ไฟฟ้าสาร ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 พ.ค.-มิ.ย.55

Page 77

9) ผลงานวิ จั ย นี้ มี คุ ณ ค่ า และมี ป ระโยชน์ ยิ่ ง ต่ อ ขดลวดเฮล์มโฮลทซ์ เพือ่ ศึกษาการรบกวนจากสนามแม่เหล็ก ประเทศชาติและสังคม เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีและ H ดังรูปที่ 5 แสดงหน้าจอคอมพิวเตอร์ถูกรบกวน บุคลากร ทีส่ ำ� คัญช่วยให้สามารถท�ำการทดสอบความคงทน ต่อการเจาะทะลุดว้ ยแรงดันอิมพัลส์หน้าคลืน่ ชันในอากาศ ของลูกถ้วยฉนวนประเภท B ได้ภายในประเทศ ช่วยให้ โรงงานอุตสาหกรรมผลิตลูกถ้วยฉนวนที่มีคุณภาพ ท�ำให้ ระบบไฟฟ้ามีเสถียรภาพและความเชื่อถือได้สูง เป็นผลดี ต่อเศรษฐกิจโดยรวม 4.2 โครงการวิจัย 2 “การรบกวนจากสนามแม่เหล็กบน จอคอมพิวเตอร์และการป้องกันด้วยกล่องชีลด์” โครงการวิจัยมีขั้นตอนโดยย่อดังนี้ 1) ที่มาของปัญหา วันหนึ่งผู้เขียนได้รับค�ำถาม จากนายช่างผู้ปฏิบัติงานที่ห้องบังคับการในสถานีไฟฟ้า ย่อยหนองจอก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ว่าท�ำไมตัวเลข ตัวอักษรบนจอคอมพิวเตอร์จึงสั่นไหว ท�ำให้อ่านได้ยาก มีผลเสียต่อการด�ำเนินงานและมีผลกระทบต่อสายตาใน ระยะยาวอีกด้วย ตอนนั้นผู้เขียนไม่ทราบจึงตอบไม่ได้ แต่ค�ำถามน่าสนใจ เป็นปัญหาท้าทายให้น่าศึกษาวิจัย คิดว่าน่าจะเป็นเรือ่ งการรบกวนจากสิง่ แวดล้อม เมือ่ ส�ำรวจ พบว่า ด้านข้างอาคารที่มีคอมพิวเตอร์ในห้องบังคับการ (อยู่ชั้นสอง) นั้นมีสายส่งแรงสูงระบบ 230 kV ขึงอยู่ จึง คิดว่าน่าจะเกิดจากสนามไฟฟ้า E หรือสนามแม่เหล็ก H ที่ก�ำเนิดจากสายส่งแรงสูงนี้ 2) การศึกษาการรบกวนของ E หรือ B เบื้ อ งต้ น ท� ำ การศึ ก ษาถึ ง ผลของสนามไฟฟ้ า ต่ อ จอคอมพิ ว เตอร์ ภ ายในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารไฟฟ้ า แรงสู ง จุฬาลงกรณ์ฯ โดยสร้างสนามไฟฟ้าด้วยการป้อนแรงดัน สูงที่สายส่งตัวน�ำแรงสูงจ�ำลองขึงเหนือพื้น ให้มีค่าสนาม ไฟฟ้าประมาณเท่ากับที่วัดได้จากใต้สายส่งจริง ประมาณ 8 kV/m [21] ผลปรากฏว่าสนามไฟฟ้า E ≤ 8 kV/m ไม่มี ผลรบกวนต่อจอคอมพิวเตอร์ 3) การศึกษาการรบกวนของสนามแม่เหล็กต่อ จอคอมพิวเตอร์จึงเริ่มต้นขึ้น สร้างสนามแม่เหล็กด้วย ขดลวด Helmholtz coil โดยใช้เส้นลวดพันบนโครงทีท่ ำ� ด้วย ท่อพีวีซี เป็นรูปสี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถสร้างความหนาแน่น สนามแม่เหล็ก B สม�ำ่ เสมอเป็นปริมาตรทรงกลม รัศมี 30 cm จากจุดกึ่งกลางของขดลวดเฮล์มโฮลทซ์ และปรับค่า ได้ถึง 2000 mG ที่กระแสป้อนไม่เกิน 1.5 A [22] ท�ำ การทดลองโดยน�ำคอมพิวเตอร์ไปตัง้ ในบริเวณกึง่ กลางของ

รูปที่ 5 ตัวอักษรบนหน้าจอคอมพิวเตอร์สั่น เมื่อถูกสนามแม่เหล็กรบกวน ขณะไม่มีกล่องชีลด์

ร า ส า ้ ฟ ไฟ 4) การป้องกันสนามแม่เหล็กด้วยกล่องชีลด์ การศึ ก ษาพบว่ า สนามแม่ เ หล็ ก รบกวนอุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จึ ง ต้ อ งป้ อ งกั น สนามแม่ เ หล็ ก เพื่ อ ให้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท�ำงานได้ตามปกติในสถานที่ที่มี สนามแม่เหล็กระดับปกติ [22] การป้องกันสนามแม่เหล็กอาจท�ำได้โดยการก�ำบัง หรือการชีลด์ (Shielding) ด้วยโลหะที่มีค่าเปอร์มีบิลิตี้ (µ) สูง มีคุณสมบัติการปิดกั้นสนามแม่เหล็กได้ท�ำเป็น กล่องชีลด์ครอบจอคอมพิวเตอร์ ดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 การติดตั้งกล่องชีลด์ครอบจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งป้องกันการรบกวนบนจอคอมพิวเตอร์ได้

ปัญหาเดียวกันนี้ก็เกิดกับจอคอมพิวเตอร์ในห้อง ควบคุมและสัง่ การ ทีส่ ถานีไฟฟ้าย่อยหนองจอก การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตฯ (EGAT) [23] และที่สถานีไฟฟ้าย่อยชิดลม การไฟฟ้านครหลวง (MEA) จึงติดตั้งกล่องชีลด์ครอบจอ คอมพิวเตอร์เช่นกัน ดังรูปที่ 7 พฤษภาคม - มิถุนายน 2555

75


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.