเทีย� วและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาด้วยตัวชุมชนเอง ทังนี � �เพือ� • กิจกรรมสร้ างผลลัพธ์อย่างมีนยั สําคัญ การก้ าวหน้ าอย่างยัง� ยืน • กิจกรรมเพือ� การพัฒนาและสร้ างความยัง� ยืน • กิจกรรมต้ องทําได้ จริงในงบประมาณทีค� ้ มุ ค่าเหมาะสม ซึง� บริษทั ฯ ได้คดั เลือก โครงการยกระดับการบริหารการจัดการโฮมสเตย์ ชุมชนสูม่ าตรฐานสากล “Happy Home Happy Stay พักสบายกาย เทีย� วสบายใจ” มาดําเนินการ ซึง� มีวตั ถุประสงค์เพือ� สนับสนุนการท่อง เทีย� วชุมชนให้เติบโตอย่างยัง� ยืนโดยการพัฒนาและยกระดับโฮมสเตย์ ในชุมชนให้ มมี าตรฐานการบริการและการจัดการทีม� คี ณ ุ ภาพ

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

69


กิจกรรมเพื�อสังคมของ ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป

กิจกรรม กิจกรรมเพื่อส งเสริมอุตสาหกรรมท องเที่ยว

เป าหมายกิจกรรม

ดําเนินการป 2561

Welcome Guide to Thailand • พัฒนาทักษะการสือ� สาร จัดกิจกรรมสอนภาษาต่างประเทศ เป็ นกิจกรรมสอนภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษา • สร้ างทัศนคติทดี� ใี นการให้ บริการและการ ตังแต่ � ปี 2551 ถึงปี 2561 รวม 32 ครัง� อังกฤษและภาษาจีนให้ กบั คนขับรถแท็กซี� เป็นเจ้ าบ้านทีด� ี มีผ้ เู ข้ าร่วมกิจกรรมแล้วรวม 1,069 คน และบุคคลทีเ� กีย� วข้ องกับการต้ อนรับและให้ บริการ • ส่งเสริมให้ ความรู้เรื�องความสําคัญของ นักท่องเทีย� ว การท่องเทีย� วของประเทศ กิจกรรมท่องเที�ยวชุมชนย่านบางลําพู

กิจกรรม

• ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเทีย� วในชุมชน • จัดกิจกรรมพัฒนาภาษาอังกฤษ ย่านบางลําพู ให้ แก่กลุม่ เกสรลําพู ซึง� เป็นกลุม่ • สร้ างความสัมพันธ์ทดี� กี บั ชุมชนทีเ� ป็ น มัคคุเทศน์เยาวชน พันธมิตร • รวบรวมเรียบเรียงข้ อมูลของแหล่ง • ส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนด้านการท่องเทีย� ว ท่องเทีย� วทีส� าํ คัญย่านบางลําพู ชุมชนเพือ� พัฒนาอย่างยัง� ยืน เพือ� จัดทําป้ายข้ อมูลท่องเทีย� ว อัจฉริยะ ในรูปแบบ QR Code

เป าหมายกิจกรรม

ดําเนินการป 2561

• ส่งเสริมการอ่าน การเรียนรู้ของเยาวชน เพือ� สร้ างรากฐานสําคัญในการพัฒนา ประเทศ • สร้ างความสัมพันธ์อนั ดีในชุมชนทีโ� รงแรม HOP INN เข้ าไปเปิ ดดําเนินการ

เริ�มโครงการในปี 2557 ถึงปี 2561 บริษทั ฯ ได้ มอบตู้เปิ ดจินตนาการ ไปแล้วจํานวน 170 ตู้ โดยในปี 2561 มอบให้ 20 โรงเรียนในจังหวัดสุรินทร์ กระบี� ชลบุรี และเชียงใหม่

กิจกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน โครงการตู้เปิ ดจินตนาการ เป็ นโครงการมอบตู้หนังสือ และของเล่นพัฒนา ทักษะ เพือ� สร้ างโอกาสในการเรียนรู้ในแก่เด็ก ในโรงเรียน ทีข� าดแคลนในจังหวัด ทีโ� รงแรม HOP INN เข้ าไปเปิ ดดําเนินการ จังหวัด ละ 5 ตู้

70


กิจกรรม

เป าหมายกิจกรรม

ดําเนินการป 2561

กิจกรรมส งเสริมการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดล อม โครงการขยะแลกไข่ • ช่วยลดปริมาณขยะในอาคารเพลินจิต เป็ นกิจกรรมนําขยะมาแลกไข่ เดือนละ 1 ครัง� เซ็นเตอร์และอาคารใกล้เคียง โดยร่วมกับ บริษทั สถานีรีไซเคิลวงศ์พาณิชย์ • ส่งเสริมให้ กลุม่ ลูกค้ า คูค่ ้ า พนักงาน สุวรรณภูมิ จํากัด ดําเนินกิจกรรมมาอย่างต่อเนือ� ง และบุคคลทัว� ไป สร้ างพฤติกรรมการ ตังแต่ � ปี 2551 คัดแยกขยะ

ปี 2561 มีปริมาณขยะคัดแยก ในกิจกรรม รวมทังปี � 53.8 ตัน เฉลีย� เดือนละ 4,489 กิโลกรัม

กิจกรรมอนุรักษ ช างไทย โครงการ ดิ เอราวัณ รักษ์ ช้าง จัดกิจกรรมเพือ� สนับสนุนการอนุรกั ษ์ช้างไทย ซึง� เป็ นสัญลักษณ์ของบริษทั ฯ

• จัดกิจกรรมเพือ� หารายได้ ช่วยเหลือ หน่วยงานทีช� ว่ ยเหลือช้ างไทย • จัดกิจกรรมเพือ� สนับสนุนการมีสว่ นร่วม ของพนักงานและครอบครัว รวมถึงผู้มี ส่วนได้ เสีย โดยความสมัครใจ

• 18-19 สค. 2561 จัดกิจกรรมปลูกป่ า ให้ช้าง ณ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่า ซับลังกา จังหวัดลพบุรี • 4 พย. 2561 จัดกิจกรรม ERAWAN RUN TOGETHER ครังที � � 2 รายได้ โดยไม่หกั ค่าใชัจา่ ย มอบให้ มลู นิธคิ นื ช้ างสูธ่ รรมชาติ จํานวน 363,000 บาท

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

71


กิจกรรมเพื�อสังคมของโรงแรมในเครื อปี 2561

โรงแรมในเครือ

กิจกรรมด านชุมชน

กิจกรรมด านสิ่งแวดล อม

โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท พนักงานร่วมบริจาคและร่วมแรงจิตอาสาสร้ างบ้าน เอราวัณ กรุงเทพ ให้ ผ้ ดู ้ อยโอกาส ในโครงการของมูลนิธทิ อี� ยูอ่ าศัยเพือ� สนับสนุนแนวทางการสร้ างถิน� ฐานของมนุษย์ให้ มคี วาม ปลอดภัย

บริจาคอาหาร และวัตถุดบิ ทีเ� หลือจากการบริการ ให้ แก่ มูลนิธริ กั ษ์อาหาร เพือ� นําไปมอบให้ แก่คนทีต� ้ องการ ใน ปี 2561 ลดการทิ �งปริมาณอาหารถึง 9,354.34 กิโลกรัม เป็ นการส่งเสริมการใช้ ทรัพยากรอย่างรับผิดชอบ

โรงแรมในเครือแมริออท จัดงานวิง� Run to Give 2018 เพือ� หารายได้สมทบทุนสร้ าง อาคารนวมินทรบพิตร 84 พรรษา เพือ� ถวายเป็นพระราช โรงแรมเจดับบลิว กุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช แมริออท กรุงเทพ บรมนาถบพิตร โดยมอบเงินรายได้ 1,436,050 บาท จาก จํานวนผู้เข้ าร่วมทังหมด � 3,000 คน โรงแรมคอร์ทยาร์ด โดยแมริออท กรุงเทพ

ร่วมรณรงค์รกั ษาสิง� แวดล้อม ลดการใช้ ทรัพยากรอย่าง จริงจัง อาทิ • ลดการใช้ ขวดพลาสติก โดยการให้ บริการนํ �าดืม� แบบ ขวดแก้ วและถังนํ �าดืม� ทังในส่ � วนของห้ องประชุม จัดเลี �ยง และห้ องออกกําลังกาย • ลดขยะทีม� าจากอาหาร ไม่วา่ จะเป็นการเตรียม การผลิตหรืออาหารเหลือ จากการติดตามอย่างใกล้ชดิ พบว่าในเดือนธันวาคม 2561 สามารถลดปริมาณ ขยะอาหารได้ ถงึ 17%

โรงแรมเรเนซองส์ เกาะสมุย รีสอร์ท แอนด์ สปา เดอะ นาคา ไอแลนด์, สนับสนุนการศึกษาแก่โรงเรียนบ้านเกาะนาคา เอ ลักซชัวรี� คอลเลคชัน� ในวาระต่างๆ เช่น จัดกิจกรรมวันเด็ก ทาสีห้องเรียน รีสอร์ท แอนด์ สปา เพือ� ส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ของเยาวชน ภูเก็ต โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ สนับสนุนศูนย์ตอ่ ต้ านการค้ ามนุษย์และเด็กถูกล่วง พัทยา ละเมิด ด้ วยการซ่อมแซมรัว� และทาสีโต๊ ะ เก้ าอี � มอบอุปกรณ์กฬี า และเลี �ยงพิซซ่าและอาหารว่าง เป็ นการสนับสนุนการลดปัญหาทางสังคม กลุม่ โรงแรม เมอร์เคียว-ไอบิส

ไอบิส กะตะ และโรงแรมในเครือแอคคอร์ ร่วมปรับปรุงทาสี ห้ องเรียน โรงเรียนบ้ านอ่าวนํ �าบ่อ จ. ภูเก็ต เพือ� สนับสนุนการศึกษาของเยาวชนในชุมชน ใกล้เคียง

โรงแรมฮ็อป อินน์

ให้ ความรู้เรื�องมาตรฐาน งานบริการการต้ อนรับ การทําความสะอาด โฮมสเตย์ บ้ านแหลม จังหวัด นครศรีธรรมราช ในโครงการ “Happy Home Happy Stay พักสบายกาย เทีย� วสบายใจ”

72

ร่วมดูแลรอบบ้าน ด้ วยการเก็บขยะตลอดแนวชายหาด โดยเฉพาะขยะพลาสติก หลอด ถุงพลาสติกเพือ� ร่วม รักษาสิง� แวดล้อม


Financial Information and Corporate Information

ขอมูลทางการเง�น และขอมูลบร�ษัท


Report of the Board’s Responsibility in the Financial Statements รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบร�ษทั ต อรายงานทางการเง�น คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ความสําคัญต่อหน้ าทีแ� ละความรับผิดชอบ ดูแลกิจการบริษทั ฯ ให้ เป็ นไปตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีด� ี การกํากับดูแลงบการเงินและสารสนเทศทางการเงินที�ปรากฏใน รายงานประจําปี มขี ้ อมูลทีถ� กู ต้ อง ครบถ้ วน เปิ ดเผยอย่างเพียงพอ งบการเงินได้ ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยเลือกใช้นโยบายการบัญชีทเี� หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสมํา� เสมอ และใช้ ดลุ ยพินิจอย่างระมัดระวัง รวมถึงจัดให้ มีและดํารงรักษาไว้ ซึง� ระบบการควบคุมภายในทีม� ปี ระสิทธิผลเพือ� ให้เชือ� มัน� อย่างมีเหตุผล ต่อความเชื�อถือได้ ของงบการเงิน การดูแลรักษาทรัพย์สินมีระบบ การป้องกันที�ดี ไม่มีรายการทุจริ ตหรื อมีการดําเนินการที�ผิดปกติ รายการทีเ� กีย� วโยงกันซึง� อาจทําให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ เป็ นรายการจริงทางการค้ าอันเป็ นธุรกิจปกติทวั� ไปอย่างสมเหตุสมผล และเป็ นประโยชน์ สงู สุด รวมทัง� มีการปฏิบตั ิตามกฎหมายและ กฎเกณฑ์ทเี� กี�ยวข้ อง ซึง� คณะกรรมการตรวจสอบได้ รายงานผลการ ปฏิบตั ิงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทแล้ ว และได้ รายงานความเห็น เกี�ยวกับเรื� องนี �ในรายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบซึง� ปรากฏ ในรายงานประจําปี

คณะกรรมการบริ ษัท มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของ บริษทั ฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับทีน� า่ พอใจ และสามารถสร้ างความมัน� ใจ อย่างมีเหตุผลต่อความเชือ� ถือต่องบการเงินของบริษทั ฯ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561ซึง� ผู้สอบบัญชี ได้ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี และแสดงความเห็นว่างบการเงินแสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด โดยถูกต้องตามทีค� วรในสาระสําคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน

นายชนินท ว องกุศลกิจ

ประธานกรรมการบริษทั

นายเพชร ไกรนุกูล กรรมการผู้จดั การใหญ่

74


Management Discussion and Analysis คําอธิบายและการว�เคราะห ฐานะการเง�นและผลการดําเนินงาน งบกําไรขาดทุนรวมสําหรั บงวดสิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม

หน วย : ล านบาท

รายได้ จากการประกอบกิจการโรงแรม รายได้ คา่ เช่าและค่าบริการ รวมรายได้จากการดําเนินงาน รายได้ อนื� รวมรายได้ ค่าใช้ จา่ ยในการดําเนินงาน กําไรก่ อนดอกเบียภาษี � เงินได้และค่ าเสื�อมราคา ค่าเสือ� มราคา กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงาน ต้ นทุนทางการเงิน กําไร(ขาดทุน)ก่ อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ส่วนของผู้ถอื หุ้นส่วนน้ อย กําไร(ขาดทุน)สุทธิก่อนรายการพิเศษ รายการพิเศษ ส่วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในกองทุนรวม กําไร(ขาดทุน)สุทธิ กําไร(ขาดทุน)สุทธิตอ่ หุ้น ( บาท )

ผลการดําเนินงาน ในปี 2561 อุตสาหกรรมท่องเทีย� วของประเทศไทยยังคงมีการเติบโต อย่างต่อเนือ� งจากปี 2560 โดยมีจาํ นวนนักท่องเทีย� วต่างชาติทงหมด ั� 38.3 ล้านคน เพิม� ขึ �นจาก 35.4 ล้านคนในปี 2560 หรือเติบโตร้ อยละ 8 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีทแี� ล้วโดยมีการเติบโตในทุกกลุม่ นักท่องเทีย� วหลัก ทังนี � � นักท่องเทีย� วทีม� กี ารขยายตัวสูงทีส� ดุ 3 อันดับแรกในปี นี � ได้ แก่ มาเลเซีย อินเดีย และเวียดนาม ในส่วนของการท่องเทีย� วในประเทศ มีการเติบโตเช่นกัน โดยในปี 2561 มีจาํ นวนผู้เยีย� มเยือนชาวไทยที� เดินทางท่องเทีย� วในประเทศทังหมด � 161 ล้านคน/ครัง� ขยายตัวร้ อยละ 6 จากปี 2560

ม.ค.-ธ.ค. 60

ม.ค.-ธ.ค. 61

เปลี่ยนแปลง

5,773 222 5,995 55 6,050 (4,207) 1,844 (738) 1,106 (344) 762 (172) (60) 530

6,022 234 6,256 52 6,308 (4,411) 1,897 (776) 1,121 (360) 761 (164) (57) 540

+4% +5% +4% -6% +4% +5% +3% +5% +1% +5% -0% -5% -4% +2%

(24) 506 0.2022

(4) 536 0.2141

+85% +6% +6%

สําหรับผลการดําเนินงานของปี 2561 ยังคงมีการเติบโตอย่าง ต่อเนือ� งสอดคล้องกับการขยายตัวของอุตสาหกรรมการท่องเทีย� วไทย โดยบริษทั ฯ มีรายได้ รวมจากการดําเนินงานเท่ากับ 6,256 ล้ านบาท เพิม� ขึ �นร้ อยละ 4 จากช่วงเดียวกันของปี ทผี� า่ นมา โดยรายได้ จากธุรกิจ โรงแรมเพิม� ขึ �นร้ อยละ 4 และรายได้คา่ เช่าและค่าบริการเพิม� ขึ �นร้ อยละ 5 จากปี 2560 บริ ษั ท ฯ มี กํ า ไรระดับ EBITDA เท่า กับ 1,897 ล้ านบาท เพิม� ขึ �นร้ อยละ 3 จากปี ทผี� า่ นมา และมีอตั รากําไรระดับ EBITDA เท่ากับร้ อยละ 30.1 ใกล้เคียงกับร้ อยละ 30.5 ในปี 2560 บันทึกกําไรก่อนรายการพิเศษเท่ากับ 540 ล้านบาท เพิม� ขึ �นร้ อยละ 2 จากปี กอ่ นหน้ า และกําไรสุทธิเท่ากับ 536 ล้านบาท เพิม� ขึ �นร้ อยละ 6 จากปี 2560 รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

75


การวิเคราะห์ ผลการดําเนินงานของแต่ ละธุรกิจ 1. ธุรกิจโรงแรม ในปี 2561 บริ ษัทฯ ได้ ดําเนินงานพัฒนาโรงแรมตามกลยุทธ์เพิ�ม การเติบโตตามแผนงานที�วางไว้ โดยเปิ ดให้ บริ การโรงแรมจํานวน 9 แห่ง โดยเป็ นโรงแรมในประเทศไทยจํานวน 6 แห่ง ซึง� ประกอบด้ วย โรงแรมระดับกลาง (Midscale) 1 แห่ง ระดับชันประหยั � ด (Economy) 1 แห่ง ได้ แก่ โรงแรมโนโวเทล และ ไอบิส สไตล์ สุขมุ วิท 4 โดยมีรูปแบบ ลักษณะแบบคอมโบโฮเทล (Combo Hotel) ซึง� มี 2 แบรนด์ในตึก เดียวกัน และโรงแรมภายใต้ แบรนด์ “ฮ็อป อินน์” (“HOP INN”) 4 แห่ง รวมถึงการเปิดโรงแรมภายใต้แบรนด์ “ฮ็อป อินน์” (“HOP INN”) จํานวน 3 แห่ง ในฟิ ลปิ ปิ นส์ ส่งผลให้ ณ สิ �นปี 2561 บริษทั ฯ มีจาํ นวน โรงแรมทีเ� ปิ ดให้ บริการทังสิ � �น 61 โรงแรมและมีจาํ นวนห้ องพักทังหมด � 8,485 ห้ อง

เดือนกันยายน 2561 แล้วเสร็จตามแผนงานทีก� าํ หนดไว้ หากรวมกับห้อง พักทีป� รับปรุงเสร็จในระยะที� 1 จํานวนห้ องพักใหม่ในปี นี �จะมีจาํ นวน 307 ห้องหรือ ร้ อยละ 70 ของจํานวนห้องพักทังหมด � นอกจากนี บริ � ษทั ฯ ได้ ดาํ เนินการปรับปรุงห้ องอาหาร แมริออท คาเฟ่ ซึง� เป็ นห้ องอาหาร หลักของโรงแรม เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ ตังแต่ � เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน 2561 ซึง� แล้วเสร็จตามแผนงานทีก� าํ หนดไว้ เช่นกัน

ผลการดําเนินงานของธุรกิจโรงแรมในปี 2561 บริ ษัทฯ มีรายได้ จากธุรกิจโรงแรมเท่ากับ 6,022 ล้ านบาท เพิม� ขึ �นร้ อยละ 4 จากช่วง เดียวกันของปี ทผี� า่ นมา โดยรายได้ สว่ นห้ องพักเพิม� ขึ �นร้ อยละ 8 ขณะ ทีร� ายได้ จากค่าอาหารและเครื�องดืม� ลดลงร้ อยละ 1 จากช่วงเดียวกัน ของปี ที�ผา่ นมา สาเหตุหลักมาจากการปิ ดปรับปรุงห้ องอาหารของ โรงแรมโรงแรม เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ ตามทีก� ล่าวข้ างต้ น ทังนี � � การเติบโตมาจากทังรายได้ � จากโรงแรมเดิมจํานวน 52 แห่งซึง� เพิม� ขึ �น นอกจากนี � ภายใต้ กลยุทธ์การเพิ�มผลตอบแทนเพื�อเพิ�มศักยภาพ ร้ อยละ 2 และรายได้ ทเี� พิม� ขึ �นจากโรงแรมใหม่ทไี� ด้ เปิ ดดําเนินการใน การแข่งขันทางธุรกิจ ในปี 2561 บริษทั ฯ ได้ดาํ เนินการปรับปรุงห้องพัก ปี 2561 โดยโรงแรมในกลุม่ โรงแรมฮ็อป อินน์ เป็ นกลุม่ ทีม� กี ารเติบโต ของโรงแรม เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพฯ ระยะที� 2 จํานวน 178 ห้ อง ของรายได้ สงู ทีส� ดุ หรือร้ อยละ 40 จากจํานวนห้ องพักทังหมดระหว่ � างเดือนเมษายนถึง สถิตกิ ารดําเนินงานด้ านห้ องพัก สําหรั บปี 2561 สรุ ปได้ ดงั นี � จํานวนห อง อัตราการเข าพัก งวด 12 เดือน(ม.ค.-ธ.ค.)

ค าห องพักเฉลี่ย รายได เฉลี่ยต อห องพัก (บาท/คืน) (บาท/คืน) 2560 2561 2560 2561 +/- 2560 2561 +/- 2560 2561 +/-

ประเทศไทย กลุม่ โรงแรม 5 ดาว (Luxury) กลุม่ โรงแรมระดับกลาง (Midscale) กลุม่ โรงแรมชันประหยั � ด (Economy) โรงแรมทัง� หมด (ไม่รวมกลุ่มฮ็อป อินน์ ) กลุม่ โรงแรมฮ็อป อินน์ (HOP INN) ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ กลุม่ โรงแรมฮ็อป อินน์ (HOP INN)

979 1,282 2,253 4,202 2,502 312

979 1,467 2,386 4,832 2,810

77% 88% 85% 84% 75%

843 76% 76%

รายละเอียดของผลการดําเนินงานตามประเภทของโรงแรม สรุปได้ดงั นี � ประเทศไทย กลุ่มโรงแรม 5 ดาวในกรุ งเทพ ฯ (Luxury Bangkok) • กลุม่ โรงแรม 5 ดาวประกอบด้วย โรงแรมจํานวน 2 แห่งในกรุงเทพฯ และโรงแรมอีก 2 แห่ง ที� เกาะสมุยและภูเก็ต โรงแรมในกลุม่ นี มี� อตั รา การเข้ าพักเฉลีย� เท่ากับร้ อยละ 74 ลดลงจากระดับร้ อยละ 77 จาก ปี กอ่ นหน้ า สาเหตุหลักมาจากการปิ ดปรับปรุงห้ องพักของโรงแรม

76

74% 85% 81% 81% 75%

3%  3%  4%  3%  -

5,685 2,783 1,209 2,554 543

-

929

5,836 2,907 1,302 2,672 580

3%  4%  8%  5%  7% 

4,358 2,453 1,029 2,150 407

980 5% 

705

4,290 2,483 1,056 2,158 438

2%  1%  3%  8% 

743 5% 

เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ ซึง� ในปี นี �มีจาํ นวนห้ องพักทีป� รับปรุง มากกว่าในปี 2560 อย่างไรก็ตามค่าห้ องพักเฉลีย� เพิม� ขึ �นร้ อยละ 3 จากปี ก่อนหน้ าส่งผลให้ รายได้ เฉลี�ยต่อห้ องพักลดลงร้ อยละ 2 จากปี 2560 กลุม่ โรงแรม 5 ดาวมีรายได้จากการดําเนินงานเท่ากับ 2,851 ล้ านบาทและกําไรระดับ EBITDA เท่ากับ 804 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 2 และร้ อยละ 9 ตามลําดับจากช่วงเวลาเดียวกัน ของปี ทผี� า่ นมา สาเหตุหลักมาจากการปรับปรุงโรงแรม เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ ตามทีก� ล่าวข้ างต้ น


กลุ่มโรงแรมระดับกลาง (Midscale) • ในปี 2561 บริษทั ฯ ได้เปิดให้บริการโรงแรมในกลุม่ โรงแรมระดับกลาง ในพื �นทีก� รุงเทพฯ เพิม� ขึ �น 1 แห่ง ได้ แก่ โรงแรมโนโวเทล สุขมุ วิท 4 ส่งผลให้ ณ สิ �นปี 2561 กลุม่ โรงแรมระดับกลางมีโรงแรมจํานวน 3 แห่งในพื �นทีก� รุงเทพฯ และโรงแรมจํานวน 2 แห่งในพื �นทีพ� ทั ยา • โรงแรมในกลุม่ นี �มีอตั ราการเข้ าพักเฉลีย� เท่ากับร้ อยละ 85 ลดลง เล็กน้ อยจากระดับร้ อยละ 88 จากปี กอ่ นหน้ า แต่คา่ ห้ องพักเฉลีย� เพิม� ขึ �นร้ อยละ 4 จากปี 2560 โดยทุกโรงแรมในกลุม่ มีการเติบ โตของค่าห้ องพักเฉลีย� จากปี ก่อนหน้ า ส่งผลให้ รายได้ เฉลีย� ต่อ ห้ องพักเพิม� ขึ �นร้ อยละ 1 จากปี ทแี� ล้ว โดยโรงแรมในพื �นทีก� รุงเทพฯ มีการเติบโตของค่าห้ องพักเฉลี�ยสูงที�สดุ ในกลุม่ โดยรวมกลุม่ โรงแรมระดับกลางมีรายได้ จากการดําเนินงานเท่ากับ 1,523 ล้านบาทและกําไรระดับEBITDAเท่ากับ597ล้านบาทเพิม� ขึ �นร้ อยละ4 และร้ อยละ 3 จากช่วงเวลาเดียวกันของปี ทผี� า่ นมาตามลําดับ กลุ่มโรงแรมชัน� ประหยัด (Economy) • ในปี 2561 บริษทั ฯ ได้เปิดให้บริการโรงแรมในกลุม่ โรงแรมชันประหยั � ด ในพื �นทีก� รุงเทพฯ เพิม� ขึ �น 1 แห่ง ได้แก่ โรงแรม ไอบิส สไตล์ สุขมุ วิท 4 ส่งผลให้ ณ สิ �นปี 2561 บริษทั ฯ มีโรงแรมชันประหยั � ดทังสิ � �น 11 แห่ง ใน 6 จังหวัดท่องเทีย� วหลักของประเทศไทย ได้แก่ กรุงเทพฯ พัทยา ภูเก็ต สมุย หัวหิน และ กระบี� • กลุม่ โรงแรมชันประหยั � ดมีอตั ราการเข้ าพักเฉลีย� เท่ากับร้ อยละ 81 ลดลงจากระดับร้ อยละ 85 ในปี 2560 ขณะทีค� า่ ห้องพักเฉลีย� เพิม� ขึ �น ร้ อยละ 8 จากปี 2560 โดยทุกโรงแรมในกลุม่ มีคา่ ห้องพักเฉลีย� เติบโต จากปี กอ่ นหน้ า ส่งผลให้ รายได้ เฉลีย� ต่อห้ องพักเพิม� ขึ �นร้ อยละ 3 จากปี ที�แล้ ว โรงแรมในพื �นที�กรุงเทพฯ มีการเติบโตของรายได้ เฉลีย� ต่อห้ องพักสูงทีส� ดุ โดยเพิม� ขึ �นร้ อยละ 5 จากปี กอ่ นหน้ าขณะ ทีโ� รงแรมในพื �นทีต� า่ งจังหวัดได้ รบั ผลกระทบจากการชะลอตัวของ กลุม่ นักท่องเทีย� วรัสเซียและจีนซึง� เป็ นลูกค้ าหลักในช่วงครึ�งปี หลัง กลุม่ โรงแรมชันประหยั � ดมีรายได้ จากการดําเนินงานเท่ากับ 1,074 ล้านบาท เพิม� ขึ �นร้ อยละ 2 ในขณะทีก� าํ ไรระดับ EBITDA เท่ากับ 369 ล้านบา ทลดลงร้ อยละ 4 จากช่วงเวลาเดียวกันของปี ทผี� า่ นมา

• อัตราการเข้าพัก เฉลีย� ของกลุม่ โรงแรมนี �ในปี 2561 เท่ากับร้ อยละ 75 ใกล้เคียงกับปี 2560 ค่าห้องพักเฉลีย� เพิม� ขึ �นร้ อยละ 7 ส่งผลให้รายได้ เฉลีย� ต่อห้องพักเพิม� ขึ �นร้ อยละ 8 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีทผี� า่ นมา นับเป็ นกลุม่ โรงแรมทีม� กี ารเติบโตของรายได้ เฉลีย� ต่อห้ องพักสูง ทีส� ดุ ในกลุม่ ในปีนี กลุ � ม่ โรงแรมฮ็อปอินน์ มีรายได้จากการดําเนินงาน เท่ากับ 422 ล้านบาท และกําไรระดับ EBITDA เท่ากับ 204 ล้านบาท เพิม� ขึ �นร้ อยละ 44 และร้ อยละ 69 จากช่วงเวลาเดียวกันของปี ทีผ� า่ นมาตามลําดับ ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ กลุ่มโรงแรมฮ็อป อินน์ (Hop Inn) • ปี 2561 บริษทั ฯ เปิ ดให้ บริการโรงแรมใหม่จาํ นวน 3 แห่ง ในเมือง มะนิลา ส่งผลให้ ณ สิ �นปี 2561 บริษทั ฯ มีโรงแรมในกลุม่ โรงแรม ภายใต้ แบรนด์ “ฮ็อป อินน์” (“HOP INN”) จํานวน 5 แห่งในเมือง มะนิลา ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ ได้ แก่ เขตเออร์มติ ้ า มากาติ เอเชียน่า อลาบาง และเกซอน • อัตราการเข้าพัก เฉลีย� ของกลุม่ โรงแรมนี �ในปี 2561 เท่ากับร้ อยละ76 ใกล้เคียงกับปี 2560 ถึงแม้วา่ จะมีการเพิม� จํานวนห้องพักจํานวน 531 ห้องจากโรงแรมทีเ� ปิดใหม่ในปี นี แต่ � โรงแรมเดิมจํานวน 2 แห่งยังคง มีการเติบโตของอัตราการเข้ าพัก ค่าห้ องพักเฉลีย� เพิม� ขึ �นร้ อยละ 5 ส่งผลให้รายได้เฉลีย� ต่อห้องพักเพิม� ขึ �นร้ อยละ 5 จากช่วงเวลาเดียวกัน ของปี ทผี� า่ นมา กลุม่ โรงแรมฮ็อป อินน์ ในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์มรี าย ได้รวมจากการดําเนินงานและมีกาํ ไรระดับ EBITDA 152 ล้านบาท และ 53 ล้านบาทสําหรับปี 2561 ตามลําดับ หมายเหตุ : การคํานวณ EBITDA ของแต่ละประเภทโรงแรมไม่รวมค่าใช้ จา่ ยส่วนกลาง

2. ธุรกิจการให้ เช่ าพืน� ที� ปัจจุบนั ธุรกิจให้เช่าพื �นทีแ� ละบริการของบริษทั ฯ มีอยู่ 1 แห่งคือ อาคาร เอราวัณแบงค็อก ซึง� เป็นศูนย์การค้าระดับไฮเอนด์ตงอยู ั � ต่ ดิ กับโรงแรม แกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ และในส่วนของงานบริหารอาคาร บริษทั ฯ รับบริหารอาคาร เพลินจิต เซ็นเตอร์ มีรายได้ จากธุรกิจพื �นทีเ� ช่าและงานบริหารอาคารทังสิ � �น 234 ล้านบาท เพิม� ขึ �นร้ อยละ 5 จากช่วงเวลาเดียวกันของปี ทผี� า่ นมา

กลุ่มโรงแรมฮ็อป อินน์ (HOP INN) • ปี 2561 บริษทั ฯ ได้ เปิ ดให้ บริการโรงแรมในกลุม่ โรงแรมบัดเจ็ท ภายใต้ แบรนด์ “ฮ็อป อินน์” (“HOP INN”) ซึง� บริ ษัทฯ เป็ น รายการอื�น ๆ ผู้ลงทุนและบริ หารเอง ในประเทศไทยจํานวน 4 แห่ง ได้ แก่ • ค่ าเสื�อมราคาและค่ าตัดจําหน่ าย : สําหรับปี 2561 บริษทั ฯ มีคา่ ใช้ จา่ ยส่วนนี � เท่ากับ 776 ล้ านบาท เพิ�มขึ �นจากช่วงเวลา สุรินทร์ ชลบุรี กระบีแ� ละ เชียงใหม่ ส่งผลให้ ณ สิ �นปี 2561 เดียวกันของปี กอ่ นหน้ า 38 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากค่าเสือ� ม บริษทั ฯ มีโรงแรมในกลุม่ บัดเจ็ทในประเทศไทยจํานวน 36 แห่ง ราคาทีเ� พิม� ขึ �นจากโรงแรมใหม่ทเี� ปิ ดให้ บริการ ครอบคลุ ม จั ง หวั ด เศรษฐกิ จ ที� สํ า คั ญ ของประเทศไทย

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

77


• ต้ นทุนทางการเงิน : บริษทั ฯ มีคา่ ใช้ จา่ ยในส่วนนี �เท่ากับ 360 • รายการพิเศษ : ล้ านบาทในปี 2561 เพิม� ขึ �น 16 ล้ านบาท จากช่วงเวลาเดียวกัน - เงินลงทุนในกองทุนอสังหาริมทรัพย์ : ปี 2561 บริษทั ฯ บันทึก ของปี กอ่ นหน้ า สาเหตุหลักมาจากการรับรู้ต้นทุนทางการเงินทีเ� ป็น ส่วนแบ่งขาดทุน 4 ล้ านบาทสาเหตุหลักมาจากลดลงของ ค่าใช้ จา่ ยของโรงแรมทีเ� ปิ ดใหม่ การประเมินมูลค่าสินทรัพย์ของกองทุนในช่วงไตรมาส 1/2561 สถานะทางการเงิน

อัตราส วนทางการเงิน (เท า)

อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี �ย อัตราส่วนหนี �สินทีม� ภี าระดอกเบี �ยต่อส่วนผู้ถอื หุ้น

บริษทั ฯ มีเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานก่อนการเปลีย� นแปลงใน สินทรัพย์และหนี �สินดําเนินงานจํานวน 1,907 ล้านบาท เพิม� ขึ �นร้ อยละ 2 จากช่วงเวลาเดียวกันของปี กอ่ นหน้ า โดยบริษัทฯ ได้ ใช้ เงินสดดัง กล่าวบางส่วนรวมกับเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในการสนับสนุน การพัฒนาโครงการโรงแรมใหม่ทกี� าํ ลังพัฒนา ณ สิ �นปี 2561 บริษทั ฯ มียอดเงินสดคงเหลือจํานวน 1,051 ล้านบาท และมีอตั ราส่วนความ สามารถในการชําระดอกเบี �ยอยูท่ ี� 5.0 เท่า อยูใ่ นระดับใกล้ เคียงกับ ปี 2560

78

ป 2560

ป 2561

5.0 1.7

5.0 1.7

ณ สิ �นปี 2561 บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพย์รวม 16,949 ล้านบาท เพิม� ขึ �นจาก ณ สิ �นปี 2560 ซึง� อยูท่ ี� 16,048 ล้ านบาท จากการเพิม� ขึ �นของทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์ซงึ� เป็นผลมาจากการขยายโรงแรมใหม่ และมีหนี �สิน รวม 11,240 ล้ านบาท เพิม� ขึ �นจาก 10,645 ล้ านบาท จากการเพิม� ขึ �นเงินกู้ระยะยาวเพื�อสนับสนุนการพัฒนาโครงการใหม่ บริ ษัทฯ มีสว่ นของผู้ถือหุ้น 5,709 ล้ านบาท เพิ�มขึ �นจาก 5,403 ล้ านบาท ณ สิ �นปี 2560 อัตราส่วนหนี �สินทีม� ภี าระดอกเบี �ยต่อส่วนของผู้ถอื หุ้น อยูท่ รี� ะดับ 1.7 เท่า ใกล้เคียงกับ ณ สิ �นปี 2560


Independent Auditor’s Report รายงานของผู สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถอื หุ้นบริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) ความเห็น

เรื� องสําคัญในการตรวจสอบ

ข้ าพเจ้ าได้ ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริษทั ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย (กลุม่ บริษทั ) และของเฉพาะบริ ษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) (บริ ษัท) ตามลําดับ ซึง� ประกอบด้ วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดง ฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 งบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการ เปลีย� นแปลงส่วนของผู้ถอื หุ้นรวมและงบแสดงการเปลีย� นแปลงส่วนของ ผู้ถอื หุ้นเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสด เฉพาะกิจการ สําหรับปีสิ �นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุซงึ� ประกอบ ด้วยสรุปนโยบายการบัญชีทสี� าํ คัญและเรื�องอืน� ๆ

เรื� องสําคัญในการตรวจสอบคือเรื� องต่างๆ ที�มีนยั สําคัญที�สดุ ตาม ดุลยพินจิ เยีย� งผู้ประกอบวิชาชีพของข้ าพเจ้ าในการตรวจสอบงบการ เงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับงวดปัจจุบนั ข้ าพเจ้ าได้นาํ เรื�องเหล่านี �มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทังนี � �ข้ าพเจ้ าไม่ได้ แสดงความเห็นแยกต่างหากสําหรับเรื�องเหล่านี �

ข้ าพเจ้ าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้ างต้ นนี � แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของกลุม่ บริษทั และบริษทั ตามลําดับ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 ผลการดําเนินงานรวม และผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแส เงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปี สิ �นสุดวันเดียวกันโดยถูกต้ องตามทีค� วร ในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บัติ ง านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญ ชี ความรับผิดชอบของข้ าพเจ้ าได้ กล่าวไว้ ในวรรค ความรับผิดชอบของ ผู้สอบบัญชีตอ่ การตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระจากกลุม่ บริษทั และบริษัทตามข้ อกําหนดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ที�กําหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่วนที�เกี�ยวข้ องกับการตรวจสอบ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ และข้ าพเจ้ าได้ปฏิบตั ติ าม ความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอืน� ๆ ซึง� เป็นไปตามข้อกําหนดเหล่านี � ข้ าพเจ้ าเชื�อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที�ข้าพเจ้ าได้ รับเพียงพอและ เหมาะสมเพือ� ใช้ เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้ าพเจ้ า

มูลค่ าของที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ เงินลงทุนในบริษัทร่ วม และเงินลงทุนในบริษัทย่ อย อ้ างอิงถึงหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้ อ 2 (ง) 3 (ญ) 9 10 และ 13 เรื� องสําคัญในการตรวจสอบ เพือ� ตอบสนองต่อกลยุทธ์การเติบโตทางธุรกิจ กลุม่ บริษทั และบริษทั ได้ ขยายและพัฒนาธุรกิจโรงแรมผ่านการลงทุนในทีด� นิ อาคาร และ อุปกรณ์ เงินลงทุนในบริษทั ร่วมและเงินลงทุนในบริษทั ย่อยซึง� ประกอบ กิจการโรงแรม ทังนี � �โรงแรมบางแห่งมีผลการดําเนินการไม่เป็ นไปตาม ทีค� าดหวังเริ�มแรก ซึง� เป็นข้ อบ่งชี �ของการด้ อยค่าของโรงแรมดังกล่าว กลุม่ บริษทั และบริษทั มีการดําเนินธุรกิจโรงแรมหลายแห่ง มูลค่าทีค� าดว่า จะได้รบั คืนของโรงแรมแต่ละแห่งถูกกําหนดโดยวิธมี ลู ค่าจากการใช้ มูลค่า จากการใช้ดงั กล่าวได้มาจากการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคต ซึง� ผู้บริหาร ได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในข้อสมมติสาํ คัญเนือ� งจากเรือ� งดังกล่าวเกีย� วข้องกับการใช้ ดุลยพินจิ อย่างมาก จึงเป็นเรือ� งทีข� ้าพเจ้าให้ความสําคัญในการตรวจสอบ ได้ ตรวจสอบเรื� องดังกล่ าวอย่ างไร วิธกี ารตรวจสอบของข้ าพเจ้ ารวมถึง การประเมินกระบวนการการระบุการด้อยค่าทีอ� าจเกิดขึ �นและทําความ เข้าใจกระบวนการทดสอบการด้อยค่าและประมาณมูลค่าทีค� าดว่าจะ ได้ รบั คืนของผู้บริหาร

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

79


สําหรับโรงแรมทีม� ขี ้อบ่งชี �ของการด้อยค่า ข้าพเจ้าได้รบั ข้อมูลเกีย� วกับ การคิดลดกระแสเงินสดในอนาคต และได้สอบถามผู้บริหารและทดสอบ ความถูกต้องของการคํานวณ และพิจารณาความเหมาะสมของข้อสมมติ ทีส� าํ คัญ โดยการเปรียบเทียบกับข้อมูลในอดีตและแผนการดําเนินงาน ของกลุม่ บริษทั และบริษทั รวมถึงข้อมูลภายนอกในอุตสาหกรรมเดียวกัน

ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้บริ หาร รับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุม่ บริ ษัทและบริ ษัท ในการดําเนินงานต่อเนือ� ง เปิดเผยเรื�องทีเ� กีย� วกับการดําเนินงานต่อเนือ� ง (ตามความเหมาะสม) และการใช้ เกณฑ์การบัญชีสาํ หรับการดําเนิน งานต่อเนือ� งเว้นแต่ผ้บู ริหารมีความตังใจที � จ� ะเลิกกลุม่ บริษทั และบริษทั หรือหยุดดําเนินงานหรือไม่สามารถดําเนินงานต่อเนือ� งต่อไปได้

นอกจากนี �ข้ าพเจ้ าได้ พจิ ารณาความเพียงพอของการเปิ ดเผยข้ อมูล ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้มหี น้ าทีใ� นการกํากับดูแลมีหน้ าทีใ� นการสอดส่องดูแลกระบวนการ ในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุม่ บริษทั และบริษทั ข้ อมูลอื�น ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รบั ผิดชอบต่อข้ อมูลอืน� ข้ อมูลอืน� ประกอบด้วยข้ อมูลซึง� รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ รวมอยูใ่ นรายงานประจําปี แต่ไม่รวมถึงงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการและรายงานของผู้สอบบัญชีที�อยู่ในรายงานนันซึ � ง� การตรวจสอบของข้ าพเจ้ ามีวตั ถุประสงค์เพือ� ให้ ได้ ความเชือ� มัน� อย่าง คาดว่ารายงานประจําปี จะถูกจัดเตรี ยมให้ ข้าพเจ้ าภายหลังวันที� สมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี � ปราศจากการแสดงข้อมูลทีข� ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญหรือไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด และเสนอรายงานของ ความเห็นของข้ าพเจ้ าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้สอบบัญชีซงึ� รวมความเห็นของข้ าพเจ้ าอยูด่ ้ วย ความเชือ� มัน� อย่าง ไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอืน� และข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชือ� มัน� ต่อข้อมูลอืน� สมเหตุสมผลคือความเชือ� มัน� ในระดับสูงแต่ไม่ได้ เป็ นการรับประกัน ว่าการปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถ ความรับผิดชอบของข้ าพเจ้ าทีเ� กีย� วเนือ� งกับการตรวจสอบงบการเงิน ตรวจพบข้อมูลทีข� ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญทีม� อี ยูไ่ ด้เสมอไป รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ คือ การอ่านข้ อมูลอืน� ตามทีร� ะบุข้าง ข้ อมูลทีข� ดั ต่อข้ อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือข้ อผิดพลาดและ ต้ นเมือ� จัดทําแล้ ว และพิจารณาว่าข้ อมูลอืน� มีความขัดแย้ งทีม� สี าระ ถือว่ามีสาระสําคัญเมือ� คาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุสมผลว่ารายการ สําคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการหรือกับความรู้ ทีข� ดั ต่อข้ อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการ ทีไ� ด้ รบั จากการตรวจสอบของข้ าพเจ้ า หรือปรากฏว่าข้ อมูลอืน� มีการ ตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินจากการใช้งบการเงินรวมและ แสดงข้ อมูลทีข� ดั ต่อข้ อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญหรือไม่ งบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี � เมือ� ข้ าพเจ้ าได้อา่ นรายงานประจําปี หากข้ าพเจ้ าสรุปได้วา่ มีการแสดง ในการตรวจสอบของข้ าพเจ้ าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้ าพเจ้ าได้ ข้ อมูลทีข� ดั ต่อข้ อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญ ข้ าพเจ้ าต้ องสือ� สารเรื�อง ใช้ดลุ ยพินจิ และการสังเกตและสงสัยเยีย� งผู้ประกอบวิชาชีพตลอดการ ดังกล่าวกับผู้มหี น้ าทีใ� นการกํากับดูแลและขอให้ ทาํ การแก้ ไข ตรวจสอบ การปฏิบตั งิ านของข้ าพเจ้ ารวมถึง • ระบุและประเมินความเสีย� งจากการแสดงข้ อมูลทีข� ดั ต่อข้ อเท็จจริง ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มหี น้ าที�ในการกํากับดูแล อันเป็ นสาระสําคัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ต่ องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั งิ าน ตามวิธกี ารตรวจสอบเพือ� ตอบสนองต่อความเสีย� งเหล่านัน� และได้ ผู้บริ หารมีหน้ าที�รับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน หลักฐานการสอบบัญชีทเี� พียงพอและเหมาะสมเพือ� เป็ นเกณฑ์ใน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี �โดยถูกต้ องตามที�ควรตาม การแสดงความเห็นของข้ าพเจ้ า ความเสีย� งทีไ� ม่พบข้ อมูลทีข� ดั ต่อ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกีย� วกับการควบคุม ข้ อเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญซึง� เป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่า ภายในทีผ� ้ บู ริหารพิจารณาว่าจําเป็ นเพือ� ให้ สามารถจัดทํางบการเงิน ความเสีย� งทีเ� กิดจากข้ อผิดพลาดเนือ� งจากการทุจริตอาจเกีย� วกับ รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการทีป� ราศจากการแสดงข้ อมูลทีข� ดั ต่อ การสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตังใจละเว้ � น ข้ อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้ อผิด การแสดงข้ อมูล การแสดงข้ อมูลทีไ� ม่ตรงตามข้ อเท็จจริงหรือการ พลาด แทรกแซงการควบคุมภายใน

80


• ทํ า ความเข้ า ใจในระบบการควบคุม ภายในที� เ กี� ย วข้ อ งกับ การตรวจสอบ เพื�อออกแบบวิธีการตรวจสอบที�เหมาะสมกับ สถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพือ� วัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อ ความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุม่ บริษทั และบริษทั • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที�ผ้ บู ริหารใช้ และ ความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและการเปิ ดเผย ข้ อมูลทีเ� กีย� วข้ องซึง� จัดทําขึ �นโดยผู้บริหาร • สรุปเกีย� วกับความเหมาะสมของการใช้ เกณฑ์การบัญชีสาํ หรับการ ดําเนินงานต่อเนือ� งของผู้บริหารและจากหลักฐานการสอบบัญชีทไี� ด้รบั สรุปว่ามีความไม่แน่นอนทีม� สี าระสําคัญทีเ� กีย� วกับเหตุการณ์หรือ สถานการณ์ทอี� าจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนยั สําคัญต่อความ สามารถของกลุม่ บริษทั และบริษทั ในการดําเนินงานต่อเนือ� งหรือไม่ ถ้ าข้ าพเจ้ าได้ ข้อสรุปว่ามีความไม่แน่นอนทีม� สี าระสําคัญ ข้ าพเจ้ า ต้องกล่าวไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้ าโดยให้ข้อสังเกต ถึงการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที� เกีย� วข้ อง หรือถ้ าการเปิ ดเผยข้ อมูลดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็น ของข้ าพเจ้ าจะเปลีย� นแปลงไป ข้ อสรุปของข้ าพเจ้ าขึ �นอยูก่ บั หลัก ฐานการสอบบัญชีทไี� ด้รบั จนถึงวันทีใ� นรายงานของผู้สอบบัญชีของ ข้ าพเจ้ า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจ เป็ นเหตุให้ กลุม่ บริษทั และบริษทั ต้ องหยุดการดําเนินงานต่อเนือ� ง • ประเมินการนําเสนอโครงสร้ างและเนื �อหาของงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้ อมูลว่างบการ เงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการและเหตุการณ์ ในรูปแบบทีท� าํ ให้ มกี ารนําเสนอข้ อมูลโดยถูกต้ องตามทีค� วรหรือไม่ • ได้ รับหลักฐานการสอบบัญชีที�เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี�ยวกับ ข้ อมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุม่ หรื อกิจกรรมทางธุรกิจ ภายในกลุม่ บริษทั เพือ� แสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้ าพเจ้ า รับผิดชอบต่อการกําหนดแนวทางการควบคุมดูแล และการปฏิบตั ิ งานตรวจสอบกลุม่ บริษทั ข้ าพเจ้ าเป็ นผู้รบั ผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว ต่อความเห็นของข้ าพเจ้ า

ข้ าพเจ้ าได้สอื� สารกับผู้มหี น้ าทีใ� นการกํากับดูแลในเรื�องต่าง ๆ ทีส� าํ คัญ ซึง� รวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามทีไ� ด้ วางแผนไว้ ประเด็นทีม� นี ยั สําคัญทีพ� บจากการตรวจสอบรวมถึงข้ อบกพร่องทีม� ี นัยสําคัญในระบบการควบคุมภายในหากข้ าพเจ้ าได้ พบในระหว่าง การตรวจสอบของข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าได้ ให้ คํารับรองแก่ผ้ มู ีหน้ าที�ในการกํากับดูแลว่าข้ าพเจ้ า ได้ ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดจรรยาบรรณทีเ� กี�ยวข้ องกับความเป็ นอิสระ และได้ สอื� สารกับผู้มีหน้ าที�ในการกํากับดูแลเกี�ยวกับความสัมพันธ์ ทังหมดตลอดจนเรื � �องอืน� ซึง� ข้ าพเจ้ าเชือ� ว่ามีเหตุผลทีบ� คุ คลภายนอก อาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้ าพเจ้ าและมาตรการ ทีข� ้ าพเจ้ าใช้ เพือ� ป้องกันไม่ให้ ข้าพเจ้ าขาดความเป็ นอิสระ จากเรื�องทีส� อื� สารกับผู้มหี น้ าทีใ� นการกํากับดูแล ข้ าพเจ้ าได้ พจิ ารณา เรื� องต่าง ๆ ที�มีนยั สําคัญที�สดุ ในการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปัจจุบนั และกําหนดเป็ นเรื�องสําคัญ ในการตรวจสอบ ข้ าพเจ้ าได้ อธิบายเรื�องเหล่านี �ในรายงานของผู้สอบ บัญชีเว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับไม่ให้เปิดเผยต่อสาธารณะเกีย� วกับ เรื�องดังกล่าว หรือในสถานการณ์ทยี� ากทีจ� ะเกิดขึ �น ข้ าพเจ้ าพิจารณา ว่าไม่ควรสือ� สารเรื�องดังกล่าวในรายงานของข้ าพเจ้ าเพราะการกระทํา ดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุผลว่าจะมีผลกระทบใน ทางลบมากกว่าผลประโยชน์ตอ่ ส่วนได้ เสียสาธารณะจากการสือ� สาร ดังกล่าว

(วิไลวรรณ ผลประเสริฐ) ผู้สอบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 8420 บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 26 กุมภาพันธ์ 2562

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

81


Audit fee ค าตอบแทนของผู สอบบัญชี ค่าตอบแทนแก่ผ้ สู อบบัญชี รอบปี บญ ั ชี สิ �นสุด วันที� 31 ธันวาคม 2561 1) ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี บริ ษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด รวม 7,737,000 บาท แบ่งเป็ น • ค่าสอบบัญชีของบริษทั ฯ เป็นเงิน 2,947,000 บาท (ไม่รวมค่าใช้จา่ ยในการปฏิบตั งิ านนอกเขตกรุงเทพฯ และค่าใช้จา่ ยอืน� ทีเ� กีย� วข้อง) สูงกว่าปี กอ่ น 260,000 บาท หรือเพิม� ขึ �นประมาณร้ อยละ 9.68 (ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีประจําปี 2560 เป็ นเงิน 2,687,000 บาท) • ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชีของบริ ษัทย่อยในประเทศเป็ นเงิน 2,730,000 บาท • ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชีของบริ ษัทย่อยในต่างประเทศเป็ นเงิน 2,060,000 บาท 2) ค่าบริ การอื�น -ไม่มี-

82


งบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบการเงินรวม 31 ธันวาคม สินทรั พย์

หมายเหตุ

2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม

2560

2561

2560

(บาท) สินทรั พย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

5

1,051,289,657

1,076,975,887

199,697,964

253,445,888

ลูกหนี �การค้ า

4, 6

205,311,187

217,610,134

100,919,563

99,266,021

สินค้ าคงเหลือ

7

55,434,252

56,830,065

11,527,582

11,602,501

146,799,452

128,775,953

101,106,833

92,478,705

42,925,418

43,349,376

1,559,941,381

1,572,670,744

355,070,527

407,663,786

92,336,571

109,475,093

308,706,127

322,167,211

4,159,459,686

3,607,959,686

610,561

844,082

ภาษี มลู ค่าเพิ�มรอเรี ยกคืน สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น

4, 8

รวมสินทรั พย์ หมุนเวียน

-

-

สินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษัทร่วม

9

เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย

10

-

เงินลงทุนระยะยาวอื�น

11

746,519

4

-

-

1,304,214,688

1,765,392,334

ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์

13

13,505,201,492

12,567,565,969

7,414,121,962

6,710,071,750

ที�ดนิ รอการพัฒนา

14

104,236,832

104,236,832

สิทธิการเช่าที�ดนิ และอาคาร

15

1,365,629,084

1,406,161,076

683,239,144

726,401,952

สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน

16

39,385,892

34,279,141

16,422,606

15,133,348

148,129,904

140,092,267

101,773,430

100,027,075

1,058,558

เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาว แก่กิจการที�เกี�ยวข้ องกัน

-

-

เงินมัดจําการเช่าที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี

17

12,849,094

13,362,927

9,809,109

9,383,735

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น

18

120,235,675

98,792,435

47,858,623

35,185,011

รวมสินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน

15,388,751,063

14,475,024,298

14,046,215,936

13,292,566,184

รวมสินทรั พย์

16,948,692,444

16,047,695,042

14,401,286,463

13,700,229,970

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี �

83


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ)

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบการเงินรวม 31 ธันวาคม หนีส� ินและส่ วนของผู้ถอื หุ้น

หมายเหตุ

2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม

2560

2561

2560

(บาท) หนี�สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั � นการเงิน เจ้ าหนี �การค้ า

19

749,000,000

1,095,000,000

749,000,000

1,095,000,000

4, 20

224,887,424

279,507,797

102,813,583

137,202,481

19

1,524,545,735

915,150,695

842,835,895

564,704,270

19

906,727

1,215,245

906,727

1,215,245

65,512,211

76,001,601

22,744,967

39,508,707

974,975,575

850,934,449

510,717,767

424,125,423

3,539,827,672

3,217,809,787

2,229,018,939

2,261,756,126

176,344,562

140,589,731

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึง� ปี หนี �สินตามสัญญาเช่าการเงิน ส่วนที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึง� ปี ภาษี เงินได้ ค้างจ่าย หนี �สินหมุนเวียนอื�น รวมหนี�สินหมุนเวียน

4, 21

หนี�สินไม่ หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว จากกิจการที�เกี�ยวข้ องกัน

4, 19

-

-

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

19

7,329,100,774

7,056,439,414

4,784,556,982

4,257,692,877

หนี �สินตามสัญญาเช่าการเงิน

19

1,694,231

1,617,297

1,694,231

1,617,297

180,000,000

180,000,000

180,000,000

180,000,000

45,889,791

42,679,157

43,404,321

41,077,814

10,289,157

12,313,253

เจ้ าหนี �ค่าสิทธิการเช่าที�ดนิ เงินมัดจํารับจากผู้เช่า รายได้ รอตัดบัญชี

22

10,289,157

12,313,253

หนี �สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี

17

50,798,571

47,204,116

ประมาณการหนี �สินสําหรับผลประโยชน์พนักงาน รวมหนี�สินไม่ หมุนเวียน

23

82,665,932

86,599,861

44,772,086

42,431,277

7,700,438,456

7,426,853,098

5,241,061,339

4,675,722,249

11,240,266,128

10,644,662,885

7,470,080,278

6,937,478,375

รวมหนี�สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี �

84

-

-


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ)

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบการเงินรวม 31 ธันวาคม หนีส� ินและส่ วนของผู้ถอื หุ้น

หมายเหตุ

2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม

2560

2561

2560

(บาท) ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุ้น

24

ทุนจดทะเบียน

2,537,893,275

2,537,893,275

2,537,893,275

2,537,893,275

ทุนที�ออกและชําระแล้ ว

2,507,715,910

2,500,893,275

2,507,715,910

2,500,893,275

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

24

871,840,883

846,265,204

871,840,883

846,265,204

สิทธิซื �อหุ้นที�ออกให้ พนักงาน

24

15,232,789

11,410,359

15,232,789

11,410,359

25

253,273,000

235,558,000

253,273,000

235,558,000

2,034,593,417

1,729,896,305

3,283,002,204

3,168,322,871

องค์ประกอบอื�นของส่วนของผู้ถือหุ้น

(139,541,361)

(88,002,976)

141,399

301,886

รวมส่ วนของบริษัทใหญ่

5,543,114,638

5,236,020,167

6,931,206,185

6,762,751,595

165,311,678

167,011,990

5,708,426,316

5,403,032,157

6,931,206,185

6,762,751,595

16,948,692,444

16,047,695,042

14,401,286,463

13,700,229,970

กําไรสะสม จัดสรรแล้ ว ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร

ส่วนได้ เสียที�ไม่มีอํานาจควบคุม

12

รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส� ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

-

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี �

85


งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบการเงินรวม สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม

หมายเหตุ

2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม

2560

2561

2560

(บาท) รายได้ รายได้ จากการประกอบกิจการโรงแรม รายได้ จากค่าเช่าห้ องในอาคารและค่าบริ การ รายได้ จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ เงินปั นผลรับ ดอกเบี �ยรับ รายได้ อื�น รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้ นทุนจากการประกอบกิจการโรงแรม ต้ นทุนจากการให้ เช่าห้ องในอาคารและค่าบริ การ ต้ นทุนจากการขายอสังหาริ มทรัพย์ ค่าเสื�อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าใช้ จา่ ยในการขาย ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร ขาดทุนจากการด้ อยค่าของเงินลงทุน ต้ นทุนทางการเงิน รวมค่ าใช้ จ่าย ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริ ษัทร่วม

4 4

6,022,102,098 234,268,494 3,800,000 7,761,729 39,743,371 6,307,675,692

5,773,116,967 222,509,991 6,702,257 48,126,727 6,050,455,942

2,851,869,601 2,853,128,405 163,430,476 158,275,217 163,668,225 134,828,541 66,378,190 82,622,040 43,351,960 46,191,937 3,288,698,452 3,275,046,140

2,728,883,601 83,950,586 2,323,931 775,935,926 357,310,178 1,238,049,762 360,336,075 5,546,790,059

2,549,629,655 86,011,597 738,422,891 347,798,235 1,223,263,801 343,671,564 5,288,797,743

1,251,384,307 1,204,121,383 44,587,764 46,445,477 370,683,630 367,852,304 180,847,482 176,105,068 656,353,933 650,480,603 118,500,000 1,264,600,000 237,375,383 230,307,942 2,859,732,499 3,939,912,777

9

(3,677,438)

(24,474,322)

33

757,208,195 (164,021,822) 593,186,373

737,183,877 (172,167,057) 565,016,820

4 4 4, 27

4 4

28 4, 29 9, 10 4, 32

กําไร (ขาดทุน) ก่ อนภาษีเงินได้ ค่าใช้ จา่ ยภาษี เงินได้ กําไร (ขาดทุน) สําหรั บปี

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี �

86

-

-

428,965,953 (664,866,637) (74,695,061) (92,778,354) 354,270,892 (757,644,991)


งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่ อ)

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบการเงินรวม สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม หมายเหตุ

2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม

2560

2561

2560

(บาท) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น รายการทีอ� าจถูกจัดประเภทใหม่ ไว้ ในกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนจากการแปลงค่างบการเงิน ผลกําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื�อขาย รวมรายการที�อาจถูกจัดประเภทใหม่ ไว้ ในกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง

(51,323,661) (214,724)

(61,856,045) 479,940

(160,487)

388,948

(51,538,385)

(61,376,105)

(160,487)

388,948

15,504,320

-

4,464,200

-

(892,840)

-

รายการทีจ� ะไม่ ถูกจัดประเภทใหม่ ไว้ ในกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง ผลกําไรจากการวัดมูลค่าใหม่ ของผลประโยชน์พนักงานที�กําหนดไว้ 23 ภาษี เงินได้ เกี�ยวกับองค์ประกอบของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น 17, 33 รวมรายการที�จะไม่ ถูกจัดประเภทใหม่ ไว้ ในกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื�นสําหรั บปี - สุทธิจากภาษีเงินได้ กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรั บปี

(3,100,864)

-

12,403,456 (39,134,929) 554,051,444

(61,376,105) 503,640,715

3,571,360 3,410,873 388,948 357,681,765 (757,256,043)

การแบ่ งปั นกําไร (ขาดทุน) ส่วนที�เป็ นของบริ ษัทใหญ่ ส่วนที�เป็ นของส่วนได้ เสียที�ไม่มีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) สําหรั บปี

12

536,305,644 56,880,729 593,186,373

505,571,771 59,445,049 565,016,820

354,270,892 (757,644,991) 354,270,892 (757,644,991)

12

496,321,646 57,729,798 554,051,444

444,195,666 59,445,049 503,640,715

357,681,765 (757,256,043) 357,681,765 (757,256,043)

0.2141 0.2127

0.2022 0.2012

การแบ่ งปั นกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ส่วนที�เป็ นของบริ ษัทใหญ่ ส่วนที�เป็ นของส่วนได้ เสียที�ไม่มีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรั บปี กําไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้น (บาท) กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขันพื � �นฐาน กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลด

34

0.1414 0.1405

(0.3031) (0.3016)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี �

87


88 ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น สามัญ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี �

โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561

กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรั บปี กําไร กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื�น รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรั บปี 25

รายการกับผู้ถอื หุ้นที�บนั ทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนทีไ� ด้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถอื หุ้น สิทธิซื �อหุ้นที�ออกให้ พนักงาน 24 เงินปั นผลให้ ผ้ ถู ือหุ้นของบริ ษัท 35 รวมเงินทุนที�ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถือหุ้น -

25,575,679 25,575,679 -

3,822,430 3,822,430

-

-

536,305,644 11,554,387 547,860,031

(225,447,919) (225,447,919)

(51,323,661) (51,323,661)

-

(88,478,015)

(61,856,045) (61,856,045) (88,478,015)

-

(26,621,970)

260,315

(214,724) (214,724)

-

475,039

479,940 479,940 475,039

-

(4,901)

(139,541,361)

(51,538,385) (51,538,385)

-

(88,002,976)

(61,376,105) (61,376,105) (88,002,976)

-

(26,626,871)

5,543,114,638

536,305,644 (39,983,998) 496,321,646

36,220,744 (225,447,919) (189,227,175)

5,236,020,167

505,571,771 (61,376,105) 444,195,666 5,236,020,167

23,895,975 (149,993,435) (126,097,460)

4,917,921,961

165,311,678

56,880,729 849,069 57,729,798

(59,430,110) (59,430,110)

167,011,990

59,445,049 59,445,049 167,011,990

(47,065,287) (47,065,287)

154,632,228

5,708,426,316

593,186,373 (39,134,929) 554,051,444

36,220,744 (284,878,029) (248,657,285)

5,403,032,157

565,016,820 (61,376,105) 503,640,715 5,403,032,157

23,895,975 (197,058,722) (173,162,747)

5,072,554,189

งบการเงินรวม องค์ประกอบอื�นของส่วนของผู้ถอื หุ้น รวม ส่วนของ การแปลงค่า องค์ประกอบอื�น รวมส่วน ส่วนได้เสียที� หน่ วยงาน เงินลงทุน ของ ของผู้ถอื หุ้น ไม่มอี าํ นาจ รวมส่วน ต่างประเทศ เผื�อขาย ส่วนของผู้ถอื หุ้น ของบริษทั ใหญ่ ควบคุม ของผู้ถอื หุ้น (บาท)

17,715,000 (17,715,000) 2,507,715,910 871,840,883 15,232,789 253,273,000 2,034,593,417 (139,801,676)

-

6,822,635 6,822,635

2,500,893,275 846,265,204 11,410,359 235,558,000 1,729,896,305

(149,993,435) (149,993,435)

สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม 2561 ยอดคงเหลือ ณ วันที� 1 มกราคม 2561

-

235,558,000 1,374,317,969

ยังไม่ได้ จัดสรร

505,571,771 505,571,771 2,500,893,275 846,265,204 11,410,359 235,558,000 1,729,896,305

9,765,616 11,410,359 9,765,616 11,410,359

-

สิทธิซอหุ ื � ้น ทุนสํารอง ตาม ที�ออกให้ พนักงาน กฎหมาย

กําไรสะสม

กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรั บปี กําไร กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื�น รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรั บปี ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560

2,720,000 2,720,000

2,498,173,275 836,499,588

ทุนเรือนหุ้น ที�ออกและ หมายเหตุ ชําระแล้ว

รายการกับผู้ถอื หุ้นที�บนั ทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนทีไ� ด้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถอื หุ้น สิทธิซื �อหุ้นที�ออกให้ พนักงาน 24 เงินปั นผลให้ ผ้ ถู ือหุ้นของบริ ษัท 35 รวมเงินทุนที�ได้ รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถือหุ้น

สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันที� 1 มกราคม 2560

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น


89

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี �

2,507,715,910

25

โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561

6,822,635 6,822,635 -

24 35

กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรั บปี กําไร กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื�น รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรั บปี

รายการกับผู้ถือหุ้นที�บนั ทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถอื หุ้น เงินทุนทีไ� ด้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถอื หุ้น สิทธิซื �อหุ้นที�ออกให้ พนักงาน เงินปั นผลให้ ผ้ ถู ือหุ้นของบริ ษัท รวมเงินทุนทีไ� ด้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถอื หุ้น

2,500,893,275

สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม 2561 ยอดคงเหลือ ณ วันที� 1 มกราคม 2561

2,720,000 2,720,000

2,498,173,275

2,500,893,275

24 35

หมายเหตุ

ทุนเรือนหุ้น ที�ออกและ ชําระแล้ว

กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรั บปี ขาดทุน กําไรเบ็ดเสร็ จอื�น รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรั บปี ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560

รายการกับผู้ถอื หุ้นที�บนั ทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนทีไ� ด้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถอื หุ้น สิทธิซื �อหุ้นที�ออกให้ พนักงาน เงินปั นผลให้ ผ้ ถู ือหุ้นของบริ ษัท รวมเงินทุนทีไ� ด้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถอื หุ้น

สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันที� 1 มกราคม 2560

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น (ต่ อ)

871,840,883

-

25,575,679 25,575,679

846,265,204

846,265,204

9,765,616 9,765,616

836,499,588

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น สามัญ

15,232,789

-

3,822,430 3,822,430

11,410,359

11,410,359

11,410,359 11,410,359

-

สิทธิซอหุ ื � ้น ที�ออกให้ พนักงาน

17,715,000 253,273,000

-

-

235,558,000

235,558,000

-

235,558,000

ทุนสํารอง ตามกฎหมาย (บาท)

ยังไม่ได้ จัดสรร

(17,715,000) 3,283,002,204

354,270,892 3,571,360 357,842,252

(225,447,919) (225,447,919)

3,168,322,871

(757,644,991) (757,644,991) 3,168,322,871

(149,993,435) (149,993,435)

4,075,961,297

กําไรสะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

141,399

(160,487) (160,487)

-

301,886

388,948 388,948 301,886

-

(87,062)

เงินลงทุน เผื�อขาย

องค์ประกอบอื�นของ ส่วนของผู้ถอื หุ้น

6,931,206,185

354,270,892 3,410,873 357,681,765

36,220,744 (225,447,919) (189,227,175)

6,762,751,595

(757,644,991) 388,948 (757,256,043) 6,762,751,595

23,895,975 (149,993,435) (126,097,460)

7,646,105,098

รวม ส่วนของผู้ถอื หุ้น


งบกระแสเงินสด

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบการเงินรวม สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม 2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม

2560

2561

2560

(บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับปี

593,186,373

565,016,820

354,270,892

(757,644,991)

ภาษี เงินได้

164,021,822

172,167,057

74,695,061

92,778,354

ต้ นทุนทางการเงิน

360,336,075

343,671,564

237,375,383

230,307,942

ค่าเสื�อมราคาและค่าตัดจําหน่าย

775,935,926

738,422,891

370,683,630

367,852,304

ประมาณการหนี �สินสําหรับผลประโยชน์พนักงาน

14,266,845

13,438,274

7,784,881

7,555,888

การจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์

11,095,095

14,103,975

11,095,095

14,103,975

3,677,438

24,474,322

ปรับรายการทีก� ระทบกําไร (ขาดทุน) เป็ นเงิ นสดรับ (จ่าย)

ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริ ษัทร่วม ขาดทุนจากการด้ อยค่าของเงินลงทุน กลับรายการหนี �สงสัยจะสูญ

-

-

(825,787)

(392,728)

(กลับรายการ) ขาดทุนจากการปรับมูลค่าสินค้ าคงเหลือ

(2,250,300)

2,250,300

(กําไร) ขาดทุนจากการจําหน่ายอาคารและอุปกรณ์

(2,071,131)

1,978,658

377,817

698,618

(2,769,856)

(2,273,082)

ผลขาดทุนจากภาษี เงินได้ หกั ณ ที�จา่ ยที�เรี ยกคืนไม่ได้ รับรู้เงินมัดจําและรายได้ รอการตัดบัญชีเป็ นรายได้ เงินปั นผลรับ ดอกเบี �ยรับ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี �

90

-

-

118,500,000

1,264,600,000

(636,230)

(130,089)

(1,696,697) -

(933,656) -

(2,700,146)

(2,154,162)

(163,668,225)

(134,828,541)

(6,702,257)

(66,378,190)

(82,622,040)

1,907,218,588 1,866,854,412

939,325,454

998,884,984

(7,761,729)

-


งบกระแสเงินสด (ต่ อ)

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบการเงินรวม สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม 2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม

2560

2561

2560

(บาท) การเปลีย� นแปลงในสิ นทรัพย์และหนีส� ิ นดําเนิ นงาน ลูกหนี �การค้ า สินค้ าคงเหลือ ภาษี มลู ค่าเพิ�มรอเรี ยกคืน สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น เงินมัดจําการเช่าที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น เจ้ าหนี �การค้ า จ่ายผลประโยชน์พนักงาน หนี �สินหมุนเวียนอื�น เงินมัดจํารับจากผู้เช่า กระแสเงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมดําเนินงาน จ่ายภาษี เงินได้ กระแสเงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมดําเนินงาน

12,983,821 (14,948,662) 3,640,611 (5,848,994) (22,249,226) (45,936,320) (9,071,067) 1,343,165 (10,063,530) (14,056,673) (24,106,435) (29,967,554) (54,666,886) 27,156,306 (2,696,454) (12,479,292) 112,900,680 47,125,617 3,965,775 3,405,123 1,917,855,877 1,822,647,128 (174,038,686) (142,684,274) 1,743,817,191 1,679,962,854

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนในบริ ษัทร่วม เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย เงินลงทุนระยะยาวอื�น เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาวแก่กิจการที�เกี�ยวข้ องกัน เงินสดรับชําระคืนเงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาวแก่กิจการที�เกี�ยวข้ องกัน เงินสดจ่ายเพื�อซื �อที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื�อซื �อสิทธิการเช่าที�ดนิ และอาคาร เงินสดจ่ายเพื�อซื �อสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดรับจากการจําหน่ายอาคารและอุปกรณ์ เงินปั นผลรับ ดอกเบี �ยรับ กระแสเงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน

13,461,084 15,912,396 13,461,084 15,912,396 (670,000,000) (429,600,000) 97,315 802,799 73,034 602,499 (528,121,050) (1,124,742,046) 988,990,115 782,825,702 (1,634,756,024) (1,498,215,140) (1,014,425,449) (531,880,943) (35,616,548) (21,202,613) (17,167,885) (12,670,915) (6,884,877) (2,491,864) 5,814,876 3,713,444 4,835,053 2,258,631 5,212,560 163,668,225 134,828,541 7,290,064 6,656,167 66,686,771 83,284,132 (1,660,877,118) (1,499,791,302) (981,717,094) (1,069,002,952)

(1,017,312) 1,753,303 74,919 (2,527,514) 423,958 (745,995) (1,746,355) (2,423,254) (12,673,612) 25,258,136 (34,388,898) 7,535,275 (979,872) (9,838,362) 92,717,119 21,886,836 3,002,557 3,315,589 984,737,958 1,043,098,998 (92,777,015) (81,795,737) 891,960,943 961,303,261

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี �

91


งบกระแสเงินสด (ต่ อ)

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบการเงินรวม สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม 2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรั บปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม

2560

2561

2560

(บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั � นการเงิน เงินสดจ่ายเพื�อชําระเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั � นการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสันจากกิ � จการที�เกี�ยวข้ องกัน เงินสดจ่ายเพื�อชําระเงินกู้ยืมระยะสันจากกิ � จการที�เกี�ยวข้ องกัน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที�เกี�ยวข้ องกัน เงินสดจ่ายเพื�อชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที�เกี�ยวข้ องกัน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายเพื�อชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดที�ผ้ เู ช่าจ่ายเพื�อลดจํานวนหนี �สินซึง� เกิดจาก สัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับจากหุ้นทุนที�ออกให้ ตามสิทธิ เงินปั นผลจ่ายให้ ผ้ ถู ือหุ้นของบริ ษัท เงินปั นผลจ่ายให้ สว่ นได้ เสียที�ไม่มีอํานาจควบคุม ต้ นทุนทางการเงิน กระแสเงินสดสุทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิ�มขึน� (ลดลง) สุทธิ ก่ อนผลกระทบของอัตราแลกเปลี�ยน ผลกระทบของอัตราแลกเปลี�ยนที�มีตอ่ เงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิ�มขึน� (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที� 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันที� 31 ธันวาคม รายการทีไ� ม่ ใช่ เงินสด ซื �อยานพาหนะตามสัญญาเช่าการเงิน ซื �ออาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน โดยยังมิได้ ชําระเงิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี �

92

2,121,000,000 2,692,000,000 2,121,000,000 2,692,000,000 (2,467,000,000) (2,779,000,000) (2,467,000,000) (2,779,000,000) 1,391,578,747 1,165,100,720 (1,391,578,747) (1,165,100,720) 118,255,143 98,434,911 (82,563,552) (76,154,349) 1,829,282,079 1,494,645,701 1,371,000,000 1,037,000,000 (929,350,213) (734,727,673) (565,879,500) (405,234,625) (3,340,584) 25,125,649 (225,447,919) (59,430,110) (383,725,072) (92,886,170)

(1,721,905) 9,792,000 (149,993,435) (47,065,287) (362,399,404) 121,529,997

(3,340,584) 25,125,649 (225,447,919) (255,141,010) 36,008,227

(1,721,905) 9,792,000 (149,993,435) (238,747,250) 186,375,347

(9,946,097)

301,701,549

(53,747,924)

78,675,656

(15,740,133) (20,151,143) (25,686,230) 281,550,406 1,076,975,887 795,425,481 1,051,289,657 1,076,975,887

(53,747,924) 253,445,888 199,697,964

78,675,656 174,770,232 253,445,888

3,109,000

1,531,000

3,109,000

1,531,000

126,906,475

123,540,124

83,433,794

90,359,546


หมายเหตุประกอบงบการเง�น บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน) และบร�ษัทย อย หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง� ของงบการเงินนี � งบการเงินนี �ได้ รบั อนุมตั ใิ ห้ ออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมือ� วันที� 26 กุมภาพันธ์ 2562 1

ข้ อมูลทั�วไป บริษทั ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) “บริษทั ” เป็ นนิตบิ คุ คลทีจ� ดั ตังขึ � �นในประเทศไทย และมีทอี� ยูจ่ ดทะเบียนตังอยู � เ่ ลขที� 2 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร บริษทั มีสาํ นักงานสาขา 14 แห่งที� กรุงเทพมหานคร จังหวัดชลบุรี จังหวัดภูเก็ต จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ และจังหวัดกระบี� บริษทั จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมือ� เดือนมิถนุ ายน 2537 บริษทั ดําเนินธุรกิจหลักเกีย� วกับการลงทุนในบริษทั ต่าง ๆ ดําเนินกิจการโรงแรมและให้ เช่าอาคาร รายละเอียดของบริษทั ย่อยและ บริษทั ร่วม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 มีดงั นี � ชื�อกิจการ

บริษทั ย่อยทางตรง บริษทั โรงแรมเอราวัณ จํากัด (มหาชน) บริษทั เอราวัณ เจ้ าพระยา จํากัด บริษทั เอราวัณ ราชดําริ จํากัด บริษทั เอราวัณ ภูเก็ต จํากัด บริษทั เอราวัณ สมุย จํากัด บริษทั เอราวัณ นาคา จํากัด บริษทั เดอะ รีเสิร์ฟ จํากัด บริษทั เอราวัณ คอมเมอร์เชียล เมเนจเม้ นท์ จํากัด บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด บริษทั เอราวัณ โกรท เมเนจเม้ นท์ จํากัด บริษทั ย่อยทางอ้ อม บริษทั โรงแรมเอราวัณ จํากัด (มหาชน) บริษทั เอราวัณ เจ้ าพระยา จํากัด บริษทั ทวีทรัพย์อนันต์ จํากัด Erawan Mauritius Limited Erawan Singapore Pte. Ltd. Erawan Philippines, INC.

ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที� กิจการจัดตัง�

โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม เจ้ าของทีด� นิ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

72.59 95.77 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

72.59 95.77 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

รับบริหารจัดการ โรงแรม โรงแรม

ไทย ไทย ไทย

99.99 99.99 99.99

99.99 99.99 99.99

โรงแรม โรงแรม โรงแรม ลงทุนในบริษทั อืน� ลงทุนในบริษทั อืน� ลงทุนในบริษทั อืน�

ไทย ไทย ไทย มอริเชียส สิงคโปร์ ฟิ ลปิ ปิ นส์

1.05 4.22 99.99 100.00 100.00 99.99

1.05 4.22 99.99 100.00 100.00 99.99

บริษทั ถือหุ้นร้ อยละ 2561 2560

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

93


ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที� กิจการจัดตัง�

บริษทั ถือหุ้นร้ อยละ 2561 2560

Erawan Philippines (Ermita), INC. Erawan Philippines (Makati), INC. Erawan Philippines (Aseana), INC. Erawan Philippines (Alabang), INC. Erawan Philippines (Quezon City), INC. Erawan Philippines (Ortigas), INC. Erawan Philippines (Cebu), INC. PT. Erawan Indonesia Jakarta

โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม

ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ อินโดนีเซีย

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.96

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.96

บริษทั ร่ วม บริษทั ราชประสงค์ ดีเวลลอปเม้ นท์ จํากัด กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เอราวัณ โฮเทล โกรท

ให้ บริการ ลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์

ไทย

48.00

48.00

ไทย

20.00

20.00

ชื�อกิจการ

Erawan Mauritius Limited ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 Erawan Mauritius Limited ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้ อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 27,203,000 หุ้น หุ้นละ 1 ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกาเป็ นจํานวนเงิน 27,203,000 ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา ซึง� บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ถือหุ้นทังหมด � และชําระค่าหุ้นแล้ วจํานวน 27,203,000 ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา ในระหว่างปี 2560 ถึง 2561 มีการเปลีย� นแปลงเงินลงทุนใน Erawan Mauritius Limited ดังนี � เมือ� วันที� 23 มกราคม 2560 Erawan Mauritius Limited ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 2,880,000 หุ้น หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็ นจํานวนเงิน 2,880,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึง� บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ถือหุ้นทังหมดและชํ � าระ ค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้วในวันที� 23 มกราคม 2560 เมือ� วันที� 17 มีนาคม 2560 Erawan Mauritius Limited ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 1,270,000 หุ้น หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็ นจํานวนเงิน 1,270,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึง� บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ถือหุ้นทังหมดและชํ � าระ ค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้วในวันที� 17 มีนาคม 2560 เมือ� วันที� 20 มิถนุ ายน 2560 Erawan Mauritius Limited ได้จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 4,098,000 หุ้น หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็ นจํานวนเงิน 4,098,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึง� บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ถือหุ้นทังหมดและชํ � าระ ค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้วในวันที� 20 มิถนุ ายน 2560 เมือ� วันที� 5 กรกฎาคม 2561 Erawan Mauritius Limited ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 7,715,000 หุ้น หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็ นจํานวนเงิน 7,715,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึง� บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ถือหุ้นทังหมดและชํ � าระ ค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้วในวันที� 5 กรกฎาคม 2561

94


Erawan Singapore Pte. Ltd. ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 Erawan Singapore Pte. Ltd. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้ อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 27,103,000 หุ้น หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็ นจํานวนเงิน 27,103,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึง� Erawan Mauritius Limited ถือหุ้นทังหมด � และชําระค่าหุ้นแล้ วจํานวน 27,103,000 ดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา ในระหว่างปี 2560 ถึง 2561 มีการเปลีย� นแปลงเงินลงทุนใน Erawan Singapore Pte. Ltd. ดังนี � เมือ� วันที� 31 มกราคม 2560 Erawan Singapore Pte. Ltd. ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 2,880,000 หุ้น หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็ นจํานวนเงิน 2,880,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึง� Erawan Mauritius Limited ถือหุ้นทังหมดและ � ชําระค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้วในวันที� 31 มกราคม 2560 เมือ� วันที� 23 มีนาคม 2560 Erawan Singapore Pte. Ltd. ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 1,270,000 หุ้น หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็ นจํานวนเงิน 1,270,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึง� Erawan Mauritius Limited ถือหุ้นทังหมดและ � ชําระค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้วในวันที� 23 มีนาคม 2560 เมือ� วันที� 28 มิถนุ ายน 2560 Erawan Singapore Pte. Ltd. ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 4,098,000 หุ้น หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็ นจํานวนเงิน 4,098,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึง� Erawan Mauritius Limited ถือหุ้นทังหมดและ � ชําระค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้วในวันที� 28 มิถนุ ายน 2560 เมือ� วันที� 11 กรกฎาคม 2561 Erawan Singapore Pte. Ltd. ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 7,695,000 หุ้น หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็ นจํานวนเงิน 7,695,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึง� Erawan Mauritius Limited ถือหุ้นทังหมดและ � ชําระค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้วในวันที� 11 กรกฎาคม 2561 Erawan Philippines, INC. ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 Erawan Philippines, INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้ อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 1,400,000,000 หุ้น หุ้นละ1ฟิ ลปิ ปินส์ เปโซเป็นจํานวนเงิน1,400,000,000ฟิ ลปิ ปินส์เปโซและมีทนุ ทีช� าํ ระแล้วเป็นจํานวนเงิน1,211,076,745ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ ซึง� Erawan Singapore Pte. Ltd. ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.99 และชําระค่าหุ้นแล้วจํานวน 1,211,076,739 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ในระหว่าง ปี 2560 ถึง 2561 มีการเปลีย� นแปลงเงินลงทุนใน Erawan Philippines, INC. ดังนี � เมือ� วันที� 27 เมษายน 2560 Erawan Singapore Pte. Ltd.ได้ ชาํ ระค่าหุ้นของ Erawan Philippines, INC. เพิม� เติมเป็นจํานวนเงิน 45,000,613 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ และจํานวนเงิน 141,868,800 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 8 พฤษภาคม 2560 และจํานวนเงิน 63,309,500 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 3 กรกฎาคม 2560 และจํานวนเงิน 960,395 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 8 มกราคม 2561 ตามลําดับ เมือ� วันที� 8 พฤษภาคม 2561 Erawan Philippines, INC. ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 800,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ เป็ นจํานวนเงิน 800,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ซึง� Erawan Singapore Pte. Ltd. ถือหุ้นทังหมด � และชําระค่า หุ้นบางส่วนเป็ นจํานวนเงิน 203,652,745 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 8 พฤษภาคม 2561 และจํานวนเงิน 407,424,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ในวันที� 13 กรกฎาคม 2561 ตามลําดับ

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

95


Erawan Philippines (Ermita), INC. ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 Erawan Philippines (Ermita), INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 141,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ เป็นจํานวนเงิน 141,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ และมีทนุ ทีช� าํ ระแล้วเป็นจํานวนเงิน 141,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.99 และชําระค่าหุ้นแล้วจํานวน 140,999,994 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ในระหว่างปี 2560 มีการเปลีย� นแปลงเงินลงทุนใน Erawan Philippines (Ermita), INC. ดังนี � เมือ� วันที� 1 กุมภาพันธ์ 2560 Erawan Philippines, INC. ได้ชาํ ระค่าหุ้นของ Erawan Philippines (Ermita), INC. เพิม� เติมเป็นจํานวนเงิน 3,220,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ เมือ� วันที� 18 ตุลาคม 2560 Erawan Philippines (Ermita), INC. ได้จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 41,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ เป็ นจํานวนเงิน 41,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นทังหมด � และชําระค่าหุ้น เต็มจํานวนแล้วในวันที� 18 ตุลาคม 2560 Erawan Philippines (Makati), INC. ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 Erawan Philippines (Makati), INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 110,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ เป็นจํานวนเงิน 110,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ และมีทนุ ทีช� าํ ระแล้วเป็นจํานวนเงิน 110,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.99 และชําระค่าหุ้นแล้วจํานวน 109,999,994 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ในระหว่างปี 2561 มีการเปลีย� นแปลงเงินลงทุนใน Erawan Philippines (Makati), INC. ดังนี � เมือ� วันที� 8 พฤษภาคม 2561 Erawan Philippines (Makati), INC. ได้จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 25,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ เป็ นจํานวนเงิน 25,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นทังหมด � และชําระค่าหุ้น บางส่วน เป็ นจํานวนเงิน 6,250,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 8 พฤษภาคม 2561 และจํานวนเงิน 18,750,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 13 กรกฎาคม 2561 ตามลําดับ Erawan Philippines (Aseana), INC. ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 Erawan Philippines (Aseana), INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 160,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ เป็นจํานวนเงิน 160,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ และมีทนุ ทีช� าํ ระแล้วเป็นจํานวนเงิน 160,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.99 และชําระค่าหุ้นแล้วจํานวน 159,999,993 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ในระหว่างปี 2560 ถึง 2561 มีการเปลีย� นแปลงเงินลงทุนใน Erawan Philippines (Aseana), INC. ดังนี � เมือ� วันที� 18 ตุลาคม 2560 Erawan Philippines, INC. ได้ ชาํ ระค่าหุ้นของ Erawan Philippines (Aseana), INC. เพิม� เติมเป็นจํานวน เงิน 5,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ เมือ� วันที� 23 กุมภาพันธ์ 2561 Erawan Philippines (Aseana), INC. ได้จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 15,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ เป็ นจํานวนเงิน 15,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นทังหมด � และชําระค่าหุ้น บางส่วน เป็ นจํานวนเงิน 10,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 23 กุมภาพันธ์ 2561 และจํานวนเงิน 5,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 13 กรกฎาคม 2561 ตามลําดับ เมือ� วันที� 22 สิงหาคม 2561 Erawan Philippines (Aseana), INC. ได้จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 30,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ เป็ นจํานวนเงิน 30,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นทังหมด � และชําระค่าหุ้น เต็มจํานวนแล้วในวันที� 22 สิงหาคม 2561

96


Erawan Philippines (Alabang), INC. ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 Erawan Philippines (Alabang), INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 120,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ เป็นจํานวนเงิน 120,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ และมีทนุ ทีช� าํ ระแล้วเป็นจํานวนเงิน 120,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.99 และชําระค่าหุ้นแล้วจํานวน 119,999,994 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ในระหว่างปี 2560 ถึง 2561 มีการเปลีย� นแปลงเงินลงทุนใน Erawan Philippines (Alabang), INC. ดังนี � เมือ� วันที� 8 พฤษภาคม 2560 Erawan Philippines, INC. ได้ ชาํ ระค่าหุ้นของ Erawan Philippines (Alabang), INC. เพิม� เติมเป็น จํานวนเงิน 55,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ และจํานวนเงิน 20,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 3 กรกฎาคม 2560 ตามลําดับ เมือ� วันที� 2 มีนาคม 2561 Erawan Philippines (Alabang), INC. ได้จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 20,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ เป็ นจํานวนเงิน 20,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นทังหมด � และชําระค่าหุ้น เต็มจํานวนแล้วในวันที� 30 เมษายน 2561 Erawan Philippines (Quezon City), INC. ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 Erawan Philippines (Quezon City), INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 100,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ เป็นจํานวนเงิน 100,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ และมีทนุ ทีช� าํ ระแล้วเป็นจํานวนเงิน 100,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.99 และชําระค่าหุ้นแล้วจํานวน 99,999,994 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ ในระหว่างปี 2560 ถึง 2561 มีการเปลีย� นแปลงเงินลงทุนใน Erawan Philippines (Quezon City), INC. ดังนี � เมือ� วันที� 8 พฤษภาคม 2560 Erawan Philippines, INC. ได้ ชาํ ระค่าหุ้นของ Erawan Philippines (Quezon City), INC. เพิม� เติม เป็ นจํานวนเงิน 17,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ และจํานวนเงิน 30,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 8 มกราคม 2561 และจํานวนเงิน 28,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 13 กรกฎาคม 2561 ตามลําดับ Erawan Philippines (Ortigas), INC. ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 Erawan Philippines (Ortigas), INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 180,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ เป็นจํานวนเงิน 180,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ และมีทนุ ทีช� าํ ระแล้วเป็นจํานวนเงิน 80,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.99 และชําระค่าหุ้นแล้วจํานวน 79,999,994 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ ในระหว่างปี 2560 มีการเปลีย� นแปลงเงินลงทุนใน Erawan Philippines (Ortigas), INC. ดังนี � เมือ� วันที� 13 มิถนุ ายน 2560 Erawan Philippines, INC. ได้ลงทุนในหุ้นสามัญในอัตรา ร้ อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของ Erawan Philippines (Ortigas), INC. ซึง� มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 180,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจํานวน 180,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซและ Erawan Philippines, INC. ได้ชาํ ระค่าหุ้นบางส่วนแล้วเป็นจํานวนเงิน 44,999,994 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซในวันที� 13 มิถนุ ายน 2560 และชําระค่าหุ้นเพิม� เติมเป็ นจํานวนเงิน 35,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 13 ธันวาคม 2560 ตามลําดับ

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

97


Erawan Philippines (Cebu), INC. ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 Erawan Philippines (Cebu), INC. ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยทางอ้ อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 600,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ เป็นจํานวนเงิน 600,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ และมีทนุ ทีช� าํ ระแล้วเป็นจํานวนเงิน 386,500,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ ซึง� Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.99 และชําระค่าหุ้นแล้วจํานวน 386,499,994 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ ในระหว่างปี 2560 ถึง 2561 มีการเปลีย� นแปลงเงินลงทุนใน Erawan Philippines (Cebu), INC. ดังนี � เมือ� วันที� 13 มิถนุ ายน 2560 Erawan Philippines, INC. ได้ลงทุนในหุ้นสามัญในอัตราร้ อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของ Erawan Philippines (Cebu), INC. ซึง� มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 185,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจํานวน 185,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซและ Erawan Philippines, INC. ได้ชาํ ระค่าหุ้นบางส่วนแล้วเป็นจํานวนเงิน 46,249,994 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซในวันที� 13 มิถนุ ายน 2560 และชําระค่าหุ้นเพิม� เติมเป็ นจํานวนเงิน 35,250,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 13 ธันวาคม 2560 และจํานวนเงิน 40,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 6 มิถนุ ายน 2561 และจํานวนเงิน 63,500,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 13 กรกฎาคม 2561 ตามลําดับ เมือ� วันที� 20 พฤศจิกายน 2561 Erawan Philippines (Cebu), INC. ได้จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 415,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ เป็ นจํานวนเงิน 415,000,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซและ Erawan Philippines, INC. ได้ ชาํ ระค่าหุ้นบางส่วนแล้ว เป็ นจํานวนเงิน 201,500,000 ฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซในวันที� 20 พฤศจิกายน 2561 PT. Erawan Indonesia Jakarta ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 PT. Erawan Indonesia Jakarta ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยทางอ้ อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 4,000 หุ้น หุ้นละ 1,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็ นจํานวนเงิน 4,000,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา และมีทนุ ทีช� าํ ระแล้ วเป็ นจํานวนเงิน 2,300,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ซึง� Erawan Singapore Pte. Ltd. ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.96 และชําระค่าหุ้นแล้ วจํานวน 2,299,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา บริษัท ทวีทรั พย์ อนันต์ จํากัด ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 บริษทั ทวีทรัพย์อนันต์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยทางอ้ อม มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 6,000,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท เป็ นจํานวนเงิน 60,000,000 บาท และมีทนุ ทีช� าํ ระแล้วเป็นจํานวนเงิน 60,000,000 บาท ซึง� บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.99 และชําระค่าหุ้นแล้วจํานวน 59,999,970 บาท ในระหว่างปี 2560 ถึง 2561 มีการเปลีย� นแปลง เงินลงทุนในบริษทั ทวีทรัพย์อนันต์ จํากัด ดังนี � เมือ� วันที� 3 มีนาคม 2560 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ได้ลงทุนในหุ้นสามัญในอัตราร้ อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของ บริษทั ทวีทรัพย์อนันต์ จํากัด ซึง� มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 60,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจํานวน 6,000,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท และบริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ได้ ชาํ ระค่าหุ้นแล้วเป็ นจํานวนเงิน 29,999,985 บาทในวันที� 3 มีนาคม 2560 และชําระค่าหุ้น เพิม� เติมเป็ นจํานวนเงิน 11,999,994 บาทในวันที� 19 กันยายน 2560 และจํานวนเงิน 11,999,994 บาท ในวันที� 6 ธันวาคม 2560 และจํานวนเงิน 5,999,997 ในวันที� 23 มกราคม 2561 ตามลําดับ

98


2

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน

(ก)

เกณฑ์ การถือปฏิบตั ิ งบการเงินนี �จัดทําขึ �นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีทปี� ระกาศใช้ โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทเี� กีย� วข้ อง สภาวิชาชีพบัญชีได้ ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึง� มีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั � รอบระยะเวลาบัญชีทเี� ริ�ม ในหรือหลังวันที� 1 มกราคม 2561 การถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ� อกและปรับปรุงใหม่นนั � มีผลให้ เกิดการ เปลีย� นแปลงนโยบายการบัญชีของกลุม่ บริษทั ในบางเรื�อง ทังนี � �การเปลีย� นแปลงดังกล่าวไม่มผี ลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่อ งบการเงิน นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ� อกและปรับปรุงใหม่ข้างต้น สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการ รายงานทางการเงินซึง� ยังไม่มผี ลบังคับในปัจจุบนั และกลุม่ บริษทั ไม่ได้ ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวในการจัดทํางบ การเงินก่อนวันทีม� ผี ลบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ� อกและปรับปรุงใหม่ทเี� กีย� วกับการดําเนินงานของกลุม่ บริษทั ได้ เปิ ดเผยในหมายเหตุข้อ 39

(ข)

เกณฑ์ การวัดมูลค่ า งบการเงินนี �จัดทําขึ �นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้ นรายการดังต่อไปนี � รายการ เกณฑ์ การวัดมูลค่า สิทธิซื �อหุ้นทีอ� อกให้ พนักงาน มูลค่ายุตธิ รรม สินทรัพย์ทางการเงินเผือ� ขาย มูลค่ายุตธิ รรม หนี �สินผลประโยชน์ทกี� าํ หนดไว้ มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันตามผลประโยชน์ ทีก� าํ หนดไว้ ซงึ� ได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุข้อ 3 (ฐ)

(ค)

สกุลเงินที�ใช้ ในการดําเนินงานและนําเสนองบการเงิน งบการเงินนี �จัดทําและแสดงหน่วยเงินตราเป็ นเงินบาทซึง� เป็ นสกุลเงินทีใ� ช้ ในการดําเนินงานของบริษทั ข้ อมูลทางการเงินทังหมด � มีการปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพือ� ให้ แสดงเป็นหลักพันบาท/ล้านบาท ยกเว้ นทีร� ะบุไว้ เป็ นอย่างอืน�

(ง)

การใช้ วจิ ารณญาณและการประมาณการ ในการจัดทํางบการเงินให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารต้ องใช้ วจิ ารณญาณ การประมาณและข้ อสมมติ หลายประการ ซึง� มีผลกระทบต่อการกําหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจํานวนเงินทีเ� กีย� วกับ สินทรัพย์ หนี �สิน รายได้ และ ค่าใช้ จา่ ย ผลทีเ� กิดขึ �นจริงอาจแตกต่างจากทีป� ระมาณไว้ ประมาณการและข้ อสมมติทใี� ช้ ในการจัดทํางบการเงินจะได้ รบั การทบทวนอย่างต่อเนือ� ง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึก โดยวิธเี ปลีย� นทันทีเป็ นต้ นไป

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

99


(1) การใช้ วจิ ารณญาณ ข้ อมูลเกีย� วกับการใช้ วจิ ารณญาณในการเลือกนโยบายการบัญชีซงึ� มีผลกระทบทีม� นี ยั สําคัญทีส� ดุ ต่อจํานวนเงินทีร� บั รู้ในงบการ เงินซึง� ประกอบด้ วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี � หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 9

การจัดประเภทเงินลงทุนในบริษทั ร่วม

(2) ข้ อสมมติและความไม่แน่นอนของการประมาณการ ข้ อมูลเกีย� วกับข้ อสมมติและความไม่แน่นอนของการประมาณการทีส� าํ คัญซึง� มีความเสีย� งอย่างมีนยั สําคัญทีเ� ป็ นเหตุให้ ต้องมี การปรับปรุงมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี �สินภายในปี บญ ั ชีสิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2562 ซึง� ได้ เปิ ดเผยในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินต่อไปนี � หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 9, 10 และ 13 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 3 (ถ) และ 17 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 23 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 24

การทดสอบด้ อยค่าเกีย� วกับการใช้ ข้อสมมติทสี� าํ คัญในการประมาณ มูลค่าทีค� าดว่าจะได้ รบั คืน การรับรู้สนิ ทรัพย์ภาษีเงินได้ การคาดการณ์กําไรทางภาษีในอนาคต ทีจ� ะนําขาดทุนทางภาษีไปใช้ ประโยชน์ การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์เกีย� วกับข้อสมมติ หลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย และ การวัดมูลค่าของการจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็นเกณฑ์

การวัดมูลค่ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลของกลุม่ บริษทั หลายข้อกําหนดให้มกี ารวัดมูลค่ายุตธิ รรมทังสิ � นทรัพย์และหนี �สินทางการเงิน และไม่ใช่ทางการเงิน กลุม่ บริษทั กําหนดกรอบแนวคิดของการควบคุมเกีย� วกับการวัดมูลค่ายุตธิ รรม กรอบแนวคิดนี �รวมถึงกลุม่ ผู้ประเมินมูลค่าซึง� มีความ รับผิดชอบโดยรวมต่อการวัดมูลค่ายุตธิ รรมทีม� นี ยั สําคัญ รวมถึงการวัดมูลค่ายุตธิ รรมระดับ 3 และรายงานโดยตรงต่อผู้บริหารสูงสุด ทางด้ านการเงิน กลุม่ ผู้ประเมินมูลค่ามีการทบทวนข้ อมูลทีไ� ม่สามารถสังเกตได้ และปรับปรุงการวัดมูลค่าทีม� นี ยั สําคัญอย่างสมํา� เสมอ หากมีการ ใช้ข้อมูลจากบุคคลทีส� ามเพือ� วัดมูลค่ายุตธิ รรม กลุม่ ผู้ประเมินได้ประเมินหลักฐานทีไ� ด้มาจากบุคคลทีส� ามทีส� นับสนุนข้อสรุปเกีย� วกับ การวัดมูลค่ารวมถึงการจัดลําดับชันของมู � ลค่ายุตธิ รรมว่าเป็นไปตามทีก� าํ หนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงินอย่างเหมาะสม ประเด็นปัญหาของการวัดมูลค่าทีม� นี ยั สําคัญจะถูกรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบของกลุม่ บริษทั

100


เมือ� วัดมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์หรือหนี �สิน กลุม่ บริษทั ได้ใช้ข้อมูลทีส� ามารถสังเกตได้ให้มากทีส� ดุ เท่าทีจ� ะทําได้มลู ค่ายุตธิ รรมเหล่านี � ถูกจัดประเภทในแต่ละลําดับชันของมู � ลค่ายุตธิ รรมตามข้ อมูลทีใ� ช้ ในการประเมินมูลค่า ดังนี � • ข้อมูลระดับ 1 เป็นราคาเสนอซื �อขาย (ไม่ต้องปรับปรุง) ในตลาดทีม� สี ภาพคล่องสําหรับสินทรัพย์หรือหนี �สินอย่างเดียวกัน • ข้อมูลระดับ 2 เป็นข้อมูลอืน� ทีส� งั เกตได้โดยตรง (เช่น ราคาขาย) หรือโดยอ้อม (เช่น ได้มาจากราคา) สําหรับสินทรัพย์นนั � หรือหนี �สินนันนอกเหนื � อจากราคาเสนอซื �อขายซึง� รวมอยูใ่ นข้อมูลระดับ 1 • ข้อมูลระดับ 3 เป็นข้อมูลสําหรับสินทรัพย์หรือหนี �สินทีไ� ม่ได้มาจากข้อมูลทีส� ามารถสังเกตได้ (ข้อมูลทีไ� ม่สามารถสังเกตได้) หากข้ อมูลที�นํามาใช้ ในการวัดมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์หรื อหนี �สินถูกจัดประเภทลําดับชันของมู � ลค่ายุตธิ รรมที�แตกต่างกัน การวัดมูลค่ายุตธิ รรมโดยรวมจะถูกจัดประเภทในภาพรวมในระดับเดียวกันตามลําดับชันของมู � ลค่ายุตธิ รรมของข้ อมูลทีอ� ยูใ่ น ระดับตํา� สุดทีม� นี ยั สําคัญสําหรับการวัดมูลค่ายุตธิ รรมโดยรวม ข้ อมูลเพิม� เติมเกีย� วกับข้ อสมมติทใี� ช้ ในการวัดมูลค่ายุตธิ รรม อยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินดังต่อไปนี � หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 24 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 36 3

การจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์ เครื�องมือทางการเงิน

นโยบายการบัญชีท� สี าํ คัญ นโยบายการบัญชีทนี� าํ เสนอดังต่อไปนี �ได้ ถอื ปฏิบตั โิ ดยสมํา� เสมอสําหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาทีร� ายงาน

(ก)

เกณฑ์ ในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้ วยงบการเงินของบริษทั และบริษทั ย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุม่ บริษทั ”) และส่วนได้ เสียของกลุม่ บริษทั ในบริษทั ร่วม บริ ษทั ย่อย บริษทั ย่อยเป็ นกิจการทีอ� ยูภ่ ายใต้ การควบคุมของกลุม่ บริษทั การควบคุมเกิดขึ �นเมือ� กลุม่ บริษทั เปิ ดรับหรือมีสทิ ธิในผลตอบแทน ผันแปรจากการเกีย� วข้ องกับกิจการนันและมี � ความสามารถในการใช้ อาํ นาจเหนือกิจการนัน� ทําให้ เกิดผลกระทบต่อจํานวนเงินผล ตอบแทนของกลุม่ บริษทั งบการเงินของบริษทั ย่อยได้รวมอยูใ่ นงบการเงินรวม นับแต่วนั ทีม� กี ารควบคุมจนถึงวันทีก� ารควบคุมสิ �นสุดลง ส่วนได้เสียทีไ� ม่มีอํานาจควบคุม ณ วันทีซ� ื �อธุรกิจ กลุม่ บริษทั วัดมูลค่าส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุมตามอัตราส่วนได้ เสียในสินทรัพย์สทุ ธิทไี� ด้ มาจากผู้ถกู ซื �อ การเปลีย� นแปลงส่วนได้ เสียในบริษทั ย่อยของกลุม่ บริษทั ทีไ� ม่ทาํ ให้ กลุม่ บริษทั สูญเสียอํานาจการควบคุมจะบันทึกบัญชีโดยถือเป็ น รายการในส่วนของเจ้ าของ

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

101


การสูญเสียการควบคุม เมือ� กลุม่ บริษทั สูญเสียการควบคุมในบริษทั ย่อย กลุม่ บริษทั ตัดรายการสินทรัพย์และหนี �สินของบริษทั ย่อยนันออก � รวมถึงส่วน ได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุมและส่วนประกอบอืน� ในส่วนของเจ้ าของทีเ� กีย� วข้ องกับบริษทั ย่อยนัน� กําไรหรือขาดทุนทีเ� กิดขึ �นจากการ สูญเสียการควบคุมในบริษทั ย่อยรับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ส่วนได้เสียในบริษทั ย่อยเดิมทีย� งั คงเหลืออยูใ่ ห้วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุตธิ รรม ณ วันทีส� ญ ู เสียการควบคุม ส่วนได้เสียในเงินลงทุนทีบ� นั ทึกตามวิธีสว่ นได้เสีย ส่วนได้ เสียของกลุม่ บริษทั ในเงินลงทุนทีบ� นั ทึกตามวิธสี ว่ นได้ เสีย ประกอบด้ วยส่วนได้ เสียในบริษทั ร่วม บริษทั ร่วมเป็นกิจการทีก� ลุม่ บริษทั มีอทิ ธิพลอย่างมีนยั สําคัญโดยมีอาํ นาจเข้าไปมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจเกีย� วกับนโยบายทางการเงิน และการดําเนินงานแต่ไม่ถงึ ระดับทีจ� ะควบคุมหรือควบคุมร่วมในนโยบายดังกล่าว ส่วนได้ เสียในบริษทั ร่วมบันทึกบัญชีตามวิธีสว่ นได้ เสีย โดยรับรู้รายการเมือ� เริ�มแรกด้ วยราคาทุนซึง� รวมถึงต้ นทุนการทํารายการ ภายหลังการรับรู้รายการเริ�มแรก ส่วนแบ่งกําไรหรือขาดทุนและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� ของเงินลงทุนทีบ� นั ทึกตามวิธสี ว่ นได้เสียของ กลุม่ บริษทั จะถูกบันทึกในงบการเงินรวมจนถึงวันทีก� ลุม่ บริษทั สูญเสียความมีอทิ ธิพลอย่างมีนยั สําคัญ การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุม่ รวมถึงรายได้หรือค่าใช้ จา่ ยทีย� งั ไม่เกิดขึ �นจริงซึง� เป็นผลมาจากรายการระหว่าง กิจการในกลุม่ ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม กําไรทีย� งั ไม่เกิดขึ �นจริงซึง� เป็นผลมาจากรายการกับบริษทั ร่วมถูกตัดรายการ กับเงินลงทุนเท่าทีก� ลุม่ บริษทั มีสว่ นได้เสียในกิจการทีถ� กู ลงทุนนัน� ขาดทุนทีย� งั ไม่เกิดขึ �นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกําไรที� ยังไม่เกิดขึ �นจริง แต่เท่าทีเ� มือ� ไม่มหี ลักฐานการด้ อยค่าเกิดขึ �น (ข)

เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชีทีเ� ป็ นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีทเี� ป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงินทีใ� ช้ ในการดําเนินงานของแต่ละบริษัทในกลุม่ บริษัท โดยใช้ อตั รา แลกเปลีย� น ณ วันทีเ� กิดรายการ สินทรัพย์และหนี �สินที�เป็ นตัวเงินและเป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที�รายงาน แปลงค่าเป็ นสกุลเงินที�ใช้ ในการดําเนินงาน โดยใช้ อตั ราแลกเปลีย� น ณ วันนัน� สินทรัพย์และหนี �สินทีไ� ม่เป็นตัวเงินซึง� เกิดจากรายการบัญชีทเี� ป็นเงินตราต่างประเทศซึง� บันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็น สกุลเงินทีใ� ช้ ในการดําเนินงานโดยใช้ อตั ราแลกเปลีย� น ณ วันทีเ� กิดรายการ ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� นทีเ� กิดขึ �นจากการแปลงค่า ให้ รบั รู้เป็ นกําไรหรือขาดทุนในงวดบัญชีนนั �

102


หน่วยงานในต่างประเทศ สินทรัพย์และหนี �สินของหน่วยงานในต่างประเทศ แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้ อตั ราแลกเปลีย� น ณ วันทีร� ายงาน รายได้และค่าใช้จา่ ยของหน่วยงานในต่างประเทศ แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย� นทีใ� กล้เคียงกับอัตรา ณ วันทีเ� กิดรายการ ผลต่างจากอัตราแลกเปลีย� นทีเ� กิดจากการแปลงค่า บันทึกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� และแสดงเป็ นรายการผลต่างจากอัตรา แลกเปลีย� นในส่วนของผู้ถือหุ้น จนกว่ามีการจําหน่ายเงินลงทุนนันออกไป � ยกเว้ นผลต่างจากการแปลงค่า ทีถ� กู ปันส่วนให้ สว่ น ได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม เมือ� หน่วยงานต่างประเทศถูกจําหน่ายส่วนได้ เสียทังหมดหรื � อเพียงบางส่วนทีท� าํ ให้ สญ ู เสียการควบคุม ความมีอทิ ธิพลอย่างมีสาระ สําคัญ หรือการควบคุมร่วมกัน ผลสะสมของผลต่างจากอัตราแลกเปลีย� นทีเ� กีย� วข้ องกับหน่วยงานต่างประเทศนันต้ � องถูกจัดประเภท เป็ นกําไรหรือขาดทุนโดยเป็ นส่วนหนึง� ของกําไรขาดทุนจากการจําหน่าย หากกลุม่ บริษทั จําหน่ายส่วนได้ เสียในบริษทั ย่อยเพียง บางส่วนแต่ยงั คงมีการควบคุม ผลสะสมต้ องถูกปันสัดส่วนให้ กบั ส่วนของผู้ถอื หุ้นทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม รายการทีเ� ป็ นตัวเงินทีเ� ป็ นลูกหนี �หรือเจ้ าหนี �กับหน่วยงานในต่างประเทศ ซึง� รายการดังกล่าวมิได้ คาดหมายว่าจะมีแผนการชําระหนี � หรือไม่มคี วามเป็ นไปได้ วา่ จะชําระเงินในอนาคตอันใกล้ กําไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย� นจากรายการทางการเงินดังกล่าว จะถูกพิจารณาเป็ นส่วนหนึง� ของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ และรับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� และแสดงเป็นรายการ ผลต่างจากอัตราแลกเปลีย� นในส่วนของผู้ถอื หุ้น จนกว่ามีการจําหน่ายเงินลงทุนนันออกไป � (ค)

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผือ� เรียก และเงินลงทุน ระยะสันที � ม� สี ภาพคล่องสูง

(ง)

ลูกหนีก� ารค้ าและลูกหนีอ� � ืน ลูกหนี �การค้ าและลูกหนี �อืน� แสดงในราคาตามใบแจ้ งหนี �หักค่าเผือ� หนี �สงสัยจะสูญ ค่าเผือ� หนี �สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัตกิ ารชําระหนี � และการคาดการณ์เกีย� วกับการชําระหนี �ในอนาคตของลูกค้ า ลูกหนี �จะถูกตัดจําหน่ายจากบัญชีเมือ� ทราบว่าเป็นหนี �สูญ

(จ)

สินค้ าคงเหลือ สินค้ าคงเหลือวัดมูลค่าด้ วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิทจี� ะได้ รบั แล้วแต่ราคาใดจะตํา� กว่า ต้ นทุนของสินค้ าคํานวณโดยใช้ วธิ ีถวั เฉลีย� ถ่วงนํ �าหนัก ต้ นทุนสินค้ าประกอบด้ วยราคาทุนที�ซื �อ หรื อต้ นทุนอืน� เพื�อให้ สนิ ค้ าอยู่ ในสถานทีแ� ละสภาพปัจจุบนั มูลค่าสุทธิทจี� ะได้ รบั เป็ นการประมาณราคาทีจ� ะขายได้จากการดําเนินธุรกิจปกติหกั ด้ วยค่าใช้ จา่ ยทีจ� าํ เป็นโดยประมาณในการขาย

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

103


(ฉ)

เงินลงทุน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่วม เงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั บันทึกบัญชีโดยใช้ วธิ รี าคาทุน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ในงบการเงินรวมบันทึกบัญชีโดยใช้ วธิ สี ว่ นได้ เสีย เงินลงทุนในตราสารทุน ตราสารทุนซึง� เป็ นหลักทรัพย์ในความต้ องการของตลาด นอกเหนือจากทีถ� อื ไว้ เพือ� ค้ าหรือตังใจถื � อไว้ จนครบกําหนด จัดประเภทเป็น เงินลงทุนเผือ� ขาย ภายหลังการรับรู้มลู ค่าในครังแรกเงิ � นลงทุนเผือ� ขายแสดงในมูลค่ายุตธิ รรม และการเปลีย� นแปลงทีไ� ม่ใช่ผลขาดทุน จากการด้ อยค่า บันทึกโดยตรงในส่วนของผู้ถอื หุ้น ส่วนผลขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้ในกําไรหรือขาดทุน เมือ� มีการตัดจําหน่ายเงิน ลงทุน จะรับรู้ผลกําไรหรือขาดทุนสะสมทีเ� คยบันทึกในส่วนของผู้ถอื หุ้นโดยตรงเข้ าในกําไรหรือขาดทุน เงินลงทุนในตราสารทุนซึง� ไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้ องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้ อยค่า มูลค่ายุตธิ รรมของเครื�องมือทางการเงินสําหรับหลักทรัพย์เผือ� ขายจะใช้ ราคาเสนอซื �อ ณ วันทีร� ายงาน การจําหน่ายเงินลงทุน เมือ� มีการจําหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจํานวนเงินสุทธิทไี� ด้ รบั และมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงกําไรหรือขาดทุนสะสมจากการ ตีราคาหลักทรัพย์ทเี� กีย� วข้ องทีเ� คยบันทึกในส่วนของผู้ถอื หุ้น จะถูกบันทึกในกําไรหรือขาดทุน ในกรณีทกี� ลุม่ บริษทั จําหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนทีถ� อื อยู่ การคํานวณต้ นทุนสําหรับเงินลงทุนทีจ� าํ หน่ายไปและเงินลงทุนทีย� งั ถือ อยูใ่ ช้ วธิ ถี วั เฉลีย� ถ่วงนํ �าหนัก ปรับใช้ กบั มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนทีเ� หลืออยูท่ งหมด ั�

(ช)

ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ และที�ดนิ รอการพัฒนา การรับรู้และการวัดมูลค่า สินทรัพย์ทีเ� ป็ นกรรมสิทธิ� ของกิจการ ทีด� นิ วัดมูลค่าด้ วยราคาทุนหักขาดทุนจากการด้ อยค่า อาคารและอุปกรณ์วดั มูลค่าด้ วยราคาทุนหักค่าเสือ� มราคาสะสมและขาดทุน จากการด้ อยค่า ทีด� นิ รอการพัฒนาวัดมูลค่าด้ วยราคาทุนหักขาดทุนจากการด้ อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้ นทุนทางตรง ทีเ� กีย� วข้ องกับการได้ มาของสินทรัพย์ ต้ นทุนของการก่อสร้ างสินทรัพย์ทกี� จิ การก่อสร้ างเอง รวมถึง ต้ นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้ นทุนทางตรงอืน� ๆ ทีเ� กีย� วข้ องกับการจัดหาสินทรัพย์เพือ� ให้ สนิ ทรัพย์นนอยู ั � ใ่ นสภาพทีพ� ร้ อม จะใช้ งานได้ ตามความประสงค์ ต้ นทุนในการรื �อถอน การขนย้ าย การบูรณะสถานทีต� งของสิ ั� นทรัพย์และต้ นทุนการกู้ยมื สําหรับ

104


เครื� องมือทีค� วบคุมโดยลิขสิทธิ�ซอฟต์แวร์ ซงึ� ไม่สามารถทํางานได้ โดยปราศจากลิขสิทธิ�ซอฟต์แวร์ นนให้ ั � ถือว่าลิขสิทธิ�ซอฟต์แวร์ ดังกล่าวเป็ นส่วนหนึง� ของอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการทีด� นิ อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการทีม� อี ายุการให้ ประโยชน์ไม่เท่ากันต้ องบันทึกแต่ละส่วนประกอบ ทีม� นี ยั สําคัญแยกต่างหากจากกัน กําไรหรือขาดทุนจากการจําหน่ายทีด� นิ อาคาร และอุปกรณ์ และทีด� นิ รอการพัฒนา คือผลต่างระหว่างสิง� ตอบแทนสุทธิทไี� ด้ รบั จากการจําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของทีด� นิ อาคาร และอุปกรณ์ และทีด� นิ รอการพัฒนา โดยรับรู้สทุ ธิในกําไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ทีเ� ช่า การเช่าซึง� กลุม่ บริษทั ได้รบั ส่วนใหญ่ของความเสีย� งและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สนิ ทีเ� ช่านัน� ๆ ให้จดั ประเภทเป็นสัญญา เช่าการเงิน อุปกรณ์และยานพาหนะทีไ� ด้ มาโดยทําสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็ นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุตธิ รรมหรือมูลค่าปัจจุบนั ของจํานวนเงินขันตํ � า� ทีต� ้ องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่จาํ นวนใดจะตํา� กว่า หักด้ วยค่าเสือ� มราคาสะสมและขาดทุนจากการด้ อยค่า ค่าเช่าทีช� าํ ระจะแยกเป็นส่วนทีเ� ป็นค่าใช้ จา่ ยทางการเงิน และส่วนทีจ� ะหักจากหนี �ตามสัญญา เพือ� ทําให้ อตั ราดอกเบี �ยแต่ละงวดเป็น อัตราคงทีส� าํ หรับยอดคงเหลือของหนี �สิน ค่าใช้ จา่ ยทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในกําไรหรือขาดทุน ต้นทุนทีเ� กิดขึ�นในภายหลัง ต้ นทุนในการเปลีย� นแทนส่วนประกอบจะรับรู้เป็นส่วนหนึง� ของมูลค่าตามบัญชีของรายการทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์ ถ้ ามีความเป็น ไปได้ คอ่ นข้ างแน่ทกี� ลุม่ บริษทั จะได้ รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนัน� และสามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนัน� ได้ อย่างน่าเชือ� ถือ ชิ �นส่วนทีถ� กู เปลีย� นแทนจะถูกตัดจําหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้นทุนทีเ� กิดขึ �นในการซ่อมบํารุงทีด� นิ อาคารและ อุปกรณ์ทเี� กิดขึ �นเป็ นประจําจะรับรู้ในกําไรหรือขาดทุนเมือ� เกิดขึ �น ค่าเสือ� มราคา ค่าเสือ� มราคาคํานวณจากมูลค่าเสือ� มสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึง� ประกอบด้วยราคาทุนของสินทรัพย์หรือต้นทุนในการ เปลีย� นแทนอืน� หักด้ วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าเสือ� มราคาบันทึกเป็ นค่าใช้ จา่ ยในกําไรหรือขาดทุน คํานวณโดยวิธเี ส้นตรงตามเกณฑ์อายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณของส่วน ประกอบของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์แสดงได้ ดงั นี � อาคารและส่วนปรับปรุง เครื�องตกแต่ง ติดตังและอุ � ปกรณ์ ยานพาหนะ

5 - 40 5 - 10 5

ปี ปี ปี

กลุม่ บริษทั ไม่คดิ ค่าเสือ� มราคาสําหรับทีด� นิ สินทรัพย์ทอี� ยูร่ ะหว่างการก่อสร้ าง และทีด� นิ รอการพัฒนา วิธกี ารคิดค่าเสือ� มราคา อายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้ อยทีส� ดุ ทุกสิ �น รอบปี บัญ ชี และ ปรับปรุงตามความเหมาะสม

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

105


เครื�องใช้ ในการดําเนินกิจการโรงแรม ได้ แก่ ลินนิ เครื�องเคลือบ เครื�องแก้ ว เครื�องเงิน และเครื�องใช้ บางชนิดทีใ� ช้ ในการดําเนินกิจการ โรงแรม ซึง� บันทึกเป็ นมูลค่าของทรัพย์สนิ ด้ วยมูลค่าทีซ� ื �อมาในจํานวนเท่าทีจ� าํ เป็ นสําหรับการดําเนินงานโดยปกติ ได้ ถอื เป็ นมูลค่า หลักของเครื�องใช้ ในการดําเนินกิจการโรงแรม การซื �อเพิม� เติมในภายหลังจะบันทึกเป็นค่าใช้ จา่ ยเมือ� มีรายการซื �อเกิดขึ �น (ซ)

สิทธิการเช่ า สิทธิการเช่าประกอบด้ วยสิทธิการเช่าทีด� นิ และอาคารแสดงด้ วยราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้ อยค่า ค่าตัดจําหน่าย สิทธิการเช่าตัดบัญชีเป็ นค่าใช้ จา่ ยโดยวิธเี ส้นตรงตามอายุของสัญญาเช่า

(ฌ)

สินทรั พย์ ไม่ มีตวั ตน สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีก� ลุม่ บริษทั ซื �อมาและมีอายุการใช้ งานจํากัด วัดมูลค่าด้ วยราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและขาดทุนจาก การด้ อยค่าสะสม รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการจะรับรู้เป็นสินทรัพย์เมือ� ก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็นสินทรัพย์ทสี� ามารถ ระบุได้ ทเี� กีย� วข้ องนัน� ค่าใช้ จา่ ยอืน� รับรู้ในกําไรหรือขาดทุนเมือ� เกิดขึ �น ค่าตัดจําหน่าย ค่าตัดจําหน่ายคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรือจํานวนอืน� ทีใ� ช้ แทนราคาทุนหักด้ วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจําหน่ายรับรู้ในกําไรหรือขาดทุนโดยวิธเี ส้ นตรงซึง� โดยส่วนใหญ่จะสะท้ อนรูปแบบทีค� าดว่าจะได้ รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจใน อนาคตจากสินทรัพย์นนตามระยะเวลาที ั� ค� าดว่าจะได้ รบั ประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน โดยเริ�มตัดจําหน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เมือ� สินทรัพย์นนพร้ ั � อมทีจ� ะให้ ประโยชน์ ระยะเวลาทีค� าดว่าจะได้ รบั ประโยชน์สาํ หรับปี ปัจจุบนั และปี เปรียบเทียบแสดงได้ ดงั นี � ค่าลิขสิทธิซ� อฟต์แวร์

5 - 10 ปี

วิธีการตัดจําหน่าย ระยะเวลาทีค� าดว่าจะได้ รบั ประโยชน์ และมูลค่าคงเหลือ จะได้ รบั การทบทวนทุกสิ �นรอบปี บญ ั ชีและปรับปรุง ตามความเหมาะสม

106


(ญ)

การด้ อยค่ า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุม่ บริษทั ได้ รบั การทบทวน ณ ทุกวันทีร� ายงานว่ามีข้อบ่งชี �เรื�องการด้ อยค่าหรือไม่ ในกรณีทมี� ขี ้ อบ่งชี � จะทําการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ทคี� าดว่าจะได้ รบั คืน ขาดทุนจากการด้ อยค่ารับรู้ เมื�อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรื อมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที�ก่อให้ เกิด เงินสด สูงกว่ามูลค่าทีจ� ะได้ รบั คืน ขาดทุนจากการด้ อยค่าบันทึกในกําไรหรือขาดทุน เมือ� มีการลดลงในมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผือ� ขาย ซึง� ได้ บนั ทึกในส่วนของผู้ถอื หุ้น และมีความชัดเจนว่าสินทรัพย์ ดังกล่าวมีการด้อยค่า ยอดขาดทุนซึง� เคยบันทึกในส่วนของผู้ถอื หุ้นจะถูกบันทึกในกําไรหรือขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับยอดสินทรัพย์ ทางการเงินดังกล่าว ยอดขาดทุนทีบ� นั ทึกในกําไรหรือขาดทุนเป็นผลต่างระหว่างราคาทุนทีซ� ื �อกับมูลค่ายุตธิ รรมในปัจจุบนั ของสินทรัพย์ หักขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินนัน� ๆ ซึง� เคยรับรู้แล้วในกําไรหรือขาดทุน การคํานวณมูลค่าทีค� าดว่าจะได้รบั คืน มูลค่าทีค� าดว่าจะได้ รบั คืนของสินทรัพย์ทางการเงินสําหรับหลักทรัพย์เผือ� ขาย คํานวณโดยอ้ างอิงถึงมูลค่ายุตธิ รรม มูลค่าทีค� าดว่าจะได้ รบั คืนของสินทรัพย์ทไี� ม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงิน หมายถึงมูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์หรือมูลค่ายุตธิ รรมของ สินทรัพย์หกั ต้ นทุนในการจําหน่าย แล้ วแต่มลู ค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแส เงินสดทีจ� ะได้ รบั ในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่าปัจจุบนั โดยใช้ อตั ราคิดลดก่อนคํานึงภาษีเงินได้ เพือ� ให้ สะท้ อนมูลค่าทีอ� าจประเมิน ได้ ในตลาดปัจจุบนั ซึง� แปรไปตามเวลาและความเสีย� งทีม� ตี อ่ สินทรัพย์ สําหรับสินทรัพย์ทไี� ม่กอ่ ให้ เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจาก สินทรัพย์อนื� จะพิจารณามูลค่าทีค� าดว่าจะได้ รบั คืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ทกี� อ่ ให้ เกิดเงินสดทีส� นิ ทรัพย์นนมี ั � ความเกีย� วข้ องด้ วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการเมือ� มูลค่าทีค� าดว่าจะได้รบั คืนเพิม� ขึ �นในภายหลัง และการเพิม� ขึ �น นันสั � มพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าทีเ� คยรับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการเงินทีเ� ป็นตราสารทุนทีจ� ดั ประเภท เป็ นหลักทรัพย์เผือ� ขาย การกลับรายการจะถูกรับรู้โดยตรงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ทไี� ม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงิน ทีเ� คยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันทีท� อี� อกรายงานว่ามี ข้ อบ่งชี �เรื�องการด้ อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้ อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลีย� นแปลงประมาณการทีใ� ช้ ในการคํานวณ มูลค่าทีค� าดว่าจะได้ รบั คืน ขาดทุนจากการด้ อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าทีม� ลู ค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตาม บัญชีภายหลังหักค่าเสือ� มราคาหรือค่าตัดจําหน่ายเสมือนหนึง� ไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้ อยค่ามาก่อน

(ฎ)

หนีส� ินที�มีภาระดอกเบีย� หนี �สินทีม� ภี าระดอกเบี �ยบันทึกเริ�มแรกในมูลค่ายุตธิ รรมหักค่าใช้ จา่ ยทีเ� กีย� วกับการเกิดหนี �สิน ภายหลังจากการบันทึกหนี �สินทีม� ภี าระ ดอกเบี �ยจะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจําหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนี �เริ�มแรกและยอดหนี �เมือ� ครบกําหนดไถ่ถอนจะบันทึก ในกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุการกู้ยมื โดยใช้ วธิ อี ตั ราดอกเบี �ยทีแ� ท้ จริง

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

107


(ฏ)

เจ้ าหนีก� ารค้ าเและเจ้ าหนีอ� � ืน เจ้ าหนี �การค้ าและเจ้ าหนี �อืน� แสดงในราคาทุน

(ฐ)

ผลประโยชน์ ของพนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระผูกพันในการสมทบเข้ าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรู้เป็ นค่าใช้ จา่ ยพนักงานในกําไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาทีพ� นักงานได้ ทํางานให้ กบั กิจการ โครงการผลประโยชน์ทีก� ําหนดไว้ ภาระผูกพันสุทธิของกลุม่ บริษทั จากโครงการผลประโยชน์ทกี� าํ หนดไว้ ถกู คํานวณแยกต่างหากเป็ นรายโครงการจากการประมาณ ผลประโยชน์ในอนาคตทีเ� กิดจากการทํางานของพนักงานในงวดปัจจุบนั และงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ดงั กล่าวได้ มกี ารคิดลดกระแส เงินสดเพือ� ให้ เป็ นมูลค่าปัจจุบนั การคํานวณภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ทกี� าํ หนดไว้ นนจั ั � ดทําโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยทีไ� ด้ รบั อนุญาต โดยวิธคี ดิ ลด แต่ละหน่วยทีป� ระมาณการไว้ ในการวัดมูลค่าใหม่ของหนี �สินผลประโยชน์ทกี� าํ หนดไว้ สทุ ธิ กําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกัน ภัยจะถูกรับรู้รายการในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� ทันที กลุม่ บริษทั กําหนดดอกเบี �ยจ่ายของหนี �สินผลประโยชน์ทกี� าํ หนดไว้ สทุ ธิโดย ใช้ อตั ราคิดลดทีใ� ช้ วดั มูลค่าภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ ณ ต้ นปี โดยคํานึงถึงการเปลีย� นแปลงใดๆ ในหนี �สินผลประโยชน์ ทีก� าํ หนดไว้ สทุ ธิซงึ� เป็ นผลมาจากการสมทบเงินและการจ่ายชําระผลประโยชน์ ดอกเบี �ยจ่ายสุทธิและค่าใช้ จา่ ยอืน� ๆ ทีเ� กีย� วข้ องกับ โครงการผลประโยชน์รบั รู้รายการในกําไรหรือขาดทุน กลุม่ บริษทั รับรู้กาํ ไรและขาดทุนจากการจ่ายชําระผลประโยชน์พนักงานเมือ� เกิดขึ �น ผลประโยชน์เมือ� เลิกจ้าง ผลประโยชน์เมือ� เลิกจ้ างจะรับรู้เป็ นค่าใช้ จา่ ยเมือ� วันใดวันหนึง� ต่อไปนี �เกิดขึ �นก่อน เมือ� กลุม่ บริษทั ไม่สามารถยกเลิกข้ อเสนอการให้ ผลประโยชน์ดงั กล่าวได้ อกี ต่อไป หรือเมือ� กลุม่ บริษทั รับรู้ต้นทุนสําหรับการปรับโครงสร้ าง หากระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกิน กว่า 12 เดือนนับจากวันสิ �นรอบระยะเวลารายงาน ผลประโยชน์เมือ� เลิกจ้ างจะถูกคิดลดกระแสเงินสด ผลประโยชน์ระยะสัน� ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสันของพนั � กงานรับรู้เป็ นค่าใช้ จา่ ยเมือ� พนักงานทํางานให้ หนี �สินรับรู้ด้วยมูลค่าทีค� าดว่าจะจ่ายชําระ หากกลุม่ บริษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานทีจ� ะต้องจ่ายอันเป็นผลมาจากการทีพ� นักงานได้ทาํ งานให้ ในอดีตและ ภาระผูกพันนี �สามารถประมาณได้ อย่างสมเหตุสมผล

108


การจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็ นเกณฑ์ มูลค่ายุตธิ รรมของสิทธิซื �อหุ้น ณ วันทีใ� ห้ สทิ ธิแก่พนักงาน (ชําระด้ วยตราสารทุน) รับรู้เป็ นค่าใช้ จา่ ยพร้ อม ๆ ไปกับการเพิม� ขึ �น ในส่วนของผู้ถอื หุ้น ตลอดระยะเวลาทีพ� นักงานสามารถเข้ าใช้ สทิ ธิได้อย่างไม่มเี งือ� นไข จํานวนทีร� บั รู้เป็นค่าใช้ จา่ ยจะถูกปรับปรุงเพือ� ให้ สะท้ อนถึงจํานวนสิทธิซื �อหุ้นทีแ� ท้ จริงซึง� เข้ าเงือ� นไขการให้บริการทีเ� กีย� วข้ องและเงือ� นไขการได้รบั สิทธิทไี� ม่ใช่เงือ� นไขเรื�องตลาดทุน ซึง� เป็ นจํานวนที�เดิมเคยรับรู้ตามจํานวนสิทธิซื �อหุ้นที�เข้ าเงื�อนไขการให้ บริการที�เกี�ยวข้ องและเงื�อนไขการได้ รับสิทธิที�ไม่ใช่เงื�อน ไขเรื�องตลาดทุน ณ วันทีไ� ด้ รบั สิทธิ สําหรับเงือ� นไขการได้ รบั สิทธิทไี� ม่ใช่เงือ� นไขการบริการหรือผลงาน มูลค่ายุตธิ รรมของสิทธิซื �อหุ้น ณ วันทีใ� ห้สทิ ธิจะถูกวัดค่าเพือ� ให้สะท้อนถึงเงือ� นไขนันและไม่ � มกี ารปรับปรุงสําหรับผลต่างระหว่างจํานวนทีค� าดไว้กบั ผลทีเ� กิดขึ �นจริง (ฑ)

ประมาณการหนีส� ิน ประมาณการหนี �สินจะรับรู้กต็ อ่ เมือ� กลุม่ บริษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันจากการอนุมานทีเ� กิดขึ �นในปัจจุบนั อัน เป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตซึง� สามารถประมาณจํานวนของภาระผูกพันได้อย่างน่าเชือ� ถือ และมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอน ว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้ องถูกจ่ายไปเพือ� ชําระภาระผูกพันดังกล่าว ประมาณการหนี �สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสด ทีจ� ะจ่ายในอนาคตโดยใช้ อตั ราคิดลดในตลาดปัจจุบนั ก่อนคํานึงภาษีเงินได้ เพือ� ให้ สะท้ อนจํานวนทีอ� าจประเมินได้ในตลาดปัจจุบนั ซึง� แปรไปตามเวลาและความเสีย� งทีม� ตี อ่ หนี �สิน ประมาณการหนี �สินส่วนทีเ� พิม� ขึ �นเนือ� งจากเวลาทีผ� า่ นไปรับรู้เป็นต้ นทุนทางการเงิน

(ฒ)

รายได้ รายได้ ทรี� บั รู้ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม� และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้ า รายได้จากกิจการโรงแรม รายได้ ในกิจการโรงแรมจากค่าห้ อง ค่าอาหารและเครื� องดืม� และรายได้ คา่ บริการอืน� บันทึกเป็ นรายได้ เมื�อแขกเข้ าพักในห้ อง มีการขายอาหารและเครื�องดืม� และเมือ� มีการให้ บริการแล้ว รายได้จากค่าเช่า รายได้ จากค่าเช่าห้ องในอาคารสํานักงานและพื �นทีใ� นศูนย์การค้ ารับรู้ในกําไรหรือขาดทุนโดยวิธเี ส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ รายได้ รบั รู้ในกําไรหรือขาดทุนเมือ� ได้ โอนความเสีย� งและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้ าของอสังหาริมทรัพย์ทมี� นี ยั สําคัญไปให้ กบั ผู้ซื �อแล้ ว และจะไม่รบั รู้รายได้ ถ้าฝ่ ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารอสังหาริมทรัพย์ทขี� ายไปแล้ วนันหรื � อมีความไม่แน่นอนทีม� ี นัยสําคัญในการได้ รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายอสังหาริมทรัพย์นนั � ไม่อาจวัดมูลค่าของจํานวนรายได้ และต้ นทุนทีเ� กิดขึ �น ได้ อย่างน่าเชือ� ถือ หรือมีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่ทจี� ะต้ องรับคืนอสังหาริมทรัพย์ รายได้คา่ บริ การ รายได้ จากค่าบริการทีเ� กีย� วข้ องกับการให้ เช่าห้ องในอาคารสํานักงานและพื �นทีใ� นศูนย์การค้ าจะรับรู้เป็นรายได้ ตามเกณฑ์คงค้ าง

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

109


เงินปันผลรับ เงินปันผลรับบันทึกในกําไรหรือขาดทุนในวันทีก� ลุม่ บริษทั มีสทิ ธิได้ รบั เงินปันผล ดอกเบีย� รับ ดอกเบี �ยรับบันทึกในกําไรหรือขาดทุนตามเกณฑ์คงค้ าง (ณ)

รายได้ รอตัดบัญชี บริษทั รับรู้รายได้ คา่ เช่ารอตัดบัญชีเป็ นรายได้ โดยวิธเี ส้นตรงตามอายุสญ ั ญาเช่า

(ด)

ต้ นทุนทางการเงิน ดอกเบี �ยจ่ายและค่าใช้ จา่ ยในทํานองเดียวกันบันทึกในกําไรหรือขาดทุนในงวดทีค� า่ ใช้ จา่ ยดังกล่าวเกิดขึ �น ยกเว้ นในกรณีทมี� กี าร บันทึกเป็ นต้ นทุนส่วนหนึง� ของสินทรัพย์ อันเป็ นผลมาจากการใช้ เวลายาวนานในการจัดหา ก่อสร้ างหรือการผลิตสินทรัพย์ดงั กล่าว ก่อนทีจ� ะนํามาใช้ เองหรือเพือ� ขาย

(ต)

สัญญาเช่ าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้ สญ ั ญาเช่าดําเนินงานบันทึกในกําไรหรือขาดทุนโดยวิธที เี� ป็ นระบบตลอดอายุสญ ั ญาเช่า สําหรับสัญญาเช่าดําเนิน งานทีม� วี นั เริ�มต้ นสัญญาเช่าในหรือหลังวันที� 1 มกราคม 2551 เป็นต้ นไปใช้ วธิ เี ส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ประโยชน์ทไี� ด้ รบั ตาม สัญญาเช่าจะรับรู้ในกําไรหรือขาดทุนเป็ นส่วนหนึง� ของค่าเช่าทังสิ � �นตามสัญญาตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ค่าเช่าทีอ� าจเกิดขึ �นต้ องนํามารวมคํานวณจํานวนเงินขันตํ � า� ทีต� ้ องจ่ายตามระยะเวลาทีค� งเหลือของสัญญาเช่า เมือ� ได้ รบั การยืนยัน การปรับค่าเช่า การจําแนกประเภทสัญญาเช่า ณ วันทีเ� ริ�มต้ นข้ อตกลง กลุม่ บริษทั จะพิจารณาว่าข้ อตกลงดังกล่าวประกอบด้ วยสัญญาเช่าหรือมีสญ ั ญาเช่าเป็ นส่วนประกอบหรือ ไม่ โดยพิจารณาจากสินทรัพย์ทมี� ลี กั ษณะเฉพาะเจาะจง ถ้ าการปฏิบตั ติ ามข้ อตกลงนันขึ � �นอยูก่ บั การใช้ สนิ ทรัพย์ทมี� ลี กั ษณะเฉพาะ เจาะจง และข้ อตกลงนันจะนํ � าไปสูส่ ทิ ธิในการใช้ สนิ ทรัพย์ ถ้ าทําให้ กลุม่ บริษทั มีสทิ ธิในการควบคุมการใช้ สนิ ทรัพย์ ณ วันทีเ� ริ�มต้ นข้ อตกลง หรือ มีการประเมินข้ อตกลงใหม่ กลุม่ บริษทั แยกค่าตอบแทนสําหรับสัญญาเช่า และส่วนทีเ� ป็นองค์ประกอบ อืน� โดยใช้ มลู ค่ายุตธิ รรมเป็นเกณฑ์ในการแยก หากกลุม่ บริษทั สรุปว่าเป็นสัญญาเช่าการเงิน แต่ไม่สามารถแบ่งแยกจํานวนดังกล่าว ได้อย่างน่าเชือ� ถือ ให้รบั รู้สนิ ทรัพย์และหนี �สินในจํานวนทีเ� ท่ากับมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทมี� ลี กั ษณะเฉพาะเจาะจงนัน� หลังจากนัน� จํานวนหนี �สินจะลดลงตามจํานวนทีจ� า่ ย และต้ นทุนทางการเงินตามนัยจากหนี �สินจะรับรู้โดยใช้ อตั ราดอกเบี �ยเงินกู้ยมื ส่วนเพิม� ของ กลุม่ บริษทั

110


(ถ)

ภาษีเงินได้ ค่าใช้ จา่ ยภาษีเงินได้ สาํ หรับปี ประกอบด้ วยภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีรบั รู้ในกําไรหรือขาดทุน เว้ นแต่รายการทีร� บั รู้โดยตรงในส่วนของผู้ถอื หุ้นหรือกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� ภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบนั ได้ แก่ภาษีทคี� าดว่าจะจ่ายชําระหรือได้รบั ชําระ โดยคํานวณจากกําไรหรือขาดทุนประจําปี ทตี� ้องเสียภาษี โดยใช้ อตั ราภาษีทปี� ระกาศใช้ หรือทีค� าดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันทีร� ายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีทเี� กีย� วกับรายการในปี กอ่ นๆ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีบนั ทึกโดยคํานวณจากผลแตกต่างชัว� คราวที�เกิดขึ �นระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี � สินและจํานวนทีใ� ช้ เพือ� ความมุง่ หมายทางภาษี ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีจะไม่ถกู รับรู้เมือ� เกิดจากผลแตกต่างชัว� คราวต่อไปนี � การรับรู้สนิ ทรัพย์หรือหนี �สินในครังแรกซึ � ง� เป็ นรายการทีไ� ม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการนันไม่ � มผี ลกระทบต่อกําไรขาดทุนทางบัญชี หรือทางภาษี และผลแตกต่างทีเ� กีย� วข้ องกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อยหากเป็นไปได้ วา่ จะไม่มกี ารกลับรายการในอนาคตอันใกล้ การวัดมูลค่าของภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีต้องสะท้ อนถึงผลกระทบทางภาษีทจี� ะเกิดจากลักษณะวิธีการทีก� ลุม่ บริษทั คาดว่าจะ ได้ รบั ผลประโยชน์จากสินทรัพย์หรือจะจ่ายชําระหนี �สินตามมูลค่าตามบัญชี ณ วันทีส� ิ �นรอบระยะเวลาทีร� ายงาน ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้ อตั ราภาษีทคี� าดว่าจะใช้ กบั ผลแตกต่างชัว� คราวเมือ� มีการกลับรายการโดยใช้ อตั ราภาษี ทีป� ระกาศใช้ หรือทีค� าดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันทีร� ายงาน ในการกําหนดมูลค่าของภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กลุม่ บริษทั ต้องคํานึงถึงผลกระทบของสถานการณ์ ทางภาษีทไี� ม่แน่นอนและอาจทําให้ จาํ นวนภาษีทตี� ้ องจ่ายเพิม� ขึ �น และมีดอกเบี �ยทีต� ้ องชําระ กลุม่ บริษทั เชือ� ว่าได้ ตงภาษี ั � เงินได้ ค้าง จ่ายเพียงพอสําหรับภาษีเงินได้ ทจี� ะจ่ายในอนาคต ซึง� เกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึง การตีความทางกฏ หมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี �อยูบ่ นพื �นฐานการประมาณการและข้ อสมมติ และอาจจะเกีย� วข้ องกับ การตัดสินใจเกีย� วกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้ อมูลใหม่ๆอาจจะทําให้ กลุม่ บริษทั เปลีย� นการตัดสินใจโดยขึ �นอยูก่ บั ความเพียงพอของ ภาษีเงินได้ ค้างจ่ายทีม� อี ยู่ การเปลีย� นแปลงในภาษีเงินได้ ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้ จา่ ยภาษีเงินได้ ในงวดทีเ� กิดการเปลีย� นแปลง สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีและหนี �สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้ เมือ� กิจการมีสทิ ธิตามกฎหมายทีจ� ะ นําสินทรัพย์ภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบนั มาหักกลบกับหนี �สินภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้ นี �ประเมินโดยหน่วยงาน จัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันสําหรับหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษีตา่ งกัน สําหรับหน่วยภาษีตา่ งกันนันกิ � จการมีความตังใจจะ � จ่ายชําระหนี �สินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั ด้วยยอดสุทธิหรือตังใจจะรั � บคืนสินทรัพย์และจ่ายชําระหนี �สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมือ� มีความเป็นไปได้คอ่ นข้ างแน่วา่ กําไรเพือ� เสียภาษีในอนาคตจะมีจาํ นวนเพียงพอ กับการใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว� คราวดังกล่าว กําไรเพือ� เสียภาษีในอนาคตต้องพิจารณาถึงการกลับรายการผลแตกต่างชัว� คราว ทีเ� กีย� วข้ อง ดังนัน� กําไรเพือ� เสียภาษีในอนาคตหลังปรับปรุงการกลับรายการผลแตกต่างชัว� คราวทีพ� จิ ารณาจากแผนธุรกิจของแต่ละ บริษทั ย่อยในกลุม่ บริษทั แล้วอาจมีจาํ นวนไม่เพียงพอทีจ� ะบันทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้ทงจํ ั � านวน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี จะถูกทบทวน ณ ทุกวันทีร� ายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าทีป� ระโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้ จริง

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

111


(ท)

กําไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้น กลุม่ บริษทั แสดงกําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขันพื � �นฐานและกําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลดสําหรับหุ้นสามัญ กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขันพื � �น ฐานคํานวณโดยการหารกําไรหรือขาดทุนของผู้ถอื หุ้นสามัญของบริษทั ด้ วยจํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย� ถ่วงนํ �าหนักทีอ� อกจําหน่าย ระหว่างปี กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลดคํานวณโดยการหารกําไรหรือขาดทุนของผู้ถอื หุ้นสามัญทีป� รับปรุงด้ วยจํานวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลีย� ถ่วงนํ �าหนักทีอ� อกจําหน่ายและผลกระทบของสิทธิซื �อหุ้นของพนักงาน

(ธ)

รายงานทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน ผลการดําเนินงานของส่วนงานทีร� ายงานต่อผู้มอี าํ นาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดําเนินงาน จะแสดงถึงรายการทีเ� กิดขึ �นจากส่วนงาน ดําเนินงานนันโดยตรงรวมถึ � งรายการทีไ� ด้ รบั การปันส่วนอย่างสมเหตุสมผล รายการทีไ� ม่สามารถปันส่วนได้ สว่ นใหญ่เป็ นรายการ ทรัพย์สนิ ทีส� าํ นักงานใหญ่ ค่าใช้ จา่ ยสํานักงานใหญ่ และสินทรัพย์หรือหนี �สินภาษีเงินได้

4

บุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้ องกัน เพือ� วัตถุประสงค์ในการจัดทํางบการเงิน บุคคลหรือกิจการเป็นบุคคลหรือกิจการทีเ� กีย� วข้องกันกับกลุม่ บริษทั หากกลุม่ บริษทั มีอาํ นาจ ควบคุมหรือควบคุมร่วมกันทังทางตรงและทางอ้ � อมหรือมีอทิ ธิพลอย่างมีนยั สําคัญต่อบุคคลหรือกิจการในการตัดสินใจทางการเงิน และการบริหารหรือในทางกลับกัน หรือกลุม่ บริษทั อยูภ่ ายใต้ การควบคุมเดียวกันหรืออยูภ่ ายใต้ อทิ ธิพลอย่างมีนยั สําคัญเดียวกัน กับบุคคลหรือกิจการนัน� การเกีย� วข้ องกันนี �อาจเป็นรายบุคคลหรือเป็นกิจการ ความสัมพันธ์กบั ผู้บริหารสําคัญและบุคคลหรือกิจการทีเ� กีย� วข้ องกัน มีดงั นี � ชื�อกิจการ

112

ประเทศที�จดั ตัง� / สัญชาติ

ลักษณะความสัมพันธ์

บริษทั โรงแรมเอราวัณ จํากัด (มหาชน)

ไทย

บริษทั เอราวัณ เจ้ าพระยา จํากัด

ไทย

บริษทั เอราวัณ ราชดําริ จํากัด บริษทั เอราวัณ ภูเก็ต จํากัด บริษทั เอราวัณ สมุย จํากัด บริษทั เอราวัณ นาคา จํากัด บริษทั เดอะ รีเสิร์ฟ จํากัด บริษทั เอราวัณ คอมเมอร์เชียล เมเนจเม้ นท์ จํากัด บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด บริษทั เอราวัณ โกรท เมเนจเม้ นท์ จํากัด บริษทั ทวีทรัพย์อนันต์ จํากัด Erawan Mauritius Limited Erawan Singapore Pte. Ltd.

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 72.59 และโดยอ้ อมร้ อยละ 1.05 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 95.77 และโดยอ้ อมร้ อยละ 4.22 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 99.99

ไทย ไทย ไทย มอริเชียส สิงคโปร์

เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00


ชื�อกิจการ

Erawan Philippines, INC. Erawan Philippines (Ermita), INC. Erawan Philippines (Makati), INC. Erawan Philippines (Aseana), INC. Erawan Philippines (Alabang), INC. Erawan Philippines (Quezon City), INC. Erawan Philippines (Ortigas), INC. Erawan Philippines (Cebu), INC. PT. Erawan Indonesia Jakarta บริษทั ราชประสงค์ ดีเวลลอปเม้ นท์ จํากัด

ประเทศที�จดั ตัง� / สัญชาติ

ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ อินโดนีเซีย ไทย

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เอราวัณ โฮเทล โกรท บริษทั ราชประสงค์ สแควร์ จํากัด

ไทย

บริษทั โรงแรมชายทะเล จํากัด

ไทย

บริษทั นํ �าตาลมิตรผล จํากัด บริษทั บ้ านปู จํากัด (มหาชน) บริษทั สหโรงแรมไทยและการท่องเทีย� ว จํากัด

ไทย ไทย ไทย

ธนาคาร เกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน) บริษทั โฮเต็ลเบดส์ (ประเทศไทย) จํากัด บริษทั ซูชิ อิจิ (ประเทศไทย) จํากัด บริษทั คัปป้าเดลิ จํากัด ผู้บริหารสําคัญ

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

ไทย

ลักษณะความสัมพันธ์

เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.99 เป็ นบริษทั ย่อย บริษทั ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.96 เป็ นบริษทั ร่วม บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 48.00 และมีกรรมการร่วมกัน เป็ นบริษทั ร่วม บริษทั ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 20.00 เป็ นกิจการทีเ� กีย� วข้ องกัน บริษทั ถือหุ้นโดยตรง ร้ อยละ 23.29 เป็ นกิจการทีเ� กีย� วข้ องกันโดยมีกรรมการเป็ นญาติสนิท กับกรรมการบริษทั เป็ นกิจการทีเ� กีย� วข้ องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็ นกิจการทีเ� กีย� วข้ องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็ นกิจการทีเ� กีย� วข้ องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน และถือหุ้นร้ อยละ 26.36 ในบริษทั ย่อยแห่งหนึง� ของบริษทั เป็ นกิจการทีเ� กีย� วข้ องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็ นกิจการทีเ� กีย� วข้ องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็ นกิจการทีเ� กีย� วข้ องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็ นกิจการทีเ� กีย� วข้ องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน บุคคลที�มีอํานาจและความรับผิดชอบการวางแผน สัง� การและควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ของกิจการไม่วา่ ทาง ตรงหรือทางอ้อม ทังนี � รวมถึ � งกรรมการของกลุม่ บริษทั ไม่วา่ จะทําหน้ าทีใ� นระดับบริหารหรือไม่

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

113


นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ ดงั ต่อไปนี � รายการ

บริษทั ย่อย เงินปันผลรับ ดอกเบี �ยรับและดอกเบี �ยจ่าย รายได้ สาธารณูปโภค รายได้ คา่ บริการอืน� ค่าเช่าพื �นทีแ� ละค่าบริการจ่าย บริษทั ร่ วม เงินปันผลรับ ค่าเช่าทีด� นิ และอาคารจ่าย ค่าบริหาร กิจการอื�นที�เกี�ยวข้ องกัน รายได้ จากการประกอบกิจการโรงแรม รายได้ จากค่าเช่าห้ องในอาคารและค่าบริการ รายได้ สาธารณูปโภค ค่าเช่าทีด� นิ จ่าย เงินปันผลจ่าย

นโยบายการกําหนดราคา

ตามอัตราทีป� ระกาศจ่าย อัตราร้ อยละ 4.02 - 4.45 ต่อปี (2560: อัตราร้ อยละ 4.02 - 5.53 ต่อปี ) ราคาตามสัญญา ราคายุตธิ รรมตามเงือ� นไขทีด� ที สี� ดุ ราคาตามสัญญา ตามอัตราทีป� ระกาศจ่าย ราคาตามสัญญา ราคาทุนตามสัดส่วนการถือหุ้น ราคายุตธิ รรมตามเงือ� นไขทีด� ที สี� ดุ ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ตามอัตราทีป� ระกาศจ่าย

รายการทีส� าํ คัญกับบุคคลหรือกิจการทีเ� กีย� วข้ องกันสําหรับแต่ละปี สิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม สรุปได้ ดงั นี � สําหรับปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม

บริษทั ย่อย เงินปันผลรับ ดอกเบี �ยรับ รายได้ สาธารณูปโภค รายได้ คา่ บริการอืน� ค่าเช่าพื �นทีแ� ละค่าบริการจ่าย ดอกเบี �ยจ่าย บริษทั ร่ วม เงินปันผลรับ ค่าเช่าทีด� นิ และอาคารจ่าย ค่าบริหาร กิจการอื�นที�เกี�ยวข้ องกัน รายได้ จากการประกอบกิจการโรงแรม รายได้ จากค่าเช่าห้ องในอาคารและค่าบริการ รายได้ สาธารณูปโภค ค่าเช่าทีด� นิ จ่าย เงินปันผลจ่าย ค่ าตอบแทนผู้บริหารสําคัญ ผลประโยชน์ระยะสันของพนั � กงาน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวมค่ าตอบแทนผู้บริหารสําคัญ

114

งบการเงินรวม 2561 2560

-

-

72,500 743

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

163,668 65,783 3,072 19,350 16,441 17,997

129,617 82,023 3,139 18,250 16,441 15,258

72,500 751

743

5,212 751

27,770 5,019 1,532 14,120 59,430

63,631 7,050 1,798 14,120 47,065

12,771 4,060 1,532 -

33,351 6,039 1,798 -

50,824 1,003 51,827

55,167 1,607 56,774

41,664 1,003 42,667

49,247 1,607 50,854


ยอดคงเหลือกับกิจการทีเ� กีย� วข้ องกัน ณ วันที� 31 ธันวาคม มีดงั นี �

งบการเงินรวม 2561 2560

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

ลูกหนีก� ารค้ า - กิจการที�เกี�ยวข้ องกัน บริษทั ย่อย กิจการอืน� ทีเ� กีย� วข้ องกัน รวม

2,088 2,088

7,469 7,469

340 1,593 1,933

1,003 3,518 4,521

ลูกหนีอ� �นื - กิจการที�เกี�ยวข้ องกัน บริษทั ย่อย

-

-

8,288

7,848

ค่ าใช้ จ่ายจ่ายล่ วงหน้ า - กิจการที�เกี�ยวข้ องกัน กิจการอืน� ทีเ� กีย� วข้ องกัน

7,060

7,060

-

-

เงินให้ก้ยู มื แก่กจิ การที�เกี�ยวข้ องกัน

เงินให้ก้ ยู มื ระยะยาว บริษทั ย่อย บริษทั เอราวัณ สมุย จํากัด บริษทั เอราวัณ ภูเก็ต จํากัด บริษทั เอราวัณ เจ้ าพระยา จํากัด บริษทั เดอะ รีเสิร์ฟ จํากัด บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด บริษทั เอราวัณ โกรท เมเนจเม้ นท์ จํากัด รวม

อัตราดอกเบีย� 2561 2560 (ร้ อยละต่อปี )

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 2561 2560 (พันบาท)

4.24 4.24 4.24 4.24 4.24

4.02 4.02 4.02 4.02 4.02

-

-

141,077 46,394 20,913 3,721 1,091,971

4.24

4.02

-

-

139 166,828 1,304,215 1,765,392

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

146,592 467,223 79,105 3,569 902,075

115


รายการเคลือ� นไหวของเงินให้ ก้ ยู มื แก่กจิ การทีเ� กีย� วข้ องกันสําหรับแต่ละปี สิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม มีดงั นี � งบการเงินรวม 2561 2560

เงินให้ก้ยู มื แก่กจิ การที�เกี�ยวข้ องกัน

เงินให้ก้ ยู มื ระยะยาว บริษทั ย่อย ณ วันที� 1 มกราคม เพิม� ขึ �น ลดลง ณ วันที� 31 ธันวาคม

-

-

งบการเงินรวม 2561 2560

1,765,392 528,121 (989,298) 1,304,215

(พันบาท)

1,424,138 1,124,742 (783,488) 1,765,392

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

เจ้าหนีก� ารค้ า - กิจการที�เกี�ยวข้ องกัน บริษทั ย่อย

-

-

339

711

เจ้าหนีอ� �นื - กิจการที�เกี�ยวข้ องกัน บริษทั ย่อย

-

-

892

732

7,484

8,144

ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่าย - กิจการที�เกี�ยวข้ องกัน บริษทั ร่วม

เงินกู้ยมื จากกิจการที�เกี�ยวข้ องกัน เงินกู้ยมื ระยะยาว

บริษทั ย่อย บริษทั เอราวัณ ราชดําริ จํากัด บริษทั เอราวัณ คอมเมอร์เชียล เมเนจเม้ นท์ จํากัด บริษทั เอราวัณ นาคา จํากัด รวม

116

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

อัตราดอกเบีย� 2561 2560 (ร้ อยละต่อปี )

-

-

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 2561 2560 (พันบาท)

4.45

4.45

-

-

165,336

140,590

4.24 4.24

-

-

-

7,006 4,003 176,345

140,590


รายการเคลือ� นไหวของเงินกู้ยมื จากกิจการทีเ� กีย� วข้ องกันสําหรับแต่ละปี สิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม มีดงั นี � เงินกู้ยมื จากกิจการที�เกี�ยวข้ องกัน

5

งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

(พันบาท)

เงินกู้ยมื ระยะสัน� บริษทั ย่อย ณ วันที� 1 มกราคม เพิม� ขึ �น ลดลง ณ วันที� 31 ธันวาคม

-

-

1,391,579 (1,391,579) -

1,165,101 (1,165,101) -

เงินกู้ยมื ระยะยาว บริษทั ย่อย ณ วันที� 1 มกราคม เพิม� ขึ �น ลดลง ณ วันที� 31 ธันวาคม

-

-

140,590 118,319 (82,564) 176,345

118,086 98,658 (76,154) 140,590

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด งบการเงินรวม 2561 2560

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร เงินลงทุนระยะสันที � ม� สี ภาพคล่องสูง รวม

11,875 795,914 243,501 1,051,290

(พันบาท)

11,628 849,673 215,675 1,076,976

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

4,250 195,448 199,698

3,916 249,530 253,446

ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที� 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ ดงั นี � งบการเงินรวม 2561 2560

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ สกุลเงินรูเปี ยอินโดนีเซีย รวม

751,322 1,596 230,967 67,405 1,051,290

(พันบาท)

844,879 1,902 160,469 69,726 1,076,976

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

199,698 199,698

253,446 253,446

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

117


6

ลูกหนีก� ารค้ า

หมายเหตุ

กิจการทีเ� กีย� วข้ องกัน กิจการอืน� ๆ รวม หัก ค่าเผือ� หนี �สงสัยจะสูญ สุทธิ กลับรายการหนี �สงสัยจะสูญสําหรับปี

การวิเคราะห์อายุของลูกหนี �การค้ า มีดงั นี �

กิจการที�เกี�ยวข้ องกัน ค้ างชําระ : น้ อยกว่า 3 เดือน 6 - 12 เดือน กิจการอื�น ๆ ค้ างชําระ : น้ อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผือ� หนี �สงสัยจะสูญ สุทธิ

118

4

งบการเงินรวม 2561 2560

2,088 205,314 207,402 (2,091) 205,311 (825)

(พันบาท)

7,469 213,057 220,526 (2,916) 217,610 (393)

งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

1,933 99,616 101,549 (629) 100,920 (637)

(พันบาท)

4,521 96,011 100,532 (1,266) 99,266 (130)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

2,087 1 2,088

7,465 4 7,469

1,932 1 1,933

4,517 4 4,521

202,809 1,829 478 198 205,314 (2,091) 203,223

206,204 4,775 1,963 115 213,057 (2,916) 210,141

98,773 556 287 99,616 (629) 98,987

92,011 3,209 791 96,011 (1,266) 94,745

205,311

217,610

100,920

99,266


ยอดลูกหนี �การค้ า ณ วันที� 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ ดงั นี �

งบการเงินรวม 2561 2560

สกุลเงินบาท สกุลเงินฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ รวม

198,404 6,907 205,311

(พันบาท)

216,581 1,029 217,610

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

100,920 100,920

99,266 99,266

โดยปกติระยะเวลาการให้ สนิ เชือ� แก่ลกู ค้ าของกลุม่ บริษทั และบริษทั มีระยะเวลาตังแต่ � 15 ถึง 60 วัน 7

สินค้ าคงเหลือ งบการเงินรวม 2561 2560

อาหารและเครื�องดืม� วัสดุสิ �นเปลืองใช้ ในการดําเนินงาน อืน� ๆ รวม หัก ค่าเผือ� การปรับมูลค่าสินค้ าลดลง สุทธิ 8

41,889 8,497 5,048 55,434 55,434

(พันบาท)

42,360 8,343 8,377 59,080 (2,250) 56,830

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

9,128 1,331 1,069 11,528 11,528

10,125 1,150 328 11,603 11,603

สินทรั พย์ หมุนเวียนอื�น งบการเงินรวม 2561 2560

ค่าใช้ จา่ ยจ่ายล่วงหน้ า ลูกหนี �อืน� อืน� ๆ รวม

54,787 13,913 32,407 101,107

(พันบาท)

54,262 10,006 28,211 92,479

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

13,466 8,288 21,171 42,925

15,872 8,015 19,462 43,349

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

119


9

เงินลงทุนในบริษัทร่ วม

ณ วันที� 1 มกราคม ส่วนแบ่งขาดทุนสุทธิจาก เงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินปันผลรับ การลดมูลค่าหน่วยลงทุน ค่าเผือ� การด้ อยค่า ณ วันที� 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2561 2560

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

109,475

155,074

322,167

365,880

(3,677) (13,461) 92,337

(24,474) (5,212) (15,913) 109,475

(13,461) 308,706

(15,913) (27,800) 322,167

ไม่มกี ารซื �อและจําหน่ายเงินลงทุนในบริษทั ร่วมในระหว่างปี สิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2561 เมือ� วันที� 1 กุมภาพันธ์ 2561 บริษทั ร่วมได้ ประกาศลดมูลค่าหน่วยลงทุนและได้ จา่ ยคืนเงินจากการลดมูลค่าหน่วยลงทุนดังกล่าวแก่ บริษทั เป็ นจํานวนเงินรวม 4.68 ล้านบาท ในวันที� 2 มีนาคม 2561 เมือ� วันที� 2 พฤษภาคม 2561 บริษทั ร่วมได้ ประกาศลดมูลค่าหน่วยลงทุนและได้จา่ ยคืนเงินจากการลดมูลค่าหน่วยลงทุนดังกล่าวแก่ บริษทั เป็ นจํานวนเงินรวม 5.78 ล้านบาท ในวันที� 1 มิถนุ ายน 2561 เมือ� วันที� 7 พฤศจิกายน 2561 บริษทั ร่วมได้ ประกาศลดมูลค่าหน่วยลงทุนและได้ จา่ ยคืนเงินจากการลดมูลค่าหน่วยลงทุนดังกล่าว แก่บริษทั เป็ นจํานวนเงินรวม 3.00 ล้านบาท ในวันที� 4 ธันวาคม 2561 เมือ� วันที� 23 มกราคม 2560 บริษทั ร่วมได้ ประกาศลดมูลค่าหน่วยลงทุนและได้ จา่ ยคืนเงินจากการลดมูลค่าหน่วยลงทุนดังกล่าวแก่ บริษทั เป็ นจํานวนเงินรวม 7.02 ล้านบาท ในวันที� 23 กุมภาพันธ์ 2560 เมือ� วันที� 27 เมษายน 2560 บริษทั ร่วมได้ ประกาศลดมูลค่าหน่วยลงทุนและได้ จา่ ยคืนเงินจากการลดมูลค่าหน่วยลงทุนดังกล่าวแก่ บริษทั เป็ นจํานวนเงินรวม 5.98 ล้านบาท ในวันที� 24 พฤษภาคม 2560 เมือ� วันที� 30 ตุลาคม 2560 บริษทั ร่วมได้ ประกาศลดมูลค่าหน่วยลงทุนและได้ จา่ ยคืนเงินจากการลดมูลค่าหน่วยลงทุนดังกล่าวแก่ บริษทั เป็ นจํานวนเงินรวม 2.91 ล้านบาท ในวันที� 27 พฤศจิกายน 2560 การด้อยค่าของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่วม ผู้บริหารได้มกี ารทบทวนและทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ร่วมแห่งหนึง� ซึง� มีข้อบ่งชี �การด้อยค่า โดยกําหนดมูลค่าทีค� าดว่า จะได้ รบั คืนของเงินลงทุนจากมูลค่าการใช้ โรงแรมซึง� เป็ นหน่วยของสินทรัพย์ทกี� อ่ ให้ เกิดเงินสด โดยใช้ วธิ ปี ระมาณการคิดลดกระแส เงินสดในอนาคต โดยใช้ ข้อสมมติซงึ� อ้างอิงจากแนวโน้ มผลประกอบการโดยคํานึงถึงประสบการณ์ในอดีตและปรับปรุงด้วยแนวโน้ ม การเจริญเติบโตของรายได้ โดยเฉลีย� โดยใช้ อตั ราคิดลดร้ อยละ 9 มูลค่าทีค� าดว่าจะได้รบั คืนของเงินลงทุนในบริษทั ร่วมดังกล่าวตํา� กว่ามูลค่าตามบัญชี บริษทั จึงรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าจํานวน 27.8 ล้านบาทในงบกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการสําหรับปี สิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2560

120


รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

121

48.00 20.00

48.00

20.00

338

338

338

338

-

-

1.00

338

338

ราคาทุน 2561 2560

-

-

การด้อยค่ า 2561 2560

338

338

ราคาทุน - สุทธิ 2561 2560 (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

-

มูลค่ ายุตธิ รรม สําหรับหลักทรัพย์ จดทะเบียนฯ 2561 2560

1,680.84 1,748.14 336,168 349,629 (27,800) (27,800) 308,368 321,829 186,666 239,496 336,506 349,967 (27,800) (27,800) 308,706 322,167

1.00

1.00

ราคาทุน 2561 2560

มูลค่ ายุตธิ รรม มูลค่ าตาม สําหรับหลักทรัพย์ วิธสี ่ วนได้เสีย จดทะเบียนฯ 2561 2560 2561 2560 (พันบาท)

20.00 1,680.84 1,748.14 336,168 349,629 91,999 109,137 186,666 239,496 336,506 349,967 92,337 109,475

1.00

ทุนชําระแล้ ว 2561 2560 (ล้ านบาท)

งบการเงินรวม

5,212 5,212

-

-

-

5,212 5,212

-

เงินปั นผลรับ 2561 2560

-

-

เงินปั นผลรับ 2561 2560

มูลค่ายุตธิ รรมทีเ� ปิ ดเผยสําหรับเงินลงทุนในบริษทั ร่วม อ้ างอิงจากราคาปิ ดของหลักทรัพย์จดทะเบียน มูลค่ายุตธิ รรมดังกล่าวจัดอยูใ่ นข้ อมูลลําดับ 2 ตามทีก� าํ หนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 13 เรื�อง การวัดมูลค่ายุตธิ รรม

บริษทั ร่ วม บริษทั ราชประสงค์ ดีเวลลอปเม้ นท์ จํากัด กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เอราวัณ โฮเทล โกรท รวม

20.00

ไทย

48.00

ทุนชําระแล้ ว 2561 2560 (ล้ านบาท)

48.00

สัดส่ วนความเป็ น เจ้าของ 2561 2560 (ร้ อยละ)

ไทย

สัดส่ วนความเป็ น เจ้าของ 2561 2560 (ร้ อยละ)

บริษทั ร่ วม บริษทั ราชประสงค์ ดีเวลลอปเม้ นท์ จํากัด ให้ บริการ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงทุนใน เอราวัณ โฮเทล โกรท อสังหาริมทรัพย์ รวม

ประเทศที� กิจการ ลักษณะธุรกิจ จัดตัง�

เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 และเงินปันผลรับสําหรับแต่ละปี มีดงั นี �


บริษทั ร่ วม ตารางต่อไปนี �สรุปข้อมูลทางการเงินของบริษทั ร่วมทีม� สี าระสําคัญและรวมอยูใ่ นงบการเงินของบริษทั ร่วม ปรับปรุงด้วยการปรับมูลค่า ยุตธิ รรม ณ วันทีซ� ื �อ และความแตกต่างของนโยบายการบัญชี การกระทบยอดรายการระหว่างข้ อมูลทางการเงินโดยสรุปดังกล่าวกับ มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้ เสียของกลุม่ บริษทั ในบริษทั ดังกล่าว

รายได้ ค่าใช้ จา่ ย รายได้ จากการลงทุนสุทธิ รายการขาดทุนสุทธิจากเงินลงทุน การลดลงในสินทรัพย์สทุ ธิจากการดําเนินงาน ส่วนทีเ� ป็ นของกลุม่ บริษทั สินทรัพย์ หนี �สิน สินทรัพย์สทุ ธิ ส่วนได้ เสียของกลุม่ บริษทั ในสินทรัพย์สทุ ธิของผู้ถกู ลงทุน ณ วันที� 1 มกราคม ก่อนปรับปรุง รายการระหว่างกันและรายการปรับปรุงอืน� ส่วนได้ เสียของกลุม่ บริษทั ในสินทรัพย์สทุ ธิของผู้ถกู ลงทุน ณ วันที� 1 มกราคม หลังปรับปรุง การลดลงในสินทรัพย์สทุ ธิจากการดําเนินงาน ตามสัดส่วนของกลุม่ บริษทั รายการปรับปรุงการลดลงในสินทรัพย์สทุ ธิจากการดําเนินงาน ตามสัดส่วนของกลุม่ บริษทั เงินปันผลรับระหว่างปี การลดมูลค่าหน่วยลงทุน มูลค่ าตามบัญชีของส่ วนได้เสียในผู้ถกู ลงทุน ณ วันที� 31 ธันวาคม

122

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เอราวัณ โฮเทล โกรท 2561 2560 (พันบาท)

72,551 (6,228) 66,323 (84,710) (18,387)

72,566 (6,388) 66,178 (188,540) (122,362)

(3,677)

(24,472)

1,541,517 (1,419) 1,540,098

1,626,342 (552) 1,625,790

325,158 (216,021) 109,137

370,755 (216,019) 154,736

(3,677)

(24,472)

(13,461) 91,999

(2) (5,212) (15,913) 109,137


10

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

ณ วันที� 1 มกราคม ลงทุนเพิม� ค่าเผือ� การด้ อยค่า ณ วันที� 31 ธันวาคม

3,607,960 670,000 (118,500) 4,159,460

4,415,160 429,600 (1,236,800) 3,607,960

เมือ� วันที� 2 สิงหาคม 2561 บริษทั เอราวัณ โกรท เมเนจเม้ นท์ จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อย ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญ จํานวน 17,000,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท เป็ นจํานวนเงิน 170,000,000 บาท ซึง� บริษทั ถือหุ้นทังหมดและชํ � าระค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้ว ในวันที� 2 สิงหาคม 2561 เมือ� วันที� 2 สิงหาคม 2561 บริษทั เอราวัณ ภูเก็ต จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อย ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 500,000 หุ้น หุ้นละ 1,000 บาท เป็ นจํานวนเงิน 500,000,000 บาท ซึง� บริษทั ถือหุ้นทังหมดและชํ � าระค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้วในวัน ที� 2 สิงหาคม 2561 เมือ� วันที� 27 ธันวาคม 2560 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อย ได้ จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออกหุ้นสามัญจํานวน 53,700,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท เป็ นจํานวนเงิน 537,000,000 ซึง� บริษทั ถือหุ้นทังหมดและชํ � าระค่าหุ้นบางส่วนเป็ นจํานวนเงิน 429,600,000 บาท ในวันที� 27 ธันวาคม 2560

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

123


124

ลักษณะธุรกิจ

99.99 99.99 99.99 99.99

99.99 99.99 99.99 99.99

185.00 185,000 185,000

-

-

เงินปั นผลรับ 2561 2560

-

-

819,710 163,668 129,617 68,000 451,291 545,201 376,858 19,300 185,000 185,000

819,710 819,710 68,000 68,000 451,291 451,291 1,782,001 (1,236,800) (1,236,800) 1,045,201 376,858 376,858 19,300 19,300

การด้อยค่ า ราคาทุน - สุทธิ 2561 2560 2561 2560 (พันบาท)

2.00 2.00 2,000 2,000 2,000 2,000 1,125.60 1,125.60 1,125,600 1,125,600 1,125,600 1,125,600 185.00 15.00 185,000 15,000 (118,500) 66,500 15,000 5,514,760 4,844,760 (1,355,300) (1,236,800) 4,159,460 3,607,960 163,668 129,617

185.00

119.50 119.50 819,710 71.00 71.00 68,000 450.00 450.00 451,291 2,250.00 1,750.00 2,282,001 330.00 330.00 376,858 26.50 26.50 19,300

73.64 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

73.64 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

ราคาทุน 2561 2560

ทุนชําระแล้ ว 2561 2560 (ล้ านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษทั ย่อยทางตรงทังหมดดํ � าเนินธุรกิจในประเทศไทย บริษทั ไม่มเี งินลงทุนในบริษทั ย่อยซึง� จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ดังนันจึ � งไม่มรี าคาทีเ� ปิ ดเผยต่อสาธารณชน

บริษทั ย่อยทางตรง บริษทั โรงแรมเอราวัณ จํากัด (มหาชน) โรงแรม บริษทั เอราวัณ เจ้าพระยา จํากัด โรงแรม บริษทั เอราวัณ ราชดําริ จํากัด โรงแรม บริษทั เอราวัณ ภูเก็ต จํากัด โรงแรม บริษทั เอราวัณ สมุย จํากัด โรงแรม บริษทั เอราวัณ นาคา จํากัด เจ้าของทีด� นิ บริษทั เดอะ รีเสิร์ฟ จํากัด พัฒนา อสังหาริมทรัพย์ บริษทั เอราวัณ คอมเมอร์เชียล เมเนจเม้นท์ จํากัด รับบริหารจัดการ บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด โรงแรม บริษทั เอราวัณ โกรท เมเนจเม้นท์ จํากัด โรงแรม รวม

บริษทั ย่อย

สัดส่ วนความเป็ น เจ้าของ 2561 2560 (ร้ อยละ)

เงินลงทุนในบริษทั ย่อย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 และเงินปันผลรับจากเงินลงทุนสําหรับแต่ละปี มีดงั นี �


รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

125

โรงแรม ลงทุนใน บริษทั อืน� Erawan Singapore Pte. Ltd. ลงทุนใน บริษทั อืน� Erawan Philippines, INC. ลงทุนใน บริษทั อืน� Erawan Philippines (Ermita), INC. โรงแรม Erawan Philippines (Makati), INC. โรงแรม Erawan Philippines (Aseana), INC. โรงแรม Erawan Philippines (Alabang), INC. โรงแรม ErawanPhilippines(QuezonCity),INC. โรงแรม Erawan Philippines (Ortigas), INC. โรงแรม Erawan Philippines (Cebu), INC. โรงแรม PT. Erawan Indonesia Jakarta โรงแรม

บริษทั ย่อยทางอ้อม บริษทั ทวีทรัพย์อนันต์ จํากัด Erawan Mauritius Limited

บริษทั ย่อย

99.99 100.00 100.00 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.96

ไทย มอริเชียส สิงคโปร์ ฟิ ลปิ ปินส์ ฟิ ลปิ ปินส์ ฟิ ลปิ ปินส์ ฟิ ลปิ ปินส์ ฟิ ลปิ ปินส์ ฟิ ลปิ ปินส์ ฟิ ลปิ ปินส์ ฟิ ลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.96

100.00

100.00

99.99

สัดส่ วนความเป็ นเจ้าของ ประเทศที� 2561 2560 ลักษณะธุรกิจ กิจการจัดตัง� (ร้ อยละ)

831.04 99.99 78.06 110.37 81.28 66.22 52.61 240.34 74.03

911.28

920.88

60.00

447.10 99.99 62.83 83.31 69.30 30.12 52.61 53.61 74.03

656.69

664.08

54.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนชําระแล้ ว ราคาทุน การด้อยค่ า ราคาทุน - สุทธิ เงินปั นผลรับ 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 (ล้ านบาท) (พันบาท)


การด้อยค่าของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ผู้บริหารได้ มกี ารทบทวนและทดสอบการด้ อยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ย่อยบางแห่งซึง� มีข้อบ่งชี �ของการด้ อยค่า โดยกําหนดมูลค่า ทีค� าดว่าจะได้ รบั คืนของเงินลงทุนจากมูลค่าจากการใช้ โรงแรมซึง� เป็ นหน่วยของสินทรัพย์ทกี� อ่ ให้ เกิดเงินสด โดยใช้ วธิ ปี ระมาณการ คิดลดกระแสเงินสดในอนาคต โดยใช้ ข้อสมมติซงึ� อ้างอิงจากแนวโน้ มผลประกอบการโดยคํานึงถึงประสบการณ์ในอดีตและปรับปรุง ด้ วยแนวโน้ มการเจริญเติบโตของรายได้ โดยเฉลีย� โดยใช้ อตั ราคิดลดร้ อยละ 9 มูลค่าทีค� าดว่าจะได้ รบั คืนของเงินลงทุนในบริษทั เอราวัณ โกรท เมเนจเม้ นท์ จํากัด ตํา� กว่ามูลค่าตามบัญชี บริษทั จึงรับรู้ผลขาดทุน จากการด้ อยค่า จํานวน 118.5 ล้านบาท ในงบกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการสําหรับปี สิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2561 (31 ธันวาคม 2560: บริษทั เอราวัณ ภูเก็ต จํากัด 1,236.8 ล้านบาท) 11

เงินลงทุนระยะยาวอื�น

บริษทั ที�เกี�ยวข้ องกัน บริษทั ราชประสงค์ สแควร์ จํากัด กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี� 2 รวม

สัดส่ วนความเป็ นเจ้าของ 2561 2560 ร้ อยละ

งบการเงินรวม 2561 2560 (พันบาท)

23.29 0.17

206 541 747

23.29 0.17

สัดส่ วนความเป็ นเจ้าของ 2561 2560 ร้ อยละ

บริษทั ที�เกี�ยวข้ องกัน บริษทั ราชประสงค์ สแควร์ จํากัด กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี� 2 รวม

126

23.29 0.13

23.29 0.13

206 853 1,059

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

206 405 611

206 638 844


12

ส่ วนได้ เสียที�ไม่ มีอาํ นาจควบคุม ตารางต่อไปนี �สรุปข้ อมูลเกีย� วกับบริษทั ย่อยของกลุม่ บริษทั ทีม� สี ว่ นได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุมทีม� สี าระสําคัญ บริษทั โรงแรม เอราวัณ จํากัด (มหาชน)

ร้ อยละของส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี �สินหมุนเวียน หนี �สินไม่หมุนเวียน สินทรัพย์สทุ ธิ มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม รายได้ กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม กําไรทีแ� บ่งให้ กบั ส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� ทีแ� บ่งให้ กบั ส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (เงินปันผลทีจ� า่ ยให้ กบั ส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม: 59.4 ล้านบาท) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ�มขึน� สุทธิ

26.36

31 ธันวาคม 2561 ตัดรายการ ระหว่ างกัน (พันบาท)

รวม

-

165,311

-

56,881 849

524,503 1,102,584 (523,726) (476,234) 627,127 165,311 1,422,797 215,784 3,221 219,005 56,881 849 406,092 (16,333) (377,708) 12,051

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

127


บริษทั โรงแรม เอราวัณ จํากัด (มหาชน)

ร้ อยละของส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี �สินหมุนเวียน หนี �สินไม่หมุนเวียน สินทรัพย์สทุ ธิ มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม รายได้ กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม กําไรทีแ� บ่งให้ กบั ส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� ทีแ� บ่งให้ กบั ส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (เงินปันผลทีจ� า่ ยให้ กบั ส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม: 47.1 ล้านบาท) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ�มขึน� สุทธิ

128

31 ธันวาคม 2560 ตัดรายการ ระหว่ างกัน (พันบาท)

รวม

-

167,012

-

59,445

-

-

26.36 529,282 1,238,507 (362,033) (772,177) 633,579 167,012 1,429,106 225,512 225,512 59,445 425,675 (10,733) (317,712) 97,230


รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

129

13

ราคาทุน ณ วันที� 1 มกราคม 2560 เพิม� ขึ �น โอน จําหน่าย ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� น จากการแปลงค่าหน่วยงานต่างประเทศ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 เพิม� ขึ �น โอน จําหน่าย ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� น จากการแปลงค่าหน่วยงานต่างประเทศ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561

ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์

13,270,444 22,836 1,513,452 (114,972) (23,541) 14,668,219

2,188,975

(23,170)

12,795,648 152,568 544,511 (199,113)

2,188,975 -

-

2,063,212 125,763 -

ที�ดนิ

อาคารและ ส่ วนปรับปรุง

(1,237) 2,438,251

2,389,310 186,648 119,291 (255,761)

(1,274)

2,791,356 166,385 27,540 (594,697)

เครื�องตกแต่ง ติดตัง� และ อุปกรณ์

50,220

49,939 5,806 (5,525)

-

51,280 2,498 (3,839)

ยานพาหนะ (พันบาท)

งบการเงินรวม

(189) 325,832

305,430 21,497 (906)

(214)

296,405 9,385 (146)

เครื�องใช้ ในการ ดําเนินกิจการ โรงแรม

(12,764) 656,228

868,345 1,434,287 (1,633,640) -

(19,063)

351,917 1,107,837 (572,051) (295)

สินทรัพย์ท�อี ยู่ ระหว่ างการ ก่ อสร้ าง

(37,731) 20,327,725

19,072,443 1,671,074 (897) (377,164)

(43,721)

18,349,818 1,564,436 (798,090)

รวม


130

ค่าเสื�อมราคา ณ วันที� 1 มกราคม 2560 ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี จําหน่าย ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� น จากการแปลงค่าหน่วยงานต่างประเทศ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี จําหน่าย ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� น จากการแปลงค่าหน่วยงานต่างประเทศ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 4,312,995 443,854 (196,590) (527) 4,559,732 481,473 (114,832) (867) 4,925,506

-

ที�ดนิ

อาคารและ ส่ วนปรับปรุง

(134) 1,854,952

206,664 (254,462)

(76) 1,902,884

2,287,496 207,344 (591,880)

เครื�องตกแต่ง ติดตัง� และ อุปกรณ์

42,066

3,942 (4,137)

42,261

41,858 4,189 (3,786)

ยานพาหนะ (พันบาท)

งบการเงินรวม

-

-

-

-

เครื�องใช้ ในการ ดําเนินกิจการ โรงแรม

-

-

-

-

สินทรัพย์ท�อี ยู่ ระหว่ างการ ก่ อสร้ าง

(1,001) 6,822,524

692,079 (373,431)

(603) 6,504,877

6,642,349 655,387 (792,256)

รวม


รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

131

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 ภายใต้ กรรมสิทธิข� องกลุม่ บริษทั ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 ภายใต้ กรรมสิทธิข� องกลุม่ บริษทั ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที� 1 มกราคม 2560 ภายใต้ กรรมสิทธิข� องกลุม่ บริษทั ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน 8,482,653 8,482,653 8,710,712 8,710,712 9,742,713 9,742,713

2,063,212 2,063,212 2,188,975 2,188,975 2,188,975 2,188,975

ที�ดนิ

อาคารและ ส่ วนปรับปรุง

583,299 583,299

486,426 486,426

503,860 503,860

เครื�องตกแต่ง ติดตัง� และ อุปกรณ์

4,251 3,903 8,154

3,695 3,983 7,678

5,446 3,976 9,422

ยานพาหนะ (พันบาท)

งบการเงินรวม

325,832 325,832

305,430 305,430

296,405 296,405

เครื�องใช้ ในการ ดําเนินกิจการ โรงแรม

656,228 656,228

868,345 868,345

351,917 351,917

สินทรัพย์ท�อี ยู่ ระหว่ างการ ก่ อสร้ าง

13,501,298 3,903 13,505,201

12,563,583 3,983 12,567,566

11,703,493 3,976 11,707,469

รวม


132 32

32

-

-

ที�ดนิ

-

-

-

-

เครื�องตกแต่ง ติดตัง� และ อุปกรณ์

-

-

ยานพาหนะ (พันบาท)

-

-

25,908

7,144

เครื�องใช้ ในการ สินทรัพย์ท�อี ยู่ ดําเนินกิจการ ระหว่ างการ โรงแรม ก่ อสร้ าง

25,908

7,144

รวม

ราคาทรัพย์สนิ ของกลุม่ บริษทั ก่อนหักค่าเสือ� มราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึง� ได้ คดิ ค่าเสือ� มราคาเต็มจํานวนแล้ว แต่ยงั คงใช้ งานจนถึง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 มีราคาทุน 1,598.5 ล้านบาท (2560: 1,786.6 ล้านบาท)

รับรู้ในปี 2561 อัตราดอกเบี �ยทีร� บั รู้ในปี 2561 (ร้ อยละ MLR-2.00 ต่อปี , ร้ อยละ MLR-3.20 ต่อปี และ ร้ อยละ RRP+2.25 ต่อปี )

ต้นทุนทางการเงินที�รับรู้เป็ นส่ วนหนึ�ง ของสินทรัพย์ รับรู้ในปี 2560 อัตราดอกเบี �ยทีร� บั รู้ในปี 2560 (ร้ อยละ MLR-2.00 ต่อปี และ ร้ อยละ RRP+2.25 ต่อปี )

หมายเหตุ

อาคารและ ส่ วนปรับปรุง

งบการเงินรวม


รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

133

ค่าเสื�อมราคา ณ วันที� 1 มกราคม 2560 ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561

ราคาทุน ณ วันที� 1 มกราคม 2560 เพิม� ขึ �น โอน จําหน่าย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 เพิม� ขึ �น โอน จําหน่าย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561

2,133,680 223,591 (113,894) 2,243,377

-

1,174,708 99,611 (241,829) 1,032,490

1,111,857 107,789 (44,938)

อาคารและ ส่ วนปรับปรุง

ที�ดนิ

1,980,139 210,477 (56,936)

เครื�องตกแต่ง ติดตัง� และ อุปกรณ์

-

1,374,088 99,617 101,408 (242,661) 1,332,452

6,944,674 8,131 846,022 (113,896) 7,684,931

1,006,544 1,006,544

1,360,719 59,195 (45,826)

6,866,540 129,737 5,766 (57,369)

1,006,544 -

ที�ดนิ

อาคารและ ส่ วนปรับปรุง

เครื�องตกแต่ง ติดตัง� และ อุปกรณ์

18,033 2,968 (3,642) 17,359

17,540 2,931 (2,438)

ยานพาหนะ (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

24,190 5,194 (5,030) 24,354

24,389 2,239 (2,438)

ยานพาหนะ (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

-

เครื�องใช้ ในการ ดําเนินกิจการ โรงแรม

156,995 12,583 (906) 168,672

157,055 86 (146)

เครื�องใช้ ในการ ดําเนินกิจการ โรงแรม

-

-

สินทรัพย์ท�อี ยู่ ระหว่ างการ ก่ อสร้ าง

530,002 907,823 (947,430) 490,395

112,129 423,639 (5,766) -

สินทรัพย์ท�อี ยู่ ระหว่ างการ ก่ อสร้ าง

3,326,421 326,170 (359,365) 3,293,226

3,109,536 321,197 (104,312)

รวม

10,036,493 1,033,348 (362,493) 10,707,348

9,527,376 614,896 (105,779)

รวม


134

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 ภายใต้ กรรมสิทธิข� องบริษทั ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 ภายใต้ กรรมสิทธิข� องบริษทั ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที� 1 มกราคม 2560 ภายใต้ กรรมสิทธิข� องบริษทั ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

1,006,544 1,006,544

1,006,544 1,006,544

1,006,544 1,006,544

ที�ดนิ

5,441,554 5,441,554

4,810,994 4,810,994

4,886,401 4,886,401

อาคารและ ส่ วนปรับปรุง

299,962 299,962

199,380 199,380

248,862 248,862

เครื�องตกแต่ง ติดตัง� และ อุปกรณ์

3,092 3,903 6,995

2,174 3,983 6,157

2,873 3,976 6,849

ยานพาหนะ (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

168,672 168,672

156,995 156,995

157,055 157,055

เครื�องใช้ ในการ ดําเนินกิจการ โรงแรม

490,395 490,395

530,002 530,002

112,129 112,129

สินทรัพย์ท�อี ยู่ ระหว่ างการ ก่ อสร้ าง

7,410,219 3,903 7,414,122

6,706,089 3,983 6,710,072

6,413,864 3,976 6,417,840

รวม


รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

135

32

32

-

-

ที�ดนิ

-

-

-

-

-

-

-

-

18,505

1,234

สินทรัพย์ท�อี ยู่ ระหว่ างการ ก่ อสร้ าง

18,505

1,234

รวม

ราคาทรัพย์สนิ ของบริษทั ก่อนหักค่าเสือ� มราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึง� ได้ คดิ ค่าเสือ� มราคาเต็มจํานวนแล้ ว แต่ยงั คงใช้ งานจนถึง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 มีราคาทุน 914.0 ล้ านบาท (2560: 1,191.0 ล้านบาท)

รับรู้ในปี 2561 อัตราดอกเบี �ยทีร� บั รู้ในปี 2561 (ร้ อยละ MLR-2.00 ต่อปี และ ร้ อยละ MLR–3.20 ต่อปี )

ต้นทุนทางการเงินที�รับรู้เป็ นส่วนหนึ�ง ของสินทรัพย์ รับรู้ในปี 2560 อัตราดอกเบี �ยทีร� บั รู้ในปี 2560 (ร้ อยละ MLR-2.00 ต่อปี )

หมายเหตุ

อาคารและ ส่ วนปรับปรุง

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื�องตกแต่ง เครื�องใช้ ในการ ติดตัง� และ ดําเนินกิจการ อุปกรณ์ ยานพาหนะ โรงแรม (พันบาท)


กลุม่ บริษทั และบริษทั ได้ นาํ ทีด� นิ อาคารและส่วนปรับปรุงมูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 จํานวน 9,643.6 ล้านบาท และ 5,643.5 ล้านบาท ตามลําดับ (31 ธันวาคม 2560: กลุม่ บริษทั และบริษทั มีจาํ นวน 9,533.3 ล้านบาท และ 5,474.2 ล้านบาท ตาม ลําดับ) ไปคํ �าประกันวงเงินสินเชือ� ทีไ� ด้รบั จากสถาบันการเงินและโอนสิทธิประโยชน์ภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยให้ กบั สถาบันการเงิน เพือ� เป็ นหลักประกันเงินกู้ยมื ตามเงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา (ตามทีก� ล่าวในหมายเหตุประกอบการเงินข้ อ 19) นอกจากนี � อาคารและ ส่วนปรับปรุงอาคารบนทีด� นิ เช่าบางสัญญาจะตกเป็นของผู้ให้ เช่าเมือ� สิ �นสุดสัญญาเช่า ผู้บริหารได้ มกี ารทบทวนและทดสอบการด้ อยค่าของทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์ทมี� ขี ้ อบ่งชี �ของการด้อยค่า โดยกําหนดมูลค่าทีค� าดว่า จะได้รบั คืนของทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์จากมูลค่าจากการใช้โรงแรมซึง� เป็นหน่วยของสินทรัพย์ทกี� อ่ ให้เกิดเงินสด โดยใช้วธิ ปี ระมาณ การคิดลดกระแสเงินสดในอนาคต โดยใช้ ข้อสมมติซงึ� อ้ างอิงจากแนวโน้ มผลประกอบการโดยคํานึงถึงประสบการณ์ในอดีตและ ปรับปรุงด้ วยแนวโน้ มการเจริญเติบโตของรายได้ โดยเฉลีย� โดยใช้ อตั ราคิดลดร้ อยละ 9 มูลค่าทีค� าดว่าจะได้ รบั คืนของทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์สงู กว่ามูลค่าตามบัญชี ดังนันจึ � งไม่มกี ารตังผลขาดทุ � นจากการด้ อยค่าทีด� นิ อาคาร และอุปกรณ์ 14

ที�ดนิ รอการพัฒนา งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (พันบาท)

ค่าซื �อทีด� นิ ค่าใช้ จา่ ยในการพัฒนาทีด� นิ รวม

136

95,382 8,855 104,237

95,382 8,855 104,237

-

-


15

สิทธิการเช่ าที�ดนิ และอาคาร

ราคาทุน ณ วันที� 1 มกราคม 2560 เพิม� ขึ �น ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 เพิม� ขึ �น โอน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 ค่ าตัดจําหน่ าย ณ วันที� 1 มกราคม 2560 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี โอนเป็ นส่วนหนึง� ของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้ าง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี โอนเป็ นส่วนหนึง� ของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้ าง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที� 1 มกราคม 2560 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561

สิทธิการเช่ า ที�ดนิ

งบการเงินรวม สิทธิการเช่ า อาคาร (พันบาท)

1,183,353 19,000 1,202,353 30,820 1,233,173

1,218,065 2,202 1,220,267 4,797 897 1,225,961

2,401,418 21,202 2,422,620 35,617 897 2,459,134

393,949 22,946 5,321 422,216 24,115

546,949 47,294 594,243 48,079

940,898 70,240 5,321 1,016,459 72,194

4,852 451,183

642,322

4,852 1,093,505

789,404 780,137 781,990

671,116 626,024 583,639

1,460,520 1,406,161 1,365,629

รวม

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

137


งบการเงินเฉพาะกิจการ สิทธิการเช่ า สิทธิการเช่ า ที�ดนิ อาคาร รวม (พันบาท)

ราคาทุน ณ วันที� 1 มกราคม 2560 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561

960,164 960,164 960,164

278,481 278,481 278,481

1,238,645 1,238,645 1,238,645

ค่ าตัดจําหน่ าย ณ วันที� 1 มกราคม 2560 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี โอนเป็ นส่วนหนึง� ของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้ าง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี โอนเป็ นส่วนหนึง� ของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้ าง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561

269,944 18,404 4,558 292,906 18,793 4,149 315,848

198,971 20,366 219,337 20,221 239,558

468,915 38,770 4,558 512,243 39,014 4,149 555,406

มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที� 1 มกราคม 2560 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 และ 1 มกราคม 2561 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561

690,220 667,258 644,316

79,510 59,144 38,923

769,730 726,402 683,239

กลุม่ บริษทั และบริษทั ได้ นาํ สิทธิการเช่าทีด� นิ มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 จํานวน 680.1 ล้านบาท และ 605.5 ล้ านบาท ตามลําดับ (31 ธันวาคม 2560: กลุม่ บริษทั และบริษทั มีจาํ นวน 586.2 ล้ านบาท และ 516.0 ล้ านบาท ตามลําดับ) ไปคํ �าประกันวงเงินสินเชือ� ทีไ� ด้ รบั จากสถาบันการเงิน (ตามทีก� ล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 19) 16

สินทรั พย์ ไม่ มีตวั ตน

ค่าลิขสิทธิ�ซอฟต์แวร์

ราคาทุน ณ วันที� 1 มกราคม เพิม� ขึ �น จําหน่าย ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� น จากการแปลงค่าหน่วยงานต่างประเทศ ณ วันที� 31 ธันวาคม

138

งบการเงินรวม 2561 2560

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

196,321 17,057 (13,967)

212,101 12,741 (28,206)

135,803 6,800 (13,967)

136,305 2,577 (3,079)

(302) 199,109

(315) 196,321

128,636

135,803


ค่าลิขสิทธิ�ซอฟต์แวร์

ค่ าตัดจําหน่ าย ณ วันที� 1 มกราคม ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี จําหน่าย ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� น จากการแปลงค่าหน่วยงานต่างประเทศ ณ วันที� 31 ธันวาคม มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที� 1 มกราคม ณ วันที� 31 ธันวาคม 17

งบการเงินรวม 2561 2560

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

162,042 11,663 (13,957)

177,463 12,796 (28,201)

120,670 5,500 (13,957)

115,860 7,885 (3,075)

(25) 159,723

(16) 162,042

112,213

120,670

34,279 39,386

34,638 34,279

15,133 16,423

20,445 15,133

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี �สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันที� 31 ธันวาคม มีดงั นี �

2561

รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ (หนีส� นิ ) ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีสทุ ธิ

งบการเงินรวม 2560

(พันบาท)

2561

หนีส� นิ

2560

18,040 (5,191)

18,973 (5,610)

(55,990) 5,191

(52,814) 5,610

12,849

13,363

(50,799)

(47,204)

2561

รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสทุ ธิ

สินทรัพย์

สินทรัพย์

9,809 9,809

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

(พันบาท)

9,384 9,384

2561

หนีส� นิ

2560

-

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

-

139


140 (3,301) (3,301) (2,807)

-

(52,814) (52,814) (33,841)

583 17,320 425 645 18,973 (52,814) (52,814) (33,841)

583 17,320 425 645 18,973 (3,176) (3,176) (1,008)

(229) 2,314 83 2,168

(3,101)

(3,101) (3,101)

(55,990) (55,990) (37,950)

354 16,533 425 728 18,040

279 8,943 560 9,782

(26) (457) 85 (398)

-

253 8,486 645 9,384

253 8,486 645 9,384

(127) 1,362 83 1,318

(893) (893)

126 8,955 728 9,809

บริษทั ย่อยบางแห่งยังมิได้ รบั รู้ขาดทุนทางภาษียกไปจํานวน 671.0 ล้านบาท (2560: 859.7 ล้านบาท) ซึง� จะสิ �นอายุในปี 2562 - 2566 เป็นสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีเนือ� งจากยังไม่มคี วาม เป็ นได้ คอ่ นข้ างแน่วา่ บริษทั ย่อยดังกล่าวจะมีกาํ ไรทางภาษีเพียงพอทีจ� ะใช้ ประโยชน์ทางภาษีดงั กล่าว

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี �การค้ า (หนี �สงสัยจะสูญ) ประมาณการหนี �สินสําหรับผลประโยชน์พนักงาน หนี �สินหมุนเวียนอืน� รวม

(49,513) (49,513) (31,034)

หนีส� นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์ (ค่าเสือ� มราคา) รวม สุทธิ

(79) 192 425 (44) 494

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที� บันทึกเป็ น (รายจ่าย) รายได้ใน ณ วันที� ณ วันที� บันทึกเป็ น (รายจ่าย) รายได้ใน ณ วันที� 1 มกราคม กําไรหรือ กําไรขาดทุน 31 ธันวาคม 1 มกราคม กําไรหรือ กําไรขาดทุน 31 ธันวาคม 2560 ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื�น 2560 2561 ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื�น 2561 (พันบาท)

662 17,128 689 18,479

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี �การค้ า (หนี �สงสัยจะสูญ) ประมาณการหนี �สินสําหรับผลประโยชน์พนักงาน สินทรัพย์หมุนเวียนอืน� หนี �สินหมุนเวียนอืน� รวม

งบการเงินรวม ณ วันที� บันทึกเป็ น (รายจ่าย) รายได้ใน ณ วันที� ณ วันที� บันทึกเป็ น (รายจ่าย) รายได้ใน ณ วันที� 1 มกราคม กําไรหรือ กําไรขาดทุน 31 ธันวาคม 1 มกราคม กําไรหรือ กําไรขาดทุน 31 ธันวาคม 2560 2560 2561 ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื�น ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื�น 2561 (พันบาท)

รายการเคลือ� นไหวของสินทรัพย์และหนี �สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีรวมทีเ� กิดขึ �นในระหว่างปี มดี งั นี �


18

สินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียนอื�น

ภาษีเงินได้ ถกู หัก ณ ทีจ� า่ ย ค่าใช้ จา่ ยจ่ายล่วงหน้ า เงินทดรองจ่าย รวม 19

หนีส� ินที�มีภาระดอกเบีย�

ส่ วนที�หมุนเวียน เงินกู้ยมื ระยะสันจากสถาบั � นการเงิน ส่วนทีม� หี ลักประกัน ส่วนทีไ� ม่มหี ลักประกัน เงินกู้ยมื ระยะสัน� จากสถาบันการเงิน เงินกู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนทีถ� งึ กําหนดชําระภายในหนึง� ปี ส่วนทีม� หี ลักประกัน ส่วนทีไ� ม่มหี ลักประกัน ส่ วนของหนีส� นิ ระยะยาวที�ถงึ กําหนดชําระ ภายในหนึ�งปี หนีส� นิ ตามสัญญาเช่ าการเงิน ส่ วนที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี รวมหนีส� นิ ที�มภี าระดอกเบียระยะสั � น�

งบการเงินรวม 2561 2560

2,708 30,525 87,003 120,236

(พันบาท)

2,551 24,704 71,537 98,792

งบการเงินรวม 2561 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

18,104 29,755 47,859

(พันบาท)

18,719 16,466 35,185

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

449,000 300,000 749,000

250,000 845,000 1,095,000

449,000 300,000 749,000

250,000 845,000 1,095,000

1,025,317 499,229

915,151 -

343,607 499,229

564,704 -

1,524,546

915,151

842,836

564,704

907

1,215

907

1,215

2,274,453

2,011,366

1,592,743

1,660,919

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

141


ส่ วนที�ไม่ หมุนเวียน เงินกู้ยมื ระยะยาวจากกิจการเกีย� วข้ องกัน ส่วนทีไ� ม่มหี ลักประกัน

หมายเหตุ

4

งบการเงินรวม 2561 2560

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

-

-

176,345 176,345

140,590 140,590

5,443,988 1,885,113 7,329,101

5,269,439 1,787,000 7,056,439

2,899,444 1,885,113 4,784,557

2,470,693 1,787,000 4,257,693

7,329,101

7,056,439

4,960,902

4,398,283

1,694

1,617

1,694

1,617

รวมหนีส� นิ ที�มภี าระดอกเบียระยะยาว �

7,330,795

7,058,056

4,962,596

4,399,900

รวม

9,605,248

9,069,422

6,555,339

6,060,819

เงินกู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนทีม� หี ลักประกัน ส่วนทีไ� ม่มหี ลักประกัน เงินกู้ยมื ระยะยาว หนีส� นิ ตามสัญญาเช่ าการเงิน

หนี �สินทีม� ภี าระดอกเบี �ยซึง� ไม่รวมหนี �สินตามสัญญาเช่าการเงินแสดงตามระยะเวลาครบกําหนดการจ่ายชําระ ณ วันที� 31 ธันวาคม ได้ ดงั นี � งบการเงินรวม 2561 2560

ครบกําหนดภายในหนึง� ปี ครบกําหนดหลังจากหนึง� ปี แต่ไม่เกินห้ าปี ครบกําหนดหลังจากห้ าปี รวม

2,273,546 5,908,975 1,420,126 9,602,647

(พันบาท)

2,010,151 5,613,267 1,443,172 9,066,590

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

1,591,836 4,084,080 876,822 6,552,738

1,659,704 3,513,145 885,138 6,057,987

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 กลุม่ บริษทั มีสญ ั ญาเงินกู้ระยะสันและระยะยาวกั � บสถาบันการเงินในประเทศและต่างประเทศ โดยมี รายละเอียดดังนี � สัญญา ประเภทหลัก เงินกู้ยมื ประกันของเงินกู้ยมื

1 2 3 4

5

142

มีหลักประกัน ไม่มหี ลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน

วงเงินสินเชื�อ ที�ได้รับอนุมตั ิ

ระยะสัน� 600 ล้านบาท ระยะสัน� 300 ล้านบาท ระยะยาว 2,277.55 ล้านบาท ระยะยาว 650 ล้านบาท ระยะสัน� 100 ล้านบาท ระยะสัน� 500 ล้านบาท

อัตราดอกเบีย� ร้ อยละต่อปี

MMR MMR อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี MMR MMR

กําหนดการจ่าย ชําระคืน

ตามทีร� ะบุในตัว� สัญญาใช้ เงิน ตามทีร� ะบุในตัว� สัญญาใช้ เงิน ทุก 3 เดือน เริ�ม มีนาคม 2560 ทุก 6 เดือน เริ�ม มิถนุ ายน 2558 ตามทีร� ะบุในตัว� สัญญาใช้ เงิน ตามทีร� ะบุในตัว� สัญญาใช้ เงิน


สัญญา ประเภทหลัก เงินกู้ยมื ประกันของเงินกู้ยมื

6 7 8

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39

ไม่มหี ลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน ไม่มหี ลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน มีหลักประกัน

วงเงินสินเชื�อ ที�ได้รับอนุมตั ิ

ระยะยาว 2,500 ล้านบาท ระยะสัน� 1,500 ล้านบาท ระยะยาว 660 ล้านบาท ระยะสัน� 100 ล้านบาท ระยะยาว 950 ล้านบาท ระยะสัน� 300 ล้านบาท ระยะยาว 1,000 ล้านบาท ระยะสัน� 500 ล้านบาท ระยะยาว 600 ล้านบาท ระยะยาว 700 ล้านบาท ระยะสัน� 39 ล้านบาท ระยะยาว 450 ล้านบาท ระยะยาว 630 ล้านบาท ระยะยาว 36.22 ล้านบาท ระยะยาว 32.67 ล้านบาท ระยะยาว 34.56 ล้านบาท ระยะยาว 39 ล้านบาท ระยะยาว 39 ล้านบาท ระยะยาว 34.06 ล้านบาท ระยะยาว 38.50 ล้านบาท ระยะยาว 29.18 ล้านบาท ระยะยาว 39 ล้านบาท ระยะยาว 37.02 ล้านบาท ระยะยาว 37.70 ล้านบาท ระยะยาว 37.17 ล้านบาท ระยะยาว 33.02 ล้านบาท ระยะยาว 37.50 ล้านบาท ระยะยาว 35.59 ล้านบาท ระยะยาว 38.53 ล้านบาท ระยะยาว 36.62 ล้านบาท ระยะยาว 33.89 ล้านบาท ระยะยาว 31.52 ล้านบาท ระยะยาว 1,000 ล้านบาท ระยะยาว 181 ล้านเปโซ ระยะยาว 178 ล้านเปโซ ระยะยาว 224.6 ล้านเปโซ ระยะยาว 218 ล้านเปโซ ระยะยาว 182 ล้านเปโซ

อัตราดอกเบีย� ร้ อยละต่อปี

MLR ลบด้ วยอัตราร้ อยละคงที� ต่อปี MMR MLR ลบด้ วยอัตราร้ อยละคงที� ต่อปี MMR MLR ลบด้ วยอัตราร้ อยละคงที� ต่อปี MMR อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี MMR อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี MMR อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี อัตราร้ อยละคงที� ต่อปี MLR ลบด้ วยอัตราร้ อยละคงที� ต่อปี RRP บวกด้วยอัตราร้ อยละคงที� ต่อปี RRP บวกด้วยอัตราร้ อยละคงที� ต่อปี RRP บวกด้วยอัตราร้ อยละคงที� ต่อปี RRP บวกด้วยอัตราร้ อยละคงที� ต่อปี RRP บวกด้วยอัตราร้ อยละคงที� ต่อปี

กําหนดการจ่าย ชําระคืน

ตามทีร� ะบุในสัญญา ตามทีร� ะบุในตัว� สัญญาใช้ เงิน ทุก 6 เดือน เริ�ม มิถนุ ายน 2562 ตามทีร� ะบุในตัว� สัญญาใช้ เงิน เดือนมีนาคม 2565 ตามทีร� ะบุในตัว� สัญญาใช้ เงิน ทุก 6 เดือน เริ�ม มิถนุ ายน 2550 ตามทีร� ะบุในตัว� สัญญาใช้ เงิน ทุก 6 เดือน เริ�ม มิถนุ ายน 2558 ทุก 3 เดือน เริ�ม ธันวาคม 2551 ตามทีร� ะบุในตัว� สัญญาใช้ เงิน ทุก 3 เดือน เริ�ม มีนาคม 2549 ทุก 3 เดือน เริ�ม มีนาคม 2560 ทุก 3 เดือน เริ�ม มีนาคม 2559 ทุก 3 เดือน เริ�ม มีนาคม 2559 ทุก 3 เดือน เริ�ม มีนาคม 2559 ทุก 3 เดือน เริ�ม มีนาคม 2559 ทุก 3 เดือน เริ�ม มีนาคม 2559 ทุก 3 เดือน เริ�ม พฤษภาคม 2559 ทุก 3 เดือน เริ�ม พฤษภาคม 2559 ทุก 3 เดือน เริ�ม พฤษภาคม 2559 ทุก 3 เดือน เริ�ม ตุลาคม 2559 ทุก 3 เดือน เริ�ม ธันวาคม 2559 ทุก 3 เดือน เริ�ม มิถนุ ายน 2560 ทุก 3 เดือน เริ�ม สิงหาคม 2560 ทุก 3 เดือน เริ�ม สิงหาคม 2560 ทุก 3 เดือน เริ�ม สิงหาคม 2560 ทุก 3 เดือน เริ�ม สิงหาคม 2560 ทุก 3 เดือน เริ�ม กันยายน 2560 ทุก 3 เดือน เริ�ม ธันวาคม 2560 ทุก 3 เดือน เริ�ม ธันวาคม 2560 ทุก 3 เดือน เริ�ม เมษายน 2561 ทุก 3 เดือน เริ�ม พฤษภาคม 2562 ทุกเดือน เริ�ม สิงหาคม 2560 ทุกเดือน เริ�ม กันยายน 2561 ทุกเดือน เริ�ม เมษายน 2562 ทุกเดือน เริ�ม สิงหาคม 2562 ทุกเดือน เริ�ม พฤศจิกายน 2562

ภายใต้สญ ั ญาเงินกู้ยมื กลุม่ บริษทั ต้องปฏิบตั ติ ามเงือ� นไขบางประการตามทีร� ะบุในสัญญา เช่น อัตราส่วนการถือหุ้นของผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ การเปลีย� นแปลงกรรมการบริษทั การเปลีย� นแปลงผู้บริหารโรงแรม การคํ �าประกันหนี �สินหรือเข้ ารับอาวัลตัว� สัญญาใช้ เงินแก่บคุ คล หรือนิตบิ คุ คลใด ๆ การจ่ายเงินปันผล การลดทุนจดทะเบียน การรวมหรือควบบริษทั เข้ ากับบริษทั อืน� และการดํารงอัตราส่วนทางการ เงินบางประการให้ เป็นไปตามสัญญา เป็นต้น ทังนี � �ในเดือนธันวาคม 2561 กลุม่ บริษทั ได้รบั หนังสือยกเว้นเงือ� นไขการดํารงอัตราส่วน ทางการเงินดังกล่าวจากสถาบันการเงินบางแห่งสําหรับปี 2561 อย่างไรก็ตาม บริษทั ย่อยแห่งหนึง� ได้ รบั หนังสือผ่อนผันเงือ� นไข การดํารงอัตราส่วนทางการเงินจากสถาบันการเงินในวันที� 21 มกราคม 2562 เงินกู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงินดังกล่าวจํานวน 98.6 ล้านบาทจึงถูกจัดประเภทเป็ นหนี �สินหมุนเวียนในงบการเงินรวม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

143


หนี �สินทีม� ภี าระดอกเบี �ยส่วนทีม� หี ลักประกัน ณ วันที� 31 ธันวาคม มีรายละเอียดของหลักประกันซึง� เป็นสินทรัพย์ดงั นี � งบการเงินรวม 2561 2560

ทีด� นิ อาคารและส่วนปรับปรุง - มูลค่าสุทธิ ทางบัญชี สิทธิการเช่าทีด� นิ - มูลค่าสุทธิทางบัญชี

9,643,556 680,074 10,323,630

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

(พันบาท)

9,533,266 582,572 10,115,838

5,643,485 605,532 6,249,017

5,474,168 516,032 5,990,200

นอกจากนี �กลุม่ บริษทั ได้ โอนสิทธิประโยชน์ภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยให้ กบั ผู้ให้ ก้ เู พือ� เป็นหลักประกันเงินกู้ยมื ตามเงือ� นไขทีร� ะบุใน สัญญา เงินกู้ยมื บางส่วนคํ �าประกันโดยบริษทั และโดยการจํานําใบหุ้นของ บริษทั เอราวัณ ราชดําริ จํากัด จํานวน 1,599,994 หุ้น ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 กลุม่ บริษทั มีวงเงินสินเชือ� ซึง� ยังมิได้เบิกใช้ เป็นจํานวนเงิน 4,324.7 ล้านบาท และ 64.3 ล้านฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ (2560: 4,233.4 ล้านบาท และ 447.8 ล้านฟิ ลปิ ปินส์เปโซ) และบริษทั มีวงเงินสินเชือ� ซึง� ยังมิได้เบิกใช้ เป็นจํานวนเงิน 3,240.0 ล้านบาท (2560: 2,928.0 ล้านบาท) 20

เจ้ าหนีก� ารค้ า หมายเหตุ

กิจการทีเ� กีย� วข้ องกัน กิจการอืน� ๆ รวม

4

งบการเงินรวม 2561 2560

224,887 224,887

(พันบาท)

279,508 279,508

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

339 102,475 102,814

711 136,491 137,202

ยอดเจ้ าหนี �การค้ า ณ วันที� 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ ดงั นี � งบการเงินรวม 2561 2560

สกุลเงินบาท สกุลเงินฟิ ลปิ ปิ นส์เปโซ รวม

144

217,353 7,534 224,887

(พันบาท)

276,521 2,987 279,508

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

102,814 102,814

137,202 137,202


21

หนีส� ินหมุนเวียนอื�น งบการเงินรวม 2561 2560

ค่าใช้ จา่ ยค้ างจ่าย รายได้ รบั ล่วงหน้ าและเงินมัดจํารับ เจ้ าหนี �ค่าก่อสร้ าง ค่าธรรมเนียมในการบริหารและการใช้ สทิ ธิ ค่าใช้ จา่ ยทางการตลาด และค่าธรรมเนียม อืน� ค้ างจ่าย เงินประกันผลงาน ภาษีมลู ค่าเพิม� ค้ างจ่าย อืน� ๆ รวม 22

รายได้ รอตัดบัญชี

สิทธิการเช่าอาคาร การบริการ และอุปกรณ์ หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ค่าตัดจําหน่ายรับรู้ในกําไรหรือขาดทุนสําหรับปี สิทธิการเช่าอาคาร การบริการ และอุปกรณ์ทถี� งึ กําหนดรับรู้ภายในหนึง� ปี สิทธิการเช่าอาคาร การบริการ และอุปกรณ์ รวม

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

394,116 203,442 135,790

325,386 174,677 132,188

202,097 93,704 89,274

161,574 71,998 96,685

35,627 96,450 24,721 84,830 974,976

38,196 75,387 20,491 84,609 850,934

15,933 54,798 12,067 42,845 510,718

16,518 22,950 7,763 46,637 424,125

งบการเงินรวม 2561 2560

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

28,000 (15,686) 12,314

28,000 (13,662) 14,338

28,000 (15,686) 12,314

28,000 (13,662) 14,338

2,024

2,024

2,024

2,024

2,024

2,024

2,024

2,024

10,290 12,314

12,314 14,338

10,290 12,314

12,314 14,338

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

145


23

ประมาณการหนีส� ินสําหรั บผลประโยชน์ พนักงาน

งบการเงินรวม 2561 2560

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

ภาระผูกพันในงบแสดงฐานะการเงิน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน

82,666

86,600

44,772

42,431

สําหรับปี สิน� สุดวันที� 31 ธันวาคม งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน

14,267

13,438

7,785

7,556

รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น ผลกําไรจากการวัดมูลค่าใหม่ของ ผลประโยชน์พนักงานทีร� บั รู้ในระหว่างปี

15,504

-

4,464

-

กลุม่ บริษทั จัดการโครงการบําเหน็จบํานาญพนักงานตามข้ อกําหนดของพระราชบัญญัตคิ ้ มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ ผล ประโยชน์เมือ� เกษียณแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงาน โครงการผลประโยชน์ทกี� าํ หนดไว้ มคี วามเสีย� งจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ได้ แก่ ความเสีย� งของช่วงชีวติ ความเสีย� งจากอัตราดอกเบี �ย และความเสีย� งจากตลาด (เงินลงทุน) การเปลีย� นแปลงในมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์

ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ วันที� 1 มกราคม รับรู้ในกําไรขาดทุน ต้ นทุนบริการปัจจุบนั ดอกเบี �ยจากภาระผูกพัน รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น ผลกําไรจากการวัดมูลค่าใหม่ ของผลประโยชน์พนักงาน อื�นๆ ผลประโยชน์จา่ ย ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที� 31 ธันวาคม

146

หมายเหตุ

30

งบการเงินรวม 2561 2560

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

86,600

85,641

42,431

44,714

11,717 2,550 14,267

11,039 2,399 13,438

6,558 1,227 7,785

6,340 1,216 7,556

(15,504) (15,504)

-

(4,464) (4,464)

-

(2,697) (2,697)

(12,479) (12,479)

(980) (980)

(9,839) (9,839)

82,666

86,600

44,772

42,431


ผลกําไรจากการวัดมูลค่าใหม่ของผลประโยชน์พนักงานทีร� บั รู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� เกิดขึ �นจาก งบการเงินรวม 2561 2560

ข้ อสมมติประชากร ข้ อสมมติทางการเงิน การปรับปรุงจากประสบการณ์ รวม

(9,163) 1,303 (7,644) (15,504)

(พันบาท)

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

(3,648) 838 (1,654) (4,464)

-

ข้ อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ข้ อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันทีร� ายงาน ได้ แก่ งบการเงินรวม 2561 2560

อัตราคิดลด การเพิม� ขึ �นของเงินเดือนในอนาคต

2.8 4.0 - 7.0

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

(ร้ อยละ)

2.9 4.0 - 7.0

2.8 4.0 - 7.0

2.9 5.0 - 7.0

ข้ อสมมติเกีย� วกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้ อมูลทางสถิตทิ เี� ผยแพร่ทวั� ไปและตารางมรณะ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 ระยะเวลาถัวเฉลีย� ถ่วงนํ �าหนักของภาระผูกพันผลประโยชน์ทกี� าํ หนดไว้ เป็น 11.8 ปี (2560: 13 ปี ) การวิเคราะห์ความอ่ อนไหว การเปลีย� นแปลงในแต่ละข้ อสมมติทเี� กี�ยวข้ องในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยทีอ� าจเป็ นไปได้ อย่างสมเหตุ สมผล ณ วันทีร� ายงาน โดยถือว่าข้ อสมมติอนื� ๆ คงที� จะมีผลกระทบต่อภาระผูกพันผลประโยชน์เป็นจํานวนเงินดังต่อไปนี � งบการเงินรวม

ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 อัตราคิดลด (เปลีย� นแปลงร้ อยละ 1) การเพิม� ขึ �นของเงินเดือนในอนาคต (เปลีย� นแปลงร้ อยละ 1) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 อัตราคิดลด (เปลีย� นแปลงร้ อยละ 1) การเพิม� ขึ �นของเงินเดือนในอนาคต (เปลีย� นแปลงร้ อยละ 1)

เพิ�มขึน�

ลดลง

(6,359)

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เพิ�มขึน�

ลดลง

7,223

(3,559)

4,037

6,955

(6,258)

3,858

(3,479)

(6,731)

7,640

(3,297)

3,736

9,203

(8,191)

4,462

(3,981)

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

147


แม้ วา่ การวิเคราะห์นี �ไม่ได้ คาํ นึงการกระจายตัวแบบเต็มรูปแบบของกระแสเงินสดทีค� าดหวังภายใต้ โครงการดังกล่าว แต่ได้ แสดง ประมาณการความอ่อนไหวของข้ อสมมติตา่ งๆ เมือ� วันที� 13 ธันวาคม 2561 สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติได้ พจิ ารณาปรับปรุงร่างพระราชบัญญัตคิ ้ มุ ครองแรงงานให้ นายจ้ างต้ องจ่าย ค่าชดเชยให้ ลกู จ้ างทีถ� กู เลิกจ้ างเพิม� เติม หากลูกจ้ างทํางานติดต่อกันครบ 20 ปี ขึ �นไป ลูกจ้ างมีสทิ ธิได้ รับค่าชดเชยไม่น้อยกว่า ค่าจ้ างอัตราสุดท้ าย 400 วัน กลุม่ บริษทั และบริษทั จะแก้ ไขโครงการผลประโยชน์เมือ� เกษียณแก่พนักงานในงวดทีร� ่างปรับปรุงดัง กล่าวถือเป็นกฎหมายและประกาศในราชกิจจานุเบกษา จากการแก้ ไขโครงการดังกล่าวจะทําให้ กลุม่ บริษทั และบริษทั รับรู้ประมาณ การหนี �สินสําหรับผลประโยชน์เมือ� เกษียณอายุในงวดทีม� กี ารแก้ ไขและรับรู้ต้นทุนบริการในอดีตในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการเพิม� ขึ �นโดยประมาณจํานวน 17.6 ล้านบาท และ 8.0 ล้านบาท ตามลําดับ 24

ทุนเรื อนหุ้น 2561

ทุนจดทะเบียน ณ วันที� 1 มกราคม หุ้นสามัญ ณ วันที� 31 ธันวาคม หุ้นสามัญ

2560

มูลค่ าหุ้นต่อหุ้น (บาท)

จํานวนหุ้น

จํานวนเงิน จํานวนหุ้น (พันหุ้น / พันบาท)

จํานวนเงิน

1

2,537,893

2,537,893

2,537,893

2,537,893

1

2,537,893

2,537,893

2,537,893

2,537,893

1 1

2,500,893 6,823

2,500,893 6,823

2,498,173 2,720

2,498,173 2,720

1

2,507,716

2,507,716

2,500,893

2,500,893

หุ้นที�ออกและชําระแล้ ว ณ วันที� 1 มกราคม หุ้นสามัญ ออกหุ้นตามสิทธิซื �อหุ้นทีใ� ห้ พนักงาน ณ วันที� 31 ธันวาคม หุ้นสามัญ

โครงการสิทธิซอ�ื หุ้นสามัญทีอ� อกให้พนักงาน (ESOP) ในการประชุมสามัญประจําปี ผ้ ถู ือหุ้นของบริษทั เมือ� วันที� 26 เมษายน 2559 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั โิ ครงการสิทธิซื �อหุ้นสามัญแก่ พนักงานของกลุม่ บริษทั ครังที � � 4 (ESOP-4) จํานวน 39,720,000 หุ้น บริษทั ได้ทาํ การให้ สทิ ธิซื �อหุ้นสามัญดังกล่าวแก่พนักงาน ณ วันที� 1 กุมภาพันธ์ 2560 โครงการสิทธิซื �อหุ้นสามัญมีอายุไม่เกิน 5 ปี นับจากวันที� 26 เมษายน 2559 ซึง� เป็นวันทีไ� ด้ รบั อนุมตั จิ ากทีป� ระชุม ผู้ถอื หุ้น โดยพนักงานสามารถใช้ สทิ ธิได้ ภายในวันที� 30 ธันวาคม 2563 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี �

148

ครัง� ที�

ระยะเวลาใช้ สทิ ธิ

จํานวนสิทธิซอื � หุ้นที�สามารถใช้ สทิ ธิ

ราคาใช้ สทิ ธิ

1 2 3 4

1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 ธันวาคม 2563 1 มกราคม 2561 - 30 ธันวาคม 2563 1 มกราคม 2562 - 30 ธันวาคม 2563 1 มกราคม 2563 - 30 ธันวาคม 2563

10% ของสิทธิซื �อหุ้นทีไ� ด้ รบั จัดสรร 20% ของสิทธิซื �อหุ้นทีไ� ด้ รบั จัดสรร 30% ของสิทธิซื �อหุ้นทีไ� ด้ รบั จัดสรร 40% ของสิทธิซื �อหุ้นทีไ� ด้ รบั จัดสรร

3.60 3.70 3.80 3.90


การวัดมูลค่ายุติธรรม บริษทั วัดมูลค่ายุตธิ รรมโดยประมาณของสิทธิซื �อหุ้นในโครงการนี � โดยใช้ แบบจําลองทวินาม มูลค่ายุตธิ รรมถัวเฉลีย� ถ่วงนํ �าหนัก ณ วันทีใ� ห้ สทิ ธิซื �อหุ้นอยูร่ ะหว่าง 0.99 - 1.15 บาทต่อหน่วยโดยมีข้อสมมติในการกําหนดมูลค่ายุตธิ รรมทีส� าํ คัญดังต่อไปนี � ราคาหุ้น ณ วันที�ให้ สทิ ธิ ความผันผวนของหุ้นที�คาดหวัง เงินปั นผลที�คาดหวัง อัตราดอกเบี �ยปลอดความเสี�ยง

4.42 บาท/หุ้น อัตราร้ อยละ 30 อัตราร้ อยละ 1.55 ต่อปี อัตราร้ อยละ 1.43 - 2.04 ต่อปี ขึ �นอยูก่ บั ช่วงเวลา

กลุม่ บริษทั และบริษทั บันทึกค่าใช้ จา่ ยการจ่ายโดยใช้ห้นุ เป็นเกณฑ์ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับปีสิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2561 จํานวน 11.1 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2560 : 14.1 ล้านบาท) การเปลีย� นแปลงของจํานวนสิทธิซื �อหุ้นสามัญสําหรับแต่ละปี สิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 มีดงั นี � 2561

ณ วันที� 1 มกราคม สิทธิจดั สรร ใช้ สทิ ธิ ณ วันที� 31 ธันวาคม

(พันหน่ วย)

37,000 (6,823) 30,177

2560

39,720 (2,720) 37,000

การใช้ สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิดงั กล่าวเป็ นไปตามเงื�อนไขและข้ อกําหนดในการออกใบสําคัญและข้ อกําหนดในการออก ใบสําคัญแสดงสิทธิซื �อหุ้นซึง� ได้ รบั อนุมตั จิ ากผู้ถอื หุ้นของบริษทั ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น ตามบทบัญญัตแิ ห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีทบี� ริษทั เสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที� จดทะเบียนไว้ บริษทั ต้ องนําค่าหุ้นส่วนเกินนี �ตังเป็ � นทุนสํารอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี �จะนําไปจ่ายเป็นเงินปันผล ไม่ได้

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

149


25

สํารอง สํารองประกอบด้ วย การจัดสรรกําไร และ/หรือ กําไรสะสม สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัตแิ ห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษทั จะต้องจัดสรรทุนสํารอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้ อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสํารองดังกล่าวมีจาํ นวนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี �จะนําไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้ องค์ประกอบอืน� ของส่วนของผูถ้ ือหุน้ ผลต่างจากการแปลงค่ างบการเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินแสดงในส่วนของเจ้ าของประกอบด้ วยผลต่างการแปลงค่าทังหมดจากงบการเงิ � นของหน่วยงาน ในต่างประเทศ ผลต่างจากการเปลี�ยนแปลงในมูลค่ ายุตธิ รรมของเงินลงทุนเผื�อขาย ผลต่างจากการเปลีย� นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนเผือ� ขายแสดงในส่วนของเจ้ าของประกอบด้ วยผลรวมการเปลีย� นแปลง ในมูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนเผือ� ขายจนกระทัง� มีการตัดรายการหรือเกิดการด้ อยค่า

26

ส่ วนงานดําเนินงาน กลุม่ บริษทั มี 2 ส่วนงานทีร� ายงาน ดังรายละเอียดข้ างล่าง ซึง� เป็นหน่วยงานธุรกิจทีส� าํ คัญของกลุม่ บริษทั หน่วยงานธุรกิจทีส� าํ คัญ นี �ให้ บริการทีแ� ตกต่างกัน และมีการบริหารจัดการแยกต่างหาก โดยมีกลยุทธ์ทางการตลาดทีแ� ตกต่างกัน ผู้มอี าํ นาจตัดสินใจสูงสุด ด้ านการดําเนินงานสอบทานรายงานการจัดการภายในของแต่ละหน่วยงานธุรกิจทีส� าํ คัญอย่างน้ อยทุกไตรมาส การดําเนินงานของ แต่ละส่วนงานทีร� ายงานของกลุม่ บริษทั โดยสรุปมีดงั นี � ส่วนงาน 1 ส่วนงาน 2

ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจให้ เช่าและรับบริหารอาคาร

การดําเนินงานอืน� ไม่มสี ว่ นงานใดทีเ� ข้ าเกณฑ์เชิงปริมาณเพือ� กําหนดส่วนงานทีร� ายงานในปี 2561 หรือ 2560 การกําหนดราคาระหว่างส่วนงานอยูบ่ นเงือ� นไขทีต� กลงร่วมกันทังสองฝ่ � าย ข้อมูลผลการดําเนินงานของแต่ละส่วนงานทีร� ายงานได้รวมอยูด่ งั ข้างล่างนี ผลการดํ � าเนินงานวัดโดยใช้กาํ ไรก่อนภาษีเงินได้ของส่วนงาน ซึง� นําเสนอในรายงานการจัดการภายในและสอบทานโดยผู้มอี าํ นาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดําเนินงานของกลุม่ บริษทั ผู้บริหารเชือ� ว่าการใช้กาํ ไรก่อนภาษีเงินได้ในการวัดผลการดําเนินงานนันเป็ � นข้อมูลทีเ� หมาะสมในการประเมินผลการดําเนินงานของส่วนงานและ สอดคล้องกับกิจการอืน� ทีด� าํ เนินธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน

150


รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

151

22,208 9,335

สินทรัพย์ส่วนงาน ณ วันที� 31 ธันวาคม หนีส� นิ ส่ วนงานที� ณ วันที� 31 ธันวาคม

897

กําไร (ขาดทุน) ตามส่วนงาน ก่อนหักภาษีเงินได้ 14,603

(737)

ส่วนแบ่งขาดทุน จากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ค่าเสือ� มราคาและค่าตัดจําหน่าย

เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ณ วันที� 31 ธันวาคม รายจ่ายฝ่ ายทุน ณ วันที� 31 ธันวาคม

6,092 46 6,138

20,499 9,470

13,669

872

(699)

5,846 37 5,883

ธุรกิจโรงแรม 2561 2560

รายได้ จากลูกค้ าภายนอก รายได้ ระหว่างส่วนงาน รวมรายได้

ข้ อมูลเกีย� วกับส่ วนงานทีร� ายงาน

657 57

53

92

(27)

210 3 213

563 56

78

83

(27)

203 3 206

ธุรกิจให้เช่ าและ รับบริหารอาคาร 2561 2560

4

4

56 -

-

1

-

-

55 -

-

-

-

-

3,338 3,411

92 174

(168)

(4) (6)

2 251 253

3,075 3,263

109 174

(1,307)

(24) (6)

1 237 238

ธุรกิจอื�น ส่ วนที�ไม่ ได้ปันส่ วน 2561 2560 2561 2560 (ล้ านบาท)

(6)

(9,310) (1,563)

184

(65)

-

(300) (300)

(6)

(8,144) (2,144)

191

1,089

-

(277) (277)

ตัดรายการระหว่ างกัน 2561 2560

16,949 11,240

92 15,014

757

(4) (776)

6,308 6,308

2561

รวม

16,048 10,645

109 14,112

737

(24) (738)

6,050 6,050

2560


การกระทบยอดรายได้ กําไรหรือขาดทุน สินทรัพย์และหนีส� นิ และรายการอืน� ทีม� สี าระสําคัญของส่ วนงานทีร� ายงาน 2561

2560

รายได้ รวมรายได้ จากส่วนงานทีร� ายงาน รายได้ อนื� ตัดรายการรายได้ ระหว่างส่วนงาน จํานวนทีไ� ม่ได้ ปันส่วน รายได้รวม

6,355 47 (300) 206 6,308

6,089 55 (277) 183 6,050

กําไรหรือขาดทุน รวมกําไรจากส่วนงานทีร� ายงาน ก่อนภาษีเงินได้ และตัดรายการระหว่างกัน ตัดรายการระหว่างส่วนงาน ค่าใช้ จา่ ยดําเนินงานไม่ได้ ปันส่วน ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม กําไรรวมก่ อนภาษีเงินได้

990 (65) (164) (4) 757

955 1,089 (1,283) (24) 737

สินทรัพย์ รวมสินทรัพย์ของส่วนงานทีร� ายงาน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ตัดรายการระหว่างกัน จํานวนทีไ� ม่ได้ ปันส่วน สินทรัพย์รวม

22,921 92 (9,310) 3,246 16,949

21,117 109 (8,144) 2,966 16,048

หนีส� นิ รวมหนี �สินของส่วนงานทีร� ายงาน ตัดรายการระหว่างกัน จํานวนทีไ� ม่ได้ ปันส่วน หนีส� นิ รวม

9,392 (1,563) 3,411 11,240

9,526 (2,144) 3,263 10,645

รวมส่ วนงานที�รายงาน

152

(ล้ านบาท)

ส่ วนที�ไม่ ได้ ปั นส่ วนและตัด รายการระหว่ างกัน (ล้ านบาท)

งบการเงินรวม

รายการอื�นที�มสี าระสําคัญ 2561 รายจ่ายฝ่ ายทุน ค่าเสือ� มราคาและค่าตัดจําหน่าย

14,656 (764)

358 (12)

15,014 (776)

2560 รายจ่ายฝ่ ายทุน ค่าเสือ� มราคาและค่าตัดจําหน่าย

13,747 (726)

365 (12)

14,112 (738)


ส่ วนงานภูมศิ าสตร์ ในการนําเสนอการจําแนกส่วนงานภูมศิ าสตร์ รายได้ตามส่วนงานแยกตามทีต� งทางภู ั� มศิ าสตร์ของลูกค้า สินทรัพย์ตามส่วนงานแยก ตามสถานทีต� งทางภู ั� มศิ าสตร์ของสินทรัพย์ ข้ อมูลเกีย� วกับส่ วนงานภูมศิ าสตร์ 2561

ไทย ฟิ ลปิ ปิ นส์ ประเทศอืน� ๆ รวม

27

6,146 158 4 6,308

รายได้

2560

5,987 59 4 6,050

14,419 970 15,389

13,830 645 14,475

รายได้ อ� ืน งบการเงินรวม 2561 2560

รายได้ คา่ ภาษีโรงเรือน กําไรจากการจําหน่ายอาคารและอุปกรณ์ กําไรจากอัตราแลกเปลีย� นสุทธิ รายได้ คา่ บริการอืน� อืน� ๆ รวม 28

(ล้ านบาท)

สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน 2561 2560

2,225 2,071 2,793 32,654 39,743

(พันบาท)

1,815 4,650 41,662 48,127

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

2,032 1,697 1,770 19,321 18,532 43,352

1,649 934 2,591 18,238 22,780 46,192

ค่ าใช้ จ่ายในการขาย งบการเงินรวม 2561 2560

ค่าใช้ จา่ ยการตลาด ค่าใช้ จา่ ยผลประโยชน์ของพนักงาน รวม

237,399 119,911 357,310

(พันบาท)

234,940 112,858 347,798

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

118,563 62,284 180,847

114,202 61,903 176,105

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

153


29

ค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร งบการเงินรวม 2561 2560

ค่าใช้ จา่ ยผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าธรรมเนียมในการบริหารและค่าธรรมเนียมอืน� ค่าใช้ จา่ ยในการซ่อมแซมและบํารุงรักษา อืน� ๆ รวม 30

569,907 338,183 157,124 172,836 1,238,050

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

(พันบาท)

579,356 302,179 160,012 181,717 1,223,264

366,156 168,353 56,912 64,933 656,354

374,506 157,524 66,490 51,961 650,481

ค่ าใช้ จ่ายผลประโยชน์ ของพนักงาน

หมายเหตุ

เงินเดือนและผลประโยชน์อนื� ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

23

งบการเงินรวม 2561 2560

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

1,479,760 14,267

1,432,035 13,438

794,485 7,785

790,776 7,556

1,494,027

1,445,473

802,270

798,332

โครงการสมทบเงินทีก� ําหนดไว้ กลุม่ บริษทั ได้ จดั ตังกองทุ � นสํารองเลี �ยงชีพสําหรับพนักงานของกลุม่ บริษทั บนพื �นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเป็ นสมาชิก ของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้ อยละ 2 ถึง อัตราร้ อยละ 15 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุม่ บริษทั จ่ายสมทบใน อัตราร้ อยละ 2 ถึง อัตราร้ อยละ 10 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสํารองเลี �ยงชีพนี �ได้ จดทะเบียนเป็นกองทุนสํารอง เลี �ยงชีพตามข้ อกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จดั การกองทุนทีไ� ด้ รบั อนุญาต 31

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จได้ รวมการวิเคราะห์คา่ ใช้ จา่ ยตามหน้ าที� ค่าใช้ จา่ ยตามลักษณะได้ เปิ ดเผยตามข้ อกําหนดในมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับต่าง ๆ ดังนี � งบการเงินรวม 2561 2560

ค่าใช้ จา่ ยผลประโยชน์ของพนักงาน ต้ นทุนขายอาหารและเครื�องดืม� ค่าเช่าจ่าย

154

1,494,027 698,314 178,661

(พันบาท)

1,445,473 695,751 159,200

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

802,270 333,227 44,935

798,332 333,414 41,414


32

ต้ นทุนทางการเงิน

หมายเหตุ

ดอกเบียจ่ � าย กิจการทีเ� กีย� วข้ องกัน สถาบันการเงิน รวมดอกเบียจ่ � าย ค่าตัดจําหน่ายของต้ นทุนการทํารายการ ส่วนทีบ� นั ทึกรวมกับเงินกู้ยมื ต้ นทุนทางการเงินอืน�

4

หัก: จํานวนทีร� วมอยูใ่ นต้ นทุนของ สินทรัพย์ทเี� ข้ าเงือ� นไข -ส่วนทีบ� นั ทึกเป็ นต้ นทุนของ สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้ าง สุทธิ 33

งบการเงินรวม 2561 2560

13

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

381,553 381,553

345,747 345,747

17,997 235,993 253,990

15,258 214,922 230,180

2,382 2,309 386,244

1,850 3,219 350,816

1,375 515 255,880

843 519 231,542

(25,908) 360,336

(7,144) 343,672

(18,505) 237,375

(1,234) 230,308

ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ท�รี ับรู้ในกําไรหรือขาดทุน

งบการเงินรวม 2561 2560

หมายเหตุ

ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั สําหรับงวดปัจจุบนั ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี การเปลีย� นแปลงของผลต่างชัว� คราว รวมภาษีเงินได้

17

163,014

169,360

76,013

92,380

1,008 164,022

2,807 172,167

(1,318) 74,695

398 92,778

ภาษีเงินได้ท�รี ับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น

กําไรจากการประมาณตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย รวม

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

ก่ อน ภาษีเงินได้

2561 ค่ าใช้ จ่าย ภาษีเงินได้

15,504 15,504

(3,101) (3,101)

งบการเงินรวม สุทธิจาก ก่อน ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ (พันบาท)

12,403 12,403

-

2560 ค่ าใช้ จ่าย ภาษีเงินได้

สุทธิจาก ภาษีเงินได้

-

-

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

155


กําไรจากการประมาณตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย รวม

ก่ อน ภาษีเงินได้

2561 ค่ าใช้ จ่าย ภาษีเงินได้

4,464 4,464

(893) (893)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สุทธิจาก ก่อน ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ (พันบาท)

3,571 3,571

การกระทบยอดเพือ� หาอัตราภาษีทแ�ี ท้จริง

กําไรก่อนภาษีเงินได้ รวม จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ ผลกระทบจากความแตกต่างของอัตรา ภาษีสาํ หรับกิจการในต่างประเทศ ค่าใช้ จา่ ยทีม� ผี ลต่างทางภาษี การใช้ ขาดทุนทางภาษีทเี� ดิมไม่ได้ บนั ทึก ผลขาดทุนในปัจจุบนั ทีไ� ม่รบั รู้เป็ นสินทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี รวม

กําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ รวม จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ ค่าใช้ จา่ ย (รายได้ ) ทีม� ผี ลต่างทางภาษี รวม

34

อัตราภาษี (ร้ อยละ)

2561

อัตราภาษี (ร้ อยละ)

20.0 17.4

2561

-

-

งบการเงินรวม

757,208 151,442

21.7

สุทธิจาก ภาษีเงินได้

-

(พันบาท)

20.0

2560 ค่ าใช้ จ่าย ภาษีเงินได้

อัตราภาษี (ร้ อยละ)

2560 (พันบาท)

737,184 147,437

20.0

(759) 7,314 (9,377)

(1,534) 2,042 (4,176)

15,402 164,022

28,398 172,167

23.4

งบการเงินเฉพาะกิจการ (พันบาท)

428,966 85,793 (11,098) 74,695

อัตราภาษี (ร้ อยละ)

20.0 (14.0)

2560 (พันบาท)

(664,867) (132,974) 225,752 92,778

กําไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้น กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขัน� พืน� ฐาน กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขันพื � �นฐานสําหรับแต่ละปี สิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 คํานวณจากกําไรหรือขาดทุนสําหรับปี ทีเ� ป็ นส่วนของผู้ถอื หุ้นสามัญของบริษทั และจํานวนหุ้นสามัญทีอ� อกจําหน่ายแล้ วระหว่างปี ในแต่ละปี โดยวิธีถวั เฉลีย� ถ่วงนํ �าหนัก แสดงการคํานวณดังนี �

156


กําไร (ขาดทุน) ที�เป็ นส่ วนของผู้ถอื หุ้นสามัญ ของบริษทั (ขัน� พืนฐาน) � จํานวนหุ้นสามัญทีอ� อก ณ วันที� 1 มกราคม ผลกระทบจากหุ้นทีอ� อกให้ ตามสิทธิ จํานวนหุ้นสามัญโดยวิธถี วั เฉลี�ยถ่วงนํา� หนัก (ขัน� พืนฐาน) � กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขัน� พืนฐาน � (บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 2561 2560 (พันบาท / พันหุ้น)

536,306

505,571

354,271

(757,645)

2,500,893 4,308

2,498,173 1,749

2,500,893 4,308

2,498,173 1,749

2,505,201 0.2141

2,499,922 0.2022

2,505,201 0.1414

2,499,922 (0.3031)

กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลด กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลดสําหรับแต่ละปี สิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 คํานวณจากกําไรหรือขาดทุนสําหรับปี ทเี� ป็ น ส่วนของผู้ถอื หุ้นสามัญของบริษทั และจํานวนหุ้นสามัญทีอ� อกจําหน่ายแล้ วระหว่างปี ในแต่ละปี โดยถัวเฉลีย� ถ่วงนํ �าหนักหลังจาก ทีไ� ด้ ปรับปรุงผลกระทบของหุ้นปรับลด ดังนี �

กําไร (ขาดทุน) ทีเ� ป็ นส่วนของผู้ถอื หุ้นสามัญ ของบริษทั (ขันพื � �นฐาน) กําไร (ขาดทุน) ที�เป็ นส่ วนของผู้ถอื หุ้นสามัญ ของบริษทั (ปรับลด) จํานวนหุ้นสามัญโดยวิธถี วั เฉลีย� ถ่วงนํ �าหนัก (ขันพื � �นฐาน) ผลกระทบจากการออกสิทธิทจี� ะเลือกซื �อหุ้น จํานวนหุ้นสามัญโดยวิธถี วั เฉลี�ยถ่วงนํา� หนัก (ปรับลด) กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (ปรับลด) (บาท) 35

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 2561 2560 (พันบาท / พันหุ้น)

536,306

505,571

354,271

(757,645)

536,306

505,571

354,271

(757,645)

2,505,201 16,339

2,499,922 12,357

2,505,201 16,339

2,499,922 12,357

2,521,540 0.2127

2,512,279 0.2012

2,521,540 0.1405

2,512,279 (0.3016)

เงินปั นผล ในการประชุมสามัญประจําปี ผ้ ถู อื หุ้นของบริษทั เมือ� วันที� 27 เมษายน 2561 ผู้ถอื หุ้นมีมติอนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผลโดยจัดสรรจาก กําไรสะสมของบริษทั ในอัตราหุ้นละ 0.09 บาท เป็ นจํานวนทังสิ � �น 225.45 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้ จา่ ยให้ แก่ผ้ ถู อื หุ้นในวันที� 25 พฤษภาคม 2561 ในการประชุมสามัญประจําปีผ้ถู อื หุ้นของบริษทั ย่อยแห่งหนึง� เมือ� วันที� 19 เมษายน 2561 ผู้ถอื หุ้นมีมติอนุมตั กิ ารจัดสรรกําไรเป็นเงินปันผล ในอัตราหุ้นละ 2.83 บาท เป็นจํานวนทังสิ � �น 225.46 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จา่ ยให้แก่ผ้ถู อื หุ้นในวันที� 18 พฤษภาคม 2561

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

157


ในการประชุมสามัญประจําปี ผ้ ถู อื หุ้นของบริษทั เมือ� วันที� 25 เมษายน 2560 ผู้ถอื หุ้นมีมติอนุมตั กิ ารจัดสรรกําไรเป็ นเงินปันผล ในอัตราหุ้นละ 0.06 บาท เป็ นจํานวนทังสิ � �น 149.99 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้ จา่ ยให้ แก่ผ้ ถู อื หุ้นในวันที� 24 พฤษภาคม 2560 ในการประชุมสามัญประจําปี ผ้ ถู อื หุ้นของบริษทั ย่อยแห่งหนึง� เมือ� วันที� 28 เมษายน 2560 ผู้ถอื หุ้นมีมติอนุมตั กิ ารจัดสรรกําไรเป็ น เงินปันผลในอัตราหุ้นละ 2.24 บาท เป็นจํานวนทังสิ � �น 178.55 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จา่ ยให้แก่ผ้ถู อื หุ้นในวันที� 26 พฤษภาคม 2560 36

เครื� องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสีย� งทางด้านการเงิน กลุม่ บริษทั มีความเสีย� งจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลีย� นแปลงอัตราดอกเบี �ยและอัตราแลกเปลีย� นเงินตราต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดตามสัญญาของคูส่ ญ ั ญา กลุม่ บริษทั ไม่มกี ารถือหรือออกเครื�องมือทางการเงินทีเ� ป็ นตราสาร อนุพนั ธ์ เพือ� การเก็งกําไรหรือการค้ า การจัดการความเสีย� งเป็ นส่วนทีส� าํ คัญของธุรกิจของกลุม่ บริษทั กลุม่ บริษทั มีระบบในการควบคุมให้ มคี วามสมดุลของระดับความ เสีย� งให้ เป็ นทีย� อมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้ นทุนทีเ� กิดจากความเสีย� งและต้ นทุนของการจัดการความเสีย� ง ฝ่ ายบริหารได้ มี การควบคุมกระบวนการการจัดการความเสีย� งของกลุม่ บริษทั อย่างต่อเนือ� งเพือ� ให้ มนั� ใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสีย� งและ การควบคุมความเสีย� ง การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการกลุม่ บริษทั คือการรักษาระดับเงินทุนให้ มนั� คงเพือ� รักษานักลงทุน เจ้ าหนี �และความเชือ� มัน� ของตลาดและ ก่อให้ เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้ มกี ารกํากับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึง� กลุม่ บริษทั พิจารณาจาก สัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดําเนินงานต่อส่วนของเจ้ าของรวม ซึง� ไม่รวมส่วนได้ เสียทีไ� ม่มอี าํ นาจควบคุม อีกทังยั � งกํากับ ดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้ แก่ผ้ ถู อื หุ้นสามัญ ความเสีย� งด้านอัตราดอกเบีย� ความเสีย� งด้านอัตราดอกเบี �ย หมายถึงความเสีย� งทีเ� กิดจากการเปลีย� นแปลงทีจ� ะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี �ยในตลาด ซึง� ส่งผล กระทบต่อการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกลุม่ บริษทั เนือ� งจากดอกเบี �ยของเงินกู้ยมื ส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบี �ยทีป� รับขึ �นลงตาม อัตราตลาด กลุม่ บริษทั มีความเสีย� งด้ านอัตราดอกเบี �ยทีเ� กิดจากเงินกู้ยมื (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 19) กลุม่ บริษทั ได้ ลด ความเสีย� งดังกล่าวโดยทําให้ แน่ใจว่าดอกเบี �ยทีเ� กิดจากเงินกู้ยมื ส่วนใหญ่มอี ตั ราใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั

158


อัตราดอกเบี �ยทีแ� ท้ จริงของเงินให้ ก้ ยู มื ณ วันที� 31 ธันวาคม และระยะทีค� รบกําหนดชําระหรือกําหนดอัตราใหม่ มีดงั นี � อัตราดอกเบีย� ที�แท้จริง

ปี 2561 เงินให้ ก้ ยู มื แก่กจิ การทีเ� กีย� วข้ องกัน ปี 2560 เงินให้ ก้ ยู มื แก่กจิ การทีเ� กีย� วข้ องกัน

ภายใน 1 ปี

(ร้ อยละต่อปี )

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี หลังจาก แต่ภายใน 5 ปี 5 ปี

รวม

(พันบาท)

4.24

-

1,304,215

-

1,304,215

4.02

-

1,765,392

-

1,765,392

อัตราดอกเบี �ยทีแ� ท้ จริงของหนี �สินทางการเงินทีม� ภี าระดอกเบี �ย ณ วันที� 31 ธันวาคม และระยะทีค� รบกําหนดชําระหรือกําหนดอัตรา ใหม่มดี งั นี � อัตราดอกเบีย� ที�แท้จริง (ร้ อยละต่อปี )

ปี 2561 เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน

ปี 2560 เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน

ภายใน 1 ปี

งบการเงินรวม หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

รวม

4.20, 4.275, MMR, MLR - 2.00, MLR - 2.15, MLR - 2.40, MLR - 3.20, RRP + 2.25

2,273,546

5,908,975

1,420,126

9,602,647

4.20, 4.275, MMR, MLR - 2.00, MLR - 2.15 MLR - 2.40, RRP + 2.25, อัตราเงินฝากประจํา ประเภท 6 เดือน + 2.00

2,010,151

5,613,267

1,443,172

9,066,590

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

159


อัตราดอกเบีย� ที�แท้จริง (ร้ อยละต่อปี )

ปี 2561 เงินกู้ยมื จากกิจการที� เกีย� วข้ องกัน เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน

4.24, 4.45 4.20, 4.275, MMR, MLR - 2.00, MLR - 2.40, MLR – 3.20

รวม ปี 2560 เงินกู้ยมื จากกิจการที� เกีย� วข้ องกัน เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน

รวม

4.45 4.20, 4.275, MMR, MLR - 2.00, MLR - 2.40, อัตราเงินฝากประจํา ประเภท 6 เดือน + 2.00

ภายใน 1 ปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

รวม

-

176,345

-

176,345

1,591,836 1,591,836

3,907,735 4,084,080

876,822 876,822

6,376,393 6,552,738

-

140,590

-

140,590

1,659,704 1,659,704

3,372,555 3,513,145

885,138 885,138

5,917,397 6,057,987

ความเสีย� งจากเงินตราต่างประเทศ กลุม่ บริษทั ดําเนินธุรกิจหลักเป็ นเงินบาท บริษทั ไม่มคี วามเสีย� งทีเ� ป็ นสาระสําคัญจากเงินตราต่างประเทศ ความเสีย� งทางด้านสินเชือ� ความเสีย� งทางด้านสินเชือ� คือความเสีย� งทีล� กู ค้าหรือคูส่ ญ ั ญาไม่สามารถชําระหนี �แก่กลุม่ บริษทั ตามเงือ� นไขทีต� กลงไว้เมือ� ครบกําหนด ฝ่ ายบริหารได้ กาํ หนดนโยบายทางด้ านสินเชือ� เพือ� ควบคุมความเสีย� งทางด้ านสินเชือ� ดังกล่าวโดยสมํา� เสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะ ทางการเงินของลูกค้ าทุกรายทีข� อวงเงินสินเชือ� ในระดับหนึง� ๆ-ณ-วันทีร� ายงาน-ไม่พบว่ามีความเสีย� งจากสินเชือ� ทีเ� ป็ นสาระสําคัญ ความเสีย� งสูงสุดทางด้ านสินเชือ� แสดงไว้ ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินแต่ละรายการในงบแสดงฐานะการเงิน อย่างไร ก็ตาม เนือ� งจากกลุม่ บริษทั มีฐานลูกค้ าจํานวนมาก ฝ่ ายบริหารไม่ได้ คาดว่าจะเกิดผลเสียหายทีม� สี าระสําคัญจากการเก็บหนี �ไม่ได้ ความเสีย� งจากสภาพคล่ อง กลุม่ บริษทั มีการควบคุมความเสีย� งจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้ เพียงพอ ต่อการดําเนินงานของกลุม่ บริษทั และเพือ� ทําให้ ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง

160


มูลค่ าตามบัญชีและมูลค่ ายุตธิ รรม ตารางต่อไปนี �แสดงมูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนี �สินทางการเงินรวมถึงลําดับชันมู � ลค่ายุตธิ รรมสําหรับ เครื�องมือทางการเงินทีว� ดั มูลค่าด้ วยมูลค่ายุตธิ รรม แต่ไม่รวมถึงการแสดงข้ อมูลมูลค่ายุตธิ รรมสําหรับสินทรัพย์ทางการเงินและ หนี �สินทางการเงินทีไ� ม่ได้ วดั ค่าด้ วยมูลค่ายุตธิ รรมหากมูลค่าตามบัญชีใกล้เคียงกับมูลค่ายุตธิ รรมอย่างสมเหตุสมผล งบการเงินรวม มูลค่ ายุตธิ รรม

31 ธันวาคม 2561 หมุนเวียน เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนเผือ� ขาย เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน 31 ธันวาคม 2560 หมุนเวียน เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนเผือ� ขาย เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน

มูลค่ าตามบัญชี

ระดับ 1

2,274

-

1 7,329

ระดับ 2 (ล้ านบาท)

ระดับ 3

รวม

2,274

-

2,274

-

1 7,329

-

1 7,329

2,010

-

2,010

-

2,010

1 7,056

-

1 7,056

-

1 7,056

งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่ ายุตธิ รรม

31 ธันวาคม 2561 หมุนเวียน เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนเผือ� ขาย เงินให้ ก้ ยู มื แก่กจิ การทีเ� กีย� วข้ องกัน เงินกู้ยมื จากกิจการทีเ� กีย� วข้ องกัน เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน 31 ธันวาคม 2560 หมุนเวียน เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนเผือ� ขาย เงินให้ ก้ ยู มื แก่กจิ การทีเ� กีย� วข้ องกัน เงินกู้ยมื จากกิจการทีเ� กีย� วข้ องกัน เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน

มูลค่ าตามบัญชี

ระดับ 1

ระดับ 2 (ล้ านบาท)

ระดับ 3

รวม

1,592

-

1,592

-

1,592

1 1,304 176 4,785

-

1 1,304 176 4,785

-

1 1,304 176 4,785

1,660

-

1,660

-

1,660

1 1,765 141 4,258

-

1 1,765 141 4,258

-

1 1,765 141 4,258

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

161


ลําดับชัน� ของมูลค่ ายุตธิ รรม ตารางข้ างต้นวิเคราะห์การวัดมูลค่ายุตธิ รรมทีเ� กิดขึ �นประจําสําหรับสินทรัพย์ทางการเงิน การวัดมูลค่ายุตธิ รรมเหล่านี �ถูกจัดประเภท อยูใ่ นระดับทีต� า่ งกันของลําดับชันมู � ลค่ายุตธิ รรมตามข้ อมูลทีใ� ช้ ในการประเมินมูลค่า นิยามของระดับต่างๆ มีดงั นี � • • •

ข้ อมูลระดับ 1 เป็ นราคาเสนอซื �อขาย (ไม่ต้องปรับปรุง) ในตลาดทีม� สี ภาพคล่องสําหรับสินทรัพย์หรือหนี �สินอย่างเดียวกัน ซึง� กลุม่ บริษทั สามารถเข้ าถึงตลาดนัน� ณ วันทีว� ดั มูลค่า ข้ อมูลระดับ 2 เป็ นข้ อมูลอืน� ทีส� งั เกตได้ ไม่วา่ โดยทางตรงหรือโดยทางอ้ อมสําหรับสินทรัพย์นนหรื ั � อหนี �สินนันนอกเหนื � อจาก ราคาเสนอซื �อขายซึง� รวมอยูใ่ นข้ อมูลระดับ 1 ข้ อมูลระดับ 3 เป็ นข้ อมูลทีไ� ม่สามารถสังเกตได้ สาํ หรับสินทรัพย์นนหรื ั � อหนี �สินนัน�

กลุม่ บริษทั พิจารณามูลค่ายุตธิ รรมระดับ 2 สําหรับเงินลงทุนเผือ� ขาย ด้วยวิธคี ดิ ลดกระแสเงินสด ซึง� ใช้ กระแสเงินสดตามสัญญาและ อัตราคิดลดทีเ� กีย� วข้ องกับตลาด มูลค่ายุตธิ รรมของลูกหนี �และเจ้ าหนี �การค้ า ลูกหนี �และเจ้ าหนี �อืน� เป็นมูลค่าทีใ� กล้เคียงกับราคาทีบ� นั ทึกในบัญชี มูลค่ายุตธิ รรมของเงินให้ ก้ ยู มื และเงินกู้ยมื จากกิจการทีเ� กีย� วข้ องกัน เป็ นมูลค่าทีใ� กล้ เคียงกับราคาทีบ� นั ทึกในบัญชี เนือ� งจากส่วน ใหญ่ของเครื�องมือทางการเงินเหล่านี �มีดอกเบี �ยในอัตราตลาด มูลค่ายุตธิ รรมของเงินกู้ยมื ระยะยาว เป็ นมูลค่าทีใ� กล้ เคียงกับราคาทีบ� นั ทึกในบัญชี เนือ� งจาก ส่วนใหญ่ของเครื�องมือทางการเงิน เหล่านี �มีดอกเบี �ยในอัตราตลาด 37

ภาระผูกพันกับบุคคลหรื อกิจการที�ไม่ เกี�ยวข้ องกัน งบการเงินรวม 2561 2560

ภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ ายทุน สัญญาทีย� งั ไม่ได้ รบั รู้ จํานวนเงินขัน� ตํ�าที�ต้องจ่ายในอนาคตทัง� สิน� ภายใต้สญ ั ญาเช่ าดําเนินงานที�บอกเลิกไม่ ได้ ภายในหนึง� ปี หลังจากหนึง� ปี แต่ไม่เกินห้ าปี หลังจากห้ าปี รวม ภาระผูกพันภายใต้สญ ั ญาบริการ ภายในหนึง� ปี หลังจากหนึง� ปี แต่ไม่เกินห้ าปี หลังจากห้ าปี รวม ภาระผูกพันอื�น ๆ คํ �าประกันวงเงินกู้และวงเงินสินเชือ� หนังสือคํ �าประกันจากธนาคาร รวม

162

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 (ล้ านบาท)

832.7

1,289.8

458.3

1,040.2

136.4 440.9 4,703.2 5,280.5

176.7 446.0 4,326.0 4,948.7

43.4 219.5 2,637.1 2,900.0

46.9 206.3 2,693.8 2,947.0

62.4 40.1 1.5 104.0

33.9 10.0 2.0 45.9

32.1 23.8 1.5 57.4

15.8 8.1 2.0 25.9

2,547.4 36.4 2,583.8

2,547.4 34.4 2,581.8

2,547.4 16.6 2,564.0

2,547.4 16.6 2,564.0


สัญญาระยะยาว บริษทั และบริษทั ย่อยมีสญ ั ญาเช่าทรัพย์สนิ ระยะยาวและสัญญาบริการต่าง ๆ กับบุคคลภายนอก บริษทั ในประเทศ บริษทั ใน ต่างประเทศ และหน่วยงานราชการดังต่อไปนี � สัญญาเช่าทรัพย์สินระยะยาว เมือ� วันที� 9 พฤศจิกายน 2530 บริษทั โรงแรมเอราวัณ จํากัด (มหาชน) ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบริษทั ทีเ� กีย� วข้ องกัน แห่งหนึง� มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2564 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญาเช่านี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลง ชําระค่าตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 120.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี �บริษทั ย่อย ต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ เครื�องตกแต่ง เครื�องมือเครื�องใช้ ทมี� สี ว่ นสําคัญในการดําเนินกิจการโรงแรมจะตกเป็นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า บริษทั มีสญ ั ญาเช่าทีด� นิ ซึง� เป็นทีต� งอาคารโรงแรมจากผู ั� ้ ให้ เช่า มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2568 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี � ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั จะต้ องจ่ายค่าตอบแทนการเช่าจํานวน 180.0 ล้านบาท โดยจะชําระภายในปี ที� 30 ของการเช่า ซึง� ได้ บนั ทึกไว้ เป็ นส่วนหนึง� ใน “เจ้ าหนี �ค่าสิทธิการเช่าทีด� นิ ” และเงินประกันการจ่ายค่าเช่าจํานวน 90.0 ล้านบาท บริษทั ได้ ชาํ ระเงิน ประกันดังกล่าวแล้ว และจะได้รบั คืนในปี ที� 30 ของการเช่า ซึง� ได้บนั ทึกไว้เป็นส่วนหนึง� ใน “เงินมัดจําการเช่าทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์” ในงบแสดงฐานะการเงิน นอกจากนี �บริษทั ยังมีสญ ั ญาเช่าทีด� นิ ซึง� เป็นสัญญาเพือ� ต่ออายุสญ ั ญาเช่าข้ างต้น มีกาํ หนดระยะเวลาอีก 20 ปี โดยสิ �นสุดในปี 2588 บริษทั ตกลงชําระค่าตอบแทนการเช่าเป็นจํานวน 216.1 ล้านบาท ซึง� บริษทั ได้ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี �บริษทั ต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ เครื�องตกแต่ง เครื�องมือเครื�องใช้ ทมี� สี ว่ นสําคัญในการดําเนินกิจการโรงแรมจะตกเป็นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 31 ตุลาคม 2545 บริษทั เอราวัณ เจ้ าพระยา จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับมูลนิธแิ ห่งหนึง� เพือ� ทําการ ปรับปรุงพัฒนาทีด� นิ และดําเนินการก่อสร้ างอาคาร มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2577 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญาเช่านี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ าง ทังหมดบนที � ด� นิ จะตกเป็ นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 9 มกราคม 2549 บริษทั เอราวัณ ราชดําริ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยได้ ลงนามในสัญญารับทําการปรับปรุงอาคารและเช่า ทีด� นิ และอาคารทีป� รับปรุงแล้วกับหน่วยงานราชการแห่งหนึง� มีกาํ หนดระยะเวลาเช่า 30 ปี สิ �นสุดในปี 2580 ภายใต้เงือ� นไขในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทนเป็นจํานวน 70.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี บริ � ษทั ย่อยตกลงจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� วันที� 9 มิถนุ ายน 2549 บริษทั ได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2581 ภายใต้ เงือ� น ไขในสัญญา บริษทั ตกลงชําระค่าตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 25.0 ล้านบาท บริษทั ได้ จา่ ยชําระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ในระยะเวลา 3 ปี แรก ในอัตราปี ละ 1.2 ล้านบาท และให้ มกี ารปรับอัตราค่าเช่าทุก 3 ปี และ เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นทีไ� ด้ ทงหมดให้ ั� ตกเป็นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

163


เมือ� วันที� 15 พฤษภาคม 2550 บริษทั ได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2582 ภาย ใต้ เงือ� นไขในสัญญา บริษัทตกลงชําระค่าตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 53.0 ล้ านบาท บริษัทได้ จา่ ยชําระค่าตอบแทนการเช่า ดังกล่าวแล้ว นอกจากนี บริ � ษทั ต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ในระยะเวลา 3 ปี แรก ในอัตราปี ละ 0.4 ล้านบาท และให้ มกี ารปรับอัตราค่าเช่าทุก 3 ปี และเมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นทีไ� ด้ ทงหมดให้ ั� ตกเป็ นกรรมสิทธิ� ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 19 มีนาคม 2553 บริษทั ได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบริษทั ในประเทศ 2 แห่ง มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2586 ภายใต้ เงือ� นไขในสัญญา บริษทั ตกลงชําระค่าตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 150.0 ล้านบาท บริษทั ได้ จา่ ยชําระค่าตอบแทนการเช่า ดังกล่าวแล้ว เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นทีไ� ด้ทงหมดให้ ั� ตกเป็นกรรมสิทธิ� ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 19 มกราคม 2554 บริษทั ได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2586 และมีสทิ ธิ ต่ออายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ตกลงชําระค่าตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 3.0 ล้ านบาท ซึง� บริษทั ได้ ชาํ ระ ค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ในระยะเวลา 3 ปี แรก ในอัตราปี ละ 0.3 ล้านบาท และให้ มี การปรับอัตราค่าเช่าทุก 3 ปี เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ต้ องทําการรือ� ถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคารและ สิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 27 มีนาคม 2556 บริษัท เอราวัณ โกรท เมเนจเม้ นท์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษัทย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทรัพย์สนิ กับกองทุน รวมอสังหาริมทรัพย์เอราวัณ โฮเทล โกรท เพือ� เช่าทีด� นิ อาคาร สิง� ปลูกสร้ าง พร้ อมทังสาธารณู � ปโภค และเฟอร์นเิ จอร์ เครื�องมือ และอุปกรณ์อาํ นวยความสะดวกทีเ� กีย� วข้ องกับกิจการโรงแรม ไอบิส ป่ าตอง และ โรงแรม ไอบิส พัทยา สัญญาเช่ามีระยะเวลา 3 ปี โดยคูส่ ญ ั ญาแต่ละฝ่ ายมีสทิ ธิในการต่ออายุสญ ั ญาเช่ารวม 5 ครัง� โดยทําเป็นหนังสือบอกกล่าวแก่คสู่ ญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึง� อย่างน้ อย 60 วัน ล่วงหน้ าก่อนสิ �นสุดระยะเวลาเช่าตามสัญญา โดยครัง� ที� 1 ถึงครัง� ที� 4 จะมีสิทธิตอ่ อายุคราวละ 3 ปี และในครัง� ที� 5 จะมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญาอีกไม่เกิน 4 เดือนสําหรับทรัพย์สนิ ทีเ� ช่าแต่ละแห่ง โดยมีอตั ราค่าเช่าคงทีแ� ละค่าเช่าผันแปรตามเงือ� น ไขทีร� ะบุในสัญญา นอกจากนี � บริษทั ย่อยดังกล่าวตกลงทีจ� ะรับประกันรายได้ คา่ เช่าขันตํ � า� ทีก� องทุนรวมจะได้ รบั เป็นระยะเวลา 4 ปี นับแต่วนั เริ�มต้นสัญญาเช่า เงินประกันรายได้คา่ เช่ามีจาํ นวน 111.5 ล้านบาทต่อปี รวมเป็น 446 ล้านบาท ถ้าบริษทั ย่อยไม่สามารถชําระ ส่วนต่างรายได้คา่ เช่าขันตํ � า� บริษทั ย่อยจะต้องขอรับการสนับสนุนด้านการเงินจากบริษทั เพือ� นํามาชําระส่วนต่างรายได้คา่ เช่าขันตํ � า� ผู้เช่าไม่มเี งือ� นไขในการซื �อคืนทรัพย์สนิ ตามสัญญา เมือ� วันที� 31 มีนาคม 2559 บริษทั เอราวัณ โกรท เมเนจเม้ นท์ จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทรัพย์สนิ ฉบับใหม่กบั กองทุน รวมอสังหาริมทรัพย์เอราวัณ โฮเทล โกรท เพือ� เช่าทีด� นิ อาคาร สิง� ปลูกสร้ าง พร้ อมทังสาธารณู � ปโภค และเฟอร์นเิ จอร์ เครื�องมือ และ อุปกรณ์อาํ นวยความสะดวกทีเ� กีย� วข้ องกับกิจการโรงแรม ไอบิส ป่ าตอง และ โรงแรม ไอบิส พัทยา สัญญาเช่ามีระยะเวลา 3 ปี โดยคูส่ ญ ั ญาแต่ละฝ่ ายมีสทิ ธิในการต่ออายุสญ ั ญาเช่ารวม 4 ครัง� โดยทําเป็นหนังสือบอกกล่าวแก่คสู่ ญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึง� อย่างน้ อย 60 วัน ล่วงหน้ าก่อนสิ �นสุดระยะเวลาเช่าตามสัญญา โดยครังที � � 1 ถึงครังที � � 3 จะมีสทิ ธิตอ่ อายุคราวละ 3 ปี และในครังที � � 4 จะมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญาอีกไม่เกิน 4 เดือนสําหรับทรัพย์สนิ ทีเ� ช่าแต่ละแห่ง โดยมีอตั ราค่าเช่าคงทีแ� ละค่าเช่าผันแปรตามเงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา หากคูส่ ญ ั ญามีการใช้ สทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญาแล้ว 3 ครัง� คูส่ ญ ั ญามีสทิ ธิทจี� ะเข้าเจรจาเกีย� วกับการต่ออายุสญ ั ญานี �ออกไปอีกนอกเหนือ จากทีก� าํ หนดไว้ ข้างต้ นภายใน 31 มีนาคม 2570 ตามเงือ� นไขทีร� ะบุไว้ ในสัญญา

164


เมือ� วันที� 13 พฤศจิกายน 2557 บริษทั Erawan Philippines (Ermita), INC. ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยทางอ้ อมได้ ทาํ สัญญาเช่าเพือ� เช่าทีด� นิ ในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์สาํ หรับการดําเนินการก่อสร้ างโรงแรม โดยมีกาํ หนดเวลาเช่า 25 ปี สิ �นสุดในปี 2582 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญา นี �ได้ อกี 5 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยทางอ้ อมตกลงจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตราค่าเช่า ในแต่ละปี ทรี� ะบุในสัญญา และเมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยทางอ้อมต้องทําการรื �อถอนอาคาร หรือส่งมอบอาคารและสิง� ปลูก สร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้แก่ผ้ใู ห้เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้เช่า ต่อมาเมือ� วันที� 5 ตุลาคม 2558 บริษทั ย่อยทางอ้อม ได้ทาํ สัญญาเพิม� เติมในการเช่าทีด� นิ ดังกล่าว โดยขยายเวลาเช่าเป็น 27 ปี สิ �นสุดในปี 2584 บริษทั ย่อยทางอ้อมมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญาอีก 5 ปี ทังนี � �เงือ� นไขอืน� ๆในสัญญายังคงเดิม เมือ� วันที� 13 มีนาคม 2558 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนด ระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2590 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทนการ เช่าเป็ นจํานวน 2.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุก ปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นย้ ายได้ จะ ตกเป็ นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 2 กรกฏาคม 2558 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนด ระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2589 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทนการ เช่าเป็ นจํานวน 5.3 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี �บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุก ปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นย้ ายได้ จะ ตกเป็ นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 2 กรกฏาคม 2558 บริษทั ได้ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2591 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ตกลงชําระค่าตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 53.5 ล้านบาท ซึง� บริษทั ได้ จา่ ยชําระ ค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี �บริษทั ต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นย้ ายได้ จะตกเป็นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 2 กรกฎาคม 2558 บริษทั Erawan Philippines (Makati), INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้ อมได้ ทาํ สัญญาเช่าเพือ� เช่าทีด� นิ ในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์สาํ หรับการดําเนินการก่อสร้ างโรงแรม โดยมีกาํ หนดเวลาเช่า 30 ปี สิ �นสุดในปี 2588 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญา นี �ได้ อกี 20 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยทางอ้ อมตกลงจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตราค่าเช่า ในแต่ละปี ทรี� ะบุในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยทางอ้ อมดังกล่าวต้ องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่ง มอบอาคารและสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 9 กรกฏาคม 2558 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับมูลนิธแิ ห่งหนึง� มีกาํ หนด ระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2589 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทน การเช่าเป็ นจํานวน 4.7 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นย้ ายได้ จะตกเป็ นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 7 สิงหาคม 2558 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบริษทั ในประเทศแห่งหนึง� มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2590 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อย ตกลงชําระ ค่าตอบแทนการเช่าเป็นจํานวน 13.6 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี �บริษทั ย่อยต้องจ่าย ค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยต้ องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง และ ส่งมอบทีด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

165


เมือ� วันที� 26 มกราคม 2559 บริษทั Erawan Philippines (Aseana), INC. ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยทางอ้ อมได้ ทาํ สัญญาเช่าเพือ� เช่า ทีด� นิ ในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์สาํ หรับการดําเนินการก่อสร้ างโรงแรม โดยมีกาํ หนดเวลาเช่า 30 ปี สิ �นสุดในปี 2589 และมีสทิ ธิตอ่ อายุ สัญญานี �ได้ อกี 20 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยทางอ้ อมตกลงจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตรา ค่าเช่าในแต่ละปี ทรี� ะบุในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยทางอ้ อมดังกล่าวต้ องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคารและสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 26 พฤษภาคม 2559 บริษทั เอราวัณ สมุย จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนดระยะ เวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2589 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ตามระยะเวลาและอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยต้ องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือ ส่งมอบอาคารและสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 30 พฤษภาคม 2559 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนด ระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2590 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทน การเช่าเป็ นจํานวน 4.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นย้ าย ได้ จะตกเป็ นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 1 มิถนุ ายน 2559 บริษทั ได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2592 และมีสทิ ธิ ต่ออายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ตกลงชําระค่าตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 87.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ได้ ชาํ ระ ค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี �บริษทั ต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นย้ ายได้ จะตกเป็นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 1 มิถนุ ายน 2559 บริษทั ได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2592 และมีสทิ ธิ ต่ออายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ตกลงชําระค่าตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 10.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ได้ ชาํ ระ ค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี �บริษทั ต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นย้ ายได้ จะตกเป็นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 6 กรกฏาคม 2559 บริษทั Erawan Philippines (Alabang), INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้ อมได้ ทาํ สัญญาเช่าเพือ� เช่าทีด� นิ ในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์สาํ หรับการดําเนินการก่อสร้ างโรงแรม โดยมีกาํ หนดเวลาเช่า 30 ปี สิ �นสุดในปี 2589 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญา นี �ได้ อกี 20 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยทางอ้ อมตกลงจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตราค่าเช่า ในแต่ละปี ทรี� ะบุในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยทางอ้ อมดังกล่าวต้ องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือ ส่งมอบอาคารและสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 20 กรกฎาคม 2559 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบริษทั ในประเทศแห่งหนึง� มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2590 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่า ตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 8.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่าย ค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษัทย่อยต้ องทําการรือ� ถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคารและสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า

166


เมือ� วันที� 7 ตุลาคม 2559 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบริษทั ในประเทศแห่งหนึง� มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2590 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่า ตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 4.2 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่าย ค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษัทย่อยต้ องทําการรือ� ถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคารและสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 1 เมษายน 2560 บริษทั Erawan Philippines (Quezon City), INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้ อมได้ทาํ สัญญาเช่าเพือ� เช่าทีด� นิ ในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์สาํ หรับการดําเนินการก่อสร้ างโรงแรม โดยมีกาํ หนดเวลาเช่า 30 ปี สิ �นสุดในปี 2590 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญา นี �ได้ อกี 20 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยทางอ้ อมตกลงจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตราค่าเช่า ในแต่ละปี ทรี� ะบุในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยทางอ้ อมดังกล่าวต้ องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่ง มอบอาคารและสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 5 กรกฎาคม 2560 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนด ระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2590 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทนการ เช่าเป็ นจํานวน 16.0 ล้ านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยต้องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคาร และสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 1 กันยายน 2560 บริษทั Erawan Philippines (Cebu), INC. ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยทางอ้ อมได้ ทาํ สัญญาเช่าเพือ� เช่าทีด� นิ ในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์สาํ หรับการดําเนินการก่อสร้ างโรงแรม โดยมีกาํ หนดเวลาเช่า 30 ปี สิ �นสุดในปี 2590 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญา นี �ได้ อกี 20 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยทางอ้ อมตกลงจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตราค่า เช่าในแต่ละปี ทรี� ะบุในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยทางอ้ อมดังกล่าวต้ องทําการรือ� ถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคารและสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 20 ตุลาคม 2560 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนด ระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2591 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทน การเช่าเป็ นจํานวน 3.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง สิง� ปลูกสร้ างบนทีด� นิ รวมทังอุ � ปกรณ์ตดิ ตังที � ไ� ม่สามารถเคลือ� นย้ ายได้ จะตกเป็ นกรรมสิทธิข� องผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 26 มิถนุ ายน 2561 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบริษทั ในประเทศแห่งหนึง� มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2592 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่า ตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 8.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี บริ � ษทั ย่อยต้ องจ่ายค่า เช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยต้ องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่ง มอบอาคารและสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ รวมถึงอุปกรณ์และเครื�องตกแต่งให้แก่ผ้ใู ห้เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้เช่า เมือ� วันที� 29 มิถนุ ายน 2561 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนด ระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2592 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทนการ เช่าเป็ นจํานวน 10.0 ล้ านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยต้องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคาร และสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

167


เมือ� วันที� 23 สิงหาคม 2561 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนด ระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2592 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทน การเช่าเป็ นจํานวน 1.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยต้องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคาร และสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 31 สิงหาคม 2561 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนด ระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2592 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทน การเช่าเป็ นจํานวน 1.8 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยต้องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคาร และสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 7 กันยายน 2561 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบริษทั ในประเทศแห่งหนึง� มีกาํ หนดระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2592 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่า ตอบแทนการเช่าเป็ นจํานวน 6.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่าย ค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยต้ องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง และ ส่งมอบทีด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า เมือ� วันที� 8 พฤศจิกายน 2561 บริษทั เอราวัณ ฮ็อป อินน์ จํากัด ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเช่าทีด� นิ กับบุคคลภายนอก มีกาํ หนด ระยะเวลา 30 ปี สิ �นสุดในปี 2592 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ภายใต้ เงือ� นไขทีร� ะบุในสัญญา บริษทั ย่อยตกลงชําระค่าตอบแทน การเช่าเป็ นจํานวน 4.0 ล้านบาท ซึง� บริษทั ย่อยได้ ชาํ ระค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว นอกจากนี � บริษทั ย่อยต้ องจ่ายค่าเช่าทีด� นิ ทุกปี ตามอัตราทีต� กลงไว้ในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยต้องทําการรื �อถอนอาคารและสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคาร และสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้ เช่า เมือ� วันที� 18 ธันวาคม 2561 บริษทั Erawan Philippines (Ortigas), INC. ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยทางอ้ อมได้ ทาํ สัญญาเช่าเพือ� เช่าทีด� นิ ในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์สาํ หรับการดําเนินการก่อสร้ างโรงแรม โดยมีกาํ หนดเวลาเช่า 35 ปี สิ �นสุดในปี 2595 บริษทั ย่อยทางอ้ อมตกลง จ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตราค่าเช่าในแต่ละปีทรี� ะบุในสัญญา เมือ� สัญญาเช่าสิ �นสุดลง บริษทั ย่อยทางอ้อมต้องทําการรื �อถอนอาคาร และสิง� ปลูกสร้ าง หรือส่งมอบอาคารและสิง� ปลูกสร้ างทังหมดบนที � ด� นิ ดังกล่าวให้ แก่ผ้ ใู ห้ เช่า ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั ความประสงค์ของผู้ให้เช่า สัญญาบริ หารโรงแรม เมือ� วันที� 24 กุมภาพันธ์ 2531 บริษทั โรงแรมเอราวัณ จํากัด (มหาชน) ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญากับบริษทั หลายแห่งในกลุม่ ของบริษทั ไฮแอท อินเตอร์เนชัน� แนล คอร์ปอเรชัน� จํากัด (“Hyatt”) โดย Hyatt จะให้ บริการต่างๆทีจ� าํ เป็นเกีย� วกับงานก่อสร้ างและ บริหารโรงแรมของบริษทั ย่อยดังกล่าว ตามเงือ� นไขของสัญญา บริษทั ย่อยผูกพันทีจ� ะจ่ายค่าธรรมเนียมการจัดการ ค่าธรรมเนียม การใช้ สทิ ธิและค่าใช้ จา่ ยปันส่วนด้ านการตลาดและส่งเสริมการขายแก่ Hyatt ตามอัตราทีร� ะบุไว้ ในสัญญา โดยสัญญาการจัดการ จะมีอายุ 20 ปี นับตังแต่ � เริ�มเปิ ดดําเนินการโรงแรม และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญาได้ อกี อย่างน้ อย 10 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบาง ประการทีร� ะบุไว้ ในสัญญา

168


เมือ� วันที� 29 ตุลาคม 2553 บริษทั โรงแรมเอราวัณ จํากัด (มหาชน) ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเปลีย� นแปลงเงือ� นไขบางประการ กับบริษทั ไฮแอท อินเตอร์เนชัน� แนล คอร์ปอเรชัน� จํากัด โดยบริษทั ย่อยดังกล่าวตกลงทีจ� ะขยายอายุสญ ั ญาบริหารโรงแรมไปอีก 9.5 ปี บริษัทสามารถต่ออายุสญ ั ญาได้ โดยอัตโนมัตอิ กี 10 ปี ตามเงื�อนไขของสัญญาเดิม ยกเว้ นคูส่ ญ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง� ทํา หนังสือแจ้ งความจํานงทีจ� ะไม่ตอ่ สัญญาล่วงหน้ าอย่างน้ อย 6 เดือนก่อนวันที� 30 มิถนุ ายน 2564 และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญาได้ อกี 10 ปี นบั จากการต่อสัญญาครัง� ที�สองโดยทําหนังสือแจ้ งความจํานงในการต่อสัญญาไปยังคูส่ ญ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง� ก่อนวันที� 29 มิถนุ ายน 2572 ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการทีร� ะบุไว้ ในสัญญา เมือ� วันที� 3 กุมภาพันธ์ 2537 บริษทั เอราวัณ เพลินจิต จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ทาํ สัญญาการจัดการกับบริษทั หลายแห่งในกลุม่ ของ Marriott Worldwide Corporation (“Marriott”) เพือ� ว่าจ้ างให้ “Marriott” เป็ นผู้บริหารงานกิจการโรงแรมของบริษทั ย่อย ตามเงือ� น ไขของสัญญา บริษทั ย่อยผูกพันทีจ� ะต้ องจ่ายค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ให้ แก่บริษทั คูส่ ญ ั ญาในอัตรา ระยะเวลาและตามวิธกี ารคํานวณ ทีร� ะบุไว้ ในสัญญา โดยสัญญาบริหารโรงแรมจะสิ �นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2575 เมือ� วันที� 1 มกราคม 2551 บริษทั ย่อยได้ โอนภาระ ผูกพันตามสัญญาดังกล่าวให้ แก่บริษทั เมือ� วันที� 4 กรกฎาคม 2548 บริษทั เอราวัณ ราชดําริ จํากัด และ บริษทั เอราวัณ สมุย จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ บันทึกข้ อตกลง กับกลุม่ ของบริษทั ในเครือ Marriott (“Marriott”) เพือ� ว่าจ้ างให้ “Marriott” เป็นผู้บริหารงานกิจการโรงแรมของบริษทั ย่อยให้ เป็นโรงแรม ตามมาตรฐานของ Courtyard by Marriott และ Renaissance Hotel ตามเงือ� นไขของสัญญา บริษทั ย่อยผูกพันทีจ� ะต้ องจ่ายค่า ธรรมเนียมต่าง ๆ ให้ แก่บริษทั คูส่ ญ ั ญาในอัตรา ระยะเวลาและตามวิธกี ารคํานวณทีร� ะบุไว้ ในสัญญา โดยสัญญาบริหารโรงแรมมี ระยะเวลา 30 ปี นับตังแต่ � เริ�มเปิ ดดําเนินกิจการโรงแรมและมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ได้ อกี อย่างน้ อย 10 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไข บางประการทีร� ะบุในสัญญา ในเดือนธันวาคม 2548 บริษทั ได้ ทาํ สัญญากับกลุม่ ของบริษทั ในเครือ InterContinental Hotels Group เพือ� บริหารโรงแรมภาย ใต้ แบรนด์ Holiday Inn ซึง� มีทตี� งอยู ั � ท่ พี� ทั ยา โดยบริษทั ผูกพันทีจ� ะต้ องจ่ายค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ให้ แก่บริษทั คูส่ ญ ั ญาในอัตรา ระยะเวลาและตามวิธีการคํานวณทีร� ะบุไว้ ในสัญญา โดยสัญญาบริหารโรงแรมมีระยะเวลา 15 ปี นับตังแต่ � เริ�มเปิ ดดําเนินกิจการ โรงแรม และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ได้ อกี 5 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการทีร� ะบุในสัญญา เมือ� วันที� 18 กุมภาพันธ์ 2556 บริษทั ได้ ทาํ สัญญาเปลีย� นแปลงเงือ� นไขบางประการกับ บริษทั ในเครือ InterContinental Hotel Group โดยบริษทั ผูกพันทีจ� ะต้ องจ่ายค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ให้ แก่บริษทั คูส่ ญ ั ญาในอัตรา ระยะเวลาและตามวิธีการคํานวณทีร� ะบุไว้ ใหม่ ในสัญญา และให้สญ ั ญาบริหารโรงแรมมีระยะเวลา 15 ปี นับตังแต่ � เริ�มเปิดดําเนินกิจการโรงแรมส่วนขยายภายใต้แบรนด์ Holiday Inn และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ได้ อกี 5 ปี จํานวน 2 ครัง� ทังนี � �ขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการทีร� ะบุในสัญญา ในเดือนกรกฎาคม 2554 บริษทั เอราวัณ ภูเก็ต จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยดําเนินการยกเลิกสัญญาบริหารโรงแรมกับกลุม่ ของบริษทั ในเครือ Six Senses และ ได้ ทาํ สัญญาบริหารโรงแรมใหม่กบั กลุม่ Starwood ซึง� ในภายหลังได้ มกี ารควบรวมกิจการกับ Marriott เมือ� เดือน ธันวาคม 2560 สัญญาบริหารโรงแรมได้ถกู โอนมาเป็นกับกลุม่ ของบริษทั ในเครือ Marriott โดยมีข้อกําหนดและเงือ� นไขภาย ใต้ สญ ั ญาในการให้ บริการด้ านการบริหารรีสอร์ทแก่บริษทั ย่อยคงเดิม และบริษทั ย่อยผูกพันทีจ� ะจ่ายค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามอัตรา ทีร� ะบุไว้ ในสัญญา สัญญาบริหารโรงแรมดังกล่าวจะสิ �นสุดในเดือนธันวาคม 2574 โดยมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญาได้ ซึง� ขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไข บางประการตามทีร� ะบุไว้ ในสัญญา

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

169


ในเดือนมิถนุ ายน 2549 ถึงเดือนธันวาคม 2555 บริษทั และบริษทั เอราวัณ เจ้ าพระยา จํากัด ซึง� เป็นบริษทั ย่อยได้ ทาํ สัญญาเพือ� ว่า จ้ างให้ แอคคอร์กรุ๊ปเป็ นผู้บริหารงานกิจการโรงแรมของบริษทั และบริษทั ย่อยจํานวน 12 แห่ง ภายใต้ แบรนด์ไอบิสและเมอร์เคียว ซึง� มีทตี� งในประเทศไทย ั� โดยบริษทั และบริษทั ย่อยผูกพันทีจ� ะต้ องจ่ายค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ให้ แก่บริษทั คูส่ ญ ั ญาในอัตรา ระยะเวลา และตามวิธกี ารคํานวณทีร� ะบุไว้ ในสัญญา โดยสัญญาบริหารโรงแรมมีระยะเวลา 15 ปี นับตังแต่ � เริ�มเปิ ดดําเนินกิจการโรงแรม และ มีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ได้ อกี 5 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการทีร� ะบุในสัญญา ต่อมาวันที� 1 กรกฎาคม 2552 ได้ มกี ารแก้ ไขเพิม� เติมระยะเวลาสัญญาจาก 15 ปี เป็ น 20 ปี เมือ� วันที� 1 กรกฎาคม 2556 บริษทั และบริษทั ย่อยได้ ตกลงเปลีย� นสัญญาบริหารโรงแรมเป็นสัญญาแฟรนไชส์โดยได้ ยกเลิกสัญญา บริหารโรงแรมทัง� 12 แห่งกับแอคคอร์กรุ๊ป และได้เข้ าทําสัญญาแฟรนไชส์กบั แอคคอร์กรุ๊ปแทน เพือ� บริหารโรงแรมภายใต้แบรนด์ไอบิ สและเมอร์เคียว โดยบริษทั และบริษทั ย่อยผูกพันทีจ� ะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ให้ แก่บริษทั คูส่ ญ ั ญาในอัตรา ระยะเวลา และตาม วิธกี ารคํานวณทีร� ะบุไว้ ในสัญญา โดยมีระยะเวลาการใช้ สทิ ธิตามสัญญาแฟรนไชส์เท่ากับสัญญาบริหารโรงแรมเดิม เมื� อวันที� 30 ธันวาคม 2558 บริ ษัท ได้ ทําสัญญาแฟรนไชส์ กับแอคคอร์ กรุ๊ ปเพื� อบริ หารโรงแรมภายใต้ แบรนด์ ไอบิส สไตล์ และโนโวเทล โดยบริษทั ผูกพันทีจ� ะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ให้แก่บริษทั คูส่ ญ ั ญาในอัตรา ระยะเวลา และตามวิธกี ารคํานวณ ทีร� ะบุไว้ ในสัญญา โดยมีระยะเวลาการใช้ สทิ ธิตามสัญญาแฟรนไชส์ 20 ปี นบั ตังแต่ � เริ�มเปิ ดดําเนินกิจการโรงแรม เมือ� วันที� 29 ธันวาคม 2559 บริษทั ได้ ทาํ สัญญาแฟรนไชส์กบั แอคคอร์กรุ๊ปเพือ� บริหารโรงแรมภายใต้ แบรนด์ไอบิส และเมอร์เคียว โดยบริษทั ผูกพันทีจ� ะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ให้แก่บริษทั คูส่ ญ ั ญาในอัตรา ระยะเวลา และตามวิธกี ารคํานวณทีร� ะบุไว้ในสัญญา โดยมีระยะเวลาการใช้ สทิ ธิตามสัญญาแฟรนไชส์ 20 ปี นบั ตังแต่ � เริ�มเปิ ดดําเนินกิจการโรงแรม เมือ� วันที� 5 ธันวาคม 2560 บริษทั Erawan Philippines (Cebu), INC. ซึง� เป็ นบริษทั ย่อยทางอ้ อมได้ ทาํ สัญญาแฟรนไชส์กบั กลุม่ ของบริษทั ในเครือ InterContinental Hotels Group เพือ� บริหารโรงแรมภายใต้ แบรนด์ Holiday Inn โดยบริษทั ผูกพันทีจ� ะต้ องจ่ายค่า ธรรมเนียมต่าง ๆ ให้แก่คสู่ ญ ั ญาในอัตรา ระยะเวลาและตามวิธกี ารคํานวณทีร� ะบุไว้ในสัญญา โดยสัญญาบริหารโรงแรมมีระยะเวลา 20 ปี นบั ตังแต่ � เริ�มเปิ ดดําเนินกิจการโรงแรม และมีสทิ ธิตอ่ อายุสญ ั ญานี �ได้ อกี อย่างน้ อย 5 ปี ทังนี � �ต้ องขึ �นอยูก่ บั เงือ� นไขบางประการ ทีร� ะบุในสัญญา 38

เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เมือ� วันที� 28 มกราคม 2562 Erawan Philippines (Quezon City), INC. ซึง� เป็นบริษทั ย่อยทางอ้ อม ได้จดทะเบียนเพิม� ทุนโดยการออก หุ้นสามัญจํานวน 75,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซ เป็นจํานวนเงิน 75,000,000 ฟิ ลปิ ปินส์เปโซและ Erawan Philippines, INC. ถือหุ้นทังหมด � และชําระค่าหุ้นเต็มจํานวนแล้วในวันที� 28 มกราคม 2562 เมือ� วันที� 30 มกราคม 2562 บริษทั ร่วมได้ ประกาศลดมูลค่าหน่วยลงทุนเป็ นจํานวนเงิน 4.12 ล้านบาท โดยบริษทั ร่วมจะจ่ายคืนเงิน จากการลดทุนดังกล่าวแก่บริษทั ในวันที� 1 มีนาคม 2562 เมือ� วันที� 26 กุมภาพันธ์ 2562 ทีป� ระชุมคณะกรรมการบริษัทมีมติเห็นชอบให้ เสนอต่อทีป� ระชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2562 ให้ พจิ ารณาในเรื�องดังต่อไปนี � (1) อนุมตั จิ า่ ยเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.09 บาท เป็นจํานวนทังสิ � �น 225.7 ล้านบาท สิทธิทจี� ะได้ รบั เงินปันผลดังกล่าวขึ �นอยูก่ บั การอนุมตั จิ ากทีป� ระชุมสามัญผู้ถอื หุ้น (2) อนุมตั ใิ ห้ ลดทุนจดทะเบียนของบริษทั จาก 2,537.9 ล้ านบาท เป็ น 2,507.7 ล้ านบาท ด้ วยวิธีการตัดหุ้นจดทะเบียนทีย� งั ไม่ ได้ ออกจําหน่าย ทังนี � �จํานวนลดทุนจดทะเบียนทีแ� น่นอนขึ �นอยูก่ บั จํานวนทีย� งั ไม่ได้ ใช้ สทิ ธิซื �อหุ้นสามัญของพนักงานของกลุม่ บริษทั ณ วันทําการสุดท้ ายของเดือนกุมภาพันธ์ 2562

170


(3) อนุมตั ใิ ห้ เพิม� ทุนจดทะเบียนของบริษทั จาก 2,507.7 ล้านบาทเป็น 2,788.7 ล้านบาท เพือ� รองรับการใช้ สทิ ธิซื �อหุ้นสามัญของ พนักงานของกลุม่ บริษทั และการจัดสรรหุ้นเพิม� ทุนแบบมอบอํานาจทัว� ไป (General Mandate) ซึง� เสนอขายต่อบุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ทังนี � �จํานวนเพิม� ทุนจดทะเบียนทีแ� น่นอนขึ �นอยูก่ บั จํานวนทีย� งั ไม่ได้ใช้ สทิ ธิซื �อหุ้นสามัญของพนักงานของ กลุม่ บริษทั ณ วันทําการสุดท้ ายของเดือนกุมภาพันธ์ 2562 39

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�ยังไม่ ได้ ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ� อกและปรับปรุงใหม่ทเี� กีย� วกับการดําเนินงานของกลุม่ บริษทั ซึง� คาดว่าจะมีผลกระทบทีม� สี าระ สําคัญต่องบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการ เมือ� นํามาถือปฏิบตั เิ ป็ นครังแรก � มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าว กําหนดให้ ถอื ปฏิบตั กิ บั งบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเี� ริ�มในหรือหลังวันที� 1 มกราคม ในปี ดงั ต่อไปนี � มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เรื�อง

มีผลบังคับใช้

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 7* มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 9* มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 15 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 32* การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที� 16* การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที� 19*

การเปิ ดเผยข้ อมูลเครื�องมือทางการเงิน เครื�องมือทางการเงิน รายได้ จากสัญญาทีท� าํ กับลูกค้ า การแสดงรายการเครื�องมือทางการเงิน การป้องกันความเสีย� งของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ

2563 2563 2562 2563 2563

การชําระหนี �สินทางการเงินด้ วยตราสารทุน

2563

* มาตรฐานการรายงานทางการเงินกลุม่ เครื�องมือทางการเงิน (ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 15 เรื�อง รายได้จากสัญญาทีท� าํ กับลูกค้ า มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 15 ให้ หลักการโดยรวมในการรับรู้รายได้ ทังจํ � านวนทีร� บั รู้และช่วงเวลาทีร� บั รู้ โดยรายได้ จะรับรู้เมือ� (หรือ ณ ขณะที)� กิจการส่งมอบการควบคุมสินค้ าหรือบริการให้ แก่ลกู ค้ าด้ วยมูลค่าของรายได้ ทกี� จิ การคาดว่าจะได้ รบั กลุม่ บริ ษัทได้ ทําการประเมินเบื �องต้ นถึงผลกระทบที�อาจจะเกิดขึ �นต่องบการเงินจากการถือปฎิบตั ติ ามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที� 15 เป็ นครังแรก � จากผลการประเมินกลุม่ บริษทั คาดว่าจะไม่มผี ลกระทบทีม� สี าระสําคัญต่อเงือ� นไขการรับรู้ราย ได้ ของสัญญาทีม� อี ยูใ่ นปัจจุบนั (ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเ� กีย� วข้ องกับเครื�องมือทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงินเหล่านี �ให้ ข้อกําหนดเกีย� วกับนิยามสินทรัพย์ทางการเงินและหนี �สินทาง การเงินตลอดจนการรับรู้ การวัดมูลค่า การด้ อยค่าและการตัดรายการ รวมถึงหลักการบัญชีของอนุพนั ธ์และการบัญชีปอ้ งกันความเสีย� ง ขณะนี �ผู้บริหารกําลังพิจารณาถึงผลกระทบทีอ� าจเกิดขึ �นจากการถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการรายงานทางการเงินกลุม่ เครื�องมือ ทางการเงินเป็ นครังแรกต่ � องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

171


Corporate Information ข อมูลบร�ษัท บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน) “ERW” ทะเบียนเลขที่ 0107537001943 สํานักงานใหญ่ อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ ชัน� 6 เลขที� 2 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2257 4588 โทรสาร 66 (0) 2257 4577 สํานักงานสาขาที� 1 อาคารเอราวัณ แบงค็อก เลขที� 494 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 66 (0) 2250 7777 โทรสาร 66 (0) 2250 7788 สํานักงานสาขาที� 2 โรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ เลขที� 4 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2656 7700 โทรสาร 66 (0) 2656 9831 สํานักงานสาขาที� 3 โรงแรมไอบิส ป่ าตอง ภูเก็ต เลขที� 10 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ตําบลป่ าตอง อําเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 83150 โทรศัพท์ 66 (0) 7630 3888 โทรสาร 66 (0) 7630 3889 สํานักงานสาขาที� 4 โรงแรมไอบิส พัทยา เลขที� 463/79 ถนนพัทยาสาย 2 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท์ 66 (0) 3841 8188 โทรสาร 66 (0) 3841 8189 สํานักงานสาขาที� 5 โรงแรมไอบิส สมุย เลขที� 197 ถนนรอบเกาะ ตําบลบ่อผุด อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84320 โทรศัพท์ 66 (0) 7791 4888 โทรสาร 66 (0) 7791 4889 สํานักงานสาขาที� 6 โรงแรมไอบิส สาทร เลขที� 29/9 ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 66 (0) 2610 5188 โทรสาร 66 (0) 2610 5189

172

สํานักงานสาขาที� 7 โรงแรมไอบิส กรุงเทพ สุขมุ วิท 4 เลขที� 41 ซอยสุขมุ วิท 4 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2667 5888 โทรสาร 66 (0) 2667 5889 สํานักงานสาขาที� 8 โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา และฮอลิเดย์ อินน์ เอ็กเซ็กคูทฟี พัทยา เลขที� 463/68, 463/99 ถนนพัทยาสาย 1 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท์ 66 (0) 3872 5555 โทรสาร 66 (0) 3872 5556 สํานักงานสาขาที� 9 โรงแรมไอบิส กะตะ เลขที� 88/8 ถนนกะตะ ตําบลกะรน อําเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83100 โทรศัพท์ 66 (0) 7636 3488 โทรสาร 66 (0) 7636 3489 สํานักงานสาขาที� 10 โรงแรมไอบิส หัวหิน เลขที� 73/15 ซอยหมูบ่ ้ านหนองแก ตําบลหนองแก อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ 77110 โทรศัพท์ 66 (0) 3261 0388 โทรสาร 66 (0) 3261 0389 สํานักงานสาขาที� 11 โรงแรมเมอร์เคียว ไอบิส กรุงเทพ สยาม เลขที� 927 ถนนพระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 66 (0) 2874 7222 โทรสาร 66 (0) 2874 7229 สํานักงานสาขาที� 12 โรงแรมไอบิส สไตล์ กระบี� อ่าวนาง เลขที� 725 หมูท่ ี� 2 ตําบลอ่าวนาง อําเภอเมืองกระบี� จังหวัดกระบี� 81000 โทรศัพท์ 66 (0) 7562 6388 โทรสาร 66 (0) 7562 6389 สํานักงานสาขาที� 13 โรงแรมเมอร์เคียว พัทยา โอเชีย� น รีสอร์ท เลขที� 463/100 หมูท่ ี� 9 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท์ 66 (0) 3876 9688 โทรสาร 66 (0) 3876 9689 สํานักงานสาขาที� 14 โรงแรมโนโวเทล ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ สุขมุ วิท 4 เลขที� 27 ซอยสุขมุ วิท 4 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2080 5388 โทรสาร 66 (0) 2080 5389


โฮมเพจ: www.TheErawan.com ประเภทธุรกิจ: ประกอบธุรกิจเกีย� วกับการลงทุนพัฒนาและดําเนินธุรกิจโรงแรมทีเ� หมาะสมกับทําเลและสถานทีต� งและกลุ ั� ม่ เป้าหมายเป็ นธุรกิจหลัก โดยมีธรุ กิจอืน� ได้ แก่ ธุรกิจให้ เช่าพื �นทีอ� าคาร และธุรกิจรับจ้ างบริหารอาคาร ทุนของบริษทั ฯ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2561 ทุนจดทะเบียน : 2,537,893,275 บาท หุ้นสามัญ 2,537,893,275 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนชําระแล้ว : 2,507,715,910 บาท หุ้นสามัญ 2,507,715,910 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท บุคคลอ้ างอิงอืน� นายทะเบียนหุ้นสามัญ บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด เลขที� 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: 66 (0) 2009 9000 โทรสาร: 66 (0) 2009 9991 ผู้สอบบัญชี นางสาววิไลวรรณ ผลประเสริฐ ผู้สอบบัญชีรบั อนุญาตเลขที� 8420 นางสาววิภาวรรณ ปัทวันวิเวก ผู้สอบบัญชีรบั อนุญาตเลขที� 4795 นางสาวปัทมวรรณ วัฒนกุล ผู้สอบบัญชีรบั อนุญาตเลขที� 9832 บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จํากัด ชัน� 48 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 195 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์: 66 (0) 2677 2000 โทรสาร: 66 (0) 2677 2222 สํานักงานใหญ่ บริษทั ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ ชัน� 6 เลขที� 2 ถนนสุขมุ วิท ซอย 2 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2257 4588 โทรสาร 66 (0) 2257 4577 www.TheErawan.com ธุรกิจโรงแรม แกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ เลขที� 494 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 66 (0) 2254 1234 โทรสาร 66 (0) 2254 6267 https://Bangkok.grand.hyatt.com เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ เลขที� 4 ถนนสุขมุ วิท ซอย 2 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2656 7700 โทรสาร 66 (0) 2656 7711 www.marriott.com/bkkdt เรเนซองส์ เกาะสมุย รีสอร์ ท แอนด์ สปา เลขที� 208/1 หมูท่ ี� 4 ตําบลมะเร็ต อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84310 โทรศัพท์ 66 (0) 7742 9300 โทรสาร 66 (0) 7742 9333 www.marroitt.com/usmbr เดอะ นาคา ไอแลนด์, เอ ลักซ์ชวั รี� คอลเลคชัน� รีสอร์ ท แอนด์ สปา, ภูเก็ต เลขที� 32 หมูท่ ี� 5 ตําบลป่ าคลอก อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 83110 โทรศัพท์ 66 (0) 7637 1400 โทรสาร 66 (0) 7637 1401 www.nakaislandphuket.com

คอร์ ทยาร์ ด โดย แมริออท กรุงเทพ เลขที� 155/1 ซอยมหาดเล็กหลวง 1 ถนนราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 66 (0) 2690 1888 โทรสาร 66 (0) 2690 1899 www.courtyard.com/bkkcy ฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา และฮอลิเดย์ อินน์ เอ็กเซ็กคูทฟี พัทยา เลขที� 463/68, 463/99 ถนนพัทยาสาย 1 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท์ 66 (0) 3872 5555 โทรสาร 66 (0) 3872 5556 www.holidayinn-pattaya.com เมอร์เคียว กรุงเทพ สยาม เลขที� 927 ถนนพระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 66 (0) 2874 7222 โทรสาร 66 (0) 2874 7229 www.mercure.com เมอร์ เคียว พัทยา โอเชีย� น รีสอร์ ท เลขที� 463/100 หมูท่ ี� 9 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท์ 66 (0) 3876 9688 โทรสาร 66 (0) 3876 9689 www.mercure.com

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

173


โนโวเทล กรุงเทพ สุขมุ วิท 4 เลขที� 27 ซอยสุขมุ วิท 4 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2080 5388 โทรสาร 66 (0) 2280 5389 www.novotel.com ไอบิส ภูเก็ต ป่ าตอง เลขที� 10 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ตําบลป่ าตอง อําเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 83150 โทรศัพท์ 66 (0) 7630 3888 โทรสาร 66 (0) 7630 3889 www.ibisthailand.com ไอบิส พัทยา เลขที� 463/79 ถนนพัทยาสาย 2 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท์ 66 (0) 3841 8188 www.ibisthailand.com โทรสาร 66 (0) 3841 8189 ไอบิส สมุย บ่อผุด เลขที� 197 ถนนรอบเกาะ ตําบลบ่อผุด อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84320 โทรศัพท์ 66 (0) 7791 4888 www.ibisthailand.com โทรสาร 66 (0) 7791 4889 ไอบิส กรุงเทพ สาทร เลขที� 29/9 ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 66 (0) 2610 5188 โทรสาร 66 (0) 2610 5189 www.ibisthailand.com ไอบิส กรุงเทพ สุขมุ วิท 4 เลขที� 41 ซอยสุขมุ วิท 4 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2667 5888 โทรสาร 66 (0) 2667 5889 www.ibisthailand.com ไอบิส ภูเก็ต กะตะ เลขที� 88/8 ถนนกะตะ ตําบลกะรน อําเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83100 โทรศัพท์ 66 (0) 7636 3488 โทรสาร 66 (0) 7636 3489 www.ibisthailand.com ไอบิส ริเวอร์ไซด์ กรุงเทพ เลขที� 27 ซอยเจริญนคร 17 แขวงบางลําภูลา่ ง เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท์ 66 (0) 2805 9888 โทรสาร 66 (0) 2805 9889 www.ibisthailand.com ไอบิส หัวหิน เลขที� 73/15 ซอยหมูบ่ ้ านหนองแก ตําบลหนองแก อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ 77110 โทรศัพท์ 66 (0) 3261 0388 โทรสาร 66 (0) 3261 0389 www.ibisthailand.com

174

ไอบิส กรุงเทพ สยาม เลขที� 927 ถนนพระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 66 (0) 2874 7222 โทรสาร 66 (0) 2874 7229 www.ibisthailand.com ไอบิส สไตล์ กระบี� อ่าวนาง เลขที� 725 หมูท่ ี� 2 ตําบลอ่าวนาง อําเภอเมืองกระบี� จังหวัดกระบี� 81000 โทรศัพท์ 66 (0) 7562 6388 โทรสาร 66 (0) 7562 6389 www.ibisthailand.com ไอบิส สไตล์ กรุงเทพ สุขมุ วิท 4 เลขที� 27 ซอยสุขมุ วิท 4 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2280 5388 โทรสาร 66 (0) 2280 5389 www.ibisthailand.com ฮ็อป อินน์ หนองคาย เลขที� 889 หมูท่ ี� 3 ตําบลในเมือง อําเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000 โทรศัพท์ 66 (0) 4241 3599 โทรสาร 66 (0) 4241 3833 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ มุกดาหาร เลขที� 18 ถนนชยางกูร ตําบลมุกดาหาร อําเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร 49000 โทรศัพท์ 66 (0) 4263 0399 โทรสาร 66 (0) 4263 0833 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ กาญจนบุรี เลขที� 360/39 ถนนอูท่ อง ตําบลปากแพรก อําเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร 71000 โทรศัพท์ 66 (0) 3451 3599 โทรสาร 66 (0) 3451 4533 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ กาญจนบุรี 2 เลขที� 360/40 ถนนอูท่ อง ตําบลปากแพรก อําเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 71000 โทรศัพท์ 66 (0) 3451 3599 โทรสาร 66 (0) 3451 4533 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ อุดรธานี เลขที� 30/2 หมูท่ ี� 7 ซอยบ้ านโนนพิบลู ย์ ถนนพิบลู ย์ ตําบลหมากแข้ง อําเภอเมืองอุดรธานีจงั หวัดอุดรธานี 41000 โทรศัพท์ 66 (0) 4232 4299 โทรสาร 66 (0) 4232 4423 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ สระแก้ ว เลขที� 1/10 ถนนเทศบาล 18 ตําบลสระแก้ ว อําเภอเมืองสระแก้ ว จังหวัดสระแก้ ว 27000 โทรศัพท์ 66 (0) 3742 1299 โทรสาร 66 (0) 3742 1133 www.hopinnhotel.com


ฮ็อป อินน์ อุบลราชธานี เลขที� 263 หมูท่ ี� 1 ตําบลแจระแม อําเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ 66 (0) 4535 5199 โทรสาร 66 (0) 4531 1533 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ ขอนแก่น เลขที� 90/609 ถนนรอบเมือง ตําบลในเมือง อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ 66 (0) 4322 3899 โทรสาร 66 (0) 4322 3033 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ ขอนแก่น 2 เลขที� 175 ถนนรอบเมือง ตําบลในเมือง อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ 66 (0) 4322 3899 โทรสาร 66 (0) 4322 3033 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ นครราชสีมา เลขที� 624 ถนนสืบศิริ ตําบลในเมือง อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ 66 (0) 4435 5039 โทรสาร 66 (0) 4435 4033 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ แม่สอด เลขที� 81/9 ถนนสายเอเชีย ตําบลแม่สอด อําเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110 โทรศัพท์ 66 (0) 5553 6399 โทรสาร 66 (0) 5553 5833 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ แม่สอด 2 เลขที� 81/18 ถนนสายเอเชีย ตําบลแม่สอด อําเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110 โทรศัพท์ 66 (0) 5553 6399 โทรสาร 66 (0) 5553 5833 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ ลําปาง เลขที� 79/31 ถนนพหลโยธิน ตําบลสวนดอก อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง 52100 โทรศัพท์ 66 (0) 5422 7899 โทรสาร 66 (0) 5422 8333 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ พิษณุโลก เลขที� 66/6 หมูท่ ี� 10 ตําบลวัดจันทร์ อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 66 (0) 5533 4699 โทรศัพท์ 66 (0) 5533 4522 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ สุราษฎร์ธานี เลขที� 5/135 หมูท่ ี� 3 ถนนเลีย� งเมือง ตําบลมะขามเตี �ย อําเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 โทรศัพท์ 66 (0) 7743-7099 โทรสาร 66 (0) 7743-7255 www.hopinnhotel.com

ฮ็อป อินน์ นครศรีธรรมราช เลขที� 59 ถนนพัฒนาการคูขวาง ตําบลท่าวัง อําเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 โทรศัพท์ 66 (0) 7580 8199 โทรสาร 66 (0) 7580 8133 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ ร้ อยเอ็ด เลขที� 377 หมูท่ ี� 6 ตําบลเหนือเมือง อําเภอเมืองร้ อยเอ็ด จังหวัดร้ อยเอ็ด 45000 โทรศัพท์ 66 (0) 4352 2122 โทรสาร 66 (0) 4352 2233 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ ตรัง เลขที� 251/35 หมูท่ ี� 4 ตําบลบ้ านโพธิ� อําเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 92000 โทรศัพท์ 66 (0) 7521 6899 โทรสาร 66 (0) 7521 2033 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ กระบี� เลขที� 19 ถนนร่วมจิตร ตําบลปากนํ �า อําเภอเมืองกระบี� จังหวัดกระบี� 81000 โทรศัพท์ 66 (0) 7562 0889 โทรสาร 66 (0) 7562 0133 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ กระบี� 2 เลขที� 19/1 ถนนร่วมจิตร ตําบลปากนํ �า อําเภอเมืองกระบี� จังหวัดกระบี� 81000 โทรศัพท์ 66 (0) 7562 0889 โทรสาร 66 (0) 7562 0133 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ ชุมพร เลขที� 75/59 ถนนกรมหลวงชุมพร ตําบลท่าตะเภา อําเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร 86000 โทรศัพท์ 66 (0) 7750 1799 โทรสาร 66 (0) 7750 3433 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ จันทบุรี เลขที� 169/5 ถนนท่าแฉลบ ตําบลตลาด อําเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 66 (0) 3930 2599 โทรสาร 66 (0) 3931 3633 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ สกลนคร เลขที� 1912 ถนนต.พัฒนา ตําบลธาตุเชิงชุม อําเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์ 66 (0) 4271 6399 โทรสาร 66 (0) 4271 3233 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ เชียงใหม่ เลขที� 1 ถนนห้ วยแก้ ว ตําบลช้ างเผือก อําเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์ 66 (0) 5321 7599 โทรสาร 66 (0) 5321 7533 www.hopinnhotel.com

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

175


ฮ็อป อินน์ เชียงใหม่ ซุปเปอร์ไฮเวย์ เลขที� 386 ถนนเชียงใหม่-ลําปาง ตําบลฟ้าฮ่าม อําเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50000 โทรศัพท์ 66 (0) 5324 3499 โทรสาร - 66 (0) 5324-2833 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ หาดใหญ่ เลขที� 1318 ถนนกาญจนวณิชย์ ตําบลหาดใหญ่ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90100 โทรศัพท์ 66 (0) 7424 1829 โทรสาร 66 (0) 7424 1825 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ ภูเก็ต เลขที� 14/19 หมูท่ ี� 6 ถนนเทพกระษัตรี ตําบลรัษฎา อําเภอเมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต 83000 โทรศัพท์ 66 (0) 7652 3399 โทรสาร 66 (0) 7652 3343 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ บุรีรมั ย์ เลขที� 517/27 ถนนจิระ ตําบลในเมือง อําเภอเมืองบุรีรมั ย์ จังหวัดบุรีรมั ย์ 31000 โทรศัพท์ 66 (0) 4460 1699 โทรสาร 66 (0) 4461 1633 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ ระยอง 355/3 ถนนสุขมุ วิท ตําบลเนินพระ อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000 โทรศัพท์ 66 (0) 3861 3399 โทรสาร 66 (0) 3861 3833 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ ลําปาง ซิตี �เซ็นเตอร์ 101/22 ถนนจันทร์สรุ ินทร์ ตําบลสบตุย๋ อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง 52100 โทรศัพท์ 66 (0) 5422 6299 โทรสาร 66 (0) 5422 6233 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ เชียงราย 934/28 ถนนพหลโยธิน ตําบลเวียง อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย 57000 โทรศัพท์ 66 (0) 5371 9479 โทรสาร 66 (0) 5371 9513 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ หัวหิน 6/4 ถนนดํารงราช ตําบลหัวหิน อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ 77110 โทรศัพท์ 66 (0) 3251 3199 โทรสาร 66 (0) 3251 2733 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ นครสวรรค์ 605/755 หมูท่ ี� 10 ตําบลนครสวรรค์ตก อําเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครวรรค์ 60000 โทรศัพท์ 66 (0) 5622 2499 โทรสาร 66 (0) 5622 2433 www.hopinnhotel.com

176

ฮ็อป อินน์ ลพบุรี 288 หมูท่ ี� 2 ตําบลท่าศาลา อําเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี 15000 โทรศัพท์ 66 (0) 03642 2666 โทรสาร 66 (0) 3642 2308 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ สุรินทร์ 5/1 ซอยปอยตังกอ ตําบลในเมือง อําเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 32000 โทรศัพท์ 66 (0) 4451 2397 โทรสาร 66 (0) 4451 2398 www.hopinnhotel.com ฮ็อป อินน์ ชลบุรี 40/1 หมู1่ ตําบลห้ วยกะปิ อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท์ 66 (0) 3811 1499 โทรสาร 66 (0) 3819 5022 www.hopinnhotel.com HOP INN ERMITA MANILA 1850 M. H. Del Pilar Street, Malate, City of Manila, Metro Manila 1004, Philippines Telephone : 63 2 528 3988 Fax: 63 2 528 3999 http://www.hopinnhotel.com HOP INN MAKATI AVENUE 7806 Makati Avenue, Makati City, Metro Manila1210,Philippines Telephone : 63 2 816 7866 Fax: 63 2 816 7876 http://www.hopinnhotel.com HOP INN ASEANA CITY MANILA Lot 9 Block 5, near corner of Bradco Avenue and Macapagal Boulevard, Aseana Business Park, Aseana City, Parañaque City, Metro Manila 1702, Philippines Telephone : 63 2 842 6850, Fax: 63 2 842 0013 http://www.hopinnhotel.com HOP INN ALABANG MANILA Lot 2 Block 4 Phase 3, Market Street, Madrigal Business Park, Ayala Alabang, Muntinlupa City, Metro Manila 1780, Philippines Telephone : 63 2 296 1464 Fax: 63 2 296 2709 http://www.hopinnhotel.com HOP INN TOMAS MORATO QUEZON CITY 312 Tomas Morato Avenue, Brgy. South Triangle, Quezon City, Metro Manila 1103, Philippines Telephone : 63 2 990 0720 Fax: 63 2 990 0729 http://www.hopinnhotel.com ธุรกิจพื �นทีใ� ห้ เช่า อาคารเอราวัณ แบงค็อก เลขที� 494 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 66 (0) 2250 7777 โทรสาร 66 (0) 2250 7788 www.erawanbangkok.com


CG Statement รายงานบรรษัทภิบาล รายงานบรรษัทภิบาล วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่ านิยมองค์ กร

วัฒนธรรมองค์ กร กลยุทธ์ ในการดําเนินธุรกิจ โครงสร้ างการบริหารทรั พย์ สิน

การเผยแพร ข อมูล รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) www.TheErawan.com คูม่ ือจริ ยธรรมธุรกิจ รายงานประจําปี (56-2) www.TheErawan.com คูม่ ือจริ ยธรรมธุรกิจ รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1)

โครงสร างการถือหุ นและการบริหาร • กลุม่ ผู้ถือหุ้น • ชื�อกรรมการ/ตําแหน่ง/วุฒิการศึกษา • อํานาจหน้าทีค� วามรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อย และวาระการดํารงตําแหน่ง • กรรมการอิสระ • ผู้บริ หารระดับสูง • บทบาทหน้ าที�ของกรรมการผู้จดั การใหญ่ • หน้ าที�ความรับผิดชอบของเลขานุการบริ ษัท • รายงานการถือครองหุ้นของคณะกรรมการบริษทั และผู้บริ หาร

รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) www.TheErawan.com

รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) ปั จจัยความเสี�ยง รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) นโยบายการป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการต่ อต้ านการ รายงานประจําปี (56-2) สนับสนุนทางการเงินแก่ การก่ อการร้ าย แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) www.TheErawan.com นโยบายต่ อต้ านการคอร์ รัปชั�น รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) www.TheErawan.com คูม่ ือจริ ยธรรมธุรกิจ นโยบายบรรษัทภิบาล รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) www.TheErawan.com กิจกรรมเพื�อสังคม รายงานประจําปี (56-2) www.TheErawan.com

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

177


รายงานด านบรรษัทภิบาล จริยธรรมธุรกิจ

คุณสมบัติกรรมการ • • • • • • • • • •

คุณสมบัติประธานกรรมการบริ ษัท คุณสมบัติกรรมการอิสระ บทบาทของคณะกรรมการบริ ษัท และฝ่ ายจัดการ การประชุมคณะกรรมการบริ ษัท การประเมินผลงานคณะกรรมการบริ ษัท การสรรหากรรมการ และผู้บริ หารระดับสูง ค่าตอบแทนกรรมการเปิ ดเผยรายคน และค่าตอบแทนผู้บริ หาร ความรับผิดชอบต่อผู้มีสว่ นได้ เสีย การควบคุมภายใน การเปิ ดเผยรายการที�เกี�ยวโยงกันในลักษณะความสัมพันธ์หรื อ ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์

การเผยแพร ข อมูล รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) www.TheErawan.com คูม่ ือจริ ยธรรมธุรกิจ รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) www.TheErawan.com รายงานประจําปี (56-2) แบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1)

การจัดประชุมผู ถือหุ น • • • • • •

การเสนอวาระการประชุมล่วงหน้ า หนังสือเชิญประชุมพร้ อมเอกสารประกอบ สถานที�จดั ประชุม วันที�ประชุม และวาระการประชุม สรุปมติที�ประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น

แจ้ งข่าวตลาดหลักทรัพย์ www.TheErawan.com

การเป ดเผยข อมูลทางการเงิน • นําส่งงบการเงินรายไตรมาส ภายใน 45 วันนับจากวันสิ �นงวด และภายใน 60 วันสําหรับงบการเงินประจําปี • นําส่งคําอธิบายและวิเคราะห์ผลการดําเนินงานของฝ่ ายบริ หาร (Management Discussion and Analysis) รายไตรมาสและประจําปี • เผยแพร่ Quarterly Meeting Presentation ภายใน 2 วันนับจากวันประชุม • เผยแพร่ บทสรุปข้ อมูลสําคัญของบริ ษัทฯ (Investor Factsheet) ทุกไตรมาส

178

แจ้ งข่าวตลาดหลักทรัพย์ www.TheErawan.com จัดประชุมนักลงทุนสัมพันธ์ ทุกไตรมาส www.TheErawan.com


รายงานบรรษัทภิบาล

การเผยแพร ข อมูล

สารสนเทศอื่น การจัดตังบริ � ษัท/สํานักงานสาขา การเปลี�ยนแปลงผู้บริ หารระดับสูง รายการได้ มา/จําหน่ายไปซึง� สินทรัพย์ของบริ ษัทฯ แจ้ งการซื �อขายหุ้นเพิ�มทุนที�จําหน่ายให้ กบั พนักงานและผู้บริ หาร (ESOP)

แจ้ งข่าวตลาดหลักทรัพย์ www.TheErawan.com

การรับข อร องเรียนด านบรรษัทภิบาลและจริยธรรมธุรกิจ • เจ้ าหนี �/คูค่ ้ า

• พนักงานทุกระดับ • ลูกค้ า/ผู้เช่าพื �นที�/ผู้ใช้ บริ การ • นักลงทุน/นักวิเคราะห์ • ผู้ถือหุ้น/บุคคลทัว� ไป

แบบสอบถามความเห็นต่อการเข้ าร่วมเสนอราคา/ ประมูลงาน แบบสํารวจความพึงพอใจต่องานบริ การ (ภายนอก) GCG@theerawan.com แบบสํารวจความพึงพอใจต่องานบริ การ (ภายใน) GCG@theerawan.com แบบสํารวจความพึงพอใจต่องานบริ การ (ภายนอก) GCG@theerawan.com IR Survey ir@theerawan.com GCG@theerawan.com GCG@theerawan.com CompanySecretary@theerawan.com

รายงานประจําป 2561 บร�ษัท ดิ เอราวัณ กรุ ป จํากัด (มหาชน)

179


180




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.