ไฟฟ้าสาร ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 พ.ค.-มิ.ย.55

Page 70

ตารางที่ 4 ประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่นร่วมกับระบบผลิตพลังงานต่าง ๆ ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (MWe)

ประสิทธิภาพ (ร้อยละ)

เครื่องยนต์ก๊าซ

0.3-30

21

กังหันก๊าซและกังหันไอน�ำ้

5-200

50

0.05-1.5

30

ระบบผลิตพลังงาน

ระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนร่วม โดยใช้ เครื่องยนต์ดีเซลหรือเครื่องยนต์ก๊าซ

4) ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่นที่ใช้ ในการก�ำจัดขยะเป็นการใช้ความร้อน ในการท�ำให้ขยะแตกสลาย เพือ่ เปลีย่ น เชือ้ เพลิงแข็งให้กลายเป็นก๊าซเชือ้ เพลิง เป็ น การใช้ ค วามร้ อ นเผาคล้ า ยกั บ เทคโนโลยี เ ตาเผา จึ ง มี ผ ลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นคล้ายกับ เทคโนโลยีเตาเผาขยะ ทั้งมลพิษทาง อากาศ มลพิษจากกากของแข็ง และ มลพิษทางน�้ำ 4.1) มลพิษทางอากาศ เทคโนโลยี ก ๊ า ซซิ ฟ ิ เ คชั่ น เกิ ด ขึ้นในสภาวะที่มีปริมาณอากาศหรือ ออกซิเจนเข้าท�ำปฏิกิริยาในปริมาณ น้อยกว่าปริมาณที่จะท�ำให้เกิดการ เผาไหม้ที่สมบูรณ์ นั่นหมายความว่า ปฏิ กิ ริ ย าที่ เ กิ ด ขึ้ น ในกระบวนการ ก๊ า ซซิ ฟ ิ เ คชั่ น เป็ น การเผาไหม้ ไม่ ส มบู ร ณ์ ดั ง นั้ น เทคโนโลยี ก ๊ า ซ ซิ ฟ ิ เ ค ชั่ น จ ะ มี โ อ ก า ส ที่ จ ะ ผลิตสารไดออกซินหรือฟูรานซึ่งเป็น สารอันตราย ในกรณีของเทคโนโลยีเตาเผา ที่เกิดการเผาไหม้สมบูรณ์ที่อุณหภูมิ สูงในเตาเผาจะเกิดสารไดออกซินหรือ ฟูรานขึ้นได้ยากกว่าและในปริมาณที่ จ�ำกัดกว่า

ก๊าซเชื้อเพลิงที่เกิดจากเครื่องปฏิกรณ์และเทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่น จะมี ฝุ ่ น ละอองและน�้ ำ มั น ดิ น ปนเปื ้ อ นอยู ่ โ ดยปริ ม าณของสิ่ ง ปนเปื ้ อ น เหล่านี้จะขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องปฏิกรณ์ที่นำ� มาใช้ นอกจากฝุ ่ น ละอองและน�้ ำ มั น ดิ น แล้ ว อาจมี ไ อของโลหะหนั ก แอมโมเนีย ไฮโดรเจนคลอไรด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และ NOx ซึ่งสารปนเปื้อน เหล่านี้เป็นสารที่เป็นอันตรายต่ออุปกรณ์ในระบบอื่น ๆ เช่น น�้ำมันดิบอาจ จับตัวเป็นของแข็งเมือ่ อุณหภูมขิ องก๊าซเชือ้ เพลิงลดลง จนท�ำให้เกิดการอุดตัน ของระบบท่ อ หรื อ ไปเกาะที่ บ ริ เ วณชิ้ น ส่ ว นที่ เ คลื่ อ นที่ ไ ด้ ข องเครื่ อ งยนต์ สารประกอบของคลอไรด์อาจท�ำให้อุปกรณ์ในระบบสึกกร่อน เป็นต้น ดังนั้น จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งในการท�ำความสะอาดก๊าซเชื้อเพลิง ก่อนน�ำไปใช้งานในอุปกรณ์อื่น ๆ ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้ในการบ�ำบัดหรือควบคุม สารมลพิษเหล่านี้ ได้แก่ สครับเบอร์ เครื่องกรองด้วยเส้นใยถัก เครื่องดักด้วย ไฟฟ้าสถิตและไซโคลน เป็นต้น 4.2) มลพิษกากของแข็ง กากของแข็งทีเ่ กิดขึน้ ภายในเครือ่ งปฏิกรณ์ประกอบด้วยสารเชือ้ เพลิง และสารที่เผาไหม้ไม่ได้ สารเชื้อเพลิงที่ได้ คือ ถ่านชาร์ ส�ำหรับโลหะและสารทีเ่ ผาไหม้ไม่ได้ อืน่ ๆ จะถูกคัดแยกเพือ่ น�ำกลับไปใช้ใหม่ ขีเ้ ถ้าเบาทีเ่ กิด ขึน้ ณ อุปกรณ์ควบคุม มลพิษอากาศอาจปนเปื้อนด้ ว ยโลหะหนักและต้องการการบ�ำบัดขั้นสุดท้าย เพื่อป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้น 4.3) มลพิษทางน�้ำ น�้ำจากกระบวนการก๊าซซิฟิเคชั่นเกิดจากน�้ำชะล้างขยะที่เกิดขึ้น ภายในห้องเก็บขยะ น�ำ้ ล้างภาชนะบรรจุขยะและน�ำ้ เสียทีเ่ กิดจากระบบควบคุม มลพิษอากาศ น�้ำเสียที่เป็นมลพิษทางน�้ำเหล่านี้จะถูกบ�ำบัดเบื้องต้นโดย กรรมวิธกี ารกรอง จากนัน้ จะถูกส่งไปยังระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียซึง่ อาจใช้วธิ ที างเคมี หรือชีวภาพให้น�้ำเสียเหล่านั้นกลับสู่สภาพที่ดีก่อนที่จะปล่อยสู่ระบบนิเวศน์ ต่อไป

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

68


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.