นิตยสารไฟฟ้าสาร ฉบับเดือน พ.ค.-มิ.ย.54

Page 80

เมื่ อ ถึ ง จุ ด นี้ ห ลายท่ า นคงพอ จะเริ่ ม เข้ า ใจมากขึ้ น แล้ ว นะครั บ ว่า Demand Response คืออะไร และเกี่ ย วข้ อ งกั บ DSM อย่ า งไร แต่ เ พื่ อ ให้ เ ข้ า ใจความส� ำ คั ญ ของ Demand Response มากขึ้น ขอให้ พิจารณารูปที่ 1 แสดงตัวอย่างโหลด รายชั่วโมงใน 1 ปี ซึ่งเราจะพบว่า ในช่วงของความต้องการก�ำลังไฟฟ้า สู ง สุ ด (Peak Load) 10% ของ ปริมาณความต้องการก�ำลังไฟฟ้าของ โหลดทั้งหมด มีระยะเวลารวมกันใน ปีหนึ่งเพียงแค่ 5% ส�ำหรับตัวอย่าง นี้อาจจะยังไม่รุนแรงมากนัก แต่หาก การทีม่ โี หลดสูงมาก ๆ เพียงช่วงระยะ เวลาสัน้ ๆ นัน่ หมายความว่าการไฟฟ้า

ต้องผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายไฟให้แก่ Peak Load เหล่านี้ ซึ่งโดยทั่วไปจะมีค่าใช้ จ่ายในการผลิตไฟฟ้าที่สูง อีกทั้งยัง จ่ายไฟเพียงช่วงระยะเวลาสั้น ๆ จึงไม่ คุ้มค่าในแง่ของการลงทุน นั่นหมาย ถึงการใช้ไฟฟ้าที่ไม่มีประสิทธิภาพ อี ก ทั้ ง ในแต่ ล ะปี โ หลดจะมี ก ารเพิ่ ม ขึ้นอย่างต่อเนื่องตามการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ การไฟฟ้าจึงต้องสร้าง โรงไฟฟ้าเพิ่มขึ้นให้เพียงพอที่จะจ่าย โหลดได้ไม่ว่ามีความต้องการเท่าใด ก็ตาม และต้องมี Spinning Reserve หรือก�ำลังผลิตไฟฟ้าส�ำรองเผื่อกรณี ฉุกเฉินอีกจ�ำนวนหนึ่ง โดยทั่วไปอยู่ ระหว่าง 5-10% จึงท�ำให้การไฟฟ้า ต้องลงทุนหรือจัดหาโรงไฟฟ้าใหม่ ๆ

รูปที่ 1 ความต้องการก�ำลังไฟฟ้ารายชั่วโมงในรอบปี

รูปที่ 2 กลไก Demand Response ในการลดค่าความต้องการก�ำลังไฟฟ้าสูงสุด

78

มากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ในภาวะปัจจุบัน เราก็ทราบดีว่าแหล่งพลังงานที่ผลิต ไฟฟ้ามีราคาสูงเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ ปัญหา การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ (Climate Change) ก็เป็นปัญหาหนึ่ง ที่ท�ำให้การก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ ๆ มี ต ้ น ทุ น ที่ สู ง เพิ่ ม ขึ้ น และมี ก ารต่ อ ต้ า น จากชุมชนมากขึน้ เช่นกัน ดังนัน้ หาก เราสามารถบริ ห ารจั ด การที่ ดี โ ดย ใช้กลไก Demand Response เพื่อ ลดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดให้ เลือ่ นไปใช้ไฟในช่วงเวลาอืน่ ก็จะท�ำให้ การใช้ไฟฟ้ามีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ดังแสดงในรูปที่ 2 การใช้ Demand Response นอกจากจะสามารถชะลอการลงทุน ก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า ใหม่ ไ ด้ แ ล้ ว ยั ง สามารถลดหรื อ ชะลอการก่ อ สร้ า ง ระบบส่ ง หรื อ ระบบจ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ า ได้ อี ก ด้ ว ย เพื่ อ ให้ นึ ก ภาพออกผม ขอยกตั ว อย่ า งประกอบการอธิ บ าย ดั ง นี้ สมมติ ว ่ า ในอนาคตทุ ก บ้ า น จะมีรถไฟฟ้า (Electric Vehicle : EV) ใช้ทุกหลังคาเรือน เมื่อกลับถึง บ้านก็จะมีการชาร์จไฟให้แบตเตอรี่ พร้อม ๆ กันทุกหลัง ปัญหาที่เกิดขึ้น คือ การชาร์จไฟแต่ละครั้งใช้ไฟมาก และเป็นเวลานาน หากมีการชาร์จไฟ แบบ Quick Charge ก็จะยิ่งใช้ไฟสูง ขึ้นแต่ใช้ระยะเวลาสั้นลง นอกจากนี้ ยังมีโหลดชนิดอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็น เครื่องปรับอากาศ เครื่องซักผ้า หม้อ หุงข้าว เตารีด เป็นต้น การไฟฟ้าก็จะ ต้องก่อสร้างระบบจ�ำหน่ายและติดตั้ง หม้อแปลงไฟฟ้าเพือ่ จ่ายไฟให้เพียงพอ ต่อความต้องการของผู้ใช้ไฟ ซึ่งหาก มี Peak Load สูงมากในระยะเวลาสั้น ๆ ก็ จ ะท� ำ ให้ ต ้ อ งมี ก ารลงทุ น ก่ อ สร้ า ง ระบบส่งและระบบจ�ำหน่ายเพิ่มเติม โดยไม่มีความจ�ำเป็น ดังนั้น หากมี การใช้กลไกของ Demand Response จะท�ำให้การใช้ไฟของประเทศในภาพรวม มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.