ไฟฟ้าสาร ปีที่ 18 ฉบับที่ 4 ก.ย.-ต.ค.54

Page 24

Standard & Safety มาตรฐานและความปลอดภัย ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม

อันตรายจากอารกแฟล็ชและอารกระเบิด

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

อันตรายประเภทหนึ่งที่ทําใหชางไฟฟาเสียชีวิตคือ การอารก ซึ่งอุบัติเหตุจากอารกแฟล็ชเกิดขึ้นในแตละวัน เปนจํานวนมาก อารกไฟฟาเปนการทีก่ ระแสไฟฟากระโดด ขามชองอากาศในวงจร ซึ่งทําใหเกิดแฟล็ชหรือระเบิดได ฟอลต ท างไฟฟ า มี ส องประเภทคื อ ฟอลต ที่ ลั ด ตรงซึ่งไมเกิดอารก (Bolted fault) และฟอลตที่มีอารก (Arcing fault) ฟอลตที่ลัดตรงเกิดขึ้นเมื่อทางเดินฟอลต ถูกตอตรงทําใหกระแสไฟฟาสูงมากไหลผาน และพลังงาน จะกระจายในอุปกรณที่เกิดฟอลต สวนฟอลตที่มีอารกจะ ปลอยพลังงานอยางรวดเร็วจากอารกระหวางไลนกับไลน หรือไลนกบั ดินหรือไลนกบั นิวทรัล ตัวประกอบทีท่ าํ ใหเกิด อารกแฟล็ชไดมีดังนี้ - ความเร็วของอุปกรณปองกันกระแสเกิน - ระยะระหวางชองอากาศ - ขนาดของเปลือกหุมหรือการไมมีของเปลือกหุม - ตัวประกอบกําลังของฟอลต - แรงดันไฟฟาของระบบ - ชนิดของการประสานและการตอลงดินของระบบ บางครั้ ง ฟอลต ที่ มี อ าร ก เกิ ด ขึ้ น ในระบบแรงดั น ไฟฟ า ตํ่ า กว า 220V ซึ่ ง ลั ก ษณะของฟอลต ช นิ ด นี้ คื อ อากาศกลายเปนตัวนํา ทําใหเกิดทางเดินไฟฟาหรือเกิด ความลมเหลว เชน ฉนวนชํารุด ลักษณะของฟอลตทมี่ อี ารก คือ ฟอลตขยายตัวและเกิดการแตกประจุ (ไอออน) ขึ้น

22

การลัดทําใหเริ่มเกิดแฟล็ชทางไฟฟาขึ้น ซึ่งเมื่อ พลังงานเพิ่มขึ้นจะทําใหเกิดพลาสมาที่นําไฟฟา และเกิด อารกตามมา พลาสมาดังกลาวจะเปนตัวนําพลังงานอยาง ตอเนื่องและขึ้นกับอิมพีแดนซของอารก ซึ่งเกิดความรอน ไดสูงถึง 20,000 oC หรือประมาณสี่เทาของอุณหภูมิ ดวงอาทิตย ทําใหชนิ้ สวนทองแดงของอุปกรณไฟฟาละลาย อยางรวดเร็วหรือกลายเปนไอตามรูปที่ 1

รูปที่ 1 อารกระเบิดทําใหเกิดไฟไหม, คลื่นกระแทก, ความรอน และโลหะละลาย


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.